อภิธรรมธัมมสังคณี

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 784

1

อภิธมฺมปิฏก
ธมฺมสงฺคณิปาฬิ
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ธฺ สฺส.
ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พี ระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นน้ั
ติกมาติกา ๒๒ ติกะ
๑. กุสลติก
ปฐมบท. กุสลา ธมฺมา.
ธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่ชวี ติ เป็นแต่สภาวะ (นิสสฺ ตฺต นิชชฺ วี สภาวา)
ซึง่ มีลกั ษณะไม่มโี ทษ ให้ผลเป็นความสุขมีอยู่ (สํวชิ ชฺ นฺต)ิ
ทุตยิ บท. อกุสลา ธมฺมา.
ธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่ชวี ติ เป็นแต่สภาวะ (นิสสฺ ตฺต นิชชฺ วี สภาวา)
ซึง่ มีลกั ษณะเป็นไปพร้อมด้วยโทษ และให้ผลเป็นความทุกข์มอี ยู่ (สํวชิ ชฺ นฺต)ิ
ตติยบท. อพฺยากตา ธมฺมา.
ธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่ชวี ติ เป็นแต่สภาวะ (นิสสฺ ตฺต นิชชฺ วี สภาวา)
ซึง่ พระพุทธองค์ไม่ได้ทรงแสดงโดยความเป็นกุศล อกุศล แต่ทรงแสดงโดยความ-
เป็นอย่างอืน่ มีอยู่ (สํวชิ ชฺ นฺต)ิ
๒. เวทนาติก
ปฐมบท. สุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยสุขเวทนา โดยลักษณทัง้ ๔ มี เอกุปปฺ าทตา
เป็นต้นมีอยู.่
ทุตยิ บท. ทุกขฺ าย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยทุกขเวทนา โดยลักษณทัง้ ๔ มี เอกุปปฺ าทตา
เป็นต้นมีอยู.่
ตติยบท. อทุกขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยอุเบกขาเวทนาซึง่ ไม่ใช่ทกุ ข์ไม่ใช่สขุ
โดยลักษณทัง้ ๔ มี เอกุปปฺ าทตาเป็นต้นมีอยู.่
2

๓. วิปากติก.
ปฐมบท. วิปากา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นผลของกุศลและอกุศลซึง่ พิเศษกว่ากันและกันมีอยู.่
ทุตยิ บท. วิปากธมฺมธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพให้ผลเกิดขึน้ มีอยู.่
ตติยบท. เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นผลของกุศลและอกุศลซึพ่ เิ ศษกว่ากันและกัน และไม่-
มีสภาพให้ผลเกิดขึน้ มีอยู.่
๔. อุปาทินนฺ ติก.
ปฐมบท. อุปาทินนฺ ปุ าทานิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ รรม (อันตัณหาและทิฏฐิเข้าไปติดโดยการกระทำให้เป็นอา-
รมณ์นน้ั ) ยึดไว้โดยความเป็นผล และเป็นอารมณ์ของอุปาทานได้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ รรม (อันตัณหาและทิฏฐิเข้าไปติดโดยการกระทำให้เป็นอา-
รมณ์นน้ั ) ไม่ได้ยดึ ไว้โดยความเป็นผล แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานได้มอี ยู.่
ตติยบท. อนุปาทินนฺ อนุปาทานิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ รรม (อันตัณหาและทิฏฐิเข้าไปติดโดยการกระทำให้เป็นอา-
รมณ์นน้ั ) ไม่ได้ยดึ ไว้โดยความเป็นผล และไม่เป็นประโยชน์ คือไม่เป็นอารมณ์-
ของอุปาทานมีอยู.่
๕. สงฺกลิ ฏิ Ęฺ ติก.
ปฐมบท. สงฺกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีถ่ กู กิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อน และเป็นทีอ่ าศัยเกิดของ-
กิเลส หรือเป็นอารมณ์ของกิเลสได้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อสงฺกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีถ่ กู กิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อน แต่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกิเลส
หรือเป็นอารมณ์ของกิเลสได้มอี ยู.่
3

ตติยบท. อสํกลิ ฏิ Ęฺ าสํกเิ ลสิกา ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ถกู กิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อน และไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิด-
ของกิเลส หรือไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสมีอยู.่
๖. สวิตกฺกติก.
ปฐมบท. สวิตกฺกสวิจารา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยวิตกและวิจารมีอยู.่
ทุตยิ บท. อวิตกฺกวิจารมตฺตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มวี ติ กแต่วจิ ารเท่านัน้ มีอยู.่
ตติยบท. อวิตกฺกาวิจารา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มวี ติ กและวิจารมีอยู.่
๗. ปีตติ กิ .
ปฐมบท. ปีตสิ หคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยปีตมิ อี ยู.่
ทุตยิ บท. สุขสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยสุขเวทนามีอยู.่
ตติยบท. อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยอเบกขาเวทนามีอยู.่
๘. ทสฺสนติก.
ปฐมบท. ทสฺสเนน ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีพ่ งึ ปหานโดยโสดาปัตติมรรคมีอยู.่
ทุตยิ บท. ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีพ่ งึ ปหานโดยอริยมรรคเบือ้ งบน ๓ มีอยู.่
ตติยบท. เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่พงึ ปหานโดยโสดาปัตติมรรค และอริยมรรคเบือ้ งบน ๓-
มีอยู.่
4

๙. ทสฺนเหตุตกิ .
ปฐมบท. ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุอนั พึงปหานโดยโสดาปัตติมรรคมีอยู.่
ทุตยิ บท. ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุอนั พึงปหานโดยอริยมรรคเบือ้ งบน ๓ มีอยู.่
ตติยบท. เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มเี หตุอนั พึงปหานโดยโสดาปัตติมรรค และอริยมรรค-
เบือ้ งบน ๓ มีอยู.่
๑๐. อาจยคามิตกิ .
ปฐมบท. อาจยคามิโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นเหตุให้ถงึ จุตแิ ละปฏิสนธิมอี ยู.่
ทุตยิ บท. อปจยคามิโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นเหตุให้ถงึ พระนิพพานมีอยู.่
ตติยบท. เนวาจยคามิโนนาปจยคามิโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นเหตุให้ถงึ จุติ ปฏิสนธิ พระนิพพาน มีอยู.่
๑๑. เสกฺขติก.
ปฐมบท. เสกฺขา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นเสกขบุคคล ๗ หรือทีช่ อ่ื ว่าเสกขธรรมมีอยู.่
ทุตยิ บท. อเสกฺขา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอเสกขบุคคล หรือทีช่ อ่ื ว่าอเสกขธรรมมีอยู.่
ตติยบท. เนวเสกฺขา นาเสกฺขา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ใช่เป็นเสกขบุคคล ๗ และอเสกขบุคคล หรือทีไ่ ม่ชอ่ื ว่า-
เสกขธรรมและอเสกขธรรมมีอยู.่
๑๒. ปริตตฺ ติก.
ปฐมบท. ปริตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี านุภาพน้อยมีอยู.่
5

ทติยบท. มหคฺคตา ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ข้าถึงความประเสริฐ หรือทีฌ่ าลาภีบคุ คลผูป้ ระเสริฐทัง้ หลาย
เข้าถึงได้มอี ยู.่
ตติยบท. อปฺปมาณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ กิเลสมีารคะเป็นต้น ซึง่ กระทำให้มปี ระมาณ-
มีอยู.่
๑๓. ปริตตฺ ารมฺมณติก.
ปฐมบท. ปริตตฺ ารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นปริตตธรรมอย่างเดียว (เอกนฺต) หรือสภาวธรรม
ทัง้ หลายทีก่ ระทำปริตตธรรมให้เป็นอารมณ์ (อเนกนฺต) มีอยู.่
ทุตยิ บท. มหคฺคตารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นมหัคคตธรรมอย่างเดียว (เอกนฺต) หรือสภาว-
ธรรมทัง้ หลายทีก่ ระทำมหัคคตธรรมให้เป็นอารมณ์ (อเนกนฺต) มีอยู.่
ตติยบท. อปฺปมาณารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นอัปปมาณธรรมอย่างเดียว (เอกนฺต) หรือสภาว-
ธรรมทัง้ หลายทีก่ ระทำอัปปมาณธรรมให้เป็นอารมณ์ (อเนกนฺต) มีอยู.่
๑๔. หีนติก.
ปฐมบท. หีนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ลวหรือลามกมีอยู.่
ทุตยิ บท. มชฺฌมิ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นปานกลาง หรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นไปในระหว่าง-
ธรรมทีล่ ามกและประณีตมีอยู.่
ตติยลบท. ปณีตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระเสริฐหรือประณีตมีอยู.่
๑๕. มิจฉฺ ตฺตติก.
ปฐมบท. มิจฉฺ ตฺตนิยตา ธมฺมา.
6

สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นความชัว่ และให้ผลแน่นอนในลำดับแห่งจุตติ ดิ -


ต่อกันไม่มรี ะหว่างคัน่ มีอยู.่
ทุตยิ บท. สมฺมตฺตนิยตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นความดี และให้ผลแน่นอนในลำดับแห่งตนติดต่อ
กันไม่มรี ะหว่างคันมีอยู.่
ตติยบท. อนิยตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพไม่แน่นอนโดยอาการทัง้ ๒ อย่างนัน้ มีอยู.่
๑๖. มคฺคารมฺมณติก.
ปฐมบท. มคฺคารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นมรรคอย่างเดียว หรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ ระ
ทำมรรคให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. มคฺคเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุคอื มรรคมีองค์ ๘ หรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุซง่ึ -
ประกอบด้วยมรรค หรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุซง่ึ ตัง้ อยูแ่ ล้วในมรรคมีอยู.่
ตติยบท. มคฺคาธิปติโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ ปี จั จัยเป็นอารัมมณาธิบดีคอื มรรค หรือสภาวธรรมทัง้ -
หลายทีเ่ ป็นสหชาตาธิปติปจั จัยคือมรรคนัน้ เองมีอยู.่
๑๗. อุปปฺ นฺนติก.
ปฐมบท. อุปปฺ นฺนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ ำลังถึงซึง่ ขณะทัง้ ๓ มีอยู.่
ทุตยิ บท. อนุปปฺ นฺนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ใช่ถงึ แล้วและกำลังถึงซึง่ ขณะทัง้ ๓ มีอยู.่
ตติยบท. อุปปฺ าทิโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีจ่ ะเกิดโดยแน่นอนเพราะมีเหตุทส่ี ำเร็จแล้วมีอยู.่
๑๘. อตีตติก.
ปฐมบท. อตีตา ธมฺมา.
7

สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอดีตมีอยู.่


ทุตยิ บท. อนาคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอนาคตมีอยู.่
ตติยบท. ปจฺจปุ ปฺ นฺนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นปัจจุบนั มีอยู.่
๑๙. อตีตารมฺมนติก.
ปฐมบท. อตีตารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นอดีตธรรมอย่างเดียว หรือสภาวธรรมทัง้ หลายที่
กระทำอดีตธรรมให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อนาคตารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ ระทำอนาคตธรรมให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
ตติยบท. ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ ปี จั จุบนั อย่างเดียว หรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ ระทำปัจจุ-
บันธรรมให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
๒๐. อชฺฌตฺตติก.
ปฐมบท. อชฺฌตฺตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นภายในสันดานแห่งตนมีอยู.่
ทุตยิ บท. พหิทธฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นภายนอกสันดานแห่งตนมีอยู่
ตติยบท. อชฺฌตฺตพหิทธฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นภายในและภายนอกสันดานแห่งตนมีอยู.่
๒๑. อชฺฌตฺตารมฺมนติก.
ปฐมบท. อชฺฌตฺตารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นอัชฌัตตธรรมอย่างเดียว หรือสภาวธรรมทัง้ -
หลายทีก่ ระทำอัชฌัตตธรรมให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. พหิทธฺ ารมฺมณา ธมฺมา.
8

สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นพหิทธธรรมอย่างเดียว หรือสภาวธรรมทัง้ -


หลายทีก่ ระทำพหิทธธรรมให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
ตติยบท. อชฺฌตฺตพหิทธฺ ารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ อี ารมณ์เป็นอัชฌัตตพหิทธธรรมอย่างเดียว หรือสภาวธรรม
ทัง้ หลายทีก่ ระทำอัชฌัตตพหิทธให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
๒๒. สนิทสฺสนติก.
ปฐมบท. สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นไปพร้อมด้วยการเห็นได้และกระทบได้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเห็นไม่ได้แต่มสี ภาพเป็นไปพร้อมด้วยการกระทบได้-
มีอยู.่
ตติยบท. อนิทสฺสนาปฺปฏิฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้มอี ยู.่
พาวีสติ ติกมาติกา.
อภิธมฺมทุกมาติกา.
๑. เหตุทกุ .
ปฐมบท. เหตู ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าเหตุหรือทีเ่ ป็นเหตุมอี ยู.่
ทุตยิ บท. นเหตู ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าเหตุหรือทีไ่ ม่เป็นเหตุมอี ยู.่
๒. สเหตุกทุก.
ปฐมบท. สเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุประกอบมีอยู.่
ทุตยิ บท. อเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มเี หตุประกอบมีอยู.่
๓. เหตุสมฺปยุตตฺ ทุก.
9

ปฐมบท. เหตุสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยเหตุมอี ยู.่
ทุตยิ บท. เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยเหตุมอี ยู.่
๔. เหตุสเหตุทกุ .
ปฐมบท. เหตูเจว ธมฺมา สเหตุกาจ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าเหตุและมีเหตุประกอบมีอยู.่
ทุตยิ บท. สเหตุกา เจว ธมฺมา น จ เหตู.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุประกอบแต่ไม่ชอ่ื ว่าเหตุมอี ยู.่
๕. เหตุสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. เหตู เจว ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าเหตุและประกอบด้วยเหตุมอี ยู.่
ทุตยิ บท. เหตุสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา น จ เหตู.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยเหตุแต่ไม่ชอ่ื ว่าเหตุมอี ยู.่
๖. นเหตุสเหตุทกุ .
ปฐมบท. น เหตู โข ปน ธมฺมา สเหตุกาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าเหตุแต่มเี หตุประกอบมีอยู.่
ทุตยิ บท. น เหตู โข ปน ธมฺมา อเหตุกาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าเหตุและไม่มเี หตุประกอบมีอยู.่
เหตุโคจฺฉกํ
๒. จูฬนฺตรทุก.
๑. สปฺปจฺจยทุก.
ปฐมบท. สปฺปจฺจยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ ปี จั จัย ๔ (คือ กรรม จิต อุตุ อาหาร) ปรุงแต่งมีอยู.่
ทติยบท. อปฺปจฺจยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มปี จั จัย ๔ (คือ กรรม จิต อุตุ อาหาร) ปรุงแต่งมีอยู.่
10

๒. สงฺขตทุก.
ปฐมบท. สงฺขตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีถ่ กู ปรุงแต่งโดยปัจจัย ๔ (คือ กรรม จิต อุตุ อาหาร)มีอยู.่
ทติยบท. อสงฺขตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ถกู ปรุงแต่งโดยปัจจัย ๔ (คือ กรรม จิต อุตุ อาหาร)มีอยู.่
๓. สนิทสฺสนทุก.
ปฐมบท. สนิทสฺสนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นไปพร้อมด้วยการเห็นได้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อนิทสฺสนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มสี ภาพเป็นไปพร้อมด้วยการเห็นได้มอี ยู.่
๔. สปฺปฏิฆทุก.
ปฐมบท. สปฺปฏิฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นไปพร้อมด้วยการกระทบได้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อปฺปฏิฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มสี ภาพเป็นไปพร้อมด้วยการกระทบได้มอี ยู.่
๕. รูปที กุ .
ปฐมบท. รูปโิ น ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ รี ปุ ปนลักขณะ คือ ความสลายไปมีอยู.่
ทุตยิ บท. อรูปโิ น ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มรี ปุ ปนลักขณะ คือ ความสลายไปมีอยู.่
๖. โลกิยทุก.
ปฐมบท. โลกิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีส่ งเคราะห์เข้าในสังขารโลกอันเป็นวัฏฏทุกข์ซง่ึ มีสภาพเกิด-
ดับมีอยู.่
ทุตยิ บท. โลกุตตฺ รา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีพ่ น้ จากสังขารโลกอันเป็นวัฏฏทุกข์ซง่ึ มีสภาพเกิดดับมีอยู.่
11

๗. เกนจิวċ ิ เฺ ċยฺยทุก.
ปฐมบท. เกนจิ วิċเฺ ċยฺยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีพ่ งึ รูไ้ ด้โดยจิตบางอย่างมีจกั ขุวญ
ิ ญาณจิตเป็นต้นมีอยู.่
ทุตยิ บท. เกนจิ น วċฺเċยฺยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่พงึ รูไ้ ด้โดยจิตบางอย่างมีจกั ขุวญ
ิ ญาณจิตเป็นต้นมีอยู.่
จูฬนฺตรทุก.ํ
๓. อาสวโคจฺฉก.
๑. อาสวทุก.
ปฐมบท. อาสวา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าอาสวะหรือทีม่ สี ภาพไหลไป ว่าโดดยภูมถิ งึ ภวัคคภูม-ิ
ว่าโดยธรรมถึงโคตรภู หรือมีสภาพเหมือนสุราทีห่ มักไว้นานมีอยู.่
ทุตยิ บท. โนอาสวา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าอาสวะหรือทีไ่ ม่มสี ภาพไหลไป หรือทีไ่ ม่มสี ภาพ-
เหมือนสุราทีห่ มักไว้นานมีอยู.่
๒. สาสวทุก
ปฐมบท. สาสวา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของอาสวะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อนาสวาพ ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของอาสวะมีอยู.่
๓. อาสวสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. อาสวสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยอาสวะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อาสววิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยอาสวะมีอยู.่
๔. ออสวสาสวทุก.
ปฐมบท. อาสวา เจว ธมฺมา สาสวา จ.
12

สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าอาสวะ และเป็นอารมณ์ของอาสวะมีอยู.่


ทุตยิ บท. สาสวา เจว ธมฺมา โน จ อาสวา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์อาสวะ แต่ไม่ชอ่ื ว่าอาสวะมีอยู.่
๕. อาสวอาสวสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปบมบท. อาสวา เจว ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีว่ า่ อาสวะและประกอบด้วยอาสวะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อาสวสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โนจอาสวา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยอาสวะ แต่ไม่ชอ่ื ว่าอาสวะมีอยู.่
๖. อาสววิปปฺ ยุตตฺ สาสวทุก.
ปฐมบท. อาสววิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา สาสวาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อาสววิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อนาสวาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะมีอยู.่
อาสวโคจฺฉกํ.
๔. สċฺโċชนโคจฉก.
๑. สċฺโċชนทุก.
ปฐมบท. สċฺโċชนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าสัญโยชน์มอี ยู.่
ทติยบท. โนสċฺโċชนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าสัญโยชน์มอี ยู.่
๒. สċฺโċชนิยทุก.
ปฐมบท. สċฺโċชนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์อรมณ์ของสัญโยชน์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อสċฺโċชนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์อรมณ์ของสัญโยชน์มอี ยู.่
13

๓. สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยสัญโญชน์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยสัญโญชน์มอี ยู.่
๔. สċฺโċชนสċฺโċชนิยทุก.
ปฐมบท. สċฺโċชนา เจว ธมฺมา สċฺโċชนิยา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าสัญโญชน์และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. สċฺโċชนิยา เจว ธมฺมา โนจสċฺโċชนา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของสัญโญชน์แต่ไม่ชอ่ื ว่าสัญโญชน์มอี ยู.่
๕. สċฺโċชนสċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. สċฺโċชนา เจว ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าสัญโญชน์และประกอบด้วยสัญโญชน์มอี ยู.่
ทติยบท. สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ สċฺโċชนา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยสัญโญชน์แต่ไม่ชอ่ื ว่าสัญโญชน์มอี ยู.่
๖. สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ สċฺโċชนิยทุก.
ปฐมบท. สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา สċฺโċชนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยสัญโญชน์แต่อารมณ์ของสัญโญชน์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อสċฺโċชนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยสัญโญชน์และไม่อารมณ์ของสัญโญชน์มอี ยู.่
สċฺโċชนโคจฺฉกํ.
๕. คนฺถโคจฉก.
๑. คนฺถทุก.
ปฐมบท. คนฺถา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าคันถะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน คนฺถา ธมฺมา.
14

สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าคันถะมีอยู.่


๒. คนฺถนิยทุก.
ปฐมบท. คนฺถนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของคันถะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อคนฺถนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของคันถะมีอยู.่
๓. คนฺถสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. คนฺถสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยคันถะมีอยู.่
ทุตยิ บท. คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยคันถะมีอยู.่
๔. คนฺถคนฺถนิยทุก.
ปฐมบท. คนฺถา เจว ธมฺมา คนฺถนิยา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะมีอยู.่
ทุตยบท. คนฺถนิยา เจว ธมฺมา โน จ คนฺถา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่ชอ่ื ว่าคันถะมีอยู.่
๕. คนฺถคนฺถสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. คนฺถา เจว ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าคันถะและประกอบด้วยคันถะมีอยู.่
ทุตยิ บท. คนฺถสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ คนฺถา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยคันถะแต่ไม่ชอ่ื ว่าคันถะมีอยู.่
๖. คนฺถวิปปฺ ยุตคนฺถนิยทุก.
ปฐมบท. คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา คนฺถนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยคันถะแต่เป็นอารมณ์คนั ถะมีอยู.่
ทุตยิ บท. คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อคนฺถนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยคันถะและไม่อารมณ์คนั ถะมีอยู.่
15

คนฺถโคจฺฉกํ
๖. โอฆโคจฉก.
๑. โอฆทุก.
ปฐมบท. โอฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื โอฆะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โนโอฆา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื โอฆะมีอยู.่
๒. โอฆนิยทุก.
ปฐมบท. โอฆนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของโอฆะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อโนฆนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของโอฆะมีอยู.่
๓. โอฆสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. โอฆสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบโอฆะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โอฆวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบโอฆะมีอยู.่
๔. โอฆโอฆนิยทุก.
ปฐมบท. โอฆา เจว ธมฺมา โอฆนิยา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าโอฆะเป็นอารมณ์ของโอฆมีอยู.่
ทุตยิ บท. โอฆนิยา เจว ธมฺมา โน จ โอฆา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอามรมณ์โอฆะแต่ไม่ชอ่ื ว่าโอฆะมีอยู.่
๕. โอฆโอฆสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. โอฆา เจว ธมฺมา โอฆสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าโอฆะและประกอบด้วยโอฆะแต่ไม่มอี ยู.่
ทุตยิ บท. โอฆสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ โอฆา.
16

สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยโอฆะแต่ไม่ชอ่ื ว่าโอฆะมีอยู.่


๖. โอฆวิปปฺ ยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. โอฆวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา โอฆนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยโอฆะแต่เป็นอารมณ์ของโอฆะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โอฆวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อโนฆนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยโอฆะและไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะมีอยู.่
โอฆโคจฺฉกํ
๗. โยคโคจฉก.
๑. โยคทุก.
ปฐมบท. โยคา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าโยคะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โนโยคา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าโยคะมีอยู.่
๒. โยคนิยทุก.
ปฐมบท. โยคนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของโยคะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อโยคนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของโยคะมีอยู.่
๓. โยคสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. โยคสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยโยคะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โยควิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยโยคะมีอยู.่
๔. โยคนิยทุก.
ปฐมบท. โยคา เจว ธมฺมา โยคนิยา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าโยคะและเป็นอารมณ์ของโยคะมีอยู.่
17

ทุตยิ บท. โยคนิยา เจว ธมฺมา โน จ โยคา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของโยคะแต่ไม่ชอ่ื ว่าโยคะมีอยู.่
๕. โยคโยคสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. โยคา เจว ธมฺมา โยคสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าโยคะและประกอบด้วยโยคะมีอยู.่
ทุตยิ บท. โยคสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ โยคา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยโยคะแต่ไม่ชอ่ื ว่าโยคะมีอยู.่
๖. โยควิปปฺ ยุตตฺ โยคนิยทุก.
ปฐมบท. โยควิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา โยคนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยโยคะแต่เป็นอารมณ์ของโยคะมีอยู.่
ทติยบท. โยควิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อโยคนิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยโยคะและไม่เป็นอารมณ์ของโยคะมีอยู.่
โยคโคจฺฉกํ.
๘. นีวรณโคจฉก.
๑. นีวรณทุก.
ปฐมบท. นีวรณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่านิวรณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. โนนีวรณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่านิวรณ์มอี ยู.่
๒. นีวรณิยทุก.
ปฐมบท. นีวรณิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของนิวรณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อนีวรณิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์มอี ยู.่
๓. นีวรณสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. นีวรณสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
18

สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยนิวรณ์มอี ยู.่


ทุตยิ บท. นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยนิวรณ์มอี ยู.่
๔. นีวรณนีวรณิยทุก.
ปฐมบท. นีวรณา เจว ธมฺมา นีวรณิยา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่านิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. นีวรณิยา เจว ธมฺมา โน จ นีวรณา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่ชอ่ื ว่านิวรณ์มอี ยู.่
๕. นีวรณนีวรณสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. นีวรณา เจว ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่านิวรณ์และประกอบด้วยนิวรณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. นีวรณสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ นีวรณา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยนิวรณ์แต่ไม่ชอ่ื ว่านิวรณ์มอี ยู.่
๖. นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ นีวรณิยทุก.
ปฐมบท. นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา นีวรณิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยนิวรณ์แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อนีวรณิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยนิวรณ์และไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์มอี ยู.่
นีวรณโคจฺฉกํ.
๙. ปรามาสโคจฉก.
๑. ปรามาสทุก.
ปฐมบท. ปรามาสา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าปรามาสะหรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีย่ ดึ ถือผิดจากความ-
เป็นจริงมีอยู.่
ทุตยิ บท. โนปรามาสา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าปรามาสะหรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ยดึ ถือผิดจาก-
19

ความเป็นจริงมีอยู.่
๒. ปารามฏฺĘทุก.
ปฐมบท. ปรามฏฺĘา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของปรามาสะมีอยู.่
ทุตยิ บท. อปรามฏฺĘา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะมีอยู.่
๓. ปรามาสสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. ปรามาสสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยปรามาสะมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยปรามาสะมีอยู.่
๔. ปรามาสปรามฏฺĘทุก.
ปฐมบท. ปรามาสา เจว ธมฺมา ปรามฏฺĘา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าปรามาสะและเป็นอารมณ์ของปรามาสะมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปรามฏฺĘา เจว ธมฺมา โน จ ปรามาสา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของปรามาสะแต่ไม่ชอ่ื ว่าปรามาสะมีอยู.่
๕. ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ ปรามฏฺĘทุก.
ปฐมบท. ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา ปรามฏฺĘาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยปรามาสะแต่เป็นปรามาสะมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อปรามฏฺĘาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยปรามาสะและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ-
มีอยู.่
ปรามาสโคจฺฉกํ
๑๐. มหนฺตรทุก.
๑. สารมฺมณทุก.
ปฐมบท. สารมฺมณา ธมฺมา.
20

สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นไปพร้อมด้วยการรูอ้ ารมณ์มอี ยู.่


ทุตยิ บท. อนารมฺมณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นไปพร้อมด้วยการรูอ้ ารมณ์มอี ยู.่
๒. จิตตฺ ทุก.
ปฐมบท. จิตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าจิตมีอยู.่
ทุตยิ บท. โนจิตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าจิตมีอยู.่
๓. เจตสิกทุก.
ปฐมบท. เจตสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าเจตสิกมีอยู.่
ทุตยบท. อเจตสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าเจตสิกมีอยู.่
๔. จิตตฺ สมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. จิตตฺ สมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยจิตมีอยู.่
ทุตยิ บท. จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยจิตมีอยู.่
๕. จิตตฺ สํสฏฺĘทุก.
ปฐมบท. จิตตฺ สํสฏฺĘา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตมีอยู.่
ทุตยิ บท. จิตตฺ วิสสํ ฏฺĘา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เจือด้วยจิตมีอยู.่
๖. จิตตฺ สมุฏĘฺ านทุก.
ปฐมบท. จิตตฺ สมุฏĘฺ านา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ จี ติ เป็นสมุฏฐานหรือทีเ่ กิดจากจิตมีอยู.่
21

ทุตยิ บท. โนจิตตฺ สมุฏĘฺ านา ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานหรือทีไ่ ม่ได้เกิดจากจิตมีอยู.่
๗. จิตตฺ สหภูทกุ .
ปฐมบท. จิตตฺ สหภุโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยจิตมีอยู.่
ทุตยิ บท. โนจิตตฺ สหภุโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยจิตมีอยู.่
๘. จิตตฺ านุปริวตฺตทิ กุ .
ปฐมบท. จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นไปตามกระแสจิตมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นไปตามกระแสจิตมีอยู.่
๙. จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านทุก.
ปฐมบท. จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตและมีจติ เป็นสมุฏฐานได้ครบทัง้ สองมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตและมีจติ เป็นสมุฏฐานไม่ได้ หรือได้ไม่ครบทัง้ -
สองมีอยู.่
๑๐. จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภูทกุ .
ปฐมบท. จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตทีเ่ กิดจากจิตและเป็นไปพร้อมด้วยจิตได้ครบทัง้ -
สามมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตทีเ่ กิดจากจิตและเป็นไปพร้อมด้วยจิตไม่ได้หรือได้
ไม่ครบทัง้ สามมีอยู.่
๑๑. จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตทิ กุ .
22

ปฐมบท. จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตทีเ่ กิดจากจิตและเป็นไปตามกระแสจิตได้ครบทัง้ -
สามมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ จือด้วยจิตทีเ่ กิดจากจิตและเป็นไปตามกระแสจิตไม่ได้ หรือ-
ได้ไม่ครบทัง้ สามมีอยู.่
๑๒. อชฺฌตฺตกิ ทุก.
ปฐมบท. อชฺฌตฺตกิ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นภายในมีอยู.่
ทุตยิ บท. พาหิรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นภายนอกมีอยู.่
๑๓. อุปาทาทุก.
ปฐมบท. อุปาทา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีอ่ าศัยมหาภูตรูปเกิดขึน้ ฝ่ายเดียวมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน อุปาทา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ใช่อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึน้ ฝ่ายเดียวมีอยู.่
๑๔. อุปาทินนฺ ทุก.
ปฐมบท. อุปาทินนฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ รรม (อันตัณหาและทิฏฐิเข้าไปติดโดยการกระทำให้เป็น-
อารมณ์นน้ั ) ยึดไว้โดยความเป็นผลมีอยู.่
ทุตยบท. อนุปาทินนฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีก่ รรม (อันตัณหาและทิฏฐิเข้าไปติดโดยการกระทำให้เป็น-
อารมณ์นน้ั ) ไม่ได้ยดึ ไว้โดยความเป็นผลมีอยู.่
มหนฺตรทุก.ํ
๑๑. อุปาทานโคจฉก.
ปฐมบท. อุปาทานา ธมฺมา.
23

สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าอุปาทานหรือทีม่ สี ภาพยืดมัน่ ในอารมณ์มอี ยู.่


ทติยบท. โน อุปาทานา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าอุปาทานหรือทีไ่ ม่มสี ภาพยืดมัน่ ในอารมณ์มอี ยู.่
๒. อุปาทานิยทุก.
ปฐมบท. อุปาทานิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของอุปาทานมีอยู.่
ทุตยิ ลบท. อนุปาทานิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานมีอยู.่
๓. อุปาทานสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. อุปาทานสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยอุปาทานมีอยู.่
ทุตยิ บท. อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยอุปาทานมีอยู.่
๔. อุปาทานอุปาทานิยทุก.
ปฐมบท. อุปาทาน เจว ธมฺมา อุปาทานิยา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานมีอยู.่
ทุตยิ บท. อุปาทานิยา เจว ธมฺมา โน จ อุปาทานา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่ชอ่ื ว่าอุปาทานมีอยู.่
๕. อุปาทานอุปาทานสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. อุปาทานา เจว ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าอุปาทานและประกอบด้วยอุปาทานมีอยู.่
ทุตยิ บท. อุปาทานสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ อุปาทานา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยอุปาทานแต่ไม่ชอ่ื ว่าอุปาทานมีอยู.่
๖. อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ อุปาทานิยทุก.
ปฐมบท. อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อุปาทานิยาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานมีอยู.่
24

ทุตยิ บท. อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อนุปาทานิยาปิ.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน-
มีอยู.่
อุปาทานโคจฺฉกํ.
๑๒. กิเลสโคจฉก.
๑. กิเลสทุก.
ปฐมบท. กิเลสา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่ากิเลสหรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพทำให้เสร้าหมอง
เร่าร้อนมีอยู.่
ทุตยิ บท. โน กิเลสา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่ากิเลสหรือสภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มสี ภาพทำให้เสร้า
หมองเร้าร้อนมีอยู.่
๒. สงฺกเิ ลสสิกทุก.
ปฐมบท. สํกเิ ลสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของกิเลสมีอยู.่
ทุตยิ บท. อสํกเิ ลสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของกิเลสมีอยู.่
๓. สงฺกลิ ฏิ Ęฺ ทุก.
ปฐมบท. สํกลิ ฏิ Ęฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีถ่ กู กิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อนมีอยู.่
ทุตยิ บท. อสํกลิ ฏิ Ęฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ถกู กิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อนมีอยู.่
๔. กิเลสสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. กิเลสสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยกิเลสมีอยู.่
ทุตยิ บท. กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา.
25

สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยกิเลสมีอยู.่


๕. กิเลสสงฺกเิ ลสิกทุก.
ปฐมบท. กิเลสา เจว ธมฺมา สํกเิ ลสิกา จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่ากิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสมีอยู.่
ทุตยิ บท. สํกเิ ลสิกา เจว ธมฺมา โน จ กิเลสา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่ชอ่ื ว่ากิเลสมีอยู.่
๖. กิเลสสงฺกลิ ฏิ Ęทุก.
ปฐมบท. กิเลสา เจว ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่ากิเลสและถูกกิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อนมีอยู.่
ทุตยิ บท. สํกลิ ฏิ Ęฺ า เจว ธมฺมา โน จ กิเลสา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีถ่ กู กิเลสทำให้เศร้าหมองเร่าร้อนแต่ไม่ชอ่ื ว่ากิเลสมีอยู.่
๗. กิเลสกิเลสสมฺปยุตตฺ ทุก.
ปฐมบท. กิเลสา เจว ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่ากิเลสและประกอบด้วยกิเลสมีอยู.่
ทุตยิ บท. กิเลสสมฺปยุตตฺ า เจว ธมฺมา โน จ กิเลสา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีป่ ระกอบด้วยกิเลสแต่ไม่ชอ่ื ว่ากิเลสมีอยู.่
๘. กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ สงฺกเิ ลสิกทุก.
ปฐมบท. กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา สํกเิ ลสิกาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสมีอยู.่
ทุตยิ บท. กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า โข ปน ธมฺมา อสํกเิ ลสิกาปิ.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ประกอบด้วยกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสมีอยู.่
กิเลสโคจฺฉกํ.
๑๓. ปิฏĘฺ ทิ กุ .
๑. ทสฺสเนนปหาตพฺพทุก.
ปฐมบท. ทสฺสเนนปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีพ่ งึ ประหานโดยโสดาปัตติมรรคมีอยู.่
26

ทุตยิ บท. นทสฺสเนนปหาตพฺพา ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่พงึ ประหานโดยโสดาปัตติมรรคมีอยู.่
๒. ภาวนายปหาตพฺพทุก.
ปฐมบท. ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีพ่ งึ ประหานโดยอริยมรรคเบือ้ งบน ๓ มีอยู.่
ทุตยิ บท. นภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่พงึ ประหานโดยอริยมรรคเบือ้ งบน ๓ มีอยู.่
๓. ทสฺสเนนปหาตพฺพเหตุกทุก.
ปฐมบท. ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุอนั พึงประหานโดยโสดาปัตติมรรคมีอยู.่
ทุตยิ บท. น ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุอนั พึงประหานโดยโสดาปัตติมรรคไม่ได้มอี ยู.่
๔. ภาวนายปหาตพฺพเหตุกทุก.
ปฐมบท. ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุอนั พึงประหานโดยอริยมรรคเบือ้ งบน ๓ มีอยู.่
ทุตยิ บท. นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ เี หตุอนั พึงประหานโดยอริยมรรคเบือ้ งบน ๓ ไม่ได้มอี ยู.่
๕. สวิตกฺกทุก.
ปฐมบท. สวิตกฺกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยวิตกหรือทีม่ วี ติ กมีอยู.่
ทุตยิ บท. อวิตกฺกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยวิตกหรือทีไ่ ม่มวี ติ กมีอยู.่
๖. สวิจารทุก.
ปฐมบท. สวิจารา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยวิจารหรือทีม่ วี จิ ารมีอยู.่
ทุตยิ บท. อวิจารา ธมฺมา.
27

สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยวิจารหรือทีไ่ ม่มวี จิ ารมีอยู.่


๗. สปฺปตี กิ ทุก.
ปฐมบท. สปฺปตี กิ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยปีตหิ รือทีม่ ปี ตี มิ อี ยู.่
ทุตยิ บท. อปฺปตี กิ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยปีตหิ รือทีไ่ ม่มปี ตี มิ อี ยู.่
๘. ปีตสิ หคตทุก.
ปฐมบท. ปีตสิ หคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยปีตมิ อี ยู.่
ทุตยิ บท. น ปีตสิ หคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยปีตมิ อี ยู.่
๙. สุขสหคตทุก.
ปฐมบท. สุขสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยสุขเวทนามีอยู.่
ทุตยิ บท. น สุขสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยสุขเวทนามีอยู.่
๑๐. อุเปกฺขาสหคตทุก.
ปฐมบท. อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยอุเบกเวทนามีอยู.่
ทุตยิ บท. น อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยอุเบกเวทนามีอยู.่
๑๑. กามาวจรทุก.
ปฐมบท. กามาวจรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่ากามาวจรมีอยู.่
ทุตยิ บท. น กามาวจรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่ากามาวจรมีอยู.่
28

๑๒. รูปาวจรทุก.
ปฐมบท. รูปาวจรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่ารูปาวจรมีอยู.่
ทุตยิ บท. น รูปาวจรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่ารูปาวจรมีอยู.่
๑๓. อรูปาวจรทุก.
ปฐมบท. อรูปาวจรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อ่ื ว่าอรูปาวจรมีอยู.่
ทุตยิ บท. น อรูปาวจรา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ชอ่ื ว่าอรูปาวจรมีอยู.่
๑๔. ปริยาปนฺนทุก.
ปฐมบท. ปริยาปนฺนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีน่ บั เนือ่ งเข้าในสังสารวัฏฏ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อปริยาปนฺนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่นบั เนือ่ งเข้าในสังสารวัฏฏ์มอี ยู.่
๑๕. นิยยฺ านิกทุก.
ปฐมบท. นิยยฺ านิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นเหตุให้ออกจากสังสารวัฏฏ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อนิยยฺ านิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เป็นเหตุให้ออกจากสังสารวัฏฏ์มอี ยู.่
๑๖. นิยตทุก.
ปฐมบท. นิยตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีใ่ ห้ผลแน่นอนในลำดับแห่งจุตจิ ติ หรือในลำดับแห่งตนมีอยู.่
ทุตยิ บท. อนิยตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่แน่นอนโดยอาการทัง้ สองดังกล่าวมาแล้วนัน้ มีอยู.่
๑๗. สอุตตฺ รทุก.
29

ปฐมท. สอุตตฺ รา ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่มภี าวธรรมทีย่ ง่ิ กว่าตนมีอยู.่
ทุตยิ บท. อนุตตฺ รา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีย่ งั มีภาวธรรมทีย่ ง่ิ กว่าตนมีอยู.่
๑๘. สรณทุก.
ปฐมบท. สรณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ กิดพร้อมด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้นทีเ่ ป็นเหตุให้สตั ว์ทง้ั หลาย-
ร้องไห้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อรณา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่เกิดพร้อมด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้นมีอยู.่
ปิฏĘฺ ทิ กุ .ํ
อภิธมฺมทุกมาติกา.
สุตตฺ นฺตกิ ทุกมาติกา
๑. วิชชฺ าภาคีทกุ .
ปฐมบท. วิชชฺ าภาคิโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ข้าถึงวิชชา ๘ ด้วยอำนาจแห่งการประกอบ หรือทีเ่ ป็นส่วน-
แห่งวิชชา ๘ มีอยู.่
ทุตยิ บท. อวิชชฺ าภาคิโน ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ข้าถึงอวิชชา ๔ อันมีสภาพปกปิดสัจจะ ๔ ด้วยอำนาจแห่ง-
การประกอบ หรือทีเ่ ป็นส่วนแห่งอวิชชา ๔ มีอยู.่
๒. วิชชฺ ปู มทุก.
ปฐมบท. วิชชฺ ปู มา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ปรียบเสมือนสายฟ้าแลบมีอยู.่
ทุตยิ บท. วชิรปู มา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ปรียบเสมือนสายฟ้าผ่ามีอยู.่
๓. พาลทุก.
30

ปฐมบท. พาลา ธมฺมา.


สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นพาลหรือทีต่ ง้ั อยูใ่ นสันดานของคนพาลมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปณฺฑติ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพเป็นบัณฑิตหรือทีต่ ง้ั อยูใ่ นสันดานของบัณฑิตมีอยู.่
๔. กณฺหทุก.
ปฐมบท. กณฺหา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพดำ หรือทีเ่ ป็นเหตุแห่งธรรมฝ่ายดำคือการทีไ่ ด้รบั -
ความลำบากในอบายทุกข์และไม่มบี ญ ุ มีอยู.่
ทุตยิ บท. สุกกฺ า ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาพขาว หรือทีเ่ ป็นเหตุแห่งธรรมฝ่ายขาวคือการทีไ่ ด้รบั -
ความสุขในสุคติภมู แิ ละการมีบญ ุ มีอยู.่
๕. ตปนียทุก.
ปฐมบท. ตปนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีท่ ำสัตว์ให้เร่าร้อน และมีความลำบากทัง้ ในโลกนีแ้ ละโลก-
หน้ามีอยู.่
ทุตยิ บท. อตปนิยา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีไ่ ม่ทำให้สตั ว์เร่าร้อน และทำให้มคี วามสุขทัง้ ในโลกนีแ้ ละ-
โลกหน้ามีอยู.่
๖. อธิวจนทุก.
ปฐมบท. อธิวจนา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัตซิ ง่ึ เกิดขึน้ โดยมีเสียงเป็นประธาน หรือสภาพ
วธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัตคิ อื นามได้แก่ชอ่ื ต่าง ๆ ทีม่ สี ภาพน้อมเข้าสูเ่ นือ้ -
ความคืออัตถบัญญัติ และทำให้เนือ้ ความนัน้ น้อมเข้าสูต่ นคือชือ่ ต่าง ๆ นัน้ ด้วย-
นามกมฺม ได้แก่นามบัญญัตทิ น่ี กั ปราชญ์ทง้ั หลายในสมัยโบราณเรียกขานกันมา-
เช่นเรียกว่าแผ่นดิน ภูเขา เป็นต้น นามเธยฺย ได้แก่นามบัญญัตทิ น่ี กั ปราชญ์ทง้ั หลาย-
ในสมัยโบราณตัง้ ชือ่ ไว้จนถึงทุกวันนี้ เช่นตัง้ ชือ่ ไว้วา่ แผ่นดิน ภูเขา เป็นต้น นิรตุ ตฺ ิ
31

ได้แก่นามบัญญัตทิ น่ี กั ปราชญ์ทง้ั หลายคิดนึกพิจารณาตัง้ ชือ่ เรียกขึน้ แล้ว ชือ่ เหล่านี-้


ก็ปรากฏขึน้ พฺยċฺชน ได้แก่นามบัญญัตทิ ส่ี ามารถแสดงเนือ้ ความให้ปรากฏขึน้ ได้-
เช่นเรียกว่าแผ่นดิน ภูเขา เป็นต้นเหล่านีส้ ามารถแสดงเนือ้ ความ คือ อัตถบัญญัตใิ ห้-
ปรากฏขึน้ ได้ อภิลาป ได้แก่นามบัญญัตทิ ผ่ี กู้ ล่าวเรียกทัง้ หลายย่อมมุง่ สูต่ รงเนือ้ -
ความแล้วก็กล่าวเรียกขึน้ มีอยู.่
ทุตยิ บท. อธิวจนปถา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นเหตุของสัททบัญญัตซิ ง่ึ เกิดขึน้ ได้โดยมีเสียงเป็นประธาน-
มีอยู.่
๗. นิรตุ ตฺ ทิ กุ .
ปฐมบท. นิรตุ ตฺ ิ ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัตอิ นั บุคคลนำออกแล้วเปล่งขึน้ หรือสภาว-
ธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัติ คือ นาม นามกมฺม นามเธยฺย นิรตุ ตฺ ิ พฺยċฺชน
อภิลาป มีอยู.่
ทุตยิ บท. นิรตุ ตฺ ปิ ถา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นเหตุของสัททบัญญัตซิ ง่ึ บุคคลนำออกแล้วเปล่งขึน้ มีอยู.่
๘. ปċฺċตฺตทิ กุ .
ปฐมบท. ปċฺċตฺติ ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัตซิ ง่ึ สามารถให้รโู้ ดยประการต่าง ๆ ได้ หรือ-
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัติ คือ นาม นามกมฺม นามเธยฺย นิรตุ ตฺ ิ
พฺยċฺชน อภิลาป มีอยู.่
ทุตยิ บท. ปċฺċตฺตปิ ถา ธมฺมา.
สภาวธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นสัททบัญญัตซิ ง่ึ สามารถให้รโู้ ดยประการต่าง ๆ ได้มอี ยู.่
๙. นามรูปทุก.
ปฐมบท. นามċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีเ่ ป็นนามหรือทีม่ สี ภาพน้อมไปสูอ่ ารมณ์ได้ หรือทีส่ ามารถ-
ให้จติ เจตสิกน้อมไปสูต่ นได้มอี ยู.่
32

ทุตยิ บท. รูปċฺจ อตฺถ.ิ


สภาวธรรมทีเ่ ป็นรูปหรือทีม่ สี ภาพเสือ่ มสิน้ ผันแปร หรือทีส่ ภาวธรรมทีเ่ ข้าถึงความ
สิน้ ผันแปรไปเพราะความเย็นความร้อน และธรรมทีเ่ ป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ กันมีอยู.่
๑๐. อวิชชฺ าทุก.
ปฐมบท. อวิชชฺ า จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมไม่ในรูอ้ ริยสัจจะ ๔ หรือไม่รใู้ นสิง่ ทีค่ วรรูแ้ ละรูใ้ นสิง่ ทีไ่ ม่ควรรูม้ อี ยู.่
ทุตยิ บท. ภวตณฺหา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ โลภะทีม่ คี วามปรารถนาภพหรือโลภะทีม่ คี วามยินดีพอใจในภพ-
มีอยู.่
๑๑. ภวทิฏĘฺ ทิ กุ .
ปฐมบท. ภวทิฏĘฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าความเป็นอยูข่ องตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดยี อ่ มมีอยู-่
เป็นนิจ หรือสภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดจี ะเกิดมีอยู.่
ทุตยิ บท. วิภวทิฏĘฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าความเป็นอยูข่ องตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดไี ม่ใช่มอี ยู-่
เป็นนิจจะสูญสิน้ ไป หรือสภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดจี ะ-
ไม่เกิดมีอยู.่
๑๒. สสฺสตทิฏĘฺ ทิ กุ .
ปฐมบท. สสฺสตทิฏĘฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าความเป็นอยูข่ องตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดเี ป็นของทีย่ ง
มีอยู.่
ทุตยิ บท. อุจเฺ ฉททิฏĘิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าความเป็นอยูข่ องตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดจี ะสูญมีอยู.่
๑๓. อนฺตวาทิฏĘฺ ทิ กุ .
ปฐมบท. อนฺตวาทิฏĘฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าความเป็นอยูข่ องตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดมี ที ส่ี น้ิ สุด
33

มีอยู.่
ทุตยิ บท. อนนฺตวาทิฏĘฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดว่าความเป็นอยูข่ องตนเองก็ดี สัตว์โลกก็ดไี ม่มที ส่ี น้ิ สุด
มีอยู.่
๑๔. ปุพพฺ นฺตานุทฏิ Ęฺ ทิ กุ .
ปฐมบท. ปุพพฺ นฺตานุทฏิ Ęฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดซึง่ เกิดขึน้ เป็นไปตามอดีตขันธ์ ๕ หรือสภาวธรรมทีม่ -ี
เห็นผิดซึง่ เกิดขึน้ โดยกระทำมีอดีตขันธ์ ๕ ให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
ทุตยิ บท. อปรนฺตานุทฏิ Ęฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามเห็นผิดซึง่ เกิดขึน้ เป็นไปตามอนาคตขันธ์ ๕ หรือสภาวธรรม-
ทีม่ เี ห็นผิดซึง่ เกิดขึน้ โดยกระทำมีอนาคตขันธ์ ๕ ให้เป็นอารมณ์มอี ยู.่
๑๕. อหิรกิ ทุก.
ปฐมบท. อหิรกิ ċฺ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีไ่ ม่มคี วามละอายต่อทุจริตมีอยู.่
ทุตยิ บท. อโนตฺตปฺปċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีไ่ ม่มคี วามสะดุง้ กลัวต่อทุจริตมีอยู.่
๑๖. หิรทิ กุ .
ปฐมบท. หิริ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามละอายต่อทุจริตมีอยู.่
ทุตยิ บท. โอตฺตปฺปċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีม่ คี วามสะดุง้ กลัวต่อทุจริตมีอยู.่
๑๗. โทวจสฺสตาทุก.
ปฐมบท. โทวจสฺสตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูว้ า่ ยากมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปาปมิตตฺ ตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ มี ติ รชัว่ มีอยู.่
34

๑๘. โสวจสฺสตาทุก.
ปฐมบท. โสวจสฺสตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูว้ า่ ง่ายมีอยู.่
ทุตยิ บท. กลฺยาณมิตตฺ ตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ มี ติ รดีมอี ยู.่
๑๙. อาปตฺตกิ สุ ลตาทุก.
ปฐมบท. อาปตฺตกิ สุ ลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูอ้ าบัตมิ อี ยู.่
ทุตยิ บท. อาปตฺตวิ ฏุ ฺ านกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการออกจากอาบัตมิ อี ยู.่
๒๐. สมาปตฺตกิ สุ ลตาทุก.
ปฐมบท. สมาปตฺตกิ สุ ลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูส้ มาบัติ ๘ หรือสมาบัติ ๙-
คือ รูปฌาน อรูปฌาน มีอยู.่
ทุตยิ บท. สมาปตฺตวิ ฏุ Ęฺ านกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการออกจากสมาบัตมิ อี ยู.่
๒๑. ธาตุกสุ ลตาทุก.
ปฐมบท. ธาตุกสุ ลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูธ้ าตุ ๑๘ มีอยู.่
ทุตยิ บท. มนสิการกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการพิจารณาซึง่ ธาตุ ๑๘ มีอยู.่
๒๒. อายตนกุสลตาทุก.
ปฐมบท. อายตนกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูอ้ ายตน ๑๒ มีอยู.่
ทุตยิ บท. ปฏิจจฺ สมุปปฺ าทกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูป้ ฏิจสมุปบาททีม่ อี งค์ ๑๒-
35

มีอยู.่
๒๓. Ęานกุสลตาทุก.
ปฐมบท. Ęานกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูเ้ หตุอนั สมควรมีอยู.่
ทุตยิ บท. อฏฺĘานกุสลตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามฉลาดในการรูเ้ หตุอนั ไม่สมควรมีอยู.่
๒๔. อชฺชวทุก.
ปฐมบท. อชฺชโว จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูซ้ อ่ื ตรงมีอยู.่
ทุตยิ บท. มทฺทโว จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูอ้ อ่ นโยนมีอยู.่
๒๕. ขนฺตทิ กุ .
ปฐมบท. ขนฺติ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามอดทนมีอยู.่
ทุตยิ บท. โสรจฺจċฺ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ คี วามยินดีรา่ เริงในกุศลสุจริตมีอยู.่
๒๖. สาขลฺยทุก.
ปฐมบท. สาขลฺยċฺ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ วี าจาสุภาพอ่อนหวานมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปฏิสนฺถาโร จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูม้ กี ารต้อนรับโดยอามิสปฏิสนั ถาร และธรรม-
ปฏิสนั ถารมีอยู.่
๒๗. อินทฺ รฺ เิ ยสุอคุตตฺ ทฺวารตาทุก.
ปฐมบท. อินทฺ รฺ เิ ยสุอคุตตฺ ทฺวารตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูไ้ ม่สำรวมอินทรียใ์ นทวาร ๖ มีอยู.่
ทุตยิ บท. โภชเน อมตฺตċฺċตุ า จ อตฺถ.ิ
36

สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูไ้ ม่รจู้ กั ประมาณในการบริโภคมีอยู.่


๒๘. อินทฺ รฺ เิ ยสุคตุ ตฺ ทฺวารตาทุก.
ปฐมบท. อินทฺ รฺ เิ ยสุ คุตตฺ ทฺวารตา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูส้ ำรวมอินทรียใ์ นทวาร ๖ มีอยู.่
ทุตยิ บท. โภชเน มตฺตċฺċตุ า จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูร้ จู้ กั ประมาณในการบริโภคมีอยู.่
๒๙. มุฏĘฺ สจฺจทุก.
ปฐมบท. มุฏĘฺ สจฺจċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูข้ าดสติ หรือสภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็น-
ผูห้ ลงลืมมีอยู.่
ทุตยิ บท. อสมฺปชċฺċċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูข้ าดปัญญา หรือสภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคล-
ให้เป็นผูไ้ ม่มคี วามรอบรูม้ อี ยู.่
๓๐. สติสมฺปชċฺċทุก.
ปฐมบท. สติ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ สติทส่ี ามารถลึกได้มอี ยู.่
ทุตยิ บท. สมฺปชċฺċċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ปัญญาทีส่ ามารถรอบรูด้ ว้ ยดีโดยประการทัง้ ปวงมีอยู.่
๓๑. ปฏิสงฺขานพลทุก.
ปฐมบท. ปฏิสงฺขานพลċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ปัญญาทีพ่ จิ ารณาโดยไม่หว่นไหวในการพิจารณามีอยู.่
ทุตยิ บท. ภาวนาพลċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความไม่หว่นไหวทีเ่ กิดขึน้ แก่บคุ คลผูเ้ จริญโพชฌงค์ ๗ โดยอาศัย-
วิรยิ ะเป็นประธานมีอยู.่
๓๒. สมถวิปสฺสนาทุก.
ปฐมบท. สมโถ จ อตฺถ.ิ
37

สภาวธรรม คือ สมาธิทท่ี ำอกุศลธรรมอันเป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ กุศลธรรมให้สงบมีอยู.่


ทุตยิ บท. วิปสฺสนา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ปัญญาทีเ่ ห็นแจ้งในกุศลธรรมโดยอาการต่าง ๆ ด้วยอำนาจอนิจจ-
ลักขณะเป็นต้นมีอยู.่
๓๓. สมถนิมติ ตฺ ทุก.
ปฐมบท. สมถนิมติ ตฺ ċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ สมาธิทเ่ี กิดทีแรกเป็นเหตุของสมาธิทเ่ี กิดภายหลังมีอยู.่
ทุตยิ บท. ปคฺคาหนิมติ ตฺ ċฺจ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความเพยีรทีเ่ กิดทีแรกเป็นเหตุของความเพยีรทีเ่ กิดภายหลังมีอยู.่
๓๔. ปคฺคาหทุก.
ปฐมบท. ปคฺคาโห จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความเพยีรทีป่ ระคองซึง่ สัมปยุตตธรรมมีอยู.่
ทุตยิ บท. อวิกเฺ ขโป จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ สมาธิทท่ี ำให้จติ ไม่ฟซุ้ า่ นตัง่ มัน่ ในอารมณ์มอี ยู.่
๓๕. สีลวิปตฺตทิ กุ .
ปฐมบท. สีลวิปตฺติ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความวิบตั แิ ห่งศีลมีอยู.่
ทุตยิ บท. ทิฏĘฺ วิ ปิ ตฺติ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความวิบตั แิ ห่งความเห็นทีถ่ กู ต้องมีอยู.่
๓๖. สีลสมฺปทาทุก.
ปฐมบท. สีลสมฺปทา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความบริบรู ณ์แห่งศีลมีอยู.่
ทุตยิ บท. ทิฏĘฺ สิ มฺปทา จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความบริบรู ณ์แห่งปัญญามีอยู.่
๓๗. สีลวิสทุ ธฺ ทิ กุ .
ปฐมบท. สีลวิสทุ ธฺ ิ จ อตฺถ.ิ
38

สภาวธรรม คือ ความบริสทุ ธิเ์ ป็นพิเศษแห่งศีลมีอยู.่


ทุตยิ บท. ทิฏĘฺ วิ สิ ทุ ธฺ ิ จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความบริสทุ ธิเ์ ป็นพิเศษแห่งความเห็นมีอยู.่
๓๘. ทิฏĘฺ วิ สิ ทุ ธฺ โิ ขปนทุก.
ปฐมบท. ทิฏĘฺ วิ สิ ทุ ธฺ ิ โข ปน อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความบริสทุ ธิเ์ ป็นพิเศษแห่งความเห็นมีอยู.่
ทุตยิ บท. ยถาทิฏĘฺ สิ สฺ จ ปธานํ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความเพยีรอันสมควรแก่ทฏิ ฐิวสิ ทุ ธิญ ์ าณมีอยู.่
๓๙. สํเวชนิยฏฺĘานทุก.
ปฐมบท. สํเวโค จ สํเวชนิเยสุ Ęาเนสุ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความสลดใจเพราะ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะทีม่ สี ภาพทำให้สลด-
เป็นเหตุมอี ยู.่
ทุตยิ บท. สํวคิ คฺ สฺส จ โยนิโส ปธานํ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ความเพยีรอันกระทำในใจโดยแยบคายแห่งบุคคลผูม้ คี วามสลดใจ-
ต่อ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ มีอยู.่
๔๐. อสนฺตฏุ Ęฺ ติ ากุสลธมฺมทุก.
ปฐมบท. อสนฺตฏุ Ęฺ ติ า จ กุสเลสุ ธมฺเมสุ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูไ้ ม่อม่ิ ในกุศลมีอยู.่
ทุตยิ บท. อปฺปฏิวานิตา จ ปธานสฺมึ อตฺถ.ิ
สภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูไ้ ม่ทอ้ ถอยในความเพยีรเพือ่ ให้กศุ ลธรรมเจริญ-
ขึน้ หรือสภาวธรรมทีก่ ระทำบุคคลให้เป็นผูไ้ ม่ทอ้ ถอยในการเจริญสมถกรรมฐาน
วิปสั สนากรรมฐานมีอยู.่
๔๑. วิชชฺ าทุก.
ปฐมบท. วิชชฺ า จ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ปัญญาทีท่ ำลายโมหะให้สน้ิ ไปและกระทำความจริงให้ปรากฏมีอยู.่
ทุตยิ บท. วิมตุ ตฺ ิ จ อตฺถ.ิ
39

สภาวธรรม คือ สมาบัติ ๘ ทีพ่ น้ จากนิวรณธรรมอันเป็นปฏิปกั ขธรรมแห่งตน หรือ


พระนิพพานอันพ้นโดยเด็ดขาดจากกิเลสทัง้ ปวงมีอยู.่
๔๒. ขเยċาณทุก.
ปฐมบท. ขเย ċาณํ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ญาณทีใ่ นมัคคจิต ๔ ซึง่ กระทำกิเลสทัง้ หลายให้สน้ิ ไปมีอยู.่
ทุตยิ บท. อนุปปฺ าเท ċาณนฺติ อตฺถ.ิ
สภาวธรรม คือ ญาณทีใ่ นผลจิต ๔ ซึง่ เป็นทีส่ ดุ คือ ความไม่เกิดขึน้ แห่งกิเลสทัง้ -
หลายทีถ่ กู ประหานแล้วโดยมรรคนัน้ ๆ มีอยู.่
สุตตฺ นฺตกิ ทุกมาติกา.
มาติกา นิฏĘฺ ติ า.
๑. จิตตฺ ปุ ปาทกัณฑ์.
กุสลบท.
กามาวจรกุสลจิต.
กุศลจิตดวงที่ ๑.
[๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑] ธรรมทีเ่ ป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ċาณสมฺป-
ยุตตฺ ํ รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณมีรปู เป็นอารมณ์หรือ
มีเสียงเป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็น-
อารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ, วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ,
40

ในสมัยใด ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร,


ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ปีติ สุข เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, สมฺมาสติ โหติ,
สมฺมาสมาธิ โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ;
สทฺธาพลํ โหติ, วิรยิ พลํ โหติ, สติพลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, ปċฺċาพลํ โหติ,
หิรพี ลํ โหติ, โอตฺตปฺปพลํ โหติ;
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปป-
พละ;
อโลโภ โหติ, อโทโส โหติ, อโมโห โหติ;
อโลภ อโทสะ อโมหะ;
อนภิชฌ ฺ า โหติ, อพฺยาปาโท โหติ, สมฺมาทิฏฺ ิ โหติ;
อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ;
หิรี โหติ, โอตฺตปฺปํ โหติ;
หิริ โอตตัปปะ;
กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ, จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ;
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ;
กายลหุตา โหติ, จิตตฺ ลหุตา โหติ;
กายลหุตา จิตตลหุตา;
กายมุทตุ า โหติ, จิตตฺ มุทตุ า โหติ;
กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า;
41

กายกมฺมċฺċตา โหติ, จิตตฺ กมฺมċฺċตา โหติ;


กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา;
กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ, จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ;
กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา;
กายุชกุ ตา โหติ, จิตตฺ ชุ กุ ตา โหติ;
กายุชกุ ตา จิตตุชกุ ตา;
สติ โหติ, สมฺปชċฺċํ โหติ;
สติ สัมปชัญญะ;
สมโถ โหติ, วิปสฺสนา โหติ; ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ; เย วา ปน
ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ หรือนามธรรมทีอ่ งิ -
อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด มีอยูใ่ นสมัยนัน้ .
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
บทภาชนีย.์
[๒] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๒] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๓] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๓] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ
เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจความสุขทางใจอันเกิดจากสัมผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุ-
42

ทีส่ มกัน ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดจากเจโตสัมผัส กิรยิ า-


เสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดจากเจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๔] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา
สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๕] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๕] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๖] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
43

อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๗] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๗] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา สมฺมาสงฺกปฺโป;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ สัมมาสังกัปปะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๘] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๘] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา ความ-
ทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๙] กตมา ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ?
[๙] ปีตมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปีติ ปาโมชฺช,ํ อาโมทนา ปโมทนา, หาโส ปหาโส, วิตตฺ ิ
โอทคฺยํ อตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
ความอิม่ ใจ ความปราโมทย์ ความยินดียง่ิ ความบันเทิง ความร่าเริง ความ-
รืน่ เริง ความปลืม้ ใจ ความตืน่ เต้น ความทีจ่ ติ ชืน่ ชมยินดีในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ.
44

นีช้ อ่ื ว่า ปีตมิ ใี นสมัยนัน้ .


[๑๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ?
[๑๐] สุขมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขมีในสมัยนัน้ .
[๑๑] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๑๑] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ สมา-
ธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๑๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๒] สัทธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สทฺธา สทฺทหนา, โอกปฺปนา อภิปปฺ สาโท, สทฺธา สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สทฺธาพลํ;
ศรัทธา กิรยิ าทีเ่ ชือ่ ความปลงใจเชือ่ ความเลือ่ มใสยิง่ ศรัทธา อินทรียค์ อื -
ศรัทธา สัทธาพละในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
45

นีช้ อ่ื ว่าสัทธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .


[๑๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๓] วิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ -ฺ
ตธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ อินทรียค์ อื วิรยิ ะ วิรยิ ะพละ สัมมาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ นิ ทรียใ์ นสมัยนัน้ .
[๑๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๔] สตินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ ความ
ไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ อินทรียค์ อื สติ สติพละ สัมมาสติ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสตินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๕] สมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
46

ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-


ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
อินทรียค์ อื สมาธิ สมาธิพละ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๖] ปัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา อินทรียค์ อื ปัญญา
ปัญญาพละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่าง คือ
ปัญญา แสงสว่าง คือ ปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๗] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
47

วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;


จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ อินทรีย์ คือ มโน วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๘] โสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอัน เกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๙] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา, อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกัน-
อยู่ ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ความเป็นอยู่ ชีวติ นิ ทรีย-์
ของนามธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๐] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๒๐] สัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
48

อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า


อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้
ภาวะทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่-
ครวญ ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำ-
ทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่าง คือ ปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม ความเห็นชอบในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .
[๒๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ?
[๒๑] สัมมาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส อภินโิ รปนา
สมฺมาสงฺกปฺโป;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ ความดำริชอบ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ .
[๒๒] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาวายาโม โหติ?
49

[๒๒] สัมมาวายามะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺหี , ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารถความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ ความพยายามชอบ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาวายาโม โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาวายามะมีในสมัยนัน้ .
[๒๓] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาสติ โหติ?
[๒๓] สัมมาสติมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ
ความไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกชอบ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสติมใี นสมัยนัน้
[๒๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาสมาธิ โหติ?
[๒๔] สัมมาสมาธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ คงอยูแ่ ห่งจิต ความไม่-
ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
50

สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตัง้ ใจชอบในสมัยนัน้ อันใด;


อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสมาธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสมาธิมใี นสมัยนัน้ .
[๒๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย สทฺธาพลํ โหติ?
[๒๕] สัทธาพละ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สทฺธา สทฺทหนา, โอกปฺปนา อภิปปฺ สาโท, สทฺธา สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สทฺธาพลํ;
ศรัทธา กิรยิ าทีเ่ ชือ่ กิรยิ าทีป่ ลงใจเชือ่ ความเลือ่ มใสยิง่ ศรัทธา สัทธินทรีย์
กำลังคือศรัทธาในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สทฺธาพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัทธาพละมีในสมัยนัน้ .
[๒๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ?
[๒๖] วิรยิ พละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ -
ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ กำลังคือวิรยิ ะ สัมมาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ.
นีม้ ชี อ่ื ว่าวิรยิ พละมีในสมัยนัน้ .
[๒๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย สติพลํ โหติ?
[๗๒] สติพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
51

อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;


สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ
ความไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ กำลังคือสติ สัมมาสติ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สติพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสติพละมีในสมัยนัน้ .
[๒๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ?
[๒๘] สมาธิพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ กำลังคือสมาธิ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธิพละมีในสมัยนัน้ .
[๒๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċาพลํ โหติ?
[๒๙] ปัญญาพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้
ภาวะทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความคิดค้น ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
52

อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏฺ ;ิ


ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ กำลัง คือ
ปัญญา ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่าง คือ ปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความ-
ไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċาพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัญญาพละ มีในสมัยนัน้ .
[๓๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย หิรพี ลํ โหติ?
[๓๐] หิรพิ ละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีล่ ะอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีล่ ะอาย-
ต่อการประกอบอกุศลธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย หิรพี ลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าหิรพิ ละมีในสมัยนัน้ .
[๓๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปพลํ โหติ?
[๓๑] โอตัปปพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ
ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีเ่ กรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีเ่ กรง-
กลัวต่อการประกอบอกุศลธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโอตัปปพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๒] กตโม ตสฺมึ สมเย อโลโภ โหติ?
[๓๒] อโลภะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโลโภ อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺต,ํ อสาราโค อสารชฺชนา อสารชฺ-
53

ชิตตฺตํ อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ กุสลมูล;ํ


การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความไม่โลภ การไม่กำหนัด กิรยิ าทีไ่ ม่กำหนัด
ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโลโภ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโลภะมีในสมัยนัน้ .
[๓๓] กตโม ตสฺมึ สมเย อโทโส โหติ?
[๓๓] อโทสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺต,ํ อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช, อโทโส
กุสลมูล;ํ
การไม่คดิ ประทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย
ความไม่พยาบาท ความไม่คดิ เบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโทโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโทสะมีในสมัยนัน้ .
[๓๔] กตโม ตสฺมึ สมเย อโมโห โหติ?
[๓๔] อโมหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ,ิ อโมโห กุสลมูล;ํ
54

ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-


พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความ-
ไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ กุศลมูลคืออโมหะในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโมโห โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโมหะมีในสมัยนัน้ .
[๓๕] กตมา ตสฺมึ สมเย อนภิชฌ ฺ า โหติ?
[๓๕] อนภิชฌามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโลโภ อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺต,ํ อสาราโค อสารชฺชนา
อสารชฺชติ ตฺตํ อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ กุสลมูล;ํ
การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความไม่โลภ การไม่กำหนัด กิรยิ าทีไ่ ม่กำหนัด
ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อนภิชฌ ฺ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอนภิชฌามีในสมัยนัน้ .
[๓๖] กตโม ตสฺมึ สมเย อพฺยาปาโท โหติ?
[๓๖] อัพยาปาทะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺต,ํ อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช, อโทโส
กุสลมูล;ํ
การไม่คดิ ประทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย
ความไม่พยาบาท ความไม่คดิ เบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อพฺยาปาโท โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอัพยาปาทะมีในสมัยนัน้ .
[๓๗] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๓๗] สัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
55

อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ Ň ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า


อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความ-
ไม่หลง ความวิจยั ธรรม ความเห็นชอบในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๘] กตมา ตสฺมึ สมเย หิรี โหติ?
[๓๘] หิรมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีล่ ะอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ น่าละอาย กิรยิ าทีล่ ะอายต่อ-
การประกอบอกุศลธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย หิรี โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าหิรมิ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปํ โหติ?
[๓๙] โอตตัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ
56

ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีเ่ กรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีเ่ กรง-
กลัวต่อการประกอบอกุศลธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโอตตัปปะมีในสมัยนัน้ .
[๔๐] กตมา ตสฺมึ สมเย กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ?
[๔๐] กายปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส ปสฺสทฺธิ
ปฏิปปฺ สฺสทฺธิ ปสฺสมฺภนา ปฏิปปฺ สฺสมฺภนา ปฏิปปฺ สฺสมฺภติ ตฺต;ํ
การสงบ การสงบระงับ กิรยิ าทีส่ งบระงับ ความสงบระงับแห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ .
[๔๑] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ?
[๔๑] จิตตปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส ปสฺสทฺธิ ปฏิปปฺ สฺสทฺธิ ปสฺสมฺภนา
ปฏิปปฺ สฺสมฺภนา ปฏิปปฺ สฺสมฺภติ ตฺต;ํ
การสงบ การสงบระงับ กิรยิ าทีส่ งบ กิรยิ าทีส่ งบระงับ ความสงบระงับแห่ง
วิญญาณขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ .
[๔๒] กตมา ตสฺมึ สมเย กายลหุตา โหติ?
[๔๒] กายลหุตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส ลหุตา
ลหุปริณามตา อทนฺธนตา อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่กระด้าง แห่งเวทนาขันธ์
57

สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;


อยํ ตสฺมึ สมเย กายลหุตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายลหุตามีในสมัยนัน้ .
[๔๓] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ลหุตา โหติ?
[๔๓] จิตตลหุตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส ลหุตา ลหุปริณามตา อทนฺธนตา
อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่กระด้างแห่งวิญญาณ-
ขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ลหุตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตลหุตามีในสมัยนัน้ .
[๔๔] กตมา ตสฺมึ สมเย กายมุทตุ า โหติ?
[๔๔] กายมุทตุ ามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส มุทตุ า
มทฺทวตา อกกฺขลตา อกĘินตา;
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่กกั ขฬะ ความไม่แข็งแห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายมุทตุ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายมุทตุ ามีในสมัยนัน้ .
[๔๕] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ มุทตุ า โหติ?
[๔๕] จิตตมุทตุ ามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส มุทตุ า มทฺทวตา, อกกฺขลตา อกĘินตา;
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่กกั ขฬะ ความไม่แข็งแห่งวิญญาณขันธ์
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ มุทตุ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตมุทตุ ามีในสมัยนัน้ .
58

[๔๖] กตมา ตสฺมึ สมเย กายกมฺมċฺċตา โหติ?


[๖๑] กายกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส
กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงานแห่ง-
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายกมฺมċฺċตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ .
[๔๗] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ กมฺมċฺċตา โหติ?
[๔๗] จิตตกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงานแห่งวิญ-
ญาณขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ กมฺมċฺċตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ .
[๔๘] กตมา ตสฺมึ สมเย กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ?
[๔๘] กายปาคุญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส ปคุณตา
ปคุณตฺตํ ปคุณภาโว;
กิรยิ าทีค่ ล่องแคล่ว ความคล่องแคล่ว ภาวะทีค่ ล่องแคล่วแห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์สงั ขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายปาคุญญตามีในสมัยนัน้ .
[๔๙] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ?
[๔๙] จิตตปาคุญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
59

ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส ปคุณตา ปคุณตฺตํ ปคุณภาโว;


กิรยิ าทีค่ ล่องแคล่ว ความคล่องแคล่ว ภาวะทีค่ ล่องแคล่วแห่งวิญญาณขันธ์
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตปาคุญญตามีในสมัยนัน้ .
[๕๐] กตมา ตสฺมึ สมเย กายุชกุ ตา โหติ?
[๕๐] กายุชกุ ตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส อุชตุ า
อุชกุ ตา อชิมหฺ ตา อวงฺกตา อกุฏลิ ตา;
ความตรง กิรยิ าทีต่ รง ความไม่คด ความไม่โค้ง ความไม่งอแห่งเวทนา-
ขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายุชกุ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายุชกุ ตามีในสมัยนัน้ .
[๕๑] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ชุ กุ ตา โหติ?
[๕๑] จิตตุชกุ ตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส อุชตุ า อุชกุ ตา อชิมหฺ ตา อวงฺกตา
อกุฏลิ ตา;
ความตรง กิรยิ าทีต่ รง ความไม่คด ความไม่โค้ง ความไม่งอแห่งวิญญาณ-
ขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ชุ กุ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตุชกุ ตามีในสมัยนัน้ .
[๕๒] กตมา ตสฺมึ สมเย สติ โหติ?
[๕๒] สติมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ
60

ความไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ สติพละ สัมมาสติ


ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสติมใี นสมัยนัน้ .
[๕๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมฺปชċฺċํ โหติ?
[๕๓] สัมปชัญญะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้
ภาวะทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญ-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือ ปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความ-
ไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมฺปชċฺċํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมปชัญญะมีในสมัยนัน้ .
[๕๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สมโถ โหติ?
[๕๔] สมถะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
61

ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-


ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมโถ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมถะมีในสมัยนัน้ .
[๕๕] กตมา ตสฺมึ สมเย วิปสฺสนา โหติ?
[๕๕] วิปสั สนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิปสฺสนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิปสั สนามีในสมัยนัน้ .
[๕๖] กตโม ตสฺมึ สมเย ปคฺคาโห โหติ?
[๕๖] ปัคคาหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
62

อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ -
ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ สัมมาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปคฺคาโห โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัคคาหะมีในสมัยนัน้ .
[๕๗] กตโม ตสฺมึ สมเย อวิกเฺ ขโป โหติ?
[๕๗] อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อวิกเฺ ขโป โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอวิกเขปะมีในสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา.
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ .
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล
ปทภาชนียํ นิฏĘฺ ติ .ํ
บทภาชนียจ์ บ.
ปĘมภาณวารํ.
ปฐมภาณวารจบ.
63

โกฏฐาสวาร.
[๕๘] ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว
ธาตุโย โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ , อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ
โหติ, ปċฺจงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ
[๕๘] ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๕ มรรคมีองค์-
๕ พละ ๗,
ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, เอกา เวทนา โหติ, เอกา สċฺċา โหติ,
เอกา เจตนา โหติ, เอกํ จิตตฺ ํ โหติ, เอโก เวทนากฺขนฺโธ โหติ, เอโก สċฺċากฺ-
ขนฺโธ โหติ, เอโก สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ, เอโก วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ, เอกํ
มนายตนํ โหติ, เอกํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
เหตุ ๓ ผัสสะ ๑ เวทนา ๑ สัญญา ๑ เจตนา ๑ จิต ๑ เวทนาขันธ์ ๑ สัญญาขันธ์-
๑ สังขารขันธ์ ๑ วิญญาณขันธ์ ๑ มานายตนะ ๑ มนินทรีย์ ๑,
เอกา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
มโนวิญญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล
[๕๙] กตเม ตสฺมึ สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต?ิ
[๕๙] ขันธ์ ๔ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ.
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์.
[๖๐] กตโม ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺโธ โหติ?
[๖๐] เวทนาขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
64

ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอัน-


เกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส-
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนาขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
[๖๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สċฺċากฺขนฺโธ โหติ?
[๖๑] สัญญาขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สċฺċา สċฺชานนา สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċากฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญาขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
[๖๒] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๖๒] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา,
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สันธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ,
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ,
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปċฺċาพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ,
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปป-
พละ,
อโลโภ อโทโส อโมโห,
อโลภะ อโทสะ อโมหะ,
อนภิชฌ ฺ า อพฺยาปาโท สมฺมาทิฏĘฺ ,ิ
อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ,
65

หิรี โอตฺตปฺป,ํ
หิริ โอตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธ,ิ กายลหุตา จิตตฺ ลหุตา, กายมุทตุ า จิตตฺ มุทตุ า,
กายกมฺมċฺċตา, จิตตฺ กมฺมċฺċตา, กายปาคุċċ ฺ ตา จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา, กายุชกุ ตา
จิตตฺ ชุ กุ ตา,
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา,
สติ สมฺปชċฺċ,ํ สมโถ วิปสฺสนา, ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
สติ สัมปชัญญะ สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ นธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
[๖๓] กตโม ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ?
[๖๓] วิญญาณขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิญญาณขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
อิเม ตสฺมึ สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าขันธ์ ๔ มีในสมัยนัน้ .
66

[๖๔] กตมานิ ตสฺมึ สมเย ทฺวายตนานิ โหนฺต?ิ


[๖๔] อายตนะ ๒ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
มนายตนํ ธมฺมายตน.ํ
มนายตนะ ธัมมายตนะ.
[๖๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนายตนํ โหติ?
[๖๕] มนายตนะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนายตนํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนายตนะมีในสมัยนัน้ .
[๖๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย ธมฺมายตนํ โหติ?
[๖๖] ธัมมายตนะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; อิทํ ตสฺมึ สมเย ธมฺมายตนํ โหติ.
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นช้ี อ่ื ว่าธัมมายตนะมีในสมัยนัน้ .
อิมานิ ตสฺมึ สมเย ทฺวายตนานิ โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอายตนะ ๒ มีในสมัยนัน้ .
[๖๗] กตมา ตสฺมึ สมเย เทฺว ธาตุโย โหนฺต?ิ
[๖๗] ธาตุ ๒ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
มโนวิċċ ฺ าณธาตุ ธมฺมธาตุ.
มโนวิญญาณธาตุ ธรรมธาตุ,
[๖๘] กตมา ตสฺมึ สมเย มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ?
[๖๘] มโนวิญญาณธาตุมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
67

จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ


วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามโนวิญญาธาตุมใี นสมัยนัน้ .
[๖๙] กตมา ตสฺมึ สมเย ธมฺมธาตุ โหติ?
[๖๙] ธรรมธาตุมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; อยํ ตสฺมึ สมเย ธมฺมธาตุ โหติ.
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นช้ี อ่ื ว่าธรรมธาตุมใี นสมัยนัน้ .
อิมา ตสฺมึ สมเย เทฺว ธาตุโย โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธาตุ ๒ มีในสมัยนัน้ .
[๗๐] กตเม ตสฺมึ สมเย ตโย อาหารา โหนฺต?ิ
[๗๐] อาหาร ๓ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺสาหาโร มโนสċฺเจตนาหาโร วิċċ ฺ าณาหาโร.
ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร วิญญาณาหาร.
[๗๑] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺสาหาโร โหติ?
[๗๑] ผัสสาหารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺตํ ;
ความถูกต้อง อาการทีถ่ กู ต้อง กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ภาวะทีถ่ กู ต้องในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺสาหาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสาหารมีในสมัยนัน้ .
[๗๒] กตโม ตสฺมึ สมเย มโนสċฺเจตนาหาโร โหติ?
[๗๒] มโนสัญเจตนาหารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เจตนา สċฺเจตนา สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มโนสċฺเจตนาหาโร โหติ.
68

นีช้ อ่ื ว่ามโนสัญเจตนาหารมีในสมัยนัน้ .


[๗๓] กตโม ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณาหาโร โหติ?
[๗๓] วิญญาณาหารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณาหาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิญญาณาหารมีในสมัยนัน้ .
อิเม ตสฺมึ สมเย ตโย อาหารา โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอาหาร ๓ มีในสมัยนัน้ .
[๗๔] กตมานิ ตสฺมึ สมเย อฏฺĘนฺทรฺ ยิ านิ โหนฺต?ิ
[๗๔] อินทรีย์ ๘ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ
โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย.์
[๗๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๗๕] สัทธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สทฺธา สทฺทหนา, โอกปฺปนา อภิปปฺ สาโท, สทฺธา สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สทฺธาพลํ;
ศรัทธา กิรยิ าทีเ่ ชือ่ ความปลงใจเชือ่ ความเลือ่ มใสยิง่ ศรัทธา อินทรีย-์
คือศรัทธา สัทธาพละในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัทธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
69

[๗๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?


[๗๖] วิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ -
ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ อินทรียค์ อื วิรยิ ะ วิรยิ พละ สัมมาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๗๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๗๗] สตินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ
ความไม่ เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ อินทรียค์ อื สติ สติพละ สัมมาสติ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสตินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๗๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๗๘] สมาธินทรีย์ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
70

ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ


อินทรียค์ อื สมาธิ สมาธิพละ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๗๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๗๙] ปัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา อินทรียค์ อื ปัญญา
ปัญญาพละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือ-
ปัญญา แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๘๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๘๐] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
71

วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;


จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโนวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๘๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๘๑] โสมนัสสินหรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๘๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๘๒] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิต,ิ ยปนา ยาปนา, อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกัน-
อยู่ ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ
ของนามธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
อิมานิ ตสฺมึ สมเย อฏฺนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอินทรีย์ ๘ มีในสมัยนัน้ .
[๘๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ?
72

[๘๓] ฌานมีองค์ ๕ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


วิตกฺโก วิจาโร ปีติ สุขํ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา.
วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา,
[๘๔] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๘๔] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา สมฺมาสงฺกปฺโป;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ สัมมาสังกัปปะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๘๕] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๘๕] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา
ความทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๘๖] กตมา ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ?
[๘๖] ปีตมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปีติ ปาโมชฺช,ํ อาโมทนา ปโมทนา, หาโส ปหาโส, วิตตฺ ิ
โอทคฺยํ อตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
ความอิม่ ใจ ความปราโมทย์ ความยินดียง่ิ ความบันเทิง ความร่าเริง
ความรืน่ เริง ความปลืม้ ใจ ความตืน่ เต้น ความทีจ่ ติ ชืน่ ชมยินดีในสมัยนัน้
73

อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปีตมิ ใี นสมัยนัน้ .
[๘๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ?
[๘๗] สุขมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัสใน-
สมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขมีในสมัยนัน้ .
[๘๘] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
๘๘] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ.
สภาวธรรมนีช้ อ่ื ว่าฌานมีองค์ ๕ มีในสมัยนัน้ .
[๘๙] กตโม ตสฺมึ สมเย ปċฺจงฺคโิ ก มคฺโค โหติ?
[๘๙] มรรคมีองค์ ๕ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาสงฺกปฺโป, สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ.
74

สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.


[๙๐] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๙๐] สัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรู้ แจ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม ความเห็นชอบในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .
[๙๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ?
[๙๑] สัมมาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส อภินโิ รป-
นา สมฺมาสงฺกปฺโป;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ ความดำริชอบ
ในสมัยนัน้ อันใด;
75

อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ .
[๙๒] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาวายาโม โหติ?
[๙๒] สัมมาวายามะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ ความพยายามชอบ-
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาวายาโม โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาวายามะมีในสมัยนัน้ .
[๙๓] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาสติ โหติ?
[๙๓] สัมมาสติมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ ความ
ไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกชอบในสมัย-
นัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสติมใี นสมัยนัน้ .
[๙๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาสมาธิ โหติ?
[๙๔] สัมมาสมาธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส ิติ สณฺติ ิ อวฏฺติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
76

มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;


ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบแห่งจิต
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตัง้ จิตไว้ชอบในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสมาธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสมาธิมใี นสมัยนัน้ .
อยํ ตสฺมึ สมเย ปċฺจงฺคโิ ก มคฺโค โหติ.
สภาวธรรมนีช้ อ่ื ว่ามรรคมีองค์ ๕ มีในสมัยนัน้ .
[๙๕] กตมานิ ตสฺมึ สมเย สตฺต พลานิ โหนฺต?ิ
[๙๕] พละ ๗ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปċฺċาพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ.
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ.
[๙๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย สทฺธาพลํ โหติ?
[๙๖] สัทธาพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สทฺธา สทฺทหนา, โอกปฺปนา อภิปปฺ สาโท, สทฺธา สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สทฺธาพลํ;
ศรัทธา กิรยิ าทีเ่ ชือ่ ความปลงใจเชือ่ ความเลือ่ มใสยิง่ ศรัทธา สัทธินทรีย์
กำลังคือศรัทธาในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สทฺธาพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัทธาพละมีในสมัยนัน้ .
[๙๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ?
[๙๗] วิรยิ พละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
77

ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่


ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ กำลังคือวิรยิ ะ สัมมาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ พละมีในสมัยนัน้ .
[๙๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย สติพลํ โหติ?
[๙๘] สติพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ
ความไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ กำลังคือสติ สัมมาสติ
มีในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สติพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสติพละมีในสมัยนัน้ .
[๙๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ?
[๙๙] สมาธิพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ กำลังคือสมาธิ สัมมาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธิพละมีในสมัยนัน้ .
[๑๐๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċาพลํ โหติ?
78

[๑๐๐] ปัญญาพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ยา ตสฺมึ สมเย ปฺา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชฺํ ปโตโท, ปฺา ปฺนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปฺาพลํ,
ปฺาสตฺถํ ปฺาปาสาโท ปฺาอาโลโก ปฺาโอภาโส
ปฺาปชฺโชโต ปฺารตนํ,
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ กำลังคือ
ปัญญา ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปฺาพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัญญาพละมีในสมัยนัน้ .
[๑๐๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย หิรพี ลํ โหติ?
[๑๐๑] หิรพิ ละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย หิรยี ติ หิรยี ติ พฺเพน, หิรยี ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีล่ ะอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีล่ ะอายต่อ-
การประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย หิรพี ลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าหิรพิ ละมีในสมัยนัน้ .
79

[๑๐๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปพลํ โหติ?


[๑๐๒] โอตตัปปพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ
ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีเ่ กรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีเ่ กรง-
กลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโอตตัปปพละมีในสมัยนัน้ .
อิมานิ ตสฺมึ สมเย สตฺต พลานิ โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าพละ ๗ มีในสมัยนัน้ .
[๑๐๓] กตเม ตสฺมึ สมเย ตโย เหตู โหนฺต?ิ
[๑๐๓] เหตุ ๓ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
อโลโภ อโทโส อโมโห.
อโลภะเหตุ อโทสะเหตุ อโมหะเหตุ.
[๑๐๔] กตโม ตสฺมึ สมเย อโลโภ โหติ?
[๑๐๔] อโลภะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโลโภ อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺต,ํ อสาราโค อสารชฺชนา
อสารชฺชติ ตฺตํ อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ กุสลมูล;ํ
การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความไม่โลภ การไม่กำหนัด กิรยิ าทีไ่ ม่กำหนัด
ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคือความไม่โลภในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโลโภ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโลภะมีในสมัยนัน้ .
[๑๐๕] กตโม ตสฺมึ สมเย อโทโส โหติ?
[๑๐๕] อโทสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺต,ํ อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช, อโทโส
กุสลมูล;ํ
80

การไม่คดิ ประทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย


ความไม่พยาบาท ความไม่คดิ เบียดเบียน กุศลมูลคือความไม่คดิ ประทุษร้าย
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโทโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโทสะมีในสมัยนัน้ .
[๑๐๖] กตโม ตสฺมึ สมเย อโมโห โหติ?
[๑๐๖] อโมหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ภู้ าวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว,
อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ,ิ อโมโห กุสลมูล;ํ
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ กุศลมูลคืออโมหะในสมัยนัน้ -
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโมโห โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโมหะมีในสมัยนัน้ .
อิเม ตสฺมึ สมเย ตโย เหตู โหนฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าเหตุ ๓ มีในสมัยนัน้ .
81

[๑๐๗] กตโม ตสฺมึ สมเย เอโก ผสฺโส โหติ?


[๑๐๗] ผัสสะ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ อาการทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ -
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอโก ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสส ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๐๘] กตมา ตสฺมึ สมเย เอกา เวทนา โหติ?
[๑๐๘] เวทนา ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโต สัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอกา เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนา ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๐๙] กตมา ตสฺมึ สมเย เอกา สċฺċา โหติ?
[๑๐๙] สัญญา ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สċฺċา สċฺชานนา สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำ ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอกา สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญา ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๐] กตมา ตสฺมึ สมเย เอกา เจตนา โหติ?
[๑๑๐] เจตนา ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เจตนา สċฺเจตนา สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดในสมัยนัน้ อันใด;
82

อยํ ตสฺมึ สมเย เอกา เจตนา โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าเจตนา ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย เอกํ จิตตฺ ํ โหติ?
[๑๑๑] จิต ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย เอกํ จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิต ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๒] กตโม ตสฺมึ สมเย เอโก เวทนากฺขนฺโธ โหติ?
[๑๑๒] เวทนาขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ, เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอัน-
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส-
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอโก เวทนากฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนาขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๓] กตโม ตสฺมึ สมเย เอโก สċฺċากฺขนฺโธ โหติ?
[๑๑๓] สัญญาขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สċฺċา สċฺชานนา สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอโก สċฺċากฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญาขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๔] กตโม ตสฺมึ สมเย เอโก สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
83

[๑๑๔] สังขารขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา,
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ,
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ,
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปċฺċาพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ,
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปป-
พละ,
อโลโภ อโทโส อโมโห,
อโลภะ อโทสะ อโมหะ,
อนภิชฌ ฺ า อพฺยาปาโท สมฺมาทิฏĘฺ ,ิ
อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ,
หิรี โอตฺตปฺป,ํ
หิริ โอตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธ,ิ กายลหุตา จิตตฺ ลหุตา, กายมุทตุ า จิตตฺ มุทตุ า,
กายกมฺมċฺċตา จิตตฺ กมฺมċฺċตา, กายปาคุċċ ฺ ตา จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา, กายุชกุ ตา
จิตตฺ ชุ กุ ตา,
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา,
สติ สมฺปชċฺċํ สมโถ วิปสฺสนา ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป เย วา ปน ตสฺมึ สมเย
อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ
Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธํ อยํ ตสฺมึ สมเย เอโก
สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
84

สติ สัมปชัญญะ สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะหรือนามธรรมทีอ่ งิ -


อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ น-
สมัยนัน้ นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๕] กตโม ตสฺมึ สมเย เอโก วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๑๕] วิญญาณขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอโก วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิญญาณขันธ์ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย เอกํ มนายตนํ โหติ?
[๑๑๖] มนายตนะ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย เอกํ มนายตนํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนายตนะ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย เอกํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๑๗] มนินทรีย์ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย เอกํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
85

นีช้ อ่ื ว่ามนินทรีย์ ๑ มีในสมัยนัน้ .


[๑๑๘] กตมา ตสฺมึ สมเย เอกา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ?
[๑๑๘] มโนวิญญาณธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน, มานสํ ฯเปฯ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เอกา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามโนวิญญาณธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๑๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ?
[๑๑๙] ธัมมายตนะ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; อิทํ ตสฺมึ สมเย เอกํ ธมฺมายตนํ
โหติ.
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นช้ี อ่ื ว่าธัมมายตนะ ๑ มีในสมัยนัน้ .
[๑๒๐] กตมา ตสฺมึ สมเย เอกา ธมฺมธาตุ โหติ?
[๑๒๐] ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; อยํ ตสฺมึ สมเย เอกา ธมฺมธาตุ
โหติ.
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นช้ี อ่ื ว่าธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา.
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
โกฏĘาสวารจบ.
สุญญตวาร.
[๑๒๑] ตสฺมึ โข ปน สมเย ธมฺมา โหนฺต,ิ ขนฺธา โหนฺต,ิ อายตนานิ โหนฺต,ิ
ธาตุโย โหนฺต,ิ อาหารา โหนฺต,ิ อินทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ฌานํ โหติ, มคฺโค โหติ,
พลานิ โหนฺต,ิ เหตู โหนฺต,ิ ผสฺโส โหติ,
86

[๑๒๑] ก็ธรรม ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อาหาร อินทรีย์ ฌาน มรรค พละ เหตุ
ผัสสะ,
เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ โหติ, เวทนากฺขนฺโธ โหติ,
สċฺċากฺขนฺโธ โหติ, สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ, วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ,
เวทนา สัญญา เจตนา จิต เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์,
มนายตนํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มโนวิċċฺ าณธาตุ โหติ, ธมฺมายตนํ โหติ,
ธมฺมธาตุ โหติ; เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา
อรูปโิ น ธมฺมา;
มนายตนะ มนินทรีย์ มโนวิญญาณธาตุ ธัมมายตนะ ธรรมธาตุมใี นสมัย-
นัน้ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๒๒] กตเม ตสฺมึ สมเย ธมฺมา โหนฺต?ิ
[๑๒๒] ธรรมมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ; อิเม ตสฺมึ
สมเย ธมฺมา โหนฺต.ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์เหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีใน-
สมัยนัน้ .
[๑๒๓] กตเม ตสฺมึ สมเย ขนฺธา โหนฺต?ิ
[๑๒๓] ขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ; อิเม ตสฺมึ
สมเย ขนฺธา โหนฺต.ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์เหล่านีช้ อ่ื ว่าขันธ์มใี น-
สมัยนัน้ .
[๑๒๔] กตมานิ ตสฺมึ สมเย อายตนานิ โหนฺต?ิ
87

[๑๒๔] อายตนะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


มนายตนํ ธมฺมายตน;ํ อิมานิ ตสฺมึ สมเย อายตนานิ โหนฺต.ิ
มนายตนะ ธัมมาตนะเหล่านีช้ อ่ื ว่าอายตนะมีในสมัยนัน้ .
[๑๒๕] กตมา ตสฺมึ สมเย ธาตุโย โหนฺต?ิ
[๑๒๕] ธาตุ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
มโนวิċċ ฺ าณธาตุ ธมฺมธาตุ; อิมา ตสฺมึ สมเย ธาตุโย โหนฺต.ิ
มโนวิญญาณธาตุ ธรรมธาตุเหล่านีช้ อ่ื ว่าธาตุมใี นสมัยนัน้ .
[๑๒๖] กตเม ตสฺมึ สมเย อาหารา โหนฺต?ิ
[๑๒๖] อาหารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺสาหาโร มโนสċฺเจตนาหาโร วิċċ ฺ าณาหาโร; อิเม ตสฺมึ สมเย อาหารา
โหนฺต.ิ
ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร วิญญาณาหารเหล่านีช้ อ่ื ว่าอาหารมีในสมัย-
นัน้ .
[๑๒๗] กตมานิ ตสฺมึ สมเย อินทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต?ิ
[๑๒๗] อินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ
โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ อิมานิ ตสฺมึ สมเย อินทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต.ิ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียเ์ หล่านีช้ อ่ื ว่าอินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๒๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย ฌานํ โหติ?
[๑๒๘] ฌานมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
วิตกฺโก วิจาโร ปีติ สุขํ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา; อิทํ ตสฺมึ สมเย ฌานํ โหติ.
วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตานีช้ อ่ื ว่าฌานมีในสมัยนัน้ .
[๑๒๙] กตโม ตสฺมึ สมเย มคฺโค โหติ?
[๑๒๙] มรรคมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาสงฺกปฺโป, สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ; อยํ ตสฺมึ
88

สมเย มคฺโค โหติ.


สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธินช้ี อ่ื ว่า-
มรรคมีในสมัยนัน้ .
[๑๓๐] กตมานิ ตสฺมึ สมเย พลานิ โหนฺต?ิ
[๑๓๐] พละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปċฺċาพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ; อิมานิ
ตสฺมึ สมเย พลานิ โหนฺต.ิ
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปป-
พละเหล่านีช้ อ่ื ว่าพละมีในสมัยนัน้ .
[๑๓๑] กตเม ตสฺมึ สมเย เหตู โหนฺต?ิ
[๑๓๑] เหตุมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
อโลโภ อโทโส อโมโห; อิเม ตสฺมึ สมเย เหตู โหนฺต.ิ
อโลภะ อโทสะ อโมหะเหล่านีช้ อ่ื ว่าเหตุมใี นสมัยนัน้ .
[๑๓๒] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
[๑๓๒] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๑๓๓] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
[๑๓๓] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๑๓๔] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
[๑๓๔] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๑๓๕] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
[๑๓๕] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๑๓๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ? ฯเปฯ อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
[๑๓๖] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๑๓๗] กตโม ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺโธ โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย
เวทนากฺขนฺโธ โหติ.
[๑๓๗] เวทนาขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าเวทนาขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
89

[๑๓๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สċฺċากฺขนฺโธ โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย
สċฺċากฺขนฺโธ โหติ.
[๑๓๘] สัญญาขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าสัญญาขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
[๑๓๙] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย
สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
[๑๓๙] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
[๑๔๐] กตโม ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย
วิċċฺ าณกฺขนฺโธ โหติ.
[๑๔๐] วิญญาณขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าวิญญาณขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
[๑๔๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนายตนํ โหติ? ฯเปฯ อิทํ ตสฺมึ สมเย มนายตนํ
โหติ.
[๑๔๑] มนายตนะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่ามนายตนะมีในสมัยนัน้ .
[๑๔๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ? ฯเปฯ อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ
โหติ.
[๑๔๒] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๑๔๓] กตมา ตสฺมึ สมเย มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ? ฯเปฯ อยํ ตสฺมึ สมเย
มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ.
[๑๔๓] มโนวิญญาณธาตุมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่ามโนวิญญาณธาตุ
มีในสมัยนัน้ .
[๑๔๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย ธมฺมายตนํ โหติ?
[๑๔๔] ธัมมายตนะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; อิทํ ตสฺมึ สมเย ธมฺมายตนํ
โหติ.
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นช้ี อ่ื ว่าธัมมายตนะมีในสมัยนัน้ .
[๑๔๕] กตมา ตสฺมึ สมเย ธมฺมธาตุ โหติ?
[๑๔๕] ธรรมธาตุมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
90

เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; อยํ ตสฺมึ สมเย ธมฺมธาตุ โหติ.


เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นช้ี อ่ื ว่าธรรมธาตุมใี นสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อฺเปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา.
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ .
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
สุญญตวารจบ.
กุศลจิตดวงที่ ๒.
[๑๔๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๔๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ċาณสมฺป-
ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา, ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหครคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณมีรปู เป็นอารมณ์
ฯลฯ มีธรรมเป็นอารมณ์ หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง,
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ,ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ.
ในสมัยใดผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ทุตยิ ํ จิตตฺ .ํ
กุศลจิตดวงที่ ๓.
[๑๔๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๔๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ċาณวิป-ฺ
ปยุตตฺ ํ รูปารมฺมณํ วา, ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์ หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด,
91

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ, วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ,
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา,
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
ชีวติ นิ ทรีย,์
สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, สมฺมาสติ โหติ, สมฺมาสมาธิ โหติ,
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ,
สทฺธาพลํ โหติ, วิรยิ พลํ โหติ, สติพลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, หิรพี ลํ โหติ,
โอตฺตปฺปพลํ โหติ,
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ,
อโลโภ โหติ, อโทโส โหติ, อนภิชฌ ฺ า โหติ, อพฺยาปาโท โหติ, หิรี โหติ,
โอตฺตปฺปํ โหติ,
อโลภะ อโทสะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ หิริ โอตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ, จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ, กายลหุตา โหติ, จิตตฺ ลหุตา โหติ,
กายมุทตุ า โหติ, จิตตฺ มุทตุ า โหติ, กายกมฺมċฺċตา โหติ, จิตตฺ กมฺมċฺċตา
โหติ, กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ, จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ, กายุชกุ ตา โหติ, จิตตฺ ชุ กุ ตา
โหติ,
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา,
สติ โหติ, สมโถ โหติ, ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สติ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
92

อิเม ธมฺมา กุสลา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ สตฺตนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, ฉ พลานิ โหนฺต,ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๗ ฌานมีองค์ ๕ มรรคมีอง-
ค์ ๔ พละ ๖ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๔๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๔๘] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา,
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ,
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ,
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ,
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ,
อโลโภ อโทโส, อนภิชฌ ฺ า อพฺยาปาโท, หิรี โอตฺตปฺป,ํ
อโลภะ อโทสะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ หิริ โอตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธ,ิ กายลหุตา จิตตฺ ลหุตา, กายมุทตุ า จิตตฺ มุทตุ า,
93

กายกมฺมċฺċตา จิตตฺ กมฺมċฺċตา, กายปาคุċċ ฺ ตา จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา,


กายุชกุ ตา จิตตฺ ชุ กุ ตา,
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา,
สติ, สมโถ, ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
สติ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ อยํ
ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขัน-
ธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์นช้ี อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตติยํ จิตตฺ .ํ
กุศลจิตดวงที่ ๔.
[๑๔๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๔๙] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ċาณวิปปฺ -
ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา, ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์ หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ,ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ,
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
94

สภาวะธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่า ธรรมเป็นกุศล ฯลฯ


จตุตถฺ ํ จิตตฺ .ํ
กุศลจิตดวงที่ ๕.
[๑๕๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๕๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ċาณสมฺป-
ยุตตฺ ํ รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยญาณมีรปู เป็นอารมณ์
หรือมีเสียงเป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะ-
เป็นอารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์ หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
อุเบกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, สมฺมาสติ โหติ,
สมฺมาสมาธิ โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ;
สทฺธาพลํ โหติ, วิรยิ พลํ โหติ, สติพลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, ปċฺċาพลํ โหติ,
หิรพี ลํ โหติ, โอตฺตปฺปพลํ โหติ;
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปป-
พละ;
อโลโภ โหติ, อโทโส โหติ, อโมโห โหติ;
95

อโลภะ อโทสะ อโมหะ;


อนภิชฌ ฺ า โหติ, อพฺยาปาโท โหติ, สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ;
อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ;
หิรี โหติ, โอตฺตปฺปํ โหติ;
หิริ โอตตัปปะ;
กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ, จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ; กายลหุตา โหติ, จิตตฺ ลหุตา โหติ;
กายมุทตุ า โหติ, จิตตฺ มุทตุ า โหติ; กายกมฺมċฺċตา โหติ, จิตตฺ กมฺมċฺċตา
โหติ; กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ, จิตตฺ ปาคุċċ
ฺ ตา โหติ; กายุชกุ ตา โหติ, จิตตฺ ชุ กุ ตา
โหติ;
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา;
สติ โหติ, สมฺปชċฺċํ โหติ; สมโถ โหติ, วิปสฺสนา โหติ; ปคฺคาโห โหติ,
อวิกเฺ ขโป โหติ;
สติ สัมปชัญญะ สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๕๑] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๑๕๑] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๑๕๒] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
96

[๑๕๒] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ,
เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่อนั เกิดแต่สมั ผัสแห่ง-
มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจ-
โตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๑๕๓] กตมา ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ?
[๑๕๓] อุเบกขามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อัน-
เกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าอุเบกขามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๑๕๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๑๕๔] อุเบกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อัน-
เกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ. ฯเปฯ
97

นีช้ อ่ื ว่าอุเบกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ . ฯลฯ


เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล. ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๔;
ปċฺจงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
มรรคมีองค์ ๕ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล. ฯลฯ
[๑๕๕] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๕๕] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา,
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาสงฺกปฺโป, สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ,
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ,
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปċฺċาพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ,
98

สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ,


อโลโภ อโทโส อโมโห, อนภิชฌ ฺ า อพฺยาปาโท สมฺมาทิฏĘฺ ,ิ หิรี โอตฺตปฺป,ํ
อโลภะ อโทสะ อโมหะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ หิริ โอตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธ,ิ กายลหุตา จิตตฺ ลหุตา, กายมุทตุ า จิตตฺ มุทตุ า,
กายกมฺมċฺċตา จิตตฺ กมฺมċฺċตา, กายปาคุċċ ฺ ตา จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา, กายุชกุ ตา
จิตตฺ ชุ กุ ตา,
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา,
สติ สมฺปชċฺċ,ํ สมโถ วิปสฺสนา, ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
สติ สัมปชัญญะ สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ,ํ อยํ
ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์นช้ี อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่า ธรรมเป็นกุศล.
ปċฺจมํ จิตตฺ .ํ
กุศลจิตดวงที่ ๖.
[๑๕๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๕๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ċาณสมฺป-
ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา, ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยญาณมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
99

มีธรรมเป็นอารมณ์หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง


ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ. ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า
ธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ฉฏฺĘํ จิตตฺ .ํ
กุศลจิตดวงที่ ๗.
[๑๕๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๕๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ċาณวิปปฺ -
ยุตตฺ ํ รูปารมฺมณํ วา, ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ อุเบกขินทรีย์
ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, สมฺมาสติ โหติ, สมฺมาสมาธิ โหติ;
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ;
สทฺธาพลํ โหติ, วิรยิ พลํ โหติ, สติพลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, หิรพี ลํ โหติ,
โอตฺตปฺปพลํ โหติ;
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ;
อโลโภ โหติ, อโทโส โหติ;
100

อโลภะ อโทสะ;
อนภิชฌ ฺ า โหติ, อพฺยาปาโท โหติ;
อนภิชฌา อัพยาปาทะ;
หิรี โหติ, โอตฺตปฺปํ โหติ;
หิริ โอตตัปปะ;
กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ, จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ; กายลหุตา โหติ, จิตตฺ ลหุตา โหติ;
กายมุทตุ า โหติ, จิตตฺ มุทตุ า โหติ; กายกมฺมċฺċตา โหติ, จิตตฺ กมฺมċฺċตา
โหติ; กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ, จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ; กายุชกุ ตา โหติ, จิตตฺ ชุ กุ ตา
โหติ;
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา;
สติ โหติ, สมโถ โหติ, ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สติ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล. ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ สตฺตนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๗ ฌานมีองค์ ๔,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, ฉ พลานิ โหนฺต,ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ,
มรรคมีองค์ ๔ พละ ๖ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
101

หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;


อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล. ฯลฯ
[๑๕๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๕๘] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ,
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ;
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ,
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ;
อโลโภ อโทโส, อนภิชฌ ฺ า อพฺยาปาโท, หิรี โอตฺตปฺป,ํ
อโลภะ อโทสะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ หิริ โอตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธ,ิ กายลหุตา จิตตฺ ลหุตา, กายมุทตุ า จิตตฺ มุทตุ า,
กายกมฺมċฺċตา จิตตฺ กมฺมċฺċตา, กายปาคุċċ ฺ ตา จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา, กายุชกุ ตา
จิตตฺ ชุ กุ ตา,
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา,
สติ สมโถ, ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
สติ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ อยํ
ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
102

หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์


สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์นช้ี อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
สตฺตมํ จิตตฺ .ํ
กุศลจิตดวงที่ ๘.
[๑๕๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๕๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ċาณวิปปฺ -
ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา, ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา, ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์ หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ,
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ,
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อฏฺĘมํ จิตตฺ .ํ
อฏฺĘ กามาวจรมหากุสลจิตตฺ านิ.
กามวจรมหากุศลจิตทัง้ ๘ ดวงจบ.
ทุตยิ ภาณวารํ.
ทุตยิ ภาณวารจบ.
รูปาวจรกุสล.
จตุกกนัย.
[๑๖๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๖๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
103

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ วิวจิ จฺ อกุสเลหิ
ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีตสิ ขุ ํ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ,
ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปตี แิ ละสุขอันเกิดแต่วเิ วกอยูใ่ นสมัยใดผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๖๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๖๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา อชฺฌตฺตํ
สมฺปสาทนํ เจตโส เอโกทิภาวํ อวิตกฺกํ อวิจารํ สมาธิชํ ปีตสิ ขุ ํ ทุตยิ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌานทีม่ ปี ฐวี-
กสิณเป็นอารมณ์ภายในผ่องใสเพราะวิตกวิจารสงบจิตถึงความเป็นธรรม-
ชาติผดุ ขึน้ ดวงเดียว ไม่มวี ติ กวิจารมีแต่ปตี แิ ละสุขอันเกิดจากสมาธิอยูใ่ น-
สมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต ปีติ สุข เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
104

สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ติวงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๓
มรรคมีองค์ ๔ พละ ๓ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๖๒] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๖๒] สังขารขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา,
ผัสสะ เจตนา ปีติ เอกัคคตา,
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
สมฺมาทิฏĘิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
105

เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา


Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์วญ ิ ญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๖๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๖๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, ปีตยิ า จ วิราคา อุเปกฺขโก จ วิหรติ
สโต จ สมฺปชาโน, สุขċฺจ กาเยน ปฏิสเํ วเทติ, ยนฺตํ อริยา อาจิกขฺ นฺติ
อุเปกฺขโก สติมา สุขวิหารีต,ิ ตติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมเิ พราะคลายปีตไิ ด้อกี ด้วย
จึงเป็นผูเ้ พ่งโดยอุปบัติ มีสติสมั ปชัญญะอยู่ และเสวยสุขด้วยนามกายพระ-
อริยะทัง้ หลายย่อมกล่าวสรรเสริญบุคคลนัน้ ว่าเป็นผูเ้ พ่งโดยอุปบัตมิ สี ติอยู-่
เป็นสุขดังนีเ้ พราะฌานใด บรรลุตติยฌานนัน้ ทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต สุข เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
106

สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ทุวงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๒
มรรคมีองค์ ๔ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๖๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๖๔] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
ชีวติ นิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
107

สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๖๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๖๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สุขสฺส จ ปหานา ทุกขฺ สฺส จ ปหานา
ปุพเฺ พว โสมนสฺสโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมา อทุกขฺ มสุขํ อุเปกฺขาสติปาริสทุ ธฺ ึ
จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุจตุตถฌานทีม่ ปี ฐวี-
กสิณเป็นอารมณ์ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขและทุกข์ได้ เพราะโสมนัส-
และโทมนัสดับสนิทในก่อน มีสติบริสทุ ธิเ์ พราะอุเบกขาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต อุเบกขา เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
อุเบกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
108

ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย


โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ทุวงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๒ มรรคมี-
องค์ ๔ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๖๖] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๖๖] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์
ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะอวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
109

จตุกกนัยจบ.
ปัญจกนัย.
[๑๖๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๖๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใดผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๖๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๖๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อวิตกฺกํ วิจารมตฺตํ สมาธิชํ ปีตสิ ขุ ํ
ทุตยิ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌานทีม่ ปี ฐวีก-
สิณเป็นอารมณ์ไม่มวี ติ กมีแต่วจิ ารมีปตี แิ ละสุขอันเกิดจากสมาธิ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
110

สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๔ มรรคมี-
องค์ ๔ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๖๙] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๖๙] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ
สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนŅ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห
อวิกเฺ ขโป,
ผัสสะ เจตนา วิจาร ปีติ เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ
ปัคคาหะ อวิกเขปะ,
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
111

Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ อยํ


ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๗๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๗๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุตติยฌานทีม่ ปี ฐวีก-
สิณเป็นอารมณ์ภายในผ่องใสเพราะวิตกวิจารสงบ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต ปีติ สุข เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
112

โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ติวงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๓ มรรคมี-
องค์ ๔ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล. ฯลฯ
[๑๗๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๗๑] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
ผัสสะ เจตนา ปีติ เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์
ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ
อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ,
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ,
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นกุศล
113

[๑๗๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?


[๑๗๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, ปีตยิ า จ วิราคา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมเิ พราะคลายปีตไิ ด้อกี ด้วย
ฯลฯ บรรลุจตุตถฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต สุข เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ทุวงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๒ มรรคมี-
องค์ ๔ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
114

ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;


เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๗๓] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๑๗๓] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส, เจตนา, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์
ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ,
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๗๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๗๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุปญ ั จมฌานทีม่ ี
ปฐวีกสิณเป็นอารมณ์ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขและทุกข์ได้ ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
115

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต อุเบกขา เอกัคคตา;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, ฯเปฯ ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ อฏฺĘนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ทุวงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๘ ฌานมีองค์ ๒ มรรคมี-
องค์ ๔ พละ ๗ เหตุ ๓ ผัสสะ ๑,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๑๗๕] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
116

[๑๗๕] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ผสฺโส เจตนา, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาวายาโม ฯเปฯ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์
ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาวายามะ ฯลฯ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ เว้นเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ปัญจกนัยจบ.
ปฏิปทา ๔.
[๑๗๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๗๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
117

[๑๗๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?


[๑๗๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๗๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๗๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๗๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๗๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ํ ปĘวีกสิณ;ํ
118

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-


อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ ฯเปฯ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั -
จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
ทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ ทีม่ ปี ฐวีกสิณ-
เป็นอารมณ์ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ ทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ปฏิปทา ๔ จบ.
119

อารมณ์ ๔.
[๑๘๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์มกี ำลัง-
น้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์มกี ำลัง-
น้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ,
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
120

อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ


โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์มกี ำลัง-
มาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์มกี ำลัง-
มาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ ฯเปฯ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณา-
รมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ ฯเปฯ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ ฯเปฯ อปฺปมาณํ
อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
121

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ


บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั -
จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์มกี ำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯมีกำลัง-
น้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ มีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ มีกำลังมาก
มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อารมณ์ ๔ จบ.
โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกฌานเป็นอย่างละ ๑๖.
[๑๘๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
122

อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ


ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๘๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
123

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-


อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
124

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
125

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์เป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์เป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
126

[๑๙๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์เป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ; ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
127

อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ú ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ


โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๙๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๙๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
128

อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-


ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ,
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ
ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นสุขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ
ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ
บรรลุปญ
ั จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
129

มีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ú อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ú ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ú อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ú ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
130

ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์;


ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ
ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ ปĘวีกสิณวํ ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ ปĘวีกสิณ;ํ
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์ไพบูลย์ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกฌานเป็นอย่างละ ๑๖ จบ.
อฏฺĘกสิณํ โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกกสิณ ๘ เป็นอย่างละ ๑๖.
[๒๐๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ อาโปกสิณ;ํ ฯเปฯ เตโชกสิณ;ํ ฯเปฯ วาโยกสิณ;ํ ฯเปฯ นีลกสิณํ
ฯเปฯ ปีตกสิณ;ํ ฯเปฯ โลหิตกสิณ;ํ ฯเปฯ โอทาตกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานทีม่ อี าโปกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
ทีม่ เี ตโชกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ ทีม่ วี าโยกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ ทีม่ นี ลี กสิณ-
เป็นอารมณ์ ฯลฯ ทีม่ ปี ตี กสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ ทีม่ โี ลหิตกสิณเป็นอารมณ์
ฯลฯ ทีม่ โี อทาตกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
131

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อฏฺĘกสิณํ โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกกสิณ ๘ เป็นอย่างละ ๑๖จบ.
อภิภายตนานิ ปริตตฺ านิ.
อภิภายตนะปริตตะ.
[๒๐๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายใน เห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌาน ฯลฯ อยูใ่ น-
สมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
132

รูปภายใน เห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้


บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อภิภายตนะปริตตะจบ.
ปฏิปทา ๔.
[๒๐๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อย ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
133

ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ


โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อย ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌาน เป็นทุกขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อย ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานเป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๐๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๐๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
134

ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ


โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรฒทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานเป็นสุขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๑๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċฺ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นทุกขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิป-
ทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
135

จตสฺโส ปฏิปทา.
ปฏิปทา ๔ จบ.
เทฺว อารมฺมณานิ.
อารมณ์ ๒.
[๒๑๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานมีกำลังน้อย
มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๑๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานมีกำลังมาก
มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
136

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๑๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ; ฯเปฯ อปฺปมาณํ
ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานมีกำลังน้อยมีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ มีกำลังมาก
มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
เทฺว อารมฺมณานิ.
อารมณ์ ๒ จบ.
อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกฌานเป็นอย่างละ ๘.
[๒๑๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
137

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๑๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๑๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
138

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล
[๒๑๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล
[๒๑๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
139

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๑๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๑๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๒๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
140

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๒๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาป-
ฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมาก มีอารมณ์เล็กน้อย ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๒๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
141

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ
ปริตตฺ ารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายใน เห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย
มีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์เล็กน้อย;
ฯเปฯ สุขาปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์เล็กน้อยอยูใ่ น-
สมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
142

ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกฌานเป็นอย่างละ ๘ จบ.
อิทมฺปิ อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกอภิภายตนะแม้นเ้ี ป็นอย่างละ ๘.
[๒๒๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ สุวณฺณทุพพฺ ณฺณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยมีสงี ามหรือสีไม่งามตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็น
ครอบงำรูปนัน้ สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๒๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปริตตฺ านิ สุวณฺณทุพพฺ ณฺณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
143

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-


รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ล็กน้อยมีสงี ามหรือสีไม่งาม ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะ-
เห็นครอบงำรูปนัน้ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถ-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อิทมฺปิ อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกอภิภายตนะแม้นเ้ี ป็นอย่างละ ๘ จบ.
อปฺปมาณานิ.
อัปปมาณะ.
[๒๒๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายใน เห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ตง้ั ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
144

[๒๒๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?


[๒๒๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่บริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ตง้ั ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐม
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อัปปมาณะจบ.
จตสฺโส ปฏิปทา.
ปฏิปทา ๔.
[๒๒๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
145

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๒๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๒๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๒๙] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิ-
ปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
146

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิ-
ปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċฺ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
147

ทุตยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน


ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นทุกขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิป-
ทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
จตสฺโส ปฏิปทา.
ปฏิปทา ๔ จบ.
เทฺว อารมฺมณานิ.
อารมณ์ ๒.
[๒๓๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๘๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน มีกำลังน้อย
มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
148

[๒๓๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานมีกำลังมาก
มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ; ฯเปฯ อปฺปมาณํ
อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐม
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานมีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ มีกำลังมาก
มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
149

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
เทฺว อารมฺมณานิ.
อารมณ์ ๒ จบ.
อปรมฺปิ อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกฌานเป็นอย่างละ ๘ อีกนัยหนึง่ .
[๒๓๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺ-
มณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย มีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ
อปฺปมาณารมฺมณํ;
150

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-


รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺ-
มณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
151

ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ อปฺปมาณํ


อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๓๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๓๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺ-
มณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิ-
ปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๔๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
152

ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ
อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิ-
ปทาทันธาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๔๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ
อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิ-
ปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
153

[๒๔๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?


[๒๔๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ
อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิ-
ปทาขิปปาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๔๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ
ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ
อปฺปมาณารมฺมณํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐม
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อย
มีอารมณ์ไพบูลย์;
154

ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ;


ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขาปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ปริตตฺ ํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังน้อยมีอารมณ์ไพบูลย์;
ฯเปฯ สุขาปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณํ;
ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญามีกำลังมากมีอารมณ์ไพบูลย์อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อปรมฺ อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกฌานเป็นอย่างละ ๘ อีกนัยหนึง่ จบ.
อิทมฺปิ อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกอภิภายตนแม้นเ้ี ป็นอย่างละ ๘.
[๒๔๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ, สุวณฺณทุพพฺ ณฺณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ
155

วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;


โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญา
ในรูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์มสี งี ามหรือมีสไี ม่งาม ตัง้ ใจว่าจะรู-้
จะเห็นครอบงำรูปนัน้ สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุ-
ปฐมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๔๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ อปฺปมาณานิ สุวณฺณทุพพฺ ณฺณานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ ปสฺสามีติ
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีไ่ พบูลย์ทง้ั มีสงี ามและมีสไี ม่งาม ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะ
เห็นครอบงำรูปนัน้ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถ-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อิทมฺปิ อฏฺĘกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกอภิภายตนแม้นเ้ี ป็นอย่างละ ๘ จบ.
อภิภายตนานิ โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
156

จำแนกอภิภายตนเป็นอย่างละ ๑๖.
[๒๔๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ? อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ นีลานิ นีลวณฺณานิ นีลนิทสฺสนานิ นีลนิภาสานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ
ชานามิ ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ ขียวมีวรรณเขียวเขียวแท้มรี ศั มีเขียว ตัง้ ใจว่า
จะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้ สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว
บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๔๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ ปีตานิ ปีตวณฺณานิ ปีตนิทสฺสนานิ ปีตนิภาสานิ, ฯเปฯ โลหิตกานิ
โลหิตกวณฺณานิ โลหิตกนิทสฺสนานิ โลหิตกนิภาสานิ, ฯเปฯ โอทาตานิ
โอทาตวณฺณานิ โอทาตนิทสฺสนานิ โอทาตนิภาสานิ, ตานิ อภิภยุ ยฺ ชานามิ
ปสฺสามีติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกทีเ่ หลืองมีวรรณเหลืองเหลืองแท้มรี ศั มีเหลืองฯลฯ
เห็นรูปภายนอกทีแ่ ดงมีวรรณแดงแดงแท้มรี ศั มีแดง ฯลฯ เห็นรูปภายนอก-
ทีข่ าวมีวรรณขาวขาวแท้มรี ศั มีขาว ตัง้ ใจว่าจะรูจ้ ะเห็นครอบงำรูปนัน้
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ อยูใ่ น-
157

สมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา ฯเปฯ
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อิมานิปิ อภิภายตนานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
อภิภายตนะแม้เหล่านีก้ แ็ จกอย่างละ ๑๖.
ตีนิ วิโมกขานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
จำแนกวิโมกข์ ๓ เป็นอย่างละ ๑๖.
[๒๔๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, รูปี รูปานิ ปสฺสติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ
ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมเิ ป็นผูไ้ ด้ฌานมีรปู ภายใน
เป็นอารมณ์เห็นรูปทัง้ หลายสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว
บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ,ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๔๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๔๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อชฺฌตฺตํ อรูปสċฺċี พหิทธฺ า รูปานิ
ปสฺสติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมไิ ม่มบี ริกรรมสัญญาใน-
รูปภายในเห็นรูปภายนอกสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว
158

บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;


ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สุภนฺติ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมผิ กู ใจอยูใ่ นวรรณกสิณ-
ว่างามสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อิมานิปิ ตีณิ วิโมกฺขานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
แม้วโิ มกข์ ๓ นีก้ แ็ จกอย่างละ ๑๖.
จตฺตาริ พฺรหฺมวิหารฌานานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
จำแนกพรหมวิหารฌาน ๔ เป็นอย่างละ ๑๖.
[๒๕๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีส่ หรคตด้วยเมตตา ฯลฯ
159

อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌานทีส่ หร-
คตด้วยเมตตา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, ปีตยิ า จ วิราคา ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมเิ พราะคลายปีตไิ ด้อกี ด้วย
ฯลฯ บรรลุตติยฌานนัน้ ทีส่ หรคตด้วยเมตตาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
160

[๒๕๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีส่ หรคตด้วยเมตตา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, อวิตกฺกํ วิจารมตฺตํ สมาธิชํ ปีตสิ ขุ ํ
ทุตยิ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌานทีส่ หรคต
ด้วยเมตตา ไม่มวี ติ กมีแต่วจิ ารมีปตี แิ ละสุขอันเกิดจากสมาธิอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุตติยฌานทีส่ หรคต
ด้วยเมตตา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
161

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, ปีตยิ า จ วิราคา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ เมตฺตาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมเิ พราะคลายปีตไิ ด้อกี ด้วย
ฯลฯ บรรลุจตุตถฌานนัน้ ทีส่ หรคตด้วยเมตตาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๕๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ กรุณาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีส่ หรคตด้วยกรุณา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๕๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
162

[๒๕๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
กรุณาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌานนัน้ ทีส่ หรคต
ด้วยกรุณาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ มุทติ าสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-
กุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมญานทีส่ หรคตด้วยมุทติ า ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
163

มุทติ าสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมญาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌานนัน้ ทีส่ หรคต-
ด้วยมุทติ าอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ อุเปกฺขาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุจตุตถฌานทีส่ หร-
คตด้วยอุเบกขา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
จตฺตาริ พฺรหฺมวิหารฌานานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
จำแนกพรหมวิหารฌาน ๔ เป็นอย่างละ ๑๖ จบ.
อสุภฌานํ โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
จำแนกอสุภฌานเป็นอย่างละ ๑๖.
[๒๖๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ อุทธฺ มุ าตกสċฺċาสหคตํ;
164

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-


อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีส่ หรคตด้วยอุทธุมาตกสัญญา
ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๔] กตเม ธมฺมา กุสลํ
[๒๖๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ วินลี กสċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ วิปพุ พฺ กสċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ
วิจฉฺ ทิ ทฺ กสċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ วิกขฺ ายิตกสċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ วิกขฺ ติ ตฺ กสċฺċาสห-
คตํ; ฯเปฯ หตวิกขฺ ติ ตฺ กสċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ โลหิตกสċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ ปุฬวก-
สċฺċาสหคตํ; ฯเปฯ อฏฺĘกิ สċฺċาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกามสงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีส่ หรคตด้วยวินลี กสัญญา ฯลฯ
ทีส่ หรคตด้วยวิปพุ พกสัญญา ฯลฯ ทีส่ หรคตด้วยวิจฉิททกสัญญา ฯลฯ
ทีส่ หรคตด้วยวิกขายิตกสัญญา ฯลฯ ทีส่ หรคตด้วยวิกขิตตกสัญญา ฯลฯ
ทีส่ หรคตด้วยหตวิกขิตตกสัญญา ฯลฯ ทีส่ หรคตด้วยโลหิตกสัญญา ฯลฯ
ทีส่ หรคตด้วยปุฬวุ กสัญญา ฯลฯ ทีส่ หรคตด้วยอัฏฐิกสัญญา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อสุภฌานํ โสฬสกฺขตฺตกุ .ํ
165

จำแนกอสุภฌานเป็นอย่างละ ๑๖ จบ.
รูปาวจรกุสลํ.
รูปาวจรกุศลจิตจบ.
อรูปาวจรกุสลจิต.
จตฺตาริ อรูปฌานานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
จำแนกอรูปฌาน ๔ เป็นอย่างละ ๑๖.
[๒๖๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส รูปสċฺċานํ สมติกกฺ มา
ปฏิฆสċฺċานํ อตฺถงฺคมา นานตฺตสċฺċานํ อมนสิการา อากาสานċฺจายตน-
สċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
อุเปกฺขาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงรูปสัญ-
ญาโดยประการทัง้ ปวงเพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะไม่มนสิ-
การซึง่ นานัตตสัญญา จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตต้องอากาสานัญจาย-
ตนสัญญาสหรคตด้วยอุเบกขา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขและทุกข์ได้
เพราะโสมนัสและโทมนัสดับสนิทในก่อน มีสติบริสทุ ธิเ์ พราะอุเบกขา
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส อากาสานċฺจายตนํ สมติก-ฺ
กมฺม วิċċ ฺ าณċฺจายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
166

อุปสมฺปชฺช วิหรติ อุเปกฺขาสหคตํ;


โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงอากาสา-
นัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวง จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยวิญญา-
ณัญจายตนสัญญา สหรคตด้วยอุเบกขาไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส วิċċ ฺ าณċฺจายตนํ สมติก-ฺ
กมฺม อากิċจฺ ċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ อุเปกฺขาสหคตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงวิญญา-
ณัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวง จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากิญ-
จัญญายตนสัญญา สหรคตด้วยอุเบกขาไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๖๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส อากิċจฺ ċฺċายตนํ
สมติกกฺ มฺม เนวสċฺċานาสċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ
จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อุเปกฺขาสหคตํ;
167

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงอากิญ-


จัญญายตนะโดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยเนวสัญ-
ญานาสัญญายตนสัญญา สหรคตด้วยอุเบกขาไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
จตฺตาริ อรูปชฺฌานานิ โสฬสกฺขตฺตกุ านิ.
จำแนกอรูปฌาน ๔ เป็นอย่างละ ๑๖.
อรูปาวจรกุสลํ.
เตภูมกิ กุสลจิต
กามาวจรกุสลจิต.
[๒๖๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๖๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ċาณสมฺป-
ยุตตฺ ํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ
ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ
ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ
หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณเกิดขึน้ เป็นอย่างต่ำ
ฯลฯ เป็นอย่างกลาง ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบ-
ดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างกลางฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต
ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบ-
ดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง
168

ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิมงั


สาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๗๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ċาณสมฺป-
ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน ฯเปฯ โสมนสฺสสหคตํ ċาณวิปปฺ ยุตตฺ ํ ฯเปฯ โสมนสฺสสหคตํ
ċาณวิปปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตํ ċาณสมฺปยุตตฺ ํ ฯเปฯ อุเปกฺขาส-
หคตํ ċาณสมฺปยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตํ ċาณวิปปฺ ยุตตฺ ํ ฯเปฯ
อุเปกฺขาสหคตํ ċาณวิปปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขาเรน หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ
ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ หีนํ
ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ
จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
กามาวจรกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ เกิดขึน้ โดยมีการชัก-
จูง ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณเกิดขึน้ ฯลฯ สหรคตด้วยโสม-
นัสวิปปยุตจากญาณเกิดขึน้ โดยมีการชักจูง ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขา
สัมปยุตด้วยญาณเกิดขึน้ ฯลฯ สหรคต ด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยญาณเกิดขึน้
โดยมีการชักจูง ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณเกิดขึน้ ฯลฯ
สหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณเกิดขึน้ โดยมีการชักจูงเป็นอย่างต่ำ ฯลฯ
เป็นอย่างกลาง ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ า-
ธิบดี ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นฉันทาธิบ-
ดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างต่ำ
ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นจิต-
169

ตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างประ-


ณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
กามาวจรกุศลจิตจบ.

รูปาวจรกุสลจิต.
[๒๗๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ
ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ
ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ
มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมสิ งัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ
เป็นอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นอย่างกลาง ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี
ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉัน-
ทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่าง-
ประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็น-
วิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่าง
กลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ
เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
170

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๗๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ
ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ
ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ
มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั -
จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ เป็นอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นอย่างกลาง ฯลฯ
เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ เป็นจิตตาธิ-
บดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี-
อย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างต่ำ
ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นจิต-
ตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างประ-
ณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็น-
วิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
171

ฯลฯสภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า ธรรมเป็นกุศล.


รูปาวจรกุสลจิตจบ.
อรูปาวจรกุสลจิต.
[๒๗๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส รูปสċฺċานํ สมติกกฺ มา
ปฏิฆสċฺċานํ อตฺถงฺคมา นานตฺตสċฺċานํ อมนสิการา อากาสานċฺจายตนสċฺ-
ċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ หีนฯํ เปฯ
มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ
ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ
วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ
ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงรูปสัญ-
ญาโดยประการทัง้ ปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะไม่มนสิ-
การซึง่ นานัตตสัญญาจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากาสานัญจายตน-
สัญญาไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขและทุกข์ได้เพราะโสมนัสและโทม-
นัสดับสนิทในก่อน มีสติบริสทุ ธิเ์ พราะอุเบกขาเป็นอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นอย่าง-
กลาง ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็น-
ฉันทาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี-
อย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี-
อย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างกลาง
ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
172

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๗๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส อากาสานċฺจายตนํ
สมติกกฺ มฺม วิċċ ฺ าณċฺจายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ
ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ
ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนฯํ เปฯ
มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงอากาสา-
นัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยวิญญา-
ณัญจายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ ฯลฯ เป็นอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นอย่างกลาง
ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯเป็นจิต-
ตาบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นฉันทาธิบ-
ดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างต่ำ
ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี-
อย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างกลาง
ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๗๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
173

[๒๗๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส วิċċ ฺ าณċฺจายตนํ สมติก-ฺ
กมฺม อากิċจฺ ċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ
วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ หีนํ
ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ
จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ
มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงวิญญา-
ณัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากิญ-
จัญญายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ ฯลฯ เป็นอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นอย่างกลาง
ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ เป็น-
จิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นฉัน-
ทาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี-
อย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี-
อย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างกลาง
ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๒๗๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส อากิċจฺ ċฺċายตนํ
สมติกกฺ มฺม เนวสċฺċานาสċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ
174

จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิป-
เตยฺยํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ฉนฺทาธิป-
เตยฺย;ํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ
ปณีตํ ฯเปฯ จิตตฺ าธิปเตยฺยํ หีนํ ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีตํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺยํ หีนํ
ฯเปฯ มชฺฌมิ ํ ฯเปฯ ปณีต;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงอากิญ-
จัญญายตนะโดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยเนวสัญ-
ญานาสัญญายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ ฯลฯ เป็นอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นอย่าง-
กลาง ฯลฯ เป็นอย่างประณีต ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็น-
ฉันทาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นฉันทาธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี-
อย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดีอย่างประณีต ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดีอย่างกลาง ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี-
อย่างประณีต ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างต่ำ ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างกลาง
ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอย่างประณีตอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯอวิกเขปะ มีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อรูปาวจรกุสลจิตจบ.
โลกุตตฺ รกุสลจิต.
สุทธิกปฏิปทา.
มรรคจิตดวงที่ ๑.
[๒๗๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
175

ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,


โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ วิวจิ จฺ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีตสิ ขุ ํ ปĘมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญา ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปตี แิ ละสุขอันเกิดแต่วเิ วกอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
อนċฺċตċฺċสฺสามีตนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา สัทธินทรีย์
วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
ชีวติ นิ ทรีย์ อนัญญตัญญัสสามีตนิ ทรีย;์
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ, สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ, สมฺมาวาจา โหติ, สมฺมากมฺมนฺโต โหติ,
สมฺมาอาชีโว โหติ, สมฺมาวายาโม โหติ, สมฺมาสติ โหติ, สมฺมาสมาธิ โหติ;
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ;
สทฺธาพลํ โหติ, วิรยิ พลํ โหติ, สติพลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, ปċฺċาพลํ โหติ,
หิรพี ลํ โหติ, โอตฺตปฺปพลํ โหติ;
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละโอตตัปปพละ;
อโลโภ โหติ, อโทโส โหติ, อโมโห โหติ; อนภิชฌ ฺ า โหติ, อพฺยาปาโท โหติ,
สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ; หิรี โหติ, โอตฺตปฺปํ โหติ;
อโลภะ อโทสะ อโมหะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ หิริ
โอตตัปปะ;
176

กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ, จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ; กายลหุตา โหติ, จิตตฺ ลหุตา โหติ;
กายมุทตุ า โหติ, จิตตฺ มุทตุ า โหติ; กายกมฺมċฺċตา โหติ, จิตตฺ กมฺมċฺċตา
โหติ; กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ, จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ; กายุชกุ ตา โหติ, จิตตฺ ชุ กุ ตา
โหติ;
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ตา;
สติ โหติ, สมฺปชċฺċํ โหติ; สมโถ โหติ, วิปสฺสนา โหติ; ปคฺคาโห โหติ,
อวิกเฺ ขโป โหติ;
สติสมั ปชัญญะ สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า ธรรมเป็นกุศล
[๒๗๘] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๒๗๘] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องมีในสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
อันใดนีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๒๗๙] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๒๗๙] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ
เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุท-่ี
สมกัน ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวย-
177

อารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;


อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๒๘๐] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๒๘๐] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา
สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๒๘๑] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๒๘๑] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๒๘๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๒๘๒] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตชฺชามโนวิċċฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
178

นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .


[๒๘๓] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๒๘๓] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส อภินโิ รป-
นา, สมฺมาสงฺกปฺโป, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ สัมมาสังกัปปะ
อันเป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๒๘๔] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๒๘๔] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา ความ-
ทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๒๘๕] กตมา ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ?
[๒๘๕] ปีตมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปีติ ปาโมชฺช,ํ อาโมทนา ปโมทนา, หาโส ปหาโส, วิตตฺ ิ
โอทคฺยํ อตฺตมนตา จิตตฺ สฺส, ปีตสิ มฺโพชฺฌงฺโค;
ความอิม่ ใจ ความปราโมทย์ ความยินดียง่ิ ความบันเทิง ความร่าเริง ความ-
รืน่ เริง ความปลืม้ ใจ ความตืน่ เต้น ความทีจ่ ติ ชืน่ ชมยินดี ปีตสิ มั โพชฌงค์
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ.
179

นีช้ อ่ื ว่าปีตมิ ใี นสมัยนัน้ .


[๒๘๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ?
[๒๘๖] สุขมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอัน-
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์สบายทีเ่ ป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขมีในสมัยนัน้ .
[๒๘๗] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๒๘๗] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ สมฺมาสมาธิ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค,
มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิ สมาธิสมั โพชฌงค์เป็นองค์แห่งมรรค
นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๒๘๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๘๘] สัทธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สทฺธา สทฺทหนา, โอกปฺปนา อภิปปฺ สาโท, สทฺธา สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สทฺธาพลํ;
ศรัทธา กิรยิ าทีเ่ ชือ่ ความปลงใจเชือ่ ความเลือ่ มใสยิง่ ศรัทธา อินทรียค์ อื -
180

ศรัทธา สัทธาพละในสมัยนัน้ อันใด;


อิทํ ตสฺมึ สมเย สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัทธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๘๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๘๙] วิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ, สมฺมาวายาโม
วิรยิ สมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ อินทรียค์ อื วิรยิ ะ วิรยิ พละ สัมมาวายามะ
วิรยิ สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๙๐] สตินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา,
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ, สมฺมาสติ สติสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ ความไม่
เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ อินทรียค์ อื สติ สติพละ สัมมาสติ สติสมั โพชฌงค์
อันเป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สตินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสตินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
181

[๒๙๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?


[๒๙๑] สมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ, สมฺมาสมาธิ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค,
มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ แห่งจิต ความไม่สา่ ยไป-
แห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ อินทรีย-์
คือสมาธิ สมาธิพละ สัมมาสมาธิ สมาธิสมั โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรค
นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๙๒] ปัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ จู้ กั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา อินทรียค์ อื ปัญญา
ปัญญาพละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือ-
182

ปัญญา แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว


ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็น-
องค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๙๓] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโนวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๙๔] โสมนัสสินทรียใ์ นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด-
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัสใน-
สมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๕] กตม ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๙๕] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
183

อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกัน-


อยู่ ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ ของ-
นามธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย อนċฺċตċฺċสฺสามีตนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๒๙๖] อนัญญตัญญัสสามีตนิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา เตสํ ธมฺมานํ อċฺċาตานํ อธิฏĘฺ านํ อปฺปตฺตานํ อวิทติ านํ อสจฺฉกิ ตานํ
สจฺฉกิ ริ ยิ าย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญา-
เครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ
ปัญญาเหมือนศัสตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสง-
สว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรค
นับเนือ่ งในมรรคเพือ่ รูธ้ รรมทีย่ งั ไม่เคยรู้ เพือ่ เห็นธรรมทีย่ งั ไม่เคยเห็น
เพือ่ บรรลุธรรมทีย่ งั ไม่เคยบรรลุ เพือ่ ทราบธรรมทีย่ งั ไม่เคยทราบ เพือ่ ทำ-
ให้แจ้งธรรมทีย่ งั ไม่เคยทำให้แจ้งนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อนċฺċตċฺċสฺสามีตนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
184

นีช้ อ่ื ว่าอนัญญตัญญัสสามีตนิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .


[๒๙๗] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๒๙๗] สัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญา-
เหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้งความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ
ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสงสว่าง
คือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจยั สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ ง
ในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .
[๒๙๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ?
[๒๙๘] สัมมาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา, สมฺมาสงฺกปฺโป, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ ความดำริชอบ
185

อันเป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;


อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสงฺกปฺโป โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ .
[๒๙๙] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาวาจา โหติ?
[๒๙๙] สัมมาวาจามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จตูหิ วจีทจุ จฺ ริเตหิ อารติ วิรติ ปฏิวริ ติ เวรมณี, อกิรยิ า
อกรณํ, อนชฺฌาปตฺติ เวลาอนติกกฺ โม, เสตุฆาโต สมฺมาวาจา, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
การงดการเว้น การเลิกละ เจตนาเครือ่ งเว้น การไม่ทำ การไม่ประกอบ
การไม่ลว่ งละเมิด การไม่ลำ้ เขต การกำจัดต้นเหตุวจีทจุ ริต ๔ วาจาชอบ
อันเป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาวาจา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาวาจามีในสมัยนัน้ .
[๓๐๐] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมากมฺมนฺโต โหติ?
[๓๐๐] สัมมากัมมันตะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตีหิ กายทุจจฺ ริเตหิ อารติ วิรติ ปฏิวริ ติ เวรมณี, อกิรยิ า
อกรณํ, อนชฺฌาปตฺติ เวลาอนติกกฺ โม, เสตุฆาโต สมฺมากมฺมนฺโต, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
การงดการเว้น การเลิกละ เจตนาเครือ่ งเว้น การไม่ทำ การไม่ประกอบ
การไม่ลว่ งละเมิด การไม่ลำ้ เขต การกำจัดต้นเหตุกายทุจริต ๓ การงานชอบ
อันเป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมากมฺมนฺโต โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมากัมมันตะมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาอาชีโว โหติ?
[๓๐๑] สัมมาอาชีวะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าอาชีวา อารติ วิรติ ปฏิวริ ติ เวรมณี, อกิรยิ า อกรณํ,
186

อนชฺฌาปตฺติ เวลาอนติกกฺ โม, เสตุฆาโต สมฺมาอาชีโว, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ


การงดการเว้น การเลิกละ เจตนาเครือ่ งเว้น การไม่ทำ การไม่ประกอบ
การไม่ลว่ งละเมิด การไม่ลำ้ เขต การกำจัดต้นเหตุมจิ ฉาชีพ การเลีย้ งชีพชอบ
อันเป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาอาชีโว โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาอาชีวะมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๒] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาวายาโม โหติ?
[๓๐๒] สัมมาวายามะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ, สมฺมาวายาโม
วิรยิ สมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ ความพยายามชอบ
วิรยิ สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาวายาโม โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาวายามะมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๓] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาสติ โหติ?
[๓๐๓] สัมมาสติมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ, สมฺมาสติ สติสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
สติความตามระลึก ความหวนระลึก กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ ความไม่-
เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกชอบ สติสมั -
187

โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรค นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด; อยํ


ตสฺมึ สมเย สมฺมาสติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสติมใี นสมัยนัน้ .
[๓๐๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สมฺมาสมาธิ โหติ?
[๓๐๔] สัมมาสมาธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ, สมฺมาสมาธิ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค,
มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ คงแห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ สมา-
ธินทรีย์ สมาธิพละ ความตัง้ ใจชอบ สมาธิสมั โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่ง-
มรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาสมาธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาสมาธิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๐๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย สทฺธาพลํ โหติ?
[๓๐๕] สัทธาพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สทฺธา สทฺทหนา, โอกปฺปนา อภิปปฺ สาโท, สทฺธา สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สทฺธาพลํ;
ศรัทธากิรยิ าทีเ่ ชือ่ กิรยิ าทีป่ ลงใจเชือ่ ความเลือ่ มใสยิง่ ศรัทธา สัทธินทรีย์
กำลังคือศรัทธาในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สทฺธาพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัทธาพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ?
[๓๐๖] วิรยิ พละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม ,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ -ฺ
188

ตธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม วิรยิ สมฺโพชฺ-


ฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ กำลังคือความเพียร สัมมาวา-
ยามะ วิรยิ สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรค
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ พละมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย สติพลํ โหติ?
[๓๐๗] สติพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ, สมฺมาสติ สติสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
สติความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ ความ-
ไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ กำลังคือสติ ความระลึกชอบ
สติสมั โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สติพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสติพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ?
[๓๐๘] สมาธิพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ, สมฺมาสมาธิ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค,
มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ คงแห่งจิต ความไม่สา่ ย-
189

ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ


สมาธินทรีย์ กำลังคือสมาธิ สัมมาสมาธิ สมาธิสมั โพชฌงค์อนั เป็นองค์-
แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธิพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๐๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċาพลํ โหติ?
[๓๐๙] ปัญญาพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะที-่
ฉลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเป็นเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเป็นเครือ่ ง-
นำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ กำลังคือ-
ปัญญา ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่-
หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่ง-
มรรคนับเนือ่ งในมรรคมีในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ปċฺċาพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัญญาพละมีในสมัยนัน้ .
190

[๓๑๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย หิรพี ลํ โหติ?


[๓๑๐] หิรพิ ละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า,
กิรยิ าทีล่ ะอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีล่ ะอาย-
ต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย หิรพี ลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าหิรพิ ละมีในสมัยนัน้ .
[๓๑๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปพลํ โหติ?
[๓๑๑] โอตตัปปพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ
ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีเ่ กรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีไ่ ม่-
ประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโอตตัปปพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๑๒] กตโม ตสฺมึ สมเย อโลโภ โหติ?
[๓๑๒] อโลภะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโลโภ อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺต,ํ อสาราโค อสารชฺชนา
อสารชฺชติ ตฺตํ อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ กุสลมูล;ํ
การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความทีไ่ ม่โลภ การไม่กำหนัด กิรยิ าทีไ่ ม่กำ-
หนัด ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโลโภ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโลภะมีในสมัยนัน้ .
[๓๑๓] กตโม ตสฺมึ สมเย อโทโส โหติ?
191

[๓๑๓] อโทสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


โย ตสฺมึ สมเย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺต,ํ อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช, อโทโส
กุสลมูล;ํ
การไม่คดิ ทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย ความ-
ไม่พยาบาท ความไม่คดิ เบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโทโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโทสะมีในสมัยนัน้ .
[๓๑๔] กตโม ตสฺมึ สมเย อโมโห โหติ?
[๓๑๔] อโมหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญา-
เหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่
หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่ง-
มรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อโมโห โหติ.
192

นีช้ อ่ื ว่าอโมหะมีในสมัยนัน้ .


[๓๑๕] กตมา ตสฺมึ สมเย อนภิชฌ ฺ า โหติ?
[๓๑๕] อนภิชฌามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโลโภ อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺต,ํ อสาราโค อสารชฺชนา
อสารชฺชติ ตฺตํ อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ กุสลมูล;ํ
การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความไม่โลภ ความไม่กำหนัด กิรยิ าทีไ่ ม่กำหนัด
กิรยิ าทีไ่ ม่กำหนัด ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อนภิชฌ ฺ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอนภิชฌามีในสมัยนัน้ .
[๓๑๖] กตโม ตสฺมึ สมเย อพฺยาปาโท โหติ?
[๓๑๖] อัพยาปาทะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺต,ํ อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช, อโทโส
กุสลมูล;ํ
การไม่คดิ ประทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย
ความไม่พยาบาท ความไม่คดิ เบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อพฺยาปาโท โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอัพยาปาทะมีในสมัยนัน้ .
[๓๑๗] กตมา ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๓๑๗] สัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
193

ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือน


แผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺารตนํ;
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ
ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสง-
สว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจยั ธรรม ความเห็นชอบ ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่ง-
มรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมฺมาทิฏĘฺ ิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมมาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๑๘] กตมา ตสฺมึ สมเย หิรี โหติ?
[๓๑๘] หิรมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า,
กิรยิ าทีล่ ะอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีล่ ะอายต่อ-
การประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย หิรี โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าหิรมิ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๑๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปํ โหติ?
[๓๑๙] โอตตัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ
ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีเ่ กรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีเ่ กรง-
กลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
194

อิทํ ตสฺมึ สมเย โอตฺตปฺปํ โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าโอตตัปปะมีในสมัยนัน้ .
[๓๒๐] กตมา ตสฺมึ สมเย กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ?
[๓๒๐] กายปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส ปสฺสทฺธิ
ปฏิปปฺ สฺสทฺธ,ิ ปสฺสมฺภนา ปฏิปปฺ สฺสมฺภนา ปฏิปปฺ สฺสมฺภติ ตฺต,ํ ปสฺสทฺธสิ มฺโพชฺ-
ฌงฺโค;
การสงบ การสงบระงับ กิรยิ าทีส่ งบ กิรยิ าทีส่ งบระงับ ความสงบระงับแห่ง
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ ปัสสัทธิสมั โพชฌงค์ในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายปฺปสฺสทฺธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๒๑] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ?
[๓๒๑] จิตตปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส ปสฺสทฺธิ ปฏิปปฺ สฺสทฺธ,ิ ปสฺสมฺภนา
ปฏิปปฺ สฺสมฺภนา ปฏิปปฺ สฺสมฺภติ ตฺต,ํ ปสฺสทฺธสิ มฺโพชฺฌงฺโค;
การสงบ การสงบระงับ กิรยิ าทีส่ งบ กิรยิ าทีส่ งบระงับ ความสงบระงับแห่ง
วิญญาณขันธ์ ปัสสัทธิสมั โพชฌงค์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตปัสสัทธิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๒๒] กตมา ตสฺมึ สมเย กายลหุตา โหติ?
[๓๒๒] กายลหุตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส ลหุตา
ลหุปริณามตา, อทนฺธนตา อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่หนักแห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
195

อยํ ตสฺมึ สมเย กายลหุตา โหติ.


นีช้ อ่ื ว่ากายลหุตามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๓] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ลหุตา โหติ?
[๓๒๓] จิตตลหุตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส ลหุตา ลหุปริณามตา อทนฺธนตา
อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่หนักแห่งวิญญาณขันธ์
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ลหุตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตลหุตามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๔] กตมา ตสฺมึ สมเย กายมุทตุ า โหติ?
[๓๒๔] กายมุทตุ ามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส มุทตุ า
มทฺทวตา; อกกฺขฬตา อกถินตา;
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่แข็ง ความไม่กระด้างแห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์สงั ขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายมุทตุ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายมุทตุ ามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๕] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ มุทตุ า โหติ?
[๓๒๕] จิตตมุทตุ ามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส มุทตุ า มทฺทวตา อกกฺขฬตา อกĘินตา;
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่แข็ง ความไม่กระด้าง แห่งวิญญาณขันธ์
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ มุทตุ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตมุทตุ ามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๖] กตมา ตสฺมึ สมเย กายกมฺมċฺċตา โหติ?
196

[๓๒๖] กายกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส
กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงานแห่ง-
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายกมฺมċฺċตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๗] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ กมฺมċฺċตา โหติ?
[๓๒๗] จิตตกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงานแห่ง-
วิญญาณขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ กมฺมċฺċตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตกัมมัญญตามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๘] กตมา ตสฺมึ สมเย กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ?
[๓๒๘] กายปาคุญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส ปคุณตา
ปคุณตฺตํ ปคุณภาโว;
กิรยิ าทีค่ ล่องแคล่ว ความคล่องแคล่ว ภาวะทีค่ ล่องแคล่วแห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายปาคุċċ ฺ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายปาคุญญตามีในสมัยนัน้ .
[๓๒๙] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ?
[๓๒๙] จิตตปาคุญญตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส ปคุณตา ปคุณตฺตํ ปคุณภาโว;
กิรยิ าทีค่ ล่องแคล่ว ความคล่องแคล่ว ภาวะทีค่ ล่องแคล่วแห่งวิญญาณขันธ์
197

ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ปาคุċċ ฺ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตปาคุญญตามีในสมัยนัน้ .
[๓๓๐] กตมา ตสฺมึ สมเย กายุชกุ ตา โหติ?
[๓๓๐] กายุชกุ ตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย เวทนากฺขนฺธสฺส สċฺċากฺขนฺธสฺส สงฺขารกฺขนฺธสฺส อุชตุ า
อุชกุ ตา อชิมหฺ ตา อวงฺกตา อกุฏลิ ตา;
ความตรง กิรยิ าทีต่ รง ความไม่คด ความไม่โค้ง ความไม่งอ แห่งเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย กายุชกุ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ากายุชกุ ตามีในสมัยนัน้ .
[๓๓๑] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ชุ กุ ตา โหติ?
[๓๓๑] จิตตุชกุ ตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย วิċċ ฺ าณกฺขนฺธสฺส อุชตุ า อุชกุ ตา อชิมหฺ ตา อวงฺกตา
อกุฏลิ ตา;
ความตรง กิรยิ าทีต่ รง ความไม่คด ความไม่โค้ง ความไม่งอแห่งวิญญาณ-
ขันธ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ชุ กุ ตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตตุชกุ ตามีในสมัยนัน้ .
[๓๓๒] กตมา ตสฺมึ สมเย สติ โหติ?
[๓๓๒] สติมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ, สติ สรณตา, ธารณตา อปิลาปนตา
อสมฺมสุ นตา, สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ, สมฺมาสติ สติสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
สติความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ ความไม่
เลือ่ นลอย ความไม่หลงลืม สติ สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกชอบ สติสมั -
198

โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;


อยํ ตสฺมึ สมเย สติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสติมใี นสมัยนัน้ .
[๓๓๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมฺปชċฺċ โหติ?
[๓๓๓] สัมปชัญญะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด-
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือน
แผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ
ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสงสว่าง
คือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรค
นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมฺปชċฺċํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัมปชัญญะมีในสมัยนัน้ .
[๓๓๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สมโถ โหติ?
[๓๓๔] สมถะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ, สมฺมาสมาธิ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค,
199

มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ คงแห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ สมา-
ธินทรีย์ สมาธิพละ ความตัง้ ใจชอบ สมาธิสมั โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่ง-
มรรค นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมโถ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมถะมีในสมัยนัน้ .
[๓๓๕] กตมา ตสฺมึ สมเย วิปสฺสนา โหติ?
[๓๓๕] วิปสั สนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญา-
เหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ
ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสงสว่าง
คือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรค
นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิปสฺสนา โหติ.
200

นีช้ อ่ื ว่าวิปสั สนามีในสมัยนัน้ .


[๓๓๖] กตโม ตสฺมึ สมเย ปคฺคาโห โหติ?
[๓๓๖] ปัคคาหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ สมฺมาวายาโม
วิรยิ สมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ สัมมาวายามะ วิรยิ สัม-
โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรคนับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปคฺคาโห โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัคคาหะมีในสมัยนัน้ .
[๓๓๗] กตโม ตสฺมึ สมเย อวิกเฺ ขโป โหติ?
[๓๓๗] อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ, สมฺมาสมาธิ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค,
มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ คงแห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ สมา-
ธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิ สมาธิสมั โพชฌงค์อนั เป็นองค์แห่งมรรค
นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อวิกเฺ ขโป โหติ;
นีช้ อ่ื ว่าอวิกเขปะมีในสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
201

หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;


อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ นวินทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
อฏฺĘงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, สตฺต พลานิ โหนฺต,ิ ตโย เหตู โหนฺต,ิ
ก็ขนั ธ์ ๔ อาตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๙ ฌานมีองค์ ๕ มรรคมีองค์-
๘ พละ ๗ เหตุ ๓,
เอโก ผสฺโส โหติ, เอกา เวทนา โหติ, เอกา สċฺċา โหติ, เอกา เจตนา โหติ,
เอกํ จิตตฺ ํ โหติ, เอโก เวทนากฺขนฺโธ โหติ, เอโก สċฺċากฺขนฺโธ โหติ, เอโก
สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ, เอโก วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ โหติ,
ผัสสะ ๑ เวทนา ๑ สัญญา ๑ เจตนา ๑ จิต ๑ เวทนาขันธ์ ๑ สัญญาขันธ์ ๑
สังขารขันธ์ ๑ วิญญาณขันธ์ ๑,
เอกํ มนายตนํ โหติ, เอกํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, เอกา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ
ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
มนายตนะ ๑ มนินทรีย์ ๑ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีในสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๓๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๓๓๘] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, สทฺธนิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ อนċฺċตċฺċสฺสามีตนิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
สมฺมาทิฏĘฺ ิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว
202

สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ,


ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ อนัญญตัญญัสสามีตนิ ทรีย์ สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ
สัมมาสติ สัมมาสมาธิ,
สทฺธาพลํ วิรยิ พลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปċฺċาพลํ หิรพี ลํ โอตฺตปฺปพลํ,
สัทธาพละ วิรยิ พละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ หิรพิ ละ โอตตัปปพละ,
อโลโภ อโทโส อโมโห, อนภิชฌ ฺ า อพฺยาปาโท สมฺมาทิฏĘฺ ,ิ หิรี โอตฺตปฺป,ํ
อโลภะ อโทสะ อโมหะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ หิรโิ อตตัปปะ,
กายปฺปสฺสทฺธิ จิตตฺ ปฺปสฺสทฺธ,ิ กายลหุตา จิตตฺ ลหุตา, กายมุทตุ า จิตตฺ มุทตุ า,
กายกมฺมċฺċตา จิตตฺ กมฺมċฺċตา, กายปาคุċċ ฺ ตา จิตตฺ ปาคุċċฺ ตา, กายุชกุ ตา
จิตตฺ ชุ กุ ตา, สติ สมฺปชċฺċ,ํ สมโถ วิปสฺสนา, ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป;
กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตหุตา กายมุทตุ า จิตตมุทตุ า
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชกุ ตา
จิตตุชกุ ต สติ สัมปชัญญะ สมถะ วิปสั สนา ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๓๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๓๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
203

ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขปฏิปทาทันธาภิญญา
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
204

ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ
ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ
สุขาปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุ-
ตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ น
สมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
205

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.


สุทธิกปฏิปทาจบ.
สุญญตะ.
[๓๔๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ
ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุċċ ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุ-
ตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน
ชนิดสุญญตะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
206

ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
สุญญตะจบ.
สุญญตมูลกปฏิปทา.
[๓๔๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาขิปปา-
207

ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๘] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปา-
208

ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๔๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ
ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċŇจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú สุċċ Ň ตํ; ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ú
สุċċŇ ตํ; ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú สุċċ Ň ตํ; ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ú
สุċċ Ň ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุ-
ตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จม-
ฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ ชนิดสุญญตะ ฯลฯ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญา ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
สุญญตมูลกปฏิปทาจบ.
อัปปณิหติ ะ.
[๓๕๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
209

[๓๕๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๕๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ
ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċŇจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุต-
ติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน
ชนิดอัปปณิหติ ะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อปฺปณิหติ .ํ
210

อปฺปณิหติ มูลกปฏิปทา.
[๓๕๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทัน-
ธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๕๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ú อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาขิป-
ปาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
211

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.


[๓๕๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๔๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาทัน-
ธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๕๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ú อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปา-
ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
212

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.


[๓๕๖] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๖] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċŇจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú อปฺปณิหติ ;ํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ú อปฺปณิหติ ;ํ
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú อปฺปณิหติ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ú
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุ-
ตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จม-
ฌาน ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ
เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญา ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
อัปปณิหติ มูลกปฏิปทาจบ.
วีสติ มหานย.
มหานัย ๒๐.
[๓๕๗] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๗] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ มคฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ
213

โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ สติปฏฺĘานํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญสติปฏั ฐานเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ สมฺมปฺปธานํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญสัมมัปปธานเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ อิทธฺ ปิ าทํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญอิทธิบาทเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ อินทฺ รฺ ยิ ํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญอินทรียเ์ ป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ พลํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญพละเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ โพชฺฌงฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญโพชฌงค์เป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ สจฺจํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญสัจจะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ สมถํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญสมถะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ ธมฺมํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญธรรมเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ ขนฺธํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญขันธ์เป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ อายตนํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญอายตนะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ ธาตุํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญธาตุเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ อาหารํ ภาเวติ ฯเปฯ
214

เจริญอาหารเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ ผสฺสํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญผัสสะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ เวทนํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญเวทนาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ สċŇċņ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญสัญญาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ เจตนํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญเจตนาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ จิตตฺ ํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย ปĘมาย
ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú;
เจริญจิตเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละ
ทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว
บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
วีสติ มหานยา.
มหานัย ๒๐ จบ.
อธิปติ.
[๓๕๘] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๒๗๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
215

ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ


จิตตฺ าธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
[๓๕๙] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๕๙] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċŇจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ
จิตตฺ าธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั -
จมฌาน เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ
เป็นวิมงั สาธิบดี เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
216

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.


[๓๖๐] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๖๐] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ มคฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สติปฏฺĘานํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สมฺมปฺปธานํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อิทธฺ ปิ าทํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ
อินทฺ รฺ ยิ ํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ พลํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ โพชฺฌงฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สจฺจํ ภาเวติ ฯเปฯ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสติปฏั ฐานเป็นโลกุต-
ตระ ฯลฯ เจริญสัมมัปปธานเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอิทธิบาทเป็นโลกุต-
ตระ ฯลฯ เจริญอินทรียเ์ ป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญพละเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
เจริญโพชฌงค์เป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสัจจะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ สมถํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ธมฺมํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ขนฺธํ ภาเวติ
ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อายตนํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ธาตุ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ
อาหารํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ผสฺสํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ เวทนํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สċŇċú ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ เจตนํ ภาเวติ ฯเปฯ
เจริญสมถะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญธรรมเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญขันธ์
เป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอายตนะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญธาตุเป็นโลกุต-
ตระ ฯลฯ เจริญอาหารเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญผัสสะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
เจริญเวทนาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสัญญาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญเจตนา
เป็นโลกุตตระ ฯลฯ
โลกุตตฺ รํ จิตตฺ ํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย ปĘมาย
ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ
จิตตฺ าธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺย;ํ
เจริญจิตเป็นโลกุตตระ ฯลฯ อันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไปสูน่ พิ พาน
217

เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ -


หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ
เป็นจิตตาธิบดี ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดี เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล ฯลฯ
อธิปติจบ.
มรรคจิตดวงที่ ๒
[๓๖๑] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๖๑] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ กามราคพฺยาปาทานํ
ตนุภาวาย ทุตยิ าย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ú;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลก
นำไปสูน่ พิ พานเพือ่ บรรลุภมู ทิ ่ี ๒ เพือ่ บรรเทากามราคะและพยาบาทให้เบา-
บางลง สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็น-
ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċŇċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
มรรคจิตดวงที่ ๓
[๓๖๒] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๖๒] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
218

ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ กามราคพฺยาปาทานํ


อนวเสสปฺปหานาย ตติยาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปท ทนฺธาภิċċ Ň ú;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พานเพือ่ บรรลุภมู ทิ ่ี ๓ เพือ่ ละกามราคะและพยาบาทไม่ให้มเี หลือ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ มีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċŇċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
มรรคจิตดวงที่ ๔
[๓๖๓] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๓๖๓] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ รูปราคอรูปราคมาน-
อุทธฺ จฺจอวิชชฺ าย อนวเสสปฺปหานาย จตุตถฺ าย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ
ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ;ú
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ บรรลุภมู ทิ ่ี ๔ เพือ่ ละรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ
และอวิชชาไม่ให้มเี หลือ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว
บรรลุปฐมฌาน เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċŇċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๖๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย อċŇċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
219

[๓๖๔] อัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ยา ตสฺมึ สมเย เตสํ ธมฺมานํ ċาตานํ ทิฏĘฺ านํ ปตฺตานํ วิทติ านํ สจฺฉกิ ตานํ
สจฺฉกิ ริ ยิ าย ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ Ň ,ú เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
ปัญญากิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนด
หมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด
ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญา-
เหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċŇċú ปโตโท, ปċฺċา ปċŇċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างเหมือนปัญญา
ความสว่างคือปัญญา แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญา-
เหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัม-
โพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนือ่ งในมรรค เพือ่ รูธ้ รรมทีร่ แู้ ล้ว
เพือ่ เห็นธรรมทีเ่ ห็นแล้ว เพือ่ บรรลุธรรมทีบ่ รรลุแล้ว เพือ่ ทราบธรรมที-่
ทราบแล้ว เพือ่ ทำให้แจ้งซึง่ ธรรมทีท่ ำให้แจ้งแล้ว ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อċŇċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
นีช้ อ่ื ว่าอัญญินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ฯลฯ นีช้ อ่ื ว่าอวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา กุสลา.
220

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล


โลกุตตฺ รํ จิตตฺ .ํ
โลกุตตรจิต.
ทฺวาทส อกุสล.
อกุศลจิต ๑๒
อกุศลจิตดวงที่ ๑
[๓๖๕] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๓๖๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยทิฏฐิมรี ปู เป็นอารมณ์ หรือมีเสียง-
เป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ, มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ, มิจฉฺ าสมาธิ โหติ;
วิรยิ พลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ, อโนตฺตปฺปพลํ โหติ; โลโภ
โหติ, โมโห โหติ; อภิชฌ ฺ า โหติ, มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ;
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ
221

อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ;


อหิรกิ ํ โหติ, อโนตฺตปฺปํ โหติ; สมโถ โหติ, ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๓๖๖] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๓๖๖] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบกิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๓๖๗] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๓๖๗] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ
เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุท-่ี
สมกัน ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวย-
อารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๓๖๘] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๓๖๘] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċŇชานนา
สċŇชานิตตฺต;ํ
222

การจำ กิรยิ าจำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน


ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๓๖๙] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๓๖๙] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๓๗๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๓๗๐] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๓๗๑] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๓๗๑] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา, มิจฉฺ าสงฺกปฺโป;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบ สนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ มิจฉาสังกัปปะ
223

ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๓๗๒] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๓๗๒] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา
ความทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งดูอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๓๗๓] กตมา ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ?
[๓๗๓] ปีตมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปีติ ปาโมชฺช,ํ อาโมทนา ปโมทนา, หาโส ปหาโส, วิตตฺ ิ
โอทคฺยํ อตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
ความอิม่ ใจ ความปราโมทย์ ความยินดียง่ิ ความบันเทิง ความร่าเริง
ความรืน่ เริง ความปลืม้ ใจ ความตืน่ เต้น ความทีจ่ ติ ชืน่ ชมยินดีในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปีตมิ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๗๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ?
[๓๗๔] สุขมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าทีเ่ สวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
224

ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขมีในสมัยนัน้ .
[๓๗๕] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๓๗๕] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป
อวิสาหฏมานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ มิจฉฺ าสมาธิ;
การตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ สมา-
ธินทรีย์ สมาธิพละ มิจฉาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๓๗๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๓๗๖] วิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม, อุสสฺ าโห
อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา
ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ มิจฉฺ าวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ อินทรียค์ อื วิรยิ ะ วิรยิ พละ มิจฉาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๗๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๓๗๗] สมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
225

ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ;ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ มิจฉฺ าสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ อินทรีย์
คือสมาธิ สมาธิพละ มิจฉาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๗๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๓๗๘] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโนวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๗๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๓๗๙] โสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าทีเ่ สวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัม-
ผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๘๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๓๘๐] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
226

โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการสืบเนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ ของนาม-
ธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๓๘๑] กตมา ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๓๘๑] มิจฉาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ
ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ, คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส,
กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ ความยึดถือ
ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะทีผ่ ดิ ลัทธิเป็น-
บ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามิจฉาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๘๒] กตโม ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ?
[๓๘๒] มิจฉาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา มิจฉฺ าสงฺกปฺโป;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ ความดำริผดิ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ.
227

นีช้ อ่ื ว่ามิจฉาสังกัปปะมีในสมัยนัน้ .


[๓๘๓] กตโม ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าวายาโม โหติ?
[๓๘๓] มิจฉาวายามะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ มิจฉฺ าวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ ความพยายามผิดใน-
สมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าวายาโม โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามิจฉาวายามะมีในสมัยนัน้ .
[๓๘๔] กตโม ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าสมาธิ โหติ?
[๓๘๔] มิจฉาสมาธิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ มิจฉฺ าสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตัง้ ใจผิดในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าสมาธิ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามิจฉาสมาธิมใี นสมัยนัน้ .
[๓๘๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ?
[๓๘๕] วิรยิ พละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ -
228

ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ มิจฉฺ าวายาโม;


การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวหน้าไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ -
ธุระ ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ กำลังคือวิรยิ ะ มิจฉาวา-
ยามะในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ พลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ พละมีในสมัยนัน้ .
[๓๘๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ?
[๓๘๖] สมาธิพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป
อวิสาหฏมานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ มิจฉฺ าสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ กำลังคือสมาธิ มิจฉาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธิพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธิพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๘๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย อหิรกิ พลํ โหติ?
[๓๘๗] อหิรกิ พละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย น หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, น หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่ละอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีไ่ ม่ละ-
อายต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อหิรกิ พลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอหิรกิ พละมีในสมัยนัน้ .
229

[๓๘๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย อโนตฺตปฺปพลํ โหติ?


[๓๘๘] อโนตัปปพละมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย น โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, น โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ
อกุสลานํ ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่เกรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีไ่ ม่
เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อโนตฺตปฺปพลํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโนตตัปปพละมีในสมัยนัน้ .
[๓๘๙] กตโม ตสฺมึ สมเย โลโภ โหติ?
[๓๘๙] โลภะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย โลโภ ลุพภฺ นา ลุพภฺ ติ ตฺต,ํ สาราโค สารชฺชนา สารชฺชติ ตฺตํ
อภิชฌ ฺ า, โลโภ อกุสลมูล;ํ
การโลภ กิรยิ าทีโ่ ลภ ความโลภ การกำหนัดนัก กิรยิ าทีก่ ำหนัดนัก ความ-
กำหนัด ความเพ่งเล็ง อกุศลมูลคือโลภะในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย โลโภ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโลภะมีในสมัยนัน้ .
[๓๙๐] กตโม ตสฺมึ สมเย โมโห โหติ?
[๓๙๐] โมหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย อċฺċาณํ อทสฺสนํ, อนภิสมโย อนนุโพโธ อสมฺโพโธ
อปฺปฏิเวโธ, อสงฺคาหนา อปริโยคาหนา, อสมเปกฺขนา อปฺปจฺจเวกฺขณา
อปฺปจฺจกฺขกมฺม,ํ ทุมเฺ มชฺฌํ พาลฺยํ อสมฺปชċŇċú, โมโห ปโมโห สมฺโมโห,
อวิชชฺ า อวิชโฺ ชโฆ อวิชชฺ าโยโค อวิชชฺ านุสโย อวิชชฺ าปริยฏุ Ęฺ านํ อวิชชฺ าลงฺค,ี
โมโห อกุสลมูล;ํ
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รโู้ ดยสมควร ความไม่ร-ู้
ตามความเป็นจริง ความไม่แทงตลอด ความไม่ถอื เอาให้ถกู ต้อง ความไม่-
230

หยัง่ ลงโดยรอบคอบ ความไม่พนิ จิ ความไม่พจิ ารณา ความไม่กระทำให้-


ประจักษ์ ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รชู้ ดั ความหลง ความ-
ลุม่ หลง ความหลงใหล อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสยั -
คืออวิชชา ปริยฏุ ฐานคืออวิชชา ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย โมโห โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโมหะมีในสมัยนัน้ .
[๓๙๑] กตมา ตสฺมึ สมเย อภิชฌ ฺ า โหติ?
[๓๙๑] อภิชฌามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย โลโภ ลุพภฺ นา ลุพภฺ ติ ตฺต,ํ สาราโค สารชฺชนา สารชฺชติ ตฺตํ
อภิชฌ ฺ า, โลโภ อกุสลมูล;ํ
การโลภ กิรยิ าทีโ่ ลภ ความโลภ ความกำหนัด กิรยิ าทีก่ ำหนัด ความกำ-
หนัดนัก ความเพ่งเล็ง อกุศลมูลคือโลภะในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อภิชฌ ฺ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอภิชฌามีในสมัยนัน้ .
[๓๙๒] กตมา ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ?
[๓๙๒] มิจฉาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ
ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ, คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส,
กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็น-
ข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ ความยึดถือ
ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะทีผ่ ดิ ลัทธิเป็น-
บ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ.
231

นีช้ อ่ื ว่ามิจฉาทิฏฐิมใี นสมัยนัน้ .


[๓๙๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย อหิรกิ ํ โหติ?
[๓๙๓] อหิรกิ ะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย น หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, น หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่ละอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีไ่ ม่ละ-
อายต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อหิรกิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอหิรกิ ะมีในสมัยนัน้ .
[๓๙๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย อโนตฺตปฺปํ โหติ?
[๓๙๔] อโนตตัปปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย น โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, น โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ
อกุสลานํ ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่เกรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าที-่
ไม่เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อโนตฺตปฺปํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอโนตตัปปะมีในสมัยนัน้ .
[๓๙๕] กตโม ตสฺมึ สมเย สมโถ โหติ?
[๓๙๕] สมถะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ มิจฉฺ าสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ มิจฉาสมาธิในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สมโถ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมถะมีในสมัยนัน้ .
232

[๓๙๖] กตโม ตสฺมึ สมเย ปคฺคาโห โหติ?


[๓๙๖] ปัคคาหะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ -
ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ มิจฉฺ าวายาโม;
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ วิรยิ นิ ทรีย์ วิรยิ พละ มิจฉาวายามะ
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปคฺคาโห โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปัคคาหะมีในสมัยนัน้ .
[๓๙๗] กตโม ตสฺมึ สมเย อวิกเฺ ขโป โหติ?
[๓๙๗] อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ มิจฉฺ าสมาธิ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ
สมาธินทรีย์ สมาธิพละ มิจฉาสมาธิในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อวิกเฺ ขโป โหติ;
นีช้ อ่ื ว่าอวิกเขปะมีในสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
233

โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปċฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, จตฺตาริ พลานิ โหนฺต;ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ, ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๕ มรรค
มีองค์ ๔ พละ ๔ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
[๓๙๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๓๙๘] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ,ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม มิจฉฺ าสมาธิ, วิรยิ พลํ
สมาธิพลํ อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ, โลโภ โมโห, อภิชฌ ฺ า มิจฉฺ าทิฏĘฺ ,ิ อหิรกิ ํ
อโนตฺตปฺป,ํ สมโถ ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ
อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ อหิรกิ ะ
อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
234

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
อกุศลจิตดวงที่ ๒
[๓๙๙] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๓๙๙] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ ํ
สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยทิฏฐิ มีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูงในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอกุศล.
อกุศลจิตดวงที่ ๓
[๔๐๐] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๐๐] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ทิฏĘิคตวิปปฺ ยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา โผฏฺĘพฺพา-
รมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากทิฏฐิ มีรปู เป็นอารมณ์ หรือมีเสียง-
เป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์
มีธรรมเป็นอารมณ์;
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
235

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ,
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ, มิจฉฺ าสมาธิ โหติ,
วิรยิ พลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ, อโนตฺตปฺปพลํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ โอตตัปปพละ;
โลโภ โหติ, โมโห โหติ, อภิชฌ ฺ า โหติ; อหิรกิ ํ โหติ, อโนตฺตปฺปํ โหติ; สมโถ
โหติ, ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
โลภะ โมหะ อภิชฌา อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ
มีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปċฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ ปċฺจงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
ติวงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, จตฺตาริ พลานิ โหนฺต,ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ, ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ,
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๕ มรรค
มีองค์ ๓ พละ ๔ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัย
นั้น;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
236

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ


[๔๐๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๐๑] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม มิจฉฺ าสมาธิ, วิรยิ พลํ สมาธิพลํ
อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์
มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ
อโนตตัปปพละ,
โลโภ โมโห, อภิชฌ ฺ า, อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป,ํ สมโถ, ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป,
โลภะ โมหะ อภิชฌา อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ,
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
อกุลจิตดวงที่ ๔
[๔๐๒] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๐๒] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โสมนสฺสสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ ํ
สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากทิฏฐิ มีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
237

ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดเกิดขึน้ โดยมีการชักจูงในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
อกุศลจิตดวงที่ ๕
[๔๐๓] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๐๓] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยทิฏฐิ มีรปู เป็นอารมณ์ หรือมีเสียง-
เป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ, มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ, มิจฉฺ าสมาธิ โหติ;
วิรยิ พลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ, อโนตฺตปฺปพลํ โหติ;
มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ
อโนตตัปปพละ,
238

โลโภ โหติ, โมโห โหติ; อภิชฌ ฺ า โหติ, มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ โหติ; อหิรกิ ํ โหติ,
อโนตฺตปฺปํ โหติ; สมโถ โหติ, ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ
อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
[๔๐๔] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๐๔] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต,ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๔๐๕] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๔๐๕] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ,
เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่อนั เกิดแต่สมั ผัสแห่ง
มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโต-
สัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัย
นัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔๐๖] กตมา ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ?
[๔๐๖] อุเบกขามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
239

ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ


เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อัน-
เกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเบกขามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๐๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๐๗] อุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัม-
ผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น
ธมฺมา;
ฯลฯ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปċฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
จตุรงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, จตฺตาริ พลานิ โหนฺต;ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ, ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ,
240

ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๔ มรรค


มีองค์ ๔ พละ ๕ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
[๔๐๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๐๘] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม มิจฉฺ าสมาธิ, วิรยิ พลํ
สมาธิพลํ อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ
อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ,
โลโภ โมโห, อภิชฌ ฺ า มิจฉฺ าทิฏĘฺ ,ิ อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป,ํ สมโถ, ปคฺคาโห
อวิกเฺ ขโป,
โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ
อวิกเขปะ,
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
241

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ


อกุศลจิตดวงที่ ๖
[๔๐๙] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๐๙] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ ํ
สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาประกอบด้วยทิฏฐิมรี ปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มี-
ธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูงในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
อกุศลจิตดวงที่ ๗
[๔๑๐] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๑๐] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากทิฏฐิมรี ปู เป็นอารมณ์ หรือมีเสียง-
เป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
242

โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ; มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ, มิจฉฺ าสมาธิ โหติ;
วิรยิ พลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ, อโนตฺตปฺปพลํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวา-
ยามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ;
โลโภ โหติ, โมโห โหติ; อภิชฌ ฺ า โหติ; อหิรกิ ํ โหติ, อโนตฺตปฺปํ โหติ; สมโถ
โหติ, ปคฺคาโห โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
โลภะ โมหะ อภิชฌา อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปċฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
ติวงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, จตฺตาริ พลานิ โหนฺต,ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ, ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๔ มรรค
มีองค์ ๓ พละ ๔ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
243

[๔๑๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?


[๔๑๑] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม มิจฉฺ าสมาธิ, วิรยิ พลํ สมาธิพลํ
อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ, โลโภ โมโห, อภิชฌ ฺ า, อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป,ํ สมโถ,
ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์
มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ
อโนตตัปปพละ โลภะ โมหะ อภิชฌา อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ
ปัคคาหะ อวิกเขปะ,
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล. ฯลฯ
อกุศลจิตดวงที่ ๘
[๔๑๒] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๑๒] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ ํ
สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากทิฏฐิมรี ปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
244

หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง ในสมัยใด;


ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ,
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ,
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอกุศล. ฯลฯ
อกุศลจิตดวงที่ ๙
[๔๑๓] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๑๓] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โทมนสฺสสหคตํ ปฏิฆสมฺปยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยโทมนัสสัมปยุตด้วยปฏิฆะ มีรปู เป็นอารมณ์ หรือมี-
เสียงเป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็น-
อารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ทุกขฺ ํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ; วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โทมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ทุกข์ เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย,์
มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ, มิจฉฺ าสมาธิ โหติ; วิรยิ พลํ โหติ,
สมาธิพลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ, อโนตฺตปฺปพลํ โหติ; โทโส โหติ, โมโห
โหติ; พฺยาปาโท โหติ, อหิรกิ ํ โหติ; อโนตฺตปฺปํ โหติ; สมโถ โหติ, ปคฺคาโห
โหติ, อวิกเฺ ขโป โหติ;
245

มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ


อโนตตัปปพละ โทสะ โมหะ พยาปาทะ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ
ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
[๔๑๔] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๑๔] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๔๑๕] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๔๑๕] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ อสาตํ เจตสิกํ ทุกขฺ ,ํ
เจโตสมฺผสฺสชํ อสาตํ ทุกขฺ ํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อสาตา ทุกขฺ า เวทนา;
ความไม่สบายทางใจ ความทุกข์ทางใจอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณ-
ธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์อนั เกิดแต่เจโตสัมผัส-
กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์อนั เกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๑๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย ทุกขฺ ํ โหติ?
[๔๑๖] ทุกข์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ อสาตํ เจตสิกํ ทุกขฺ ,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ อสาตํ ทุกขฺ ํ
246

เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อสาตา ทุกขฺ า เวทนา;


ความไม่สบายทางใจ ความทุกข์ทางใจ ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็น-
ทุกข์อนั เกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ทุกขฺ ํ โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าทุกข์มใี นสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๑๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย โทมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๑๗] โทมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ อสาตํ เจตสิกํ ทุกขฺ ,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ อสาตํ ทุกขฺ ํ
เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อสาตา ทุกขฺ า เวทนา;
ความไม่สบายทางใจ ความทุกข์ทางใจ ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็น-
ทุกข์อนั เกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์อนั เกิดแต่-
เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โทมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าโทมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๑๘] กตโม ตสฺมึ สมเย โทโส โหติ?
[๔๑๘] โทสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย โทโส ทูสนา ทูสติ ตฺต,ํ พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา, วิโรโธ
ปฏิวโิ รโธ, จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโป อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
การคิดประทุษร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย ความคิดประทุษร้าย การคิดปอง-
ร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ปองร้าย ความคิดปองร้าย ความโกรธ ความแค้น ความดุรา้ ย
ความปากร้าย ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย โทโส โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าโทสะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๑๙] กตโม ตสฺมึ สมเย พฺยาปาโท โหติ?
[๔๑๙] พยาปาทะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย โทโส ทูสนา ทูสติ ตฺต,ํ พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา, วิโรโธ
247

ปฏิวโิ รโธ, จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโป อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;


การคิดประทุษร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย ความคิดประทุษร้าย การคิดปอง-
ร้าย กิรยิ าที่ คิดปองร้าย ความคิดปองร้าย ความโกรธ ความแค้น ความ-
ดุรา้ ย ความปากร้าย ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย พฺยาปาโท โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าพยาปาทะมีในสมัยนัน้ .
ฯเปฯ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น
ธมฺมา;
ฯลฯ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ , ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปċฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
ติวงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, จตฺตาริ พลานิ โหนฺต,ิ เทฺว เหตู โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส
โหติ, ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๔ มรรค
มีองค์ ๓ พละ ๔ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
[๔๒๐] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๒๐] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม มิจฉฺ าสมาธิ, วิรยิ พลํ สมาธิพลํ
248

อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ, โทโส โมโห, พฺยาปาโท, อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป,ํ สมโถ


ปคฺคาโห อวิกเฺ ขโป,
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์
มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ
อโนตตัปปพละ โทสะ โมหะ พยาปาทะ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ
ปัคคาหะ อวิกเขปะ,
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
อกุศลจิตดวงที่ ๑๐
[๔๒๑] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๒๑] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, โทมนสฺสสหคตํ ปฏิฆสมฺปยุตตฺ ํ
สสงฺขาเรน รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยโทมนัสสัมปยุตด้วยปฏิฆะ มีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ โดยมีการชักจูงในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
249

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ


อกุศลจิตดวงที่ ๑๑
[๔๒๒] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๒๒] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ วิจกิ จิ ฉฺ าสมฺปยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยวิจกิ จิ ฉา มีรปู เป็นอารมณ์ หรือมี-
เสียงเป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็น-
อารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ; วิรยิ พลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ,
อโนตฺตปฺปพลํ โหติ; วิจกิ จิ ฉฺ า โหติ, โมโห โหติ; อหิรกิ ํ โหติ, อโนตฺตปฺปํ
โหติ; ปคฺคาโห โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ วิรยิ พละ
อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ วิจกิ จิ ฉา โมหะ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ
ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
250

[๔๒๓] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?


[๔๒๓] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๒๔] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๔๒๔] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิต;ิ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๒๕] กตมา ตสฺมึ สมเย วิจกิ จิ ฉฺ า โหติ?
[๔๒๕] วิจกิ จิ ฉามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน
ยา ตสฺมึ สมเย กงฺขา กงฺขายนา กงฺขายิตตฺต,ํ วิมติ วิจกิ จิ ฉฺ า, เทฺวฬฺหกํ
เทฺวธาปโถ, สํสโย อเนกํสคาโห, อาสปฺปนา ปริสปฺปนา, อปริโยคาหนา
ถมฺภติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส มโนวิเลโข;
การเคลือบแคลง กิรยิ าทีเ่ คลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็นไป-
ต่างๆ นานา ความตัดสินอารมณ์ไม่ได้ ความเห็นเป็นสองแง่ ความเห็น-
เหมือนทางสองแพร่ง ความสงสัย ความไม่สามารถจะถือเอาโดยส่วน-
เดียวได้ ความคิดส่ายไป ความคิดพร่าไป ความไม่สามารถจะหยัง่ ลงถือ-
เอาเป็นยุตไิ ด้ ความกระด้างแห่งจิต ความลังเลใจในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจกิ จิ ฉฺ า โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจกิ จิ ฉามีในสมัยนัน้ .
ฯเปฯ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น
ธมฺมา;
251

ฯลฯ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;


อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ , ตโย อาหารา โหนฺต,ิ จตฺตาริ อินทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
ทุวงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, ตีณิ พลานิ โหนฺต,ิ เอโก เหตุ โหติ, เอโก ผสฺโส โหติ,
ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๔ ฌานมีองค์ ๔ มรรค
มีองค์ ๒ พละ ๓ เหตุ ๑ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
[๔๒๖] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๒๖] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม, วิรยิ พลํ อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ, วิจกิ จิ ฉฺ า,
โมโห, อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป,ํ ปคฺคาโห;
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวายามะ วิรยิ พละ อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ วิจกิ จิ ฉา โมหะ อหิรกิ ะ
อโนตตัปปะ ปัคคาหะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ,.
252

นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ฯลฯ


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
อกุศลจิตดวงที่ ๑๒
[๔๒๗] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๔๒๗] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลํ จิตตฺ ํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ อุทธฺ จฺจสมฺปยุตตฺ ํ
รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา
โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา,
อกุศลจิตสหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยอุทธัจจะ มีรปู เป็นอารมณ์ หรือมี-
เสียงเป็นอารมณ์ มีกลิน่ เป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์ มีโผฏฐัพพะเป็น-
อารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ โหติ; มิจฉฺ าสงฺกปฺโป โหติ, มิจฉฺ าวายาโม โหติ, มิจฉฺ าสมาธิ โหติ;
วิรยิ พลํ โหติ, สมาธิพลํ โหติ, อหิรกิ พลํ โหติ, อโนตฺตปฺปพลํ โหติ; อุทธฺ จฺจํ
โหติ; โมโห โหติ, อหิรกิ ํ โหติ, อโนตฺตปฺปํ โหติ; สมโถ โหติ, ปคฺคาโห โหติ,
อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวา-
ยามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ อโนตตัปปพละ
อุทธัจจะ โมหะ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะมีในสมัย-
253

นั้น;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
[๔๒๘] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๒๘] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๔๒๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย อุทธฺ จฺจํ โหติ?
[๔๒๙] อุทธัจจะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส อุทธฺ จฺจํ อวูปสโม เจตโส วิกเฺ ขโป ภนฺตตฺตํ จิตตฺ สฺส,
ความฟุง้ ซ่านแห่งจิต ความไม่สงบแห่งจิต ความวุน่ วายใจ ความพล่านแห่ง
จิตในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อุทธฺ จฺจํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุทธัจจะมีในสมัยนัน้ .
ฯเปฯ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น
ธมฺมา;
ฯลฯ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปċฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ จตุรงฺคกิ ํ ฌานํ โหติ,
ติวงฺคโิ ก มคฺโค โหติ, จตฺตาริ พลานิ โหนฺต,ิ เอโก เหตุ โหติ, เอโก ผสฺโส
254

โหติ, ฯเปฯ เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;


ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๔ มรรค
มีองค์ ๓ พละ ๔ เหตุ ๑ ผัสสะ ๑ ฯลฯ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑
มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อกุสลา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ
[๔๓๐] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๓๐] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา, วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ มิจฉฺ าสงฺกปฺโป มิจฉฺ าวายาโม มิจฉฺ าสมาธิ, วิรยิ พลํ สมาธิพลํ
อหิรกิ พลํ อโนตฺตปฺปพลํ, อุทธฺ จฺจ,ํ โมโห, อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป,ํ สมโถ ปคฺคาโห
อวิกเฺ ขโป;
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์
มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ วิรยิ พละ สมาธิพละ อหิรกิ พละ
อโนตตัปปพละ อุทธัจจะ โมหะ อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สมถะ ปัคคาหะ
อวิกเขปะ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อกุสลา.
255

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.


ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ านิ.
อกุศลจิต ๑๒ จบ.
อัพยากตบท.
กามาวจรวิปากจิต.
ปัçจวิççาณทีเ่ ป็นกุสลวิปาก .
วิญญาณ ๕ ทีเ่ ป็นกุศลวิบาก.
[๔๓๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๓๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ
จกฺขวุ ċ
ิ ċ
ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ รูปารมฺมณํ;
จักขุวญ ิ ญาณอันเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์เกิดขึน้ เพราะ
กามาวจรกุศลกรรมอันได้กระทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ; มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต อุเบกขา เอกัคคตา มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์
ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๓๒] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๓๒] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
256

อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๔๓๓] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๔๓๓] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชาจกฺขวุ ċ ิ ċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ,
เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่อนั เกิดแต่สมั ผัสแห่ง
จักขุวญ ิ ญาณธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโต-
สัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔๓๔] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๔๓๔] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชาจกฺขวุ ċ ิ ċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา
สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งจักขุวญ ิ ญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๔๓๕] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๔๓๕] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชาจกฺขวุ ċ ิ ċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งจักขุวญิ ญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
257

อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๔๓๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๔๓๖] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชาจกฺขวุ ċิ ċ
ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนาตยนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ จักขุวญ ิ ญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๔๓๗] กตมา ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ?
[๔๓๗] อุเบกขามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเบกขามีในสมัยนัน้ .
[๔๓๘] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๔๓๘] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิต;ิ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๔๓๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
258

[๔๓๙] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?


ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ; มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ;ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชาจกฺขวุ ċ ิ ċ
ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโนวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ จักขุวญ ิ ญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๔๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๔๐] อุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๔๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๔๑] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ นิ ทรียค์ อื ชีวติ ของนาม-
ธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
259

หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;


อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา จกฺขวุ ċ ิ ċ
ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ จักขุ-
วิญญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๔๔๒] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๔๒] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ
อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา
สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย์ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด
เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๔๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๔๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ
260

โสตวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ สทฺทารมฺมณํ; ฯเปฯ


โสตวิญญาณอันเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีเสียงเป็นอารมณ์เกิดขึน้
ฯลฯ
ฆานวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ คนฺธารมฺมณํ; ฯเปฯ
ฆานวิญญาณอันเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีกลิน่ เป็นอารมณ์เกิดขึน้ ฯลฯ
ชิวหฺ าวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, อุเปกฺขาสหคตํ รสารมฺมณํ; ฯเปฯ
ชิวหาวิญญาณอันเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรสเป็นอารมณ์เกิดขึน้ ฯลฯ
กายวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ, สุขสหคตํ โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ;
กายวิญญาณอันเป็นวิบากสหรคตด้วยสุขเวทนามีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์-
เกิดขึน้ เพราะกามาวจรกุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว
ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ; มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สุขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต สุข เอกัคคตา มนินทรีย์ สุขนิ ทรีย์
ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๔๔] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๔๔] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
261

[๔๔๕] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?


[๔๔๕] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชากายวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ กายิกํ สาตํ กายิกํ สุข,ํ
กายสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ กายสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางกาย ความสุขทางกายอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งกายวิญญาณธาตุ-
ทีส่ มกัน ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่กายสัมผัส กิรยิ าเสวย-
อารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่กายสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔๔๖] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๔๔๖] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชากายวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา
สċŇชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งกายวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๔๔๗] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๔๔๗] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชากายวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งกายวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
262

[๔๔๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?


[๔๔๘] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชากายวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ กายวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๔๔๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ?
[๔๔๙] สุขมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย กายิกํ สาตํ กายิกํ สุข,ํ กายสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
กายสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุข
อันเกิดแต่กายสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่กายสัมผัส-
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขมีในสมัยนัน้ .
[๔๕๐] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๔๕๐] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส ĘŅต;ิ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิตสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๔๕๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๕๑] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
263

วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชากายวิċċ ฺ าณธาตุ;


จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโนวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ กายวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๕๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๕๒] สุขนิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย กายิกํ สาตํ กายิกํ สุข,ํ กายสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
กายสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางกาย ความสุขทางกาย ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุข
อันเกิดแต่กายสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่กายสัมผัส-
ใสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขนิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๕๓] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๕๓] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา, อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกัน-
อยู่ ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ
ของนามธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
264

อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓,
เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ เอกา กายวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ,
เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ผัสสะ ๑ ฯลฯ กายวิญญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๔๕๔] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๕๔] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
กุสลวิปากานิ ปċฺจวิċċ
ฺ าณานิ.
วิญญาณ ๕ ทีเ่ ป็นกุศลวิบากจบ
265

มโนธาตุทเ่ี ป็นกุศลวิบาก.
[๔๕๕] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๕๕] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากา
มโนธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ, อุเปกฺขาสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ
โผฏฺĘพฺพารมฺมณา วา,
มโนธาตุอนั เป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีโผฏฐัพ-
พะเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ เพราะกามาวจรกุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว
ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา มนินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๕๖] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๕๖] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
266

[๔๕๗] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?


[๔๕๗] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ
อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่อนั เกิดแต่สมั ผัสแห่ง
มโนธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ไม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิรยิ าเสวยอารมณ์ไม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔๕๘] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๔๕๘] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๔๕๙] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๔๕๙] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนธาตุทส่ี มกันในสมัย-
นัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
ชือ่ ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๔๖๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๔๖๐] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
267

วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนธาตุ;


จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๔๖๑] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๔๖๑] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๔๖๒] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๔๖๒] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา
ความทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๔๖๓] กตมา ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ?
[๔๖๓] อุเบกขามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
268

ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-


ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเบกขามีในสมัยนัน้ .
[๔๖๔] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๔๖๔] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิต;ิ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๔๖๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๖๕] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโนวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๖๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๖๖] อุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
269

อิทํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.


นีช้ อ่ื ว่าอุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๖๗] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๖๗] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ ิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ ของนาม-
ธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนธาตุ ๑
ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๔๖๘] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๖๘] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
270

ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ


ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
กุสลวิปากา มโนธาตุ.
มโนธาตุทเ่ี ป็นกุศลวิบากจบ.
กุสลวิปาก โสมนสฺสสหคต มโนวิċċ ฺ าณธาตุ.
มโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกุศลวิบากสหรคตด้วยโสมนัส.
[๔๖๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๖๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากา
มโนวิċċ ฺ าณธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ, โสมนสฺสสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ
ธมฺมารมฺมณา วา,
มโนวิญญาณธาตุอนั เป็นวิบากสหรคตด้วยโสมนัส มีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ เพราะกามาวจรกุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว
ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
271

มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;


ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา มนินทรีย์
โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๗๐] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๗๐] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีถ่ กู กระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้
อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๔๗๑] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๔๗๑] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุขํ
เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจอันเกิดแต่สมั ผัสมโนวิญญาณธาตุทส่ี ม-
กัน ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวย-
อารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔๗๒] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๔๗๓] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา
272

สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าจำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๔๗๓] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๔๗๓] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๔๗๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๔๗๔] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๔๗๕] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๔๗๕] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส อภินโิ รปนา;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ ในสมัยนัน้
273

อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๔๗๖] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๔๗๖] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา
ความทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๔๗๗] กตมา ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ?
[๔๗๗] ปีตมิ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ปีติ ปาโมชฺช,ํ อาโมทนา ปโมทนา, หาโส ปหาโส, วิตตฺ ิ
โอทคฺยํ อตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
ความอิม่ ใจ ความปราโมทย์ ความยินดียง่ิ ความบันเทิง ความร่าเริง
ความรืน่ เริง ความปลืม้ ใจ ความตืน่ เต้น ความทีจ่ ติ ชืน่ ชมยินดีในสมัย-
นัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ปีติ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าปีตมิ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๗๘] กตมํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ?
[๔๗๘] สุขมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
274

ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สุขํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสุขมีในสมัยนัน้ .
[๔๗๙] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๔๗๙] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิต;ิ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .
[๔๘๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๘๐] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโน วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๘๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๘๑] โสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ สาตํ เจตสิกํ สุข,ํ เจโตสมฺผสฺสชํ สาตํ สุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา สาตา สุขา เวทนา;
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทส่ี บายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าโสมนัสสินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
275

[๔๘๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?


[๔๘๒] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความ ประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ
ของนามธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโน
วิญญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๔๘๓] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๘๓] สังขารขันธ์ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ เย วา ปน
ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา Ęเปตฺวา
276

เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ


ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย์ หรือนามธรรมทีอ่ งิ -
อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ น-
สมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
กุสลวิปากา โสมนสฺสสหคตา มโนวิċċ
ฺ าณธาตุ.
มโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกุศลวิบากสหรคตด้วยโสมนัสจบ.

กุสลวิปากา อุเปกฺขาสหคต มโนวิċċ


ฺ าณธาตุ.
มโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกุศลวิบากสหรคตด้วยอุเบกขา.
[๔๘๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๘๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากา
มโนวิċċ ฺ าณธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ, อุเปกฺขาสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ
ธมฺมารมฺมณา วา,
มโนวิญญาณธาตุอนั เป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ เพราะกามาวจรกุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว
ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ; เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
277

ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา


มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๘๕] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๔๘๕] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
[๔๘๖] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?
[๔๘๖] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ,
เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่อนั เกิดแต่สมั ผัสแห่ง
มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่-
เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ .
[๔๘๗] กตมา ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ?
[๔๘๗] สัญญามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา สċฺċา สċฺชานนา
278

สċฺชานิตตฺต;ํ
การจำ กิรยิ าทีจ่ ำ ความจำอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย สċฺċา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสัญญามีในสมัยนัน้ .
[๔๘๘] กตมา ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ?
[๔๘๘] เจตนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา สċฺเจตนา
สċฺเจตยิตตฺต;ํ
การคิด กิรยิ าทีค่ ดิ ความคิดอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุทส่ี มกัน
ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เจตนา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าเจตนามีในสมัยนัน้ .
[๔๘๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ?
[๔๘๙] จิตมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าจิตมีในสมัยนัน้ .
[๔๙๐] กตโม ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ?
[๔๙๐] วิตกมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป, อปฺปนา พฺยปฺปนา เจตโส
อภินโิ รปนา;
ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความทีจ่ ติ แนบอยูใ่ นอารมณ์
279

ความทีจ่ ติ แนบสนิทอยูใ่ นอารมณ์ ความยกจิตขึน้ สูอ่ ารมณ์ในสมัยนัน้


อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิตกฺโก โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิตกมีในสมัยนัน้ .
[๔๙๑] กตโม ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ?
[๔๙๑] วิจารมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย จาโร วิจาโร อนุวจิ าโร อุปวิจาโร, จิตตฺ สฺส อนุสนฺธนตา
อนุเปกฺขนตา;
ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา
ความทีจ่ ติ สืบต่ออารมณ์ ความทีจ่ ติ เพ่งอารมณ์ในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย วิจาโร โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิจารมีในสมัยนัน้ .
[๔๙๒] กตมา ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ?
[๔๙๒] อุเบกขามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขา โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเบกขามีในสมัยนัน้ .
[๔๙๓] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๔๙๓] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิต;ิ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิตในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ.
280

นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ .


[๔๙๔] กตมํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๙๔] มนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ ํ มโน มานสํ, หทยํ ปณฺฑรํ, มโน มนายตนํ มนินทฺ รฺ ยิ ,ํ
วิċċ ฺ าณํ วิċċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตชฺชามโนวิċċ ฺ าณธาตุ;
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มโน มนายตนะ อินทรียค์ อื มโน วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุทส่ี มกันในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่ามนินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๙๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๙๕] อุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย เจตสิกํ เนวสาตํ นาสาตํ, เจโตสมฺผสฺสชํ อทุกขฺ มสุขํ เวทยิต,ํ
เจโตสมฺผสฺสชา อทุกขฺ มสุขา เวทนา;
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์-
ทีไ่ ม่ทกุ ข์ไม่สขุ อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่ทกุ ข์ไม่สขุ
อันเกิดแต่เจโตสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าอุเปกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๔๙๖] กตมํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๔๙๖] ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย เตสํ อรูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกัน-
อยู่ ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ
ของนามธรรมนัน้ ๆ ในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
281

นีช้ อ่ื ว่าชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .


เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนวิญ-
ญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีในสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต. ฯลฯ
[๔๙๗] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๔๙๗] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย,์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อċฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิċċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
282

กุสลวิปากา อุเปกฺขาสหคตา มโนวิċċ ฺ าณธาตุ.


มโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกุศลวิบากสหรคตด้วยอุเบกขาจบ.
อฏฺĘมหาวิปาก.
มหาวิปากจิต ๘.
[๔๙๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๙๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย กามาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากา
มโนวิċċ ฺ าณธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ, โสมนสฺสสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า ฯเปฯ
มโนวิญญาณธาตุอนั เป็นวิบากสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ ฯลฯ
โสมนสฺสสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า สสงฺขาเรน ฯเปฯ
ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
โสมนสฺสสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า ฯเปฯ
ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้
โสมนสฺสสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า สสงฺขาเรน
ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า ฯเปฯ
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยญาณ ... เกิดขึน้
อุเปกฺขาสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า สสงฺขาเรน ฯเปฯ
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
อุเปกฺขาสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า ฯเปฯ
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้
อุเปกฺขาสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า สสงฺขาเรน รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ
ธมฺมารมฺมณา วา,
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
มีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
283

หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ เพราะกามาวจร กุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว


ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ฯเปฯ อโลโภ อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ อโทโส อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ อโมโห อพฺยากตมูลํ
ฯเปฯ
อัพยากตมูล คือ อโลภะ ฯลฯ อัพยากตมูล คือ อโทสะ ฯลฯ อัพยากตมูล
คือ อโมหะ ฯลฯ
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
อฏฺĘ มหาวิปากา.
มหาวิบาก ๘ จบ
รูปาวจรวิปากจิต.
[๔๙๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๙๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล
284

ตสฺเสว รูปาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว


กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ อันเป็นวิบากเพราะรูปาวจรกุศลกรรมอัน-
ได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วอยูใ่ นสมัยใด ;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๐] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ
ฌานํฯเปฯ ตติยํ ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงรูปภูมบิ รรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั -
จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว รูปาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ สุขสฺส จ
ปหานา ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ปĘวีกสิณ;ํ
โยคาวจรบุคคลบรรลุปญ ั จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ
เพราะละสุขและทุกข์ได้ ฯลฯ อันเป็นวิบาก เพราะรูปาวจรกุศลกรรมอันได้
ทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วอยูใ่ นสมัยใด;
285

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
รูปาวจรวิปากาจิตจบ.
อรูปาวจรวิปาก.
[๕๐๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส รูปสċฺċานํ สมติกกฺ มา
ปฏิฆสċฺċานํ อตฺถงฺคมา นานตฺตสċฺċานํ อมนสิการา อากาสานċฺจายตนสċฺ-
ċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมิ เพราะก้าวล่วงรูปสัญ-
ญาโดยประการทัง้ ปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะไม่มน-
สิการซึง่ นานัตตสัญญาจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากาสานัญจาย-
ตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว อรูปาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ สพฺพโส
รูปสċฺċานํ สมติกกฺ มา ปฏิฆสċฺċานํ อตฺถงฺคมา นานตฺตสċฺċานํ อมนสิการา
อากาสานċฺจายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเพราะก้าวล่วงรูปสัญญาโดยประการทัง้ ปวง เพราะความดับ-
ไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะไม่มนสิการซึง่ นานัตตสัญญาจึงบรรลุจตุตถฌาน
อันสหรคตด้วยอากาสานัญจายตนสัญญาไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละ-
286

ทุกข์ได้ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะอรูปาวจรกุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว


ได้สง่ั สมไว้แล้วอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส อากาสานċฺจายตนํ
สมติกกฺ มฺม วิċċ ฺ าณċฺจายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมเิ พราะก้าวล่วงอากาสา-
นัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวง จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยวิญญา-
ณัญจายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้ ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว อรูปาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ สพฺพโส
อากาสานċฺจายตนํ สมติกกฺ มฺม วิċċ ฺ าณċฺจายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ
ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเพราะก้าวล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวง
จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยวิญญาณัญจายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่ม-ี
สุข เพราะละสุขละทุกข์ได้ ฯลฯ อันเป็นวิบาก เพราะอรูปาวจรกุศลกรรม-
อันได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วอยูใ่ นสมัยใด;
287

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๓] ธรรมเป็นอัพยากฤต เป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส วิċċ ฺ าณċฺจายตนํ
สมติกกฺ มฺม อากิċจฺ ċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมิ เพราะก้าวล่วงวิญญา-
ณัญจายตนโดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌาน อันสหรคตด้วยอากิญ-
จัญญยตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละทุกข์ละสุขได้ ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว อรูปาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ สพฺพโส
วิċċฺ าณċฺจายตนํ สมติกกฺ มฺม อากิċจฺ ċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ
ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเพราะก้าวล่วงวิญญาณัญจายตนะโดยประการทัง้ ปวง
จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากิญจัญญายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ไม่-
มีสขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะอรูปาวจรกุศลกรรม-
อันได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
288

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปปู ปตฺตยิ า, มคฺคํ ภาเวติ, สพฺพโส อากิċจฺ ċฺċายตนํ
สมติกกฺ มฺม เนวสċฺċานาสċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ
จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคปฏิปทาเพือ่ เข้าถึงอรูปภูมิ เพราะก้าวล่วงอากิญ-
จัญญายตนะโดยประการทัง้ ปวง จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยเนว-
สัญญานาสัญญายตนสัญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว อรูปาวจรสฺส กุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ สพฺพโส
อากิċจฺ ċฺċายตนํ สมติกกฺ มฺม เนวสċฺċานาสċฺċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส
จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
โยคาวจรบุคคลเพราะก้าวล่วงอากิญจัญญายตนะโดยประการทัง้ ปวง
จึงบรรลุจตุตถฌาน อันสหรคตด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา
ไม่มที กุ ข์ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะรูปาวจร-
กุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
อรูปาวจรวิปากาจิตจบ.
289

โลกุตตฺ รวิปากจิต.
สุทธฺ กิ ปฏิปทา.
[๕๐๕] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๕] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ,ํ
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบาก
เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด,
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
290

ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํอปุ สมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะ-
กุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
291

วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
สงัดจากกามสงัดจากกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาป-
ฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบาก
เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น เพราะวิตกวิจารสงบระงับ-
ไปแล้ว,
ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ
292

ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň นฺติ
กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ทนฺธาภิċċ ฺ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก;
ฯลฯ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุ
ปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
ดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาดังนี้ กุศล ฯลฯ
ชนิดอนิมติ ตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นทุกขาป-
ฏิปทาทันธาภิญญาดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทัน-
ธาภิญญาดังนีว้ บิ าก
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๐๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๐๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ตติยํ ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ
293

สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ
ฺ นฺติ
กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก;
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌาน เป็นทุกขาป-
ฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทา-
ขิปปาภิญญา ฯลฯ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถ-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นสุขาปฏิปทาขิป-
ปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทา-
ขิปปาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ
ชนิดอนิมติ ตะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นสุขาปฏิป-
ทาขิปปาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญ-
ญา ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
สุทธิกปฏิปทาจบ.
สุทธฺ กิ สุċฺċต.
[๕๑๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๐] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
294

ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระ
อันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้นสงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อนิมติ ตฺ ;ํ
295

โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-


ฌานชนิดอนิมติ ตะ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้-
ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอัน-
ได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนัน้ ;
296

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ
ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุċċฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุċċ ฺ ตนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุċċ ฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ
อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุċċ ฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้นบรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุต-
ติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน
ชนิดสุญญตะ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะ ดังนี้ วิบาก
ฯลฯ ชนิดสุญญตะ ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ ดังนี้ วิบาก ฯลฯ
ชนิดสุญญตะ ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
สุทธฺ กิ สุċċ
ฺ ตํจบ.
สุċฺċตปฏิปทา.
[๕๑๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
297

ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ;


โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะ-
กุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๕] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๕] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
298

ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิอนิมติ ตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะ-
กุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
299

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.


ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบาก
เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
สุċċ ฺ ตนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
สุċċ ฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้นบรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติ-
ยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน
ชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล
ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญ-
ญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะเป็นทุก-
300

ขาปฏิปทาทันธาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทัน-


ธาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๑๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ ฯเปฯ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ
ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตนฺติ
วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตนฺติ กุสลํ
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปา-
ภิญญา ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ ชนิดสุญญตะ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ
บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิดสุญญตะ
เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญ-
ตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิ-
301

ปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา


ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ
ชนิดอัปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
สุċฺċตปฏิปทาจบ.
สุทธฺ กิ อปฺปณิหติ .
[๕๑๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๑๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานอันเป็นโลกุตตระ-
อันทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
302

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๒๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๐] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจาก-
อกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อนิมติ ตฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้-
ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๒๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
303

[๕๒๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไป
สูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้-
ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๒๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ
ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ
304

อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุċċ ฺ ตนฺติ วิปาโก;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ
บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ
ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ ดังนี้ วิบาก
ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะ ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
สุทธิกอัปปณิหติ ะจบ.
อัปปณิหติ ปฏิปทา.
[๕๒๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตํ?
[๕๒๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกามสงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทัน-
ธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
305

ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว


กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบาก
เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๒๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทัน-
ธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
306

ฌานชนิดอนิมติ ตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะ-


กุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๒๕] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๕] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉนํ
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิเพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกามสงัดจากอกุศล-
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทัน-
ธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะ-
กุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
307

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต
[๕๒๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ
ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตนฺติ วิปาโก;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้นบรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุ-
ตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล
ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิด-
อัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ะเป็น-
ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิป-
ทาทันธาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๒๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
308

ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ํ อปฺปณิหติ ;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ;ํ
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ;ํ ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ
ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ นฺติ วิปาโก; ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ นฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ํ
อปฺปณิหติ นฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตนฺติ วิปาโก;
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิเพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล
ธรรมทัง้ หลายแล้วบรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญา ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ ชนิดอัปปณิ-
หิตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน
ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิด
อัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ
ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯลฯ ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิด-
อัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะเป็น-
สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทา-
ขิปปาภิญญา ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ดังนี้
วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
อปฺปณิหติ ปฏิปทา.
309

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.


วีสติมหานย.
มหานัย ๒๐.
[๕๒๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ มคฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สติปฏฺĘานํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สมฺมปฺปธานํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อิทธฺ ปิ าทํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ
อินทฺ รฺ ยิ ํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ พลํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ โพชฺฌงฺคํ ภาเวติ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสติปฏั ฐานเป็นโลกุตระ
ฯลฯ เจริญสัมมัปปธานเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอิทธิบาทเป็นโลกุตตระ
ฯลฯ เจริญโพชฌงค์เป็นโลกุตตระ
ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สจฺจํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สมถํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ธมฺมํ
ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ขนฺธํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อายตนํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ
ธาตุ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อาหารํ ภาเวติ
ฯลฯ เจริญสัจจะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสมถะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญ-
ธรรมเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญขันธ์เป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอายตนะเป็น-
โลกุตตระ ฯลฯ เจริญธาตุเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอาหารเป็นโลกุตตระ
ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ผสฺสํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ เวทนํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สċฺċํ
ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ เจตนํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ จิตตฺ ํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ
อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
ฯลฯ เจริญผัสสะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญเวทนาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญ-
สัญญาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญเจตนาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญจิตเป็น-
โลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ -
บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุ-
ปฐมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
310

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;


ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส จิตตฺ สฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ;
ฯเปฯ อนิมติ ตฺ ;ํ ฯเปฯ อปฺปณิหติ ;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิ-
ปทาทันธาภิญญ ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำ-
ไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯสภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
มหานัย ๒๐ จบ.
ฉันทาธิปไตยสุทธิกปฏิปทา.
[๕๒๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๒๙] ธรรมเป็นอัพยากฤต เป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคล เจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไป จากโลกนำ
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ
Ň ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
311

ปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯอวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบาก เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้วได้เจริญไว้แล้ว-
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ; ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๐] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล
ธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉัน-
ทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
312

ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้ว-
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
313

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้ว-
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺ-
ยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ Ň ํ อปฺปณิหติ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
314

บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐม


ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี
ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญ-
ญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญ-
ญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉัน-
ทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ
วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ
315

ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็น
ฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ บรรลุท-ุ
ติยฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน
ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา
เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นฉันทาธิบ-
ดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นฉันทาธิบ-
ดีดงั นี้ วิบาก ฯลฯ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล
ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นฉันทาธิบดี ดังนี้
วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ฉันทาธิปไตยสุทธิกปฏิปาจบ.
ฺ ตะ.
ฉันทาธิปไตยสุทธิกสุċċ
[๕๓๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญ-
316

ตะเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็น-
โลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๕] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๕] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญญ-
ตะเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
317

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่า ธรรมเป็นกุศล.


ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็น-
โลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญ-
ญตะเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
318

ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌาน


เป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ ตติยํ ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ
กุสลํ ฯเปฯ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ
กุสลํ ฯเปฯ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ
กุสลํ ฯเปฯ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิดสุญญตะเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด ดังนี้
กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตเป็น-
ฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะเป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ
ชนิดสุญญตะเป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นฉันทา-
ธิบดี ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
319

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.


ฉันทาธิปไตยสุทธิกสċฺċตะจบ.
วิบากแห่งมรรคจิตดวงที่ ๑.
[๕๓๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พานเพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญ-
ญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สċฺċตํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานอันเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้-
แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
320

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๓๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๓๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปท ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญ-
ญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะฌานอันเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้ว-
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
321

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.


[๕๔๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๐] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญ-
ญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌาน ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานอันเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้-
แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
322

[๕๔๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?


[๕๔๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ
ฌานํฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ
สุċċฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺ-
ยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ
ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐม
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา
เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็น-
ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ
ชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล
ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้
วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
323

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.


[๕๔๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ
ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํฯเปฯ
ตติยํ ฌานํฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ Ň ํ
สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดสุญ-
ญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็น
สุขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นสุขาปฏิป-
ทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน
ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิด-
ๆสุญญตะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด
ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี
ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี
ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี
324

ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี


ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทา-
ธิบดี ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปป-
ณิหติ ะ เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานอัน-
เป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
325

ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ชนิดอัปป-
ณิหติ ะเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็น-
โลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๕] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
326

[๕๔๕] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปป-
ณิหติ ะเป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สċฺċตํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็น-
โลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
327

ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,


วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ
ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ อปฺปณิหติ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก
ฯเปฯ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺต;ิ
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯบรรลุปฐม-
ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิดอัปปณิหติ ะเป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อยูใ่ น
สมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ
ชนิดอัปปณิหติ ะเป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นฉันทาธิบ-
ดี ดังนี้ วิบาก;
วิปาโก ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปป-
ณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
328

ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;


ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ
ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้ว
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปป-
ณิหติ ะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
329

ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.


ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดอนิมติ ตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบาก เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้ว
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๔๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๔๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปป-
ณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
330

ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.


ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ
อันเป็นวิบากเพราะกุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้ว
ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๕๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๕๐] ธรรมเป็นอัพยากฤต เป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปĘมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ
ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิป-
เตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ
วิปาโก ฯเปฯ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ
ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ ฺ ตํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐม
331

ฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา


เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ อยูใ่ นสมัยใด ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นทุก-
ขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ
เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ -
ตะเป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดอัป-
ปณิหติ ะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ
ชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๕๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๕๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏฺ คิ ตานํ ปหานาย
ปมาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ ฯเปฯ
ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ
ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ
กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ
สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ
ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ อนิมติ ตฺ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ
อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ กุสลํ ฯเปฯ สุขปฏิปทํ ขิปปฺ าภิċċ ฺ ํ สุċċฺ ตํ
332

ฉนฺทาธิปเตยฺยนฺติ วิปาโก;
สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานชนิดอัปปณิ-
หิตะ เป็นทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ
เป็นสุขาปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขา
ปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ บรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติย-
ฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌาน
ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้ กุศล
ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี ดังนี้
วิบาก ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี
ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทาธิบดี
ดังนี้ วิบาก ฯลฯ ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทา-
ธิบดี ดังนี้ กุศล ฯลฯ ชนิดสุญญตะเป็นสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เป็นฉันทา-
ธิบดี ดังนี้ วิบาก;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๕๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๕๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ มคฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สติปฏฺċานํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สมฺมปฺปธานํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อิทธฺ ปิ าทํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ
อินทฺ รฺ ยิ ํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ พลํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ โพชฺฌงฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สจฺจํ ภาเวติ
โยคาวจรบุคคลเจริญมรรคเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสติปฏั ฐานเป็นโลกุต-
ตระ ฯลฯ เจริญสัมมัปปธานเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอิทธิบาทเป็นโลกุต-
ตระ ฯลฯ เจริญอินทรียเ์ ป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญพละเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
333

เจริญโพชฌงค์เป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสัจจะเป็นโลกุตตระ


ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ สมถํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ธมฺมํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ขนฺธํ
ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ อายตนํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ธาตุ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ
อาหารํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ ผสฺสํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ เวทนํ ภาเวติ ฯเปฯ
โลกุตตฺ รํ สċฺċํ ภาเวติ ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ เจตนํ ภาเวติ
ฯลฯ เจริญสมถะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญธรรมเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญ-
ขันธ์เป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญอายตนะเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญธาตุเป็น-
โลกุตตระ ฯลฯ เจริญอาหารเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญผัสสะเป็นโลกุตตระ
ฯลฯ เจริญเวทนาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ เจริญสัญญาเป็นโลกุตตระ ฯลฯ
เจริญเจตนาเป็นโลกุตตระ
ฯเปฯ โลกุตตฺ รํ จิตตฺ ํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ ทิฏĘฺ คิ ตานํ ปหานาย ปĘมาย
ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
ฯลฯ เจริญจิตเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำไปสูน่ พิ พาน
เพือ่ ละทิฏฐิ เพือ่ บรรลุภมู เิ บือ้ งต้น,
วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ
ฉนฺทาธิปเตยฺย;ํ
สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขา-
ปฏิปทาทันธาภิญญา เป็นฉันทาธิบดีอยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส จิตตฺ สฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ
ฯเปฯ อนิมติ ตฺ ํ ฯเปฯ อปฺปณิหติ ํ ฉนฺทาธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วิรยิ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ
จิตตฺ าธิปเตยฺยํ ฯเปฯ วีมสํ าธิปเตยฺย;ํ
334

โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-


ฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ ชนิดอนิมติ ตะ ฯลฯ
ชนิดอัปปณิหติ ะ เป็นฉันทาธิบดี ฯลฯ เป็นวิรยิ าธิบดี ฯลฯ เป็นจิตตาธิบดี
ฯลฯ เป็นวิมงั สาธิบดีอนั เป็นวิบากเพราะกุศลจิตเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้-
แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
วิบากแห่งมรรคจิตดวงที่ ๑ จบ.
วิบากแห่งมรรคจิตดวงที่ ๒ เป็นต้น.
[๕๕๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๕๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย โลกุตตฺ รํ ฌานํ ภาเวติ นิยยฺ านิกํ อปจยคามึ กามราคพฺยาปาทานํ
ตนุภาวาย ทุตยิ าย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
โยคาวจรบุคคลเจริญฌาณเป็นโลกุตตระอันเป็นเครือ่ งออกไปจากโลกนำ-
ไปสูน่ พิ พาน เพือ่ บรรลุภมู ทิ ่ี ๒,
ฯเปฯ กามราคพฺยาปาทานํ อนวเสสปฺปหานาย ตติยาย ภูมยิ า ปตฺตยิ า,
เพือ่ ความเบาบางแห่งกามราคะและพยาบาท ฯลฯ เพือ่ บรรลุภมู ทิ ่ี ๓,
ฯเปฯ รูปราคอรูปราคมานอุทธฺ จฺจอวิชชฺ าย อนวเสสปฺปหานาย จตุตถฺ าย ภูมยิ า
ปตฺตยิ า, วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ
ทนฺธาภิċċ ฺ ;ํ
เพือ่ ละกามราคะและพยาบาทไม่ให้มเี หลือ ฯลฯ เพือ่ บรรลุภมู ทิ ่ี ๔ เพือ่ ละ-
รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ไม่ให้มเี หลือ สงัดจากกาม
สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานเป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
ภิญญาอยูใ่ นสมัยใด;
335

ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา กุสลา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
ตสฺเสว โลกุตตฺ รสฺส กุสลสฺส ฌานสฺส กตตฺตา ภาวิตตฺตา วิปากํ วิวจิ เฺ จว
กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ทุกขฺ ปฏิปทํ ทนฺธาภิċċ ฺ ํ สุċċ
ฺ ตํ;
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐม-
ฌานชนิดสุญญตะ เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯลฯ อันเป็นวิบากเพราะ-
กุศลฌานเป็นโลกุตตระอันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อċฺċาตาวินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อัญญาตาวินทรีย์ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
ฯลฯ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยกันเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๕๔] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๕๕๔] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๕๕๕] กตมํ ตสฺมึ สมเย อċฺċาตาวินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๕๕๕] อัญญาตาวินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา เตสํ อċฺċาตาวีนํ ธมฺมานํ อċฺċา ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย
ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ
เวภพฺยา จินตฺ า อุปปริกขฺ า, ภูรี เมธา ปริณายิกา,
336

ความรูท้ ว่ั ความรูช้ ดั กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ซึง่ ธรรมทัง้ หลายทีร่ ทู้ ว่ั ถึงแล้วนัน้ ๆ
ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำหนดหมาย ความเข้า-
ไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะ-
เอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือนแผ่นดิน
ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง,
วิปสฺสนา สมฺปชċฺ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปċฺċาพลํ, ปċฺċาสตฺถํ
ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต ปċฺċารตนํ,
อโมโห ธมฺมวิจโย, สมฺมาทิฏĘฺ ิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่
หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์อนั เป็นองค์
แห่งมรรค นับเนือ่ งในมรรคในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย อċฺċาตาวินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าอัญญาตาวินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ฯลฯ
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือ นามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
วิบากแห่งมรรคจิตดวงที่ ๑ เป็นต้นจบ.
โลกุตตรวิบากจบ.
อัพยากตทีเ่ ป็นอกุสลวิบาก.
ปัญจวิญญาณทีเ่ ป็นอกุสลวิปาก.
[๕๕๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๔๗๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากํ จกฺขวุ ญ
ิ ċ
ฺ าณํ
337

อุปปฺ นฺนํ โหติ อุเปกฺขาสหคตํ รูปารมฺมณํ;


จักขุวญ ิ ญาณเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์เกิดขึน้ ;
ฯเปฯ โสตวิญċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ อุเปกฺขาสหคตํ สทฺทารมฺมณํ;
ฯลฯ โสตวิญญาณเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีเสียงเป็นอารมณ์เกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ฆานวิญċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ อุเปกฺขาสหคตํ คนฺธารมฺมณํ;
ฯลฯ ฆานวิญญาณเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีกลิน่ เป็นอารมณ์เกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ชิวหฺ าวิญċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ อุเปกฺขาสหคตํ รสารมฺมณํ;
ฯลฯ ชิวหาวิญญาณเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรสเป็นอารมณ์เกิดขึน้ ;
ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณํ อุปปฺ นฺนํ โหติ ทุกขฺ สหคตํ โผฏฺĘพฺพารมฺมณํ;
ฯลฯกายวิญญาณเป็นวิบากสหรคตด้วยทุกขเวทนามีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์-
เกิดขึน้ เพราะอกุศลกรรมอันได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ, ทุกขฺ ํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ทุกขฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะเวทนา สัญญา เจตนา จิต ทุกข์ เอกัคคตา มนินทรีย์ ทุกขินทรีย์
ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๕๗] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๕๕๗] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ .
338

[๕๕๘] กตมา ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ?


[๕๕๘] เวทนามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย ตชฺชากายวิญċ ฺ าณธาตุสมฺผสฺสชํ กายิกํ อสาตํ กายิกํ ทุกขฺ ,ํ
กายสมฺผสฺสชํ อสาตํ ทุกขฺ ํ เวทยิต,ํ กายสมฺผสฺสชา อสาตา ทุกขฺ า เวทนา;
ความไม่สบายทางกาย ความทุกข์ทางกายอันเกิดแต่สมั ผัสแห่งกายวิญญาณ-
ธาตุทส่ี มกัน ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์อนั เกิดแต่กายสัมผัส
กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์อนั เกิดแต่กายสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย เวทนา โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าเวทนามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๕๕๙] กตมํ ตสฺมึ สมเย ทุกขฺ ํ โหติ?
[๕๕๙] ทุกข์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย กายิกํ อสาตํ กายิกํ ทุกขฺ ,ํ กายสมฺผสฺสชํ อสาตํ ทุกขฺ ํ เวทยิต,ํ
กายสมฺผสฺสชา อสาตา ทุกขฺ า เวทนา;
ความไม่สบายทางกาย ความทุกข์ทางกาย ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบาย-
เป็นทุกข์อนั เกิดแต่กายสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์
อันเกิดแต่กายสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ทุกขฺ ํ โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าทุกข์มใี นสมัยนัน้ ฯลฯ
[๕๖๐] กตมํ ตสฺมึ สมเย ทุกขฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๕๖๐] ทุกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ตสฺมึ สมเย กายิกํ อสาตํ กายิกํ ทุกขฺ ,ํ กายสมฺผสฺสชํ อสาตํ ทุกขฺ ํ เวทยิต,ํ
กายสมฺผสฺสชา อสาตา ทุกขฺ า เวทนา;
ความไม่สบายทางกาย ความทุกข์ทางกาย ความเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบาย-
เป็นทุกข์อนั เกิดแต่กายสัมผัส กิรยิ าเสวยอารมณ์ทไ่ี ม่สบายเป็นทุกข์อนั เกิด-
แต่กายสัมผัสในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย ทุกขฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ. ฯเปฯ
339

นีช้ อ่ื ว่าทุกขินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ฯลฯ


เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา กายวิญċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ กายวิญ-
ญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๕๖๑] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๕๖๑] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ
อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา
สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิญċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย์ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใด
เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ปัญจวิญญาณทีเ่ ป็นอกุสลวิบากจบ.
340

มโนธาตุทเ่ี ป็นอกุศลวิบาก.
[๕๖๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๖๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากา มโนธาตุ อุปปฺ นฺนา
โหติ อุเปกฺขาสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพารมฺมณา วา,
มโนธาตุเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีโผฏฐัพพะ-
เป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ เพราะอกุศลกรรม อันได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั -
สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ โหติ;
วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ; มนินทฺ รฺ ยิ ํ
โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา มนินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนธาตุ ๑
ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
341

อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๕๖๓] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๕๖๓] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิญċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ; ฯลฯ
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
มโนธาตุทเ่ี ป็นอกุสลวิบากจบ.
มโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นอกุสลวิบาก.
[๕๖๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๖๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อกุสลสฺส กมฺมสฺส กตตฺตา อุปจิตตฺตา วิปากา มโนวิญċ ฺ าณธาตุ
อุปปฺ นฺนา โหติ อุเปกฺขาสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณา วา,
มโนวิญญาณธาตุเป็นวิบากสหรคตด้วยอุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ
มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ เพราะอกุศลกรรม อันได้ทำไว้แล้ว ได้สง่ั -
สมไว้แล้วในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ โหติ;
342

วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ; มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา มนินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต;ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนวิญċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนวิญ-
ญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๖๕] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๕๖๕] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
[๕๖๕] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิญċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
343

อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ,


นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ , นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ,
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
มโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นอกุสลวิบากจบ.
อัพยากฤตทีเ่ ป็นอกุศลวิบากจบ.
อัพยากฤตทีเ่ ป็นอเหตุกกิรยิ า.
มโนธาตุทเ่ี ป็นกิรยิ า.
[๕๖๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๖๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย มโนธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ, กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น จ
กมฺมวิปากา อุเปกฺขาสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ โผฏฺพฺพารมฺมณา วา,
มโนธาตุเป็นกิรยิ าไม่ใช่กศุ ลไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบากสหรคตด้วย
อุเบกขามีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ โหติ,
วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ
โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา มนินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
344

โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ตีณนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๓ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนธาตุ ๑
ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๕๖๗] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๕๖๗] สังขารขันธ์ มีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเĘปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิญċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ. ċ
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
มโนธาตุทเ่ี ป็นกิรยิ าจบ.
กิรยิ ามโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกิรยิ าสหรคตด้วยโสมนัส.
[๕๖๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๖๘] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย มโนวิญċ
ฺ าณธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น
จ กมฺมวิปากา โสมนสฺสสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณา วา,
345

มโนวิญญาณธาตุเป็นกิรยิ าไม่ใช่กศุ ลไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบาก


สหรคตด้วยโสมนัสมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ โหติ;
วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, ปีติ โหติ, สุขํ โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, โสมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๖๙] กตโม ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ?
[๕๖๙] ผัสสะมีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย ผสฺโส ผุสนา สมฺผสุ นา สมฺผสุ ติ ตฺต;ํ
การกระทบ กิรยิ าทีก่ ระทบ กิรยิ าทีถ่ กู ต้อง ความถูกต้องในสมัยนัน้ อันใด;
อยํ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าผัสสะมีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๕๗๐] กตมา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ?
[๕๗๐] เอกัคคตามีในสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป อวิสาหฏ-
มานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ส่ายไป ความสงบ สมาธิน-
346

ทรีย์ สมาธิพละในสมัยนัน้ อันใด;


อยํ ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ. ฯเปฯ
นีช้ อ่ื ว่าเอกัคคตามีในสมัยนัน้ ฯลฯ
[๕๗๑] กตมํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๕๗๑] วิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
โย ตสฺมึ สมเย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ นิกกฺ โม ปรกฺกโม, อุยยฺ าโม วายาโม,
อุสสฺ าโห อุสโฺ สฬฺห,ี ถาโม ธิต,ิ อสิถลิ ปรกฺกมตา อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา อนิกขฺ ติ ตฺ -
ธุรตา ธุรสมฺปคฺคาโห, วิรยิ ํ วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ วิรยิ พลํ,
การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบัน่ ความตัง้ หน้า
ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมัน่
ความก้าวไปอย่างไม่ทอ้ ถอย ความไม่ทอดทิง้ ฉันทะ ความไม่ทอดทิง้ ธุระ
ความประคับประคองธุระ วิรยิ ะ อินทรียค์ อื วิรยิ ะ วิรยิ พละในสมัยนัน้ -
อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าวิรยิ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
[๕๗๒] กตมํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ?
[๕๗๒] สมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ยา ตสฺมึ สมเย จิตตฺ สฺส Ęิติ สณฺĘติ ิ อวฏฺĘติ ิ อวิสาหาโร อวิกเฺ ขโป
อวิสาหฏมานสตา, สมโถ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธิพลํ;
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ความดำรงอยูแ่ ห่งจิต ความมัน่ อยูแ่ ห่งจิต ความไม่สา่ ย-
ไปแห่งจิต ความไม่ฟงุ้ ซ่านแห่งจิต ภาวะทีจ่ ติ ไม่สา่ ยไป ความสงบ อินทรีย์
คือสมาธิ สมาธิพละในสมัยนัน้ อันใด;
อิทํ ตสฺมึ สมเย สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสมาธินทรียม์ ใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น
ธมฺมา;
347

ฯลฯ หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;


อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปญฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ
เอกา มโนวิญċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนวิญ-
ญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๕๗๓] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๕๗๓] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร ปีติ จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิญċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ.
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ .
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต
กิรยิ า มโนวิċċ
ฺ าณธาตุ โสมนสฺสสหต.
348

กิรยิ ามโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกิรยิ าสหรคตด้วยโสมนัสจบ.


ฺ าณธาตุ อุเปกฺขาสหต.
กิรยิ า มโนวิċċ
กิรยิ ามโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกิรยิ าสหรคตด้วยอุเบกขา.
[๕๗๔] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๗๔] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย มโนวิญċ ฺ าณธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น
จ กมฺมวิปากา อุเปกฺขาสหคตา รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณา วา,
มโนวิญญาณธาตุเป็นกิรยิ าไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบาก
สหรคตด้วยโสมนัสมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นอารมณ์;
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้ ในสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, เวทนา โหติ, สċฺċา โหติ, เจตนา โหติ, จิตตฺ ํ
โหติ; วิตกฺโก โหติ, วิจาโร โหติ, อุเปกฺขา โหติ, จิตตฺ สฺเสกคฺคตา โหติ;
วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, มนินทฺ รฺ ยิ ํ โหติ, อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ,
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ โหติ;
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์
สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวติ นิ ทรียม์ ใี นสมัยนัน้ ;
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ตสฺมึ โข ปน สมเย จตฺตาโร ขนฺธา โหนฺต,ิ ทฺวายตนานิ โหนฺต,ิ เทฺว ธาตุโย
โหนฺต,ิ ตโย อาหารา โหนฺต,ิ ปญฺจนิ ทฺ รฺ ยิ านิ โหนฺต,ิ เอโก ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ เอกา
มโนวิญċ ฺ าณธาตุ โหติ, เอกํ ธมฺมายตนํ โหติ, เอกา ธมฺมธาตุ โหติ;
ก็ขนั ธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓ อินทรีย์ ๕ ผัสสะ ๑ ฯลฯ มโนวิญ-
ญาณธาตุ ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนัน้ ;
349

เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา;


หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดมีอยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต ฯลฯ
[๕๗๕] กตโม ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ?
[๕๗๕] สังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ เป็นไฉน?
ผสฺโส เจตนา วิตกฺโก วิจาโร จิตตฺ สฺเสกคฺคตา, วิรยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา วิรยิ นิ ทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเċปิ อตฺถิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อรูปโิ น ธมฺมา
Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา สċฺċากฺขนฺธํ Ęเปตฺวา วิญċ ฺ าณกฺขนฺธ;ํ
หรือนามธรรมทีอ่ งิ อาศัยเกิดขึน้ แม้อน่ื ใดเว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์มอี ยูใ่ นสมัยนัน้ ;
อยํ ตสฺมึ สมเย สงฺขารกฺขนฺโธ โหติ,
นีช้ อ่ื ว่าสังขารขันธ์มใี นสมัยนัน้ ,
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
กิรยิ า มโนวิċċฺ าณธาตุ อุเปกฺขาสหคต.
กิรยิ ามโนวิญญาณธาตุทเ่ี ป็นกิรยิ าสหรคตด้วยอุเบกขา
อเหตุกา กิรยิ า อพฺยากตา.
อัพยากฤตทีเ่ ป็นอเหตุกกิรยิ าจบ.
กามาวจรกิรยิ าจิตทีเ่ ป็นสเหตุกะ.
[๕๗๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๗๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย มโนวิญċ
ฺ าณธาตุ อุปปฺ นฺนา โหติ กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น
จ กมฺมวิปากา โสมนสฺสสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า
350

มโนวิญญาณธาตุเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบาก


สหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ
ฯเปฯ โสมนสฺสสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า สสงฺขาเรน
ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
ฯเปฯ โสมนสฺสสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า
ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้
ฯเปฯ โสมนสฺสสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า สสงฺขาเรน
ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัสวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยญาณ ... เกิดขึน้
ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตา ċาณสมฺปยุตตฺ า สสงฺขาเรน
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูง
ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้
ฯเปฯ อุเปกฺขาสหคตา ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า สสงฺขาเรน รูปารมฺมณา วา ฯเปฯ
ธมฺมารมฺมณา วา,
ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขาวิปปยุตจากญาณ ... เกิดขึน้ โดยมีการชักจูงใน
สมัยใดมีรปู เป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นอารมณ์,
ยํ ยํ วา ปนารพฺภ;
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึน้
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
ฯเปฯ อโลโภ อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ อโทโส อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ อโมโห อพฺยากตมูลํ
ฯเปฯ
351

อัพยากตมูล คือ อโลภะ ฯลฯ อัพยากตมูล คือ อโทสะ ฯลฯ อัพยากตมูล


คือ อโมหะ ฯลฯ
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
สเหตุกา กามาวจรกิรยิ า.
กามาวจรกิรยิ าจิตทีเ่ ป็นสเหตุกะจบ.
รูปาวจรกิรยิ าจิต.
[๕๗๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๗๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปาวจรํ ฌานํ ภาเวติ กิรยิ ํ เนว กุสลํ นากุสลํ น จ กมฺมวิปากํ
ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหารํ วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ปĘวีกสิณ;ํ
พระขีณาสพ เจริญรูปาวจรฌานเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่
กรรมวิบาก แต่เป็นทิฏฐิธรรมสุขวิหาร สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม-
ทัง้ หลายแล้ว บรรลุปฐมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๗๘] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๘๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย รูปาวจรํ ฌานํ ภาเวติ กิรยิ ํ เนว กุสลํ นากุสลํ น จ กมฺมวิปากํ
ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหารํ, วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ ทุตยิ ํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ ฯเปฯ ปĘมํ ฌานํ ฯเปฯ ปċฺจมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ปĘวีกสิณ;ํ
พระขีณาสพเจริญรูปาวจรฌานเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่
352

กรรมวิบากบรรลุทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ


บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุปญ ั จมฌานทีม่ ปี ฐวีกสิณเป็นอารมณ์ ฯลฯ อยูใ่ น-
สมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา. ฯเปฯ
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
รูปาวจรกิรยิ าจิตจบ.

อรูปาวจรกิรยิ าจิต.
[๕๗๙] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๗๙] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปาวจรํ ฌานํ ภาเวติ กิรยิ ํ เนว กุสลํ นากุสลํ น จ กมฺมวิปากํ
ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหารํ สพฺพโส รูปสċฺċานํ สมติกกฺ มา ปฏิฆสċฺċานํ อตฺถงฺคมา
นานตฺตสċฺċานํ อมนสิการา อากาสานċฺจายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ
ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
พระขีณาสพเจริญอรูปาวจรฌานเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่-
ใช่กรรมวิบากแต่เป็นทิฏฐิธรรมสุขวิหาร เพราะก้าวล่วงรูปสัญญาโดยประ-
การทัง้ ปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะไม่มนสิการซึง่ นานัต-
ตสัญญาจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากาสามัญจายตนสัญญา
ไม่มที กุ ข์ ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากต.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๘๐] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
353

[๕๘๐] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปาวจรํ ฌานํ ภาเวติ กิรยิ ํ เนว กุสลํ นากุสลํ น จ กมฺมวิปากํ
ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหารํ สพฺพโส อากาสานċฺจายตนํ สมติกกฺ มฺม วิญċ ฺ าณċฺจายต
นสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
พระขีณาสพเจริญอรูปาวจรฌานเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่-
ใช่กรรมวิบากแต่เป็นทิฏฐิธรรมสุขวิหาร เพราะก้าวล่วงอากาสานัญจายตนะ
ได้โดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยวิญญาณัญจายตน-
สัญญา ไม่มที กุ ข์ ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๘๑] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๘๑] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปาวจรํ ฌานํ ภาเวติ กิรยิ ํ เนว กุสลํ นากุสลํ น จ กมฺมวิปากํ
ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหารํ สพฺพโส วิญċ ฺ าณċฺจายตนํ สมติกกฺ มฺม อากิċจฺ ċฺċายตน-
สċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ;
พระขีณาสพเจริญอรูปาวจรฌานเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่-
ใช่กรรมวิบากแต่เป็นทิฏฐิธรรมสุขวิหาร เพราะก้าวล่วงวิญญาณัญจายตนะ-
ได้โดยประการทัง้ ปวง จึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยอากิญจัญญายตน
สัญญา ไม่มที กุ ข์ ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์ได้อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๕๘๒] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
354

[๕๘๒] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
ยสฺมึ สมเย อรูปาวจรํ ฌานํ ภาเวติ กิรยิ ํ เนว กุสลํ นากุสลํ น จ กมฺมวิปากํ
ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหารํ สพฺพโส อากิċจฺ ċฺċายตนํ สมติกกฺ มฺม เนวสċฺċานาสċฺ-
ċายตนสċฺċาสหคตํ สุขสฺส จ ปหานา ฯเปฯ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ;
พระขีณาสพเจริญอรูปาวจรฌานเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่-
ใช่กรรมวิบากแต่เป็นทิฏฐิธรรมสุขวิหาร เพราะก้าวล่วงอากิญจัญญายตนะ-
ได้โดยประการทัง้ ปวงจึงบรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยเนวสัญญานาสัญ-
ญายตนสัญญา ไม่มที กุ ข์ ไม่มสี ขุ เพราะละสุข ละทุกข์ได้ อยูใ่ นสมัยใด;
ตสฺมึ สมเย ผสฺโส โหติ, ฯเปฯ อวิกเฺ ขโป โหติ;
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะมีในสมัยนัน้ ;
ฯเปฯ อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
อโลโภ อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ อโทโส อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ อโมโห อพฺยากตมูลํ ฯเปฯ
อัพยากตมูล คือ อโลภะ ฯลฯ อัพยากตมูล คือ อโทสะ ฯลฯ อัพยากตมูล
คือ อโมหะ ฯลฯ
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
อรูปาวจรกิรยิ าจิตจบ.
อัพยากตบทจบ.
จิตตุปปาทกัณฑ์จบ.
๒. รูปกัณฑ์.
อุทเทส.
[๕๘๓] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๕๘๓] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
กุสลากุสลานํ ธมฺมานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
355

เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;


วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจรเป็นอรูปา-
วจร เป็นโลกุตตระได้แก่เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ;์
เย จ ธมฺมา กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น จ กมฺมวิปากา; สพฺพํ จ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบาก
รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
เอกกมาติกา.
[๕๘๔] ตตฺถ กตมํ สพฺพํ รูป?ํ
[๕๘๔] บรรดาธรรมเป็นอัพยากฤตรูปทัง้ หมดเป็นไฉน?
จตฺตาโร จ มหาภูตา จตุนนฺ ํ จ มหาภูตานํ อุปาทาย รูป;ํ
มหาภูตรูป ๔ และรูปทีอ่ าศัยมหาภูตรูป ๔ นัน้ ;
อิทํ วุจจฺ ติ สพฺพํ รูป.ํ
นีเ้ รียกว่ารูปทัง้ หมด.
สพฺพํ รูปํ นเหตุ อเหตุกํ เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ ํ สปฺปจฺจยํ สงฺขตํ รูปํ โลกิยํ สาสวํ
สċฺโċชนิยํ คนฺถนิยํ โอฆนิยํ โยคนิยํ นีวรณิยํ ปรามฏฺĘํ อุปาทานิย,ํ
รูปทัง้ หมดไม่ใช่เหตุ ไม่มเี หตุ วิปปยุตจากเหตุ เป็นไปกับด้วยปัจจัย เป็น-
สังขตธรรม เป็นรูปธรรม เป็นโลกิยะธรรม เป็นอารมณ์ของอาสวะ
เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์ เป็นอารมณ์ของคันถะ เป็นอารมณ์ของโอฆะ
เป็นอารมณ์ของโยคะ เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ เป็นอารมณ์ของปรามาส
เป็นอารมณ์ของอุปาทาน,
สงฺกเิ ลสิกํ อพฺยากตํ อนารมฺมณํ อเจตสิกํ จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ ํ เนววิปากนวิปากธมฺม-
ธมฺมํ อสงฺกลิ ฏิ Ęฺ สงฺกเิ ลสิก,ํ
เป็นอารมณ์ของสังกิเลส เป็นอัพยากตธรรม ไม่มอี ารมณ์ ไม่ใช่เจตสิก
356

วิปปยุตจากจิต ไม่ใช่วบิ าก และไม่ใช่ธรรมเป็นเหตุแห่งวิบาก ไม่เศร้าหมอง


แต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส,
นสวิตกฺกสวิจารํ นอวิตกฺกวิจารมตฺตํ อวิตกฺกอวิจารํ นปีตสิ หคตํ นสุขสหคตํ
นอุเปกฺขาสหคตํ เนวทสฺสเนนนภาวนายปหาตพฺพ,ํ
ไม่ใช่ธรรมมีทง้ั วิตกทัง้ วิจาร ไม่ใช่ธรรมไม่มวี ติ กแต่มวี จิ าร ไม่มที ง้ั วิตก-
วิจาร ไม่ใช่ธรรมทีส่ หรคตด้วยปีติ ไม่ใช่ธรรมทีส่ หรคตด้วยสุข ไม่ใช่-
ธรรมทีส่ หรคตด้วยอุเบกขา อันโสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งบน ๓ ไม่-
ประหาณ,
เนวทสฺสเนนนภาวนายปหาตพฺพเหตุกํ เนว อาจยคามินอปจยคามิ เนวเสกฺขนา-
เสกฺข,ํ
ไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งบน ๓ ประหาณ
ไม่เป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิ และไม่เป็นเหตุให้ถงึ นิพพาน ไม่เป็นของเสกข-
บุคคล และไม่เป็นของอเสกขบุคคล,
ปริตตฺ ํ กามาวจรํ นรูปาวจรํ นอรูปาวจรํ ปริยาปนฺนํ โนอปริยาปนฺนํ อนิยตํ
อนิยยฺ านิกํ อุปปฺ นฺนํ ฉหิ วิญ ฺ าเณหิ วิญเฺ ยฺยํ อนิจจฺ ํ ชราภิภตู .ํ
เป็นปริตตธรรม เป็นกามาวจรธรรม ไม่ใช่รปู าวจรธรรม ไม่ใช่อรูปาวจร-
ธรรม เป็นปริยาปันนธรรม ไม่ใช่อปริยาปันนธรรม เป็นอนิยตธรรม
เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจุปนั นธรรมอันวิญญาณ ๖ พึงรู้ ไม่เทีย่ ง
อันชราครอบงำแล้ว.
เอวํ เอกวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๑ อย่างนี.้
เอกกมาติกาจบ.
ทุกมาติกา.
ทุวเิ ธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๒ คือ.
ปกิณณกทุกะ.
357

อตฺถิ รูปอํ ปุ าทา, อตฺถิ รูปํ โน อุปาทา.


รูปเป็นอุปาทายรูปก็มี รูปเป็นอนุปาทาก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ อุปาทินนฺ ,ํ อตฺถิ รูปํ อนุปาทินนฺ .ํ
รูปเป็นอุปาทินนะก็มี รูปเป็นอนุปาทินนะก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ อตฺถิ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะก็มี รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ สนิทสฺสนํ, อตฺถิ รูปํ อนิทสฺสนํ.
รูปเป็นสนิทสั สนะก็มี รูปเป็นอนิทสั สนะก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ สปฺปฏิฆ,ํ อตฺถิ รูปํ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปเป็นสัปปฏิฆะก็มี รูปเป็นอัปปฏิฆะก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ,ํ อตฺถิ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปเป็นอินทรียก์ ม็ ี รูปไม่เป็นอินทรียก์ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ มหาภูต,ํ อตฺถิ รูปํ น มหาภูต.ํ
รูปเป็นมหาภูตก็มี รูปไม่เป็นมหาภูตก็มี
อตฺถิ รูปํ วิċċ ฺ ตฺต,ิ อตฺถิ รูปํ รูปํ น วิċċ ฺ ตฺต.ิ
รูปเป็นวิญญัตกิ ม็ ี รูปไม่เป็นวิญญัตกิ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ, อตฺถิ รูปํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
รูปเป็นจิตตสมุฏฐานก็มี รูปไม่เป็นจิตตสมุฏฐานก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ จิตตฺ สหภุ, อตฺถิ รูปํ น จิตตฺ สหภุ.
รูปเป็นจิตตสหภูกม็ ี รูปไม่เป็นจิตตสหภูกม็ .ี
อตฺถิ รูปํ จิตตฺ านุปริวตฺต,ิ อตฺถิ รูปํ น จิตตฺ านุปริวตฺต.ิ
รูปเป็นจิตตานุปริวตั กิ ม็ ี รูปไม่เป็นจิตตานุปริวตั กิ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ อตฺถิ รูปํ พาหิร.ํ
รูปเป็นภายในก็มี รูปเป็นภายนอกก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ โอฬาริก,ํ อตฺถิ รูปํ สุขมุ .ํ
รูปหยาบก็มี รูปละเอียดก็ม.ี
358

อตฺถิ รูปํ ทูเร, อตฺถิ รูปํ สนฺตเิ ก.


รูปไกลก็มี รูปใกล้กม็ .ี
ปกิณณกทุกะจบ.
วัตถุทกุ ะ.
อตฺถิ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส วตฺถ,ุ อตฺถิ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ;ุ อตฺถิ รูปํ
จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย ฯเปฯ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส
วตฺถ,ุ
รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสก็มี รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสก็มี
รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ
ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณก็ม,ี
อตฺถิ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญิ ญาณก็มี
อตฺถิ รูปํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ชิวหฺ าสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ
กายสมฺผสฺสสฺส วตฺถ,ุ อตฺถิ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ;ุ อตฺถิ รูปํ กายสมฺผสฺ-
สชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส วตฺถ,ุ
รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ ของชิวหาสัม-
ผัส ฯลฯ ของกายสัมผัสก็มี รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัสก็มี รูปเป็น-
ทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ ของเจตนา
ฯลฯ ของกายวิญญาณก็ม,ี
อตฺถิ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณก็ม.ี
วัตถุทกุ ะจบ.
อารัมมณทุกะ.
อตฺถิ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ, อตฺถิ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ;
อตฺถิ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ ļċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย ฯเปฯ
จกฺขวุ ญ
ิ ċ
ฺ าณสฺส อารมฺมณํ,
359

รูปเป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสก็มี รูปไม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสก็มี


รูปเป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ
ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณก็ม,ี
อตฺถิ รูปํ จกฺขวุ ญ
ิ ċ
ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปไม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ชิวหฺ าสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ
กายสมฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ, อตฺถิ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ;
รูปเป็นอารมณ์ของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ ของชิวหาสัมผัส
ฯลฯ ของกายสัมผัสก็มี รูปไม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัสก็ม;ี
อตฺถิ รูปํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย ฯเปฯ
กายวิญċฺ าณสฺส อารมฺมณํ,
รูปเป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ ของ-
เจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณก็ม,ี
อตฺถิ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปไม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณก็ม.ี
อารัมมณทุกะจบ.
อายตนทุกะ.
อตฺถิ รูปํ จกฺขายตนํ, อตฺถิ รูปํ น จกฺขายตนํ; อตฺถิ รูปํ โสตายตนํ, อตฺถิ รูปํ
น โสตายตนํ; อตฺถิ รูปํ ฆานายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ, อตฺถิ รูปํ
น กายายตนํ.
รูปเป็นจักขายตนะก็มี รูปไม่เป็นจักขายตนะก็มี รูปเป็นโสตายตนะก็มี
รูปไม่เป็นโสตายตนะก็มี รูปเป็นฆานายตนะ ฯลฯ เป็นชิวหายตนะ ฯลฯ
เป็นกายายตนะก็มี รูปไม่เป็นกายายตนะก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ รูปายตนํ, อตฺถิ รูปํ นรูปายตนํ; อตฺถิ รูปํ สทฺทายตนํ ฯเปฯ
คนฺธายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ, อตฺถิ รูปํ น โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปเป็นรูปายตนะก็มี รูปไม่เป็นรูปายตนะก็มี รูปเป็นสัททายตนะ ฯลฯ เป็น-
360

คันธายตนะ ฯลฯ เป็นรสายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะก็มี รูปไม่เป็น-


โผฏฐัพพายตนะก็ม.ี
อายตนทุกะจบ.
ธาตุทกุ ะ.
อตฺถิ รูปํ จกฺขธุ าตุ, อตฺถิ รูปํ น จกฺขธุ าตุ; อตฺถิ รูปํ โสตธาตุ ฯเปฯ ฆานธาตุ
ฯเปฯ ชิวหฺ าธาตุ ฯเปฯ กายธาตุ, อตฺถิ รูปํ น กายธาตุ.
รูปเป็นจักขุธาตุกม็ ี รูปไม่เป็นจักขุธาตุกม็ ี รูปเป็นโสตธาตุ ฯลฯ เป็นฆาน-
ธาตุ ฯลฯ เป็นชิวหาธาตุ ฯลฯ เป็นกายธาตุกม็ ี รูปไม่เป็นกายธาตุกม็ .ี
อตฺถิ รูปํ รูปธาตุ, อตฺถิ รูปํ น รูปธาตุ; อตฺถิ รูปํ สทฺทธาตุ ฯเปฯ คนฺธธาตุ
ฯเปฯ รสธาตุ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพธาตุ, อตฺถิ รูปํ น โผฏฺĘพฺพธาตุ.
รูปเป็นรูปธาตุกม็ ี รูปไม่เป็นรูปธาตุกม็ ี รูปเป็นสัททธาตุ ฯลฯ เป็นคันธธาตุ
ฯลฯ เป็นรสธาตุ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพธาตุกม็ ี รูปไม่เป็นโผฏฐัพพธาตุกม็ .ี
ธาตุทกุ ะจบ.
อินทริยทุกะ.
อตฺถิ รูปํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ,ํ อตฺถิ รูปํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ;ํ อตฺถิ รูปํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ
ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ อตฺถิ รูปํ น กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปเป็นจักขุนทรียก์ ม็ ี รูปไม่เป็นจักขุนทรียก์ ม็ ี รูปเป็นโสตินทรีย์ ฯลฯ เป็น-
ฆานินทรีย์ ฯลฯ เป็นชิวหินทรีย์ ฯลฯ เป็นกายินทรียก์ ม็ ี รูปไม่เป็นกายิน-
ทรียก์ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ อตฺถิ รูปํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปเป็นอิตถินทรียก์ ม็ ี รูปไม่เป็นอิตถินทรียก์ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ อตฺถิ รูปํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปเป็นปุรสิ นิ ทรียก์ ม็ ี รูปไม่เป็นปุรสิ นิ ทรียก์ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ อตฺถิ รูปํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปเป็นชีวติ นิ ทรียก์ ม็ ี รูปไม่เป็นชีวติ นิ ทรียก์ ม็ .ี
อินทริยทุกะ.
361

สุขมุ รูปทุกะ.
อตฺถิ รูปํ กายวิญċ ฺ ตฺต,ิ อตฺถิ รูปํ น กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปเป็นกายวิญญัตกิ ม็ ี รูปไม่เป็นกายวิญญัตกิ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ วจีวญ
ิ ċฺ ตฺต,ิ อตฺถิ รูปํ น วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต.ิ
รูปเป็นวจีวญิ ญัตกิ ม็ ี รูปไม่เป็นวจีวญ
ิ ญัตกิ ม็ .ี
อตฺถิ รูปํ อากาสธาตุ, อตฺถิ รูปํ น อากาสธาตุ.
รูปเป็นอากาสธาตุกม็ ี รูปไม่เป็นอากาสธาตุกม็ .ี
อตฺถิ รูปํ อาโปธาตุ, อตฺถิ รูปํ น อาโปธาตุ.
รูปเป็นอาโปธาตุกม็ ี รูปเป็นไม่เป็นอาโปธาตุกม็ .ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส ลหุตา, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น ลหุตา.
รูปเป็นรูปลหุตาก็มี รูปไม่เป็นรูปลหุตาก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส มุทตุ า, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น มุทตุ า.
รูปเป็นรูปมุทตุ าก็มี รูปไม่เป็นรูปมุทตุ าก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา.
รูปเป็นรูปกัมมัญญตาก็มี รูปไม่เป็นรูปกัมมัญญตาก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส อุปจโย, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น อุปจโย.
รูปเป็นรูปอุปจยะก็มี รูปไม่เป็นรูปอุปจยะก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส สนฺตติ, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น สนฺตติ.
รูปเป็นรูปสันตติกม็ ี รูปไม่เป็นรูปสันตติกม็ .ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส ชรตา, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น ชรตา.
รูปเป็นรูปชรตาก็มี รูปไม่เป็นรูปชรตาก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา, อตฺถิ รูปํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา.
รูปเป็นรูปอนิจจตาก็มี รูปไม่เป็นรูปอนิจจตาก็ม.ี
อตฺถิ รูปํ กพฬึกาโร อาหาโร, อตฺถิ รูปํ น กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปเป็นรูปกพฬิงการาหารก็มี รูปไม่เป็นกพฬิงการาหารก็ม.ี
สุขมุ รูปทุกะจบ.
362

เอวํ ทุวเิ ธน รูปสงฺคโห.


สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๒ อย่างนี.้
ทุกมาติกาจบ.
ติกมาติกา.
ติวเิ ธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๓ คือ:
ปกิณณกติกะ.
อัชฌัตติกอุปาทาติกะ.
[๕๘๕] ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อุปาทา; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อุปาทา;
อตฺถิ โน อุปาทา.
[๕๘๕] รูปภายในเป็นอุปาทาก็มี รูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทาก็มี ทีเ่ ป็นอนุปาทาก็ม.ี
อัชฌัตติกอุปาทินนติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อุปาทินนฺ ;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อุปาทินนฺ .ํ
อตฺถิ อนุปาทินนฺ .ํ
รูปภายในเป็นอุปาทินนะ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทินนะก็มี ทีเ่ ป็นอนุปาทิน-
นะก็ม.ี
อัชฌัตติกอุปาทินนุปาทานิยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อุปาทิน-ฺ
นุปาทานิย;ํ อตฺถิ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปภายในเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะก็มี
ทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะก็ม.ี
อัชฌัตติกอนิทสั สนติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อนิทสฺสนํ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ สนิทสฺสนํ;
อตฺถิ อนิทสฺสนํ.
รูปภายในเป็นอนิทสั สนะ รูปภายนอกทีเ่ ป็นสนิทสั สนะก็มี ทีเ่ ป็นอนิทสั -
สนะก็ม.ี
363

อัชฌัตติกสัปปฏิฆติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ สปฺปฏิฆ;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ
อปฺปฏิฆ.ํ
รูปภายในเป็นสัปปฏิฆะ รูปภายนอกทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็ม.ี
อัชฌัตติกอินทริยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อินทฺ รฺ ยิ ;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อินทฺ รฺ ยิ ;ํ อตฺถิ
น อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปภายในเป็นอินทรีย์ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอินทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นอินทรียก์ ม็ .ี
อัชฌัตติกมหาภูตติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น มหาภูต;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ
น มหาภูต.ํ
รูปภายในไม่เป็นมหาภูต รูปภายนอกทีเ่ ป็นมหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็ม.ี
อัชฌัตติกนวิญญัตติตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น วิċċ
ฺ ตฺต;ิ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ วิญċ ฺ ตฺต;ิ
อตฺถิ น วิċċ ฺ ตฺต.ิ
รูปภายในไม่เป็นวิญญัติ รูปภายนอกทีเ่ ป็นวิญญัตกิ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นวิญญัตกิ ม็ .ี
อัชฌัตติกนจิตตสมุฏฐานติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ: ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ
จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ; อตฺถิ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
รูปภายในไม่เป็นจิตตสมุฏฐานก็มี รูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสมุฏฐานก็มี ทีไ่ ม่-
เป็นจิตตสมุฏฐานก็ม.ี
อัชฌัตติกนจิตตสหภูตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น จิตตฺ สหภุ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ จิตตฺ สหภุ;
อตฺถิ น จิตตฺ สหภุ.
รูปภายในไม่เป็นจิตตสหภูกม็ ี รูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสหภูกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นจิต-
ตสหภูกม็ .ี
364

อัชฌัตติกนจิตตานุปริวตั ติตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น จิตตฺ านุปริวตฺต;ิ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ จิตตฺ านุ-
ปริวตฺต;ิ อตฺถิ น จิตตฺ านุปริวตฺต.ิ
รูปภายในไม่เป็นจิตตานุปริวตั กิ ม็ ี รูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตานุปริวตั กิ ม็ ี ทีไ่ ม่-
เป็นจิตตานุปริวตั กิ ม็ .ี
อัชฌัตติกโอฬาริกติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ โอฬาริก;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ
สุขมุ .ํ
รูปภายในหยาบก็มี รูปภายนอกทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็ม.ี
อัชฌัตติกสันติเกติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ สนฺตเิ ก; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก.
รูปภายในอยูใ่ กล้กม็ ี รูปภายนอกทีอ่ ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ .ี
ปกิณณกติกะจบ.
วัตถุตกิ ะ.
พาหิรจักขุสมั ผัสสนวัตถุตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ;ุ ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ
จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส วตฺถ;ุ อตฺถิ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสก็มี รูปภายในเป็นทีอ่ าศัยเกิด-
ของจักขุสมั ผัสก็มี ไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสก็ม.ี
พาหิรจักขุสมั ผัสสชาเวทนายนวัตถุตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํอตฺถิ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ
เจตนาย ฯเปฯ จกฺขวุ ญิ ċฺ าณสฺส น วตฺถ;ุ ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ
จกฺขวุ ญ
ิ ċ
ฺ าณสฺส วตฺถ;ุ อตฺถิ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญ-
ญา ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณ รูปภายในเป็นทีอ่ าศัยเกิดของ-
จักขุวญ
ิ ญาณก็มี ไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ
ิ ญาณก็ม.ี
365

พาหิรโสตสัมผัสสนวัตถุตกิ าทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ชิวหฺ าสมฺผสฺ-
สสฺส ฯเปฯ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ
ของชิวหาสัมผัส ฯลฯ ของกายสัมผัสก็ม.ี
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ กายสมฺผสฺสสฺส วตฺถ;ุ
รูปภายในเป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัสก็ม;ี
อตฺถิ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
ไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัสก็ม;ี
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ;ุ
รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญ-
ญา ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณก็ม;ี
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ กายวิญċ
ฺ าณสฺส วตฺถ;ุ อตฺถกิ ายวิญċ ฺ าณสฺส น
วตฺถ.ุ
รูปภายในเป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณก็มี ไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญ-
ญาณก็ม.ี
วัตถุตกิ ะจบ.
อารัมมณติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ;
รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสก็ม;ี
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ;
รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสก็ม;ี
อตฺถิ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
ทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสก็ม.ี
อัชฌัตติกจักขุสมั ผัสสชาเวทนายนารัมมณติกาทิตกิ ะ.
366

ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น อารมฺมณํ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ จกฺขวุ ญ
ิ ċ
ฺ า-
ณสฺส อารมฺมณํ;
รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญญา
ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของจักขุ-
วิญญาณก็ม;ี
อตฺถิ จกฺขวุ ญิ ċฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
ทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณก็ม.ี
อัชฌัตติกโสตสัมผัสสัสสนารัมมณติกาทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ชิวหฺ าสมฺ-
ผสฺสสฺส ฯเปฯ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ;
รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ ของชิว-
หาสัมผัส ฯลฯ ของกายสัมผัสก็ม;ี
อัชฌัตติกกายสัมผัสสชาเวทนายนารัมมณติกาทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ กายสมฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ;
รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของกายสัมผัสก็ม;ี
อตฺถิ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
ทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัสก็ม.ี
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ;
รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญญา
ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณก็ม;ี
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ กายวิญċ ฺ าณสฺส อารมฺมณํ;
รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของกายวิญญาณก็ม;ี
อตฺถิ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
ทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณก็ม.ี
367

อารัมมณติกจบ.
อายตนติกะ.
พาหิรนจักขายตนติกะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ น จกฺขายตนํ;
รูปภายนอกไม่เป็นจักขายตนะก็ม;ี
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ จกฺขายตนํ; อตฺถิ น จกฺขายตนํ.
รูปภายในทีเ่ ป็นจักขายตนะก็มี ทีไ่ ม่เป็นจักขายตนะก็ม.ี
พาหิรนโสตายตนาทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ น โสตายตนํ ฯเปฯ น ฆานายตนํ ฯเปฯ น ชิวหฺ ายตนํ
ฯเปฯ น กายายตนํ; ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ กายายตนํ; อตฺถิ น
กายายตนํ.
รูปภายนอกไม่เป็นโสตายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นฆานายตนะ ฯลฯไม่เป็นชิวหาย-
ตนะ ฯลฯ ไม่เป็นกายายตนะก็มี รูปภายในทีเ่ ป็นกายายตนะก็มี ทีไ่ ม่เป็น-
กายายตนะก็ม.ี
อัชฌัตติกนรูปายตนติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น รูปายตนํ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปายตนํ;
อตฺถิ น รูปายตนํ.
รูปภายในไม่เป็นรูปายตนะก็มี รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปายตนะก็มี ทีไ่ ม่เป็น-
รูปายตนะก็ม.ี
อัชฌัตติกนสัททายตนติกาทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น สทฺทายตนํ ฯเปฯ น คนฺธายตนํ ฯเปฯ น รสายตนํ
ฯเปฯ น โผฏฺĘพฺพายตนํ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ โผฏฺĘพฺพายตนํ; อตฺถิ น
โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปภายในไม่เป็นสัททายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นคันธายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นรสาย-
ตนะ ฯลฯ ไม่เป็นโผฏฐัพพายตนะ รูปภายนอกทีเ่ ป็นโผฏฐัพพายตนะก็มี
368

ทีไ่ ม่เป็นโผฏฐัพพายตนะก็ม.ี
อายตนติกจบ.
ธาตุตกิ ะ.
พาหิรนจักขุธาตุตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ น จกฺขธุ าตุ; ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ จกฺขธุ าตุ;
อตฺถิ น จกฺขธุ าตุ.
รูปภายนอกไม่เป็นจักขุธาตุกม็ ี รูปภายในทีเ่ ป็นจักขุธาตุกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นจักขุ-
ธาตุกม็ .ี
พาหิรนโสตธาตุตกิ าทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ น โสตธาตุ ฯเปฯ น ฆานธาตุ ฯเปฯ น ชิวหฺ าธาตุ ฯเปฯ น
กายธาตุ; ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ กายธาตุ; อตฺถิ น กายธาตุ.
รูปภายนอกไม่เป็นโสตธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นฆานธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นชิวหาธาตุ
ฯลฯ ไม่เป็นกายธาตุ รูปภายในทีเ่ ป็นกายธาตุกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นกายธาตุกม็ .ี
อัชฌัตติกนรูปธาตุตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น รูปธาตุ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปธาตุ; อตฺถิ
น รูปธาตุ.
รูปภายในไม่เป็นรูปธาตุกม็ ี รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปธาตุกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นรูปธาตุ-
ก็ม.ี
อัชฌัตติกนสัททธาตุตกิ าทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น สทฺทธาตุ ฯเปฯ น คนฺธธาตุ ฯเปฯ น รสธาตุ ฯเปฯ น
โผฏฺĘพฺพธาตุ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ โผฏฺĘพฺพธาตุ; อตฺถิ น โผฏฺĘพฺพธาตุ.
รูปภายในไม่เป็นสัททธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นคันธธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นรสธาตุ ฯลฯ
ไม่เป็นโผฏฐัพพธาตุ รูปภายนอกทีเ่ ป็นโผฏฐัพพธาตุกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นโผฏฐัพ-
พธาตุกม็ .ี
ธาตุตกิ จบ.
อินทริยติกะ.
369

พาหิรนจักขุนทริยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ;ํ ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อตฺถิ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปภายนอกไม่เป็นจักขุนทรีย์ รูปภายในทีเ่ ป็นจักขุนทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นจักขุน
ทรียก์ ม็ .ี
พาหิรโสตินทริยติกาทิตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ น โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ น ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ น ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ
น กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ อตฺถิ กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ อตฺถิ น กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปภายนอกไม่เป็นโสตินทรีย์ ฯลฯ ไม่เป็นฆานินทรีย์ ฯลฯ ไม่เป็นชิวหิน-
ทรีย์ ฯลฯ ไม่เป็นกายินทรีย์ รูปภายในทีเ่ ป็นกายินทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นกายิน-
ทรียก์ ม็ ี
อัชฌัตติกนอิตถินทริยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อตฺถิ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปภายในไม่เป็นอิตถินทรีย์ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอิตถินทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นอิต-
ถินทรียก์ ม็ .ี
อัชฌัตติกนปุรสิ นิ ทริยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อตฺถิ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปภายในไม่เป็นปุรสิ นิ ทรีย์ รูปภายนอกทีเ่ ป็นปุรสิ นิ ทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นปุร-ิ
สินทรียก์ ม็ .ี
อัชฌัตติกนชีวติ นิ ทริยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อตฺถิ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปภายในไม่เป็นชีวติ นิ ทรีย์ รูปภายนอกทีเ่ ป็นชีวติ นิ ทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็น-
ชีวติ นิ ทรียก์ ม็ .ี
370

อินทริยติกจบ.
สุขมุ รูปติกะ.
อัชฌัตติกนกายวิญญัตติตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น กายวิญċฺ ตฺต;ิ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ
กายวิญċฺ ตฺต;ิ อตฺถิ น กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปภายในไม่เป็นกายวิญญัติ รูปภายนอกทีเ่ ป็นกายวิญญัตกิ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นกาย-
วิญญัตกิ ม็ .ี
อัชฌัตติกนวจีวญ
ิ ญัตติตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น วจีวญิ ċ ฺ ตฺต;ิ ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ
วจีวญ ฺ ตฺต;ิ อตฺถิ น วจีวญ
ิ ċ ิ ċฺ ตฺต.ิ
รูปภายในไม่เป็นวจีวญ ิ ญัติ รูปภายนอกทีเ่ ป็นวจีวญิ ญัตกิ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นวจีวญ
ิ -
ญัตกิ ม็ .ี
อัชฌัตติกนอากาสธาตุตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น อากาสธาตุ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อากาสธาตุ;
อตฺถิ น อากาสธาตุ.
รูปภายในไม่เป็นอากาสธาตุ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอากาสธาตุกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นอา-
กาสธาตุกม็ .ี
อัชฌัตติกนอาโปธาตุตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น อาโปธาตุ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ อาโปธาตุ;
อตฺถิ น อาโปธาตุ.
รูปภายในไม่เป็นอาโปธาตุ รูปภายนอกทีเ่ ป็นอาโปธาตุกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นอาโป-
ธาตุกม็ .ี
อัชฌัตติกนรูปสั สลหุตาติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น ลหุตา; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปสฺส
ลหุตา; อตฺถิ รูปสฺส น ลหุตา.
รูปภายในไม่เป็นรูปลหุตา รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปลหุตาก็มี ทีไ่ ม่เป็นรูป
371

ลหุตาก็ม.ี
อัชฌัตติกนรูปสั สมุทตุ าติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น มุทตุ า; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปสฺส
มุทตุ า; อตฺถิ รูปสฺส น มุทตุ า.
รูปภายในไม่เป็นรูปมุทตุ า รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปมุทตุ าก็มี ทีไ่ ม่เป็นรูปมุท-ุ
ตาก็ม.ี
อัชฌัตติกนรูปสั สกัมมัญญตาติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ
รูปสฺส กมฺมċฺċตา; อตฺถิ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา.
รูปภายในไม่เป็นรูปกัมมัญญตา รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปกัมมัญญตาก็มี ทีไ่ ม่-
เป็นรูปกัมมัญญตาก็ม.ี
อัชฌัตติกนรูปสั สอุปจยติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น อุปจโย; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปสฺส
อุปจโย; อตฺถิ รูปสฺส น อุปจโย.
รูปภายในไม่เป็นรูปอุปจยะ รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปอุปจยะก็มี ทีไ่ ม่เป็นรูป-
อุปจยะก็ม.ี
อัชฌัตติกนรูปสั สสันตติตกิ ะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น สนฺตติ; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปสฺส
สนฺตติ; อตฺถิ รูปสฺส น สนฺตติ.
รูปภายในไม่เป็นรูปสันตติ รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปสันตติกม็ ี ทีไ่ ม่เป็นรูป-
สันตติกม็ .ี
อัชฌัตติกนรูปสั สชรตาติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น ชรตา; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปสฺส
ชรตา; อตฺถิ รูปสฺส น ชรตา.
รูปภายในไม่เป็นรูปชรตา รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปชรตาก็มี ทีไ่ ม่เป็นรูปชรตา-
ก็ม.ี
372

อัชฌัตติกนรูปสั สอนิจจตาติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ รูปสฺส
อนิจจฺ ตา; อตฺถิ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา.
รูปภายในไม่เป็นรูปอนิจจตา รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปอนิจจตาก็มี ทีไ่ ม่เป็น-
รูปอนิจจตาก็ม.ี
อัชฌัตติกนกวฬิงการาหารติกะ.
ยนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ,ํ ตํ น กพฬึกาโร อาหาโร; ยนฺตํ รูปํ พาหิร,ํ ตํ อตฺถิ
กพฬึกาโร อาหาโร; อตฺถิ น กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปภายในไม่เป็นกพฬิงการาหาร รูปภายนอกทีเ่ ป็นกพฬิงการาหารก็มี
ทีไ่ ม่เป็นกพฬิงการาหารก็ม.ี
สุขมุ รูปติกจบ.
เอวํ ติวเิ ธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๓ อย่างนี.้
ติกมาติกาจบ.
จตุกกมาติกา.
จตุพพฺ เิ ธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๔ คือ.
อุปาทาอุปาทินนจตุกกะ.
[๕๘๖] ยนฺตํ รูปํ อุปาทา, ตํ อตฺถิ อุปาทินนฺ ;ํ อตฺถิ อนุปาทินนฺ .ํ ยนฺตํ รูปํ
โน ปาทา, ตํ อตฺถิ อุปาทินนฺ ;ํ อตฺถิ อนุปาทินนฺ .ํ
[๕๘๖] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนะก็มี ทีเ่ ป็นอนุปาทินนะก็มี รูปเป็นอนุปาทา-
ทีเ่ ป็นอุปาทินนะก็มี ทีเ่ ป็นอนุปาทินนะก็ม.ี
อุปาทาอุปาทินนุปาทานิยจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทา, ตํ อตฺถิ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย;ํ อตฺถิ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
ยนฺตํ รูปํ โน ปาทา, ตํ อตฺถิ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย;ํ อตฺถิ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะก็มี ทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะก็มี
373

รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะก็มี ทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ-


ก็ม.ี
อุปาทาสัปปฏิฆจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทา, ตํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ ยนฺตํ รูปํ โน ปาทา, ตํ
อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็มี รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็น-
สัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็ม.ี
อุปาทาโอฬาริกจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทา, ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ ;ํ ยนฺตํ รูปํ โน ปาทา, ตํ
อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ
รูปเป็นอุปาทาทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็มี รูปเป็นอนุปาทาทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะ-
เอียดก็ม.ี
อุปาทาทูเรจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทา, ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก. ยนฺตํ รูปํ อนุปาทา, ตํ อตฺถิ
ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก.
รูปเป็นอุปาทาทีอ่ ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ ี รูปเป็นอนุปาทาทีอ่ ยูไ่ กลก็มี
ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ .ี
อุปาทินนสนิทสั สนจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ,ํ ตํ อตฺถิ สนิทสฺสนํ; อตฺถิ อนิทสฺสนํ. ยนฺตํ รูปํ อนุปา-
ทินนฺ ,ํ ตํ อตฺถิ สนิทสฺสนํ; อตฺถิ อนิทสฺสนํ.
รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะก็มี ทีเ่ ป็นอนิทสั สนะก็มี รูปเป็นอนุปา-
ทินนะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะก็มี ทีเ่ ป็นอนิทสั สนะก็ม.ี
อุปาทินนสัปปฏิฆจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ,ํ ตํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ ยนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ,ํ
ตํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็มี รูปเป็นอนุปาทิน-
374

นะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็ม.ี


อุปาทินนมหาภูตจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ,ํ ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ น มหาภูต.ํ ยนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ,ํ
ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ น มหาภูต.ํ
รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นมหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็มี รูปเป็นอนุปาทินนะ
ทีเ่ ป็นมหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็ม.ี
อุปาทินนโอฬาริกจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ,ํ ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ ยนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ,ํ ตํ
อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ
รูปเป็นอุปาทินนะทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็มี รูปเป็นอนุปาทินนะทีห่ ยาบก็มี
ทีล่ ะเอียดก็ม.ี
อุปาทินนทูเรจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ,ํ ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก. ยนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ,ํ ตํ
อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก.
รูปเป็นอุปาทินนะทีอ่ ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ ี รูปเป็นอนุปาทินนะทีอ่ ยูไ่ กลก็มี
ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ .ี
อุปาทินนุปาทานิยสนิทสั สนจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ สนิทสฺสนํ; อตฺถิ อนิทสฺสนํ. ยนฺตํ รูปํ
อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ สนิทสฺสนํ; อตฺถิ อนิทสฺสนํ.
รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะก็มี ทีเ่ ป็นอนิทสั สนะก็มี
รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะก็มี ทีเ่ ป็นอนิทสั สนะก็ม.ี
อุปาทินนุปาทานิยสัปฏิฆจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ ยนฺตํ รูปํ
อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ;ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็มี รูปเป็น-
อนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะก็มี ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะก็ม.ี
375

อุปาทินนุปาทานิยมหาภูตจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ น มหาภูต.ํ ยนฺตํ รูปํ
อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ น มหาภูต.ํ
รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นมหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็มี รูปเป็น-
อนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นมหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็ม.ี
อุปาทินนุปาทานิยโอฬาริกจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ ยนฺตํ รูปํ
อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ
รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็มี รูปเป็นอนุปาทินนุปา-
ทานิยะทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็ม.ี
อุปาทินนุปาทานิยทูเรจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก. ยนฺตํ รูปํ
อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย,ํ ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก.
รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ ี รูปเป็นอนุปาทินนุปา-
ทานิยะทีอ่ ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ .ี
สัปปฏิฆอินทริยจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆ,ํ ตํ อตฺถิ อินทฺ รฺ ยิ ;ํ อตฺถิ น อินทฺ รฺ ยิ .ํ ยนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆ,ํ
ตํ อตฺถิ อินทฺ รฺ ยิ ;ํ อตฺถิ น อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปกระทบได้ทเ่ี ป็นอินทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นอินทรียก์ ม็ ี รูปกระทบไม่ได้ ทีเ่ ป็น-
อินทรียก์ ม็ ี ทีไ่ ม่เป็นอินทรียก์ ม็ .ี
สัปปฏิฆมหาภูตอินทริยจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆ,ํ ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ น มหาภูต.ํ ยนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆ,ํ
ตํ อตฺถิ มหาภูต;ํ อตฺถิ น มหาภูต.ํ
รูปกระทบได้ทเ่ี ป็นมหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็มี รูปกระทบไม่ได้ ทีเ่ ป็น-
มหาภูตก็มี ทีไ่ ม่เป็นมหาภูตก็ม.ี
อินทริยโอฬาริกจตุกกะ.
376

ยนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ,ํ ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ ยนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ,ํ ตํ
อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ
รูปเป็นอินทรียท์ ห่ี ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็มี รูปไม่เป็นอินทรียท์ ห่ี ยาบก็มี ทีล่ ะ-
เอียดก็ม.ี
อินทริยทูเรจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ,ํ ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก. ยนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ,ํ ตํ
อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก.
รูปเป็นอินทรียท์ อ่ี ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ ี รูปไม่เป็นอินทรียท์ อ่ี ยูไ่ กลก็มี
ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ .ี
มหาภูตโอฬาริกจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ มหาภูต,ํ ตํ อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ ยนฺตํ รูปํ น มหาภูต,ํ ตํ
อตฺถิ โอฬาริก;ํ อตฺถิ สุขมุ .ํ
รูปเป็นมหาภูตทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะเอียดก็มี รูปไม่เป็นมหาภูตทีห่ ยาบก็มี ทีล่ ะ-
เอียดก็ม.ี
มหาภูตทูเรจตุกกะ.
ยนฺตํ รูปํ มหาภูต,ํ ตํ อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก. ยนฺตํ รูปํ น มหาภูต,ํ ตํ
อตฺถิ ทูเร; อตฺถิ สนฺตเิ ก.
รูปเป็นมหาภูตทีอ่ ยูไ่ กลก็มี ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ ี รูปไม่เป็นมหาภูตทีอ่ ยูไ่ กลก็มี
ทีอ่ ยูใ่ กล้กม็ .ี
ทิฏฐาทิจตุกกะ.
ทิฏĘฺ ํ สุตํ มุตํ วิญċ ฺ าตํ รูป.ํ
รูปทีเ่ ห็นได้ รูปทีฟ่ งั ได้ รูปทีร่ ไู้ ด้ รูปทีร่ แู้ จ้งได้.
เอวํ จตุพพฺ เิ ธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๔ อย่างนี.้
จตุกกมาติกาจบ.
ปัญญจกมาติกา.
377

ปċฺจวิเธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๕ คือ.
[๕๘๗] ปĘวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ; ยċฺจ รูปํ อุปาทา.
[๕๘๗] ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ และรูปทีเ่ ป็นอุปาทา.
เอวํ ปญฺจวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๕ อย่างนี.้
ปัญญจกมาติกาจบ.
ฉักกมาติกา.
ฉพฺพเิ ธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๖ คือ.
[๕๘๘] จกฺขวุ ċิ ċฺ ยฺยํ รูป,ํ โสตวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ ฆานวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ ชิวหฺ าวิċ-ฺ
เċยฺยํ รูป,ํ กายวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ มโนวิċเฺ ċยฺยํ รูป.ํ
[๕๘๘] รูปอันจักขุวญ ิ ญาณพึงรู้ รูปอันโสตวิญญาณพึงรู้ รูปอันฆานวิญญาณพึงรู้
รูปอันชิวหาวิญญาณพึงรู้ รูปอันกายวิญญาณพึงรู้ รูปอันมโนวิญญาณพึงรู.้
เอวํ ฉพฺพเิ ธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๖ อย่างนี.้
ฉักกมาติกาจบ.
สัตตกมาติกา.
สตฺตวิเธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๗ คือ.
[๕๘๙] จกฺขวุ ญิ เฺ ċยฺยํ รูป;ํ โสตวิญเฺ ċยฺยํ รูป;ํ ฆานวิญเฺ ċยฺยํ รูป;ํ ชิวหฺ าวิญ-ฺ
เċยฺยํ รูป,ํ กายวิญเฺ ċยฺยํ รูป,ํ มโนธาตุวญ ิ เฺ ċยฺยํ รูป,ํ มโนวิญċ
ฺ าณธาตุวญ ิ เฺ ċยฺยํ
รูป.ํ
[๕๘๙] รูปอันจักขุวญ ิ ญาณพึงรู้ รูปอันโสตวิญญาณพึงรู้ รูปอันฆานวิญญาณพึงรู้
รูปอันชิวหาวิญญาณพึงรู้ รูปอันกายวิญญาณพึงรู้ รูปอันมโนธาตุพงึ รู้
รูปอันมโนวิญญาณธาตุพงึ รู.้
378

เอวํ สตฺตวิเธน รูปสงฺคโห.


สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๗ อย่างนี.้
สัตตกมาติกาจบ.
อัฏฐกมาติกา.
อฏฺĘวิเธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๘ คือ.
[๕๙๐] จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยํ รูป,ํ โสตวิญเฺ ċยฺยํ รูป,ํ ฆานวิญเฺ ċยฺยํ รูป,ํ ชิวหฺ าวิญ-ฺ
เċยฺยํ รูป,ํ กายวิญเฺ ċยฺยํ รูป,ํ อตฺถิ สุขสมฺผสฺส,ํ อตฺถิ ทุกขฺ สมฺผสฺสํ
มโนธาตุวญ ิ เฺ ċยฺยํ รูป,ํ มโนวิญċ ฺ าณธาตุวญ ิ เฺ ċยฺยํ รูป.ํ
[๕๙๐] รูปอันจักขุวญ ิ ญาณพึงรู้ รูปอันโสตวิญญาณพึงรู้ รูปอันฆานวิญญาณพึงรู้
รูปอันชิวหาวิญญาณพึงรู้ รูปอันกายวิญญาณพึงรู้ ทีม่ สี มั ผัสเป็นสุขก็มี
ทีม่ สี มั ผัสเป็นทุกข์กม็ ี รูปอันมโนธาตุพงึ รู้ รูปอันมโนวิญญาณธาตุพงึ รู.้
เอวํ อฏฺĘวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๘ อย่างนี.้
อัฏฐกมาติกาจบ.
นวกมาติกา.
นววิเธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๙ คือ.
[๕๙๑] จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ กายินทฺ รฺ ยิ ํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ ยญฺจ รูปํ น อินทฺ ริย.ํ
[๕๙๑] จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์
ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ และรูปทีไ่ ม่เป็นอินทรีย.์
เอวํ นววิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๙ อย่างนี.้
นวกมาติกาจบ.
ทสกมาติกา.
379

ทสวิเธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๑๐ คือ.
[๕๙๒] จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ กายินทฺ รฺ ยิ ํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ รูปํ อตฺถิ สปฺปฏิฆ,ํ อตฺถิ อปฺปฏิฆ.ํ
[๕๑๒] จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์
ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ รูปไม่เป็นอินทรียท์ ก่ี ระทบได้กม็ ี ทีก่ ระทบไม่ได้-
ก็ม.ี
เอวํ ทสวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๑๐ อย่างนี.้
ทสกมาติกาจบ.

เอกาทสกมาติกา.
เอกาทสวิเธน รูปสงฺคโห:
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๑๑ คือ.
[๕๙๓] จกฺขายตนํ โสตายตนํ ฆานายตนํ ชิวหฺ ายตนํ กายายตนํ รูปายตนํ
สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ, ยญฺจ รูปํ อนิทสฺสนํ
อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺน.ํ
[๕๙๓] จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ
สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ และรูปทีเ่ ป็นอนิทสั -
สนะ เป็นอัปปฏิฆะแต่นบั เนือ่ งในธัมมายตนะ.
เอวํ เอกาทสวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวดละ ๑๑ อย่างนี.้
เอกาทสกมาติกาจบ.
มาติกาจบ.
รูปวิภตั ติ.
เอกกนิสเทส.
380

[๕๙๔] สพฺพํ รูปํ น เหตุเมว อเหตุกเมว เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ เมว สปฺปจฺจยเมว


สงฺขตเมว รูปเมว โลกิยเมว สาสวเมว สญฺโċชนิยเมว คนฺถนิยเมว โอฆนิยเมว
โยคนิยเมว นีวรณิยเมว ปรามฏฺĘเมว อุปาทานิยเมว สงฺกเิ ลสิกเมว อพฺยากตเมว,
[๕๙๔] รูปทัง้ หมดไม่ใช่เหตุทง้ั นัน้ ไม่มเี หตุทง้ั นัน้ วิปปยุตจากเหตุทง้ั นัน้ เป็น
ไปกับปัจจัยทัง้ นัน้ เป็นสังขตธรรมทัง้ นัน้ เป็นรูปธรรมทัง้ นัน้ เป็นโลกิย-
ธรรมทัง้ นัน้ เป็นอารมณ์ของอาสวะทัง้ นัน้ เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์ทง้ั นัน้
เป็นอารมณ์ของคันถะทัง้ นัน้ เป็นอารมณ์ของโอฆะทัง้ นัน้ เป็นอารมณ์ของ-
โยคะทัง้ นัน้ เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ทง้ั นัน้ เป็นอารมณ์ของปรามาสทัง้ นัน้
เป็นอารมณ์ของอุปาทานทัง้ นัน้ เป็นอารมณ์ของสังกิเลสทัง้ นัน้
เป็นอัพยากตธรรมทัง้ นัน้ ,
อนารมฺมณเมว อเจตสิกเมว จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ เมว เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมเมว
อสงฺกลิ ฏิ Ęฺ สงฺกเิ ลสิกเมว น สวิตกฺกสวิจารเมว น อวิตกฺกวิจารมตฺตเมว
อวิตกฺกอวิจารเมว น ปีตสิ หคตเมว น สุขสหคตเมว น อุเปกฺขาสหคตเมว,
ไม่มอี ารมณ์ทง้ั นัน้ ไม่ใช่เจตสิกทัง้ นัน้ วิปปยุจากจิตทัง้ นัน้ ไม่ใช่วบิ าก
และไม่ใช่ธรรมเป็นเหตุแห่งวิบากทัง้ นัน้ ไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของ-
สังกิเลสทัง้ นัน้ ไม่ใช่ธรรมมีทง้ั วิตกทัง้ วิจารทัง้ นัน้ ไม่ใช่ธรรมไม่มวี ติ กแต่-
มีวจิ ารทัง้ นัน้ ไม่มที ง้ั วิตกทัง้ วิจารทัง้ นัน้ ไม่ใช่ธรรมทีส่ หรคตด้วยปีตทิ ง้ั นัน้
ไม่ใช่ธรรมทีส่ หรคตด้วยสุขทัง้ นัน้ ไม่ใช่ธรรมทีส่ หรคตด้วยอุเบกขา-
ทัง้ นัน้ ,
เนวทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพเมว เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺ-
พเหตุกเมว เนว อาจยคามินอปจยคามิเมว เนว เสกฺขนาเสกฺขเมว,
อันโสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งบน ๓ ไม่ประหาณทัง้ นัน้ ไม่มสี มั ปยุตต-
เหตุ อันโสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งบน ๓ ประหาณทัง้ นัน้ ไม่เป็นเหตุ-
ให้จตุ ปิ ฏิสนธิและไม่เป็นเหตุให้ถงึ นิพพานทัง้ นัน้ เป็นของเสกขบุคคลและ-
ไม่เป็นของอเสกขบุคคลทัง้ นัน้ ,
ปริตตฺ เมว กามาวจรเมว น รูปาวจรเมว น อรูปาวจรเมว ปริยาปนฺนเมว
381

โนอปริยาปนฺนเมว อนิยตเมว อนิยยฺ านิกเมว อุปปฺ นฺนํ ฉหิ วิญċ ฺ าเณหิ


วิċเฺ ċยฺยเมว อนิจจฺ เมว ชราภิภตู เมว.
เป็นปริตตธรรมทัง้ นัน้ เป็นกามาวจรธรรมทัง้ นัน้ ไม่ใช่รปู าวจรธรรมทัง้ นัน้
ไม่ใช่อรูปาวจรธรรมทัง้ นัน้ เป็นปริยาปันนธรรมทัง้ นัน้ ไม่ใช่อปริยาปัน-
นธรรมทัง้ นัน้ เป็นอนิยตธรรมทัง้ นัน้ เป็นนิยยานิกธรรมทัง้ นัน้ เป็นปัจจุ-
บันธรรมอันวิญญาณ ๖ พึงรูท้ ง้ั นัน้ ไม่เทีย่ งทัง้ นัน้ อันชราครอบงำแล้ว-
ทัง้ นัน้ .
เอวํ เอกวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๑ อย่างนี.้
เอกกนิทเทสจบ.

ทุกนิสเทส.
ปกิณณกทุกะ.
อุปาทาภาชนีย.
[๕๙๕] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา?
[๕๙๕] รูปเป็นอุปาทานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ โสตายตนํ ฆานายตนํ, ชิวหฺ ายตนํ กายายตนํ รูปายตนํ สทฺทายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ,
จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ
สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ,
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ กายวิญċ
ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċ
ฺ ตฺต,ิ อากาสธาตุ,
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ อากาสธาตุ,
รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส
สนฺตติ, รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา; กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ รูปสันตติ รูปชรตา รูปอนิจจตา
กพฬิงการาหาร.
382

จักขายตนะ.
[๕๙๖] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ?
[๕๙๖] รูปทีเ่ รียกว่าจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้ แต่กระทบได้,
เยน จกฺขนุ า อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน รูปํ สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ ปสฺสิ วา,
ปสฺสติ วา, ปสฺสสิ สฺ ติ วา, ปสฺเส วา,
สัตว์นเ้ี ห็นแล้ว หรือเห็นอยู่ หรือจักเห็น หรือพึงเห็น ซึง่ รูปอันเป็นสิง่ ที-่
เห็นได้ และกระทบได้ดว้ ยจักขุใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
จกฺขเĖú ปตํ จกฺขายตนํเปตํ จกฺขธุ าตุเปสา จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ เนตฺตเํ ปตํ นยนํเปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ
สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง จักขายตนะบ้าง จักขุธาตุบา้ ง จักขุนทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง เนตรบ้าง นัยนะบ้าง
ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขายตนะ
[๕๙๗] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ?
[๕๙๗] รูปทีเ่ รียกว่าจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยมฺหิ จกฺขมุ หฺ ิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ รูปํ สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ ปฏิหċฺċิ
383

วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;


รูปอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือจัก-
กระทบ หรือพึงกระทบ ทีจ่ กั ขุใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
จกฺขเํุ ปตํ จกฺขายตนํเปตํ จกฺขธุ าตุเปสา จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ เนตฺตเํ ปตํ นยนํเปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ
สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง จักขายตนะบ้าง จักขุธาตุบา้ ง จักขุนทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง เนตรบ้าง นัยนะบ้าง
ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขายตนะ
[๕๙๘] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ?
[๕๙๘] รูปทีเ่ รียกว่าจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยํ จกฺขํุ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ รูปมฺหิ สนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ปฏิหċฺċิ วา,
ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
จักขุใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่
หรือจักกระทบ หรือพึงกระทบ ทีร่ ปู อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้;
จกฺขเํุ ปตํ จกฺขายตนํเปตํ จกฺขธุ าตุเปสา จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ เนตฺตเํ ปตํ นยนํเปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ
สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง จักขายตนะบ้าง จักขุธาตุบา้ ง จักขุนทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
384

ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง เนตรบ้าง นัยนะบ้าง


ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขายตนะ.
[๕๙๙] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ?
[๕๙๙] รูปทีเ่ รียกว่าจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยํ จกฺขํุ นิสสฺ าย รูปํ อารพฺภ จกฺขสุ มฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะอาศัยจักขุใดจักขุสมั ผัสปรารภรูปเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจัก-
เกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ จกฺขํุ นิสสฺ าย รูปํ อารพฺภ จกฺขสุ มฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ
เจตนา ฯเปฯ จกฺขวุ ċ ิ ċ
ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา,
อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ เพราะอาศัยจักขุใดเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา
ฯลฯ จักขุวญ ิ ญาณปรารภรูปเกิดขึน้ แล้วหรือเกิดขึน้ อยูห่ รือจักเกิดขึน้ หรือ-
พึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ จกฺขํุ นิสสฺ าย รูปารมฺมโณ จกฺขสุ มฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ จกฺขํุ นิสสฺ าย รูปารมฺมณา
จกฺขสุ มฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ จกฺขวุ ċ ิ ċฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ เพราะอาศัยจักขุใดจักขุสมั ผัสมีรปู เป็นอารมณ์เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ -
385

อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยจักขุใดเวทนาอันเกิดแต่-


จักขุสมั ผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จักขุวญ ิ ญาณมีรปู เป็นอารมณ์เกิด-
ขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
จกฺขเํุ ปตํ จกฺขายตนํเปตํ จกฺขธุ าตุเปสา จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ เนตฺตเํ ปตํ นยนํเปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ
สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง จักขายตนะบ้าง จักขุธาตุบา้ ง จักขุนทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง เนตรบ้าง นัยนะบ้าง
ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขายตนะ.

โสตายตนะ.
[๖๐๐] กตมนฺตํ รูปํ โสตายตนํ?
[๖๐๐] รูปทีเ่ รียกว่าโสตายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ โสตํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
โสตใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
เยน โสเตน อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน สทฺทํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ สุณิ วา,
สุณาติ วา, สุณสิ สฺ ติ วา, สุเณ วา;
สัตว์นฟ้ี งั แล้ว หรือฟังอยู่ หรือจักฟัง หรือพึงฟัง ซึง่ เสียงอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้ดว้ ยโสตใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
โสตํเปตํ โสตายตนํเปตํ โสตธาตุเปสา โสตินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าโสตบ้าง โสตายตนะบ้าง โสตธาตุบา้ ง โสตินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
386

ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;


อิทนฺตํ รูปํ โสตายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโสตายตนะ.
[๖๐๑] กตมนฺตํ รูปํ โสตายตนํ?
[๖๐๑] รูปทีเ่ รียกว่าโสตายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ โสตํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
โสตใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยมฺหิ โสตมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ สทฺโท อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
เสียงอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้ แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีโ่ สตใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
โสตํเปตํ โสตายตนํเปตํ โสตธาตุเปสา โสตินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าโสตบ้าง โสตายตนะบ้าง โสตธาตุบา้ ง โสตินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ โสตายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโสตายตนะ.
[๖๐๒] กตมนฺตํ รูปํ โสตายตน?
[๖๐๒] รูปทีเ่ รียกว่าโสตายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ โสตํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
โสตใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยํ โสตํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ สทฺทมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ปฏิหċฺċิ
387

วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;


โสตใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้ แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่
หรือจักกระทบ หรือพึงกระทบทีเ่ สียงอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้ แต่กระทบได้;
โสตํเปตํ โสตายตนํเปตํ โสตธาตุเปสา โสตินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าโสตบ้าง โสตายตนะบ้าง โสตธาตุบา้ ง โสตินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ โสตายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโสตายตนะ
[๖๐๓] กตมนฺตํ รูปํ โสตายตนํ?
[๖๐๓] รูปทีเ่ รียกว่าโสตายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ โสตํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
โสตใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยํ โสตํ นิสสฺ าย สทฺทํ อารพฺภ โสตสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ โสตํ นิสสฺ าย สทฺทํ อารพฺภ
โสตสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ โสตวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะอาศัยโสตใดโสตสัมผัสปรารภเสียงเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือ-
จักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยโสตใดเวทนาอันเกิดแต่โสตสัม-
ผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ โสตวิญญาณปรารภเสียงเกิดขึน้ แล้ว หรือ-
เกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ โสตํ นิสสฺ าย สทฺทารมฺมโณ โสตสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ โสตํ นิสสฺ าย สทฺทารมฺมณา โสตสมฺ-
ผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ โสตวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
388

อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;


ฯลฯ เพราะอาศัยโสตใดโสตสัมผัสมีเสียงเป็นอารมณ์ เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิด-
ขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยโสตใดเวทนาอัน-
เกิดแต่โสตสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ โสตวิญญาณมีเสียงเป็น-
อารมณ์ เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
โสตํเปตํ โสตายตนํเปตํ โสตธาตุเปสา โสตินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าโสตบ้าง โสตายตนะบ้าง โสตธาตุบา้ ง โสตินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ โสตายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโสตายตนะ.

ฆานายตนะ.
[๖๐๔] กตมนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ?
[๖๐๔] รูปทีเ่ รียกว่าฆานายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ฆานํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
ฆานะใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
เยน ฆาเนน อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน คนฺธํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ ฆายิ วา,
ฆายติ วา, ฆายิสสฺ ติ วา, ฆาเย วา;
สัตว์นด้ี มแล้ว หรือดมอยู่ หรือจักดม หรือพึงดมซึง่ กลิน่ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น
ไม่ได้แต่กระทบได้ดว้ ยฆานะใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้ แต่กระทบได้;
ฆานํเปตํ ฆานายตนํเปตํ ฆานธาตุเปสา ฆานินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าฆานะบ้าง ฆานายตนะบ้าง ฆานธาตุบา้ ง ฆานินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
389

ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;


อิทนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าฆานายตนะ
[๖๐๕] กตมนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ?
[๖๐๕] รูปทีเ่ รียกว่าฆานายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ฆานํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย, ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
ฆานะใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
ยมฺหิ ฆานมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ คนฺโธ อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
กลิน่ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีฆ่ านะใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
ฆานํเปตํ ฆานายตนํเปตํ ฆานธาตุเปสา ฆานินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าฆานะบ้าง ฆานายตนะบ้าง ฆานธาตุบา้ ง ฆานินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าฆานายตนะ
[๖๐๖] กตมนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ?
[๖๐๖] รูปทีเ่ รียกว่าฆานายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ฆานํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
ฆานะใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
390

ยํ ฆานํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ คนฺธมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ปฏิหċฺċิ


วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
ฆานะใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่
หรือจักกระทบ หรือพึงกระทบทีก่ ลิน่ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
ฆานํเปตํ ฆานายตนํเปตํ ฆานธาตุเปสา ฆานินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าฆานะบ้าง ฆานายตนะบ้าง ฆานธาตุบา้ ง ฆานินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าฆานายตนะ.
[๖๐๗] กตมนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ?
[๖๐๗] รูปทีเ่ รียกว่าฆานายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ ฆานํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
ฆานะใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
ยํ ฆานํ นิสสฺ าย คนฺธํ อารพฺภ ฆานสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ ฆานํ นิสสฺ าย คนฺธํ อารพฺภ
ฆานสมฺผสฺสชา เวทนา, ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ฆานวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะอาศัยฆานะใดฆานสัมผัสปรารภกลิน่ เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือ
จักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยฆานะใดเวทนาอันเกิดแต่ฆาน-
สัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ฆานวิญญาณปรารภกลิน่ เกิดขึน้ แล้ว
หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ ฆานํ นิสสฺ าย คนฺธารมฺมโณ ฆานสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ
วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ ฆานํ นิสสฺ าย คนฺธารมฺมณา
391

ฆานสมฺผสฺสชา เวทนา, ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ฆานวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ เพราะอาศัยฆานะใดฆานสัมผัสมีกลิน่ เป็นอารมณ์เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิด
ขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยฆานะใดเวทนาอัน-
เกิดแต่ฆานสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ฆานวิญญาณมีกลิน่ เป็น-
อารมณ์เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฆานํเปตํ ฆานายตนํเปตํ ฆานธาตุเปสา ฆานินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่า ฆานะบ้าง ฆานายตนะบ้าง ฆานธาตุบา้ ง ฆานินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ฆานายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกฆานายตนะ.

ชิวหายตนะ.
[๖๐๘] กตมนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ?
[๖๐๘] รูปทีเ่ รียกว่าชิวหายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยา ชิวหฺ า จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺส-
โน สปฺปฏิโฆ,
ชิวหาใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
ยาย ชิวหฺ าย อนิทสฺสนาย สปฺปฏิฆาย รสํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ สายิ วา,
สายติ วา, สายิสสฺ ติ วา, สาเย วา;
สัตว์น้ี ลิม้ แล้ว หรือลิม้ อยู่ หรือจักลิม้ หรือพึงลิม้ ซึง่ รสอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้ดว้ ยชิวหาใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
ชิวหฺ าเปสา ชิวหฺ ายตนํเปตํ ชิวหฺ าธาตุเปสา ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส
ทฺวาราเปสา สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ
392

คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าชิวหาบ้าง ชิวหายตนะบ้าง ชิวหาธาตุบา้ ง ชิวหินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าชิวหายตนะ.
[๖๐๙] กตมนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ?
[๖๐๙] รูปทีเ่ รียกว่าชิวหายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยา ชิวหฺ า จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน
อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
ชิวหาใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
ยาย ชิวหฺ าย อนิทสฺสนาย สปฺปฏิฆาย รโส อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ ปฏิหċฺċิ
วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
รสอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีช่ วิ หาใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
ชิวหฺ าเปสา ชิวหฺ ายตนํเปตํ ชิวหฺ าธาตุเปสา ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเป-
สา สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ
คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าชิวหาบ้าง ชิวหายตนะบ้าง ชิวหาธาตุบา้ ง ชิวหินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง
บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่า ชิวหายตนะ
[๖๑๐] กตมนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ?
[๖๑๐] รูปทีเ่ รียกว่าชิวหายตนะนัน้ เป็นไฉน?
393

ยา ชิวหฺ า จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺส-


โน สปฺปฏิโฆ,
ชิวหาใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
ยา ชิวหฺ า อนิทสฺสนา สปฺปฏิฆา รสมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ปฏิหċฺċิ
วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
ชิวหาใดเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีร่ สอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
ชิวหฺ าเปสา ชิวหฺ ายตนํเปตํ ชิวหฺ าธาตุเปสา ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเป-
สา สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ
คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่าชิวหาบ้าง ชิวหายตนะบ้าง ชิวหาธาตุบา้ ง ชิวหินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าชิวหายตนะ.
[๖๑๑] กตมนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ?
[๖๑๑] รูปทีเ่ รียกว่าชิวหายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยา ชิวหฺ า จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺส-
โน สปฺปฏิโฆ,
ชิวหาใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้,
ยํ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย รสํ อารพฺภ ชิวหฺ าสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย รสํ อารพฺภ ชิวหฺ าสมฺ-
ผสฺสชา เวทนา, ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ชิวหฺ าวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะอาศัยชิวหาใดชิวหาสัมผัสปรารภรสเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือ
394

จักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยชิวหาใดเวทนาอันเกิดแต่ชวิ หา-


สัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ชิวหาวิญญาณปรารภรส เกิดขึน้ แล้ว
หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย รสารมฺมโณ ชิวหฺ าสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ยํ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย รสารมฺมณา ชิวหฺ าสมฺผสฺสชา
เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ชิวหฺ าวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ
วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ เพราะอาศัยชิวหาใดชิวหาสัมผัสมีรสเป็นอารมณ์เกิดขึน้ แล้วหรือเกิด-
ขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยชิวหาใดเวทนาอัน-
เกิดแต่ชวิ หาสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ชิวหาวิญญาณมีรสเป็น-
อารมณ์เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ชิวหฺ าเปสา ชิวหฺ ายตนํเปตํ ชิวหฺ าธาตุเปสา ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเป-
สา สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ
คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่า ชิวหาบ้าง ชิวหายตนะบ้าง ชิวหาธาตุบา้ ง ชิวหินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ ชิวหฺ ายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าชิวหายตนะ.
กายายตนะ.
[๖๑๒] กตมนฺตํ รูปํ กายายตนํ?
[๖๑๒] รูปทีเ่ รียกว่ากายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
เยน กาเยน อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน โผฏฺĘพฺพํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ ผุสิ วา,
395

ผุสติ วา, ผุสสิ สฺ ติ วา, ผุเส วา;


สัตว์นถ้ี กู ต้องแล้ว หรือถูกต้องอยู่ หรือจักถูกต้อง หรือพึงถูกต้อง ซึง่ โผฏ-
ฐัพพะอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ดว้ ยกายใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้
แต่กระทบได้;
กาโยเปโส กายายตนํเปตํ กายธาตุเปสา กายินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่ากายบ้าง กายายตนะบ้าง กายธาตุบา้ ง กายินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ากายายตนะ.
[๖๑๓] กตมนฺตํ รูปํ กายายตนํ?
[๖๑๓] รูปทีเ่ รียกว่ากายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยมฺหิ กายมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ โผฏฺĘพฺโพ อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
โผฏฐัพพะเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่
หรือจักกระทบ หรือพึงกระทบทีก่ ายใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
กาโยเปโส กายายตนํเปตํ กายธาตุเปสา กายินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่ากายบ้าง กายายตนะบ้าง กายธาตุบา้ ง กายินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ากายายตนะ.
396

[๖๑๔] กตมนฺตํ รูปํ กายายตนํ?


[๖๑๔] รูปทีเ่ รียกว่ากายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
โย กาโย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ โผฏฺĘพฺพมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
กายใดเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีโ่ ผฏฐัพพะอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
กาโยเปโส กายายตนํเปตํ กายธาตุเปสา กายินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่ากายบ้าง กายายตนะบ้าง กายธาตุบา้ ง กายินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ากายายตนะ.
[๖๑๕] กตมนฺตํ รูปํ กายายตนํ?
[๖๑๕] รูปทีเ่ รียกว่ากายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท อตฺตภาวปริยาปนฺโน อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นับเนือ่ งในอัตภาพเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่-
ได้แต่กระทบได้,
ยํ กายํ นิสสฺ าย โผฏฺĘพฺพํ อารพฺภ กายสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ กายํ นิสสฺ าย โผฏฺĘพฺพํ อารพฺภ
กายสมฺผสฺสชา เวทนา, ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ กายวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
397

เพราะอาศัยกายใดกายสัมผัสปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่


หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยกายใดเวทนาอันเกิดแต่กาย-
สัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ กายวิญญาณปรารภโผฏฐัพพะเกิดขึน้ -
แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ กายํ นิสสฺ าย โผฏฺĘพฺพารมฺมโณ กายสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ
วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ กายํ นิสสฺ าย โผฏฺĘพฺพารมฺมณา
กายสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ กายวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ เพราะอาศัยกายใดกายสัมผัสมีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์เกิดขึน้ แล้ว หรือ-
เกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะอาศัยกายใดเวทนาอัน-
เกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ กายวิญญาณมีโผฏฐัพพะ-
เป็นอารมณ์เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
กาโยเปโส กายายตนํเปตํ กายธาตุเปสา กายินทฺ รฺ ยิ เํ ปตํ โลโกเปโส ทฺวาราเปสา
สมุทโฺ ทเปโส ปณฺฑรํเปตํ เขตฺตเํ ปตํ วตฺถเํุ ปตํ โอริมนฺตรี เํ ปตํ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
นีเ้ รียกว่ากายบ้าง กายายตนะบ้าง กายธาตุบา้ ง กายินทรียบ์ า้ ง โลกบ้าง
ทวารบ้าง สมุทรบ้าง ปัณฑระบ้าง เขตบ้าง วัตถุบา้ ง ฝัง่ นีบ้ า้ ง บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ากายายตนะ.
รูปายตนะ.
[๖๑๖] กตมนฺตํ รูปํ รูปายตนํ?
[๖๑๖] รูปทีเ่ รียกว่ารูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆ,ํ
รูปใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้,
นีลํ ปีตกํ โลหิตกํ โอทาตํ กาฬกํ มํเชฏฺĘกํ หริ หริวณฺณํ อมฺพงฺกรุ วณฺณ,ํ
ได้แก่สเี ขียวคราม สีเหลือง สีแดง สีขาว สีดำ สีหงสบาท สีคล้ำ สีเขียวใบไม้
398

สีมว่ ง,
ทีฆํ รสฺสํ อณุํ ถูลํ วฏฺฏํ ปริมณฺฑลํ จตุรสํ ํ ฉฬํลํ อฏฺĘสํ ํ โสฬสํส,ํ
ยาว สัน้ ละเอียด หยาบ กลม รี สีเ่ หลีย่ ม หกเหลีย่ ม แปดเหลีย่ ม สิบหก-
เหลีย่ ม,
นินนฺ ํ ถลํ ฉายา อาตโป อาโลโก อนฺธกาโร อพฺภา มหิกา ธูโม รโช,
ลุม่ ดอน เงา แดด แสงสว่าง มืด เมฆ หมอก ควัน ละออง,
จนฺทมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา สุรยิ มณฺฑลสฺส วณฺณนิภา ตารกรูปานํ วณฺณนิภา
อาทาสมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา มณิสงฺขมุตตฺ าเวฬุรยิ สฺส วณฺณนิภา
ชาตรูปรชตสฺส วณฺณนิภา;
แสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงดาว แสงกระจก แสงแก้วมณี แสงสังข์
แสงมุกดา แสงแก้วไพฑูรย์ แสงทอง แสงเงิน;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา
สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆ;ํ
หรือรูปแม้อน่ื ใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้
มีอยู;่
ยํ รูปํ สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ จกฺขนุ า อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน ปสฺสิ วา,
ปสฺสติ วา, ปสฺสสิ สฺ ติ วา, ปสฺเส วา,
สัตว์นเ้ี ห็นแล้ว หรือเห็นอยู่ หรือจักเห็น หรือพึงเห็นซึง่ รูปใดอันเป็นสิง่ ที-่
เห็นได้และกระทบได้ดว้ ยจักขุอนั เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
รูปเํ ปตํ รูปายตนํเปตํ รูปธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่ารูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปายตนะ.
[๖๑๗] กตมนฺตํ รูปํ รูปายตนํ?
[๖๑๗] รูปทีเ่ รียกรูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆ,ํ
399

รูปใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้,


นีลํ ปีตกํ โลหิตกํ โอทาตํ กาฬกํ มํเชฏฺกํ หริ หริวณฺณํ อมฺพงฺกรุ วณฺณ,ํ
ได้แก่สเี ขียวคราม สีเหลือง สีแดง สีขาว สีดำ สีหงสบาท สีคล้ำ สีเขียว-
ใบไม้ สีมว่ ง,
ทีฆํ รสฺสํ อณณ ถูลํ วฏฺฏํ ปริมณฺฑลํ จตุรสํ ํ ฉฬํสํ อฏฺĘสํ ํ โสฬสํส,ํ
ยาว สัน้ ละเอียด หยาบ กลม รี สีเ่ หลีย่ ม หกเหลีย่ ม แปดเหลีย่ ม สิบหก-
เหลีย่ ม,
นินนฺ ํ ถลํ ฉายา อาตโป อาโลโก อนฺธกาโร อพฺภา มหิกา ธูโม รโช,
ลุม่ ดอน เงา แดด แสงสว่าง มืด เมฆ หมอก ควัน ละออง,
จนฺทมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา สุรยิ มณฺฑลสฺส วณฺณนิภา ตารกรูปานํ วณฺณนิภา
อาทาสมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา มณิสงฺขมุตตฺ าเวฬุรยิ สฺส วณฺณนิภา
ชาตรูปรชตสฺส วณฺณนิภา;
แสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงดาว แสงกระจก แสงแก้วมณี แสงสังข์
แสงมุกดา แสงแก้วไพฑูรย์ แสงทอง แสงเงิน;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา สนิทสฺสนํ
สปฺปฏิฆ,ํ
หรือรูปแม้อน่ื ใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้
มีอยู,่
ยํ รูปํ สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ จกฺขมุ หฺ ิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ปฏิหċฺċิ วา,
ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
จักขุอนั เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีร่ ปู ใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้;
รูปเํ ปตํ รูปายตนํเปตํ รูปธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่ารูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปายตนะ.
400

[๖๑๘] กตมนฺตํ รูปํ รูปายตนํ,


[๖๑๘] รูปทีเ่ รียกว่ารูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆ,ํ
รูปใดเป็นสี อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้,
นีลํ ปีตกํ โลหิตกํ โอทาตํ กาฬกํ มċฺเชฏฺĘกํ หริ หริวณฺณํ อมฺพงฺกรุ วณฺณ,ํ
ได้แก่สเี ขียวคราม สีเหลือง สีแดง สีขาว สีดำ สีหงสบาท สีคล้ำ สีเขียวใบไม้
สีมว่ ง,
ทีฆํ รสฺสํ อณุํ ถูลํ วฏฺฏํ ปริมณฺฑลํ จตุรสํ ํ ฉฬํสํ อฏฺĘสํ ํ โสฬสํส,ํ
ยาว สัน้ ละเอียด หยาบ กลม รี สีเ่ หลีย่ ม หกเหลีย่ ม แปดเหลีย่ ม สิบหก-
เหลีย่ ม,
นินนฺ ํ ถลํ ฉายา อาตโป อาโลโก อนฺธกาโร อพฺภา มหิกา ธูโม รโช,
ลุม่ ดอน เงา แดด แสงสว่าง มืด เมฆ หมอก ควัน ละออง,
จนฺทมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา สุรยิ มณฺฑลสฺส วณฺณนิภา ตารกรูปานํ วณฺณนิภา
อาทาสมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา มณิสงฺขมุตตฺ าเวฬุรยิ สฺส วณฺณนิภา ชาตรูปรช-
ตสฺส วณฺณภิ า;
แสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงดาว แสงกระจก แสงแก้วมณี แสงสังข์ แสง-
มุกดา แสงแก้วไพฑูรย์ แสงทอง แสงเงิน;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา
สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆ,ํ
หรือรูปแม้อน่ื ใดเป็นสี อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้
มีอยู,่
ยํ รูปํ สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ จกฺขมุ หฺ ิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ปฏิหċฺċิ วา,
ปฏิหċฺċติ วา ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
รูปใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีจ่ กั ขุอนั เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
รูปเํ ปตํ รูปายตนํเปตํ รูปธาตุเปสา;
401

นีเ้ รียกว่ารูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบา้ ง;


อิทนฺตํ รูปํ รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปายตนะ.
[๖๑๙] กตมนฺตํ รูปํ รูปายตนํ?
[๖๑๙] รูปทีเ่ รียกว่ารูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา สนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆ,ํ
รูปใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้,
นีลํ ปีตกํ โลหิตกํ โอทาตํ กาฬกํ มํเชฏฺĘกํ หริ หริวณฺณํ อมฺพงฺกรุ วณฺณ,ํ
ได้แก่สเี ขียวคราม สีเหลือง สีแดง สีขาว สีดำ สีหงสบาท สีคล้ำ สีเขียวใบไม้
สีมว่ ง,
ทีฆํ รสฺสํ อณุํ ถูลํ วฏฺฏํ ปริมณฺฑลํ จตุรสํ ํ ฉฬํสํ อฏฺĘสํ ํ โสฬสํส,ํ
ยาว สัน้ ละเอียด หยาบ กลม รี สีเ่ หลีย่ ม หกเหลีย่ ม แปดเหลีย่ ม สิบหก-
เหลีย่ ม,
นินนฺ ํ ถลํ ฉายา อาตโป อาโลโก อนฺธกาโร อพฺภา มหิกา ธูโม รโช,
ลุม่ ดอน เงา แดด แสงสว่าง มืด เมฆ หมอก ควัน ละออง,
จนฺทมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา สุรยิ มณฺฑลสฺส วณฺณนิภา ตารกรูปานํ วณฺณนิภา
อาทาสมณฺฑลสฺส วณฺณนิภา มณิสงฺขมุตตฺ าเวฬุรยิ สฺส วณฺณนิภา ชาตรูปรช-
ตสฺส วณฺณนิภา;
แสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงดาว แสงกระจก แสงแก้วมณี แสงสังข์ แสง-
มุกดา แสงแก้วไพฑูรย์ แสงทอง แสงเงิน;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา สนิทสฺสนํ
สปฺปฏิฆ,ํ
หรือรูปแม้อน่ื ใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้และกระทบได้
มีอยู,่
ยํ รูปํ อารพฺภ จกฺขํุ นิสสฺ าย จกฺขสุ มฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ รูปํ อารพฺภ จกฺขํุ นิสสฺ าย
402

จกฺขสุ มฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ จกฺขวุ ċ ิ ċฺ าณํ
อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะปรารภรูปใดจักขุสมั ผัสอาศัยจักขุเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจัก-
เกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะปรารภรูปใดเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส
ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จักขุวญ ิ ญาณอาศัยจักขุเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้
อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ รูปารมฺมโณ จกฺขํุ นิสสฺ าย จกฺขสุ มฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํรปู ารมฺมณา จกฺขํุ นิสสฺ าย จกฺขสุ มฺผสฺ-
สชา เวทนา, ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ จกฺขวุ ċ ิ ċฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ จักขุสมั ผัสมีรปู ใดเป็นอารมณ์อาศัยจักขุ เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่
หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ สัญญา
ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จักขุวญ ิ ญาณมีรปู ใดเป็นอารมณ์อาศัยจักขุเกิดขึน้ แล้ว หรือ
เกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
รูปเํ ปตํ รูปายตนํเปตํ รูปธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่ารูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปายตนะ.
สัททายตนะ.
[๖๒๐] กตมนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ?
[๖๒๐] รูปทีเ่ รียกว่าสัททายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
เสียงใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
เภริสทฺโท มุทงิ คฺ สทฺโท สงฺขสทฺโท ปณวสทฺโท คีตสทฺโท วาทิตสทฺโท
สมฺมสทฺโท ปาณิสทฺโท,
ได้แก่เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เสียงบัณเฑาะว์ เสียงขับร้อง เสียง
403

ประโคม เสียงกรับ เสียงปรบมือ,


สตฺตานํ นิคโฺ ฆสสทฺโท ธาตูนํ สนฺนฆิ าตสทฺโท วาตสทฺโท อุทกสทฺโท มนุสสฺ สทฺ-
โท อมนุสสฺ สทฺโท;
เสียงร้องของสัตว์ เสียงกระทบกันของธาตุ เสียงลม เสียงน้ำ เสียงมนุษย์
เสียงอมนุษย์;
โย วา ปċฺโċป อตฺถิ สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือเสียงแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้
มีอยู,่
ยํ สทฺทํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ โสเตน อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน สุณิ วา,
สุณาติ วา, สุณสิ สฺ ติ วา, สุเณ วา;
สัตว์นฟ้ี งั แล้ว หรือฟังอยู่ หรือจักฟัง หรือพึงฟังซึง่ เสียงใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น
ไม่ได้ แต่กระทบได้ดว้ ยโสตอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
สทฺโทเปโส สทฺทายตนํเปตํ สทฺทธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าสัททะบ้าง สัททายตนะบ้าง สัททธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าสัททายตนะ.
[๖๒๑] กตมนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ?
[๖๒๑] รูปทีเ่ รียกว่าสัททายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
เสียงใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
เภริสทฺโท มุทงิ คฺ สทฺโท สงฺขสทฺโท ปณวสทฺโท คีตสทฺโท วาทิตสทฺโท
สมฺมสทฺโท ปาณิสทฺโท สตฺตานํ นิคโฺ ฆสสทฺโท ธาตูนํ สนฺนฆิ าตสทฺโท
วาตสทฺโท อุทกสทฺโท มนุสสฺ สทฺโท อมนุสสฺ สทฺโท;
ได้แก่เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เสียงบัณเฑาะว์ เสียงขับร้อง
เสียงประโคม เสียงกรับ เสียงปรบมือ เสียงร้องของสัตว์ เสียงกระทบกัน-
404

ของธาตุ เสียงลม เสียงน้ำ เสียงมนุษย์ เสียงอมนุษย์;


โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือเสียงแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้มอี ยู,่
ยมฺหิ สทฺทมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ โสตํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
โสตอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีเ่ สียงใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
สทฺโทเปโส สทฺทายตนํเปตํ สทฺทธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าสัททะบ้าง สัททายตนะบ้าง สัททธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าสัททายตนะ.
[๖๒๒] กตมนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ?
[๖๒๒] รูปทีเ่ รียกว่าสัททายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
เสียงใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
เภริสทฺโท มุทงิ คฺ สทฺโท สงฺขสทฺโท ปณวสทฺโท คีตสทฺโท วาทิตสทฺโท สมฺมสทฺโท
ปาณิสทฺโท สตฺตานํ นิคโฺ ฆสสทฺโท ธาตูนํ สนฺนฆิ าตสทฺโท วาตสทฺโท อุทกสทฺโท
มนุสสฺ สทฺโท อมนุสสฺ สทฺโท;
ได้แก่เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เสียงบัณเฑาะว์ เสียงขับร้อง
เสียงประโคม เสียงกรับ เสียงปรบมือ เสียงร้องของสัตว์ เสียงกระทบกัน-
ของธาตุ เสียงลม เสียงน้ำ เสียงมนุษย์ เสียงอมนุษย์;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือเสียงแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้
405

มีอยู,่
โย สทฺโท อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ โสตมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
เสียงใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่
หรือจักกระทบ หรือพึงกระทบทีโ่ สตอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
สทฺโทเปโส สทฺทายตนํเปตํ สทฺทธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าสัททะบ้าง สัททายตนะบ้าง สัททธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าสัททายตนะ.
[๖๒๓] กตมนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ?
[๖๒๓] รูปทีเ่ รียกว่าสัททายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
เสียงใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
เภริสทฺโท มุทงิ คฺ สทฺโท สงฺขสทฺโท ปณวสทฺโท คีตสทฺโท วาทิตสทฺโท สมฺมสทฺโท
ปาณิสทฺโท สตฺตานํ นิคโฺ ฆสสทฺโท ธาตูนํ สนฺนฆิ าตสทฺโท วาตสทฺโท อุทกสทฺโท
มนุสสฺ สทฺโท อมนุสสฺ สทฺโท;
ได้แก่เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เสียงบัณเฑาะว์ เสียงขับร้อง เสียง
ประโคม เสียงกรับ เสียงปรบมือ เสียงร้องของสัตว์ เสียงกระทบกันของ-
ธาตุ เสียงลม เสียงน้ำ เสียงมนุษย์ เสียงอมนุษย์;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ สทฺโท จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือเสียงแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้มอี ยู,่
ยํ สทฺทํ อารพฺภ โสตํ นิสสฺ าย โสตสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา, ฯเปฯ ยํ สทฺทํ อารพฺภ โสตํ นิสสฺ าย
โสตสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ โสตวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
406

วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา,
เพราะปรารภเสียงใดโสตสัมผัสอาศัยโสตเกิดขึน้ แล้วหรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจัก
เกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะปรารภเสียงใดเวทนาอันเกิดแต่โสตสัม-
ผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ โสตวิญญาณอาศัยโสตเกิดขึน้ แล้ว หรือ-
เกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ,
ฯเปฯ ยํ สทฺทารมฺมโณ โสตํ นิสสฺ าย, โสตสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ สทฺทารมฺมณา โสตํ นิสสฺ าย โสตสมฺ-
ผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ โสตวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ โสตสัมผัสมีเสียงใดเป็นอารมณ์อาศัยโสตเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่
หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่โสตสัมผัส ฯลฯ สัญญา
ฯลฯ เจตนา ฯลฯ โสตวิญญาณ มีเสียงใดเป็นอารมณ์อาศัยโสตเกิดขึน้ แล้ว
หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
สทฺโทเปโส สทฺทายตนํเปตํ สทฺทธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าสัททะบ้าง สัททายตนะบ้าง สัททธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าสัททายตนะ.
คันธายตนะ.
[๖๒๔] กตมนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ?
[๖๒๔] รูปทีเ่ รียกว่าคันธายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
กลิน่ ใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
มูลคนฺโธ สารคนฺโธ ตจคนฺโธ ปตฺตคนฺโธ ปุปผฺ คนฺโธ ผลคนฺโธ อามคนฺโธ
วิสคนฺโธ สุคนฺโธ ทุคคฺ นฺโธ;
ได้แก่กลิน่ รากไม้ กลิน่ แก่นไม้ กลิน่ เปลือกไม้ กลิน่ ใบไม้ กลิน่ ดอกไม้
กลิน่ ผลไม้ กลิน่ บูด กลิน่ เน่า กลิน่ หอม กลิน่ เหม็น;
407

โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน


สปฺปฏิโฆ,
หรือกลิน่ แม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้
มีอยู,่
ยํ คนฺธํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ ฆาเนน อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน ฆายิ วา,
ฆายติ วา, ฆายิสสฺ ติ วา, ฆาเย วา;
สัตว์นด้ี มแล้วหรือดมอยู่ หรือจักดม หรือพึงดมซึง่ กลิน่ ใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้ แต่กระทบได้ดว้ ยฆานะอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้
แต่กระทบได้;
คนฺโธเปโส คนฺธายตนํเปตํ คนฺธธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าคันธะบ้าง คันธายตนะบ้าง คันธธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าคันธายตนะ.
[๖๒๕] กตมนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ?
[๖๒๕] รูปทีเ่ รียกว่าคันธายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
กลิน่ ใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
มูลคนฺโธ สารคนฺโธ ตจคนฺโธ ปตฺตคนฺโธ ปุปผฺ คนฺโธ ผลคนฺโธ อามคนฺโธ
วิสคนฺโธ สุคนฺโธ ทุคคฺ นฺโธ;
ได้แก่กลิน่ รากไม้ กลิน่ แก่นไม้ กลิน่ เปลือกไม้ กลิน่ ใบไม้ กลิน่ ดอกไม้
กลิน่ ผลไม้ กลิน่ บูด กลิน่ เน่า กลิน่ หอม กลิน่ เหม็น;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือกลิน่ แม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้มอี ยู,่
ยมฺหิ คนฺธมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ฆานํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ
408

ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;


ฆานะอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีก่ ลิน่ ใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
คนฺโธเปโส คนฺธายตนํเปตํ คนฺธธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าคันธะบ้าง คันธายตนะบ้าง คันธธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าคันธายตนะ.
[๖๒๖] กตมนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ?
[๖๒๖] รูปทีเ่ รียกว่าคันธายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
กลิน่ ใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
มูลคนฺโธ สารคนฺโธ ตจคนฺโธ ปตฺตคนฺโธ ปุปผฺ คนฺโธ ผลคนฺโธ อามคนฺโธ
วิสคนฺโธ สุคนฺโธ ทุคคฺ นฺโธ;
ได้แก่ กลิน่ รากไม้ กลิน่ แก่นไม้ กลิน่ เปลือกไม้ กลิน่ ใบไม้ กลิน่ ดอกไม้
กลิน่ ผลไม้ กลิน่ บูด กลิน่ เน่า กลิน่ หอม กลิน่ เหม็น;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือกลิน่ แม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้มอี ยู,่
โย คนฺโธ อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ ฆานมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
กลิน่ ใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยูห่ รือ
จักกระทบ หรือพึงกระทบ ทีฆ่ านะอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้ แต่กระทบได้;
คนฺโธเปโส คนฺธายตนํเปตํ คนฺธธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าคันธะบ้าง คันธายตนะบ้าง คันธธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ.
409

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าคันธายตนะ.


[๖๒๗] กตมนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ?
[๖๒๗] รูปทีเ่ รียกว่าคันธายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
กลิน่ ใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
มูลคนฺโธ สารคนฺโธ ตจคนฺโธ ปตฺตคนฺโธ ปุปผฺ คนฺโธ ผลคนฺโธ อามคนฺโธ
วิสคนฺโธ สุคนฺโธ ทุคคฺ นฺโธ;
ได้แก่กลิน่ รากไม้ กลิน่ แก่นไม้ กลิน่ เปลือกไม้ กลิน่ ใบไม้ กลิน่ ดอกไม้
กลิน่ ผลไม้ กลิน่ บูด กลิน่ เน่า กลิน่ หอม กลิน่ เหม็น;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ คนฺโธ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือกลิน่ แม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้มอี ยู,่
ยํ คนฺธํ อารพฺภ ฆานํ นิสสฺ าย ฆานสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ คนฺธํ อารพฺภ ฆานํ นิสสฺ าย ฆานสมฺ-
ผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ฆานวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะปรารภกลิน่ ใดฆานสัมผัส อาศัยฆานะเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่
หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะปรารภกลิน่ ใดเวทนาอันเกิดแต่-
ฆานสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ฆานวิญญาณอาศัยฆานะเกิดขึน้ -
แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ คนฺธารมฺมโณ ฆานํ นิสสฺ าย ฆานสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ
วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา, ฯเปฯ ยํคนฺธารมฺมณา ฆานํ นิสสฺ าย ฆานสมฺ-
ผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ฆานวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ ฆานสัมผัสมีกลิน่ ใดเป็นอารมณ์อาศัยฆานะเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่
410

หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่ฆานสัมผัส ฯลฯ สัญญา


ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ฆานวิญญาณมีกลิน่ ใดเป็นอารมณ์อาศัยฆานะเกิดขึน้ แล้ว
หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
คนฺโธเปโส คนฺธายตนํเปตํ คนฺธธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าคันธะบ้าง คันธายตนะบ้าง คันธธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ คนฺธายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าคันธายตนะ.
รสายตนะ.
[๖๒๘] กตมนฺตํ รูปํ รสายตนํ?
[๖๒๘] รูปทีเ่ รียกว่ารสายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
รสใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
มูลรโส ขนฺธรโส ตจรโส ปตฺตรโส ปุปผฺ รโส ผลรโส,
ได้แก่รสรากไม้ รสลำต้น รสเปลือกไม้ รสใบไม้ รสดอกไม้ รสผลไม้,
อมฺพลิ ํ มธุรํ ติตตฺ กํ กฏุกํ โลณิกํ ขาริกํ ลมฺพลิ ํ กสาโว สาทุ อสาทุ;
เปรีย้ ว หวาน ขม เผ็ด เค็ม ขืน่ เฝือ่ น ฝาด อร่อย ไม่อร่อย;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือรสแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้มอี ยู,่
ยํ รสํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ ชิวหฺ าย อนิทสฺสนาย สปฺปฏิฆาย สายิ วา, สายติ
วา, สายิสสฺ ติ วา, สาเย วา;
สัตว์นล้ี ม้ิ แล้ว หรือลิม้ อยู่ หรือจักลิม้ หรือพึงลิม้ ซึง่ รสใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็น-
ไม่ได้แต่กระทบได้ดว้ ยชิวหาอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
รโสเปโส รสายตนํเปตํ รสธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่ารสบ้าง รสายตนะบ้าง รสธาตุบา้ ง;
411

อิทนฺตํ รูปํ รสายตนํ.


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารสายตนะ.
[๖๒๙] กตมนฺตํ รูปํ รสายตนํ?
[๖๒๙] รูปทีเ่ รียกว่ารสายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
รสใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
มูลรโส ขนฺธรโส ตจรโส ปตฺตรโส ปุปผฺ รโส ผลรโส,
ได้แก่รสรากไม้ รสลำต้น รสเปลือกไม้ รสใบไม้ รสดอกไม้ รสผลไม้,
อมฺพลิ ํ มธุรํ ติตตฺ กํ กฏุกํ โลณิกํ ขาริกํ ลมฺพลิ ํ กสาโว สาทุ อสาทุ;
เปรีย้ ว หวาน ขม เผ็ด เค็ม ขืน่ เฝือ่ น ฝาด อร่อย ไม่อร่อย;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือรสแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้-
มีอยู,่
ยมฺหิ รสมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ ชิวหฺ า อนิทสฺสนา สปฺปฏิฆา
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
ชิวหาอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีร่ สใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
รโสเปโส รสายตนํเปตํ รสธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่ารสบ้าง รสายตนะบ้าง รสธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ รสายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารสายตนะ.
[๖๓๐] กตมนฺตํ รูปํ รสายตนํ?
[๖๓๐] รูปทีเ่ รียกว่ารสายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
รสใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
412

มูลรโส ขนฺธรโส ตจรโส ปตฺตรโส ปุปผฺ รโส ผลรโส,


ได้แก่รสรากไม้ รสลำต้น รสเปลือกไม้ รสใบไม้ รสดอกไม้ รสผลไม้,
อมฺพลิ ํ มธุรํ ติตตฺ กํ กฏุกํ โลณิกํ ขาริกํ ลมฺพลิ ํ กสาโว สาทุ อสาทุ;
เปรีย้ ว หวาน ขม เผ็ด เค็ม ขืน่ เฝือ่ น ฝาด อร่อย ไม่อร่อย;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
หรือรสแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้-
มีอยู,่
โย รโส อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ ชิวหฺ าย อนิทสฺสนาย สปฺปฏิฆาย ปฏิหċฺċิ
วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
รสใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีช่ วิ หาอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
รโสเปโส รสายตนํเปตํ รสธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่ารสบ้าง รสายตนะบ้าง รสธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ รสายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารสายตนะ.
[๖๓๑] กตมนฺตํ รูปํ รสายตนํ?
[๖๓๑] รูปทีเ่ รียกว่ารสายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ,
รสใดอาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้,
มูลรโส ขนฺธรโส ตจรโส ปตฺตรโส ปุปผฺ รโส ผลรโส,
ได้แก่ รสรากไม้ รสลำต้น รสเปลือกไม้ รสใบไม้ รสดอกไม้ รสผลไม้,
อมฺพลิ ํ มธุรํ ติตตฺ กํ กฏุกํ โลณิกํ ขาริกํ ลมฺพลิ ํ กสาโว สาทุ อสาทุ;
เปรีย้ ว หวาน ขม เผ็ด เค็ม ขืน่ เฝือ่ น ฝาด เผ็ด อร่อย ไม่อร่อย;
โย วา ปนċฺโċปิ อตฺถิ รโส จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย อนิทสฺสโน
สปฺปฏิโฆ,
413

หรือรสแม้อน่ื ใดซึง่ อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-


ได้มอี ยู,่
ยํ รสํ อารพฺภ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย ชิวหฺ าสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ รสํ อารพฺภ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย ชิวหฺ าสมฺ-
ผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ชิวหฺ าวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะปรารภรสใดชิวหาสัมผัสอาศัยชิวหาเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือ-
จักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯเพราะปรารภรสใดเวทนาอันเกิดแต่ชวิ หาสัม-
ผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ชิวหาวิญญาณอาศัยชิวหาเกิดขึน้ แล้ว
หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํรสารมฺมโณ ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย ชิวหฺ าสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํรสารมฺมณา ชิวหฺ ํ นิสสฺ าย ชิวหฺ าสมฺผสฺ-
สชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ ชิวหฺ าวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ วา,
อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ ชิวหาสัมผัสมีรสใดเป็นอารมณ์อาศัยชิวหาใดเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ -
อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่ชวิ หาสัมผัส ฯลฯ
สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ ชิวหาวิญญาณมีรสใดเป็นอารมณ์อาศัยชิวหาเกิด-
ขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
รโสเปโส รสายตนํเปตํ รสธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่า รสบ้าง รสายตนะบ้าง รสธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ รสายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารสายตนะ.
อิตถินทรีย.์
[๖๓๒] กตมนฺตํ รูปํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๖๓๒] รูปทีเ่ รียกว่าอิตถินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ อิตถฺ ยิ า อิตถฺ ลี งิ คฺ ํ อิตถฺ นี มิ ติ ตฺ ํ อิตถฺ กี ตุ ตฺ ํ อิตถฺ ากปฺโป อิตถฺ ติ ตฺ ํ อิตถฺ ภี าโว;
414

ทรวดทรงหญิง เครือ่ งหมายรูว้ า่ หญิง กิรยิ าหญิง อาการหญิง สภาพหญิง


ภาวะหญิงของหญิงปรารภได้ดว้ ยเหตุใด;
อิทนฺตํ รูปํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปนีเ้ รียกว่าอิตถินทรีย.์
ปุรสิ นิ ทรีย.์
[๖๓๓] กตมนฺตํ รูปํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๖๓๓] รูปทีเ่ รียกว่าปุรสิ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ ปุรสิ สฺส ปุรสิ ลิงคฺ ํ ปุรสิ นิมติ ตฺ ํ ปุรสิ กุตตฺ ํ ปุรสิ ากปฺโป ปุรสิ ตฺตํ ปุรสิ ภาโว;
ทรวดทรงชาย เครือ่ งหมายรูว้ า่ ชาย กิรยิ าชาย อาการชาย สภาพชาย ภาวะ-
ชายของชายปรากฏได้ดว้ ยเหตุใด;
อิทนฺตํ รูปํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าปุรสิ นิ ทรีย.์
ชีวติ นิ ทริย.์
[๖๓๔] กตมนฺตํ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๖๓๔] รูปทีเ่ รียกว่าชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โย เตสํ รูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ ของรูป-
ธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าชีวติ นิ ทรีย.์
กายวิญญัต.
[๖๓๕] กตมนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ ตฺติ ?
[๖๓๕] รูปทีเ่ รียกว่ากายวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
ยา กุสลจิตตฺ สฺส วา อกุสลจิตตฺ สฺส วา อพฺยากตจิตตฺ สฺส วา อภิกกฺ มนฺตสฺส
415

วา ปฏิกกฺ มนฺตสฺส วา อาโลเกนฺตสฺส วา วิโลเกนฺตสฺส วา สมฺมċ ิ เฺ ชนฺตสฺส วา


ปสาเรนฺตสฺส วา กายสฺส ถมฺภนา สนฺถมฺภนา สนฺถมฺภติ ตฺตํ วิญċ ฺ ตฺติ
วิญċ
ฺ าปนา วิċċ ฺ าปิตตฺต;ํ
ความเคร่งตึง กิรยิ าทีเ่ คร่งตึงด้วยดี ความเคร่งตึงด้วยดี การแสดงให้รคู้ วาม-
หมาย กิรยิ าทีแ่ สดงให้รคู้ วามหมาย ความแสดงให้รคู้ วามหมายแห่งกาย-
ของบุคคลผูม้ จี ติ เป็นกุศล หรือ มีจติ เป็นอกุศล หรือมีจติ เป็นอัพยากฤต
ก้าวไปอยู่ ถอยกลับอยู่ แลดูอยู่ เหลียวซ้ายแลขวาอยู่ คูเ้ ข้าอยูห่ รือเหยียด-
ออกอยูอ่ นั ใด;
อิทนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ากายวิญญัติ
วจีวญ
ิ ญัต.
[๖๓๖] กตมนฺตํ รูปํ วจีวญ ิ ċฺ ตฺต?ิ
[๖๓๖] รูปทีเ่ รียกว่าวจีวญ ิ ญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
ยา กุสลจิตตฺ สฺส วา อกุสลจิตตฺ สฺส วา อพฺยากตจิตตฺ สฺส วา วาจา คิรา
พฺยปฺปโถ อุทรี ณํ โฆโส โฆสกมฺมํ วาจา วจีเภโท อยํ วุจจฺ ติ วาจา;
การพูด การเปล่งวาจา การเจรจา การกล่าว การป่าวร้อง การโฆษณา วาจา
วจีเภทแห่งบุคคลผูม้ จี ติ เป็นกุศล หรือมีจติ เป็นอกุศล หรือมีจติ เป็นอัพยากฤต
อันใดนีเ้ รียกว่าวาจา;
ยา ตาย วาจาย วิญċ ฺ ตฺติ วิญċ ฺ าปนา วิċċ
ฺ าปิตตฺต;ํ
การแสดงให้รคู้ วามหมาย กิรยิ าทีแ่ สดงให้รคู้ วามหมาย ความแสดงให้ร-ู้
ความหมายด้วยวาจานัน้ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าวจีวญ ิ ญัต.ิ
อากาสธาตุ.
[๖๓๗] กตมนฺตํ รูปํ อากาสธาตุ?
[๖๓๗] รูปทีเ่ รียกว่าอากาสธาตุนน้ั เป็นไฉน?
416

โย อากาโส อากาสคตํ , อฆํ อฆคตํ วิวโร วิวรคตํ, อสมฺผฏุ Ęฺ ํ จตูหิ


มหาภูเตหิ;
อากาศธรรมชาติอนั นับว่าอากาศ ความว่างเปล่า ธรรมชาติอนั นับว่าความ-
ว่างเปล่า ช่องว่าง ธรรมชาติอนั นับว่าช่องว่าง อันมหาภูตรูป ๔ ไม่ถกู ต้อง-
แล้วอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ อากาสธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าอากาสธาตุ.
ลหุตารูป.
[๖๓๘] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส ลหุตา?
[๖๓๘] รูปทีเ่ รียกว่ารูปลหุตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส ลหุตา ลหุปริณามตา อทนฺธนตา อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่หนักแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส ลหุตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปลหุตา.
มุทตุ ารูป.
[๖๓๙] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส มุทตุ า?
[๖๓๙] รูปทีเ่ รียกว่ารูปมุทตุ านัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส มุทตุ า มทฺทวตา อกกฺขฬตา อกถินตา;
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่แข็ง ความไม่กระด้าง แห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส มุทตุ า.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปมุทตุ า.
กัมมัญญตารูป.
[๖๔๐] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา?
[๖๔๐] รูปทีเ่ รียกว่ารูปกัมมัญญตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงาน แห่งรูป
417

อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปกัมมัญญตา.
อุปจยรูป.
[๖๔๑] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส อุปจโย?
[๖๔๑] รูปทีเ่ รียกว่ารูปอุปจยะนัน้ เป็นไฉน?
โย อายตนานํ อาจโย, โส รูปสฺส อุปจโย;
ความสัง่ สมแห่งอายตนะทัง้ หลายอันใดอันนัน้ เป็นความเกิดแห่งรูป;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส อุปจโย.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปอุปจยะ.
สันตติรปู .
[๖๔๒] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส สนฺตติ?
[๖๔๒] รูปทีเ่ รียกว่ารูปสันตตินน้ั เป็นไฉน?
โย รูปสฺส อุปจโย, สา รูปสฺส สนฺตติ;
ความเกิดแห่งรูปอันใดอันนัน้ เป็นความสืบต่อแห่งรูป;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส สนฺตติ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปสันตติ.
ชรตารูป.
[๖๔๓] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส ชรตา?
[๖๔๓] รูปทีเ่ รียกว่ารูปชรตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส ชรา ชีรณตา ขณฺฑจิ จฺ ํ ปาลิจจฺ ํ วลิตตฺ จตา, อายุโน สํหานิ อินทฺ รฺ ยิ านํ
ปริปาโก;
ความชรา ความคร่ำคร่า ความมีฟนั หลุด ความมีผมหงอก ความมีหนัง-
เหีย่ ว ความเสือ่ มอายุ ความหง่อมแห่งอินทรียแ์ ห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส ชรตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปชรตา.
418

อนิจจตารูป.
[๖๔๔] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา?
[๖๔๔] รูปทีเ่ รียกว่ารูปอนิจจตานัน้ เป็นไฉน?
โย รูปสฺส ขโย วโย เภโท ปริเภโท อนิจจฺ ตา อนฺตรธานํ;
ความสิน้ ไป ความเสือ่ มไป ความแตก ความทำลาย ความไม่เทีย่ ง ความ-
อันตรธานแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปอนิจจตา.
กวฬิงการาหารรูป.
[๖๔๕] กตมนฺตํ รูปํ กพฬึกาโร อาหาโร?
[๖๔๕] รูปทีเ่ รียกว่ากพฬิงการาหารนัน้ เป็นไฉน?
โอทโน กุมมฺ าโส สตฺตุ มจฺโฉ มํสํ ขีรํ ทธิ, สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต;ํ
ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนือ้ นมสด นมส้ม เนยใส เนยข้น
น้ำมัน น้ำผึง้ น้ำอ้อย
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูป,ํ ยมฺหิ ยมฺหิ ชนปเท เตสํ เตสํ สตฺตานํ มุขาสิยํ
ทนฺตวิขาทนํ คลชฺโฌหรณียํ กุจฉฺ วิ ติ ถฺ มฺภนํ, ยาย โอชาย สตฺตา ยาเปนฺต;ิ
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูอ่ นั เป็นของใส่ปากขบเคีย้ ว กลืนกิน อิม่ ท้อง
ของสัตว์นน้ั ๆ ในชนบทใดๆ สัตว์ทง้ั หลายเลีย้ งชีวติ ด้วยโอชาอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ากพฬิงการาหาร.
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทา.
อุปาทาภาชนีย.ํ
อุปาทาภาชนียจ์ บ.
รูปกณฺเฑ ปĘมภาณวารํ.
ปฐมภาณวารในรูปกัณฑ์จบ.
419

อนุปาทารูป.
[๖๔๖] กตมนฺตํ รูปํ โนอุปาทา?
[๖๔๖] รูปเป็นอนุปาทานัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ.
โผฏฐัพพายตนะอาโปธาตุ.
[๖๔๗] กตมนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ?
[๖๔๗] รูปทีเ่ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ปĘวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ กกฺขฬํ มุทกุ ํ สณฺหํ ผรุสํ สุขสมฺผสฺสํ ทุกขฺ สมฺ-
ผสฺสํ ครุกํ ลหุก;ํ
ปฐวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุทแ่ี ข็งอ่อน ละเอียด หยาบ มีสมั ผัสสบาย
มีสมั ผัสไม่สบาย หนัก เบา;
ยํ โผฏฺĘพฺพํ อนิทสฺสนํ สปฺปฏิฆํ กาเยน อนิทสฺสเนน สปฺปฏิเฆน ผุสิ วา,
ผุสติ วา, ผุสสิ สฺ ติ วา, ผุเส วา;
สัตว์นถ้ี กู ต้องแล้ว หรือถูกต้องอยู่ หรือจักถูกต้อง หรือพึงถูกต้องซึง่ โผฏ-
ฐัพพะใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ดว้ ยกายอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้
แต่กระทบได้;
โผฏฺĘพฺโพเปโส โผฏฺĘพฺพายตนํเปตํ โผฏฺĘพฺพธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพะบ้าง โผฏฐัพพายตนะบ้าง โผฏฐัพพธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะ.
[๖๔๘] กตมนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ?
[๖๔๘] รูปทีเ่ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ปĘวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ กกฺขฬํ มุทกุ ํ สณฺหํ ผรุสํ สุขสมฺผสฺสํ ทุกขฺ สมฺ-
ผสฺสํ ครุกํ ลหุก;ํ
ปฐวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ทีแ่ ข็ง อ่อน ละเอียด หยาบ มีสมั ผัสสบาย
มีสมั ผัสไม่สบาย หนัก เบา;
420

ยมฺหิ โผฏฺĘพฺพมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ กาโย อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ


ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
กายอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่ หรือ-
จักกระทบ หรือพึงกระทบทีโ่ ผฏฐัพพะใดอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบ-
ได้;
โผฏฺĘพฺโพเปโส โผฏฺĘพฺพายตนํเปตํ โผฏฺĘพฺพธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพะบ้าง โผฏฐัพพายตนะบ้าง โผฏฐัพพธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะ.
[๖๔๙] กตมนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ?
[๖๔๙] รูปทีเ่ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ปĘวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ, กกฺขฬํ มุทกุ ํ สณฺหํ ผรุสํ สุขสมฺผสฺสํ ทุกขฺ ส
ครุกํ ลหุก;ํ
ปฐวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ทีแ่ ข็ง อ่อน ละเอียด หยาบ มีสมั ผัสสบาย
มีสมั ผัสไม่สบาย หนัก เบา,
โย โผฏฺĘพฺโพ อนิทสฺสโน สปฺปฏิโฆ กายมฺหิ อนิทสฺสนมฺหิ สปฺปฏิฆมฺหิ
ปฏิหċฺċิ วา, ปฏิหċฺċติ วา, ปฏิหċฺċสิ สฺ ติ วา, ปฏิหċฺเċ วา;
โผฏฐัพพะใดเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้ กระทบแล้ว หรือกระทบอยู่
หรือจักกระทบ หรือพึงกระทบทีก่ ายอันเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้;
โผฏฺĘพฺโพเปโส โผฏĘพฺพายตนํเปตํ โผฏฺĘพฺพธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพะบ้าง โผฏฐัพพายตนะบ้าง โผฏฐัพพธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะ.
[๖๕๐] กตมนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ?
[๖๕๐] รูปทีเ่ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
421

ปĘวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ, กกฺขฬํ มุทกุ ํ สณฺหํ ผรุสํ สุขสมฺผสฺสํ


ทุกขฺ สมฺผสฺสํ ครุกํ ลหุก;ํ
ปฐวีธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ทีแ่ ข็ง อ่อน ละเอียด หยาบ มีสมั ผัสสบาย
มีสมั ผัสไม่สบาย หนัก เบา,
ยํ โผฏฺĘพฺพํ อารพฺภ กายํ นิสสฺ าย กายสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ วา,
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํ โผฏฺĘพฺพํ อารพฺภ กายํ นิสสฺ าย
กายสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ กายวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
เพราะปรารภโผฏฐัพพะใดกายสัมผัสอาศัยกาย เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่
หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เพราะปรารภโผฏฐัพพะใดเวทนาอัน-
เกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ กายวิญญาณอาศัยกายเกิด-
ขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
ฯเปฯ ยํ โผฏฺĘพฺพารมฺมโณ กายํ นิสสฺ าย กายสมฺผสฺโส อุปปฺ ชฺชิ วา, อุปปฺ ชฺชติ
วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา; ฯเปฯ ยํโผฏฺĘพฺพารมฺมณา กายํ นิสสฺ าย
กายสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ สċฺċา ฯเปฯ เจตนา ฯเปฯ กายวิċċ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชิ
วา, อุปปฺ ชฺชติ วา, อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ วา, อุปปฺ ชฺเช วา;
ฯลฯ กายสัมผัสมีโผฏฐัพพะใดเป็นอารมณ์อาศัยกายเกิดขึน้ แล้ว หรือเกิด-
ขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ
สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ กายวิญญาณมีโผฏฐัพพะใดเป็นอารมณ์อาศัยกาย
เกิดขึน้ แล้ว หรือเกิดขึน้ อยู่ หรือจักเกิดขึน้ หรือพึงเกิดขึน้ ;
โผฏฺĘพฺโพเปโส โผฏĘพฺพายตนํเปตํ โผฏฺĘพฺพธาตุเปสา;
นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพะบ้าง โผฏฐัพพายตนะบ้าง โผฏฐัพพธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ โผฏฺพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะ.
อาโปธาตุ.
[๖๕๑] กตมนฺตํ รูปํ อาโปธาตุ?
422

[๖๕๑] รูปทีเ่ รียกว่าอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?


ยํ อาโป อาโปคตํ , สิเนโห สิเนหคตํ พนฺธนตฺตํ รูปสฺส;
ความเอิบอาบ ธรรมชาติทเ่ี อิบอาบ ความเหนียว ธรรมชาติทเ่ี หนียว
ธรรมชาติเครือ่ งเกาะกุมรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ อาโปธาตุ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าอาโปธาตุ.
อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทา.
อุปาทินนรูป.
[๖๕๒] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ?ํ
[๖๕๒] รูปเป็นอุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ โสตายตนํ ฆานายตนํ ชิวหฺ ายตนํ กายายตนํ , อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ อิตถินทรีย์
ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ, อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ,
กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพาย-
ตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหาร
ทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะ.
อนุปาทินนรูป.
[๖๕๓] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ?ํ
423

[๖๕๓] รูปเป็นอนุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?


สทฺทายตนํ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพา-
ยตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหาร ทีก่ รรมมิได้-
แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะ.
อุปาทินนุปาทานิยรูป.
[๖๕๔] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๖๕๔] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ, อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพา-
ยตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
424

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ.


อนุปาทินนุปาทานิยรูป.
[๖๕๕] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๖๕๕] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ สทฺทายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ, อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ สัทธายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ.
สนิทสั สนรูป.
[๖๕๖] กตมนฺตํ รูปํ สนิทสฺสนํ?
[๖๕๖] รูปเป็นสนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ สนิทสฺสนํ.
รูปายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นสนิทสั สนะ.
อนิทสั สนรูป.
[๖๕๗] กตมนฺตํ รูปํ อนิทสฺสนํ?
[๖๕๗] รูปเป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
425

จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;


อิทนฺตํ รูปํ อนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนิทสั สนะ.
สัปปฏิฆรูป.
[๖๕๘] กตมนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆ?ํ
[๖๕๘] รูปเป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ โสตายตนํ ฆานายตนํ ชิวหฺ ายตนํ กายายตนํ, รูปายตนํ สทฺทายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ
สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นสัปปฏิฆะ.
อัปปฏิฆรูป.
[๖๕๙] กตมนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆ?ํ
[๖๕๙] รูปเป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอัปปฏิฆะ.
อินทริยรูป.
[๖๖๐] กตมนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๖๖๐] รูปเป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ กายินทฺ รฺ ยิ ,ํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ
ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์
ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
426

อิทนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ .ํ


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอินทรีย.์
อนินทริยรูป.
[๖๖๑] กตมนฺตํ รูปํ นอินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๖๖๑] รูปทีไ่ ม่เป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ นอินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอินทรีย.์
มหาภูตรูป.
[๖๖๒] กตมนฺตํ รูปํ มหาภูต?ํ
[๖๖๒] รูปเป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุ;
อิทนฺตํ รูปํ มหาภูตํ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นมหาภูต.
นมหาภูตรูป.
[๖๖๓] กตมนฺตํ รูปํ นมหาภูต?ํ
[๖๖๓] รูปไม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ นมหาภูตํ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นมหาภูต.
วิญญัตติรปู .
[๖๖๔] กตมนฺตํ รูปํ วิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๖๖๔] รูปเป็นวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
427

กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċฺ ตฺต;ิ


กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิทนฺตํ รูปํ วิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปนีเ้ รียกว่ารูปเป็นวิญญัต.ิ
นวิญญัตติรปู .
[๖๖๕] กตมนฺตํ รูปํ รูปวํ ċ ิ ċ
ฺ ตฺต?ิ
[๖๖๕] รูปไม่เป็นวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร.
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ นวิċċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นวิญญัต.ิ
จิตตสมุฏฐานรูป.
[๖๖๖] กตมนฺตํ รูปํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ?
[๖๖๖] รูปเป็นจิตตสมุฏฐานนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จิตตฺ ชํ จิตตฺ เหตุกํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยู่ ทีเ่ กิดแต่จติ มีจติ เป็นเหตุ มีจติ เป็นสมุฏฐาน,
รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ,
ได้แก่รปู ายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ
รูปสันตติ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นจิตตสมุฏฐาน.
428

นจิตตสมุฏฐานรูป.
[๖๖๗] กตมนฺตํ รูปํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ?
[๖๖๗] รูปไม่เป็นจิตตสมุฏฐานนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ, อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ รูปสฺส ชรตา
รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ รูปชรตา
รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น จิตตฺ ชํ น จิตตฺ เหตุกํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ,
รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูท่ ไ่ี ม่เกิดแต่จติ ไม่มจี ติ เป็นเหตุไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐาน
ได้แก่รปู ายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ
รูปสันตติ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นจิตสมุฏฐาน.
จิตตสหภูรปู .
[๖๖๘] กตมนฺตํ รูปํ จิตตฺ สหภุ,
[๖๖๘] รูปเป็นจิตตสหภูนน้ั เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิทนฺตํ รูปํ จิตตฺ สหภุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นจิตตสหภู.
นจิตตสหภูรปู .
[๖๖๙] กตมนฺตํ รูปํ น จิตตฺ สหภุ?
429

[๖๖๙] รูปไม่เป็นจิตตสหภูนน้ั เป็นไฉน?


จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น จิตตฺ สหภุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นจิตตสหภู.
จิตตานุปริวตั ติรปู .
[๖๗๐] กตมนฺตํ รูปํ จิตตฺ านุปริวตฺต?ิ
[๖๗๐] รูปเป็นจิตตานุปริวตั นิ น้ั เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิทนฺตํ รูปํ จิตตฺ านุปริวตฺติ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นจิตตานุปริวตั .ิ
นจิตตานุปริวตั ติรปู .
[๖๗๑] กตมนฺตํ รูปํ น จิตตฺ านุปริวตฺต?ิ
[๖๗๑] รูปไม่เป็นจิตตานุปริวตั นิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น จิตตฺ านุปริวตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นจิตตานุปริวตั .ิ
อัชฌัตติกรูป.
[๖๗๒] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ?ํ
[๖๗๒] รูปเป็นภายในนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นภายใน.
430

พาหิรรูป.
[๖๗๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิร?ํ
[๖๗๓] รูปเป็นภายนอกนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิร.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นภายนอก.
โอฬาริกรูป.
[๖๗๔] กตมนฺตํ รูปํ โอฬาริก?ํ
[๖๗๔] รูปหยาบนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปหยาบ.
สุขมุ รูป.
[๖๗๕] กตมนฺตํ รูปํ สุขมุ ?ํ
[๖๗๕] รูปละเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปละเอียด.
ทูเรรูป.
[๖๗๖] กตมนฺตํ รูปํ ทูเร?
[๖๗๖] รูปไกลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
431

อิทนฺตํ รูปํ ทูเร.


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไกล.
สันติเกรูป.
[๖๗๗] กตมนฺตํ รูปํ สนฺตเิ ก?
[๖๗๗] รูปใกล้นน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปใกล้.
ปกิณณกทุกจบ.
วัตถุทกุ ะ.
[๖๗๘] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส วตฺถ?ุ
[๖๗๘] รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส วตฺถ.ุ
จักขายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัส.
[๖๗๙] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ?ุ
[๖๗๙] รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสนัน้ ไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
โสตายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัส.
[๖๘๐] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ จกฺขวุ ญิ ċฺ าณสฺส วตฺถ?ุ
[๖๘๐] รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ
ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส วตฺถ.ุ
432

จักขายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญิ ญาณ.


[๖๘๑] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น วตฺถ?ุ
[๖๘๑] รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
โสตายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญิ ญาณ.
[๖๘๒] กตมนฺตํ รูปํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ชิวหฺ าสมฺผสฺ-
สสฺส ฯเปฯ กายสมฺผสฺสสฺส วตฺถ?ุ
[๖๘๒] รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ ของชิวหา
สัมผัส ฯลฯ ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
กายายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส วตฺถ.ุ
กายายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัส.
[๖๘๓] กตมนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ?ุ
[๖๘๓] รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัส.
[๖๘๔] กตมนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส วตฺถ?ุ
[๖๘๔] รูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ
ของเจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
กายายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส วตฺถ.ุ
กายายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณ.
[๖๘๕] กตมนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ?ุ
433

[๖๘๕] รูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?


จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณ,
[๖๘๖] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ?
[๖๘๖] รูปเป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ.
รูปายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัส.
วัตถุทกุ จบ.
อารัมมณทุกะ.
[๖๘๗] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ?
[๖๘๗] รูปไม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัส.
[๖๘๘] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ จกฺขวุ ญ
ิ ċ ฺ าณสฺส อารมฺมณํ?
[๖๘๘] รูปเป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ
ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส อารมฺมณํ .
รูปายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณ.
[๖๘๙] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ?
[๖๘๙] รูปไม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
434

จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;


อิทนฺตํ รูปํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ
ิ ญาณ
[๖๙๐] กตมนฺตํ รูปํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺสฯเปฯ ชิวหฺ าสมฺผสฺ-
สสฺส ฯเปฯ กายสมฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ?
[๖๙๐] รูปเป็นอารมณ์ของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ ของชิวหาสัมผัส
ฯลฯ ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺĘพฺพายตนํ อิทนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอารมณ์ของกายสัมผัส.
[๖๙๑] กตมนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ?
[๖๙๑] รูปไม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัส.
[๖๙๒] กตมนฺตํ รูปํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ เจตนาย
ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส อารมฺมณํ?
[๖๙๒] รูปเป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญญา ฯลฯ
ของเจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส อารมฺมณํ.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอารมณ์ของกายวิญญาณ.
[๖๙๓] กตมนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ?
[๖๙๓] รูปไม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
435

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณ.


อารัมมณทุกจบ.
อายตนทุกะ.
[๖๙๔] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ?
[๖๙๔] รูปเป็นจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นจักขายตนะ.
[๖๙๕] กตมนฺตํ รูปํ น จกฺขายตนํ?
[๖๙๕] รูปไม่เป็นจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
โสตายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นจักขายตนะ.
[๖๙๖] กตมนฺตํ รูปํ โสตายตนํ ฯเปฯ ฆานายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ ฯเปฯ
กายายตนํ?
[๖๙๖] รูปเป็นโสตายตนะ ฯลฯ เป็นฆานายตนะ ฯลฯ เป็นชิวหายตนะ ฯลฯ
เป็นกายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่ากายบ้าง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นกายายตนะ.
[๖๙๗] กตมนฺตํ รูปํ น กายายตนํ?
[๖๙๗] รูปไม่เป็นกายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
436

จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;


อิทนฺตํ รูปํ น กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นกายายตนะ.
[๖๙๘] กตมนฺตํ รูปํ รูปายตนํ?
[๖๙๘] รูปเป็นรูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา ฯเปฯ รูปธาตุเปสา;
รูปใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ ฯลฯ นีเ้ รียกว่ารูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุ-
บ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปายตนะ.
[๖๙๙] กตมนฺตํ รูปํ น รูปายตนํ?
[๖๙๙] รูปไม่เป็นรูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปายตนะ.
[๗๐๐] กตมนฺตํ รูปํ สทฺทายตนํ ฯเปฯ คนฺธายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ ฯเปฯ
โผฏĘพฺพายตนํ?
[๗๐๐] รูปเป็นสัททายตนะ ฯลฯ เป็นคันธายตนะ ฯลฯ เป็นรสายตนะ ฯลฯ เป็น-
โผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ปĘวีธาตุ ฯเปฯ โผฏĘพฺพธาตุเปสา;
ปฐวีธาตุ ฯลฯ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพะบ้าง โผฏฐัพพายตนะบ้าง โผฏฐัพพ-
ธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นโผฏฐัพพายตนะ.
[๗๐๑] กตมนฺตํ รูปํ น โผฏฺĘพฺพายตนํ?
437

[๗๐๑] รูปไม่เป็นโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?


จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น โผฏĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นโผฏฐัพพายตนะ.
อายตนทุกจบ.
ธาตุทกุ ะ.
[๗๐๒] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขธุ าตุ?
[๗๐๒] รูปเป็นจักขุธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ จกฺขธุ าตุ.
จักขายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นจักขุธาตุ.
[๗๐๓] กตมนฺตํ รูปํ น จกฺขธุ าตุ?
[๗๐๓] รูปไม่เป็นจักขุธาตุนน้ั เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
โสตายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น จกฺขธุ าตุ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นจักขุธาตุ.
[๗๐๔] กตมนฺตํ รูปํ โสตธาตุ ฯเปฯ ฆานธาตุ ฯเปฯ ชิวหฺ าธาตุ ฯเปฯ กายธาตุ?
[๗๐๔] รูปเป็นโสตธาตุ ฯลฯ เป็นฆานธาตุ ฯลฯ เป็นชิวหาธาตุ ฯลฯ เป็นกายธาตุ-
นัน้ เป็นไฉน?
กายายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ กายธาตุ.
กายายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นกายธาตุ.
[๗๐๕] กตมนฺตํ รูปํ น กายธาตุ?
[๗๐๕] รูปไม่เป็นกายธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
438

อิทนฺตํ รูปํ น กายธาตุ.


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นกายธาตุ.
[๗๐๖] กตมนฺตํ รูปํ รูปธาตุ?
[๗๐๖] รูปเป็นรูปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ รูปธาตุ.
รูปายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปธาตุ.
[๗๐๗] กตมนฺตํ รูปํ น รูปธาตุ?
[๗๐๗] รูปไม่เป็นรูปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น รูปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปธาตุ.
[๗๐๘] กตมนฺตํ รูปํ สทฺทธาตุ ฯเปฯ คนฺธธาตุ ฯเปฯ รสธาตุ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพธาตุ?
[๗๐๘] รูปเป็นสัททธาตุ ฯลฯ เป็นคันธธาตุ ฯลฯ เป็นรสธาตุ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพ-
ธาตุเป็นไฉน?
โผฏฺĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ โผฏฺĘพฺพธาตุ.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นโผฏฐัพพธาตุ.
[๗๐๙] กตมนฺตํ รูปํ น โผฏฺĘพฺพธาตุ?
[๗๐๙] รูปไม่เป็นโผฏฐัพพธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น โผฏฺĘพฺพธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นโผฏฐัพพธาตุ.
ธาตุทกุ จบ.
อินทริยทุกะ.
[๗๑๐] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
439

[๗๑๐] รูปเป็นจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?


ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นจักขุนทรีย.์
[๗๑๑] กตมนฺตํ รูปํ นจกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๑] รูปไม่เป็นจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
โสตายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นจักขุนทรีย.์
[๗๑๒] กตมนฺตํ รูปํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ
กายินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๒] รูปเป็นโสตินทรีย์ ฯลฯ เป็นฆานินทรีย์ ฯลฯ เป็นชิวหินทรีย์ ฯลฯ เป็น-
กายินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่ากายบ้าง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นกายินทรีย.์
[๗๑๓] กตมนฺตํ รูปํ น กายินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๓] รูปไม่เป็นกายินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นกายินทรีย.์
[๗๑๔] กตมนฺตํ รูปํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
440

[๗๑๔] รูปเป็นอิตถินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?


ยํ อิตถฺ ยิ า อิตถฺ ลี งิ คฺ ํ อิตถฺ นี มิ ติ ตฺ ํ อิตถฺ กี ตุ ตฺ ํ อิตถฺ ากปฺโป อิตถฺ ติ ตฺ ํ อิตถฺ ภี าโว;
ทรวดทรงหญิง เครือ่ งหมายให้รวู้ า่ หญิง กิรยิ าหญิง อาการหญิง สภาพหญิง
ภาวะหญิงของหญิงปรากฏได้ดว้ ยเหตุใด;
อิทนฺตํ รูปํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอิตถินทรีย.์
[๗๑๕] กตมนฺตํ รูปํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๕] รูปไม่เป็นอิตถินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอิตถินทรีย.์
[๗๑๖] กตมนฺตํ รูปํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๖] รูปเป็นปุรสิ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ ปุรสิ สฺส ปุรสิ ลิงคฺ ํ ปุรสิ นิมติ ตฺ ํ ปุรสิ กุตตฺ ํ ปุรสิ ากปฺโป ปุรสิ ตฺตํ ปุรสิ ภาโว;
ทรวดทรงชาย เครือ่ งหมายให้รวู้ า่ ชาย กิรยิ าชาย อาการชาย สภาพชาย
ภาวะของชายปรากฏได้ดว้ ยเหตุใด;
อิทนฺตํ รูปํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นปุรสิ นิ ทรีย.์
[๗๑๗] กตมนฺตํ รูปํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๗] รูปไม่เป็นปุรสิ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นปุรสิ นิ ทรีย.์
[๗๑๘] กตมนฺตํ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
441

[๗๑๘] รูปเป็นชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?


โย เตสํ รูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา,
ชีวติ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ ของรูป-
ธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นชีวติ นิ ทรีย.์
[๗๑๙] กตมนฺตํ รูปํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๑๙] รูปไม่เป็นชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นชีวติ นิ ทรีย์
อินทริยทุกจบ.
สุขมุ รูปทุกะ.
[๗๒๐] กตมนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๗๒๐] รูปเป็นกายวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
ยา กุสลจิตตฺ สฺส วา อกุสลจิตตฺ สฺส วา อพฺยากตจิตตฺ สฺส วา อภิกกฺ มนฺตสฺส
วา ปฏิกกฺ มนฺตสฺส วา อาโลเกนฺตสฺส วา วิโลเกนฺตสฺส วา สมฺมċ ิ เฺ ชนฺตสฺส วา
ปสาเรนฺตสฺส วา กายสฺส ถมฺภนา สนฺถมฺภนา สนฺถมฺภติ ตฺตํ วิญċ ฺ ตฺติ
วิญċ
ฺ าปนา วิċċ ฺ าปิตตฺต;ํ
การเคร่งตึง กิรยิ าทีเ่ คร่งตึงด้วยดี ความทีเ่ คร่งตึงด้วยดี การแสดงให้รคู้ วาม-
หมาย กิรยิ าทีแ่ สดงให้รคู้ วามหมาย ความแสดงให้รคู้ วามหมาย แห่งกาย-
ของบุคคลผูม้ จี ติ เป็นกุศล หรือมีจติ เป็นอกุศล หรือมีจติ เป็นอัพยากฤต
ก้าวไปอยู่ ถอยกลับอยู่ แลดูอยู่ เหลียวซ้ายแล ขวาอยู่ คูเ้ ข้าอยู่ หรือเหยียด-
442

ออกอยูอ่ นั ใด;
อิทนฺตํ รูปํ กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นกายวิญญัต.ิ
[๗๒๑] กตมนฺตํ รูปํ น กายวิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๗๒๑] รูปไม่เป็นกายวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นกายวิญญัต.ิ
[๗๒๒] กตมนฺตํ รูปํ วจีวญ ิ ċ ฺ ตฺต?ิ
[๗๒๒] รูปเป็นวจีวญ ิ ญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
ยา กุสลจิตตฺ สฺส วา อกุสลจิตตฺ สฺส วา อพฺยากตจิตตฺ สฺส วา วาจา คิรา
พฺยปฺปโถ อุทรี ณํ โฆโส โฆสกมฺมํ วาจา วจีเภโท อยํ วุจจฺ ติ วาจา;
การพูด การเปล่งวาจา การเจรจา การกล่าว การป่าวร้อง การโฆษณา วาจา
วจีเภทแห่งบุคคลผูม้ จี ติ เป็นกุศล หรือมีจติ เป็นอกุศล หรือมีจติ เป็นอัพยากฤต
อันใดนีเ้ รียกว่าวาจา;
ยา ตาย วาจาย วิญċ ฺ ตฺติ วิญċ ฺ าปนา วิċċฺ าปิตตฺต;ํ
การแสดงให้รคู้ วามหมาย กิรยิ าทีแ่ สดงให้รคู้ วามหมาย ความแสดงให้ร-ู้
ความหมายด้วยวาจานัน้ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นวจีวญ ิ ญัติ
[๗๒๓] กตมนฺตํ รูปํ น วจีวญ ิ ċ ฺ ตฺต?ิ
[๗๒๓] รูปไม่เป็นวจีวญ ิ ญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น วจีวญ ิ ċฺ ตฺต.ิ
443

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นวจีวญ


ิ ญัต.ิ
[๗๒๔] กตมนฺตํ รูปํ อากาสธาตุ?
[๗๒๔] รูปเป็นอากาสธาตุนน้ั เป็นไฉน?
โย อากาโส อากาสคตํ, อฆํ อฆคตํ วิวโร วิวรคตํ, อสมฺผฏุ Ęฺ ํ จตูหิ มหาภูเตหิ;
อากาศธรรมชาติอนั นับว่าอากาศ ความว่างเปล่า ธรรมชาติอนั นับว่าความ
ว่างเปล่า ช่องว่าง ธรรมชาติอนั นับว่าช่องว่าง อันมหาภูตรูป ๔ ไม่ถกู ต้อง-
แล้วอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ อากาสธาตุ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอากาศธาตุ.
[๗๒๕] กตมนฺตํ รูปํ น อากาสธาตุ?
[๗๒๕] รูปไม่เป็นอากาสธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น อากาสธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอากาศธาตุ.
[๗๒๖] กตมนฺตํ รูปํ อาโปธาตุ?
[๗๒๖] รูปเป็นอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
ยํ อาโป อาโปคตํ สิเนโห สิเนหคตํ พนฺธนตฺตํ รูปสฺส;
ความเอิบอาบ ธรรมชาติทเ่ี อิบอาบ ความเหนียว ธรรมชาติทเ่ี หนียว ธรรม-
ชาติเครือ่ งเกาะกุมรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ อาโปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอาโปธาตุ.
[๗๒๗] กตมนฺตํ รูปํ น อาโปธาตุ?
[๗๒๗] รูปไม่เป็นอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
444

อิทนฺตํ รูปํ น อาโปธาตุ.


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอาโปธาตุ.
[๗๒๘] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส ลหุตา?
[๗๒๘] รูปเป็นรูปลหุตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส ลหุตา ลหุปริณามตา อทนฺธนตา อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่หนักแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส ลหุตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปลหุตา.
[๗๒๙] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น ลหุตา?
[๗๒๙] รูปไม่เป็นรูปลหุตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น ลหุตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปลหุตา.
[๗๓๐] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส มุทตุ า?
[๗๓๐] รูปเป็นรูปมุทตุ านัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส มุทตุ า มทฺทวตา อกกฺขฬตา อกถินตา อิทนฺต;ํ
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่แข็ง ความไม่กระด้าง แห่งรูปอันใด;
รูปํ รูปสฺส มุทตุ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปมุทตุ า.
[๗๓๑] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น มุทตุ า?
[๗๓๑] รูปไม่เป็นรูปมุทตุ านัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น มุทตุ า.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปมุทตุ า.
445

[๗๓๒] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา?


[๗๓๒] รูปเป็นรูปกัมมัญญตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงานแห่งรูป
อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปกัมมัญญตา.
[๗๓๓] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา?
[๗๓๓] รูปไม่เป็นรูปกัมมัญญตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปกัมมัญญตา.
[๗๓๔] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส อุปจโย?
[๗๓๔] รูปเป็นรูปอุปจยะนัน้ เป็นไฉน?
โย อายตนานํ อาจโย โส รูปสฺส อุปจโย;
ความสัง่ สมแห่งอายตนะทัง้ หลายอันใดอันนัน้ เป็นความเกิดแห่งรูปนัน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส อุปจโย.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปอุปจยะ.
[๗๓๕] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น อุปจโย?
[๗๓๕] รูปไม่เป็นรูปอุปจยะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น อุปจโย.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปอุปจยะ.
[๗๓๖] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส สนฺตติ?
446

[๗๓๖] รูปเป็นรูปสันตตินน้ั เป็นไฉน?


โย รูปสฺส อุปจโย สา รูปสฺส สนฺตติ;
ความเกิดแห่งรูปอันใดอันนัน้ เป็นความสืบต่อแห่งรูป;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส สนฺตติ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปสันตติ.
[๗๓๗] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น สนฺตติ?
[๗๓๗] รูปไม่เป็นรูปสันตตินน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น สนฺตติ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปสันตติ.
[๗๓๘] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส ชรตา?
[๗๓๘] รูปเป็นรูปชรตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส ชรา ชีรณตา ขณฺฑจิ จฺ ํ ปาลิจจฺ ํ วลิตตฺ จตา, อายุโน สํหานิ
อินทฺ รฺ ยิ านํ ปริปาโก;
ความชรา ความคร่ำคร่า ความมีฟนั หลุด ความมีผมหงอก ความมีหนัง-
เหีย่ ว ความเสือ่ มอายุ ความหง่อมแห่งอินทรียแ์ ห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส ชรตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปชรตา.
[๗๓๙] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น ชรตา?
[๗๓๙] รูปไม่เป็นรูปชรตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น ชรตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปชรตา.
[๗๔๐] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา?
447

[๗๔๐] รูปเป็นรูปอนิจจตานัน้ เป็นไฉน?


โย รูปสฺส ขโย วโย เภโท ปริเภโท อนิจจฺ ตา อนฺตรธานํ;
ความสิน้ ไป ความเสือ่ มไป ความแตก ความทำลาย ความไม่เทีย่ ง ความ-
อันตรธานแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นรูปอนิจจตา.
[๗๔๑] กตมนฺตํ รูปํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา?
[๗๔๑] รูปไม่เป็นรูปอนิจจตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นรูปอนิจจตา.
[๗๔๒] กตมนฺตํ รูปํ กพฬึกาโร อาหาโร?
[๗๔๒] รูปเป็นกพฬิงการาหารนัน้ เป็นไฉน?
โอทโน กุมมฺ าโส สตฺตุ มจฺโฉ มํสํ ขีรํ ทธิ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต;ํ
ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนือ้ นมสด นมส้ม เนยใส เนยข้น
น้ำมน น้ำผึง้ น้ำอ้อย;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูป,ํ ยมฺหิ ยมฺหิ ชนปเท เตสํ เตสํ สตฺตานํ มุขาสิยํ
ทนฺตวิขาทนํ คลชฺโฌหรณียํ กุจฉฺ วิ ติ ถฺ มฺภนํ, ยาย โอชาย สตฺตา ยาเปนฺต;ิ
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูอ่ นั เป็นของใส่ปากขบเคีย้ ว กลืนกิน อิม่ ท้องของสัตว์-
นัน้ ๆ ในชนบทใดๆ สัตว์ทง้ั หลายเลีย้ งชีวติ ด้วยโอชาอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นกพฬิงการาหาร.
[๗๔๓] กตมนฺตํ รูปํ น กพฬึกาโร อาหาโร?
[๗๔๓] รูปไม่เป็นกพฬิงการาหารนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ รูปสฺส อนิจจฺ ตา; อิทนฺตํ รูปํ น กพฬึกาโร อาหาโร.
448

จักขายตนะ ฯลฯ รูปอนิจจตา รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นกพฬิงการาหาร.


เอวํทวุ เิ ธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๒ อย่างนี.้
ทุกนิทเฺ ทโส นิฏĘฺ โิ ต.
ทุกนิทเทสจบ.
ติกนิทเฺ ทศ.
ปกิณณ ฺ กติก.
อัชฌัตติกอุปาทาติก.
[๗๔๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อุปาทา?
[๗๔๔] รูปภายในเป็นอุปาทานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อุปาทา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในเป็นอุปาทา.
[๗๔๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อุปาทา?
[๗๔๕] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทานัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อุปาทา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทา.
[๗๔๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ โน อุปาทา?
[๗๔๖] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอนุปาทานัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ โน อุปาทา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอนุปาทา.
449

อัชฌัตติกอุปาทินนติก.
[๗๔๗] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อุปาทินนฺ ?ํ
[๗๔๗] รูปภายในเป็นอุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อุปาทินนฺ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในเป็นอุปาทินนะ.
[๗๔๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อุปาทินนฺ ?ํ
[๗๔๘] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพาย-
ตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่ง-
ขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อุปาทินนฺ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทินนะ.
[๗๔๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อนุปาทินนฺ ?ํ
[๗๔๙] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอนุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ, กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
450

ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ สทฺทายตนํ


คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมมิได้
แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อนุปาทินนฺ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอนุปาทินนะ.
อัชฌัตติกอุปาทินนุปาทานิยติก.
[๗๕๐] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๗๕๐] รูปภายในเป็นอุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ.
[๗๕๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๗๕๑] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพา-
ยตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
451

อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะ.
[๗๕๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อ นุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๗๕๒] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ, กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċ
ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ, อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส
สนฺตติ กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพา-
ยตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหาร
ทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อ นุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ.
อัชฌัตติกอนิทสั สนติก.
[๗๕๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อนิทสฺสนํ?
[๗๕๓] รูปภายในทีเ่ ป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อนิทสฺสน.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในเป็นอนิทสั สนะ.
[๗๕๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ สนิทสฺสนํ?
[๗๕๔] รูปภายนอกทีเ่ ป็นสนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ สนิทสฺสนํ.
452

รูปายตนะรูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นสนิทสั สนะ.


[๗๕๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อ นิทสฺสนํ?
[๗๕๕] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
สัททายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อ นิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอนิทสั สนะ.
อัชฌัตติกสัปปฏิฆติก.
[๗๕๖] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ สปฺปฏิฆ?ํ
[๗๕๖] รูปภายในเป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในเป็นสัปปฏิฆะ.
[๗๕๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ สปฺปฏิฆ?ํ
[๗๕๗] รูปภายนอกทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏฺพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
[๗๕๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อปฺปฏิฆ?ํ
[๗๕๘] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อปฺปฏิฆ.ํ
453

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.


อัชฌัตติกอินทริยติก.
[๗๕๙] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๕๙] รูปภายในเป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ อินทฺ รฺ ยิ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในเป็นอินทรีย.์
[๗๖๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๖๐] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อินถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอินทรีย.์
[๗๖๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๗๖๑] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อินทฺ รฺ ยิ .
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
อัชฌัตติกนมหาภูตติก.
[๗๖๒] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น มหาภูต?ํ
[๗๖๒] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นมหาภูตรูปเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ นมหาภูต.ํ
454

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นมหาภูต.


[๗๖๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ มหาภูต?ํ
[๗๖๓] รูปภายนอกเป็นมหาภูตรูปนัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตน ฯลฯ อาโปธาตุ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นมหาภูตรูป.
[๗๖๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น มหาภูต?ํ
[๗๖๔] รูปภายนอกไม่เป็นมหาภูตรูปนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นมหาภูตรูป.
อัชฌัตติกนวิญญัตติตกิ ะ.
[๗๖๕] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น วิċċ ฺ ตฺต?ิ
[๗๖๕] รูปภายในไม่เป็นวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น วิċċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นวิญญัต.ิ
[๗๖๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ วิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๗๖๖] รูปภายนอกทีเ่ ป็นวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ วิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นวิญญัต.ิ
455

[๗๖๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น วิċċ ฺ ตฺต?ิ


[๗๖๗] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น วิċċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นวิญญัต.ิ
อัชฌัตติกนจิตตสมุฏฐานติก.
[๗๖๘] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ?
[๗๖๘] รูปภายในไม่เป็นจิตตสมุฏฐานนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นจิตตสมุฏฐาน.
[๗๖๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ?
[๗๖๙] รูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสมุฏฐานนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จิตตฺ ชํ จิตตฺ เหตุกํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ, รูปายตนํ
สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ,
หรือแม้รปู อืน่ ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ
รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีเ่ กิดจากจิต มีจติ เป็นเหตุ มีจติ เป็นสมุฏฐาน;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
456

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสมุฏฐาน.


[๗๗๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ?
[๗๗๐] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นจิตตสมุฏฐานนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ,ํ รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย์ รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น จิตตฺ ชํ น จิตตฺ เหตุกํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ,
รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปลหุตา รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีไ่ ม่ได้เกิดจากจิต ไม่มจี ติ เป็นเหตุ ไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐาน;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นจิตตสมุฏฐาน.
อัชฌัตติกนจิตตสหภูตกิ ะ.
[๗๗๑] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จิตตฺ สหภุ?
[๗๗๑] รูปภายในไม่เป็นจิตตสหภูนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จิตตฺ สหภุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นจิตตสหภู.
[๗๗๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จิตตฺ สหภุ?
[๗๗๒] รูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสหภูนน้ั เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
457

อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จิตตฺ สหภุ.


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสหภู.
[๗๗๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จิตตฺ สหภุ?
[๗๗๓] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นจิตตสหภูนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จิตตฺ สหภุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตสหภู.
อัชฌัตติกนจิตตานุปริวตั ติตกิ ะ.
[๗๗๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จิตตฺ านุปริวตฺต?ิ
[๗๗๔] รูปภายในไม่เป็นจิตตานุปริวตั นิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จิตตฺ านุปริวตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นจิตตานุปริวตั .ิ
[๗๗๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จิตตฺ านุปริวตฺต?ิ
[๗๗๕] รูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตานุปริวตั นิ น้ั เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จิตตฺ านุปริวตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นจิตตานุปริวตั .ิ
[๗๗๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จิตตฺ านุปริวตฺต?ิ
[๗๗๖] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นจิตตานุปริวตั นิ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จิตตฺ านุปริวตฺต.ิ
458

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นจิตตานุปริวตั .ิ


อัชฌัตติกโอฬาริกติกะ.
[๗๗๗] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ โอฬาริก?ํ
[๗๗๗] รูปภายในทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีห่ ยาบ.
[๗๗๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ โอฬาริก?ํ
[๗๗๘] รูปภายนอกทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีห่ ยาบ.
[๗๗๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ สุขมุ ?ํ
[๗๗๙] รูปภายนอกทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีล่ ะเอียด.
อัชฌัตติกสันติเกติกะ.
[๗๘๐] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ สนฺตเิ ก?
[๗๘๐] รูปภายในทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ สนฺตเิ ก.
459

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีอ่ ยูใ่ กล้.


[๗๘๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ ทูเร?
[๗๘๑] รูปภายนอกทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีอ่ ยูไ่ กล.
[๗๘๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ สนฺตเิ ก?
[๗๘๒] รูปภายนอกทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏĘพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีอ่ ยูใ่ กล้.
วัตถุตกิ ะ.
พาหิรจักขุสมั ผัสสัสสนวัตถุตกิ ะ.
[๗๘๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๘๓] รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัส.
[๗๘๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส วตฺถ?ุ
[๗๘๔] รูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส วตฺถ.ุ
จักขายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัส.
[๗๘๕] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ?ุ
460

[๗๘๕] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?


โสตายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
โสตายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุสมั ผัส.

พาหิรจักขุสมั ผัสสชาเวทนายนวัตถุตกิ ะ.
[๗๘๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ
เจตนาย ฯเปฯ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๘๖] รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของ-
สัญญา ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปพํ าหิรํ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ ิ ญาณ.
[๗๘๗] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขวุ ญ ิ ċ ฺ าณสฺส วตฺถ?ุ
[๗๘๗] รูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส วตฺถ.ุ
จักขายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ ิ ญาณ.
[๗๘๘] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขวุ ญ ิ ċ ฺ าณสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๘๘] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
โสตายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของจักขุวญ ิ ญาณ.
พาหิรโสตสัมผัสสัสสนวัตถุตกิ าทิตกิ ะ.
461

[๗๘๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ


ชิวหฺ าสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๘๙] รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ
ของชิวหาสัมผัส ฯลฯ ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัส.
[๗๙๐] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายสมฺผสฺสสฺส วตฺถ?ุ
[๗๙๐] รูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
กายายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายสมฺผสฺสสฺส วตฺถ.ุ
กายายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัส.
[๗๙๑] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๙๑] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายสมฺผสฺสสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายสัมผัส.
พาหิรกายสัมผัสสชาเวทนายนวัตถุตกิ าทิตกิ ะ.
[๗๙๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ
เจตนาย ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๙๒] รูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของ
สัญญา ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ
ฺ าณสฺส นวตฺถ.
462

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณ.


[๗๙๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายวิญċ ฺ าณสฺส วตฺถ?ุ
[๗๙๓] รูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
กายายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายวิญċ ฺ าณสฺส วตฺถ.
กายายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณ.
[๗๙๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ?ุ
[๗๙๔] รูปภายในไม่เป็นทีอ่ าศัยของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น วตฺถ.ุ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นทีอ่ าศัยเกิดของกายวิญญาณ.
อารัมมณติกะ.
อัชฌัตติกจักขุสมั ผัสสัสสนารัมมณติกะ.
[๗๙๕] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ?
[๗๙๕] รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัส.
[๗๙๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ?
[๗๙๖] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ.
รูปายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัส.
[๗๙๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ?
[๗๙๗] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัสนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
463

สัททายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;


อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขสุ มฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของจักขุสมั ผัส.
จักขุสมั ผัสสชาเวทนายนารัมมณติกาทิตกิ ะ.
[๗๙๘] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขสุ มฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ
เจตนาย ฯเปฯ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ?
[๗๙๘] รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่จกั ขุสมั ผัส ฯลฯ ของสัญญา
ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณ.
[๗๙๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส อารมฺมณํ?
[๗๙๙] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส อารมฺมณํ.
รูปายตนะ รูปนีท้ ง้ั เรียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณ.
[๘๐๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณสฺส น อารมฺมณํ?
[๘๐๐] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
สัททายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรจํ กฺขวุ ญ ิ ċ
ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของจักขุวญ ิ ญาณ.
อัชฌัตติกโสตสัมผัสสัสสนารัมมณติกาทิตกิ ะ.
[๘๐๑] กตมนฺตํ รูปอํ ชฺฌตฺตกิ ํ โสตสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ ฆานสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ
ชิวหฺ าสมฺผสฺสสฺส ฯเปฯ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ?
[๘๐๑] รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของโสตสัมผัส ฯลฯ ของฆานสัมผัส ฯลฯ ของ-
464

ชิวหาสัมผัส ฯลฯ ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?


จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัส.
[๘๐๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายสมฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ?
[๘๐๒] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
โผฏฺพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายสมฺผสฺสสฺส อารมฺมณํ.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกเป็นอารมณ์ของกายสัมผัส.
[๘๐๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณํ?
[๘๐๓] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัสนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายสมฺผสฺสสฺส น อารมฺมณ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของกายสัมผัส.
อัชฌัตติกกายสัมผัสสชาเวทนายนารัมมณติกาทิตกิ ะ.
[๘๐๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายสมฺผสฺสชาย เวทนาย ฯเปฯ สċฺċาย ฯเปฯ
เจตนาย ฯเปฯ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ?
[๘๐๔] รูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของเวทนาอันเกิดแต่กายสัมผัส ฯลฯ ของสัญญา
ฯลฯ ของเจตนา ฯลฯ ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณ.
[๘๐๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ ฺ าณสฺส อารมฺมณํ?
[๘๐๕] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
465

โผฏฺพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ ฺ าณสฺส อารมฺมณํ.


โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอารมณ์ของกายวิญญาณ.
[๘๐๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ?
[๘๐๖] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายาตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ ฺ าณสฺส น อารมฺมณํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นอารมณ์ของกายวิญญาณ.
อารัมมณติกะจบ.
อายตนติกะ.
พาหิรนจักขายตนติกะ.
[๘๐๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จกฺขายตนํ?
[๘๐๗] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นจักขายตนะ.
[๘๐๘] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขายตนํ?
[๘๐๘] รูปภายในทีเ่ ป็นจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นจักขายตนะ.
[๘๐๙] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จกฺขายตนํ?
[๘๐๙] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นจักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
466

โสตายนะ ฯลฯ กายายตนะ;


อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นจักขายตนะ.
พาหิรนโสตายตนติกาทิตกิ ะ.
[๘๑๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โสตายตนํ ฯเปฯ น ฆานายตนํ ฯเปฯ น
ชิวหฺ ายตนํ ฯเปฯ น กายายตนํ?
[๘๑๐] รูปภายนอกไม่เป็นโสตายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นฆานายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นชิวหา-
ยตนะ ฯลฯ ไม่เป็นกายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นกายายตนะ.
[๘๑๑] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายายตนํ?
[๘๑๑] รูปภายในทีเ่ ป็นกายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่ากายบ้าง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นกายายตนะ.
[๘๑๒] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายายตนํ?
[๘๑๒] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นกายายตนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นกายายตนะ.
อัชฌัตติกนรูปายตนติกะ.
[๘๑๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น รูปายตนํ?
467

[๘๑๓] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นรูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?


จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปายตนะ.
[๘๑๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปายตนํ?
[๘๑๔] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ รูปํ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย วณฺณนิภา ฯเปฯ รูปธาตุเปสา;
รูปใดเป็นสีอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่ารูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปายตนะ.
[๘๑๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น รูปายตนํ?
[๘๑๕] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปายตนะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
สัททายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น รูปายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปายาตนะ.
อัชฌัตติกนสัททายตนติกาทิตกิ ะ.
[๘๑๖] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น สทฺทายตนํ ฯเปฯ น คนฺธายตนํ ฯเปฯ น
รสายตนํ ฯเปฯ น โผฏฺĘพฺพายตนํ?
[๘๑๖] รูปภายในไม่เป็นสัททายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นคันธายตนะ ฯลฯ ไม่เป็นรสาย-
ตนะ ฯลฯ ไม่เป็นโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นโผฏฐัพพายตนะ.
468

[๘๑๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ โผฏĘพฺพายตนํ?


[๘๑๗] รูปภายนอกทีเ่ ป็นโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ปĘวีธาตุ ฯเปฯ โผฏĘพฺพธาตุเปสา;
ปฐวีธาตุ ฯลฯ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพะบ้าง โผฏฐัพพายตนะบ้าง โผฏฐัพพธาตุ-
บ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ โผฏฺĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นโผฏฐัพพายตนะ.
[๘๑๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โผฏฺĘพฺพายตนํ?
[๘๑๘] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นโผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โผฏĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นโผฏฐัพพายตนะ.
อายตนติกะจบ.
ธาตุตกิ ะ.
พาหิรนจักขุธาตุตกิ ะ.
[๘๑๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จกฺขธุ าตุ?
[๘๑๙] รูปภายนอกไม่เป็นจักขุธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จกฺขธุ าตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นจักขุธาตุ.
[๘๒๐] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขธุ าตุ?
[๘๒๐] รูปภายในทีเ่ ป็นจักขุธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขธุ าตุ.
จักขายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นจักขุธาตุ.
469

[๘๒๑] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จกฺขธุ าตุ?


[๘๒๑] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นจักขุธาตุนน้ั เป็นไฉน?
โสตายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
โสตายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จกฺขธุ าตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นจักขุธาตุ.
พาหิรนโสตธาตุตกิ าทิตกิ ะ.
[๘๒๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โสตธาตุ ฯเปฯ น ฆานธาตุ ฯเปฯ น ชิวหฺ าธาตุ
ฯเปฯ น กายธาตุ?
[๘๒๒] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นโสตธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นฆานธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นชิวหาธาตุ
ฯลฯ ไม่เป็นกายธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กายธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นกายธาตุ.
[๘๒๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายธาตุ?
[๘๒๓] รูปภายในทีเ่ ป็นกายธาตุนน้ั เป็นไฉน?
กายายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายธาตุ.
กายายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นกายธาตุ.
[๘๒๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายธาตุ?
[๘๒๔] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นกายธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ ชิวหายตะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นกายธาตุ.
อัชฌัตติกนรูปธาตุตกิ ะ.
470

[๘๒๕] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น รูปธาตุ?


[๘๒๕] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นรูปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น รูปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นรูปธาตุ.
[๘๒๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปธาตุ?
[๘๒๖] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปธาตุ.
รูปายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปธาตุ.
[๘๒๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น รูปธาตุ?
[๘๒๗] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
สัททายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น รูปธาต.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปธาตุ.
อัชฌัตติกนสัททธาตุตกิ าทิตกิ ะ.
[๘๒๘] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น สทฺทธาตุ ฯเปฯ น คนฺธธาตุ ฯเปฯ น
รสธาตุ ฯเปฯ น โผฏฺĘพฺพธาตุ?
[๘๒๘] รูปภายในไม่เป็นสัททธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นคันธธาตุ ฯลฯ ไม่เป็นรส ธาตุ ฯลฯ
ไม่เป็นโผฏฐัพพธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น โผฏฺĘพฺพธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นโผฏฐัพพธาตุ.
[๘๒๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ โผฏฺĘพฺพธาตุ?
471

[๘๒๙] รูปภายนอกทีเ่ ป็นโผฏฐัพพธาตุนน้ั เป็นไฉน?


โผฏฺพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ โผฏฺĘพฺพธาตุ.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นโผฏฐัพพธาตุ.
[๘๓๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โผฏฺĘพฺพธาตุ?
[๘๓๐] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นโผฏฐัพพธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โผฏฺพฺพธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นโผฏฐัพพธาตุ.
ธาตุตกิ ะจบ.
อินทริยติกะ.
พาหิรนจักขุนทริยติกะ.
[๘๓๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๑] รูปภายนอกไม่เป็นจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นจักขุนทรีย.์
[๘๓๒] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๒] รูปภายในทีเ่ ป็นจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่า จักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่าง
บ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นจักขุนทรีย.์
[๘๓๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
472

[๘๓๓] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?


โสตายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
โสตายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นจักขุนทรีย.์
พาหิรนโสตินทริยติกาทิตกิ ะ.
[๘๓๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ น ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ น
ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ น กายินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๔] รูปภายนอกไม่เป็นโสตินทรีย์ ฯลฯ ไม่เป็นฆานินทรีย์ ฯลฯ ไม่เป็นชิวหิน-
ทรีย์ ฯลฯ ไม่เป็นกายินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นกายินทรีย.์
[๘๓๕] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๕] รูปภายในทีเ่ ป็นกายินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โย กาโย จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
กายใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่ากายบ้าง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีเ่ ป็นกายินทรีย.์
[๘๓๖] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๖] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นกายินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นกายินทรีย.์
473

อัชฌัตติกนอิตถินทริยติกะ.
[๘๓๗] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๗] รูปภายในไม่เป็นอิตถินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นชีวติ ถินทรีย.์
[๘๓๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๘] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอิตถินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ อิตถฺ ยิ า อิตถฺ ลี งิ คฺ ํ อิตถฺ นี มิ ติ ตฺ ํ อิตถฺ กี ตุ ตฺ ํ อิตถฺ ากปฺโป อิตถฺ ติ ตฺ ํ อิตถฺ ภี าโว;
ทรวดทรงหญิง เครือ่ งหมายให้รวู้ า่ หญิง กิรยิ าหญิง อาการหญิง สภาพหญิง
ภาวะหญิง ของหญิงปรากฏได้ดว้ ยเหตุใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอิตถินทรีย.์
[๘๓๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๓๙] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอิตถินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอิตถินทรีย.์
อัชฌัตติกนปุรสิ นิ ทริยติกะ.
[๘๔๐] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๔๐] รูปภายในทีไ่ ม่เป็นปุรสิ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
474

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นปุรสิ นิ ทรีย.์


[๘๔๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๔๑] รูปภายนอกทีเ่ ป็นปุรสิ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ ปุรสิ สฺส ปุรสิ ลิงคฺ ํ ปุรสิ นิมติ ตฺ ํ ปุรสิ กุตตฺ ํ ปุรสิ ากปฺโป ปุรสิ ตฺตํ ปุรสิ ภาโว;
ทรวดทรงชาย เครือ่ งหมายให้รวู้ า่ ชาย กิรยิ าชาย อาการชาย สภาพชาย
ภาวะชาย ของชายปรากฏได้ดว้ ยเหตุใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นปุรสิ นิ ทรีย.์
[๘๔๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๔๒] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นปุรสิ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นปุรสิ นิ ทรีย์
อัชฌัตติกนชีวติ นิ ทริยติกะ.
[๘๔๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๔๓] รูปภายในไม่เป็นชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นชีวติ นิ ทรีย์
[๘๔๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๔๔] รูปภายนอกทีเ่ ป็นชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โย เตสํ รูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา ชีวติ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
475

ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ ของรูป-


ธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกเป็นชีวติ นิ ทรีย.์
[๘๔๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๘๔๕] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นชีวติ นิ ทรีย.์
อินทริยติกะจบ.
สุขมุ รูปติกะ.
อัชฌัตติกนกายวิญญัตติตกิ ะ.
[๘๔๖] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายวิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๘๔๖] รูปภายในไม่เป็นกายวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นกายวิญญัต.ิ
[๘๔๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๘๔๗] รูปภายนอกทีเ่ ป็นกายวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
ยา กุสลจิตตฺ สฺส วา อกุสลจิตตฺ สฺส วา อพฺยากตจิตตฺ สฺส วา อภิกกฺ มนฺตสฺส
วา ปฏิกกฺ มนฺตสฺส วา อาโลเกตฺตสฺส วา วิโลเกตฺตสฺส วา สมฺมċ ิ เฺ ชนฺตสฺส วา
ปสาเรนฺตสฺส วา กายสฺส ถมฺภนา สนฺถมฺภนา สนฺถมฺภติ ตฺต,ํ วิญċ ฺ ตฺติ
วิญċ
ฺ าปนา วิċċ ฺ าปิตตฺต;ํ
การเคร่งตึง กิรยิ าทีเ่ คร่งตึงด้วยดี ความเคร่งตึงด้วยดี การแสดงให้รคู้ วาม-
476

หมาย กิรยิ าทีแ่ สดงให้รคู้ วามหมาย ความแสดงให้รคู้ วามหมายแห่งกาย


ของบุคคลผูม้ จี ติ เป็นกุศล หรือมีจติ เป็นอกุศล หรือมีจติ เป็นอัพยากฤต
ก้าวไปอยู่ ถอยกลับอยู่ แลดูอยู่ เหลียวซ้ายแล ขวาอยู่ คูเ้ ข้าอยู่ หรือเหยียด-
ออกอยูอ่ นั ใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นกายวิญญัต.ิ
[๘๔๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กายวิญċ ฺ ตฺต?ิ
[๘๔๘] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นกายวิญญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อาหาโร อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กายวิญċ ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นกายวิญญัต.ิ
อัชฌัตติกนวจีวญ
ิ ญัตติตกิ ะ.
[๘๔๙] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น วจีวญ ิ ċฺ ตฺต?ิ
[๘๔๙] รูปภายในไม่เป็นวจีวญ ิ ญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นวจีวญ ิ ญัต.ิ
[๘๕๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ วจีวญ ิ ċฺ ตฺต?ิ
[๘๕๐] รูปภายนอกทีเ่ ป็นวจีวญ ิ ญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
ยา กุสลจิตตฺ สฺส วา อกุสลจิตตฺ สฺส วา อพฺยากตจิตตฺ สฺส วา วาจา คิรา
พฺยปฺปโถ อุทรี ณํ โฆโส โฆสกมฺมํ วาจา วจีเภโท;
การพูด การเปล่งวาจา การเจรจา การกล่าว การป่าวร้อง การโฆษณา วาจา
วจีเภทแห่งบุคคลผูจ้ ติ เป็นกุศล หรือมีจติ เป็นอกุศล หรือมีจติ เป็นอัพยากฤต
อันใด;
477

อยํ วุจจฺ ติ วาจา ยา ตาย วาจาย วิญċ ฺ ตฺติ วิญċฺ าปนา วิċċ
ฺ าปิตตฺต;ํ
นีเ้ รียกว่าวาจาการแสดงให้รคู้ วามหมาย กิรยิ าทีแ่ สดงให้รคู้ วามหมาย
ความแสดงให้รคู้ วามหมายด้วยวาจานัน้ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นวจีวญ ิ ญัต.ิ
[๘๕๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น วจีวญ ิ ċ ฺ ตฺต?ิ
[๘๕๑] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นวจีวญ ิ ญัตนิ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต.ิ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นวจีวญ ิ ญัต.ิ
อัชฌัตติกนอากาสธาตุตกิ ะ.
[๘๕๒] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น อากาสธาตุ?
[๘๕๒] รูปภายในไม่เป็นอากาสธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น อากาสธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นอากาสธาตุ.
[๘๕๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อากาสธาตุ?
[๘๕๓] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอากาสธาตุนน้ั เป็นไฉน?
โย อากาโส อากาสคตํ อฆํ อฆคตํ, วิวโร วิวรคตํ อสมฺผฏุ ฺ ํ จตูหิ มหาภูเตหิ;
อากาศธรรมชาติอนั นับว่าอากาศ ความว่างเปล่า ธรรมชาติอนั นับว่าความ-
ว่างเปล่า ช่องว่าง ธรรมชาติอนั นับว่าช่องว่าง อันมหาภูตรูป ๔ ไม่ถกู ต้อง-
แล้วอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อากาสธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอากาสธาตุ.
478

[๘๕๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อากาสธาตุ?


[๘๕๔] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอากาสธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อากาสธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอากาสธาตุ.
อัชฌัตติกนอาโปธาตุตกิ ะ.
[๘๕๕] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น อาโปธาตุ?
[๘๕๕] รูปภายในไม่เป็นอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น อาโปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นอาโปธาตุ.
[๘๕๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ อาโปธาตุ?
[๘๕๖] รูปภายนอกทีเ่ ป็นอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
ยํ อาโป อาโปคตํ สิเนโห สิเนหคตํ พนฺธนตฺตํ รูปสฺส;
สภาวะทีเ่ อิบอาบ ธรรมชาติทเ่ี อิบอาบ สภาวะทีเ่ หนียว ธรรมชาติทเ่ี หนียว
ธรรมชาติเครือ่ งเกาะกุมรูป;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ อาโปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นอาโปธาตุ.
[๘๕๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อาโปธาตุ?
[๘๕๗] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น อาโปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอาโปธาตุ.
479

อัชฌัตติกนรูปสั สลหุตาติกะ.
[๘๕๘] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น ลหุตา?
[๘๕๘] รูปภายในไม่เป็นรูปลหุตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น ลหุตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปลหุตา.
[๘๕๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส ลหุตา?
[๘๕๙] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปลหุตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส ลหุตา ลหุปริณามตา อทนฺธนตา อวิตถฺ นตา;
ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชือ่ งช้า ความไม่หนักแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส ลหุตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปลหุตา.
[๘๖๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น ลหุตา?
[๘๖๐] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปลหุตานัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรรํ ปู สฺส น ลหุตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปลหุตา.
อัชฌัตติกนรูปสั สมุทตุ ติ กิ ะ.
[๘๖๑] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น มุทตุ า?
[๘๖๑] รูปภายในไม่เป็นรูปมุทตุ านัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น มุทตุ า.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปมุทตุ า.
480

[๘๖๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส มุทตุ า?


[๘๖๒] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปมุทตุ านัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส มุทตุ า มทฺทวตา อกกฺขฬตา อกถินตา;
ความอ่อน ภาวะทีอ่ อ่ น ความไม่แข็ง ความไม่กระด้างแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส มุทตุ า.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกเป็นรูปมุทตุ า.
[๘๖๓] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น มุทตุ า?
[๘๖๓] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปมุทตุ านัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น มุทตุ า.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปมุทตุ า.
อัชฌัตติกนรูปสั สกัมมัญญตาติกะ.
[๘๖๔] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา?
[๘๖๔] รูปภายในไม่เป็นรูปกัมมัญญตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปกัมมัญญตา.
[๘๖๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา?
[๘๖๕] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปกัมมัญญตานัน้ เป็นไฉน?
ยา รูปสฺส กมฺมċฺċตา กมฺมċฺċตฺตํ กมฺมċฺċภาโว;
กิรยิ าทีค่ วรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะทีค่ วรแก่การงานแห่งรูป-
อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส กมฺมċฺċตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปกัมมัญญตา.
481

[๘๖๖] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา?


[๘๖๖] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปกัมมัญญตานัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น กมฺมċฺċตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกไม่เป็นรูปกัมมัญญตา.
อัชฌัตติกนรูปสั สอุปจยติกะ.
[๘๖๗] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น อุปจโย?
[๘๖๗] รูปภายในไม่เป็นรูปอุปจยะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น อุปจโย.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปอุปจยะ.
[๘๖๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส อุปจโย?
[๘๖๘] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปอุปจยะนัน้ เป็นไฉน?
โย อายตนานํ อาจโย โส รูปสฺส อุปจโย;
ความสัง่ สมแห่งอายตนะทัง้ หลายอันใดอันนัน้ เป็นความเกิดแห่งรูป;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส อุปจโย.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปอุปจยะ.
[๘๖๙] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น อุปจโย?
[๘๖๙] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปอุปจยะนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น อุปจโย.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปอุปจยะ.
อัชฌัตติกนรูปสั สสันตติตกิ ะ.
482

[๘๗๐] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น สนฺตติ?


[๘๗๐] รูปภายในไม่เป็นรูปสันตตินน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น สนฺตติ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปสันตติ.
[๘๗๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส สนฺตติ?
[๘๗๑] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปสันตตินน้ั เป็นไฉน?
โย รูปสฺส อุปจโย สา รูปสฺส สนฺตติ;
ความเกิดแห่งรูปอันใดอันนัน้ เป็นความสืบต่อแห่งรูป;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส สนฺตติ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปสันตติ.
[๘๗๒] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น สนฺตติ?
[๘๗๒] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปสันตตินน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น สนฺตติ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปสันตติ.
อัชฌัตติกนรูปสั สชรตาติกะ.
[๘๗๓] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น ชรตา?
[๘๗๓] รูปภายในไม่เป็นรูปชรตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ รูปสฺส น ชรตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่รปู ชรตา.
[๘๗๔] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส ชรตา?
483

[๘๗๔] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปชรตานัน้ เป็นไฉน?


ยา รูปสฺส ชรา ชีรณตา ขณฺฑจิ จฺ ํ ปาลิจจฺ ํ วลิตตฺ จตา, อายุโน สํหานิ
อินทฺ รฺ ยิ านํ ปริปาโก;
ความชรา ความคร่ำคร่า ความมีฟนั หลุด ความมีผมหงอก ความมีหนัง-
เหีย่ ว ความเสือ่ มอายุ ความหง่อมแห่งอินทรียแ์ ห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส ชรตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปชรตา.
[๘๗๕] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น ชรตา?
[๘๗๕] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปชรตานัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส นชรตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปชรตา.
อัชฌัตติกนรูปสั สอนิจจตาติกะ.
[๘๗๖] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา?
[๘๗๖] รูปภายในไม่เป็นรูปอนิจจตานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในไม่เป็นรูปอนิจจตา.
[๘๗๗] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา?
[๘๗๗] รูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปอนิจจตานัน้ เป็นไฉน?
โย รูปสฺส ขโย วโย เภโท ปริเภโท อนิจจฺ ตา อนฺตรธานํ;
ความสิน้ ไป ความเสือ่ มไป ความแตก ความทำลาย ความไม่เทีย่ ง ความ-
อันตรธานแห่งรูปอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส อนิจจฺ ตา.
484

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นรูปอนิจจตา.


[๘๗๘] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา?
[๘๗๘] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นรูปอนิจจตานัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ รูปสฺส น อนิจจฺ ตา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นอนิจจตา.
อัชฌัตติกนกพฬิงการาหารติกะ.
[๘๗๙] กตมนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กพฬึกาโร?
[๘๗๙] รูปภายในไม่เป็นกพฬิงการาหารนัน้ เป็นไฉน?
อาหาโร จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อชฺฌตฺตกิ ํ น กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายในทีไ่ ม่เป็นกพฬิงการาหาร.
[๘๘๐] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ กพฬึกาโร อาหาโร?
[๘๘๐] รูปภายนอกทีเ่ ป็นกพฬิงการาหารนัน้ เป็นไฉน?
โอทโน กุมมฺ าโส สตฺตุ มจฺโฉ มํสํ ขีรํ ทธิ, สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต;ํ
ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนือ้ นมสด นมส้ม เนยใส เนยข้น
น้ำมัน น้ำผึง้ น้ำอ้อย;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูป,ํ ยมฺหิ ยมฺหิ ชนปเท เตสํ เตสํ สตฺตานํ มุขาสิยํ
ทนฺตวิขาทนํ คลชฺโฌหรณียํ กุจฉฺ วิ ติ ถฺ มฺภนํ, ยาย โอชาย สตฺตา ยาเปนฺต;ิ
หรือว่ารูปแม้อน่ื ใดมีอยูอ่ นั เป็นของใส่ปาก ขบเคีย้ วกลืนกินอิม่ ท้องของ-
สัตว์นน้ั ๆ ในชนบทใดๆ สัตว์ทง้ั หลาย เลีย้ งชีวติ ด้วยโอชาอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีเ่ ป็นกพฬิงการาหาร.
[๘๘๑] กตมนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กพฬึกาโร?
485

[๘๘๑] รูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นกพฬิงการาหารนัน้ เป็นไฉน?


อาหาโร รูปายตนํ ฯเปฯ รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
รูปายตนะ ฯลฯ รูปอนิจจตา;
อิทนฺตํ รูปํ พาหิรํ น กพฬึกาโร อาหาโร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปภายนอกทีไ่ ม่เป็นกพฬิงการาหาร.
เอวํ ติวเิ ธน รูปสงฺคโห .
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๓ อย่างนี.้
ติกนิทเฺ ทโส.
ติกนิทเทส จบ
จตุกกนิสเทส.
อุปาทาอุปาทินนจตุกกะ.
[๘๘๒] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา อุปาทินนฺ ?ํ
[๘๘๒] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ, อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ, อากาสธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา อุปาทินนฺ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนะ.
[๘๘๓] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา อนุปาทินนฺ ?ํ
[๘๘๓] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญิ ċ
ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
486

รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ, อากาสธาตุ รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา อนุปาทินนฺ .ํ
รูปนีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนะ.
[๘๘๔] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อุปาทินนฺ ?ํ
[๘๘๔] รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ โนอุปาทา อุปาทินนฺ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนะ.
[๘๘๕] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อนุปาทินนฺ ?ํ
[๘๘๕] รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนะนัน้ เป็นไฉน?
น กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อนุปาทินนฺ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนะ.
อุปาทาอุปาทินนุปาทานิยจตุกกะ.
[๘๘๖] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา อุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๘๘๖] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ,
อากาสธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ กพฬึกาโร อาหาโร;
487

หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ


รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา อุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะ.
[๘๘๗] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๘๘๗] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญิ ċ
ฺ ตฺติ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ, อากาสธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่รปู ายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ.
[๘๘๘] กตมนฺตํ รูปํ โนอุปาทา อุปาทินนฺ ปุ าทานิย?ํ
[๘๘๘] รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ.
[๘๘๙] กตมนฺตํ รูปํ โนอุปาทา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย;ํ
[๘๘๙] รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะนัน้ เป็นไฉน?
น กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมมิได้แต่งขึน้ ;
488

อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิย.ํ


รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ.
อุปาทาสัปปฏิฆจตุกกะ.
[๘๙๐] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา สปฺปฏิฆ?ํ
[๘๙๐] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
[๘๙๑] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา อปฺปฏิฆ?ํ
[๘๙๑] รูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา อปฺปฏิฆ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.
[๘๙๒] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา สปฺปฏิฆ?ํ
[๘๙๒] รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
โผฏĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา สปฺปฏิฆ.ํ
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
[๘๙๓] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อปฺปฏิฆ?ํ
[๘๙๓] รูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
อาโปธาตุ; อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา อปฺปฏิฆ.ํ
อาโปธาตุ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.
อุปาทาโอฬาริกจตุกกะ.
[๘๙๔] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา โอฬาริก?ํ
[๘๙๔] รูปเป็นอุปาทาทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
489

จกฺขายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ;


จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีห่ ยาบ.
[๘๙๕] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา สุขมุ ?ํ
[๘๙๕] รูปเป็นอุปาทาทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีล่ ะเอียด.
[๘๙๖] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา โอฬาริก?ํ
[๘๙๖] รูปเป็นอนุปาทาทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
โผฏĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา โอฬาริก.ํ
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีห่ ยาบ.
[๘๙๗] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา สุขมุ ?ํ
[๘๙๗] รูปเป็นอนุปาทาทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อาโปธาตุ; อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา สุขมุ .ํ
อาโปธาตุ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีล่ ะเอียด.
อุปาทาทูเรจตุกกะ.
[๘๙๘] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา ทูเร?
[๘๙๘] รูปเป็นอุปาทาทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีอ่ ยูไ่ กล.
[๘๙๙] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา สนฺตเิ ก?
490

[๘๙๙] รูปเป็นอุปาทาทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?


จกฺขายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทาทีอ่ ยูใ่ กล้.
[๙๐๐] กตมนฺตํ รูปํ โนอุปาทา ทูเร?
[๙๐๐] รูปเป็นอนุปาทาทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อาโปธาตุ; อิทนฺตํ รูปํ โนอุปาทา ทูเร.
อาโปธาตุ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๐๑] กตมนฺตํ รูปํ โน อุปาทา สนฺตเิ ก;
[๙๐๑] รูปเป็นอนุปาทาทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
โผฏĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ โน อุปาทา สนฺตเิ ก.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทาทีอ่ ยูใ่ กล้.
อุปาทินนสนิทสั สนจตุกกะ.
[๙๐๒] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สนิทสฺสนํ?
[๙๐๒] รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สนิทสฺสนํ.
รูปายตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะ.
[๙๐๓] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ อนิทสฺสนํ?
[๙๐๓] รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺ-
พายตนํ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร
อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ
491

อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;


อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ อนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะ
[๙๐๔] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สนิทสฺสนํ?
[๙๐๔] รูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ;
รูปายตนะทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะ.
[๙๐๕] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ อนิทสฺสนํ?
[๙๐๕] รูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญิ ċ
ฺ ตฺติ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺ-
พายตนํ, อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย, รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร
อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมมิได้-
แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ อนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะ.
อุปาทินนสัปปฏิฆจตุกกะ.
[๙๐๖] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สปฺปฏิฆ;ํ
[๙๐๖] รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
492

จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;


จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏĘพฺพายตนํ ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพา-
ยตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
[๙๐๗] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ อปฺปฏิฆ?ํ
[๙๐๗] รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ, อาโปธาตุ รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.
[๙๐๘] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สปฺปฏิฆ?ํ
[๙๐๘] รูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
สัททายตนะ หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
493

[๙๐๙] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ อปฺปฏิฆ?ํ


[๙๐๙] รูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺติ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปชรตา
รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตรํ ปู ํ อนุปาทินนฺ ํ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.
อุปาทินนมหาภูตจตุกกะ.
[๙๑๐] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ มหาภูต?ํ
[๙๑๐] รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่า รูปเป็นอุปาทินนะทีเ่ ป็นมหาภูต.
[๙๑๑] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ น มหาภูต?ํ
[๙๑๑] รูปเป็นอุปาทินนะทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ,
อากาสธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
494

รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;


อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ นมหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
[๙๑๒] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ มหาภูต?ํ
[๙๑๒] รูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
น กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีเ่ ป็นมหาภูต.
[๙๑๓] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ น มหาภูต?ํ
[๙๑๓] รูปเป็นอนุปาทินนะทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ, กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญิ ċ
ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ, อากาสธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ น มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
อุปาทินนโอฬาริกจตุกกะ.
[๙๑๔] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ โอฬาริก?ํ
[๙๑๔] รูปเป็นอุปาทินนะทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
495

ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ


โผฏĘพฺพายตนํ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพา-
ยตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีห่ ยาบ.
[๙๑๕] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สุขมุ ?ํ
[๙๑๕] รูปเป็นอุปาทินนะทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิง-
การาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีล่ ะเอียด.
[๙๑๖] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ โอฬาริก?ํ
[๙๑๖] รูปเป็นอนุปาทินนะทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺพฺพายตนํ;
สัททายตนะ หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีห่ ยาบ.
[๙๑๗] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สุขมุ ?ํ
496

[๙๑๗] รูปเป็นอนุปาทินนะทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?


กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปชรตา
รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีล่ ะเอียด.
อุปาทินนทูเรจตุกกะ.
[๙๑๘] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ ทูเร?
[๙๑๘] รูปเป็นอุปาทินนะทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ยํ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๑๙] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สนฺตเิ ก?
[๙๑๙] รูปเป็นอุปาทินนะทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
497

ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ


โผฏĘพฺพายตนํ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพาย-
ตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนะทีใ่ กล้.
[๙๒๐] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ ทูเร?
[๙๒๐] รูปเป็นอนุปาทาทินนะทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺติ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปชรตา
รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๒๑] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สนฺตเิ ก?
[๙๒๑] รูปเป็นอนุปาทินนะทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ;
สัททายตนะ หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ํ สนฺตเิ ก.
498

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนะทีอ่ ยูใ่ กล้.


อุปาทินนุปาทานิยสนิทสั สนจตุกกะ.
[๙๒๒] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนิทสฺสนํ?
[๙๒๒] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนิทสฺสนํ.
รูปายตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็น-
สนิทสั สนะ.
[๙๒๓] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อนิทสฺสนํ?
[๙๒๓] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ, อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏĘพฺพายตนํ, อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ,
กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะ.
[๙๒๔] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนิทสฺสนํ?
[๙๒๔] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ;
รูปายตนะทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสนิทสั สนะ.
[๙๒๕] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อนิทสฺสนํ?
[๙๒๕] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะนัน้ เป็นไฉน?
499

สทฺทายตนํ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ


ิ ċฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา, คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏĘพฺพายตนํ, อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ,
กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหาร
ทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อนิทสฺสนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอนิทสั สนะ.
อุปาทินนุปาทานิยสัปปฏิฆจตุกกะ.
[๙๒๖] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สปฺปฏิฆ?ํ
[๙๒๖] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพาย-
ตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
[๙๒๗] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อปฺปฏิฆ?ํ
[๙๒๗] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
500

อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์


ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.
[๙๒๘] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สปฺปฏิฆ?ํ
[๙๒๘] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
สัททายตนะ หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นสัปปฏิฆะ.
[๙๒๙] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อปฺปฏิฆ?ํ
[๙๒๙] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปชรตา รูปอนิจ-
จตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ อปฺปฏิฆ.
501

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.


อุปาทินนุปาทานิยมหาภูตจตุกกะ.
[๙๓๐] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ มหาภูต?ํ
[๙๓๐] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏฺพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นมหาภูต.
[๙๓๑] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ น มหาภูต?ํ
[๙๓๑] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ, อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
อากาสธาตุ, รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ นมหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
[๙๓๒] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ มหาภูต?ํ
[๙๓๒] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
น กมฺมสฺส กตตฺตา โผฏĘพฺพายตนํ อาโปธาตุ;
โผฏฐัพพายตนะ อาโปธาตุทก่ี รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีเ่ ป็นมหาภูต.
[๙๓๓] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ น มหาภูต?ํ
[๙๓๓] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
502

สทฺทายตนํ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ


ิ ċ
ฺ ตฺต,ิ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส
กมฺมċฺċตา รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา
รูปชรตา และรูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ, อากาสธาตุ รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ
รูปอุปจยะ รูปสันตติ กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ น มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
อุปาทินนุปาทานิยโอฬาริกจตุกกะ.
[๙๓๔] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ โอฬาริก?ํ
[๙๓๔] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพาย-
ตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีห่ ยาบ.
[๙๓๕] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สุขมุ ?ํ
[๙๓๕] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีล่ ะเอียด นัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
503

อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;


หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีล่ ะเอียด.
[๙๓๖] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ โอฬาริก?ํ
[๙๓๖] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ;
สัททายตนะ หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีห่ ยาบ.
[๙๓๗] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สุขมุ ?ํ
[๙๓๗] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ
ฺ ตฺติ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปชรตา
รูปอนิจจตา;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีล่ ะเอียด.
อุปาทินนุปาทานิยทูเรจตุกกะ.
504

[๙๓๘] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ ทูเร?


[๙๓๘] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส
อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๓๙] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนฺตเิ ก?
[๙๓๙] รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ;
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ
โผฏฺĘพฺพายตนํ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพาย-
ตนะทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูใ่ กล้.
[๙๔๐] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ ทูเร?
[๙๔๐] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċฺ ตฺติ รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา
รูปสฺส ชรตา รูปสฺส อนิจจฺ ตา;
กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัติ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปชรตา
รูปอนิจจตา;
505

ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา อากาสธาตุ อาโปธาตุ,


รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปอุปจยะ รูปสันตติ
กพฬิงการาหารทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๔๑] กตมนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนฺตเิ ก?
[๙๔๑] รูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
สทฺทายตนํ; ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา รูปายตนํ
คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ;
สัททายตนะ หรือรูปแม้อน่ื ใดมีอยูไ่ ด้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะทีก่ รรมไม่ได้แต่งขึน้ ;
อิทนฺตํ รูปํ อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะทีอ่ ยูใ่ กล้.
สัปปฏิฆอินทริยจตุกกะ.
[๙๔๒] กตมนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๔๒] รูปเป็นสัปปฏิฆะทีเ่ ป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นสัปปฏิฆะทีเ่ ป็นอินทรีย.์
[๙๔๓] กตมนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ น อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๔๓] รูปเป็นสัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ น อินทฺ รฺ ยิ .ํ
506

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นสัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นอินทรีย.์


[๙๔๔] กตมนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๔๔] รูปเป็นอัปปฏิฆะทีเ่ ป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอัปปฏิฆะทีเ่ ป็นอินทรีย.์
[๙๔๕] กตมนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ น อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๔๕] รูปเป็นอัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ ฯเปฯ กพฬึกาโร;
กายวิญญัติ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อาหาโร อิทนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ น อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นอินทรีย.์
สัปปฏิฆมหาภูตจตุกกะ.
[๙๔๖] กตมนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ มหาภูต?ํ
[๙๔๖] รูปเป็นสัปปฏิฆะทีเ่ ป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
โผฏĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ มหาภูต.ํ
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นสัปปฏิฆะทีเ่ ป็นมหาภูต.
[๙๔๗] กตมนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ น มหาภูต?ํ
[๙๔๗] รูปเป็นสัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ สปฺปฏิฆํ น มหาภูต.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นสัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
[๙๔๘] กตมนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ มหาภูต?ํ
[๙๔๘] รูปเป็นอัปปฏิฆะทีเ่ ป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
507

อาโปธาตุ; อิทนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ มหาภูต.ํ


อาโปธาตุ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอัปปฏิฆะทีเ่ ป็นมหาภูต.
[๙๔๙] กตมนฺตํ รูปํ อปฺปฏิฆํ น มหาภูต?ํ
[๙๔๙] รูปเป็นอัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นมหาภูตนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปอํ ปฺปฏิฆํ น มหาภูต.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอัปปฏิฆะทีไ่ ม่เป็นมหาภูต.
อินทริยโอฬาริกจตุกกะ.
[๙๕๐] กตมนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ โอฬาริก?ํ
[๙๕๐] รูปเป็นอินทรียท์ ห่ี ยาบนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอินทรียท์ ห่ี ยาบ.
[๙๕๑] กตมนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ สุขมุ ?ํ
[๙๕๑] รูปเป็นอินทรียท์ ล่ี ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอินทรียท์ ล่ี ะเอียด.
[๙๕๒] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ โอฬาริก?ํ
[๙๕๒] รูปไม่เป็นอินทรียท์ ห่ี ยาบนัน้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ โอฬาริก.ํ
508

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอินทรียท์ ห่ี ยาบ.


[๙๕๓] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ สุขมุ ?ํ
[๙๕๓] รูปไม่เป็นอินทรียท์ ล่ี ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺต,ิ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
กายวิญญัติ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ สุขมุ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอินทรียท์ ล่ี ะเอียด.
อินทริยทูเรจตุกกะ.
[๙๕๔] กตมนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ ทูเร?
[๙๕๔] รูปเป็นอินทรียท์ อ่ี ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อิตถินทรีย์ ปุรสิ นิ ทรีย์ ชีวติ นิ ทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอินทรียท์ อ่ี ยูไ่ กล.
[๙๕๕] กตมนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ สนฺตเิ ก?
[๙๕๕] รูปเป็นอินทรียท์ อ่ี ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กายินทฺ รฺ ยิ ;ํ
จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย;์
อิทนฺตํ รูปํ อินทฺ รฺ ยิ ํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอินทรียท์ อ่ี ยูใ่ กล้.
[๙๕๖] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ ทูเร?
[๙๕๖] รูปไม่เป็นอินทรียท์ อ่ี ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
กายวิญญัติ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอินทรียท์ อ่ี ยูไ่ กล.
509

[๙๕๗] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ สนฺตเิ ก?


[๙๕๗] รูปไม่เป็นอินทรียท์ อ่ี ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นอินทรียท์ อ่ี ยูใ่ กล้.
มหาภูตโอฬาริกจตุกกะ.
[๙๕๘] กตมนฺตํ รูปํ มหาภูตํ โอฬาริก?ํ
[๙๕๘] รูปเป็นมหาภูตทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
โผฏĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ มหาภูตํ โอฬาริก.ํ
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นมหาภูตทีห่ ยาบ.
[๙๕๙] กตมนฺตํ รูปํ มหาภูต?ํ
[๙๕๙] รูปเป็นมหาภูตทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
สุขมุ ํ อาโปธาตุ; อิทนฺตํ รูปํ มหาภูตํ สุขมุ .ํ
อาโปธาตุ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นมหาภูตทีล่ ะเอียด.
[๙๖๐] กตมนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ โอฬาริก?ํ
[๙๖๐] รูปไม่เป็นมหาภูตทีห่ ยาบนัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ โอฬาริก.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นมหาภูตทีห่ ยาบ.
[๙๖๑] กตมนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ สุขมุ ?ํ
[๙๖๑] รูปไม่เป็นมหาภูตทีล่ ะเอียดนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ สุขมุ .ํ
510

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นมหาภูตทีล่ ะเอียด.


มหาภูตทูเรจตุกกะ.
[๙๖๒] กตมนฺตํ รูปํ มหาภูตํ ทูเร?
[๙๖๒] รูปเป็นมหาภูตทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อาโปธาตุ; อิทนฺตํ รูปํ มหาภูตํ ทูเร.
อาโปธาตุ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นมหาภูตทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๖๓] กตมนฺตํ รูปํ มหาภูตํ สนฺตเิ ก?
[๙๖๓] รูปเป็นมหาภูตทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
โผฏĘพฺพายตนํ; อิทนฺตํ รูปํ มหาภูตํ สนฺตเิ ก.
โผฏฐัพพายตนะ รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นมหาภูตทีอ่ ยูใ่ กล้.
[๙๖๔] กตมนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ ทูเร?
[๙๖๔] รูปไม่เป็นมหาภูตทีอ่ ยูไ่ กลนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ ทูเร.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นมหาภูตทีอ่ ยูไ่ กล.
[๙๖๕] กตมนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ สนฺตเิ ก?
[๙๖๕] รูปไม่เป็นมหาภูตทีอ่ ยูใ่ กล้นน้ั เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ น มหาภูตํ สนฺตเิ ก.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปไม่เป็นมหาภูตทีอ่ ยูใ่ กล้.
ทิฏฐาทิจตุกกะ.
[๙๖๖] รูปายตนํ ทิฏĘฺ ,ํ
[๙๖๖] รูปทีเ่ ห็นได้ คือ รูปายตนะ,
สทฺทายตนํ สุต,ํ
511

รูปทีฟ่ งั ได้ คือ สัททายตนะ,


คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ มุต,ํ
รูปทีร่ ไู้ ด้ คือ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ,
สพฺพํ รูปํ มนสา วิญċ ฺ าตํ รูป.ํ
รูปทีร่ แู้ จ้งได้ดว้ ยใจ คือ รูปทัง้ หมด.
เอวํ จตุพพฺ เิ ธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๔ อย่างนี.้
จตุกกนิทเทสจบ.
ปัณจกนิทเทส.
[๙๖๗] กตมนฺตํ รูปํ ปĘวีธาตุ?
[๙๖๗] รูปทีเ่ รียกว่าปฐวีธาตุนน้ั เป็นไฉน?
ยํ กกฺขฬํ ขรคตํ กกฺขฬตฺต,ํ กกฺขฬภาโว อชฺฌตฺตํ วา พหิทธฺ า วา, อุปาทินนฺ ํ
วา อนุปาทินนฺ ํ วา;
ธรรมชาติทแ่ี ข็ง ธรรมชาติทก่ี ระด้าง ความแข็ง ภาวะทีแ่ ข็งเป็นภายใน
หรือ ภายนอกก็ตาม เป็นอุปาทินนะหรืออนุปาทินนะก็ตามอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ ปĘวีธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าปฐวีธาตุ.
[๙๖๘] กตมนฺตํ รูปํ อาโปธาตุ?
[๙๖๘] รูปทีเ่ รียกว่าอาโปธาตุนน้ั เป็นไฉน?
ยํ อาโป อาโปคตํ, สิเนโห สิเนหคตํ, พนฺธนตฺตํ รูปสฺส, อชฺฌตฺตํ วา พหิทธฺ า
วา, อุปาทินนฺ ํ วา อนุปาทินนฺ ํ วา;
ความเอิบอาบ ธรรมชาติทเ่ี อิบอาบ ความเหนียว ธรรมชาติทเ่ี หนียว
ธรรมชาติเครือ่ งเกาะกุม รูปเป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม เป็นอุปาทินนะ-
หรืออนุปาทินนะก็ตามอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ อาโปธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าอาโปธาตุ
512

[๙๖๙] กตมนฺตํ รูปํ เตโชธาตุ?


[๙๖๙] รูปทีเ่ รียกว่าเตโชธาตุนน้ั เป็นไฉน?
ยํ เตโช เตโชคตํ, อุสมฺ า อุสมฺ าคตํ, อุสมุ ํ อุสมุ คตํ, อชฺฌตฺตํ วา พหิทธฺ า วา,
อุปาทินนฺ ํ วา อนุปาทินนฺ ํ วา;
ความร้อน ธรรมชาติทร่ี อ้ น ความอุน่ ธรรมชาติทอ่ี นุ่ ความอบอุน่ ธรรม-
ชาติทอ่ี บอุน่ เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม เป็นอุปาทินนะหรืออนุปาทิน-
นะก็ตามอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ เตโชธาต.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าเตโชธาตุ.
[๙๗๐] กตมนฺตํ รูปํ วาโยธาตุ?
[๙๗๐] รูปทีเ่ รียกว่าวาโยธาตุนน้ั เป็นไฉน?
ยํ วาโย วา โยคตํ, ถมฺภติ ตฺตํ รูปสฺส, อชฺฌตฺตํ วา พหิทธฺ า วา, อุปาทินนฺ ํ วา
อนุปาทินนฺ ํ วา;
ความพัดไปมา ธรรมชาติทพ่ี ดั ไปมา ธรรมชาติเครือ่ งค้ำจุนรูป เป็นภายใน-
หรือภายนอกก็ตาม เป็นอุปาทินนะหรืออนุปาทินนะก็ตามอันใด;
อิทนฺตํ รูปํ วาโยธาตุ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าวาโยธาตุ.
[๙๗๑] กตมนฺตํ รูปํ อุปาทา?
[๙๗๑] รูปทีเ่ ป็นอุปาทานัน้ เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ อุปาทา.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปทีเ่ ป็นอุปาทา.
เอวํ ปċฺจวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๕ อย่างนี.้
ปัญจกนิทเทศจบ.
513

ฉักกนิทเทส.
[๙๗๒] รูปายตนํ จกฺขวุ ċ ิ เฺ ċยฺยํ รูป,ํ
[๙๗๒] รูปอันจักขุวญ ิ ญาณพึงรู้ คือ รูปายตนะ,
สทฺทายตนํ โสตวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันโสตวิญญาณพึงรู้ คือ สัททายตนะ,
คนฺธายตนํ ฆานวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันฆานวิญญาณพึงรู้ คือ คันธายตนะ,
รสายตนํ ชิวหฺ าวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันชิวหาวิญญาณพึงรู้ คือ รสายตนะ,
โผฏฺพฺพายตนํ กายวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันกายวิญญาณพึงรู้ คือ โผฏฐัพพายตนะ,
สพฺพํ รูป,ํ มโนวิċเฺ ċยฺยํ รูป.ํ
รูปอันมโนวิญญาณพึงรู้ คือ รูปทัง้ หมด,
เอวํ ฉพฺพเิ ธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๖ อย่างนี.้
ฉักกนิทเทศจบ.
สัตตกนิทเทส.
[๙๗๓] รูปายตนํ จกฺขวุ ċ ิ เฺ ċยฺยํ รูป,ํ
[๙๗๓] รูปอันจักขุวญ ิ ญาณพึงรู้ คือ รูปายตนะ,
สทฺทายตนํ โสตวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันโสตวิญญาณพึงรู้ คือ สัททายตนะ,
คนฺธายตนํ ฆานวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันฆานวิญญาณพึงรู้ คือ คันธายตนะ,
รสายตนํ ชิวหฺ าวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันชิวหาวิญญาณพึงรู้ คือ รสายตนะ,
514

โผฏฺĘพฺพายตนํ กายวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ


รูปอันกายวิญญาณพึงรู้ คือ โผฏฐัพพายตนะ,
รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ มโนธาตุวċ ิ เฺ ċยฺยํ
รูป,ํ
รูปอันมโนธาตุพงึ รู้ คือ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ,
สพฺพํ รูป,ํ มโนวิญċฺ าณธาตุวญ ิ เฺ ċยฺยํ รูป.ํ
รูปอันมโนวิญญาณธาตุพงึ รู้ คือ รูปทัง้ หมด.
เอวํ สตฺตวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๗ อย่างนี.้
สัตตกนิทเทสจบ.
อัฏฐกนิทเทส.
[๙๗๔] รูปายตนํ จกฺขวุ ċ ิ เฺ ċยฺยํ รูป,ํ
[๙๗๔] รูปอันจักขุวญ ิ ญาณพึงรู้ คือ รูปายตนะ,
สทฺทายตนํ โสตวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันโสตวิญญาณพึงรู้ คือ สัททายตนะ,
คนฺธายตนํ ฆานวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันฆานวิญญาณพึงรู้ คือ คันธายตนะ,
รสายตนํ ชิวหฺ าวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันชิวหาวิญญาณพึงรู้ คือ รสายตนะ,
มนาปิโย โผฏฺĘพฺโพ สุขสมฺผสฺโส กายวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันกายวิญญาณพึงรูท้ ม่ี สี มั ผัสเป็นสุข คือ โผฏฐัพพะ อันเป็นทีช่ อบใจ,
อมนาปิโย โผฏฺĘพฺโพ ทุกขฺ สมฺผสฺโส กายวิċเฺ ċยฺยํ รูป,ํ
รูปอันกายวิญญาณพึงรูท้ ม่ี สี มั ผัสเป็นทุกข์ คือ
โผฏฐัพพะอันไม่เป็นทีช่ อบใจ,
รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ มโนธาตุวċ ิ เฺ ċยฺยํ
515

รูป,ํ
รูปอันมโนธาตุพงึ รู้ คือ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ,
สพฺพํ รูป,ํ มโนวิญċฺ าณธาตุวญ ิ เฺ ċยฺยํ รูป.ํ
รูปอันมโนวิญญาณธาตุพงึ รู้ คือ รูปทัง้ หมด.
เอวํ อฏฺĘวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๘ อย่างนี.้
อัฏĘกนิทเทสจบ.
นวกนิทเทส.
[๙๗๕] กตมนฺตํ รูป,ํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๗๕] รูปทีเ่ รียกว่าจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่า จักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขุนทรีย.์
[๙๗๖] กตมนฺตํ รูปํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ
กายินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๘๖] รูปทีเ่ รียกว่าโสตินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าฆานินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าชิวหินทรีย์
ฯลฯ ทีเ่ รียกว่ากายินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าอิตถินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าปุรสิ นิ ทรีย์
ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โย เตสํ รูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา, ชีวติ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ แห่งรูป-
ธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
516

รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าชีวติ นิ ทรีย.์


[๙๗๘] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๗๘] รูปทีไ่ ม่เป็นอินทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
รูปายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปทีไ่ ม่เป็นอินทรีย.์
เอวํ นววิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๙ อย่างนี.้
นวกนิทเทสจบ.
ทสกนิทเทส.
[๙๗๘] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๗๘] รูปทีเ่ รียกว่าจักขุนทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขุนทรีย.์
[๙๗๙] กตมนฺตํ รูปํ โสตินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ฆานินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ชิวหฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ
กายินทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ ปุรสิ นิ ทฺ รฺ ยิ ฯํ เปฯ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๗๙] รูปทีเ่ รียกว่าโสตินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าฆานินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าชิวหินทรีย์
ฯลฯ ทีเ่ รียกว่ากายินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าอิตถินทรีย์ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าปุรสิ นิ ทรีย์
ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าชีวติ นิ ทรียน์ น้ั เป็นไฉน?
โย เตสํ รูปนี ํ ธมฺมานํ อายุ Ęิติ ยปนา ยาปนา อิรยิ นา วตฺตนา ปาลนา ชีวติ ํ
ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ;ํ
อายุความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิรยิ าทีเ่ ป็นไปอยู่ อาการทีส่ บื เนือ่ งกันอยู่
ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลีย้ งอยู่ ชีวติ อินทรียค์ อื ชีวติ
517

แห่งรูปธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิทนฺตํ รูปํ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ .ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าชีวติ นิ ทรีย.์
[๙๘๐] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ?ํ
[๙๘๐] รูปทีไ่ ม่เป็นอินทรียท์ เ่ี ป็นสัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
สปฺปฏิฆํ รูปายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ สปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปทีไ่ ม่เป็นอินทรียท์ เ่ี ป็นสัปปฏิฆะ.
[๙๘๑] กตมนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ อปฺปฏิฆ?ํ
[๙๘๑] รูปทีไ่ ม่เป็นอินทรียท์ เ่ี ป็นอัปปฏิฆะนัน้ เป็นไฉน?
กายวิญċ ฺ ตฺติ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
กายวิญญัติ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิทนฺตํ รูปํ น อินทฺ รฺ ยิ ํ อปฺปฏิฆ.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปทีไ่ ม่เป็นอินทรีย์ ทีเ่ ป็นอัปปฏิฆะ.
เอวํ ทสวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๑๐ อย่างนี.้
ทสกนิทเทสจบ.
เอกาทสกนิทเทส.
[๙๘๒] กตมนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ?
[๙๘๒] รูปทีเ่ รียกว่า จักขายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ยํ จกฺขํุ จตุนนฺ ํ มหาภูตานํ อุปาทาย ปสาโท ฯเปฯ สุċโฺ ċ คาโมเปโส;
จักขุใดเป็นปสาทรูปอาศัยมหาภูตรูป ๔ นีเ้ รียกว่าจักขุบา้ ง ฯลฯ บ้านว่างบ้าง;
อิทนฺตํ รูปํ จกฺขายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าจักขายตนะ.
[๙๘๓] กตมนฺตํ รูปํ โสตายตนํ ฯเปฯ ฆานายตนํ ฯเปฯ ชิวหฺ ายตนํ ฯเปฯ กายายตนํ
518

ฯเปฯ รูปายตนํ ฯเปฯ สทฺทายตนํ ฯเปฯ คนฺธายตนํ ฯเปฯ รสายตนํ ฯเปฯ


โผฏĘพฺพายตนํ?
[๙๘๓] รูปทีเ่ รียกว่าโสตายตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าฆานายตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าชิวหาย-
ตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่ากายายตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่ารูปายตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่าสัท-
ทายตนะ ฯลฯทีเ่ รียกว่าคันธายตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่ารสายตนะ ฯลฯ ทีเ่ รียกว่า
โผฏฐัพพายตนะนัน้ เป็นไฉน?
ปĘวีธาตุ ฯเปฯ โผฏĘพฺพธาตุเปสา;
ปฐวีธาตุ ฯลฯ เรียกว่าโผฏฐัพพธาตุบา้ ง;
อิทนฺตํ รูปํ โผฏĘพฺพายตนํ.
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่าโผฏฐัพพายตนะ.
[๙๘๔] กตมนฺตํ รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺน?ํ
[๙๘๔] รูปเป็นอนิทสั สนะเป็นอัปปฏิฆะ แต่นบั เนือ่ งในธัมมายตนะนัน้ เป็นไฉน?
อิตถฺ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร อิทนฺต;ํ
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺน.ํ
รูปทัง้ นีเ้ รียกว่ารูปเป็นอนิทสั สนะ เป็นอัปปฏิฆะแต่นบั เนือ่ งในธัมมายตนะ.
เอวํ เอกาทสวิเธน รูปสงฺคโห.
สงเคราะห์รปู เป็นหมวด ๆ ละ ๑๑ อย่างนี.้
เอกาทสกนิทเทศจบ.
อฏฺĘโม ภาณวาโร.
ภาณวารที่ ๘ จบ.
รูปวิภตฺต.ิ
รูปวิภตั ติ จบ.
รูปกณฺฑํ นิฏĘฺ ติ .ํ
รูปกัณฑ์จบ.
519

๓. นิกเฺ ขปกณฺฑ.
ติกนิกเฺ ขป.
๑. กุสลติกะ.
[๙๘๕] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๙๘๕] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
ตีณิ กุสลมูลานิ อโลโภ อโทโส อโมโห;
กุศลมูล ๓ คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ,
ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สงขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยกุศล-
มูลนัน้ ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีกศุ ลมูลนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา กุสลา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๙๘๖] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๙๘๖] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
ตีณิ อกุสลมูลานิ; โลโภ โทโส โมโห;
อกุศลมูล ๓ คือ โลภะ โทสะ โมหะ;
ตเทกฏฺċา จ กิเลสา ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
และกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับอกุศลมูลนัน้ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยอกุศลมูลนัน้ ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีอกุศลมูลนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา อกุสลา.
520

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.


[๙๘๗] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๙๘๗] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
กุสลากุสลานํ ธมฺมานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์;
เย จ ธมฺมา กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น จ กมฺมวิปากา, สพฺพċฺจ รูปํ
อสงฺขตา จ ธาตุ.
ธรรมเป็นกิรยิ าไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล ไม่ใช่กรรมวิบาก รูปทัง้ หมด
และอสังขตธาตุ.
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต.
๒. เวทนาติกะ.
[๙๘๘] กตเม ธมฺมา สุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า?
[๙๘๘] ธรรมสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
สุขภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน สุขํ เวทนํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยสุขเวทนานัน้ เว้น-
สุขเวทนา ในกามาวจรจิต รูปาวจรจิต โลกุตตรจิต อันเป็นทีเ่ กิดแห่งสุข-
เวทนา;
อิเม ธมฺมา สุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
[๙๘๙] กตเม ธมฺมา ทุกขฺ าย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า?
[๙๘๙] ธรรมสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นไฉน?
ทุกขฺ ภูมยิ ํ กามาวจเร ทุกขฺ ํ เวทนํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต สċฺċากฺขนฺโธ
521

สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;


สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยทุกขเวทนานัน้ เว้น-
ทุกขเวทนาในกามาวจรจิต อันเป็นทีเ่ กิดแห่งทุกขเวทนา;
อิเม ธมฺมา ทุกขฺ าย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา.
[๙๙๐] กตเม ธมฺมา อทุกขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า?
[๙๙๐] ธรรมสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นไฉน?
อทุกขฺ มสุขภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน อทุกขฺ มสุขํ
เวทนํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนานัน้
เว้นอทุกขมสุขเวทนาในกามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต
อันเป็นทีเ่ กิดแห่งอทุกขมสุขเวทนา;
อิเม ธมฺมา อทุกขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. วิปากติกะ.
[๙๙๑] กตเม ธมฺมา วิปากา?
[๙๙๑] ธรรมเป็นวิบากเป็นไฉน?
กุสลากุสลานํ ธมฺมานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา วิปากา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นวิบาก.
[๙๙๒] กตเม ธมฺมา วิปากธมฺมธมฺมา?
[๙๙๒] ธรรมเป็นเหตุแห่งวิบากเป็นไฉน?
กุสลากุสลา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา; เวทนากฺ-
522

ขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ


ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรมและอกุศลธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา วิปากธมฺมธมฺมา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุแห่งวิบาก.
[๙๙๓] กตเม ธมฺมา เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมา?
[๙๙๓] ธรรมไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุแห่งวิบากเป็นไฉน?
เย จ ธมฺมา กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น จ กมฺมวิปากา สพฺพċฺจ รูปํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเป็นกิรยิ าไม่ใช่กศุ ลไม่ใช่อกุศล ไม่ใช่กรรมวิบาก รูปทัง้ หมด และ-
อสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุแห่งวิบาก.
๔. อปาทินนติกะ.
[๙๙๔] กตเม ธมฺมา อุปาทินนฺ ปุ าทานิยา?
[๙๙๔] ธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาและทิฏฐิเข้ายึดครองโดยเป็น
อารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลานํ ธมฺมานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา;
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ; ยċฺจ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา;
วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร
รูปาวจร อรูปาวจร คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ และรูปทีก่ รรมแต่ง-
ขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อุปาทินนฺ ปุ าทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาและ ทิฏฐิ-
เข้ายึดครองโดยเป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
[๙๙๕] กตเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยา?
523

[๙๙๕] ธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่เข้ายึดครองแต่เป็น


อารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา; เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรมและอกุศลธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร
อรูปาวจร คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
เย จ ธมฺมา กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น จ กมฺมวิปากา ยċฺจ รูปํ น
กมฺมสฺส กตตฺตา;
ธรรมเป็นกิรยิ าไม่ใช่กศุ ลไม่ใช่อกุศล ไม่ใช่กรรมวิบากและรูปทีก่ รรมมิ-
ได้แต่งขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่เข้ายึดครองแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
[๙๙๖] กตเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ านุปาทานิยา?
[๙๙๖] ธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาทิฏฐิไม่เข้ายึดครอง และไม่เป็น-
อารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ านุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาทิฏฐิ
ไม่เข้ายึดครอง และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
๕. สังกิลฏิ ฐติกะ.
[๙๙๗] กตเม ธมฺมา สงฺกลิ ฏิ สํกเิ ลสิกา ตีณิ อกุสลมูลานิ?
[๙๙๗] ธรรมเศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
โลโภ โทโส โมโห; ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
524

อกุศลมูล ๓ คือ โลภะ โทภะ โมหะ และกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกัน กับอกุศล-
มูลนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยอกุศลมูลนัน้
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีอกุศลมูลนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๙๙๘] กตเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา?
[๙๙๘] ธรรมไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
สาสวา กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา; รูปกฺขนฺโธ
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรมและอัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปา-
วจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณ-
ขันธ์;
อิเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๙๙๙] กตเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ าสํกเิ ลสิกา?
[๙๙๙] ธรรมไม่เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส เป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ าสํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
๖. วิตกั กติกะ.
[๑๐๐๐] กตเม ธมฺมา สวิตกฺกสวิจารา?
[๑๐๐๐] ธรรมมีวติ กมีวจิ ารเป็นไฉน?
สวิตกฺกสวิจารภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน วิตกฺกวิจาเร Ęเปตฺวา
ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขัณธ์อนั สัมปยุตด้วยวิตกและวิจารนัน้ เว้นวิตก-
525

และวิจารในกามวจรจิต รูปาวจรจิต โลกุตตรจิตอันเป็นทีเ่ กิดแห่งธรรมมี-


วิตกมีวจิ าร;
อิเม ธมฺมา สวิตกฺกสวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีวติ กมีวจิ าร.
[๑๐๐๑] กตเม ธมฺมา อวิตกฺกวิจารมตฺตา?
[๑๐๐๑] ธรรมไม่มวี ติ กแต่มวี จิ ารเป็นไฉน?
อวิตกฺกวิจารมตฺตภูมยิ ํ รูปาวจเร อปริยาปนฺเน วิจารํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยวิตกและวิจารนัน้ เว้นวิจาร-
ในรูปาวจรจิต โลกุตตรจิตอันเป็นทีเ่ กิดแห่งธรรมไม่มวี ติ กแต่มวี จิ าร;
อิเม ธมฺมา อวิตกฺกวิจารมตฺตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี ติ กแต่มวี จิ าร.
[๑๐๐๒] กตเม ธมฺมา อวิตกฺกาวิจารา?
[๑๐๐๒] ธรรมไม่มวี ติ กไม่มวี จิ ารเป็นไฉน?
อวิตกฺกาวิจารภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปอํ สงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ในกามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาจรจิต
โลกุตตรจิตอันเป็นทีเ่ กิดแห่งธรรมไม่มวี ติ กไม่มวี ติ กไม่มวี จิ าร
รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อวิตกฺกาวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี ติ กไม่มวี จิ าร.
๗. ปีตติ กิ ะ.
[๑๐๐๓] กตเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา?
[๑๐๐๓] ธรรมสหรคตด้วยปีตเิ ป็นไฉน?
ปีตภิ มู ยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน ปีตึ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
526

เวทนากฺขนฺโธ เปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;


เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยปีตนิ น้ั เว้นปีตใิ นกามาวจรจิต
รูปาวจรจิต โลกุตตรจิตอันเป็นทีเ่ กิดแห่งปีต;ิ
อิเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยปีต.ิ
[๑๐๐๔] กตเม ธมฺมา สุขสหคตา?
[๑๐๐๔] ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
สุขภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน สุขํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยสุขเวทนานัน้ เว้น-
สุขเวทนาในกามาวจรจิต รูปาวจรจิต โลกุตตรจิต อันเป็นทีเ่ กิดแห่งสุข-
เวทนา;
อิเม ธมฺมา สุขสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา.
[๑๐๐๕] กตเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา?
[๑๐๐๕] ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา เป็นไฉน?
อุเปกฺขาภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน อุเปกฺขํ Ęเปตฺวา
ตํสมฺปยุตโฺ ต สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนานัน้
เว้นอุเบกขาเวทนาในกามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต-
อันเป็นทีเ่ กิดแห่งอุเบกขาเวทนา;
อิเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา.
๘. ทัสสนติก.
[๑๐๐๖] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา?
[๑๐๐๖] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
527

ตีณิ สċฺโċชนานิ; สกฺกายทิฏĘฺ ิ วิจกิ จิ ฉฺ า สีลพฺพตปรามาโส.


สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส.
[๑๐๐๗] ตตฺถ กตมา สกฺกายทิฏĘฺ ?ิ
[๑๐๐๗] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นัน้ สักกายทิฏฐิเป็นไฉน?
อิธ อสฺสตุ วา ปุถชุ ชฺ โน อริยานํ อทสฺสาวี, อริยธมฺมสฺส อโกวิโท, อริยธมฺเม
อวินโี ต, สปฺปรุ สิ านํ อทสฺสาวี, สปฺปรุ สิ ธมฺมสฺส อโกวิโท, สปฺปรุ สิ ธมฺเม อวินโี ต,
รูปํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, รูปวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา รูป,ํ รูปสฺมึ วา
อตฺตานํ;
ปุถชุ นในโลกนีผ้ ไู้ ร้การศึกษาไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของ-
พระอริยเจ้า ไม่ได้ฝกึ ฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรษุ ไม่-
ฉลาดในธรรมของสัตบุรษุ ไม่ได้ฝกึ ฝนในธรรมของสัตบุรษุ ย่อมเห็นรูป-
เป็นตน หรือเห็นตนมีรปู เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป;
เวทนํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, เวทนาวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา เวทนํ,
เวทนาย วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนใน-
เวทนา;
สċฺċํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, สċฺċาวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา สċฺċ,ํ
สċฺċาย วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสญ ั ญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนใน-
สัญญา;
สงฺขาเร อตฺตโต สมนุปสฺสติ, สงฺขารวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา สงฺขาเร,
สงฺขาเรสุ วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสงั ขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนใน-
สังขาร;
วิญċ ฺ าณํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, วิญċ ฺ าณวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา
วิญċฺ าณํ, วิญċ ฺ าณสฺมึ วา อตฺตานํ;
528

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวญ ิ ญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็น-


ตนในวิญญาณ;
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺ-
ทิตํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิสญ ั โญชน์ คือทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด
ภาวะทีผ่ ดิ ลัทธิ เป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะ-
เช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สกฺกายทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าสักกายทิฏฐิ.
[๑๐๐๘] ตตฺถ กตมา วิจกิ จิ ฉฺ า?
[๑๐๐๘] วิจกิ จิ ฉาเป็นไฉน?
สตฺถริ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ธมฺเม กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, สงฺเฆ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
สิกขฺ าย กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ปุพพฺ นฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, อปรนฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ
กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ;
ปุถชุ นเคลือบแคลงสงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์
ในสิกขา ในส่วนอดีต ในส่วนอนาคต ทัง้ ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต
ในปฏิจจสมุปปาทธรรมทีว่ า่ เพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยา เอวรูปา กงฺขา กงฺขายนา กงฺขายิตตฺต,ํ วิมติ วิจกิ จิ ฉฺ า, เทฺวฬฺหกํ เทฺวธาปโถ,
การเคลือบแคลง กิรยิ าทีเ่ คลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็นไป-
ต่างๆ นานา ความตัดสินอารมณ์ไม่ได้ ความเห็นเป็นสองแง่ ความเห็น-
เหมือนทางแพ่รง,
529

สํสโย อเนกํสคาโห, อาสปฺปนา ปริสปฺปนา อปริโยคาหนา, ถมฺภติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส


มโนวิเลโข;
ความสงสัย ความไม่สามารถจะถือเอาโดยส่วนเดียวได้ ความคิดส่ายไป
ความคิดพร่าไป ความไม่สามารถจะหยัง่ ลงถือเอาเป็นทีย่ ตุ ไิ ด้ ความกระ-
ด้างแห่งจิต ความลังเลใจอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ า.
นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉา.
[๑๐๐๙] ตตฺถ กตโม สีลพฺพตปรามาโส?
[๑๐๐๙] สีลพั พตปรามาสเป็นไฉน?
อิโต พหิทธฺ า สมณพฺราหฺมณานํ “สีเลน สุทธฺ ิ วเตน สุทธฺ ิ สีลพฺพเตน สุทธฺ ”ี
ติ.
ความเห็นว่า ความบริสทุ ธิย์ อ่ มมีได้ดว้ ยศีล ด้วยพรต ด้วยศีลพรตของสมณ-
พราหมณ์ในภายนอกแต่ศาสนานี้ ดังนี้ .
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘิกนฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ
ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็น-
ข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะทีผ่ ดิ
ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสอันมีลกั ษณะเช่นว่านี้
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตปรามาโส.
นีเ้ รียกว่าสีลพั พตปรามาส.
[๑๐๑๐] อิมานิ ตีณิ สċฺโċชนานิ; ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา,
[๑๐๑๐] สัญโญชน์ ๓ นี้ และกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับสัญโญชน์ ๓ นัน้ ,
530

ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;


เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยสัญโญชน์ ๓ นัน้ ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีสญ ั โญชน์ ๓ นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนนปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ.
[๑๐๑๑] กตเม ธมฺมา ภาวนายปหาตพฺพา?
[๑๐๑๑] ธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?
อวเสโส โลโภ โทโส โมโห; ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา,
โลภะ โทสะ โมหะทีเ่ หลือ และกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับโลภะ โทสะ
โมหะนัน้ ,
ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยโลภะ โทสะ โมหะ นัน้ ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันมีโลภะ โทสะ โมหะ นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ภาวนายปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ
[๑๐๑๒] กตเม ธมฺมา เนวทสฺสเนน น ภาว นายปหาตพฺพา?
[๑๐๑๒] ธรรมอันโสดาปัตติมรรค และมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณเป็นไฉน?
กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
กุศลธรรมและอัพยากตธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ
คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา เนวทสฺสเน น นภาวนายปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรค และมรรคเบือ้ งสูง ๓
ไม่ประหาณ.
531

๙. ทัสสนเหตุตกิ ะ.
[๑๐๑๓] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๐๑๓] ธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
ตีณิ สċฺโċชนานิ; สกฺกายทิฏĘิ วิจกิ จิ ฉฺ า สีลพฺพตปรามาโส.
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส.
[๑๐๑๔] ตตฺถ กตมา สกฺกายทิฏĘฺ ?ิ ฯเปฯ อยํ วุจจฺ ติ สกฺกายทิฏĘฺ Ņ.
[๑๐๑๔] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นัน้ สักกายทิฏฐิเป็นไฉน ฯลฯ นีเ้ รียกว่าสักกายทิฏฐิ.
[๑๐๑๕] ตตฺถ กตมา วิจกิ จิ ฉฺ า? ฯเปฯ อยํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ า.
[๑๐๑๕] วิจกิ จิ ฉาเป็นไฉน ฯลฯ นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉา.
[๑๐๑๖] ตตฺถ กตโม สีลพฺพตปรามาโส? ฯเปฯ อยํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตปรามาโส.
[๑๐๑๖] สีลพั พตปรามาสเป็นไฉน ฯลฯ นีเ้ รียกว่าสีลพั พตปรามาส.
[๑๐๑๗] อิมานิ ตีณิ สċฺโċชนานิ ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
[๑๐๑๗] สัญโญชน์ ๓ นี้ และกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับสัญโญชน์ ๓ นัน้ เวทนา-
ขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยสัญโญชน์ ๓ นัน้ ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีสญ ั โญชน์ ๓ นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.
ตีณิ สċฺโċชนานิ; สกฺกายทิฏĘฺ ิ วิจกิ จิ ฉฺ า สีลพฺพตปรามาโส;
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ.
ตเทกฏฺโĘ โลโภ โทโส โมโห;
โลภะ โทสะ โมหะ ทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับสัญโญชน์ ๓ นัน้ ;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตู.
532

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสัมปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.


ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
ส่วนกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับโลภะ โทสะ โมหะนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วย โลภะ โทสะ โมหะนัน้ กายกรรม วจีกรรม
มโนกรรมอันมี โลภะ โทสะ โมหะนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.
[๑๐๑๘] กตเม ธมฺมา ภาวนายปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๐๑๘] ธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?
อวเสโส โลโภ โทโส โมโห;
โลภะ โทสะ โมหะ ทีเ่ หลือ;
อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งบน ๓ ประหาณ.
ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
กิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับโลภะ โทสะ โมหะ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณ-
ขันธ์อนั สัมปยุตด้วย โลภะ โทสะ โมหะนัน้ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
อันมีโลภะ โทสะ โมหะนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
[๑๐๑๙] กตเม ธมฺมา เนวทสฺสเน น นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๐๑๙] ธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งสูง ๓ จะประ-
หาณเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา; เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ
533

วิญċฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปอํ สงฺขตา จ ธาตุ;


เว้นธรรมนัน้ กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรมทีเ่ หลือซึง่ เป็น-
กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา เนว ทสฺสเน น นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรค และ-
มรรคเบือ้ งสูง ๓ จะประหาณ.
๑๐. อาจยคามิตกิ ะ.
[๑๐๒๐] กตเม ธมฺมา อาจยคามิโน?
[๑๐๒๐] ธรรมเป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา; เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรมและอกุศลธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร
อรูปาวจร คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อาจยคามิโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิ.
[๑๐๒๑] กตเม ธมฺมา อปจยคามิโน?
[๑๐๒๑] ธรรมเป็นเหตุให้ถงึ นิพพานเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา; อิเม ธมฺมา อปจยคามิโน.
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระสภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุให้ถงึ -
นิพพาน.
[๑๐๒๒] กตเม ธมฺมา เนวาจยคามิโน นาปจยคามิโน?
[๑๐๒๒] ธรรมไม่เป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิและไม่เป็นเหตุให้ถงึ นิพพานเป็นไฉน?
กุสลากุสลานํ ธมฺมานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ; เย จ ธมฺมา กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา
น จ กมฺมวิปากา, สพฺพċฺจ รูปอํ สงฺขตา จ ธาตุ;
534

วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร


โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ ธรรมเป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล
ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบาก รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา เนวาจยคามิโนนาปจยคามิโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิ และไม่เป็นเหตุให้-
ถึงนิพพาน.
๑๑. เสกขติกะ.
[๑๐๒๓] กตเม ธมฺมา เสกฺขา?
[๑๐๒๓] ธรรมเป็นของเสกขบุคคลเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา เหฏฺมิ านิ จ ตีณิ สามċฺċผลานิ;
มรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระทัง้ ๔ และสามัญญผลเบือ้ งต่ำ ๓;
อิเม ธมฺมา เสกฺขา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นของเสกขบุคคล.
[๑๐๒๔] กตเม ธมฺมา อเสกฺขา?
[๑๐๒๔] ธรรมเป็นของอเสกขบุคคลเป็นไฉน?
อุปริฏĘฺ มิ ํ อรหตฺตผลํ; อิเม ธมฺมา อเสกฺขา.
อรหัตตผลเบือ้ งสูง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นของอเสกขบุคคล.
[๑๐๒๕] กตเม ธมฺมา เนว เสกฺขา นาเสกฺขา?
[๑๐๒๕] ธรรมไม่เป็นของเสกขบุคคล และไม่เป็นของอเสกขบุคคลเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา; เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ
ธาตุ;
เว้นธรรมคือมรรค ๔ ผล ๔ เหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพ-
ยากตธรรมทีเ่ หลือซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร คือเวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา เนว เสกฺขานาเสกฺขา.
535

สภาวะธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นของเสกขบุคคลและไม่เป็นของอเสก-


ขบุคคล.
๑๒. ปริตตติกะ.
[๑๐๒๖] กตเม ธมฺมา ปริตตฺ า?
[๑๐๒๖] ธรรมเป็นปริตตะเป็นไฉน?
สพฺเพว กามาวจรา กุสลา กุสลาพฺยากตา ธมฺมา รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺ-
ขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรมทีเ่ ป็นกามาวจรทัง้ หมด คือ
รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา ปริตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นปริตตะ.
[๑๐๒๗] กตเม ธมฺมา มหคฺคตา?
[๑๐๒๗] ธรรมเป็นมหัคคตะเป็นไฉน?
รูปาวจรา อรูปาวจรา กุสลาพฺยากตา ธมฺมา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺ-
ขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรมทีเ่ ป็นรูปาวจร อรูปาวจร คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา มหคฺคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นมหัคคตะ.
[๑๐๒๘] กตเม ธมฺมา อปฺปมาณา?
[๑๐๒๘] ธรรมเป็นอัปปมาณะเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อปฺปมาณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัปปมาณะ.
๑๓. ปริตตารัมมณติกะ.
536

[๑๐๒๙] กตเม ธมฺมา ปริตตฺ ารมฺมณา?


[๑๐๒๙] ธรรมมีอารมณ์เป็นปริตตะเป็นไฉน?
ปริตเฺ ต ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภปริตตธรรมเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา ปริตตฺ ารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นปริตตะ.
[๑๐๓๐] กตเม ธมฺมา มหคฺคตารมฺมณา?
[๑๐๓๐] ธรรมมีอารมณ์เป็นมหัคคตะเป็นไฉน?
มหคฺคเต ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภมหัคคตธรรมเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา มหคฺคตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นมหัคคตะ.
[๑๐๓๑] กตเม ธมฺมา อปฺปมาณารมฺมณา?
[๑๐๓๑] ธรรมมีอารมณ์เป็นอัปปมาณะเป็นไฉน?
อปฺปมาเณ ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภอัปปมาณธรรมเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อปฺปมาณารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นอัปปมาณะ.
๑๔. หีนติกะ.
[๑๐๓๒] กตเม ธมฺมา หีนา?
[๑๐๓๒] ธรรมทรามเป็นไฉน?
ตีณิ อกุสลมูลานิ; โลโภ โทโส โมโห, ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
อกุศลมูล ๓ คือ โลภะ โทสะ โมหะ กิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับโลภะ
โทสะ โมหะนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยโลภะ
โทสะ โมหะนัน้ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีโลภะ โทสะ โมหะ
537

นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา หีนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทราม.
[๑๐๓๓] กตเม ธมฺมา มชฺฌมิ า?
[๑๐๓๓] ธรรมปานกลางเป็นไฉน?
สาสวา กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา; รูปกฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรมและอัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร
อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา มชฺฌมิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมปานกลาง.
[๑๐๓๔] กตเม ธมฺมา ปณีตา?
[๑๐๓๔] ธรรมประณีตเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา ปณีตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมประณีต.

๑๕. มิจฉัตตติกะ.
[๑๐๓๕] กตเม ธมฺมา มิจฉฺ ตฺตนิยตา?
[๑๐๓๕] ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอนเป็นไฉน?
ปċฺจ กมฺมานิ อานนฺตริกานิ, ยา จ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ นิยตา;
อนันตริยกรรม ๕ และนิยตมิจฉาทิฏฐิ;
อิเม ธมฺมา มิจฉฺ ตฺตนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นมิจฉาสภาวะ และให้ผลแน่นอน.
[๑๐๓๖] กตเม ธมฺมา สมฺมตฺตนิยตา?
[๑๐๓๖] ธรรมเป็นสัมมาสภาวะและให้ผลแน่นอนเป็นไฉน?
538

จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา;


มรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระทัง้ ๔ ซึง่ ไม่นบั เนือ่ งในวัฏฏทุกข์;
อิเม ธมฺมา สมฺมตฺตนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นสัมมาสภาวะและให้ผลแน่นอน.
[๑๐๓๗] กตเม ธมฺมา อนิยตา?
[๑๐๓๗] ธรรมให้ผลไม่แน่นอนเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรมทีเ่ หลือ-
ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และ อสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมให้ผลไม่แน่นอน.
๑๖. มัคคารัมมณติกะ.
[๑๐๓๘] กตเม ธมฺมา มคฺคารมฺมณา?
[๑๐๓๘] ธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์เป็นไฉน?
อริยมคฺคอํ ารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภอริยมรรคเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา มคฺคารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์.
[๑๐๓๙] กตเม ธมฺมา มคฺคเหตุกา?
[๑๐๓๙] ธรรมมีเหตุคอื มรรคเป็นไฉน?
อริยมคฺคสมงฺคสิ สฺ มคฺคงฺคานิ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
เว้นองค์แห่งมรรคเสียเวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยองค์-
539

แห่งมรรคนัน้ ของท่านผูพ้ รัง่ พร้อมด้วยอริยมรรค;


อิเม ธมฺมา มคฺคเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุคอื มรรค.
อริยมคฺคสมงฺคสิ สฺ สมฺมาทิฏĘิ มคฺโค เจว เหตุ จ,
สัมมาทิฏฐิของท่านผูพ้ รัง่ พร้อมด้วยอริยมรรคเป็นมรรคด้วย เป็นเหตุดว้ ย,
สมฺมาทิฏĘึ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เว้นสัมมาทิฏฐิเสีย เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยสัมมาทิฏ-
ฐินน้ั ;
อิเม ธมฺมา มคฺคเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุคอื มรรค.
อริยมคฺคสมงฺคสิ สฺ อโลโภ อโทโส อโมโห; อิเม ธมฺมา มคฺคเหตู ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
อโลภะ อโทสะ อโมหะ ของท่านผูพ้ รัง่ พร้อมด้วยอริยมรรค สภาวธรรม-
เหล่านีช้ อ่ื ว่าเหตุคอื มรรค เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วย-
อโลภะ อโทสะ อโมหะนัน้ ;
อิเม ธมฺมา มคฺคเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุคอื มรรค.
[๑๐๔๐] กตเม ธมฺมา มคฺคาธิปติโน?
[๑๐๔๐] ธรรมมีมรรคเป็นอธิบดีเป็นไฉน?
อริยมคฺคํ อธิปตึ กริตวฺ า เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดทำอริยมรรคให้เป็นอธิบดีเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา มคฺคาธิปติโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี.
อริยมคฺคสมงฺคสิ สฺ วีมสํ าธิปเตยฺยํ มคฺคํ ภาวยนฺตสฺส วีมสํ ํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ ของท่านผูพ้ รัง่ พร้อมด้วยอริยมรรคทีก่ ำลัง-
540

เจริญมรรคมีวมิ งั สาเป็นอธิบดี อันสัมปยุตด้วยวิมงั สานัน้ เว้นวิมงั สาเสีย;


อิเม ธมฺมา มคฺคาธิปติโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี.
๑๗. อุปปันนติกะ.
[๑๐๔๑] กตเม ธมฺมา อุปปฺ นฺนา?
[๑๐๔๑] ธรรมเกิดขึน้ แล้วเป็นไฉน?
เย ธมฺมา ชาตา ภูตา สċฺชาตา, นิพพฺ ตฺตา อภินพิ พฺ ตฺตา ปาตุภตู า อุปปฺ นฺนา
สมุปปฺ นฺนา, อุฏĘฺ ติ า สมุฏĘฺ ติ า, อุปปฺ นฺนา อุปปฺ นฺนเํ สน สงฺคหิตา; รูปา
เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;
ธรรมเหล่าใดเกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิดเฉพาะแล้ว
ปรากฏแล้ว เกิดขึน้ แล้ว เกิดขึน้ พร้อมแล้ว ตัง้ ขึน้ แล้ว ตัง้ ขึน้ พร้อมแล้ว
เกิดขึน้ แล้ว สงเคราะห์ดว้ ยส่วนทีเ่ กิดขึน้ แล้ว คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ;
อิเม ธมฺมา อุปปฺ นฺนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเกิดขึน้ แล้ว.
[๑๐๔๒] กตเม ธมฺมา อนุปปฺ นฺนา?
[๑๐๔๒] ธรรมยังไม่เกิดขึน้ เป็นไฉน?
เย ธมฺมา อชาตา อภูตา อสċฺชาตา, อนิพพฺ ตฺตา อนภินพิ พฺ ตฺตา อปาตุภตู า,
อนุปปฺ นฺนา อสมุปปฺ นฺนา, อนุฏĘฺ ติ า อสมุฏĘฺ ติ า, อนุปปฺ นฺนา อนุปปฺ นฺนเํ สน
สงฺคหิตา; รูปา เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;
ธรรมเหล่าใดยังไม่เกิดแล้ว ยังไม่เป็นแล้ว ยังไม่เกิดพร้อมแล้ว ยังไม่บงั -
เกิดแล้ว ยังไม่บงั เกิดเฉพาะแล้ว ยังไม่ปรากฏแล้ว ยังไม่เกิดขึน้ แล้ว ยังไม่-
เกิดขึน้ พร้อมแล้ว ยังไม่ตง้ั ขึน้ แล้ว ยังไม่ตง้ั ขึน้ พร้อมแล้ว ยังไม่เกิดขึน้ แล้ว
สงเคราะห์ดว้ ยส่วนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ;
อิเม ธมฺมา อนุปปฺ นฺนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมยังไม่เกิดขึน้ .
541

[๑๐๔๓] กตเม ธมฺมา อุปปฺ าทิโน?


[๑๐๔๓] ธรรมจักเกิดขึน้ เป็นไฉน?
กุสลากุสลานํ ธมฺมานํ อวิปกฺกวิปากานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา
อปริยาปนฺนา; เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ; ยċฺจ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา
อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ;
วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรมทีย่ งั ไม่ให้ผล เป็นกามาวจร รูปาวจร
อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ และรูปซึง่ จักเกิด-
ขึน้ เพราะกรรมแต่ง;
อิเม ธมฺมา อุปปฺ าทิโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมจักเกิดขึน้ .
๑๘. อตีตติกะ.
[๑๐๔๔] กตเม ธมฺมา อตีตา?
[๑๐๔๔] ธรรมเป็นอดีตเป็นไฉน?
เย ธมฺมา อตีตา นิรทุ ธฺ า วิคตา วิปริณตา, อตฺถงฺคตา อพฺภตฺถงฺคตา,
อุปปฺ ชฺชติ วฺ า วิคตา, อตีตา อตีตเํ สน สงฺคหิตา; รูปา เวทนา สċฺċา สงฺขารา
วิญċ ฺ าณํ;
ธรรมเหล่าใดล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว อัสดงคต-
แล้ว ถึงความดับสูญแล้ว เกิดขึน้ แล้วปราศไป ล่วงไป สงเคราะห์ดว้ ยส่วน-
ทีล่ ว่ งไปแล้ว คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ;
อิเม ธมฺมา อตีตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอดีต.
[๑๐๔๕] กตเม ธมฺมา อนาคตา?
[๑๐๔๕] ธรรมเป็นอนาคตเป็นไฉน?
เย ธมฺมา อชาตา อภูตา อสċฺชาตา, อนิพพฺ ตฺตา อนภินพิ พฺ ตฺตา อปาตุภตู า,
อนุปปฺ นฺนา อสมุปปฺ นฺนา, อนุฏĘฺ ติ า อสมุฏĘฺ ติ า, อนาคตา อนาคตํเสน
สงฺคหิตา; รูปํ เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;
542

ธรรมเหล่าใดยังไม่เกิดแล้ว ยังไม่เป็นแล้ว ยังไม่เกิดพร้อมแล้ว ยังไม่บงั -


เกิดแล้ว ยังไม่บงั เกิดเฉพาะแล้ว ยังไม่ปรากฏแล้ว ยังไม่เกิดขึน้ แล้ว ยังไม่-
เกิดขึน้ พร้อมแล้ว ยังไม่ ตัง้ ขึน้ แล้ว ยังไม่ตง้ั ขึน้ พร้อมแล้ว ยังไม่มาถึง
สงเคราะห์ดว้ ยส่วนทีย่ งั ไม่มาถึง คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ;
อิเม ธมฺมา อนาคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอนาคต.
[๑๐๔๖] กตเม ธมฺมา ปจฺจปุ ปฺ นฺนา?
[๑๐๔๖] ธรรมเป็นปัจจุบนั เป็นไฉน?
เย ธมฺมา ชาตา ภูตา สċฺชาตา, นิพพฺ ตฺตา อภินพิ พฺ ตฺตา ปาตุภตู า, อุปปฺ นฺนา
สมุปปฺ นฺนา, อุฏĘฺ ติ า สมุฏĘฺ ติ า, ปจฺจปุ ปฺ นฺนา ปจฺจปุ ปฺ นฺนเํ สน สงฺคหิตา; รูปํ
เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;
ธรรมเหล่าใดซึง่ เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิดเฉพาะ-
แล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึน้ แล้ว เกิดขึน้ พร้อมแล้ว ตัง้ ขึน้ แล้ว ตัง้ ขึน้ พร้อมแล้ว
เกิดขึน้ เฉพาะแล้ว สงเคราะห์ดว้ ยส่วนทีเ่ กิดขึน้ เฉพาะแล้ว คือ รูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ;
อิเม ธมฺมา ปจฺจปุ ปฺ นฺนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นปัจจุบนั .
๑๙. อตีตารัมมณติกะ.
[๑๐๔๗] กตเม ธมฺมา อตีตารมฺมณา?
[๑๐๔๗] ธรรมมีอารมณ์เป็นอดีตเป็นไฉน?
อตีเต ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใด ปรารภอดีตธรรมเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อตีตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นอดีต.
[๑๐๔๘] กตเม ธมฺมา อนาคตารมฺมณา?
[๑๐๔๘] ธรรมมีอารมณ์เป็นอนาคตเป็นไฉน?
543

อนาคเต ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;


ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภอนาคตธรรมเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อนาคตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นอนาคต.
[๑๐๔๙] กตเม ธมฺมา ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณา?
[๑๐๔๙] ธรรมมีอารมณ์เป็นปัจจุบนั เป็นไฉน?
ปจฺจปุ ปฺ นฺเน ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภปัจจุบนั ธรรมเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นปัจจุบนั .
๒๐. อัชฌัตตติกะ.
[๑๐๕๐] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตา?
[๑๐๕๐] ธรรมเป็นภายในเป็นไฉน?
เย ธมฺมา เตสํ เตสํ สตฺตานํ อชฺฌตฺตํ ปจฺจตฺตํ นิยกา ปาฏิปคุ คฺ ลิกา
อุปาทินนฺ า; รูปํ เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;
ธรรมเหล่าใดเป็นภายใน เป็นเฉพาะตน เกิดแก่ตน เป็นของเฉพาะแต่ละ-
บุคคล เป็นอุปาทินนะของสัตว์นน้ั ๆ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ;
อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นภายใน.
[๑๐๕๑] กตเม ธมฺมา พหิทธฺ า?
[๑๐๕๑] ธรรมเป็นภายนอกเป็นไฉน?
เย ธมฺมา เตสํ เตสํ ปรสตฺตานํ ปรปุคคฺ ลานํ อชฺฌตฺตํ ปจฺจตฺตํ นิยกา ปาฏิปคุ -ฺ
คลิกา อุปาทินนฺ า รูปํ เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;
ธรรมเหล่าใดเป็นภายในเป็นเฉพาะตน เกิดแก่ตน เป็นของเฉพาะแต่ละ-
บุคคล เป็นอุปาทินนะของสัตว์อน่ื ของบุคคลอืน่ นัน้ ๆ คือ รูป เวทนา
544

สัญญา สังขาร วิญญาณ;


อิเม ธมฺมา พหิทธฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นภายนอก.
[๑๐๕๒] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตพหิทธฺ า?
[๑๐๕๒] ธรรมเป็นภายในและเป็นภายนอกเป็นไฉน?
ตทุภยํ; อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตพหิทธฺ า.
ธรรมทัง้ ๒ ประเภททีก่ ล่าวมานัน้ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นภาย-
ในและเป็นภายนอก.
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ.
[๑๐๕๓] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตารมฺมณา?
[๑๐๕๓] ธรรมมีอารมณ์เป็นภายในเป็นไฉน?
อชฺฌตฺเต ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภธรรมเป็นภายในเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นภายใน.
[๑๐๕๔] กตเม ธมฺมา พหิทธฺ ารมฺมณา?
[๑๐๕๔] ธรรมมีอารมณ์เป็นภายนอกเป็นไฉน?
พหิทธฺ า ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภธรรมเป็นภายนอกเกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา พหิทธฺ ารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นภายนอก.
[๑๐๕๕] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตพหิทธฺ ารมฺมณา?
[๑๐๕๕] ธรรมมีอารมณ์เป็นภายในและเป็นภายนอกเป็นไฉน?
อชฺฌตฺตพหิทธฺ า ธมฺเม อารพฺภ เย อุปปฺ ชฺชนฺติ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกเหล่าใดปรารภธรรมเป็นภายใน ธรรมเป็นภายนอก-
เกิดขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตพหิทธฺ ารมฺมณา.
545

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นภายในและเป็นภายนอก.


๒๒. สนิทสั สนติกะ.
[๑๐๕๖] กตเม ธมฺมา สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา?
[๑๐๕๖] ธรรมทีเ่ ห็นได้และกระทบได้ เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิเม ธมฺมา สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา.
รูปายตนะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นได้และกระทบได้.
[๑๐๕๗] กตเม ธมฺมา อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา?
[๑๐๕๗] ธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ โสตายตนํ ฆานายตนํ ชิวหฺ ายตนํ กายายตนํ, สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ
รสายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ;
จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ สัททายตนะ
คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ;
อิเม ธมฺมา อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้.
[๑๐๕๘] กตเม ธมฺมา อนิทสฺสนาปฺปฏิฆา?
[๑๐๕๘] ธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ ยċฺจ รูปํ
อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺนํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ รูปทีเ่ ห็นไม่ได้กระทบ-
ไม่ได้ ซึง่ นับเนือ่ งในธัมมายตนะ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนิทสฺสนาปฺปฏิฆา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้.
ติกนิกเขปจบ.
ทุกนิกเขป.
๑. เหตุโคจฉก.
๑. เหตุทกุ ะ.
546

[๑๐๕๙] กตเม ธมฺมา เหตู?


[๑๐๕๙] ธรรมเป็นเหตุเป็นไฉน?
ตโย กุสลเหตู, ตโย อกุสลเหตู, ตโย อพฺยากตเหตู นว กามาวจรเหตู, ฉ
รูปาวจรเหตู, ฉ อรูปาวจรเหตู, ฉ อปริยาปนฺนเหตู.
กุศลเหตุ ๓ อกุศลเหตุ ๓ อัพยากตเหตุ ๓ กามาวจรเหตุ ๙ รูปาวจรเหตุ ๖
อรูปาวจรเหตุ ๖ โลกุตตรเหตุ ๖.
[๑๐๖๐] ตตฺถ กตเม ตโย กุสลเหตู?
[๑๐๖๐] บรรดาเหตุเหล่านัน้ กุศลเหตุ ๓ เป็นไฉน?
อโลโภ อโทโส อโมโห.
อโลภะเหตุ อโทสะเหตุ อโมหะเหตุ.
[๑๐๖๑] ตตฺถ กตโม อโลโภ?
[๑๐๖๑] บรรดากุศลเหตุ ๓ นัน้ อโลภะเป็นไฉน?
โย อโลโภ อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺต,ํ อสาราโค อสารชฺชนา อสารชฺชติ ตฺตํ
อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ กุสลมูล;ํ
การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความไม่โลภ การไม่กำหนัดนัก กิรยิ าทีไ่ ม่กำ-
หนัดนัก ความไม่กำหนัดนัก ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูล คืออโลภะ;
อยํ วุจจฺ ติ อโลโภ.
นีเ้ รียกว่าอโลภะ.
[๑๐๖๒] ตตฺถ กตโม อโทโส?
[๑๐๖๒] อโทสะเป็นไฉน?
โย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺต,ํ เมตฺติ เมตฺตายนา เมตฺตายิตตฺต,ํ อนุททฺ า
อนุททฺ ายนา อนุททฺ ายิตตฺต,ํ หิเตสิตา อนุกมฺปา, อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช,
อโทโส กุสลมูล;ํ
การไม่คดิ ประทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย
ไมตรีกริ ยิ าทีส่ นิทสนม ความสนิทสนม การเอ็นดู กิรยิ าทีเ่ อ็นดู ความเอ็นดู
ความแสวงหาประโยชน์ เกือ้ กูล ความสงสาร ความไม่พยาบาท ความไม่-
547

คิดเบียดเบียนกุศลมูลคืออโทสะ;
อยํ วุจจฺ ติ อโทโส.
นีเ้ รียกว่าอโทสะ.
[๑๐๖๓] ตตฺถ กตโม อโมโห?
[๑๐๖๓] อโมหะเป็นไฉน?
ทุกเฺ ข ċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย ċาณํ ทุกขฺ นิโรเธ ċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคามินยิ า
ปฏิปทาย ċาณํ, ปุพพฺ นฺเต ċาณํ, อปรนฺเต ċาณํ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต ċาณํ,
อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ ċาณํ;
ความรูใ้ นทุกข์ ความรูใ้ นทุกขสมุทยั ความรูใ้ นทุกขนิโรธ ความรูใ้ นทุกข-
นิโรธคามินปี ฏิปทา ความรูใ้ นส่วนอดีต ความรูใ้ นส่วนอนาคต ความรูท้ ง้ั -
ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต ความรูใ้ นปฏิจจสมุปปาทธรรมว่าเพราะ-
ธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยา เอวรูปา ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ํ เวภพฺยา จินตฺ า
อุปปริกขฺ า,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะทีร่ ู้ ภาวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ,
ภูรี เมธา ปริณายิกา, วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċาพลํ,
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง ความ
เห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ,
ปċฺċาสตฺถํ ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต
ปċฺċารตนํ; อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘิ;
ปัญญาเหมือนศาสตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสง-
สว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
548

ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิทม่ี ลี กั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;


อยํ วุจจฺ ติ อโมโห.
นีเ้ รียกว่าอโมหะ.
อิเม ตโย กุสลเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ากุศลเหตุ ๓.
[๑๐๖๔] ตตฺถ กตเม ตโย อกุสลเหตู?
[๑๐๖๔] อกุศลเหตุ ๓ เป็นไฉน?
โลโภ โทโส โมโห.
โลภะ โทสะ โมหะ.
[๑๐๖๕] ตตฺถ กตโม โลโภ?
[๑๐๖๕] บรรดาอกุศลเหตุ ๓ นัน้ โลภะเป็นไฉน?
โย ราโค สาราโค, อนุนโย อนุโรโธ, นนฺที นนฺทรี าโค, จิตตฺ สฺส สาราโค,
ความกำหนัด ความกำหนัดนัก ความคล้อยตามอารมณ์ ความยินดี ความ-
เพลิดเพลิน ความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน ความกำหนัดนัก-
แห่งจิต,
อิจฉฺ า มุจฉฺ า อชฺโฌสานํ, เคโธ ปลิเคโธ, สงฺโค ปงฺโก, เอชา มายา,
ความอยาก ความสยบ ความหมกมุน่ ความใคร่ ความรักใคร่ ความข้อง-
อยู่ ความจมอยู่ ธรรมชาติผคู้ ร่าไป ธรรมชาติผหู้ ลอกลวง,
ชนิกา สċฺชนนี, สิพพฺ นิ ี ชาลิน,ี สริตา วิสตฺตกิ า สุตตฺ ํ วิสฏา, อายูหนี ทุตยิ า
ปณิธิ ภวเนตฺต,ิ วนํ วนโถ, สนฺถโว สิเนโห, อเปกฺขา ปฏิพนฺธ,ุ อาสา
อาสึสนา อาสึสติ ตฺต,ํ
ธรรมชาติผยู้ งั สัตว์ให้เกิด ธรรมชาติผยู้ งั สัตว์ให้เกิดพร้อม ธรรมชาติอนั -
ร้อยรัด ธรรมชาติอนั มีขา่ ย ธรรมชาติอนั กำซาบใจ ธรรมชาติอนั ซ่านไป
ธรรมชาติเหมือน เส้นด้าย ธรรมชาติอนั แผ่ไป ธรรมชาติผปู้ ระมวลมา
ธรรมชาติเป็นเพือ่ นสอง ปณิธาน ธรรมชาติผนู้ ำไปสูภ่ พ ตัณหาเหมือนป่า
ตัณหาเหมือนดง ความเกีย่ วข้อง ความเยือ่ ใย ความห่วงใย ความผูกพัน
549

การหวัง กิรยิ าทีห่ วัง ความหวัง


รูปาสา สทฺทาสา คนฺธาสา รสาสา โผฏฺĘพฺพาสา ลาภาสา ธนาสา ปุตตฺ าสา
ชีวติ าสา, ชปฺปา ปชปฺปา อภิชปฺปา, ชปฺปา ชปฺปนา ชปฺปติ ตฺต,ํ โลลุปปฺ ํ
โลลุปปฺ ายนา โลลุปปฺ ายิตตฺต,ํ ปċฺจกิ ตา สาธุกมฺยตา, อธมฺมราโค วิสมโลโภ,
นิกนฺติ นิกามนา, ปตฺถนา ปิหนา สมฺปตฺถนา,
ความหวังรูป ความหวังเสียง ความหวังกลิน่ ความหวังรส ความหวังโผฏ-
ฐัพพะ ความหวังลาภ ความหวังทรัพย์ ความหวังบุตร ความหวังชีวติ
ธรรมชาติผกู้ ระซิบ ธรรมชาติผกู้ ระซิบทัว่ ธรรมชาติผกู้ ระซิบยิง่ การกระ-
ซิบ กิรยิ าทีก่ ระซิบ ความกระซิบ การละโมบ กิรยิ าทีล่ ะโมบ ความละโมบ
ธรรมชาติเป็นเหตุซมซานไป ความใคร่ในอารมณ์ดๆี ความกำหนัดใน-
ฐานะอันไม่ควร ความโลภเกินขนาด ความติดใจ กิรยิ าทีต่ ดิ ใจ ความ-
ปรารถนา ความกระหยิม่ ใจ ความปรารถนานัก,
กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา, รูปตณฺหา อรูปตณฺหา, นิโรธตณฺหา,
รูปตณฺหา สทฺทตณฺหา คนฺธตณฺหา รสตณฺหา โผฏฺĘพฺพตณฺหา ธมฺมตณฺหา,
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ตัณหาในรูปภพ ตัณหาในอรูปภพ ตัณหา-
ในนิโรธ [คือราคะทีส่ หรคตด้วยอุจเฉททิฏฐิ] รูปตัณหา สัททตัณหา
คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา,
โอโฆ โยโค คนฺโถ อุปาทานํ, อาวรณํ นีวรณํ, ฉาทนํ พนฺธนํ, อุปกฺกเิ ลโส
อนุสโย ปริยฏุ Ęฺ านํ, ลตา เววิจฉฺ ,ํ
โอฆะ โยคะ คันถะ อุปาทาน อาวรณ์ นิวรณ์ เครือ่ งปิดบัง เครือ่ งผูก อุปกิ-
เลส อนุสยั ปริยฏุ ฐาน ตัณหาเหมือนเถาวัลย์ ความปรารถนาวัตถุมอี ย่าง-
ต่างๆ,
ทุกขฺ มูลํ ทุกขฺ นิทานํ ทุกขฺ ปฺปภโว, มารปาโส มารพลิสํ มารวิสโย, ตณฺหานที
ตณฺหาชาลํ ตณฺหาคทฺทลุ ํ ตณฺหาสมุทโฺ ท อภิชฌ ฺ า, โลโภ อกุสลมูล;ํ
รากเง่าแห่งทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ แดนเกิดแห่งทุกข์ บ่วงแห่งมาร เบ็ดแห่งมาร
แดนแห่งมาร ตัณหาเหมือนแม่นำ้ ตัณหาเหมือนข่าย ตัณหาเหมือนเชือกผูก
550

ตัณหาเหมือนสมุทร อภิชฌา อกุศลมูลคือโลภะอันใด;


อยํ วุจจฺ ติ โลโภ.
นีเ้ รียกว่าโลภะ.
[๑๐๖๖] ตตฺถ กตโม โทโส?
[๑๐๖๖] โทสะเป็นไฉน?
“อนตฺถํ เม อจรี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้กระทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จรตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ก้ี ำลังทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ จ้ี กั ทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
ปิยสฺส เม มนาปสฺส อนตฺถํ อจริ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
ฯเปฯ อนตฺถํ จรติ,
ฯลฯ กำลังทำความเสือ่ มเสีย,
ฯเปฯ “อนตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ;
ฯลฯ จักทำความเสือ่ มเสียแก่คนทีร่ กั ชอบพอของเรา;
อปฺปยิ สฺส เม อมนาปสฺส อตฺถํ อจริ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเจริญแก่เรา,
ฯเปฯ อตฺถํ จรติ,
ฯลฯ กำลังทำความเจริญ,
ฯเปฯ อตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ;
ฯลฯ จักทำความเจริญแก่คนผูไ้ ม่เป็นทีร่ กั ไม่เป็นทีช่ อบพอของเรา;
อฏฺĘาเน วา ปน อาฆาโต ชายติ;
หรืออาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ในฐานะอันใช่เหตุ;
โย เอวรูโป จิตตฺ สฺส อาฆาโต ปฏิฆาโต ปฏิฆํ ปฏิวโิ รโธ, โกโป ปโกโป
551

สมฺปโกโป, โทโส ปโทโส สมฺปโทโส,


จิตอาฆาต ความขัดเคือง ความกระทบกระทัง่ ความแค้น ความเคือง ความ
ขุน่ เคือง ความพลุง่ พล่าน โทสะ ความคิดประทุษร้าย ความมุง่ คิดประทุษ-
ร้าย,
จิตตฺ สฺส พฺยาปตฺติ มโนปโทโส, โกโธ กุชฌ ฺ นา กุชฌ
ฺ ติ ตฺต,ํ โทโส ทูสนา
ทูสติ ตฺต,ํ
ความขุน่ จิต ธรรมชาติทป่ี ระทุษร้ายใจ โกรธ กิรยิ าทีโ่ กรธ ความโกรธมี-
ลักษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด [และ] การคิดประทุษร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย
ความคิดประทุษร้าย,
พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา พฺยาปชฺชติ ตฺต,ํ วิโรโธ ปฏิวโิ รโธ จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโปถ
อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
การคิดปองร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ปองร้าย ความคิดปองร้าย
ความโกรธ ความแค้น ความดุรา้ ย ความปากร้าย ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิต;
อยํ วุจจฺ ติ โทโส.
นีเ้ รียกว่าโทสะ.
[๑๐๖๗] ตตฺถ กตโม โมโห?
[๑๐๖๗] โมหะเป็นไฉน?
ทุกเฺ ข อċฺċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรเธ อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคา-
มินยิ า ปฏิปทาย อċฺċาณํ, ปุพพฺ นฺเต อċฺċาณํ, อปรนฺเต อċฺċาณํ,
ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต อċฺċาณํ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อċฺċาณํ;
ความไม่รใู้ นทุกข์ ความไม่รใู้ นทุกขสมุทยั ความไม่รใู้ นทุกขนิโรธ ความ-
ไม่รใู้ นทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา ความไม่รใู้ นส่วนอดีต ความไม่รใู้ นส่วน-
อนาคต ความไม่รทู้ ง้ั ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต ความไม่รใู้ นปฏิจจสมุป
ปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยํ เอวรูปํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ, อนภิสมโย อนนุโพโธ อสมฺโพโธ อปฺปฏิเวโธ,
อสงฺคาหนา อปริโยคาหนา,
552

ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รโู้ ดยสมควร ความไม่ร-ู้


ตามเป็นจริง ความไม่แทงตลอด,
อสมเปกฺขนา อปฺปจฺจเวกฺขณา อปฺปจฺจกฺขกมฺม,ํ ทุมเฺ มชฺฌํ พาลฺยํ อสมฺปชċฺċ,ํ
โมโห ปโมโห สมฺโมโห,
ความไม่ถอื เอาโดยถูกต้อง ความไม่หยัง่ ลงโดยรอบคอบ ความไม่พนิ จิ
ความไม่พจิ ารณา การไม่กระทำให้ประจักษ์ ความทรามปัญญา ความโง่-
เขลา ความไม่รชู้ ดั ความหลง ความลุม่ หลง ความหลงใหล,
อวิชชฺ า อวิชโฺ ชโฆ อวิชชฺ าโยโค อวิชชฺ านุสโย อวิชชฺ าปริยฏุ Ęฺ านํ อวิชชฺ าลงฺค,ี
โมโห อกุสลมูล;ํ
อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสยั คือ อวิชชา ปริยฏุ ฐานคือ-
อวิชชา ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูล คือ โมหะมีลกั ษณะเช่นว่านี้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ โมโห.
นีเ้ รียกว่าโมหะ.
อิเม ตโย อกุสลเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า กุศลเหตุ ๓.
[๑๐๖๘] ตตฺถ กตเม ตโย อพฺยากตเหตู?
[๑๐๖๘] อัพยากตเหตุ ๓ เป็นไฉน?
กุสลานํ วา ธมฺมานํ วิปากโต กิรยิ าพฺยากเตสุ วา ธมฺเมสุ อโลโภ อโทโส
อโมโห;
อโลภะ อโทสะ อโมหะฝ่ายวิบากของกุศลธรรม หรือ อโลภะ อโทสะ
อโมหะในพวกกิรยิ าอัพยากตธรรม;
อิเม ตโย อพฺยากตเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอัพยากตเหตุ ๓.
[๑๐๖๙] ตตฺถ กตเม นว กามาวจรเหตู?
[๑๐๖๙] กามาวจรเหตุ ๙ เป็นไฉน?
ตโย กุสลเหตู, ตโย อกุสลเหตู, ตโย อพฺยากตเหตู;
553

กุศลเหตุ ๓ อกุศลเหตุ ๓ อัพยากตเหตุ ๓;


อิเม นว กามาวจรเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ากามาวจรเหตุ ๙.
[๑๐๗๐] ตตฺถ กตเม ฉ รูปาวจรเหตู?
[๑๐๗๐] รูปาวจรเหตุ ๖ เป็นไฉน?
ตโย กุสลเหตู, ตโย อพฺยากตเหตู;
กุศลเหตุ ๓ อัพยากตเหตุ ๓;
อิเม ฉ รูปาวจรเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ารูปาวจรเหตุ ๖.
[๑๐๗๑] ตตฺถ กตเม ฉ อรูปาวจรเหตู?
[๑๐๗๑] อรูปาวจรเหตุ ๖ เป็นไฉน?
ตโย กุสลเหตู ตโย อพฺยากตเหตู;
กุศลเหตุ ๓ อัพยากตเหตุ ๓;
อิเม ฉ อรูปาวจรเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า อรูปาวจรเหตุ ๖.
[๑๐๗๒] ตตฺถ กตเม ฉ อปริยาปนฺนเหตู?
[๑๐๗๒] โลกุตตรเหตุ ๖ เป็นไฉน?
ตโย กุสลเหตู ตโย อพฺยากตเหตู;
กุศลเหตุ ๓ อัพยากตเหตุ ๓;
อิเม ฉ อปริยาปนฺนเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอรูปาวจรเหตุ ๖.
[๑๐๗๓] ตตฺถ กตเม ตโย กุสลเหตู?
[๑๐๗๓] บรรดาโลกุตตรเหตุ ๖ นัน้ กุศลเหตุ ๓ เป็นไฉน?
อโลโภ อโทโส อโมโห.
อโลภะ อโทสะ อโมหะ.
554

[๑๐๗๔] ตตฺถ กตโม อโลโภ โย อโลโภ?


[๑๐๗๔] บรรดากุศลเหตุ ๓ นัน้ อโลภะเป็นไฉน?
อลุพภฺ นา อลุพภฺ ติ ตฺตํ อสาราโค อสารชฺชนา อสารชฺชติ ตฺตํ อนภิชฌ ฺ า, อโลโภ
กุสลมูล;ํ
การไม่โลภ กิรยิ าทีไ่ ม่โลภ ความไม่โลภ ความไม่กำหนัด กิรยิ าทีไ่ ม่กำ-
หนัด ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะ;
อยํ วุจจฺ ติ อโลโภ.
นีเ้ รียกว่าอโลภะ.
[๑๐๗๕] ตตฺถ กตโม อโทโส?
[๑๐๗๕] อโทสะเป็นไฉน?
โย อโทโส อทูสนา อทูสติ ตฺตํ ฯเปฯ อพฺยาปาโท อพฺยาปชฺโช, อโทโส กุลสมูล;ํ
การไม่คดิ ประทุษร้าย กิรยิ าทีไ่ ม่คดิ ประทุษร้าย ความไม่คดิ ประทุษร้าย
ฯลฯ ความไม่พยาบาท ความไม่คดิ เบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะ;
อยํ วุจจฺ ติ อโทโส.
นีเ้ รียกว่าอโทสะ.
[๑๐๗๖] ตตฺถ กตโม อโมโห?
[๑๐๗๖] อโมหะเป็นไฉน?
ทุกเฺ ข ċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย ċาณํ, ทุกขฺ นิโรเธ ċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคามินยิ า
ปฏิปทาย ċาณํ, ปุพพฺ นฺเต ċาณํ อปรนฺเต ċาณํ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต ċาณํ,
อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ ċาณํ;
ความรูใ้ นทุกข์ ความรูใ้ นทุกขสมุทยั ความรูใ้ นทุกขนิโรธ ความรูใ้ นทุกข-
นิโรธคามินปี ฏิปทา ความรูใ้ นส่วนอดีต ความรูใ้ นส่วนอนาคต ความรูท้ ง้ั -
ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต ความรูใ้ นปฏิจจสมุปปาทธรรมว่าเพราะ-
ธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยา เอวรูปา ปċฺċา ปชานนา, วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย, สลฺลกฺขณา
อุปลกฺขณา ปจฺจปุ ลกฺขณา, ปณฺฑจิ จฺ ํ โกสลฺลํ เนปุċċ ฺ ,ํ เวภพฺยา จินตฺ า
555

อุปปริกขฺ า,
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ความวิจยั ความเลือกสรร ความวิจยั ธรรม ความกำ-
หนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะภาวะทีร่ ู้ ภาวะ-
ทีฉ่ ลาด ภาวะทีร่ ลู้ ะเอียด ความรูแ้ จ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ,
ภูรี เมธา ปริณายิกา, วิปสฺสนา สมฺปชċฺċํ ปโตโท, ปċฺċา ปċฺċนิ ทฺ รฺ ยิ ํ
ปċฺċาพลํ,
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครือ่ งทำลายกิเลส ปัญญาเครือ่ งนำทาง
ความเห็นแจ้ง ความรูช้ ดั ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ,
ปċฺċาสตฺถํ ปċฺċาปาสาโท ปċฺċาอาโลโก ปċฺċาโอภาโส ปċฺċาปชฺโชโต
ปċฺċารตนํ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค, มคฺคงฺคํ
มคฺคปริยาปนฺน;ํ
ปัญญาเหมือนศัสตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา แสง-
สว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง
ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ ธรรมวิจยั สัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค-
นับเนือ่ งในมรรค;
อยํ วุจจฺ ติ อโมโห.
นีช้ อ่ื ว่าอโมหะ.
อิเม ตโย กุสลเหต.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ากุศลเหตุ ๓.
[๑๐๗๗] ตตฺถ กตเม ตโย อพฺยากตเหตู?
[๑๐๗๗] อัพยากตเหตุ ๓ เป็นไฉน?
กุสลานํ ธมฺมานํ วิปากโต อโลโภ อโทโส อโมโห;
อโลภะ อโทสะ อโมหะฝ่ายวิบากแห่งกุศลธรรม;
อิเม ตโย อพฺยากตเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอัพยากตเหตุ ๓.
556

อิเม ฉ อปริยาปนฺนเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าโลกุตตรเหตุ ๖.
อิเม ธมฺมา เหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุ.
[๑๐๗๘] กตเม ธมฺมา น เหตู?
[๑๐๗๘] ธรรมไม่เป็นเหตุเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา; เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นธรรมเป็นเหตุเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรม-
ทีเ่ หลือซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา น เหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า ธรรมไม่เป็นเหตุ.
๒. สเหตุกทุกะ.
[๑๐๗๙] กตเม ธมฺมา สเหตุกา?
[๑๐๗๙] ธรรมมีเหตุเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สเหตุกา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดมีเหตุโดยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุ.
[๑๐๘๐] กตเม ธมฺมา อเหตุกา?
[๑๐๘๐] ธรรมไม่มเี หตุเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา อเหตุกา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ,
สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
557

ธรรมเหล่าใดไม่มเี หตุโดยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ


วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มเี หตุ.
๓. เหตุสมั ปยุตตทุกะ.
[๑๐๘๑] กตเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า?
[๑๐๘๑] ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุ เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยเหตุ.
[๑๐๘๒] กตเม ธมฺมา เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ า?
[๑๐๘๒] ธรรมวิปปยุตจากเหตุเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċฺ าณกฺขนฺโธ
สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากเหตุ.
๔. เหตุสเหตุกทุกะ.
[๑๐๘๓] กตเม ธมฺมา เหตู เจว สเหตุกาจ?
[๑๐๘๓] ธรรมเป็นเหตุและมีเหตุเป็นไฉน?
โลโภ โมเหน เหตุ เจว สเหตุโก จ,
โลภะเป็นเหตุ และมีเหตุโดยโมหะ,
โมโห โลเภน เหตุ เจว สเหตุโก จ,
558

โมหะเป็นเหตุและมีเหตุโดยโลภะ,
โทโส โมเหน เหตุ เจว สเหตุโก จ,
โทสะเป็นเหตุและมีเหตุโดยโมหะ,
โมโห โทเสน เหตุ เจว สเหตุโก จ,
โมหะเป็นเหตุและมีเหตุโดยโทสะ,
อโลโภ อโทโส อโมโห เต อċฺมċฺċํ เหตู เจว สเหตุกา จ;
อโลภะ อโทสะ อโมหะ ทัง้ ๓ นัน้ เป็นเหตุและมีเหตุโดยกันและกัน;
อิเม ธมฺมา เหตู เจว สเหตุกา จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุและมีเหตุ.
[๑๐๘๔] กตเม ธมฺมา สเหตุกา เจว น จ เหตู?
[๑๐๘๔] ธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สเหตุกา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดมีเหตุโดยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ เว้นธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่า-
นัน้ เสีย คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สเหตุกา เจว น จเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ.

๕. เหตุเหตุสมั ปยุตตทุกะ.
[๑๐๘๕] กตเม ธมฺมา เหตู เจว เหตุสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๐๘๕] ธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุเป็นไฉน?
โลโภ โมเหน เหตุ เจว เหตุสมฺปยุตโฺ ต จ,
โลภะเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุโดยโมหะ,
โมโห โลเภน เหตุเจว เหตุ สมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุโดยโลภะ,
โทโส โมเหน เหตุ เจว เหตุสมฺปยุตโฺ ต จ,
559

โทสะเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุโดยโมหะ,
โมโห โทเสน เหตุ เจว เหตุ สมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุโดยโทสะ,
อโลโภ อโทโส อโมโห, เต อċฺมċฺċํ เหตู เจว เหตุสมฺปยุตตฺ า จ;
อโลภะ อโทสะ อโมหะทัง้ ๓ นัน้ เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
โดยกันและกัน;
อิเม ธมฺมา เหตู เจว เหตุสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ.
[๑๐๘๖] กตเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า เจว น จเหตู?
[๑๐๘๖] ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ เว้นธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่า-
นัน้ เสีย คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า เจว น จเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ.
๖. นเหตุสเหตุกทุกะ.
[๑๐๘๗] กตเม ธมฺมา นเหตู สเหตุกา?
[๑๐๘๗] ธรรมไม่เป็นเหตุแต่มเี หตุเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา นเหตู สเหตุกา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดไม่เป็นเหตุแต่มเี หตุโดยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา นเหตู สเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุแต่มเี หตุ.
[๑๐๘๘] กตเม ธมฺมา น เหตู อเหตุกา?
[๑๐๘๘] ธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มเี หตุเป็นไฉน?
560

เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา นเหตู อเหตุกา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ,


สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดไม่เป็นเหตุและไม่มเี หตุโดยธรรมทีเ่ ป็นเหตุเหล่านัน้ คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา นเหตู อเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มเี หตุ.
เหตุโคจฉกะจบ
จูฬนั ตรทุก.
๑. สัปปัจจยทุกะ.
[๑๐๘๙] กตเม ธมฺมา สปฺปจฺจยา?
[๑๐๘๙] ธรรมมีปจั จัยเป็นไฉน?
ปċฺจกฺขนฺธา รูปกฺขนฺโธ เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สปฺปจฺจยา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีปจั จัย.
[๑๐๙๐] กตเม ธมฺมา อปฺปจฺจยา?
[๑๐๙๐] ธรรมไม่มปี จั จัยเป็นไฉน?
อสงฺขตา ธาตุ; อิเม ธมฺมา อปฺปจฺจยา.
อสังขตธาตุ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มปี จั จัย.
๒. สังขตทุกะ.
[๑๐๙๑] กตเม ธมฺมา สงฺขตา?
[๑๐๙๑] ธรรมเป็นสังขตะเป็นไฉน?
เยว เต ธมฺมา สปฺปจฺจยา, เตว เต ธมฺมา สงฺขตา.
ธรรมทีม่ ปี จั จัยเหล่านัน้ อันใดเล่าธรรมเหล่านัน้ นัน่ แหละชือ่ ว่า
ธรรมเป็นสังขตะ.
[๑๐๙๒] กตเม ธมฺมา อสงฺขตา?
561

[๑๐๙๒] ธรรมเป็นอสังขตะนัน้ เป็นไฉน?


โย เอว โส ธมฺโม อปฺปจฺจโย, โส เอว โส ธมฺโม อสงฺขโต.
ธรรมทีไ่ ม่มปี จั จัยนัน้ อันใดเล่าธรรมนัน้ นัน่ แหละชือ่ ว่าธรรมเป็นอสังขตะ.
๓. สนิทสั สนทุกะ.
[๑๐๙๓] กตเม ธมฺมา สนิทสฺสนา?
[๑๐๙๓] ธรรมทีเ่ ห็นได้เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิเม ธมฺมา สนิทสฺสนา
รูปายตนะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นได้.
[๑๐๙๔] กตเม ธมฺมา อนิทสฺสนา?
[๑๐๙๔] ธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ; เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ; ยċฺจ
รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺน,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทีเ่ ห็น-
ไม่ได้ ทีก่ ระทบไม่ได้ ซึง่ นับเนือ่ งในธัมมายตนะและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนิทสฺสนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้.
๔. สัปปฏิฆทุกะ.
[๑๐๙๕] กตเม ธมฺมา สปฺปฏิฆา?
[๑๐๙๕] ธรรมทีก่ ระทบได้เป็นไฉน?
จกฺขายตนํฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิเม ธมฺมา สปฺปฏิฆา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีก่ ระทบได้.
[๑๐๙๖] กตเม ธมฺมา อปฺปฏิฆา?
[๑๐๙๖] ธรรมทีก่ ระทบไม่ได้เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ; ยċฺจ รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายต-
นปริยาปนฺน,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
562

เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทีเ่ ห็นไม่ได้กระทบไม่ได้ซง่ึ นับเนือ่ งใน


ธัมมายตนะ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อปฺปฏิฆา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีก่ ระทบไม่ได้.
๕. รูปที กุ ะ.
[๑๐๙๗] กตเม ธมฺมา รูปโิ น?
[๑๐๙๗] ธรรมเป็นรูปเป็นไฉน?
จตฺตาโร จ มหาภูตา จตุนนฺ ํ จ มหาภูตานํ อุปาทาย รูป;ํ
มหาภูตรูป ๔ และรูปทีอ่ าศัยมหาภูตรูป ๔;
อิเม ธมฺมา รูปโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า ธรรมเป็นรูป.
[๑๐๙๘] กตเม ธมฺมา อรูปโิ น?
[๑๐๙๘] ธรรมไม่เป็นรูปเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ, อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อรูปโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นรูป.

๖. โลกิยทุกะ.
[๑๐๙๙] กตเม ธมฺมา โลกิยา?
[๑๐๙๙] ธรรมเป็นโลกิยะเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ทีเ่ ป็นกา-
มาวจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา โลกิยา.
563

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นโลกิยะ.


[๑๑๐๐] กตเม ธมฺมา โลกุตตฺ รา?
[๑๑๐๐] ธรรมเป็นโลกุตตระเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โลกุตตฺ รา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นโลกุตตระ.
๗. เกนจิวญ
ิ เญยยทุกะ.
[๑๑๐๑] กตเม ธมฺมา เกนจิ วิญเฺ ċยฺยา เกนจิ น วิญเฺ ċยฺยา?
[๑๑๐๑] ธรรมทีจ่ ติ บางอย่างรูไ้ ด้และทีจ่ ติ บางอย่างรูไ้ ม่ได้เป็นไฉน?
เย เต ธมฺมา จกฺขวุ ญิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้.
564

เย เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา;


ธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ฆานวิċเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา กายวิċเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ċ ิ เฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้;
565

เย วา ปน เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา.


หรือธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ จักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา จกฺขวุ ญ ิ เฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดจักขุวญ ิ ญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
566

เย เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา;


ธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ โสตวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา โสตวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดโสตวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
เย เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ฆานวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ฆานวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดฆานวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณไม่รไู้ ด้.
เย เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา;
ธรรมเหล่าใดกายวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ ชิวหาวิญญาณรูไ้ ม่ได้;
เย วา ปน เต ธมฺมา ชิวหฺ าวิญเฺ ċยฺยา, น เต ธมฺมา กายวิญเฺ ċยฺยา.
หรือธรรมเหล่าใดชิวหาวิญญาณรูไ้ ด้ ธรรมเหล่านัน้ กายวิญญาณรูไ้ ม่ได้.
อิเม ธมฺมา เกน จิวญ
ิ เฺ ċยฺยา, เกนจิ น วิญเฺ ċยฺยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีจ่ ติ บางอย่างรูไ้ ด้และทีจ่ ติ บางอย่างรูไ้ ม่ได้.
จูฬนั ตรทุกะจบ.
๓. อาสวโคจฺฉก.
๑. อาสวทุกะ.
[๑๑๐๒] กตเม ธมฺมา อาสวา?
[๑๑๐๒] ธรรมเป็นอาสวะเป็นไฉน?
จตฺตาโร อาสวา กามาสโว ภวาสโว ทิฏĘฺ าสโว อวิชชฺ าสโว.
อาสวะ ๔ คือ กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ.
[๑๑๐๓] ตตฺถ กตโม กามาสโว?
[๑๑๐๓] บรรดาอาสวะ ๔ นัน้ กามาสวะเป็นไฉน?
โย กาเมสุ กามจฺฉนฺโท กามราโค กามนนฺที กามตณฺหา กามสิเนโห กามปริ-
ฬาโห กามมุจฉฺ า กามชฺโฌสานํ;
ความพอใจคือความใคร่ ความกำหนัดคือความใคร่ ความเพลิดเพลินคือ-
567

ความใคร่ ตัณหาคือความใคร่ สิเนหาคือความใคร่ ความเร่าร้อนคือความ-


ใคร่ ความสยบคือความใคร่ ความหมกมุน่ คือความใคร่ในกามทัง้ หลาย
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ กามาสโว.
นีเ้ รียกว่ากามาสวะ.
[๑๑๐๔] ตตฺถ กตโม ภวาสโว?
[๑๑๐๔] ภวาสวะเป็นไฉน?
โย ภเวสุ ภวจฺฉนฺโท ภวราโค ภวนนฺที ภวตณฺหา ภวสิเนโห ภวปริฬาโห
ภวมุจฉฺ า ภวชฺโฌสานํ;
ความพอใจในภพ ความกำหนัดในภพ ความเพลิดเพลินในภพ สิเนหาใน-
ภพ ความเร่าร้อนในภพ ความสยบในภพ ความหมกมุน่ ในภพในภพทัง้ -
หลายอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ภวาสโว.
นีเ้ รียกว่าภวาสวะ.
[๑๑๐๕] ตตฺถ กตโม ทิฏฺ าสโว?
[๑๑๐๕] ทิฏฐาสวะเป็นไฉน?
สสฺสโต โลโกติ วา, อสสฺสโต โลโกติ วา, อนฺตวา โลโกติ วา, อนนฺตวา โลโกติ
วา, ตํ ชีวํ ตํ สรีรนฺติ วา,
ความเห็นว่าโลกเทีย่ งก็ดี ว่าโลกไม่เทีย่ งก็ดี ว่าโลกมีทส่ี ดุ ก็ดี ว่าโลกไม่ม-ี
ทีส่ ดุ ก็ดี ว่าชีพอันนัน้ สรีระก็อนั นัน้ ก็ดี ว่าชีพเป็นอืน่ สรีระก็เป็นอืน่ ก็ด,ี
อċฺċํ ชีวํ อċฺċํ สรีรนฺติ วา, โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, น โหติ
ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา โหติ จ น จ โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, เนว
โหติ น น โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา;
ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ไม่เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะ-
ก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ ม็ ไี ม่เป็นอยูก่ ม็ เี บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็น-
อยูก่ ไ็ ม่ใช่ไม่เป็นอยูก่ ไ็ ม่ใช่เบือ้ งหน้าแต่มรณะก็ด;ี
568

ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ทิ ฏิ Ęิคตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร, ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺ-
ทิตํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ, คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค
มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็น-
ข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ ความยึดถือ
ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะทีผ่ ดิ ลัทธิเป็น-
บ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ ทิฏĘฺ าสโว.
นีเ้ รียกว่าทิฏฐาสวะ.
สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘิ ทิฏĘฺ าสโว.
มิจฉาทิฏฐิแม้ทง้ั หมดจัดเป็นทิฏฐาสวะ.
[๑๑๐๖] ตตฺถ กตโม อวิชชฺ าสโว?
[๑๑๐๖] อวิชชาสวะเป็นไฉน?
ทุกเฺ ข อċฺċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรเธ อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคา-
มินยิ า ปฏิปทาย อċฺċาณํ, ปุพพฺ นฺเต อċฺċาณํ, อปรนฺเต อċฺċาณํ; ปุพพฺ นฺ-
ตาปรนฺเต อċฺċาณํ, อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อċฺċาณํ;
ความไม่รใู้ นทุกข์ ความไม่รใู้ นทุกขสมุทยั ความไม่รใู้ นทุกขนิโรธ ความ-
ไม่รใู้ นทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา ความไม่รใู้ นส่วนอดีต ความไม่รใู้ นส่วน-
อนาคต ความไม่รทู้ ง้ั ในส่วนอดีต และส่วนอนาคต ความไม่รใู้ นปฏิจจ-
สมุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยํ เอวรูปํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ, อนภิสมโย อนนุโพโธ อสมฺโพโธ อปฺปฏิเวโธ,
อสงฺคาหนา อปริโยคาหนา อสมเปกฺขนา อปฺปจฺจเวกฺขณา,
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รโู้ ดยสมควร ความไม่ร-ู้
ตามเป็นจริง ความไม่แทงตลอด ความไม่ถอื เอาให้ถกู ต้อง ความไม่หยัง่ -
ลงโดยรอบคอบ ความไม่พนิ จิ ความไม่พจิ ารณาการไม่กระทำให้ประจักษ์
อปฺปจฺจกฺขกมฺมํ ทุมเฺ มชฺฌํ พาลฺยํ อสมฺปชċฺċํ โมโห ปโมโห สมฺโมโห,
569

อวิชชฺ า อวิชโฺ ชโฆ อวิชชฺ าโยโค อวิชชฺ านุสโย อวิชชฺ าปริยฏุ Ęฺ านํ อวิชชฺ าลงฺค,ี
โมโห อกุสลมูล,ํ
ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รชู้ ดั ความหลง ความลุม่ หลง
ความหลงใหล อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสยั คืออวิชชา
ปริยฏุ ฐานคืออวิชชา ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะมีลกั ษณะเช่นว่านี-้
อันใด;
อยํวจุ จฺ ติ อวิชชฺ าสโว.
นีเ้ รียกว่าอวิชชาสวะ.
อิเม ธมฺมา อาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอาสวะ.
[๑๑๐๗] กตเม ธมฺมา โนอาสวา?
[๑๑๐๗] ธรรมไม่เป็นอาสวะเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นอาสวธรรมเหล่านัน้ เสียกุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมทีเ่ ป็น-
กามาวจร รูปวาจร อรูปาวจร โลกุตตระทีเ่ หลือ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โนอาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอาสวะ.
๒. สาสวทุกะ.
[๑๑๐๘] กตเม ธมฺมา สาสวา?
[๑๑๐๘] ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
570

อิเม ธมฺมา สาสวา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ.
[๑๑๐๙] กตเม ธมฺมา อนาสวา?
[๑๑๐๙] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ.
๓. อาสวสัปยุตตทุกะ.
[๑๑๑๐] กตเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า?
[๑๑๑๐] ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอาสวธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ.
[๑๑๑๑] กตเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๑๑๑] ธรรมวิปปยุตจากอาสวะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ,
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
สภาวธรรมทีไ่ ม่ประกอบกับอาสวะได้แก่ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญณานขันธ์
รูปทัง้ หมด และธาตุทป่ี จั จัยไม่ปรุงแต่ง;
อิเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะ.
๔. อาสวสาสวทุกะ.
[๑๑๑๒] กตเม ธมฺมา อาสวา เจว สาสวา จ?
571

[๑๑๑๒] ธรรมเป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
เตเยว อาสวา อาสวา เจว สาสวาจ.
อาสวะเหล่านัน้ นัน่ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ.
[๑๑๑๓] กตเม ธมฺมา สาสวา เจว โน จ อาสวา?
[๑๑๑๓] ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นไฉน?
เ ตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สาสวา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของอาสวะโดยอาสวธรรมเหล่านัน้ เว้นอาสว-
ธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั -
มีอาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร อรูปาวจรได้แก่ รูปขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สาสวา เจว โน จ อาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ.
๕. อาสวอาสวสัมปยุตตทุก.
[๑๑๑๔] กตเม ธมฺมา อาสวา เจว อาสว สมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๑๑๔] ธรรมเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นไฉน?
กามาสโว อวิชชฺ าสเวน อาสโว เจว อาสว สมฺปยุตโฺ ต จ,
กามาสวะเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ โดยอวิชชาสวะ,
อวิชชฺ าสโว กามาสเวน อาสโว เจว อาสวสมฺปยุตโฺ ต จ,
อวิชชาสวะเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยกามาสวะ,
ภวาสโว อวิชชฺ าสเวน อาสโว เจว อาสว สมฺปยุตโฺ ต จ,
ภวาสวะเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอวิชชาสวะ,
อวิชชฺ าสโว ภวาสเวน อาสโว เจว อาสว สมฺปยุตโฺ ต จ,
อวิชชาสวะเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยภวาสวะ,
ทิฏĘฺ าสโว อวิชชฺ าสเวน อาสโว เจว อาสว สมฺปยุตโฺ ต จ,
572

ทิฏฐาสวะเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอวิชชาสวะ,
อวิชชฺ าสโว ทิฏĘฺ าสเวน อาสโว เจว อาสว สมฺปยุตโฺ ต จ;
อวิชชาสวะเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยทิฏฐาสวะ;
อิเม ธมฺมา อาสวา เจว อาสวสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ.
[๑๑๑๕] กตเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อาสวา?
[๑๑๑๕] ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอาสวธรรมเหล่านัน้ เว้นอาสวธรรมเหล่านัน้ เสีย
คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ.
๖. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ.
[๑๑๑๖] กตเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า สาสวา?
[๑๑๑๖] ธรรมวิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา
กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอาสวธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
ได้แก่ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า สาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะ.
[๑๑๑๗] กตเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า อนาสวา?
[๑๑๑๗] ธรรมวิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
573

มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;


อิเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า อนาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของ-
อาสวะ.
อาสวโคจฉกะจบ.
นิกเฺ ขปกณฺเฑ ปĘมภาณวาโร.
ปฐมภาณวาสรในนิกเขปกัณฑ์จบ.
๔. สัċโċชนโคจฉก.
๑. สัญโญชนทุก.
[๑๑๑๘] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนา?
[๑๑๑๘] ธรรมเป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
ทส สċฺโċชนานิ กามราคสċฺโċชนํ ปฏิฆสċฺโċชนํ มานสċฺโċชนํ
ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชนํ สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ ภวราคสċฺ-
โċชนํ อิสสฺ าสċฺโċชนํ มจฺฉริยสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชน.
สัญโญชน์ ๑๐ คือ กามราคสัญโญชน์ ปฏิฆสัญโญชน์ มานะสัญโญชน์
ทิฏฐิสญ
ั โญชน์ วิจกิ จิ ฉาสัญโญชน์ สีลพั พตปรามาสสัญโญชน์ ภวราคะ-
สัญโญชน์ อิสสาสัญโญชน์ มัจฉริยสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์.
[๑๑๑๙] ตตฺถ กตมํ กามราคสċฺโċชนํ?
[๑๑๑๙] บรรดาสัญโญชน์ ๑๐ นัน้ กามราคสัญโญชน์เป็นไฉน?
โย กาเมสุ กามจฺฉนฺโท กามราโค กามนนฺที กามตณฺหา กามสิเนโห
กามปริฬาโห กามมุจฉฺ า กามชฺโฌสานํ;
ความพอใจคือความใคร่ ความกำหนัดคือความใคร่ ความเพลิดเพลินคือ-
ความใคร่ ตัณหาคือความใคร่ สิเนหาคือความใคร่ ความเร่าร้อนคือความ-
ใคร่ ความสยบคือความใคร่ ความหมกหมุน่ คือความใคร่ในกามทัง้ หลาย
อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ กามราคสċฺโċชนํ.
574

นีเ้ รียกว่ากามราคสัญโญชน์.
[๑๑๒๐] ตตฺถ กตมํ ปฏิฆสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๐] ปฏิฆสัญโญชน์เป็นไฉน?
“อนตฺถํ เม อจรี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้กระทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จรตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ก้ี ำลังทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ;
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ จ้ี กั ทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
ปิยสฺส เม มนาปสฺส อนตฺถํ อจริ.
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเสือ่ มเสีย.
ฯเปฯ อนตฺถํ จรติ ฯเปฯ อนตฺถํ จริสสฺ ตีติ อาฆาโต ชายติ;
ฯลฯ กำลังทำความเสือ่ มเสีย ฯลฯ จักทำความเสือ่ มเสียแก่คนผูเ้ ป็นทีร่ กั ชอบ-
พอของเรา;
อปฺปยิ สฺส เม อมนาปสฺส อตฺถํ อจริ, ฯเปฯ อตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ
อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเจริญ ฯลฯ กำลังทำความเจริญ
ฯลฯ จักทำความเจริญแก่คนผูไ้ ม่เป็นทีร่ กั ไม่เป็นทีช่ อบพอของเรา,
อฏฺĘาเน วา ปน อาฆาโต ชายติ; โย เอวรูโป จิตตฺ สฺส อาฆาโต ปฏิฆาโต
ปฏิฆํ ปฏิวโิ รโธ, โกโป ปโกโป สมฺปโกโป,
หรือ อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ในฐานะอันใช่เหตุจติ อาฆาตความขัดเคือง ความ-
กระทบกระทัง่ ความแค้น ความเคือง ความขุน่ เคือง ความพลุง่ พล่าน,
โทโส ปโทโส สมฺปโทโส, จิตตฺ สฺส พฺยาปตฺติ มโนปโทโส, โกโธ กุชฌ ฺ นา
กุชฌ
ฺ ติ ตฺต,ํ
โทสะ ความคิดประทุษร้าย ความมุง่ คิดประทุษร้าย ความขุน่ จิต ธรรมชาติ
ทีป่ ระทุษร้ายใจ โกรธ กิรยิ าทีโ่ กรธ ความโกรธมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด,
575

โทโส ทูสนา ทูสติ ตฺต,ํ พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา พฺยาปชฺชติ ตฺต,ํ วิโรโธ ปฏิวโิ รโธ,
จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโป อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
การคิดประทุษร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย ความคิดประทุษร้าย การคิดปอง-
ร้าย กิรยิ าคิดปองร้าย ความคิดปองร้าย ความโกรธความแค้น ความดุรา้ ย
ความปากร้าย ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิต;
อิทํ วุจจฺ ติ ปฏิฆสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าปฏิฆสัญโญชน์.
[๑๑๒๑] ตตฺถ กตมํ มานสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๑] มานสัญโญชน์เป็นไฉน?
“เสยฺโยหมสฺม”ี ติ มาโน “สทิโสหมสฺม”ี ติ มาโน หีโนหมสฺมตี ิ มาโน โย เอวรูโป
มาโน มċฺċนา มċฺċติ ตฺต,ํ อุณณ ฺ ติ อุณณ ฺ าโม, ธโช สมฺปคฺคาโห
เกตุกมฺยตา จิตตฺ สฺส;
การถือตัวว่าเราดีกว่าเขา ว่าเราเสมอกับเขา ว่าเราเลวกว่าเขา การถือตัว กิรยิ า
ทีถ่ อื ตัว ความถือตัวมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด และการยกตน การเทอดตน
การเชิดชูตนดุจธง การยกจิตขึน้ ความทีจ่ ติ ต้องการเป็นดุจธง;
อิทํ วุจจฺ ติ มานสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่ามานสัญโญชน์.
[๑๑๒๒] ตตฺถ กตมํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ?
[๑๑๒๒] ทิฏฐิสญ ั โญชน์เป็นไฉน?
สสฺสโต โลโกติ วา, อสสฺสโต โลโกติ วา, อนฺตวา โลโกติ วา, อนนฺตวา โลโกติ
วา,
ความเห็นว่าโลกเทีย่ งก็ดี ว่าโลกไม่เทีย่ งก็ดี ว่าโลกมีทส่ี ดุ ก็ดี ว่าโลกไม่ม-ี
ทีส่ ดุ ก็ด,ี
ตํ ชีวํ ตํ สรีรนฺติ วา, อċฺċํ ชีวํ อċฺċํ สรีรนฺติ วา,
ว่าชีพอันนัน้ สรีระก็อนั นัน้ ก็ดี ว่าชีพเป็นอืน่ สรีระก็เป็นอืน่ ก็ด,ี
โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, น โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, โหติ จ
576

น จ โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, เนว โหติ น น โหติ ตถาคโต


ปรมฺมรณาติ วา;
ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ไม่เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะ-
ก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ ม็ ไี ม่เป็นอยูก่ ม็ เี บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็น-
อยูก่ ไ็ ม่ใช่ไม่เป็นอยูก่ ไ็ ม่ใช่เบือ้ งหน้าแต่มรณะก็ด;ี
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร, ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ -ฺ
ผนฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะทีผ่ ดิ
ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ ทิฏฮฺ สิ ċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าทิฏฐิสญ ั โญชน์.
Ęเปตฺวา สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ, สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ.
ความเห็นผิดแม้ทกุ อย่างเว้นสีลพั พตปรามาสสัญโญชน์เสียจัดเป็นทิฏฐิ-
สัญโญชน์.
[๑๑๒๓] ตตฺถ กตมํ วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๓] วิจกิ จิ ฉาสัญโญชน์เป็นไฉน?
สตฺถริ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ธมฺเม กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, สงฺเฆ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
สิกขฺ าย กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
ปุถชุ นเคลือบแคลงสงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิก-
ขา,
ปุพพฺ นฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, อปรนฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต กงฺขติ
วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
577

ในส่วนอดีต ในส่วนอนาคต ทัง้ ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต,


อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ;
ในปฏิจจสมุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยา เอวรูปา กงฺขา กงฺขายนา กงฺขายิตตฺต,ํ วิมติ วิจกิ จิ ฉฺ า, เทฺวฬฺหกํ เทฺวธาปโถ
สํสโย อเนกํสคาโห,
การเคลือบแคลง กิรยิ าทีเ่ คลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็นไป-
ต่างๆ นานา ความตัดสินอารมณ์ไม่ได้ ความเห็นเป็นสองแง่ ความเห็น-
เหมือนทางสองแพร่ง ความสงสัย ความไม่สามารถจะถือเอาโดยส่วนเดียว-
ได้,
อาสปฺปนา ปริสปฺปนา, อปริโยคาหนา ถมฺภติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส มโนวิเลโข;
ความคิดส่ายไป ความคิดพร่าไป ความไม่สามารถจะหยัง่ ลงถือเอาเป็นยุต-ิ
ได้ ความกระด้างแห่งจิต ความลังเลใจมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉาสัญโญชน์.
[๑๑๒๔] ตตฺถ กตมํ สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๔] สีลพั พตปรามาสสัญโญชน์เป็นไฉน?
อิโต พหิทธฺ า สมณพฺราหฺมณานํ “สีเลน สุทธฺ ,ิ วเตน สุทธฺ ,ิ สีลพฺพเตน
สุทธฺ ’ี ติ.
ความเห็นว่าความบริสทุ ธิย์ อ่ มได้ดว้ ยศีล ด้วยพรต ด้วยศีลพรตของสมณ-
พราหมณ์ ในภายนอกแต่ศาสนานี้ ดังนี.้
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร, ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ -ฺ
ผนฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
578

ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะที-่


ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านี้
อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าสีลพั พตปรามาสสัญโญชน์.
[๑๑๒๕] ตตฺถ กตมํ ภวราคสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๕] ภวราคสัญโญชน์เป็นไฉน?
โย ภเวสุ ภวจฺฉนฺโท ภวราโค, ภวนนฺที ภวตณฺหา, ภวสิเนโห ภวปริฬาโห
ภวมุจฉฺ า ภวชฺโฌสานํอทิ ;ํ
ความพอใจในภพ ความกำหนัดในภพ ความเพลิดเพลินในภพ ตัณหาใน-
ภพ สิเนหาในภพ ความเร่าร้อนในภพ ความสยบในภพ ความหมกมุน่ ใน-
ภพทัง้ หลายอันใด;
วุจจฺ ติ ภวราคสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าภวราคสัญโญชน์.
[๑๑๒๖] ตตฺถ กตมํ อิสสฺ าสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๖] อิสสาสัญโญชน์เป็นไฉน?
ยา ปรลาภ สกฺการครุการ มานน วนฺทน ปูชนาสุ อิสสฺ า อิสสฺ ายนา
อิสสฺ ายิตตฺต,ํ อุสยู า อุสยู นา อุสยู ติ ตฺต;ํ
การริษยา กิรยิ าทีร่ ษิ ยา ความริษยา การเกียดกัน กิรยิ าทีเ่ กียดกัน ความ-
เกียดกันในลาภสักการะ การทำความเคารพ การนับถือ การไหว้ การบูชา-
ของคนอืน่ อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อิสสฺ าสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าอิสสาสัญโญชน์.
[๑๑๒๗] ตตฺถ กตมํ มจฺฉริยสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๗] มัจฉริยสัญโญชน์เป็นไฉน?
ปċฺจ มจฺฉริยานิ อาวาสมจฺฉริยํ กุลมจฺฉริยํ ลาภมจฺฉริยํ วณฺณมจฺฉริยํ
579

ธมฺมมจฺฉริย;ํ
ความตระหนี่ ๕ คือ ตระหนีอ่ าวาส ตระหนีต่ ระกูล ตระหนีล่ าภ ตระหนี-่
วรรณะ ตระหนีธ่ รรม;
ยํ เอวรูปํ มจฺเฉรํ มจฺฉรายนา มจฺฉรายิตตฺต,ํ เววิจฉฺ ํ กทริยํ กฏุกċฺจกุ ตา
อคฺคหิตตฺตจํ ติ ตฺ สฺส;
การตระหนี่ กิรยิ าทีต่ ระหนี่ ความตระหนี่ ความหวงแหน ความเหนียว-
แน่น ความไม่เอือ้ เฟือ้ ความไม่เผือ่ แผ่แห่งจิตมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ มจฺฉริยสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่ามัจฉริยสัญโญชน์.
[๑๑๒๘] ตตฺถ กตมํ อวิชชฺ าสċฺโċชนํ?
[๑๑๒๘] อวิชชาสัญโญชน์เป็นไฉน?
ทุกเฺ ข อċฺċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย อċฺċาณํ ทุกขฺ นิโรเธ อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคามิ-
นิยา ปฏิปทาย อċฺċาณํ,
ความไม่รใู้ นทุกข์ ความไม่รใู้ นทุกขสมุทยั ความไม่รใู้ นทุกขนิโรธ ความ-
ไม่รใู้ นทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา,
ปุพพฺ นฺเต อċฺċาณํ, อปรนฺเต อċฺċาณํ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต อċฺċาณํ,
ความไม่รใู้ นส่วนอดีต ความไม่รใู้ นส่วนอนาคต ความไม่รทู้ ง้ั ในส่วนอดีต-
และส่วนอนาคต,
อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อċฺċาณํ;
ความไม่รใู้ นปฏิจจสมุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัย ธรรมนีจ้ งึ เกิด
ขึน้ ;
ยํ เอวรูปํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ, อนภิสมโย อนนุโพโธ อสมฺโพโธ อปฺปฏิเวโธ,
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รโู้ ดยสมควร ความไม่ร-ู้
ตามความจริง ความไม่แทงตลอด,
อสงฺคาหนา อปริโยคาหนา, อสมเปกฺขนา อปฺปจฺจเวกฺขณา อปฺปจฺจกฺขกมฺม,ํ
ความไม่ถอื เอาให้ถกู ต้อง ความไม่หยัง่ ลงโดยรอบคอบ ความไม่พนิ จิ
580

ความไม่พจิ ารณา,
ทุมเฺ มชฺฌํ พาลฺยํ อสมฺปชċฺċ,ํ โมโห ปโมโห สมฺโมโห,
ความไม่ทำให้ประจักษ์แจ้ง ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รชู้ ดั
ความหลง ความลุม่ หลง ความหลงใหล,
อวิชชฺ า อวิชโฺ ชโฆ อวิชชฺ าโยโค อวิชชฺ านุสโย อวิชชฺ าปริยฏุ Ęฺ านํ อวิชชฺ าลงฺค,ี
โมโห อกุสลมูล;ํ
อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสยั คืออวิชชา ปริยฏุ ฐานคือ-
อวิชชา ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ;
อิทํ วุจจฺ ติ อวิชชฺ าสċฺโċชนํ.
นีเ้ รียกว่าอวิชชาสัญโญชน์.
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นสัญโญชน์.
[๑๑๒๙] กตเม ธมฺมา โน สċฺโċชนา?
[๑๑๒๙] ธรรมไม่เป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นสัญโญชน์ธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม
ทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โน สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นสัญโญชน์.
๒. สัญโญชนิยทุกะ.
[๑๑๓๐] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา?
[๑๑๓๐] ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
581

รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ


ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม ซึง่ เป็นอารมณ์ของอาสวะ เป็นกา-
มาวจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์.
[๑๑๓๑] กตเม ธมฺมา อสċฺโċชนิยา?
[๑๑๓๑] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อสċฺโċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์.
๓. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๓๒] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า?
[๑๑๓๒] ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสัญโญชนธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์.
[๑๑๓๓] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๑๓๓] ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ,
สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสัญโญชนธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า.
582

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์.


๔. สัญโยชนสัญโญชนิยทุกะ.
[๑๑๓๔] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนิยา จ?
[๑๑๓๔] ธรรมเป็นสัญโญชน์และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
ตาเนว สċฺโċชนานิ สċฺโċชนาเจวสċฺโċชนิยาจ.
สัญโญชนธรรมเหล่านัน้ นัน่ แหละชือ่ ว่าธรรมเป็นสัญโญชน์และเป็น-
อารมณ์ของสัญโญชน์.
[๑๑๓๕] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา เจว โน จ สċฺโċชนา?
[๑๑๓๕] ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สċฺโċชนิยา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์โดยสัญโญชนธรรมเหล่านัน้ เว้น-
สัญโญชนธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม
ประเภททีย่ งั มีอาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ได้แก่
รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา เจว โน จ สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์แต่ไม่เป็น-
สัญโญชน์.
[๑๑๓๖] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๑๓๖] ธรรมเป็นสัญโญชน์และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์เป็นไฉน?
กามราคสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
ตċฺจ,
กามราคสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยอวิชชาสัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ กามราคสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
ตċฺจ,
583

อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยกามราค-
สัญโญชน์,
ปฏิฆสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ปฏิฆสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ ปฏิฆสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยปฏิฆ-
สัญโญชน์,
มานสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
มานสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ มานสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยมาน-
สัญโญชน์,
ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ทิฏฐิสญ ั โญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยทิฏฐิ-
สัญโญชน์,
วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
ตċฺจ,
วิจกิ จิ ฉาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
584

ตċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยวิจกิ จิ ฉา-
สัญโญชน์,
สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชน-
สมฺปยุตตฺ ċฺจ,
สีลพั พตปรามาสสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
โดยอวิชชาสัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชน-
สมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยสีลพั พต-
ปรามาสสัญโญชน์,
ภวราคสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
ตċฺจ,
ภวราคาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ ภวราคสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
ตċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยภวราค-
สัญโญชน์,
อิสสฺ าสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อิสสาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ อิสสฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
โดยอิสสาสัญโญชน์,
585

มจฺฉริยสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ


ตċฺจ,
มัจฉริยสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยอวิชชา-
สัญโญชน์,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ มจฺฉริยสċฺโċชเนน สċฺโċชนċฺเจว สċฺโċชนสมฺปยุต-ฺ
ตċฺจ;
อวิชชาสัญโญชน์เป็นสัญโญชน์ และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์โดยมัจฉริย-
สัญโญชน์;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นสัญโญชน์และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์.
[๑๑๓๗] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ สċฺโċชนา?
[๑๑๓๗] ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสัญโญชนธรรมเหล่านัน้ เว้นสัญโญชนธรรม-
เหล่านัน้ เสีย คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์.
๖. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิกะ.
[๑๑๓๘] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า สċฺโċชนิยา?
[๑๑๓๘] ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์แต่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา
กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสัญโญชนธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อกุศล-
ธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร
อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
586

อิเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า สċฺโċชนิยา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์แต่เป็นอารมณ์ของ-
สัญโญชน์.
[๑๑๓๙] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า อสċฺโċชนิยา?
[๑๑๓๙] ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า อสċฺโċċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์และไม่เป็นอารมณ์ของ-
สัญโญชน์.
สัญโญชนโคจฉกะจบ.
๕. คันถโคจฉกะ.
๑. คันถทุกะ.
[๑๑๔๐] กตเม ธมฺมา คนฺถา?
[๑๑๔๐] ธรรมเป็นคันถะเป็นไฉน?
จตฺตาโร คนฺถา อภิชฌ ฺ า กายคนฺโถ พฺยาปาโท กายคนฺโถ สีลพฺพตปรามาโส
กายคนฺโถ อิทสํ จฺจาภินเิ วโส กายคนฺโถ.
คันถะ ๔ คือ อภิชฌากายคันถะ พยาปาทกายคันถะ สีลพั พตปรามาสกาย-
คันถะ อิทงั สัจจาภินเิ วสกายคันถะ.
[๑๑๔๑] ตตฺถ กตโม อภิชฌ ฺ า กายคนฺโถ?
[๑๑๔๑] บรรดาคันถะ ๔ นัน้ อภิชฌากายคันถะเป็นไฉน?
โย ราโค สาราโค อนุนโย อนุโรโธ, นนฺที นนฺทรี าโค, จิตตฺ สฺส สาราโค,
ความกำหนัด ความกำหนัดนัก ความคล้อยตามอารมณ์ ความยินดี ความ-
เพลิดเพลิน ความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน,
อิจฉฺ า มุจฉฺ า อชฺโฌสานํ, เคโธ ปลิเคโธ, สงฺโค ปงฺโก, เอชา มายา, ชนิกา
สċฺชนนี,
587

ความกำหนัดนักแห่งจิต ความอยาก ความสยบ ความหมกมุน่ ความใคร่


ความรักใคร่ ความข้องอยู่ ความจมอยู่ ธรรมชาติผคู้ ร่าไป ธรรมชาติผ-ู้
หลอกลวง ธรรมชาติผยู้ งั สัตว์ให้เกิด ธรรมชาติผยู้ งั สัตว์ให้เกิดพร้อม,
สิพพฺ นิ ี ชาลิน,ี สริตา วิสตฺตกิ า, สุตตฺ ํ วิสฏา, อายูหนี ทุตยิ า ปณิธิ ภวเนตฺต,ิ
ธรรมชาติอนั ร้อยรัด ธรรมชาติอนั มีขา่ ย ธรรมชาติอนั กำซาบใจ ธรรมชาติ-
อันซ่านไป ธรรมชาติเหมือนเส้นด้าย ธรรมชาติอนั แผ่ไป ธรรมชาติผปู้ ระ-
มวลมา ธรรมชาติเป็นเพือ่ นสอง ปณิธาณ ธรรมชาติผนู้ ำไปสูภ่ พ,
วนํ วนโถ สนฺถโว สิเนโห, อเปกฺขา ปฏิพนฺธ,ุ อาสา อาสึสนา อาสึสติ ตฺต,ํ
ตัณหาเหมือนป่า ตัณหาเหมือนดง ความเกีย่ วข้อง ความเยือ่ ใย ความห่วง-
ใย ความผูกพัน ความหวัง กิรยิ าทีห่ วัง ภาวะทีห่ วัง,
รูปาสา สทฺทาสา คนฺธาสา รสาสา โผฏĘพฺพาสา ลาภาสา ธนาสา ปุตตฺ าสา
ชีวติ าสา,
ความหวังรูป ความหวังเสียง ความหวังกลิน่ ความหวังรส ความหวัง-
โผฏฐัพพะ ความหวังลาภ ความหวังทรัพย์ ความหวังบุตร ความหวังชีวติ ,
ชปฺปา ปชปฺปา อภิชปฺปา, ชปฺปา ชปฺปนา, ชปฺปติ ตฺตํ โลลุปปฺ ํ โลลุปปฺ ายนา
โลลุปปฺ ายิตตฺต,ํ ปุċจฺ กิ ตา สาธุกมฺยตา,
ธรรมชาติผกู้ ระซิบ ธรรมชาติผกู้ ระซิบทัว่ ธรรมชาติผกู้ ระซิบยิง่ การกระ-
ซิบ กิรยิ าทีก่ ระซิบ ความทีก่ ระซิบ การละโมบ กิรยิ าทีล่ ะโมบ ความละ-
โมบ ธรรมชาติเป็นเหตุซมซานไป ภาวะทีใ่ คร่อารมณ์ดๆี ,
อธมฺมราโค วิสมโลโภ, นิกนฺติ นิกามนา, ปตฺถนา ปิหนา สมฺปตฺถนา,
ความกำหนัดในฐานะอันไม่ควร ความโลภเกินพอดี ความติดใจ กิรยิ าที-่
ติดใจ ความปรารถนา ความกระหยิม่ ใจ ความปรารถนานัก,
กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา, รูปตณฺหา อรูปตณฺหา นิโรธตณฺหา,
รูปตณฺหา สทฺทตณฺหา คนฺธตณฺหา รสตณฺหา โผฏพฺพตณฺหา ธมฺมตณฺหา,
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ตัณหาในรูปภพ ตัณหาในอรูปภพ
ตัณหาในนิโรธ [คือราคะทีส่ หรคตด้วยอุจเฉททิฏฐิ] รูปตัณหา สัททตัณหา
588

คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา,


โอโฆ โยโค คนฺโถ, อุปาทานํ อาวรณํ นีวรณํ, ฉาทนํ พนฺธนํ, อุปกฺกเิ ลโส
อนุสโย ปริยฏุ Ęฺ านํ,
โอฆะ โยคะ คันถะ อุปาทาน อาวรณ์ นิวรณ์ เครือ่ งปิดบัง เครือ่ งผูก
อุปกิเลส อนุสยั ปริยฏุ ฐาน,
ลตา เววิจฉฺ ,ํ ทุกขฺ มูลํ ทุกขฺ นิทานํ, ทุกขฺ ปฺปภโว มารปาโส มารพลิสํ มารวิสโย,
ตณฺหานที ตณฺหาชาลํ ตณฺหาคทฺทลุ ํ ตณฺหาสมุทโฺ ท, อภิชฌ ฺ า โลโภ อกุสลมูล;ํ
ตัณหาเหมือนเถาวัลย์ ความปรารถนามีวตั ถุอย่างต่างๆ รากเง่าแห่งทุกข์
เหตุแห่งทุกข์ แดนเกิดแห่งทุกข์ บ่วงแห่งมาร เบ็ดแห่งมาร แดนแห่งมาร
ตัณหาเหมือนแม่นำ้ ตัณหาเหมือนข่าย ตัณหาเหมือนเชือกผูก ตัณหา-
เหมือนสมุทร อภิชฌา อกุศลมูลคือโลภะอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อภิชฌ ฺ า กายคนฺโถ.
นีเ้ รียกว่าอภิชฌากายคันถะ.
[๑๑๔๒] ตตฺถ กตโม พฺยาปาโท กายคนฺโถ?
[๑๑๔๒] พยาปาทกายคันถะเป็นไฉน?
“อนตฺถํ เม อจรี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้กระทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จรตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ก้ี ำลังทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ;
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ จ้ี กั ทำความ เสือ่ มเสียแก่เรา,
ปิยสฺส เม มนาปสฺส อนตฺถํ อจริ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเสือ่ มเสีย,
ฯเปฯ อนตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อนตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ, อปฺปยิ สฺส เม
อมนาปสฺส อตฺถํ อจริ ฯเปฯ อตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
ฯลฯ กำลังทำความเสือ่ มเสีย ฯลฯ จักทำความเสือ่ มเสียแก่คนทีร่ กั ทีช่ อบพอ-
589

ของเรา อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเจริญ ฯลฯ กำลังทำ-


ความเจริญ ฯลฯ จักทำความเจริญแก่คนผูไ้ ม่เป็นทีร่ กั ไม่เป็นทีช่ อบพอของ-
เรา,
อฏฺĘาเน วา ปน อาฆาโต ชายติ, โย เอวรูโป จิตตฺ สฺส อาฆาโต ปฏิฆาโต
ปฏิฆํ ปฏิวโิ รโธ, โกโป ปโกโป สมฺปโกโป,
หรืออาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ในฐานะอันใช่เหตุ จิตอาฆาต ความขัดเคือง
ความกระทบกระทัง่ ความแค้น ความเคือง ความขุน่ เคือง ความพลุง่ -
พล่าน,
โทโส ปโทโส สมฺปโทโส, จิตตฺ สฺส พฺยาปตฺติ มโนปโทโส, โกโธ กุชฌ ฺ นา
กุชฌ
ฺ ติ ตฺต,ํ โทโส ทูสนา ทูสติ ตฺต,ํ พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา พฺยาปชฺชติ ตฺต,ํ วิโรโธ
ปฏิวโิ รโธ, จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโป อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
โทสะ ความคิดประทุษร้าย ความขุน่ จิต ธรรมชาติทป่ี ระทุษร้ายใจ โกรธ
กิรยิ าทีโ่ กรธ ภาวะทีโ่ กรธ มีลกั ษณะ เช่นว่านีอ้ นั ใด การคิดประทุษร้าย
กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย ความคิดประทุษร้าย การคิดปองร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ปอง-
ร้าย ความคิดปองร้าย ความโกรธ ความแค้น ความดุรา้ ย ความปากร้าย
ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิต,
อยํ วุจจฺ ติ พฺยาปาโท กายคนฺโถ.
นีเ้ รียกว่าพยาปาทกายคันถะ.
[๑๑๔๓] ตตฺถ กตโม สีลพฺพตปรามาโส กายคนฺโถ?
[๑๑๔๓] สีลพั พตปรามาสกายคันถะเป็นไฉน?
อิโต พหิทธฺ า สมณพฺราหฺมณานํ “สีเลน สุทธฺ ิ วเตน สุทธฺ ิ สีลพฺพเตน สุทธฺ ”ี ติ.
ความเห็นว่าความบริสทุ ธิย์ อ่ มมีได้ดว้ ยศีล ด้วยพรต ด้วยศีลพรตของสมณ-
พราหมณ์ในภายนอกแต่ศาสนานี้ ดังนี.้
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร, ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺ-
ทิตํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
590

ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,


คาโห ปฏิคคฺ าโห อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะที-่
ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่า-
นีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตปรามาโส กายคนฺโถ.
นีเ้ รียกว่าสีลพั พตปรามาสกายคันถะ.
[๑๑๔๔] ตตฺถ กตโม อิทสํ จฺจาภินเิ วโส กายคนฺโถ?
[๑๑๔๔] อิทงั สัจจาภินเิ วสกายคันถะเป็นไฉน?
สสฺสโต โลโก อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ความเห็นว่าโลกเทีย่ งนีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
อสสฺสโต โลโก อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าโลกไม่เทีย่ งนีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
อนฺตวา โลโก อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าโลกมีทส่ี ดุ นีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
อนนฺตวา โลโก อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าโลกไม่มที ส่ี ดุ นีแ้ หละจริง อย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
ตํ ชีวํ ตํ สรีรํ อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าชีพอันนัน้ สรีระก็อนั นัน้ นีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
อċฺċํ ชีวํ อċฺċํ สรีรํ อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าชีพเป็นอืน่ สรีระก็เป็นอืน่ นีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณา อิทเมว สจฺจํ โมฆมċċċนฺติ วา,
ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะนีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
น โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณา อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าสัตว์ไม่เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะนีแ้ หละจริงอย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
591

โหติ จ น จ โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณา อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,


ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ ม็ ไี ม่เป็นอยูก่ ม็ เี บือ้ งหน้าแต่มรณะนีแ้ หละจริงอย่างอืน่ -
เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
เนว โหติ น น โหติ, ตถาคโต ปรมฺมรณา อิทเมว สจฺจํ โมฆมċฺċนฺติ วา,
ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ ไ็ ม่ใช่ไม่เป็นอยูก่ ไ็ ม่ใช่เบือ้ งหน้าแต่มรณะนีแ้ หละจริง
อย่างอืน่ เปล่าดังนีก้ ด็ ,ี
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร, ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ -ฺ
ผนฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ มิจฉฺ ตฺตํ ติตถฺ ายตนํ
วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะที-่
ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านี้
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อิทสํ จฺจาภินเิ วโส กายคนฺโถ.
นีเ้ รียกว่าอิทงั สัจจาภินเิ วสกายคันถะ.
Ęเปตฺวา สีลพฺพตปรามาสํ กายคนฺถํ สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ อิทสํ จฺจาภินเิ วโส
กายคนฺโถ.
มิจฉาทิฏฐิแม้ทกุ อย่างเว้นสีลพั พตปรามาสกายคันถะจัดเป็นอิทงั สัจจาภิน-ิ
เวสกายคันถะ.
อิเม ธมฺมา คนฺถา.
สภาวะธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นคันถะ.
[๑๑๔๕] กตเม ธมฺมา โนคนฺถา?
[๑๑๔๕] ธรรมไม่เป็นคันถะเป็นไฉน?
เต ธมฺมา Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
592

อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ


รูปอํ สงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นคันถธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมทีเ่ หลือ
ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โนคนฺถา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นคันถะ.
๒. คันถนิยทุกะ.
[๑๑๔๖] กตเม ธมฺมา คนฺถนิยา สาสวา?
[๑๑๔๖] ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะทีเ่ ป็นกามาวจร
รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา คนฺถนิยา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ.
[๑๑๔๗] กตเม ธมฺมา อคนฺถนิยา อปริยาปนฺนา?
[๑๑๔๗] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อคนฺถนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ.
๓. คันถสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๔๘] กตเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า?
[๑๑๔๘] ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
593

ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยคันถธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ


วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ.
[๑๑๔๙] กตเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๑๔๙] ธรรมวิปปยุตจากคันถะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากคันถธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะ.
๔. คันถคันถนิยทุกะ.
[๑๑๕๐] กตเม ธมฺมา คนฺถา เจว คนฺถนิยา จ?
[๑๑๕๐] ธรรมเป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
เตว คนฺถา คนฺถา เจว คนฺถนิยา จ.
คันถธรรมเหล่านัน้ นัน่ เองชือ่ ว่าธรรมเป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะ.
[๑๑๕๑] กตเม ธมฺมา คนฺถนิยา เจว โน จ คนฺถา?
[๑๑๕๑] ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา คนฺถนิยา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา; รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของคันถะโดยคันถธรรมเหล่านัน้ เว้นคันถธรรม-
เหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มี-
อาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ได้แก่ รูปขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
594

อิเม ธมฺมา คนฺถนิยา เจว โน จ คนฺถา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ.
๕. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๕๒] กตเม ธมฺมา คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๑๕๒] ธรรมเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นไฉน?
สีลพฺพตปรามาโส กายคนฺโถ อภิชฌ ฺ ากายคนฺเถน คนฺโถ เจว คนฺถสมฺปยุตโฺ ต จ,
สีลพั พตปรามาสกายคันถะเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ โดยอภิชฌา-
กายคันถะ,
อภิชฌ ฺ า กายคนฺโถ สีลพฺพตปรามาสกายคนฺเถน คนฺโถ เจว คนฺถสมฺปยุตโฺ ต จ,
อภิชฌากายคันถะเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ โดยสีลพั พตปรามาส-
กายคันถะ,
อิทสํ จฺจาภินเิ วโส กายคนฺโถ อภิชฌ ฺ ากายคนฺเถน คนฺโถ เจว คนฺถสมฺปยุตโฺ ต จ,
อิทงั สัจจาภินเิ วสกายคันถะเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ โดยอภิชฌา-
กายคันถะ,
อภิชฌ ฺ ากายคนฺโถ อิทสํ จฺจาภินเิ วสกายคนฺเถน คนฺโถ เจว คนฺถสมฺปยุตโฺ ต จ;
อภิชฌากายคันถะเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ โดยอิทงั สัจจาภินเิ วส-
กายคันถะ,
อิเม ธมฺมา คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ.
[๑๑๕๓] กตเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ คนฺถา?
[๑๑๕๓] ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยคันถธรรมเหล่านัน้ เว้นคันถธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ คนฺถา.
595

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ.


๖. คันถวิปยุตตคันถนิยทุกะ.
[๑๑๕๔] กตเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า คนฺถนิยา?
[๑๑๕๔] ธรรมวิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา
กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากคันถธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
ได้แก่ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า คนฺถนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะ.
[๑๑๕๕] กตเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า อคนฺถนิยา?
[๑๑๕๕] ธรรมวิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า อคนฺถนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของ-
คันถะ.
คันถโคจฉกะจบ.
๖. โอฆโคจฺฉก.
[๑๑๕๖] กตเม ธมฺมา โอฆา ฯเปฯ.
[๑๑๕๖] ธรรมเป็นโอฆะเป็นไฉน? ฯลฯ
โอฆโคจฉกจบ.
๗. โยโคฉจฺก.
[๑๑๕๗] กตเม ธมฺมา โยคา ฯเปฯ.
[๑๑๕๗] ธรรมเป็นโยคะเป็นไฉน? ฯลฯ
โยโคฉจฺกจบ.
596

๘. นีวณโคจฺฉก.
๑. นีวรณทุกะ.
[๑๑๕๘] กตเม ธมฺมา นีวรณา?
[๑๑๕๘] ธรรมเป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
ฉ นีวรณานิ: กามจฺฉนฺทนีวรณํ พฺยาปาทนีวรณํ ถีนมิทธฺ นีวรณํ อุทธฺ จฺจกุกกฺ จุ -ฺ
จนีวรณํ วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ อวิชชฺ านีวรณํ.
นิวรณ์ ๖ คือ กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ ถิน่ มิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุก-
กุจจนิวรณ์ วิจกิ จิ ฉานิวรณ์ อวิชชานิวรณ์.
[๑๑๕๙] ตตฺถ กตมํ กามจฺฉนฺทนีวรณํ?
[๑๑๕๙] บรรดานิวรณ์ ๖ นัน้ กามฉันทนิวรณ์เป็นไฉน?
โย กาเมสุ กามจฺฉนฺโท กามราโค กามนนฺที กามตณฺหา กามสิเนโห
กามปริฬาโห กามมุจฉฺ า กามชฺโฌสานํ;
ความพอใจคือความใคร่ ความกำหนัดคือความใคร่ ความเพลิดเพลินคือ-
ความใคร่ ตัณหาคือความใคร่ สิเนหาคือความใคร่ ความเร่าร้อนคือความ-
ใคร่ ความสยบคือความใคร่ ความหมกมุน่ คือความใคร่ในกามทัง้ หลาย
อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ กามจฺฉนฺทนีวรณํ.
นีเ้ รียกว่ากามฉันทนิวรณ์.
[๑๑๖๐] ตตฺถ กตมํ พฺยาปาทนีวรณํ?
[๑๑๖๐] พยาปาทนิวรณ์เป็นไฉน?
“อนตฺถํ เม อจรี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้กระทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จรตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ก้ี ำลังทำความเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ;
อาฆาตย่อมเกิดได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ จ้ี กั ทำความเสือ่ มเสียแก่เรา;
597

ปิยสฺส เม มนาปสฺส อนตฺถํ อจริ ฯเปฯ อนตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อนตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ
อาฆาโต ชายติ;
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเสือ่ มเสีย ฯลฯ กำลังทำความ-
เสือ่ มเสีย;
อปฺปยิ สฺส เม อมนาปสฺส อตฺถํ อจริ ฯเปฯ อตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ
อาฆาโต ชายติ,
จักทำความเสือ่ มเสียแก่คนทีร่ กั ทีช่ อบพอของเรา อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ย-
คิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเจริญ ฯลฯ กำลังทำความเจริญ ฯลฯ จักทำความเจริญ-
แก่คนผูไ้ ม่เป็นทีร่ กั ไม่เป็นทีช่ อบพอของเรา
อฏฺĘาเน วา ปน อาฆาโต ชายติ;
หรืออาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ในฐานะอันใช่เหตุ;
โย เอวรูโป จิตตฺ สฺส อาฆาโต ปฏิฆาโต ปฏิฆํ ปฏิวโิ รโธ, โกโป ปโกโป
สมฺปโกโป,
จิตอาฆาต ความขัดเคือง ความกระทบกระทัง่ ความแค้น ความเคือง
ความขุน่ เคือง ความพลุง่ พล่าน,
โทโส ปโทโส สมฺปโทโส, จิตตฺ สฺส พฺยาปตฺติ มโนปโทโส, โกโธ กุชฌ ฺ นา
กุชฌ
ฺ ติ ตฺต,ํ
โทสะ ความประทุษร้าย ความมุง่ คิดประทุษร้าย ความขุน่ จิต ธรรมชาติท-่ี
ประทุษร้ายใจ โกรธ กิรยิ าทีโ่ กรธ ภาวะทีโ่ กรธมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด,
โทโส ทูสนา ทูสติ ตฺต,ํ พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา พฺยาปชฺชติ ตฺต,ํ วิโรโธ ปฏิวโิ รโธ,
จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโป อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
การคิดประทุษร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย ความคิดประทุษร้าย การคิดปอง-
ร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ปองร้าย ความคิดปองร้าย ความโกรธ ความแค้น
ความดุรา้ ย ความปากร้าย ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิต;
อิทํ วุจจฺ ติ พฺยาปาทนีวรณํ.
นีเ้ รียกว่าพยาปาทนิวรณ์.
598

[๑๑๖๑] ตตฺถ กตมํ ถีนมิทธฺ นีวรณํ?


[๑๑๖๑] ถีนมิทธนิวรณ์เป็นไฉน?
อตฺถิ ถีนํ อตฺถิ มิทธฺ .ํ
ถีนมิทธะนัน้ แยกเป็นถีนะอย่างหนึง่ มิทธะอย่างหนึง่ .
[๑๑๖๒] ตตฺถ กตมํ ถีน?ํ
[๑๑๖๒] ถีนะเป็นไฉน?
ยา จิตตฺ สฺส อกลฺยตา อกมฺมċฺċตา โอลียนา สลฺลยี นา ลีนํ ลียนา ลียติ ตฺตํ
ถีนํ ถียนา ถียติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส;
ความไม่สมประกอบแห่งจิต ความไม่ควรแก่การงานแห่งจิต ความท้อแท้
ความถดถอย ความหดหู่ อาการทีห่ ดหู่ ภาวะทีห่ ดหู่ ความซบเซา อาการที-่
ซบเซา ภาวะทีซ่ บเซาแห่งจิตอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ ถีน.ํ
นีเ้ รียกว่าถีนะ.
[๑๑๖๓] ตตฺถ กตมํ มิทธฺ ?ํ
[๑๑๖๓] มิทธะเป็นไฉน?
ยา กายสฺส อกลฺยตา อกมฺมċฺċตา โอนาโห ปริโยนาโห อนฺโตสโมโรโธ มิทธฺ ํ
โสปฺปํ ปจลายิกา โสปฺปํ สุปนา สุปติ ตฺต;ํ
ความไม่สมประกอบแห่งนามกาย ความไม่ควรแก่งานแห่งนามกาย ความ-
ปกคลุม ความหุม้ ห่อ ความปิดบังไว้ภายใน ความง่วงเหงา ความหาวนอน
ความโงกง่วง ความหาวนอน อาการทีห่ าวนอน ภาวะทีห่ าวนอนอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ มิทธฺ .ํ
นีเ้ รียกว่ามิทธะ.
อิติ อิทċฺจ ถีน,ํ อิทċฺจ มิทธฺ ;ํ อิทํ วุจจฺ ติ ถีนมิทธฺ นีวรณํ.
ถีนะและมิทธะดังว่านีร้ วมเรียกว่าถีนมิทธนิวรณ์.
[๑๑๖๔] ตตฺถ กตมํ อุทธฺ จฺจกุกกฺ จุ จฺ นีวรณํ ?
[๑๑๖๔] อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์เป็นไฉน?
599

อตฺถิ อุทธฺ จฺจ,ํ อตฺถิ กุกกฺ จุ จฺ .ํ


อุทธัจจกุกกุจจะนัน้ แยกเป็นอุทธัจจะอย่างหนึง่ กุกกุจจะอย่างหนึง่ .
[๑๑๖๕] ตตฺถ กตมํ อุทธฺ จฺจ?ํ
[๑๑๖๕] อุทธัจจะเป็นไฉน?
ยํ จิตตฺ สฺส อุทธฺ จฺจํ อวูปสโม เจตโส วิกเฺ ขโป ภนฺตตฺตํ จิตตฺ สฺส;
ความฟุง้ ซ่านแห่งจิต ความไม่สงบแห่งจิต ความวุน่ วายใจ ความพล่าน-
แห่งจิตอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อุทธฺ จฺจ.ํ
นีเ้ รียกว่าอุทธัจจะ.
[๑๑๖๖] ตตฺถ กตมํ กุกกฺ จุ จฺ ?ํ
[๑๑๖๖] กุกกุจจะเป็นไฉน?
อกปฺปเิ ย กปฺปยิ สċŇċติ า กปฺปเิ ย อกปฺปยิ สċฺċติ า,
ความสำคัญว่าควรในของทีไ่ ม่ควร ความสำคัญว่าไม่ควรในของทีค่ วร,
อวชฺเช วชฺชสċฺċติ า, วชฺเช อวชฺชสċŇċติ า;
ความสำคัญว่ามีโทษในของทีไ่ ม่มโี ทษ ความสำคัญว่าไม่มโี ทษในของที-่
มีโทษ;
ยํ เอวรูปํ กุกกฺ จุ จฺ ํ กุกกฺ จุ จฺ ายนา กุกกฺ จุ จฺ ายิตตฺต,ํ เจตโส วิปปฺ ฏิสาโร มโนวิเลโข;
การรำคาญ กิรยิ าทีร่ ำคาญ ควาญรำคาญ ความเดือดร้อนใจ ความยุง่ ใจ
ซึง่ มีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ กุกกฺ จุ จฺ .ํ
นีเ้ รียกว่ากุกกุจจะ.
อิติ อิทċฺจ อุทธฺ จฺจํ อิทċฺจ กุกกฺ จุ จฺ ;ํ อิทํ วุจจฺ ติ อุทธฺ จฺจกุกกฺ จุ จฺ นีวรณํ.
อุทธัจจะและกุกกุจจะนีร้ วมเรียกว่าอุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์.
[๑๑๖๗] ตตฺถ กตมํ วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ?
[๑๑๖๗] วิจกิ จิ ฉานิวรณ์เป็นไฉน?
สตฺถริ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ธมฺเม กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, สงฺเฆ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
600

สิกขฺ าย กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,


ปุถชุ นเคลือบแคลงสงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิก-
ขา,
ปุพพฺ นฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ อปรนฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต กงฺขติ
วิจกิ จิ ฉฺ ติ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ;
ในส่วนอดีต ในส่วนอนาคต ทัง้ ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต ในปฏิจจส-
มุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยา เอวรูปา กงฺขา กงฺขายนา กงฺขายิตตฺตํ วิมติ วิจกิ จิ ฉฺ า,
การเคลือบแคลง กิรยิ าทีเ่ คลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็นไป-
ต่าง ๆ นานา ความตัดสินอารมณ์ไม่ได้,
เทฺวฬฺหกํ เทฺวธาปโถ สํสโย อเนกํสคาโห, อาสปฺปนา ปริสปฺปนา อปริโยคาห-
นา, ถมฺภติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส มโนวิเลโข;
ความเห็นเป็นสองแง่ ความเห็นเหมือนทางสองแพร่ง ความสงสัย ความ-
ไม่สามารถจะถือเอาโดยส่วนเดียวได้ ความคิดส่ายไป ความคิด คิดพร่าไป
ความไม่สามารถจะหยัง่ ลงถือเอาเป็นยุตไิ ด้ ความกระด้างแห่งจิต ความลัง-
เลใจมีลกั ษณะเช่นว่านี้ อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ.
นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉานิวรณ์.
[๑๑๖๘] ตตฺถ กตมํ อวิชชฺ านีวรณํ?
[๑๑๖๘] อวิชชานิวรณ์เป็นไฉน?
ทุกเฺ ข อċฺċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรเธ อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคา-
มินยิ า ปฏิปทาย อċฺċาณํ,
ความไม่รใู้ นทุกข์ ความไม่รใู้ นทุกขสมุทยั ความไม่รใู้ นทุกขนิโรธ ความ-
ไม่รใู้ นทุกข์ นิโรธคามินปี ฏิปทา,
ปุพพฺ นฺเต อċฺċาณํ, อปรนฺเต อċฺċาณํ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต อċฺċาณํ,
อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อċฺċาณํ;
601

ความไม่รใู้ นส่วนอดีต ความไม่รใู้ นส่วนอนาคต ความไม่รใู้ นส่วนอดีต


และส่วนอนาคต ความไม่รใู้ นปฏิจจสมุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็น-
ปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยํ เอวรูปํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ, อนภิสมโย อนนุโพโธ อสมฺโพโธ อปฺปฏิเวโธ,
อสงฺคาหนา อปริโยคาหนา,
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รโู้ ดยสมควร ความไม่ร-ู้
ตามความเป็นจริง ความไม่แทงตลอด ความไม่ถอื เอาให้ถกู ต้อง ความไม่-
หยัง่ ลงโดยรอบคอบ ความไม่พนิ จิ ,
อสมเปกฺขนา อปฺปจฺจเวกฺขณา อปฺปจฺจกฺขกมฺม,ํ ทุมเฺ มชฺฌํ พาลฺยํ อสมฺปชċฺċํ
โมโห ปโมโห สมฺโมโห;
ความไม่พจิ ารณา ความไม่ทำให้ประจักษ์ ความมีปญ ั ญาทราม ความโง่-
เขลา ความไม่รชู้ ดั ความหลง ความลุม่ หลง ความหลงใหล;
อวิชชฺ า อวิชโฺ ชโฆ อวิชชฺ าโยโค อวิชชฺ านุสโย อวิชชฺ าปริยฏุ Ęฺ านํ อวิชชฺ าลงฺค,ี
โมโห อกุสลํ;
อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสยั คืออวิชชา ปริยฏุ ฐานคือ-
อวิชชา ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อวิชชฺ านีวรณํ.
นีเ้ รียกว่าอวิชชานิวรณ์.
อิเม ธมฺมา นีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นนิวรณ์.
[๑๑๖๙] กตเม ธมฺมา โนนีวรณา?
[๑๑๖๙] ธรรมไม่เป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ
รูปอํ สงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นนิวรณธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมทีเ่ หลือ
602

ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ


วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โนนีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นนิวรณ์.
๒. นีวรณิยทุกะ.
[๑๑๗๐] กตเม ธมฺมา นีวรณิยา?
[๑๑๗๐] ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามา-
วจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา นีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
[๑๑๗๑] กตเม ธมฺมา อนีวรณิยา อปริยาปนฺนา?
[๑๑๗๑] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
๓. นีวรณสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๗๒] กตเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า?
[๑๑๗๒] ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า; เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยนิวรณธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์.
603

[๑๑๗๓] กตเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า?


[๑๑๗๓] ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ,
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากนิวรณธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์.
๔. นีวรณนีวรณิยทุกะ.
[๑๑๗๔] กตเม ธมฺมา นีวรณา เจว นีวรณิยา จ?
[๑๑๗๔] ธรรมเป็นนิวรณ์ และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
ตาเนว นีวรณานิ นีวรณาเจวนีวรณิยา จ.
นิวรณ์เหล่านัน้ นัน่ เองชือ่ ว่าธรรมเป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
[๑๑๗๕] กตเม ธมฺมา นีวรณิยา เจว โน จ นีวรณา?
[๑๑๗๕] ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา นีวรณิยา เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของนิวรณ์โดยนิวรณธรรมเหล่านัน้ เว้นนิวรณ-
ธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั -
มีอาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ได้แก่รปู ขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา นีวรณิยา เจว โน จ นีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์.
๕. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๗๖] กตเม ธมฺมา นีวรณา เจว นีวรณสมฺปยุตตฺ า จ?
604

[๑๑๗๖] ธรรมเป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นไฉน?
กามจฺฉนฺทนีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
กามฉันทนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ กามจฺฉนฺทนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยกามฉันทนิวรณ์,
พฺยาปาทนีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
พยาปาทนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ พฺยาปาทนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์ และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยพยาปาทนิวรณ์,
ถีนมิทธฺ นีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ถีนมิทธนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ ถีนมิทธฺ นีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยถีนมิทธนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
กุกกฺ จุ จฺ นีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
กุกกุจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ กุกกฺ จุ จฺ นีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยกุกกุจจนิวรณ์,
วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
วิจกิ จิ ฉานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ วิจกิ จิ ฉฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยวิจกิ จิ ฉานิวรณ์,
กามจฺฉนฺทนีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
605

กามฉันทนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ กามจฺฉนฺทนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยกามฉันทนิวรณ์,
พฺยาปาทนีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
พยาปาทนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ พฺยาปาทนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยพยาปาทนิวรณ์,
ถีนมิทธฺ นีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ถีนมิทธนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ ถีนมิทธฺ นีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทจั จนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยถีนมิทธนิวรณ์,
กุกกฺ จุ จฺ นีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
กุกกุจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ กุกกฺ จุ จฺ นีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยกุกกุจจนิวรณ์,
วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
วิจกิ จิ ฉานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ วิจกิ จิ ฉฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยวิจกิ จิ ฉานิวรณ์,
อวิชชฺ านีวรณํ อุทธฺ จฺจนีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อวิชชานิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอุทธัจจนิวรณ์,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ อวิชชฺ านีวรเณน นีวรณํเจว นีวรณสมฺปยุตตฺ ċฺจ;
อุทธัจจนิวรณ์เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอวิชชานิวรณ์,
อิเม ธมฺมา นีวรณา เจว นีวรณสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์.
[๑๑๗๗] กตเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ นีวรณา?
606

[๑๑๗๗] ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า, เต ธมฺเม เปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยนิวรณธรรมเหล่านัน้ เว้นนิวรณธรรมเหล่านัน้ เสีย
คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ นีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์.
๖. นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ.
[๑๑๗๘] กตเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า นีวรณิยา?
[๑๑๗๘] ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า; สาสวา กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา
รูปาวจรา อรูปาวจรา; รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากนิวรณธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อัพยากต-
ธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ได้แก่
รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า นีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
[๑๑๗๙] กตเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า อนีวรณิยา?
[๑๑๗๙] ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์และไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า อนีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ และไม่เป็นอารมณ์ของ-
นิวรณ์.
นิวรณโคจฉกะจบ.
๙. ปรามาสโคจฺฉก.
607

[๑๑๘๐] กตเม ธมฺมา ปรามาสา?


[๑๑๘๐] ธรรมเป็นปรามาสะเป็นไฉน?
ทิฏĘฺ ปิ รามาโส. คือ ทิฏฐิปรามาสะ.
[๑๑๘๑] ตตฺถ กตโม ทิฏĘฺ ปิ รามาโส?
[๑๑๘๑] ทิฏฐิปรามาสะเป็นไฉน?
สสฺสโต โลโกติ วา, อสสฺสโต โลโกติ วา, อนฺตวา โลโกติ วา, อนนฺตวา
โลโกติ วา,
ความเห็นว่าโลกเทีย่ งก็ดี ว่าโลกไม่เทีย่ งก็ดี ว่าโลกมีทส่ี ดุ ก็ดี ว่าโลกไม่มที -่ี
สุดก็ด,ี
ตํ ชีวํ ตํ สรีรนฺติ วา, อċฺċํ ชีวํ อċฺċํ สรีรนฺติ วา, โหติ ตถาคโต
ปรมฺมรณาติ วา, น โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา,
ว่าชีพอันนัน้ สรีระก็อนั นัน้ ว่าชีพเป็นอืน่ สรีระเป็นอืน่ ก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็น-
อยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ไม่เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ด,ี
โหติ จ น จ โหติ, ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, เนว โหติ, น น โหติ ตถาคโต
ปรมฺมรณาติ วา;
ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ ม็ ี ไม่เป็นอยูก่ ม็ ี เบือ้ ง หน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็น-
อยูก่ ไ็ ม่ใช่ ไม่เป็นอยูก่ ไ็ ม่ใช่เบือ้ งหน้าแต่มรณะก็ด;ี
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร, ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺ-
ทิตํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็น-
ข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะที-่
ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านี้
608

อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ทิฏĘฺ ปิ รามาโส.
นีเ้ รียกว่าทิฏฐิปรามาส.
สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ ปิ รามาโส.
มิจฉาทิฏฐิแม้ทกุ อย่างจัดเป็นทิฏฐิปรามาสะ.
อิเม ธมฺมา ปรามาสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นปรามาสะ.
[๑๑๘๒] กตเม ธมฺมา โน ปรามาสา?
[๑๑๘๒] ธรรมไม่เป็นปรามาสะเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นปรามาสธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมที-่
เหลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โน ปรามาสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นปรามาสะ.
๒. ปรามัฏฐทุกะ.
[๑๑๘๓] กตเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา สาสวา?
[๑๑๘๓] ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามา-
วจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ.
609

[๑๑๘๔] กตเม ธมฺมา อปรามฏฺĘา?


[๑๑๘๔] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ.
๓. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๘๕] กตเม ธมฺมา ปรามาสสมฺปยุตตฺ า?
[๑๑๘๕] ธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยปรามาสธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา ปรามาสสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะ.
[๑๑๘๖] กตเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๑๘๖] ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċฺ าณกฺขนฺโธ,
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากปรามาสธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ.
๔. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ.
[๑๑๘๗] กตเม ธมฺมา ปรามาสา เจว ปรามฏฺĘา จ?
[๑๑๘๗] ธรรมเป็นปรามาสะและเป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
เสฺวว ปรามาโส ปรามาโส เจว ปรามฏฺโĘ จ.
610

ปรามาสะนัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นปรามาสะและเป็นอารมณ์ของปรามาสะ.


[๑๑๘๘] กตเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา เจว โน จ ปรามาสา?
[๑๑๘๘] ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะแต่ไม่เป็นปรามาสะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา ปรามฏฺĘา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา; รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของปรามาสะโดยปรามาสธรรมเหล่านัน้
เว้นปรามาสธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม
ประเภททีย่ งั มีอาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ได้แก่
รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา เจว โน จ ปรามาสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะแต่ไม่เป็น-
ปรามาสะ.
๕. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ.
[๑๑๘๙] กตเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า ปรามฏฺĘา?
[๑๑๘๙] ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะแต่เป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา
กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากปรามาสธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
ได้แก่ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า ปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากปรามาสะแต่เป็นอารมณ์ของ-
ปรามาสะ.
[๑๑๙๐] กตเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า อปรามฏฺĘา?
[๑๑๙๐] ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
611

อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;


มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า อปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากปรามาสะและไม่เป็นอารมณ์ของ-
ปรามาสะ.
ปรามาสโคจฉกะจบ.
๑๐. มหนฺตรทุก.
๑. สารัมมณทุกะ.
[๑๑๙๑] กตเม ธมฺมา สารมฺมณา?
[๑๑๙๑] ธรรมมีอารมณ์เป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์.
[๑๑๙๒] กตเม ธมฺมา อนารมฺมณา?
[๑๑๙๒] ธรรมไม่มอี ารมณ์เป็นไฉน?
สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มอี ารมณ์.
๒. จิตตทุกะ.
[๑๑๙๓] กตเม ธมฺมา จิตตฺ า?
[๑๑๙๓] ธรรมเป็นจิตเป็นไฉน?
จกฺขวุ ċ
ิ ċ
ฺ าณํ โสตวิċċ ฺ าณํ ฆานวิċċ
ฺ าณํ ชิวหฺ าวิċċ
ฺ าณํ กายวิċċ
ฺ าณํ
มโนธาตุ มโนวิญċ ฺ าณธาตุ;
จักขุวญ
ิ ญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ
มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ;
612

อิเม ธมฺมา จิตตฺ า.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นจิต.
[๑๑๙๔] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ า?
[๑๑๙๔] ธรรมไม่เป็นจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ; สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิต.
๓. เจตสิกทุกะ.
[๑๑๙๕] กตเม ธมฺมา เจตสิกา?
[๑๑๙๕] ธรรมเป็นเจตสิกเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา เจตสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเจตสิก.
[๑๑๙๖] กตเม ธมฺมา อเจตสิกา?
[๑๑๙๖] ธรรมไม่เป็นเจตสิกเป็นไฉน?
จิตตฺ จํ สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
จิต รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อเจตสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเจตสิก.
๔. จิตตสัมปยุตตทุกะ.
[๑๑๙๗] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สมฺปยุตตฺ า?
[๑๑๙๗] ธรรมสัมปยุตด้วยจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
613

อิเม ธมฺมา จิตตฺ สมฺปยุตตฺ า.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยจิต.
[๑๑๙๘] กตเม ธมฺมา จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๑๙๘] ธรรมวิปปยุตจากจิตเป็นไฉน?
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ; อิเม ธมฺมา จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ า. จิตตฺ ํ น
วตฺตพฺพํ “จิตเฺ ตน สมฺปยุตตฺ นฺ”ติปิ “จิตเฺ ตน วิปปฺ ยุตตฺ นฺต”ิ ปิ.
รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุสภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปยุตจากจิต.
จิตจะกล่าวว่าสัมปยุตด้วยจิตก็ไม่ได้วา่ วิปปยุตจากจิตก็ไม่ได้.
๕. จิตตสังสัฏฐทุกะ.
[๑๑๙๙] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘา?
[๑๑๙๙] ธรรมเจือกับจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเจือกับจิต.
[๑๒๐๐] กตเม ธมฺมา จิตตฺ วิสสํ ฏฺĘา?
[๑๒๐๐] ธรรมไม่เจือกับจิตเป็นไฉน?
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ; อิเม ธมฺมา จิตตฺ วิสสํ ฏĘา, จิตตฺ ํ น วตฺตพฺพํ
“จิตเฺ ตน สํสฏฺĘนฺ”ติปิ “จิตเฺ ตน วิสสํ ฏฺĘนฺ”ติป.ิ
รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุสภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เจือกับจิต.
จิตจะกล่าวว่าเจือกับจิตก็ไม่ได้วา่ ไม่เจือกับจิตก็ไม่ได้.
๖. จิตตสมุฏฐานทุกะ.
[๑๒๐๑] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สมุฏĘฺ านา?
[๑๒๐๑] ธรรมมีจติ เป็นสมุฏฐานเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ, กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญิ ċฺ ตฺต;ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์, กายวิญญัติ วจีวญ
ิ ญัต;ิ
614

ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จิตตฺ ชํ จิตตฺ เหตุกํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ: รูปายตนํ
สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ,
หรือรูปแม้อน่ื ใดซึง่ เกิดแต่จติ มีจติ เป็นเหตุมจี ติ เป็นสมุฏฐานมีอยู่ คือ
รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา,
รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;
อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ
รูปสันตติ กพฬิงการาหาร;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สมุฏĘฺ านา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีจติ เป็นสมุฏฐาน.
[๑๒๐๒] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ สมุฏĘฺ านา?
[๑๒๐๒] ธรรมไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานเป็นไฉน?
จิตตฺ จํ อวเสสċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ; ธาตุ อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สมุฏĘฺ านา.
จิต รูปทีเ่ หลือ และอสังขตธาตุ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มจี ติ เป็น-
สมุฏฐาน.
๗. จิตตสหภูทกุ ะ.
[๑๒๐๓] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สหภุโน?
[๑๒๐๓] ธรรมเกิดร่วมกับจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċฺ ตฺต;ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สหภุโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเกิดร่วมกับจิต.
[๑๒๐๔] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ สหภุโน?
[๑๒๐๔] ธรรมไม่เกิดร่วมกับจิตเป็นไฉน?
จิตตฺ จํ อวเสสċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ;
จิต รูปทีเ่ หลือ และอสังขตธาตุ;
615

ธาตุ อิเม ธมฺมา โนจิตตฺ สหภุโน.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เกิดร่วมกับจิต.
๘. จิตตานุปปริวตั ติทกุ ะ.
[๑๒๐๕] กตเม ธมฺมา จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น?
[๑๒๐๕] ธรรมเกิดคล้อยตามจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċฺ ตฺต;ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิเม ธมฺมา จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเกิดคล้อยตามจิต.
[๑๒๐๖] กตเม ธมฺมา โนจิตตฺ านุปริวตฺตโิ น?
[๑๒๐๖] ธรรมไม่เกิดคล้อยตามจิตเป็นไฉน?
จิตตฺ จํ อวเสสċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
จิต รูปทีเ่ หลือ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โนจิตตฺ านุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เกิดคล้อยตามจิต.
๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ.
[๑๒๐๗] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา?
[๑๒๐๗] ธรรมเจือกับจิตและมีจติ เป็นสมุฏฐานเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเจือกับจิตและมีจติ เป็นสมุฏฐาน.
[๑๒๐๘] กตเม ธมฺมา โนจิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา?
[๑๒๐๘] ธรรมไม่เจือกับจิตและไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
จิต รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
616

อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏĘสมุฏĘฺ านา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เจือกับจิตและไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐาน.
๑๐. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทกุ ะ.
[๑๒๐๙] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน?
[๑๒๐๙] ธรรมเจือกับจิตมีจติ เป็นสมุฏฐานและเกิดร่วมกับจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏĘสมุฏĘฺ านสหภุโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเจือกับจิตมีจติ เป็นสมุฏฐานและเกิดร่วมกับจิต.
[๑๒๑๐] กตเม ธมฺมา โนจิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน?
[๑๒๑๐] ธรรมไม่เจือกับจิตไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานและไม่เกิดร่วมกับจิตเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
จิต รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โนจิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เจือกับจิตไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานและไม่เกิด-
ร่วมกับจิต.
๑๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวตั ติทกุ ะ.
[๑๒๑๑] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น?
[๑๒๑๑] ธรรมเจือกับจิตมีจติ เป็นสมุฏฐานและเกิดคล้อยตามจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเจือกับจิตมีจติ เป็นสมุฏฐานและเกิดคล้อย-
ตามจิต.
[๑๒๑๒] กตเม ธมฺมา โนจิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น?
[๑๒๑๒] ธรรมไม่เจือกับจิตไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานและไม่เกิดคล้อยตามจิตเป็น-
617

ไฉน?
จิตตฺ ċฺจ สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
จิต รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โนจิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เจือกับจิตไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานและไม่เกิด-
คล้อยตามจิต.
๑๒. อัชฌัตติกทุกะ.
[๑๒๑๓] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตกิ า?
[๑๒๑๓] ธรรมเป็นภายในเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ มนายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ มนายตนะ;
อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตกิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นภายใน.
[๑๒๑๔] กตเม ธมฺมา พาหิรา?
[๑๒๑๔] ธรรมเป็นภายนอกเป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ ธมฺมายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ ธัมมายตนะ;
อิเม ธมฺมา พาหิรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นภายนอก.
๑๓. อุปาทาทุกะ.
[๑๒๑๕] กตเม ธมฺมา อุปาทา?
[๑๒๑๕] ธรรมอาศัยมหาภูตรูปเกิดเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิเม ธมฺมา อุปาทา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอาศัยมหาภูตรูปเกิด.
[๑๒๑๖] กตเม ธมฺมา โน อุปาทา?
618

[๑๒๑๖] ธรรมไม่อาศัยมหาภูตรูปเกิดเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, จตฺตาโร จ
มหาภูตา อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ มหาภูตรูป ๔
และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โน อุปาทา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่อาศัยมหาภูตรูปเกิด.
๑๔. อุปาทินนทุกะ.
[๑๒๑๗] กตเม ธมฺมา อุปาทินนฺ า?
[๑๒๑๗] ธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาทิฏฐิเข้ายึดครองเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลานํธมฺมานํ วิปากา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ยċฺจ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา;
วิบากแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร
รูปาวจร อรูปาวจร คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ และรูปทีก่ รรม-
แต่งขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อุปาทินนฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาทิฏฐิเข้า-
ยึดครอง.
[๑๒๑๘] กตเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ า?
[๑๒๑๘] ธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาทิฏฐิไม่เข้ายึดครองเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ,
กุศลธรรมและอกุศลธรรม ประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร
อรูปาวจร คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์,
เย จ ธมฺมา กิรยิ า เนว กุสลา นากุสลา น จ กมฺมวิปากา ยċฺจ รูปํ น
กมฺมสฺส กตตฺตา, อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
619

ธรรมทีเ่ ป็นกิรยิ า ไม่ใช่กศุ ล ไม่ใช่อกุศล ไม่ใช่กรรมวิบาก รูปทีก่ รรมมิ-


ได้แต่งขึน้ มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันเจตนากรรมทีส่ มั ปยุตด้วยตัณหาทิฏฐิ-
ไม่เข้ายึดครอง.
มหันตรทุกะจบ.
๑๑. อุปาทานโคจฺฉกะ.
๑. อุปาทานทุกะ.
[๑๒๑๙] กตเม ธมฺมา อุปาทานา?
[๑๒๑๙] ธรรมเป็นอุปาทานเป็นไฉน?
จตฺตาริ อุปาทานานิ: กามุปาทานํ ทิฏĘุปาทานํ สีลพฺพตุปาทานํ อตฺตวาทุปาทานํ.
อุปาทาน ๔ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลพั พตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน.
[๑๒๒๐] ตตฺถ กตมํ กามุปาทานํ?
[๑๒๒๐] บรรดาอุปาทาน ๔ นัน้ กามุปาทานเป็นไฉน?
โย กาเมสุ กามจฺฉนฺโท กามราโค กามนนฺที กามตณฺหา กามสิเนโห กามปริ-
ฬาโห กามมุจฉฺ า กามชฺโฌสานํ;
ความพอใจคือความใคร่ ความกำหนัดคือความใคร่ ความเพลิดเพลินคือ-
ความใคร่ ตัณหาคือความใคร่ สิเนหาคือความใคร่ ความเร่าร้อนคือความ-
ใคร่ ความสยบคือความใคร่ ความหมกมุน่ คือความใคร่ในกามทัง้ หลาย-
อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ กามุปาทานํ.
นีช้ อ่ื ว่ากามุปาทาน.
[๑๒๒๑] ตตฺถ กตมํ ทิฏĘฺ ปุ าทานํ?
[๑๒๒๑] ทิฏฐุปาทานเป็นไฉน?
นตฺถิ ทินนฺ ,ํ นตฺถิ ยิฏĘฺ ํ นตฺถิ หุต,ํ
ความเห็นว่าทานทีใ่ ห้แล้วไม่มผี ล การบูชาไม่มผี ล,
620

นตฺถิ สุกฏทุกกฺ ฏานํ กมฺมานํ ผลวิปาโก,


การบวงสรวงไม่มผี ล ผลวิบากของกรรมทีท่ ำดีทำชัว่ ไม่ม,ี
นตฺถิ อยํ โลโก, นตฺถิ ปโร โลโก, นตฺถิ มาตา, นตฺถิ ปิตา,
โลกนีไ้ ม่มี โลกอืน่ ไม่มี มารดาไม่มี บิดาไม่ม,ี
นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา, นตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา
สมฺมาปฏิปนฺนา,
สัตว์ผทู้ จ่ี ตุ แิ ละอุปบัตไิ ม่มี สมณพราหมณ์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบไม่มใี นโลก,
เย อิมċŇจ โลกํ ปรċฺจ โลกํ สยํ อภิċċ ฺ า สจฺฉกิ ตฺวา ปเวเทนฺตตี ิ ยา
เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺทติ ํ
ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
สมณพราหมณ์ทก่ี ระทำให้แจ้งซึง่ โลกนีแ้ ละโลกอืน่ ด้วยปัญญาอันยิง่ เอง-
แล้วประกาศให้คนอืน่ รูไ้ ด้ไม่มใี นโลก ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็น ไปข้างทิฏฐิ
ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ
ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะที-่
ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านี้
อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ ทิฏĘฺ ปุ าทานํ.
นีเ้ รียกว่าทิฏฐุปาทาน.
Ęเปตฺวา สีลพฺพตุปาทานċฺจ อตฺตวาทุปาทานċฺจ สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ
ทิฏĘุปาทานํ.
เว้นสีลพั พตุปาทานและอัตตวาทุปาทานเสีย มิจฉาทิฏฐิแม้ทกุ อย่างจัดเป็น-
ทิฏฐุปาทาน.
[๑๒๒๒] ตตฺถ กตมํ สีลพฺพตุปาทานํ?
621

[๑๒๒๒] สีลพั พตุปาทานเป็นไฉน?


อิโต พหิทธฺ า สมณพฺราหฺมณานํ “สีเลน สุทธฺ ,ิ วเตน สุทธฺ ,ิ สีลพฺพเตน
สุทธฺ ”ี ติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ
ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ความเห็นว่าความบริสทุ ธิย์ อ่ มมีได้ดว้ ยศีล ด้วยพรต ด้วยศีลพรต ของสมณ
พราหมณ์ในภายนอกแต่ศาสนานี้ ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏ-
คือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปร-
แห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะที-่
ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความ พินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านี้
อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตุปาทานํ.
นีเ้ รียกว่าสีลพั พตุปาทาน.
[๑๒๒๓] ตตฺถ กตมํ อตฺตวาทุปาทานํ?
[๑๒๒๓] อัตตาวาทุปาทานเป็นไฉน?
อิธ อสฺสตุ วา ปุถชุ ชฺ โน อริยานํ อทสฺสาวี, อริยธมฺมสฺส อโกวิโท, อริยธมฺเม
อวินโี ต,
ปุถชุ นในโลกนีผ้ ไู้ ร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้าทัง้ หลาย ไม่ฉลาดใน-
ธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้ฝกึ ฝนในธรรมของพระอริยเจ้า,
สปฺปรุ สิ านํ อทสฺสาวี, สปฺปรุ สิ ธมฺมสฺส อโกวิโท, สปฺปรุ สิ ธมฺเม อวินโี ต,
ไม่ได้เห็นสัตบุรษุ ทัง้ หลาย ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรษุ ไม่ได้ฝกึ ฝนใน-
ธรรมของสัตบุรษุ ,
รูปํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, รูปวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา รูป,ํ รูปสฺมึ วา
อตฺตานํ;
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรปู เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป,
622

เวทนํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, เวทนาวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา เวทนํ,


เวทนาย วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนใน-
เวทนา;
สċฺċํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, สċฺċาวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา สċฺċ,ํ
สċฺċาย วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสญ ั ญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนใน-
สัญญา;
สงฺขาเร อตฺตโต สมนุปสฺสติ, สงฺขารวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา สงฺขาเร,
สงฺขาเรสุ วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสงั ขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนใน-
สังขาร;
วิญċ ฺ าณํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, วิญċ ฺ าณวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา
วิญċ ฺ าณํ, วิญċ ฺ าณสฺมึ วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวญ ิ ญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็น-
ตนในวิญญาณ;
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ
ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺทติ ํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็น-
ข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ, มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด ภาวะทีผ่ ดิ
ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่า-
นีอ้ นั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อตฺตวาทุปาทานํ.
623

นีเ้ รียกว่าอัตตวาทุปาทาน.
อิเม ธมฺมา อุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอุปาทาน.
[๑๒๒๔] กตเม ธมฺมา โนอุปาทานา?
[๑๒๒๔] ธรรมไม่เป็นอุปาทานเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ
รูปอํ สงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นอุปาทานธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมที-่
เหลือซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โน อุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอุปาทาน.

๒. อุปาทานิยทุกะ.
[๑๒๒๕] กตเม ธมฺมา อุปาทานิยา?
[๑๒๒๕] ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามา-
วจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
[๑๒๒๖] กตเม ธมฺมา อนุปาทานิยา?
[๑๒๒๖] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
624

มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;


อิเม ธมฺมา อนุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
๓. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ.
[๑๒๒๗] กตเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า?
[๑๒๒๗] ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุปาทานธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน.
[๑๒๒๘] กตเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๒๒๘] ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ
สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอุปาทานธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน.
๔. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ.
[๑๒๒๙] กตเม ธมฺมา อุปาทานา เจว อุปาทานิยา จ?
[๑๒๒๙] ธรรมเป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
ตาเนว อุปาทานานิ อุปาทานา เจว อุปาทานิยา จ.
อุปาทานเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
[๑๒๓๐] กตเม ธมฺมา อุปาทานิยา เจว โน จ อุปาทานา?
[๑๒๓๐] ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นไฉน?
625

เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา อุปาทานิยา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา


กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปาทานธรรมเหล่านัน้
เว้นอุปาทานเหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม
ประเภททีย่ งั มีอาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
ได้แก่รปู ขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อุปาทานิยา เจว โน จ อุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน.
๕. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ.
[๑๒๓๑] กตเม ธมฺมา อุปาทานา เจว อุปาทาน สมฺปยุตตฺ าจ?
[๑๒๓๑] ธรรมเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นไฉน?
ทิฏĘฺ ปุ าทานํ กามุปาทาเนน อุปาทานċฺเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ทิฏฐุปาทานเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยกามุปาทาน,
กามุปาทานํ ทิฏุปาทาเนน อุปาทานċฺเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
กามุปาทานเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยทิฏฐุปาทาน,
สีลพฺพตุปาทานํ กามุปาทาเนน อุปาทานċฺเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
สีลพั พตุปาทาน เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยกามุปาทาน,
กามุปาทานํ สีลพฺพตุปาทาเนน อุปาทานċฺเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
กามุปาทานเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยสีลพั พตุปาทาน,
อตฺตวาทุปาทานํ กามุปาทาเนน อุปาทานċฺเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อัตตวาทุปาทานเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยกามุปาทาน,
กามุปาทานํ อตฺตวาทุปาทาเนน อุปาทานċฺเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
กามุปาทานเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอัตตวาทุปาทาน,
อิเม ธมฺมา อุปาทานาเจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ า จ,
626

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทาน.


[๑๒๓๒] กตเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อุปาทานา?
[๑๒๓๒] ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุปาทานธรรมเหล่านัน้ เว้นอุปาทานธรรมเหล่า-
นัน้ เสีย คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน.
๖. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ.
[๑๒๓๓] กตเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อุปาทานิยา?
[๑๒๓๓] ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา
กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอุปาทานธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร
ได้แก่รปู ขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของ-
อุปาทาน.
[๑๒๓๔] กตเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อนุปาทานิยา?
[๑๒๓๔] ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อนุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของ-
627

อุปาทาน.
อุปาทานโคจฉกะจบ.
นิกเฺ ขปกณฺเฑ ทุตภิ าณวาโร.
ทุตยิ ภาณวารในนิกเขปกัณฑ์จบ.
๑๒. กิเลสโคจฺฉกะ.
๑. กิเลสทุกะ.
[๑๒๓๕] กตเม ธมฺมา กิเลสา?
[๑๒๓๕] ธรรมเป็นกิเลสเป็นไฉน?
ทส กิเลสวตฺถนู :ิ โลโภ โทโส โมโห มาโน ทิฏĘฺ ิ วิจกิ จิ ฉฺ า ถีนอํ ทุ ธฺ จฺจํ อหิรกิ ํ
อโนตฺตปฺป.ํ
กิเลสวัตถุ ๑๐ คือ โลภะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา ถีนะ อุทธัจจะ
อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ.
[๑๒๓๖] ตตฺถ กตโม โลโภ?
[๑๒๓๖] บรรดากิเลสวัตถุ ๑๐ นัน้ โลภะเป็นไฉน?
โย ราโค สาราโค, อนุนโย อนุโรโธ, นนฺที นนฺทรี าโค จิตตฺ สฺส สาราโค, อิจฉฺ า
มุจฉฺ า อชฺโฌสานํ, เคโธ ปลิเคโธ, สงฺโค ปงฺโก, เอชา มายา, ชนิกา สċฺชนนี,
ความกำหนัด ความกำหนัดนัก ความคล้อยตามอารมณ์ ความยินดี ความ-
เพลิดเพลิน ความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน ความกำหนัดนัก-
แห่งจิต ความอยาก ความสยบ ความหมกมุน่ ความใคร่ ความรักใคร่
ความข้องอยู่ ความจมอยู่ ธรรมชาติผคู้ ร่าไป ธรรมชาติผหู้ ลอกลวง
ธรรมชาติผยู้ งั สัตว์ให้เกิด ธรรมชาติผยู้ งั สัตว์ให้เกิดพร้อม,
สิพพฺ นิ ี ชาลิน,ี สริตา วิสตฺตกิ า สุตตฺ ํ วิสฏา, อายูหนี ทุตยิ า ปณิธิ ภวเนตฺต,ิ
ธรรมชาติอนั ร้อยรัด ธรรมชาติอนั มีขา่ ย ธรรมชาติอนั กำซาบใจ ธรรม-
ชาติอนั ซ่านไป ธรรมชาติเหมือนเส้นด้าย ธรรมชาติอนั แผ่ไป ธรรมชาติ-
ผูป้ ระมวลมา ธรรมชาติเป็นเพือ่ นสอง ปณิธาน ธรรมชาติผนู้ ำไปสูภ่ พ,
628

วนํ วนโถ, สนฺถโว สิเนโห, อเปกฺขา ปฏิพนฺธ,ุ อาสา อาสึสนา อาสึสติ ตฺต,ํ
ตัณหาเหมือนป่า ตัณหาเหมือนดง ความเกีย่ วข้อง ความเยือ่ ใย ความห่วง-
ใย ความผูกพัน การหวัง กิรยิ าทีห่ วัง ความหวัง,
รูปาสา สทฺทาสา คนฺธาสา รสาสา โผฏĘพฺพาสา ลาภาสา ธนาสา ปุตตฺ าสา
ชีวติ าสา,
ความหวังรูป ความหวังเสียง ความหวังกลิน่ ความหวังรส ความหวัง-
โผฏฐัพพะ ความหวังลาภ ความหวังทรัพย์ ความหวังบุตร ความหวังชีวติ ,
ชปฺปา ปชปฺปา อภิชปฺปา, ชปฺปา ชปฺปนา ชปฺปติ ตฺตํ โลลุปปฺ ํ โลลุปปฺ ายนา
โลลุปปฺ ายิตตฺต,ํ
ธรรมชาติผกู้ ระซิบ ธรรมชาติผกู้ ระซิบทัว่ ธรรมชาติผกู้ ระซิบยิง่ การกระ-
ซิบ กิรยิ าทีก่ ระซิบ ความกระซิบ การละโมบ กิรยิ าทีล่ ะโมบ
ความละโมบ,
ปุċจฺ กิ ตา สาธุกมฺยตา, อธมฺมราโค วิสมโลโภ, นิกนฺติ นิกามนา, ปตฺถนา
ปิหนา สมฺปตฺถนา,
ธรรมชาติเป็นเหตุซมซานไป ความใคร่ในอารมณ์ดๆี ความกำหนัดใน-
ฐานะอันไม่ควร ความโลภเกินพอดี ความติดใจ กิรยิ าทีต่ ดิ ใจ ความปรา-
รถนา ความกระหยิม่ ใจ ความปรารถนานัก,
กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา, รูปตณฺหา อรูปตณฺหา, นิโรธตณฺหา,
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ตัณหาในรูปภพ ตัณหาในอรูปภพ ตัณหา-
ในนิโรธ [คือราคะทีส่ หรคตด้วยอุจเฉททิฏฐิ]
รูปตณฺหา สทฺทตณฺหา คนฺธตณฺหา รสตณฺหา โผฏĘพฺพตณฺหา ธมฺมตณฺหา,
โอโฆ โยโค คนฺโถ อุปาทานํ, อาวรณํ นีวรณํ ฉาทนํ พนฺธนํ.
รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา
โอฆะ โยคะ คันถะ อุปาทาน อาวรณ์ นิวรณ์ เครือ่ งปิดบัง เครือ่ งผูก,
อุปกฺกเิ ลโส อนุสโย ปริยฏุ Ęฺ านํ, ลตา เววิจฉฺ ,ํ ทุกขฺ มูลํ ทุกขฺ นิทานํ ทุกขฺ ปฺปภโว,
อุปกิเลส อนุสยั ปริยฏุ ฐาน ตัณหาเหมือนเถาวัลย์ ความปรารถนาวัตถุม-ี
629

อย่างต่างๆ รากเง่าแห่งทุกข์ เหตุแห่งทุกข์,


มารปาโส มารพลิสํ มารวิสโย, ตณฺหานที ตณฺหาชาลํ ตณฺหาคทฺทลุ ํ
ตณฺหาสมุทโฺ ท, อภิชฌ ฺ า โลโภ อกุสลมูล;ํ
แดนเกิดแห่งทุกข์ บ่วงแห่งมาร เบ็ดแห่งมาร แดนแห่งมาร ตัณหาเหมือน-
แม่นำ้ ตัณหาเหมือนข่าย ตัณหาเหมือนเชือกผูก ตัณหาเหมือนสมุทร
อภิชฌา อกุศล มูลคือโลภะ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ โลโภ.
นีเ้ รียกว่าโลภะ.
[๑๒๓๗] ตตฺถ กตโม โทโส?
[๑๒๓๗] โทสะเป็นไฉน?
“อนตฺถํ เม อจรี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้กระทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จรตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ก้ี ำลังทำความเสือ่ มเสียแก่เรา,
“อนตฺถํ เม จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ; ปิยสฺส เม มนาปสฺส อนตฺถํ อจริ
ฯเปฯ อนตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อนตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ; อปฺปยิ สฺส เม
อมนาปสฺส อตฺถํ อจริ ฯเปฯ อตฺถํ จรติ ฯเปฯ “อตฺถํ จริสสฺ ตี”ติ อาฆาโต ชายติ,
อาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ จ้ี กั ทำความเสือ่ มเสีย ฯลฯ กำลังทำความ-
เสือ่ มเสีย ฯลฯ จักทำความเสือ่ มเสียแก่คนทีร่ กั ทีช่ อบพอของเรา อาฆาตย่อม
เกิดขึน้ ได้ดว้ ยคิดว่าผูน้ ไ้ี ด้ทำความเจริญ ฯลฯ กำลังทำความเจริญ ฯลฯ จักทำ
ความเจริญแก่คนผูไ้ ม่เป็นทีร่ กั ไม่เป็นทีช่ อบพอของเรา,
อฏฺĘาเน วา ปน อาฆาโต ชายติ; โย เอวรูโป จิตตฺ สฺส อาฆาโต ปฏิฆาโต
ปฏิฆํ ปฏิวโิ รโธ, โกโป ปโกโป สมฺปโกโป,
หรืออาฆาตย่อมเกิดขึน้ ได้ในฐานะอันใช่เหตุ จิตอาฆาต ความขัดเคือง
ความกระทบกระทัง่ ความแค้น ความเคือง ความขุน่ เคือง ความพลุง่ -
พล่าน,
630

โทโส ปโทโส สมฺปโทโส, จิตตฺ สฺส พฺยาปตฺติ มโนปโทโส, โกโธ กุชฌ ฺ นา


กุชฌ
ฺ ติ ตฺต,ํ
โทสะ ความคิดประทุษร้าย ความมุง่ คิดประทุษร้าย ความขุน่ จิต ธรรม-
ชาติทป่ี ระทุษร้ายใจ โกรธ กิรยิ าทีโ่ กรธ ความโกรธมีลกั ษณะเช่นว่านี้
อันใด,
โทโส ทูสนา ทูสติ ตฺต,ํ พฺยาปตฺติ พฺยาปชฺชนา พฺยาปชฺชติ ตฺต,ํ วิโรโธ ปฏิวโิ รโธ,
จณฺฑกิ กฺ ํ อสุโรโป อนตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
การคิดประทุษร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ประทุษร้าย ความคิดประทุษร้าย การคิดปอง-
ร้าย กิรยิ าทีค่ ดิ ปองร้าย ความคิดปองร้าย ความโกรธ ความแค้น ความดุ-
ร้าย ความปากร้าย ความไม่แช่มชืน่ แห่งจิต;
อยํ วุจจฺ ติ โทโส.
นีเ้ รียกว่าโทสะ.
[๑๒๓๘] ตตฺถ กตโม โมโห?
[๑๒๓๘] โมหะเป็นไฉน?
ทุกเฺ ข อċฺċาณํ, ทุกขฺ สมุทเย อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรเธ อċฺċาณํ, ทุกขฺ นิโรธคา-
มินยิ า ปฏิปทาย อċฺċาณํ,
ความไม่รใู้ นทุกข์ ความไม่รใู้ นทุกขสมุทยั ความไม่รใู้ นทุกขนิโรธ ความ-
ไม่รใู้ นทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา,
ปุพพฺ นฺเต อċฺċาณํ, อปรนฺเต อċฺċาณํ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต อċฺċาณํ,
อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อċฺċาณํ;
ความไม่รใู้ นส่วนอดีต ความไม่รใู้ นส่วนอนาคต ความไม่รทู้ ง้ั ในส่วนอดีต
และส่วนอนาคต ความไม่รใู้ นปฏิจจสมุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็น-
ปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ,
ยํ เอวรูปํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ, อนภิสมโย อนนุโพโธ อสมฺโพโธ อปฺปฏิเวโธ,
อสงฺคาหนา อปริโยคาหนา อสมเปกฺขนา อปฺปจฺจเวกฺขณา อปฺปจฺจกฺขกมฺม,ํ
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รโู้ ดยสมควร ความไม่ร-ู้
631

ตามความเป็นจริง ความไม่แทงตลอด ความไม่ถอื เอาโดยถูกต้อง


ความไม่หยัง่ ลงโดยรอบคอบ ความไม่พนิ จิ การไม่พจิ ารณา,
ทุมเฺ มชฺฌํ พาลฺยํ อสมฺปชċฺċ,ํ โมโห ปโมโห สมฺโมโห,
การไม่ทำให้ประจักษ์ ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รชู้ ดั ความ
หลง ความลุม่ หลง ความหลงใหล,
อวิชชฺ า อวิชโฺ ชโฆ อวิชชฺ าโยโค อวิชชฺ านุสโย อวิชชฺ าปริยฏุ Ęฺ านํ อวิชชฺ าลงฺคี
โมโห อกุสลมูล;ํ
อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสยั คืออวิชชา ปริยฏุ ฐานคือ-
อวิชชา ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ มีลกั ษณะเช่นว่านี้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ โมโห.
นีเ้ รียกว่าโมหะ.
[๑๒๓๙] ตตฺถ กตโม มาโน?
[๑๒๓๙] มานะเป็นไฉน?
เสยฺโยหมสฺมตี ิ มาโน สทิโสหมสฺมตี ิ มาโน หีโนหมสฺมตี ิ มาโน;
การถือตัวว่าเราดีกว่าเขา เราเสมอกับเขา เราเลวกว่าเขา การถือตัว กิรยิ าที-่
ถือตัว ความถือตัวมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
โย เอวรูโป มาโน มċฺċนา มċฺċติ ตฺต,ํ อุณณ ฺ ติ อุณณ
ฺ าโม, ธโช สมฺปคฺคาโห
เกตุกมฺยตา จิตตฺ สฺส;
การยกตน การเทิดตน การเชิดชูตนดุจธง การยกจิตขึน้ ความมีจติ ต้องการ-
เป็นดุจธง;
อยํ วุจจฺ ติ มาโน.
นีเ้ รียกว่ามานะ.
[๑๒๔๐] ตตฺถ กตมา ทิฏĘฺ ?ิ
[๑๒๔๐] ทิฏฐิเป็นไฉน?
สสฺสโต โลโกติ วา, อสสฺสโต โลโกติ วา, อนฺตวา โลโกติ วา, อนนฺตวา
โลโกติ วา,
632

ความเห็นว่าโลกเทีย่ งก็ดี ว่าโลกไม่เทีย่ งก็ดี ว่าโลกมีทส่ี ดุ ก็ดี ว่าโลกไม่ม-ี


ทีส่ ดุ ก็ด,ี
ตํ ชีวํ ตํ สรีรนฺติ วา, อċฺċํ ชีวํ อċฺċํ สรีรนฺติ วา, โหติ ตถาคโต
ปรมฺมรณาติ วา, น โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, โหติ จ น จ โหติ
ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา, เนว โหติ น น โหติ ตถาคโต ปรมฺมรณาติ วา,
ว่าชีพอันนัน้ สรีระก็อนั นัน้ ก็ดี ว่าชีพเป็นอืน่ สรีระก็เป็นอืน่ ก็ดี ว่าสัตว์ยงั -
เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ไม่เป็นอยูเ่ บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี
ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ ม็ ไี ม่เป็นอยูก่ ม็ เี บือ้ งหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ยงั เป็นอยูก่ -็
ไม่ใช่ไม่เป็นอยูก่ ไ็ ม่ใช่เบือ้ งหน้าแต่มรณะก็ด,ี
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ทิฏĘฺ คิ หนํ ทิฏĘฺ กิ นฺตาโร ทิฏĘฺ วิ สิ กู ายิกํ ทิฏĘฺ วิ ปิ ผฺ นฺ-
ทิตํ ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ,
ทิฏฐิความเห็นไปข้างหน้า ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้า-
ศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คอื ทิฏฐิ,
คาโห ปฏิคคฺ าโห, อภินเิ วโส ปรามาโส, กุมมฺ คฺโค มิจฉฺ าปโถ มิจฉฺ ตฺตํ
ติตถฺ ายตนํ วิปริเยสคฺคาโห;
ความยึดถือ ความยึดถือมัน่ ความตัง้ มัน่ ความถือผิด ทางชัว่ ทางผิด
ภาวะทีผ่ ดิ ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่น
ว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ ทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าทิฏฐิ.
สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ .ิ
มิจฉาทิฏฐิแม้ทกุ อย่างจัดเป็น ทิฏฐิ.
[๑๒๔๑] ตตฺถ กตมา วิจกิ จิ ฉฺ า?
[๑๒๔๑] วิจกิ จิ ฉาเป็นไฉน?
สตฺถริ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ธมฺเม กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, สงฺเฆ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ,
สิกขฺ าย กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ;
633

ปุถชุ นเคลือบแคลงสงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์


ในสิกขา;
ปุพพฺ นฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, อปรนฺเต กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ, ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต กงฺขติ
วิจกิ จิ ฉฺ ติ; อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ;
ในส่วนอดีต ในส่วนอนาคต ทัง้ ในส่วนอดีตและส่วนอนาคต ในปฏิจจ-
สมุปปาทธรรมว่าเพราะธรรมนีเ้ ป็นปัจจัยธรรมนีจ้ งึ เกิดขึน้ ;
ยา เอวรูปา กงฺขา กงฺขายนา กงฺขายิตตฺต,ํ วิมติ วิจกิ จิ ฉฺ า, เทฺวฬฺหกํ เทฺวธาปโถ,
การเคลือบแคลง กิรยิ าทีเ่ คลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็นไป-
ต่างๆ นานา ความตัดสินอารมณ์ไม่ได้ ความเห็นเป็นสองแง่ ความเห็น-
เหมือนทางสองแพร่ง,
สํสโย อเนกํสคาโห, อาสปฺปนา ปริสปฺปนา, อปริโยคาหนา ถมฺภติ ตฺตจํ ติ ตฺ สฺส
มโนวิเลโข;
ความสงสัย ความไม่สามารถจะถือเอาโดยส่วนเดียวได้ ความคิดส่ายไป
ความคิดพร่าไป ความไม่สามารถจะหยัง่ ลงถือเอาเป็นยุตไิ ด้ ความกระด้าง-
แห่งจิต ความลังเลใจมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ า.
นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉา.
[๑๒๔๒] ตตฺถ กตมํ ถีน?ํ
[๑๒๔๒] ถีนะเป็นไฉน?
ยา จิตตฺ สฺส อกลฺยตา อกมฺมċฺċตา, โอลียนา สลฺลยี นา, ลีนํ ลียนา ลียติ ตฺต,ํ
ถีนํ ถียนา ถียติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส;
ความไม่สมประกอบแห่งจิต ความไม่ควรแก่การงานแห่งจิต ความท้อแท้
ความถดถอย ความหดหู่ อาการทีห่ ดหู่ ภาวะทีห่ ดหู่ ความซบเซา อาการที-่
ซบเซา ภาวะทีซ่ บเซาแห่งจิตอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ ถีน.ํ
นีเ้ รียกว่าถีนะ.
[๑๒๔๓] ตตฺถ กตมํ อุทธฺ จฺจ?ํ
634

[๑๒๔๓] อุทธัจจะเป็นไฉน?
ยํ จิตตฺ สฺส อุทธฺ จฺจํ อวูปสโม เจตโส วิกเฺ ขโป ภนฺตตฺตจํ ติ ตฺ สฺส;
ความฟุง้ ซ่านแห่งจิต ความไม่สงบแห่งจิต ความวุน่ วายใจ ความพล่าน-
แห่งจิตอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อุทธฺ จฺจ.ํ
นีเ้ รียกว่าอุทธัจจะ.
[๑๒๔๔] ตตฺถ กตมํ อหิรกิ ?ํ
[๑๒๔๔] อหิรกิ ะเป็นไฉน?
ยํ น หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, น หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่ละอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีไ่ ม่ละ-
อายต่อการประกอบอกุศลบาปทัง้ หลายอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อหิรกิ .ํ
นีเ้ รียกว่าอหิรกิ ะ.
[๑๒๔๕] ตตฺถ กตมํ อโนตฺตปฺป?ํ
[๑๒๔๕] อโนตตัปปะเป็นไฉน?
ยํ น โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน น โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่เกรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าที-่
ไม่เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อโนตฺตปฺป.ํ
นีเ้ รียกว่าอโนตตัปปะ.
อิเม ธมฺมา กิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกิเลส.
[๑๒๔๖] กตเม ธมฺมา โน กิเลสา?
[๑๒๔๖] ธรรมไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
635

อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ สพฺพċฺ จ รูป,ํ


อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นกิเลสธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมทีเ่ หลือ
ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์
รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา โน กิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นกิเลส.
๒. สังกิเลสิกทุกะ.
[๑๒๔๗] กตเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา?
[๑๒๔๗] ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา:
รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามา-
วจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๒๔๘] กตเม ธมฺมา อสํกเิ ลสิกา?
[๑๒๔๘] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อสํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
๓. สังกิลฏิ ฐทุกะ.
[๑๒๔๙] กตเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า?
[๑๒๔๙] ธรรมเศร้าหมองเป็นไฉน?
ตีณิ อกุสลมูลานิ: โลโภ โทโส โมโห, ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต
636

เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ


อกุศลมูล ๓ คือ โลภะ โทสะ โมหะ และกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับอกุศล-
มูลนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยอกุศลมูลนัน้ กาย-
กรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีอกุศลมูลนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเศร้าหมอง.
[๑๒๕๐] กตเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ า?
[๑๒๕๐] ธรรมไม่เศร้าหมองเป็นไฉน?
กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา:
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
กุศลธรรมและอัพยากตธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ
คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เศร้าหมอง.
๔. กิเลสสัมปยุตตทุกะ.
[๑๒๕๑] กตเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า?
[๑๒๕๑] ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยกิเลสธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัปยุตด้วยกิเลส.
[๑๒๕๒] กตเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๒๕๒] ธรรมวิปปยุตจากกิเลสเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ,
สพฺพċฺจ รูปํ , อสงฺขตา จ ธาตุ;
637

ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากกิเลสธรรมเหล่านัน้ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ


วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลส.
๕. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ.
[๑๒๕๓] กตเม ธมฺมา กิเลสา เจว สํกเิ ลสิกา จ?
[๑๒๕๓] ธรรมเป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
เตว กิเลสา กิเลสา เจว สํกเิ ลสิกา จ.
กิเลสธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๒๕๔] กตเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา เจว โน จกิเลสา?
[๑๒๕๔] ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สํกเิ ลสิกา, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา สาสวา
กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา: รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดเป็นอารมณ์ของสังกิเลสโดยกิเลสธรรมเหล่านัน้ เว้นกิเลส-
ธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภทที-่
ยังมีอาสวะทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ได้แก่รปู ขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา เจว โน จกิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส.
๖. กิเลสสังกิลฏิ ฐทุกะ.
[๑๒๕๕] กตเม ธมฺมา กิเลสา เจว สํกลิ ฏิ Ęฺ า จ?
[๑๒๕๕] ธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมองเป็นไฉน?
เตว กิเลสา กิเลสา เจว สํกลิ ฏิ Ęฺ า จ.
กิเลสเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมอง.
[๑๒๕๖] กตเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า เจว โน จ?
638

[๑๒๕๖] ธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
กิเลสา เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ; อิเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า เจว โน จ กิเลสา.
ธรรมเหล่าใด เศร้าหมองโดยกิเลสธรรมเหล่านัน้
เว้นกิเลสธรรมเหล่านัน้ เสีย คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส.
๗. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ.
[๑๒๕๗] กตเม ธมฺมา กิเลสา เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๒๕๗] ธรรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสเป็นไฉน?
โลโภ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โลภะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห โลเภน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโลภะ,
โทโส โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โทสะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห โทเสน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโทสะ,
มาโน โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
มานะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห มาเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยมานะ,
ทิฏĘฺ ิ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
ทิฏฐิเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห ทิฏĘฺ ยิ า กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยทิฏฐิ,
639

วิจกิ จิ ฉฺ า โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,


วิจกิ จิ ฉาเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห วิจกิ จิ ฉฺ าย กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยวิจกิ จิ ฉา,
ถีนํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ โมโห ถีเนน กิเลโส เจว
กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
ถีนะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ, โมหะเป็นกิเลสและสัม-
ปยุตด้วยกิเลสโดยถีนะ,
อุทธฺ จฺจํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺ จ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อหิรกิ ํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺ จ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อโนตฺตปฺปํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺ จ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
โมโห อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
โลโภ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โลภะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ โลเภน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺ จ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโลภะ,
โทโส อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โทสะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
640

อุทธฺ จฺจํ โทเสน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,


อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโทสะ,
โมโห อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
มาโน อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
มานะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ มาเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยมานะ,
ทิฏĘฺ ิ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
ทิฏฐิเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ ทิฏĘฺ ยิ า กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยทิฏฐิ,
วิจกิ จิ ฉฺ า อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
วิจกิ จิ ฉาเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ วิจกิ จิ ฉฺ าย กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยวิจกิ จิ ฉา,
ถีนํ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ถีนะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ ถีเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยถีนะ,
อหิรกิ ํ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
641

อโนตฺตปฺปํ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,


อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจํ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
โลโภ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โลภะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ โลเภน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโลภะ,
โทโส อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โทสะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ โทเสน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโทสะ,
โมโห อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
มาโน อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
มานะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ มาเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยมานะ,
ทิฏĘฺ ิ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
ทิฏฐิเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ ทิฏĘฺ ยิ า กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยทิฏฐิ,
วิจกิ จิ ฉฺ า อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
วิจกิ จิ ฉาเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
642

อหิรกิ ํ วิจกิ จิ ฉฺ าย กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,


อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยวิจกิ จิ ฉา,
ถีนํ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ถีนะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ ถีเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยถีนะ,
อุทธฺ จฺจํ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อโนตฺตปฺปํ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
โลโภ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โลภะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ โลเภน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโลภะ,
โทโส อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โทสะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ โทเสน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโทสะ,
โมโห อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,
โมหะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ โมเหน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยโมหะ,
643

มาโน อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตโฺ ต จ,


มานะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ มาเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยมานะ,
ทิฏĘฺ ิ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
ทิฏฐิเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ ทิฏฺ ยิ า กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยทิฏฐิ,
วิจกิ จิ ฉฺ า อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ,
วิจกิ จิ ฉาเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ วิจกิ จิ ฉฺ าย กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยวิจกิ จิ ฉา,
ถีนํ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
ถีนะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ ถีเนน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยถีนะ,
อุทธฺ จฺจํ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อุทธัจจะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ อุทธฺ จฺเจน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอุทธัจจะ,
อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺเปน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อหิรกิ ะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอโนตตัปปะ,
อโนตฺตปฺปํ อหิรเิ กน กิเลโส เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ ċฺจ,
อโนตตัปปะเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสโดยอหิรกิ ะ,
อิเม ธมฺมา กิเลสา เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีธ้ รรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส.
644

[๑๒๕๘] กตเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ กิเลสา?


[๑๒๕๘] ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา สมฺปยุตตฺ า, เต ธมฺเม Ęเปตฺวา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยกิเลสธรรมเหล่านัน้ เว้นกิเลสธรรมเหล่านัน้ เสีย
คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ กิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส.
๘. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ.
[๑๒๕๙] กตเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า สํกเิ ลสิกา?
[๑๒๕๙] ธรรมวิปปยุตจากกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
เตหิ ธมฺเมหิ เย ธมฺมา วิปปฺ ยุตตฺ า; สาสวา กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา
รูปาวจรา อรูปาวจรา รูปกฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากกิเลสธรรมเหล่านัน้ คือ กุศลธรรม อัพยากตธรรม
ประเภททีย่ งั มีอาสวะทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจรรูป ได้แก่รปู ขันธ์
ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลส แต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๒๖๐] กตเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า อสํกเิ ลสิกา?
[๑๒๖๐] ธรรมวิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า อสํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์
ของสังกิเลส.
กิเลสโคจฉกะจบ
645

๑๓. ปิฏĘฺ ทิ กุ .
๑. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ.
[๑๒๖๑] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา?
[๑๒๖๑] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
ตีณิ สċฺโċชนานิ สกฺกายทิฏĘฺ ิ วิจกิ จิ ฉฺ า สีลพฺพตปรามาโส.
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส.
[๑๒๖๒] ตตฺถ กตมา สกฺกายทิฏĘฺ ?ิ
[๑๒๖๒] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นัน้ สักกายทิฏฐิเป็นไฉน?
อิธ อสฺสตุ วา ปุถชุ ชฺ โน อริยานํ อทสฺสาวี, อริยธมฺมสฺส อโกวิโท, อริยธมฺเม
อวินโี ต,
ปุถชุ นในโลกนี้ ผูไ้ ร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้าทัง้ หลาย ไม่ฉลาดใน-
ธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้ฝกึ ฝนในธรรมของพระอริยเจ้า,
สปฺปรุ สิ านํ อทสฺสาวี, สปฺปรุ สิ ธมฺมสฺส อโกวิโท, สปฺปรุ สิ ธมฺเม อวินโี ต, รูปํ
อตฺตโต สมนุปสฺสติ,
ไม่ได้เห็นสัตบุรษุ ทัง้ หลาย ไม่ฉลาดในธรรม ของสัตบุรษุ ไม่ได้ฝกึ ฝนใน-
ธรรมของสัตบุรษุ ,
รูปวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา รูป,ํ รูปสฺมึ วา อตฺตานํ,
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรปู เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป,
เวทนํ ฯเปฯ สċฺċํ ฯเปฯ สงฺขาเร ฯเปฯ วิċċ ฺ าณํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ, วิญċ ฺ า-
ณวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา วิญċ ฺ าณํ, วิญċฺ าณสฺมึ วา อตฺตานํ, ยา
เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ย่อมเห็นเวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณเป็นตน หรือเห็นตน-
มีวญ ิ ญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้าง-
ทิฏฐิ ฯลฯ การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สกฺกายทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าสักกายทิฏฐิ.
646

[๑๒๖๓] ตตฺถ กตมา วิจกิ จิ ฉฺ า?


[๑๒๖๓] วิจกิ จิ ฉาเป็นไฉน?
สตฺถริ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ ฯเปฯ ถมฺภติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส มโนวิเลโข;
ปุถชุ นเคลือบแคลงสงสัยในพระศาสดา ฯลฯ ความกระด้างแห่งจิต
ความลังเลใจมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ า.
นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉา.
[๑๒๖๔] ตตฺถ กตโม สีลพฺพตปรามาโส?
[๑๒๖๔] สีลพั พตปรามาสเป็นไฉน?
อิโต พหิทธฺ า สมณพฺราหฺมณานํ “สีเลน สุทธฺ ,ิ วเตน สุทธฺ ,ิ สีลพฺพเตน
สุทธฺ ”ี ติ, ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ความเห็นว่าความบริสทุ ธิย์ อ่ มมีได้ดว้ ยศีล ด้วยพรต ด้วยศีลพรต ของสมณ
พราหมณ์ในภายนอกแต่ศาสนานีด้ งั นี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ การถือ-
โดยวิปลาส มีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตปรามาโส.
นีเ้ รียกว่าสีลพั พตปรามาส.
อิมานิ ตีณิ สċฺโċชนานิ, ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
สัญโญชน์ ๓ ดังกล่าวมานีแ้ ละกิเลสซึง่ ตัง้ อยูฐ่ านเดียวกันกับสัญโญชน์ ๓
นัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยสัญโญชน์ ๓ นัน้
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีสญ ั โญชน์ ๓ นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ.
[๑๒๖๕] กตเม ธมฺมา น ทสฺสเนน ปหาตพฺพา?
[๑๒๖๕] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
647

อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ สพฺพċฺจ รูป,ํ


อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นสัญโญชนธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม-
ทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์
ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา น ทสฺสเนน ปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณ.
๒. ภาวนายปหาตัพพทุกะ.
[๑๒๖๖] กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพา?
[๑๒๖๖] ธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?
อวเสโส โลโภ โทโส โมโห ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
โลภะ โทสะ โมหะทีเ่ หลือ และกิเลสซึง่ ตัง้ อยูฐ่ านเดียวกันกับ โลภะ โทสะ
โมหะนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วย โลภะ โทสะ
โมหะนัน้ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมอันมีโลภะ โทสะ โมหะ
นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ภาวนายปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
[๑๒๖๗] กตเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพา?
[๑๒๖๗] ธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา: อปริยาปนฺนา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
648

อิเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณ.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกะทุกะ.
[๑๒๖๘] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๒๖๘] ธรรมมีสปั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
ตีณิ สċฺโċชนานิ: สกฺกายทิฏĘฺ ิ วิจกิ จิ ฉฺ า สีลพฺพตปรามาโส.
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส.
[๑๒๖๙] ตตฺถ กตมา สกฺกายทิฏĘฺ ?ิ
[๑๒๖๙] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นัน้ สักกายทิฏฐิเป็นไฉน?
อิธ อสฺสตุ วา ปุถชุ ชฺ โน อริยานํ อทสฺสาวี, อริยธมฺมสฺส อโกวิโท, อริยธมฺเม
อวินโี ต,
ปุถชุ นในโลกนี้ ผูไ้ ร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้าทัง้ หลาย ไม่ฉลาดใน-
ธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้ฝกึ ฝนในธรรมของพระอริยเจ้า,
สปฺปรุ สิ านํ อทสฺสาวี, สปฺปรุ สิ ธมฺมสฺส อโกวิโท, สปฺปรุ สิ ธมฺเม อวินโี ต, รูปํ
อตฺตโต สมนุปสฺสติ,
ไม่ได้เห็นสัตบุรษุ ทัง้ หลาย ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรษุ ไม่ได้ฝกึ ฝนใน-
ธรรมของสัปบุรษุ ,
รูปวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา รูป,ํ รูปสฺมึ วา อตฺตานํ;
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรปู เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป;
เวทนํ ฯเปฯ สċฺċํ ฯเปฯ สงฺขาเร ฯเปฯ วิญċ ฺ าณํ อตฺตโต สมนุปสฺสติ,
วิญċ
ฺ าณวนฺตํ วา อตฺตานํ, อตฺตนิ วา วิญċ ฺ าณํ, วิญċ
ฺ าณสฺมึ วา อตฺตานํ;
ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ย่อมเห็นเวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณเป็นตน หรือเห็นตน-
มีวญ
ิ ญาณ เห็นวิญญาณในตน หรือเห็นตนในวิญญาณ ทิฏฐิ ความเห็นไป-
ข้างทิฏฐิ ฯลฯ การยึดถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สกฺกายทิฏĘฺ .ิ
649

นีเ้ รียกว่าสักกายทิฏฐิ.
[๑๒๗๐] ตตฺถ กตมา วิจกิ จิ ฉฺ า?
[๑๒๗๐] วิจกิ จิ ฉาเป็นไฉน?
สตฺถริ กงฺขติ วิจกิ จิ ฉฺ ติ ฯเปฯ ถมฺภติ ตฺตํ จิตตฺ สฺส มโนวิเลโข;
ปุถชุ นเคลือบแคลงสงสัยในพระศาสดา ฯลฯ ความกระด้างแห่งจิต ความ-
ลังเลใจมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ วิจกิ จิ ฉฺ า.
นีเ้ รียกว่าวิจกิ จิ ฉา.
[๑๒๗๑] ตตฺถ กตโม สีลพฺพตปรามาโส?
[๑๒๗๑] สีลพั พตปรามาส เป็นไฉน?
อิโต พหิทธฺ า สมณพฺราหฺมณานํ “สีเลน สุทธฺ ิ วเตน สุทธฺ ิ สีลพฺพเตน
สุทธฺ ”ี ติ. ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ความเห็นว่าความบริสทุ ธิย์ อ่ มมีได้ดว้ ยศีล ด้วยพรตของสมณพราหมณ์ใน-
ภายนอกแต่ศาสนานี้ ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ การถือโดย-
วิปลาส มีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สีลพฺพตปรามาโส.
นีเ้ รียกว่าสีลพั พตปรามาส.
อิมานิ ตีณิ สċฺโċชนานิ, ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
สัญโญชน์ ๓ ดังกล่าวมานีแ้ ละกิเลสทีต่ ง้ั อยูฐ่ านเดียวกันกับสัญโญชน์ ๓ นัน้
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยสัญโญชน์ ๓ นัน้ , กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรมอันมีสญ ั โญชน์ ๓ นัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา. ตีณิ สċฺโċชนานิ: สกฺกายทิฏĘฺ ิ
วิจกิ จิ ฉฺ า สีลพฺพตปรามาโส;
สัญโญชน์ ๓ คือ คือสักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนนปหาตพฺพา.
650

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ.


ตเทกฏฺโ โลโภ โทโส โมโห;
โลภะ โทสะ โมหะ อันตัง้ อยูฐ่ านเดียวกันกับสัญโญชน์ ๓ นัน้ ;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนนปหาตพฺพเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสัมปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.
ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา,
ส่วนกิเลสอันตัง้ อยูฐ่ านเดียวกันกับ โลภะ โทสะ โมหะนัน้ .
ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ
มโนกมฺม;ํ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วย โลภะ โทสะ โมหะนัน้
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันมีโลภะ โทสะ โมหะนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.
[๑๒๗๒] กตเม ธมฺมา นทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๒๗๒] ธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคจะประหาณเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมทีเ่ หลือ ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปวจร โลกุตตระ คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา นทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคจะประ-
หาณ.
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ.
[๑๒๗๓] กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
651

[๑๒๗๓] ธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?


อวเสโส โลโภ โทโส โมโห; อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตู.
โลภะ โทสะ โมหะทีเ่ หลือ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสัมปยุตตเหตุอนั มรรค
เบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
ตเทกฏฺĘา จ กิเลสา ตํสมฺปยุตโฺ ต เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ
ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
ส่วนกิเลสอันตัง้ อยูฐ่ านเดียวกับ โลภะ โทสะ โมหะนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วย โลภะ โทสะ โมหะนัน้ กายกรรม วจีกรรม
มโนกรรมอันมี โลภะ โทสะ โมหะนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
[๑๒๗๔] กตเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๒๗๔] ธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ จะประหาณเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċฺจ รูปํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม
อัพยากตธรรมทีเ่ หลือซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓
จะประหาณ.
๕. สวิตกั กทุกะ.
[๑๒๗๕] กตเม ธมฺมา สวิตกฺกา?
[๑๒๗๕] ธรรมมีวติ กเป็นไฉน?
สวิตกฺกภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน วิตกฺกํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
652

เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;


เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยวิตกนัน้ ในภูมแิ ห่งจิตมีวติ ก
ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระ เว้นวิตกเสีย;
อิเม ธมฺมา สวิตกฺกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีวติ ก.
[๑๒๗๖] กตเม ธมฺมา อวิตกฺกา?
[๑๒๗๖] ธรรมไม่มวี ติ กเป็นไฉน?
อวิตกฺกภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ, วิตกฺโก จ, สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ในภูมแิ ห่งจิตไม่มวี ติ ก ทีเ่ ป็นกามาวจร
รูปาวจร อรูปาวจร และโลกุตตระ วิตก รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อวิตกฺกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี ติ ก.
๖. สวิจารทุกะ.
[๑๒๗๗] กตเม ธมฺมา สวิจารา?
[๑๒๗๗] ธรรมมีวจิ ารเป็นไฉน?
สวิจารภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน วิจารํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยวิจารนัน้ ในภูมแิ ห่งจิตมีวจิ าร
ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระเว้นวิจารเสีย;
อิเม ธมฺมา สวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีวจิ าร.
[๑๒๗๘] กตเม ธมฺมา อวิจารา?
[๑๒๗๘] ธรรมไม่มวี จิ ารเป็นไฉน?
อวิจารภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ, วิจาโร จ, สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
653

เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ในภูมแิ ห่งจิตไม่มวี จิ าร ทีเ่ ป็นกามาวจร


รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ วิจาร รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี จิ าร.
๗. สัปปีตกิ ทุกะ.
[๑๒๗๙] กตเม ธมฺมา สปฺปตี กิ า?
[๑๒๗๙] ธรรมมีปตี เิ ป็นไฉน?
สปฺปตี กิ ภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน ปีตึ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยปีตนิ น้ั ในภูมแิ ห่งจิตมีปตี ิ
ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระ เว้นปีตเิ สีย;
อิเม ธมฺมา สปฺปตี กิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีปตี .ิ
[๑๒๘๐] กตเม ธมฺมา อปฺปตี กิ า?
[๑๒๘๐] ธรรมไม่มปี ตี เิ ป็นไฉน?
อปฺปตี กิ ภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ปีติ จ, สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ ในภูมแิ ห่งจิตไม่มปี ตี ทิ เ่ี ป็นกามาวจร
รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ ปีติ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อปฺปตี กิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มปี ตี ิ
๘. ปีตสิ หคตทุกะ.
[๑๒๘๑] กตเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา?
[๑๒๘๑] ธรรมสหรคตด้วยปีตเิ ป็นไฉน?
ปีตภิ มู ยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน ปีตึ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
654

เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ อันสัมปยุตด้วยปีตนิ น้ั ในภูมแิ ห่งจิตมีปตี ิ


ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระเว้นปีตเิ สีย;
อิเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยปีต.ิ
[๑๒๘๒] กตเม ธมฺมา นปีตสิ หคตา?
[๑๒๘๒] ธรรมไม่สรหคตด้วยปีตเิ ป็นไฉน?
นปีตภิ มู ยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ ปีติ จ, สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ ในจิตอันไม่เป็นภูมแิ ห่งปีตทิ เ่ี ป็นกามาวจร
รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ ปีติ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา น ปีตสิ หคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่สหรคตด้วยปีต.ิ
๙. สุขสหคตทุกะ.
[๑๒๘๓] กตเม ธมฺมา สุขสหคตา?
[๑๒๘๓] ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
สุขภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อปริยาปนฺเน สุขํ Ęเปตฺวา ตํสมฺปยุตโฺ ต
สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยสุขเวทนานัน้ ในภูม-ิ
แห่งสุขเวทนา ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร โลกุตตระ เว้นสุขเวทนาเสีย;
อิเม ธมฺมา สุขสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา.
[๑๒๘๔] กตเม ธมฺมา นสุขสหคตา?
[๑๒๘๔] ธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
น สุขภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ
วิญċฺ าณกฺขนฺโธ, สุขċฺจ สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ ในจิตอันไม่เป็นภูมแิ ห่งสุขเวทนา ทีเ่ ป็นกา-
655

มาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ สุขเวทารูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;


อิเม ธมฺมา น สุขสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนา.
๑๐. อุเปกขาสหคตทุกะ.
[๑๒๘๕] กตเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา?
[๑๒๘๕] ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นไฉน?
อุเปกฺขาภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน อุเปกฺขํ เปตฺวา
ตํสมฺปยุตโฺ ต สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนานัน้ -
ในภูมแิ ห่งอุเบกขาเวทนา ทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร และโลกุต-
ตระ เว้นอุเบกขาเวทนาเสีย;
อิเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา.
[๑๒๘๖] กตเม ธมฺมา น อุเปกฺขาสหคตา?
[๑๒๘๖] ธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นไฉน?
นอุเปกฺขาภูมยิ ํ กามาวจเร รูปาวจเร อรูปาวจเร อปริยาปนฺเน เวทนากฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ อุเปกฺขา จ สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ในจิตอันไม่เป็นภูมแิ ห่งอุเบกขาเวทนาทีเ่ ป็น-
กามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ อุเบกขาเวทนา รูปทัง้ หมด
และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา น อุเปกฺขาสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา.
๑๑. กามาวจรทุกะ.
[๑๒๘๗] กตเม ธมฺมา กามาวจรา?
[๑๒๘๗] ธรรมเป็นกามาวจรเป็นไฉน?
เหฏฺĘโต อวีจนิ ริ ยํ ปริยนฺตํ กริตวฺ า อุปริโต ปรนิมมฺ ติ วสวตฺตี เทเว อนฺโต
กริตวฺ า ยํ เอตสฺมึ อนฺตเร เอตฺถาวจรา เอตฺถ ปริยาปนฺนา ขนฺธธาตุอายตนา,
656

รูปา เวทนา สċฺċา สงฺขารา วิญċ ฺ าณํ;


ขันธ์ ธาตุ อายตนะ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึง่ ท่องเทีย่ วอยู่
นับเนือ่ งอยูใ่ นภูมริ ะหว่างนี้ คือ เบือ้ งต่ำกำหนดอเวจีนรกเป็นทีส่ ดุ
เบือ้ งสูงกำหนดเทพชัน้ ปรนิมมิตวสวัตตีเป็นทีส่ ดุ อันใด;
อิเม ธมฺมา กามาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกามาวจร.
[๑๒๘๘] กตเม ธมฺมา นกามาวจรา?
[๑๒๘๘] ธรรมไม่เป็นกามาวจรเป็นไฉน?
รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
รูปาวจรธรรม อรูปาวจรธรรมอปริยาปันนธรรม;
อิเม ธมฺมา น กามาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นกามาวจร.
๑๒. รูปาวจรทุกะ.
[๑๒๘๙] กตเม ธมฺมา รูปาวจรา?
[๑๒๘๙] ธรรมเป็นรูปาวจรเป็นไฉน?
เหฏĘโต พฺรหฺมโลกํ ปริยนฺตํ กริตวฺ า อุปริโต อกนิฏเฺ Ę เทเว อนฺโต กริตวฺ า ยํ
เอตสฺมึ อนฺตเร เอตฺถาวจรา เอตฺถ ปริยาปนฺนา สมาปนฺนสฺส วา อุปปนฺนสฺส
วา ทิฏĘฺ ธมฺมสุขวิหาริสสฺ วา จิตตฺ เจตสิกา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกของท่านผูเ้ ข้าสมาบัติ (กุศลฌาน) หรือของท่านผู-้
อุปบัติ (วิปากฌาน) หรือของท่านผูอ้ ยูด่ ว้ ยทิฏฐธรรมสุขวิหาร (กิรยิ าฌาน)
ซึง่ ท่องเทีย่ วอยู่ นับเนือ่ งอยูใ่ นภูมริ ะหว่างนี้ คือ เบือ้ งต่ำกำหนดพรหมโลก-
เป็นทีส่ ดุ เบือ้ งสูงกำหนดเทพชัน้ อกนิษฐเป็นทีส่ ดุ อันใด;
ธมฺมา อิเม ธมฺมา รูปาวจรา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นรูปาวจร.
[๑๒๙๐] กตเม ธมฺมา น รูปาวจรา?
[๑๒๙๐] ธรรมไม่เป็นรูปาวจรเป็นไฉน?
657

กามาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;


กามาวจรธรรม อรูปาวจรธรรม อปริยาปันนธรรม;
อิเม ธมฺมา น รูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นรูปาวจร.
๑๓. อรูปาวจรทุกะ.
[๑๒๙๑] กตเม ธมฺมา อรูปาวจรา?
[๑๒๙๑] ธรรมเป็นอรูปาวจรเป็นไฉน?
เหฏฺĘโต อากาสานċฺจายตนุปเค เทเว ปริยนฺตํ กริตวฺ า อุปริโต เนวสċฺċานา-
สċฺċายตนุปเค เทเว อนฺโต กริตวฺ า ยํเอตสฺมึ อนฺตเร เอตฺถาวจรา เอตฺถ
ปริยาปนฺนา สมาปนฺนสฺส วา อุปปนฺนสฺส วา ทิฏĘธมฺมสุขวิหาริสสฺ วา
จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา;
ธรรมคือจิตและเจตสิกของท่านผูเ้ ข้าสมาบัติ (กุศลฌาน) หรือของท่านผูอ้ ปุ -
บัติ (วิปากฌาน) หรือของท่านผูอ้ ยูด่ ว้ ยทิฏฐิธรรมสุขวิหาร (กิรยิ าฌาน)
ซึง่ ท่องเทีย่ วอยู่ นับเนือ่ งอยูใ่ นภูมริ ะหว่างนี้ คือเบือ้ งต่ำกำหนดเทพผูเ้ ข้าถึง-
อากาสานัญจายตนภูมเิ ป็นทีส่ ดุ เบือ้ งสูงกำหนด เทพผูเ้ ข้าถึงเนวสัญญานา-
สัญญายตนภูมิ เป็นทีส่ ดุ ;
อิเม ธมฺมา อรูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอรูปาวจร.
[๑๒๙๒] กตเม ธมฺมา น อรูปาวจรา?
[๑๒๙๒] ธรรมไม่เป็นอรูปาวจรเป็นไฉน?
กามาวจรา รูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
กามาวจรธรรม รูปาวจรธรรม อปริยาปันนธรรม;
อิเม ธมฺมา น อรูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอรูปาวจร.
๑๔. ปริยาปันนทุกะ.
[๑๒๙๓] กตเม ธมฺมา ปริยาปนฺนา?
658

[๑๒๙๓] ธรรมเป็นปริยาปันนะเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา รูปกฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม ประเภททีย่ งั มีอาสวะ
ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;
อิเม ธมฺมา ปริยาปนฺนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นปริยาปันนะ.
[๑๒๙๔] กตเม ธมฺมา อปริยาปนฺนา?
[๑๒๙๔] ธรรมเป็นอปริยาปันนะเป็นไฉน?
มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรค ผลของมรรค และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อปริยาปนฺนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอปริยาปันนะ.
๑๕. นิยยานิกทุกะ.
[๑๒๙๕] กตเม ธมฺมา นิยยฺ านิกา?
[๑๒๙๕] ธรรมเป็นนิยยานิกะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา; อิเม ธมฺมา นิยยฺ านิกา.
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นนิยยานิกะ.
[๑๒๙๖] กตเม ธมฺมา อนิยยฺ านิกา?
[๑๒๙๖] อนิยยานิกธรรมเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา: เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, สพฺพċŇจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นนิยยานิกธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม
ทีเ่ หลือซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
659

อิเม ธมฺมา อนิยยฺ านิกา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนิยยานิกธรรม.
๑๖. นิยตทุกะ.
[๑๒๙๗] กตเม ธมฺมา นิยตา?
[๑๒๙๗] ธรรมให้ผลแน่นอนเป็นไฉน?
ปċฺจ กมฺมานิ อานนฺตริกานิ, ยา จ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ นิยตา, จตฺตาโร มคฺคา
อปริยาปนฺนา;
อนันตริยกรรม ๕ นิยตมิจฉาทิฏฐิ และมรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ;
อิเม ธมฺมา นิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมให้ผลแน่นอน.
[๑๒๙๘] กตเม ธมฺมา อนิยตา?
[๑๒๙๘] ธรรมให้ผลไม่แน่นอนเป็นไฉน?
เต ธมฺเม Ęเปตฺวา อวเสสา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา
อรูปาวจรา: อปริยาปนฺนา เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ สพฺพċฺจ รูป,ํ
อสงฺขตา จ ธาตุ;
เว้นนิยตธรรมเหล่านัน้ เสีย กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมทีเ่ หลือ
ซึง่ เป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ
วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมดและอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมให้ผลไม่แน่นอน.
๑๗. สอุตตรทุกะ.
[๑๒๙๙] กตเม ธมฺมา สอุตตฺ รา?
[๑๒๙๙] ธรรมยังมีธรรมอืน่ ยิง่ กว่าเป็นไฉน?
สาสวา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา รูปกฺขนฺโธ
ฯเปฯ วิญċ
ฺ าณกฺขนฺโธ;
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรมประเภททีย่ งั มีอาสวะ ซึง่ เป็นกามา-
660

วจร รูปาวจร อรูปาวจร คือ รูปขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์;


อิเม ธมฺมา สอุตตฺ รา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมยังมีธรรมอืน่ ยิง่ กว่า.
[๑๓๐๐] กตเม ธมฺมา อนุตตฺ รา?
[๑๓๐๐] ธรรมไม่มธี รรมอืน่ ยิง่ กว่าเป็นไฉน?
อปริยาปนฺนา มคฺคา จ มคฺคผลานิ จ อสงฺขตา จ ธาตุ;
มรรคและผลของมรรคทีเ่ ป็นโลกุตตระ และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อนุตตฺ รา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มธี รรมอืน่ ยิง่ กว่า.
๑๘. สรณทุกะ.
[๑๓๐๑] กตเม ธมฺมา สรณา?
[๑๓๐๑] ธรรมเกิดกับกิเลสเป็นไฉน?
ตีณิ อกุสลมูลานิ: โลโภ โทโส โมโห, ตเทกฏฺĘา จ กิเสสา, ตํสมฺปยุตโฺ ต
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, ตํสมุฏĘฺ านํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ มโนกมฺม;ํ
อกุศลมูล ๓ คือ โลภะ โทสะ โมหะ และกิเลสอันตัง้ อยูฐ่ านเดียวกันกับ-
อกุศลมูลนัน้ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์อนั สัมปยุตด้วยอกุศลมูลนัน้
กายกรรม วจีกรรมม โนกรรมอันมีอกุศลมูลนัน้ เป็นสมุฏฐาน;
อิเม ธมฺมา สรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเกิดกับกิเลส.
[๑๓๐๒] กตเม ธมฺมา อรณา?
[๑๓๐๒] ธรรมไม่เกิดกับกิเลสเป็นไฉน?
กุสลาพฺยากตา ธมฺมา กามาวจรา รูปาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา:
เวทนากฺขนฺโธ ฯเปฯ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ สพฺพċฺจ รูป,ํ อสงฺขตา จ ธาตุ;
กุศลธรรมและอัพยากตธรรมทีเ่ ป็นกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ
คือ เวทนาขันธ์ ฯลฯ วิญญาณขันธ์ รูปทัง้ หมด และอสังขตธาตุ;
อิเม ธมฺมา อรณา.
661

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เกิดกับกิเลส.


ปิฏฐิทกุ ะจบ.
อภิธรรมทุกนิกเขปะจบ.
สุตนฺตทิ กุ นิกเฺ ขป.
๑. วิชชาภาคีทกุ ะ.
[๑๓๐๓] กตเม ธมฺมา วิชชฺ าภาคิโน?
[๑๓๐๓] ธรรมเป็นไปในส่วนวิชชาเป็นไฉน?
วิชชฺ าย สมฺปยุตตฺ กา ธมฺมา; อิเม ธมฺมา วิชชฺ าภาคิโน.
ธรรมทัง้ หลายทีส่ มั ปยุตด้วยอวิชชา สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นไป-
ในส่วนวิชชา.
[๑๓๐๔] กตเม ธมฺมา อวิชชฺ าภาคิโน?
[๑๓๐๔] ธรรมเป็นไปในส่วนอวิชชาเป็นไฉน?
อวิชชฺ าย สมฺปยุตตฺ กา ธมฺมา; อิเม ธมฺมา อวิชชฺ าภาคิโน.
ธรรมทัง้ หลายทีส่ มั ปยุตด้วยอวิชชา สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นไป-
ในส่วนอวิชชา.
๒. วิชชูปมทุกะ.
[๑๓๐๕] กตเม ธมฺมา วิชชฺ ปู มา?
[๑๓๐๕] วิชชูปมธรรมเป็นไฉน?
เหฏฺĘมิ สุ ตีสุ อริยมคฺเคสุ ปċฺċา; อิเม ธมฺมา วิชชฺ ปู มา.
ปัญญาในอริยมรรค ๓ เบือ้ งต่ำ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าวิชชูปมธรรม.
[๑๓๐๖] กตเม ธมฺมา วชิรปู มา?
[๑๓๐๖] วชิรปู มธรรมเป็นไฉน?
อุปริฏĘฺ เิ ม อรหตฺตมคฺเค ปċฺċา; อิเม ธมฺมา วชิรปู มา.
ปัญญาในอรหัตตมรรคเบือ้ งสูง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าวชิรปู มธรรม.
๓. พาลทุกะ.
[๑๓๐๗] กตเม ธมฺมา พาลา?
662

[๑๓๐๗] พาลธรรมเป็นไฉน?
อหิรกิ ċฺจ อโนตฺตปฺปċฺจ; อิเม ธมฺมา พาลา สพฺเพปิ อกุสลา ธมฺมา พาลา.
อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าพาลธรรม.
[๑๓๐๘] กตเม ธมฺมา ปณฺฑติ า?
[๑๓๐๘] บัณฑิตธรรมเป็นไฉน?
หิรี จ โอตฺตปฺปċฺจ; อิเม ธมฺมา ปณฺฑติ า.
หิริ โอตตัปปะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าบัณฑิตธรรม.
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ปณฺฑติ า.
กุศลธรรมแม้ทง้ั หมดจัดเป็นบัณฑิตธรรม.
๔. กัณหทุกะ.
[๑๓๐๙] กตเม ธมฺมา กณฺหา?
[๑๓๐๙] กัณหธรรมเป็นไฉน?
อหิรกิ ċฺจ อโนตฺตปฺปċฺจ; อิเม ธมฺมา กณฺหา.
อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ากัณหธรรม.
สพฺเพปิ อกุสลา ธมฺมา กณฺหา.
อกุศลธรรมแม้ทง้ั หมดจัดเป็นกัณหธรรม.
[๑๓๑๐] กตเม ธมฺมา สุกกฺ า?
[๑๓๑๐] สุกกธรรมเป็นไฉน?
หิรี จ โอตฺตปฺปċฺจ อิเม ธมฺมา สุกกฺ า.
หิริ โอตตัปปะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสุกกธรรม.
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา สุกกฺ า.
กุศลธรรมแม้ทง้ั หมดจัดเป็นสุกกธรรม.
๕. ตปนียทุกะ.
[๑๓๑๑] กตเม ธมฺมา ตปนิยา?
[๑๓๑๑] ตปนิยธรรมเป็นไฉน?
กายทุจจฺ ริตํ วจีทจุ จฺ ริตํ มโนทุจจฺ ริต;ํ อิเม ธมฺมา ตปนิยา.
663

กายทุจริต วจีทจุ ริต มโนทุจริต สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าตปนิยธรรม.


สพฺเพปิ อกุสลา ธมฺมา ตปนิยา.
อกุศลธรรมแม้ทง้ั หมดจัดเป็นตปนิยธรรม.
[๑๓๑๒] กตเม ธมฺมา อตปนิยา?
[๑๓๑๒] อตปนิยธรรมเป็นไฉน?
กายสุจริตํ วจีสจุ ริตํ มโนสุจริต;ํ อิเม ธมฺมา อตปนิยา.
กายสุจริต วจีสจุ ริต มโนสุจริต สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอตปนิยธรรม.
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา อตปนิยา.
กุศลธรรมแม้ทง้ั หมดจัดเป็นอตปนิยธรรม.
๖. อธิวจนทุกะ.
[๑๓๑๓] กตเม ธมฺมา อธิวจนา?
[๑๓๑๓] อธิวจนธรรมเป็นไฉน?
ยา เตสํ เตสํ ธมฺมานํ สงฺขา สมċฺċา ปċฺċตฺติ โวหาโร, นามํ นามกมฺมํ
นามเธยฺย,ํ นิรตุ ตฺ ิ พฺยċฺชนํ อภิลาโป;
การกล่าวขาน สมัญญา บัญญัติ โวหาร นาม การขนานนาม การตัง้ ชือ่
การออกชือ่ การระบุชอ่ื การเรียกชือ่ ของธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิเม ธมฺมา อธิวจนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอธิวจนธรรม.
สพฺเพว ธมฺมา อธิวจนปถา.
ธรรมทัง้ หมดแลชือ่ ว่าอธิวจนปถธรรม.
๗. นิรตุ ติทกุ ะ.
[๑๓๑๔] กตเม ธมฺมา นิรตุ ตฺ ?ิ
[๑๓๑๔] นิรตุ ติธรรมเป็นไฉน?
ยา เตสํ เตสํ ธมฺมานํ สงฺขา สมċฺċา ปċฺċตฺติ โวหาโร, นามํ นามกมฺมํ
นามเธยฺย,ํ นิรตุ ตฺ ิ พฺยċฺชนํ อภิลาโป;
การกล่าวขาน สมัญญา บัญญัติ โวหาร นาม การขนานนาม การตัง้ ชือ่
การออกชือ่ การระบุชอ่ื การเรียกชือ่ ของธรรมนัน้ ๆ อันใด;
664

อิเม ธมฺมา นิรตุ ตฺ .ิ


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่านิรตุ ติธรรม.
สพฺเพว ธมฺมา นิรตุ ตฺ ปิ ถา.
ธรรมทัง้ หมดแลชือ่ ว่านิรตุ ติปถธรรม.
๘. ปัญญัตติทกุ ะ.
[๑๓๑๕] กตเม ธมฺมา ปċฺċตฺต?ิ
[๑๓๑๕] บัญญัตธิ รรม เป็นไฉน?
ยา เตสํ เตสํ ธมฺมานํสงฺขา สมċฺċา ปċฺċตฺติ โวหาโร, นามํ นามกมฺมํ
นามเธยฺย,ํ นิรตุ ตฺ ิ พฺยċฺชนํ อภิลาโป;
การกล่าวขาน สมัญญา บัญญัติ โวหาร นาม การขนานนาม การตัง้ ชือ่
การออกชือ่ การระบุชอ่ื การเรียกชือ่ ของธรรมนัน้ ๆ อันใด;
อิเม ธมฺมา ปċฺċตฺต.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าบัญญัตธิ รรม.
สพฺเพว ธมฺมา ปċฺċตฺตปิ ถา.
ธรรมทัง้ หมดแลชือ่ ว่าบัญญัตปิ ถธรรม.
๙. นามรูปทุกะ.
[๑๓๑๖] ตตฺถ กตมํ นามํ?
[๑๓๑๖] บรรดาธรรมเหล่านัน้ นามธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญċ ฺ าณกฺขนฺโธ, อสงฺขตา จ
ธาตุ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ และอสังขตธาตุ;
อิทํ วุจจฺ ติ นามํ.
นีเ้ รียกว่านามธรรม.
[๑๓๑๗] ตตฺถ กตมํ รูป?ํ
[๑๓๑๗] รูปธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร จ มหาภูตา จตุนนฺ ċฺจ มหาภูตานํ อุปาทาย รูป;ํ อิทํ วุจจฺ ติ รูป.ํ
665

มหาภูตรูป ๔ และรูปทีอ่ าศัยมหาภูตรูป ๔ นัน้ นีเ้ รียกว่ารูปธรรม.


๑๐. อวิชชาทุกะ.
[๑๓๑๘] ตตฺถ กตมา อวิชชฺ า?
[๑๓๑๘] อวิชชาเป็นไฉน?
ยํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ ฯเปฯ อวิชชฺ าลงฺค,ี โมโห อกุสลมูล;ํ
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ฯลฯ ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อวิชชฺ า.
นีเ้ รียกว่าอวิชชา.
[๑๓๑๙] ตตฺถ กตมา ภวตณฺหา?
[๑๓๑๙] ภวตัณหาเป็นไฉน?
โย ภเวสุ ภวจฺฉนฺโท ฯเปฯ ภวชฺโฌสานํ; อยํ วุจจฺ ติ ภวตณฺหา.
ความพอใจในภพ ฯลฯ ความหมกมุน่ ในภพ ในภพทัง้ หลายอันใด นีเ้ รียกว่า
ภวตัณหา.
๑๑. ภวทิฏฐิทกุ ะ.
[๑๓๒๐] ตตฺถ กตมา ภวทิฏĘฺ ?ิ
[๑๓๒๐] ภวทิฏฐิเป็นไฉน?
ภวิสสฺ ติ อตฺตา จ โลโก จาติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ความเห็นว่าตนและโลกจักเกิด ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ
การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ ภวทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าภวทิฏฐิ.
[๑๓๒๑] ตตฺถ กตมา วิภวทิฏĘฺ ?ิ
[๑๓๒๑] วิภวทิฏฐิเป็นไฉน?
น ภวิสสฺ ติ อตฺตา จ โลโก จาติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ
วิปริเยสคฺคาโห;
ความเห็นว่า ตนและโลกจักไม่เกิด ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ
666

การถือ โดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;


อยํ วุจจฺ ติ วิภวทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าวิภวทิฏฐิ.
๑๒. สัสสตทิฏฐิทกุ ะ.
[๑๓๒๒] ตตฺถ กตมา สสฺสตทิฏĘฺ ?ิ
[๑๓๒๒] สัสสตทิฏฐิเป็นไฉน?
สสฺสโต อตฺตา จ โลโก จาติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ความเห็นว่าตนและโลกเทีย่ ง ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ การถือ
โดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ สสฺสตทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าสัสสตทิฏฐิ.
[๑๓๒๓] ตตฺถ กตมา อุจเฺ ฉททิฏĘฺ ?ิ
[๑๓๒๓] อุจเฉททิฏฐิเป็นไฉน?
อุจฉฺ ชิ ชฺ สิ สฺ ติ อตฺตา จ โลโก จาติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺ-
คาโห;
ความเห็นว่าตนและโลกจักสูญ ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ
การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ อุจเฺ ฉททิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่า อุจเฉททิฏฐิ.
๑๓. อันตวาทิฏฐิทกุ ะ.
[๑๓๒๔] ตตฺถ กตมา อนฺตวาทิฏĘฺ ?ิ
[๑๓๒๔] อันตวาทิฏฐิเป็นไฉน?
อนฺตวา อตฺตา จ โลโก จาติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ความเห็นว่าตนและโลกมีทส่ี ดุ ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ การ-
ถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ อนฺตวาทิฏĘฺ .ิ
667

นีเ้ รียกว่าอันตวาทิฏฐิ.
[๑๓๒๕] ตตฺถ กตมา อนนฺตวาทิฏĘฺ ?ิ
[๑๓๒๕] อนันตวาทิฏฐิเป็นไฉน?
อนนฺตวา อตฺตา จ โลโก จาติ ยา เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคา-
โห;
ความเห็นว่าตนและโลกไม่มที ส่ี ดุ ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ
การถือโดยวิปลาสมีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ อนนฺตวาทิฏĘฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าอนันตวาทิฏฐิ.
๑๔. ปุพพันตาทิฏฐิทกุ .
[๑๓๒๖] ตตฺถ กตมา ปุพพฺ นฺตานุทฏิ Ęฺ ?ิ
[๑๓๒๖] ปุพพันตานุทฏิ ฐิเป็นไฉน?
ปุพพฺ นฺตํ อารพฺภ ยา อุปปฺ ชฺชติ ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ การถือโดยวิปลาสอันใด ปรารภส่วนอดีต
เกิดขึน้ ;
อยํ วุจจฺ ติ ปุพพฺ นฺตานุทฏิ Ęฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าปุพพันตานุทฏิ ฐิ.
[๑๓๒๗] ตตฺถ กตมา อปรนฺตานุทฏิ Ęฺ ?ิ
[๑๓๒๗] อปรันตานุทฏิ ฐิเป็นไฉน?
อปรนฺตํ อารพฺภ ยา อุปปฺ ชฺชติ ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
ทิฏฐิความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ การถือโดยวิปลาสอันใดปรารภส่วนอนาคต
เกิดขึน้ ;
อยํ วุจจฺ ติ อปรนฺตานุทฏิ Ęฺ .ิ
นีเ้ รียกว่าอปรันตานุทฏิ ฐิ.
๑๕. อหิรกิ ะทุกะ.
[๑๓๒๘] ตตฺถ กตมํ อหิรกิ ?ํ
668

[๑๓๒๘] อหิรกิ ะเป็นไฉน?


ยํ น หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน น หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่ละอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีไ่ ม่ละ-
อายต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อหิรกิ .ํ
นีเ้ รียกว่าอหิรกิ ะ.
[๑๓๒๙] ตตฺถ กตมํ อโนตฺตปฺป?ํ
[๑๓๒๙] อโนตตัปปะเป็นไฉน?
ยํ น โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, น โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีไ่ ม่เกรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าที-่
ไม่เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อโนตฺตปฺป.ํ
นีเ้ รียกว่าอโนตตัปปะ.

๑๖. หิรทิ กุ ะ.
[๑๓๓๐] ตตฺถ กตมา หิร?ี
[๑๓๓๐] หิรเิ ป็นไฉน?
ยํ หิรยิ ติ หิรยิ ติ พฺเพน, หิรยิ ติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีล่ ะอายต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ ละอาย กิรยิ าทีล่ ะอาย-
ต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ หิร.ี
นีเ้ รียกว่าหิริ
[๑๓๓๑] ตตฺถ กตมํ โอตฺตปฺป?ํ
[๑๓๓๑] โอตตัปปะเป็นไฉน?
ยํ โอตฺตปฺปติ โอตฺตปฺปติ พฺเพน, โอตฺตปฺปติ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ
669

สมาปตฺตยิ า;
กิรยิ าทีเ่ กรงกลัวต่อการประพฤติทจุ ริตอันเป็นสิง่ ทีน่ า่ เกรงกลัว กิรยิ าทีเ่ กรง-
กลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทัง้ หลายอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ โอตฺตปฺป.ํ
นีเ้ รียกว่าโอตตัปปะ.
๑๗. โทวจัสสตาทุก.
[๑๓๓๒] ตตฺถ กตมา โทวจสฺสตา?
[๑๓๓๒] โทวจัสสตาเป็นไฉน?
สหธมฺมเิ ก วุจจฺ มาเน โทวจสฺสายํ โทวจสฺสยิ ํ โทวจสฺสตา, วิปปฺ ฏิกลู คาหิตา
วิปจฺจนีกสาตตา, อนาทริยํ อนาทรตา, อคารวตา อปฺปฏิสสฺ วตา,
กิรยิ าของผูว้ า่ ยาก ภาวะแห่งผูว้ า่ ยาก ความเป็นผูว้ า่ ยาก ความยึดข้างขัดขืน
ความพอใจทางโต้แย้ง ความไม่เอือ้ เฟือ้ ภาวะแห่งผูไ้ ม่เอือ้ เฟือ้ ความไม่เคา-
รพ ความไม่รบั ฟังในเมือ่ ถูกว่ากล่าวโดยสหธรรม;
อยํ วุจจฺ ติ โทวจสฺสตา.
นีเ้ รียกว่าโทวจัสสตา.
[๑๓๓๓] ตตฺถ กตมา ปาปมิตตฺ ตา?
[๑๓๓๓] ปาปมิตตตาเป็นไฉน?
เย เต ปุคคฺ ลา อสฺสทฺธา ทุสสฺ ลี า อปฺปสฺสตุ า มจฺฉริโน ทุปปฺ ċฺċา; ยา เตสํ
เสวนา นิเสวนา สํเสวนา, ภชนา สมฺภชนา, ภตฺติ สมฺภตฺต,ิ ตํสมฺปวงฺกตา;
บุคคลเหล่าใดเป็นคนไม่มศี รัทธา ไม่มศี ลี ไร้การศึกษา มีความตระหนี่
มีปญ ั ญาทราม การเสพ การส้องเสพ การส้องเสพด้วยดี การคบ การคบหา
ความภักดี ความจงรักภักดีตอ่ บุคคลเหล่านัน้ ความเป็นผูม้ กี ายและใจโน้ม-
น้าวไปตามบุคคลเหล่านัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ปาปมิตตฺ ตา.
นีเ้ รียกว่าปาปมิตตตา.
๑๘. โสวจัสสตาทุกะ.
670

[๑๓๓๔] ตตฺถ กตมา โสวจสฺสตา?


[๑๓๓๔] โสวจัสสตาเป็นไฉน?
สหธมฺมเิ ก วุจจฺ มาเน โสวจสฺสายํ โสวจสฺสยิ ํ โสวจสฺสตา, อปฺปฏิกลู คาหิตา
อวิปจฺจนีกสาตตา, สาทริยํ สาทรตา, สคารวตา สปฺปฏิสสฺ วตา;
กิรยิ าของผูว้ า่ ง่าย ภาวแห่งผูว้ า่ ง่าย ความเป็นผูว้ า่ ง่าย ความไม่ยดึ ข้างขัดขืน
ความไม่พอใจทางโต้แย้ง ความเอือ้ เฟือ้ ภาวะแห่งผูเ้ อือ้ เฟือ้ ความเป็นผูท้ ง้ั -
เคารพทัง้ รับฟังในเมือ่ ถูกว่ากล่าวโดยสหธรรม;
อยํ วุจจฺ ติ โสวจสฺสตา.
นีเ้ รียกว่าโสวจัสสตา.
[๑๓๓๕] ตตฺถ กตมา กลฺยาณมิตตฺ ตา?
[๑๓๓๕] กัลยาณมิตตตาเป็นไฉน?
เย เต ปุคคฺ ลา สทฺธา สีลวนฺโต พหุสสฺ ตุ า จาควนฺโต ปċฺċวนฺโต; ยา เตสํ
เสวนา นิเสวนา สํเสวนา, ภชนา สมฺภชนา, ภตฺติ สมฺภตฺต,ิ ตํสมฺปวงฺกตา;
บุคคลเหล่าใดเป็นคนมีศรัทธา มีศลี เป็นพหูสตู มีจาคะ มีปญ ั ญา การเสพ
การสัองเสพ การส้องเสพด้วยดี การคบ การคบหา ความภักดี ความจงรัก-
ภักดีตอ่ บุคคลเหล่านัน้ ความเป็นผูม้ กี ายและใจโน้มน้าวไปตามบุคคล
เหล่านัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ กลฺยาณมิตตฺ ตา.
นีเ้ รียกว่ากัลยาณมิตตตา.
๑๙. อาปัตติกสุ ลตาทุกะ.
[๑๓๓๖] ตตฺถ กตมา อาปตฺตกิ สุ ลตา?
[๑๓๓๖] อาปัตติกสุ ลตาเป็นไฉน?
ปċฺจปิ อาปตฺตกิ ขฺ นฺธา อาปตฺตโิ ย, สตฺตปิ อาปตฺตกิ ขฺ นฺธา อาปตฺตโิ ย; ยา ตาสํ
อาปตฺตนี ํ อาปตฺตกิ สุ ลตา ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย
สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
671

อาบัตทิ ง้ั ๕ หมวด ๗ หมวด เรียกว่าอาบัติ ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความ-
ไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ อันเป็นเหตุฉลาดในอาบัตแิ ห่งอาบัต-ิ
ทัง้ หลายนัน้ ๆ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อาปตฺตกิ สุ ลตา.
นีเ้ รียกว่าอาปัตติกสุ ลตา.
[๑๓๓๗] ตตฺถ กตมา อาปตฺตวิ ฏุ Ęฺ านกุสลตา?
[๑๓๓๗] อาปัตติวฏุ ฐานกุสลตาเป็นไฉน?
ยา ตาหิ อาปตฺตหี ิ วุฏĘฺ านกุสลตา ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย
สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิอนั เป็น-
เหตุฉลาดในการออกจากอาบัตเิ หล่านัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อาปตฺตวิ ฏุ ฺ านกุสลตา.
นีเ้ รียกว่าอาปัตติวฏุ ฐานกุสลตา.
๒๐. สมาปัตติกสุ ลตาทุกะ.
[๑๓๓๘] ตตฺถ กตมา สมาปตฺตกิ สุ ลตา?
[๑๓๓๘] สมาปัตติกสุ ลตาเป็นไฉน?
อตฺถิ สวิตกฺกสวิจารา สมาปตฺต,ิ อตฺถิ อวิตกฺกวิจารมตฺตา สมาปตฺต,ิ อตฺถิ
อวิตกฺกอวิจารา สมาปตฺต;ิ ยา ตาสํ มาปตฺตนี ํ สมาปตฺตกิ สุ ลตา ปċฺċา
ปชานนา ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
สมาบัตทิ ม่ี วี ติ กมีวจิ ารมีอยูส่ มาบัตทิ ไ่ี ม่มวี ติ กแต่มวี จิ ารมีอยู่ สมาบัตทิ ไ่ี ม่ม-ี
วิตกไม่มวี จิ ารมีอยู่ ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม
สัมมาทิฏฐิอนั เป็นเหตุฉลาดในสมบัตแิ ห่งสมาบัตทิ ง้ั หลายนัน้ ๆ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ สมาปตฺตกิ สุ ลตา.
นีเ้ รียกว่าสมาปัตติกสุ ลตา.
[๑๓๓๙] ตตฺถ กตมา สมาปตฺตวิ ฏุ Ęฺ านกุสลตา?
[๑๓๓๙] สมาปัตติวฏุ ฐานกุสลตาเป็นไฉน?
672

ยา ตาหิ สมาปตฺตหี ิ วุฏĘฺ านกุสลตา ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห


ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ใด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ
อันเป็นเหตุฉลาดในการออกจากสมาบัตเิ หล่านัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ สมาปตฺตวิ ฏุ Ęฺ านกุสลตา.
นีเ้ รียกว่าสมาปัตติวฏุ ฐานกุสลตา.
๒๑. ธาตุกสุ ลตาทุกะ.
[๑๓๔๐] ตตฺถ กตมา ธาตุกสุ ลตา?
[๑๓๔๐] ธาตุกสุ ลตาเป็นไฉน?
อฏฺĘารสธาตุโย; จกฺขธุ าตุ รูปธาตุ จกฺขวุ ญ ิ ċฺ าณธาตุ, โสตธาตุ สทฺทธาตุ
โสตวิญċ ฺ าณธาตุ, ฆานธาตุ คนฺธธาตุ ฆานวิญċ ฺ าณธาตุ, ชิวหฺ าธาตุ รสธาตุ
ชิวหฺ าวิญċฺ าณธาตุ, กายธาตุ โผฏฺĘพฺพธาตุ กายวิญċ ฺ าณธาตุ, มโนธาตุ
ธมฺมธาตุ มโนวิญċ ฺ าณธาตุ, ยา ตาสํ ธาตูนํ ธาตุกสุ ลตา ปċฺċา ปชานนา,
ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ธาตุ ๑๘ คือ จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวญิ ญาณธาตุ โสตธาตุ สัททธาตุ โสต-
วิญญาณธาตุ ฆานธาตุ คันธธาตุ ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาธาตุ รสธาตุ
ชิวหาวิญญาณธาตุ กายธาตุ โผฏฐัพพธาตุ กายวิญญาณธาตุ มโนธาตุ
ธัมมธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง
ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิอนั เป็นเหตุฉลาดในธาตุแห่งธาตุทง้ั หลายนัน้ ๆ
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ธาตุกสุ ลตา.
นีเ้ รียกว่าธาตุกสุ ลตา.
[๑๓๔๑] ตตฺถ กตมา มนสิการกุสลตา?
[๑๓๔๑] มนสิการกุสลตาเป็นไฉน?
ยา ตาสํ ธาตูนํ มนสิการกุสลตา ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย
สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
673

ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความสอดส่องธรรม สัมมาทิฏฐิ


อันเป็นเหตุฉลาดในการมนสิการซึง่ ธาตุเหล่านัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ มนสิการกุสลตา.
นีเ้ รียกว่ามนสิการกุสลตา.
๒๒. อายตนกุสลตาทุกะ.
[๑๓๔๒] ตตฺถ กตมา อายตนกุสลตา?
[๑๓๔๒] อายตนกุสลตาเป็นไฉน?
ทฺวาทสายตนานิ; จกฺขายตนํ รูปายตนํ, โสตายตนํ สทฺทายตนํ, ฆานายตนํ
คนฺธายตนํ, ชิวหฺ ายตนํ รสายตนํ, กายายตนํ โผฏĘพฺพายตนํ, มนายตนํ
ธมฺมายตนํ, ยา เตสํ อายตนานํ อายตนกุสลตา ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห
ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
อายตนะ ๑๒ คือ จักขายตนะ รูปายตนะ โสตายตนะ สัททายตนะ ฆานา-
ยตนะ คันธายตนะ ชิวหายตนะ รสายตนะ กายายตนะ โผฏฐัพพายตนะ
มนายตนะ ธัมมายตนะ ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั -
ธรรม สัมมาทิฏฐิอนั เป็นเหตุฉลาดในอายตนะแห่งอายตนะทัง้ หลายนัน้ ๆ
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อายตนกุสลตา.
นีเ้ รียกว่าอายตนกุสลตา.
[๑๓๔๓] ตตฺถ กตมา ปฏิจจฺ สมุปปฺ าทกุสลตา?
[๑๓๔๓] ปฏิจจสมุปปาทกุสลตาเป็นไฉน?
อวิชชฺ าปจฺจยา สงฺขารา,
ปฏิจจสมุปบาทว่าเพราะอวิชชาเป็นปัจจัยสังขารทัง้ หลายจึงเกิดขึน้ ,
สงฺขารปจฺจยา วิญċ ฺ าณํ,
เพราะสังขารเป็นปัจจัยวิญญาณจึงเกิดขึน้ ,
วิญċ
ฺ าณปจฺจยา นามรูป,ํ
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัยนามรูปจึงเกิดขึน้ ,
674

นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ,
เพราะนามรูปเป็นปัจจัยสฬายตนะจึงเกิดขึน้ ,
สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส,
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัยผัสสะจึงเกิดขึน้ ,
ผสฺสปจฺจยา เวทนา,
เพราะผัสสะเป็นปัจจัยเวทนาจึงเกิดขึน้ ,
เวทนาปจฺจยา ตณฺหา,
เพราะเวทนาเป็นปัจจัยตัณหาจึงเกิดขึน้ ,
ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ,
เพราะตัณหาเป็นปัจจัยอุปาทานจึงเกิดขึน้ ,
อุปาทานปจฺจยา ภโว,
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัยภพจึงเกิดขึน้ ,
ภวปจฺจยา ชาติ,
เพราะภพเป็นปัจจัยชาติจงึ เกิดขึน้ ,
ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกขฺ โทมนสฺสปุ ายาสา สมฺภวนฺต,ิ
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
จึงเกิดขึน้ ,
เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกขฺ กฺขนฺธสฺส สมุทโย โหตีติ ยา ตตฺถ ปċฺċา
ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ความเกิดขึน้ แห่งกองทุกข์ทง้ั มวลนี้ ย่อมมีได้ดว้ ยประการฉะนี้ ปัญญา
กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในปฏิจจสมุป-
บาทนัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ปฏิจจฺ สมุปปฺ าทกุสลตา.
นีเ้ รียกว่าปฏิจจสมุปปาทกุสลตา.
๒๓. ฐานกุสลตาทุกะ.
[๑๓๔๔] ตตฺถ กตมา Ęานกุสลตา?
675

[๑๓๔๔] ฐานกุสลตาเป็นไฉน?
เย เย ธมฺมา เยสํ เยสํ ธมฺมานํ เหตู ปจฺจยา อุปปฺ าทาย, ตํ ตํ Ęานนฺติ ยา
ตตฺถ ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ธรรมใดๆ เป็นเหตุเป็นปัจจัยเพือ่ ความบังเกิดขึน้ แห่งธรรมใดๆ ลักษณะนัน้
ๆ เรียกว่าฐานะ ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม
สัมมาทิฏฐิในฐานะนัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ Ęานกุสลตา.
นีเ้ รียกว่าฐานกุสลตา.
[๑๓๔๕] ตตฺถ กตมา อฏฺĘานกุสลตา?
[๑๓๔๕] อัฏฐานกุสลตาเป็นไฉน?
เย เย ธมฺมา เยสํ เยสํ ธมฺมานํ น เหตู น ปจฺจยา อุปปฺ าทาย, ตํ ตํ
อฏฺĘานนฺติ ยา ตตฺถ ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ธรรมใดๆ ไม่เป็นเหตุไม่เป็นปัจจัยเพือ่ ความบังเกิดขึน้ แห่งธรรมใดๆ
ลักษณะนัน้ ๆ ชือ่ ว่าอฐานะ ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความ-
วิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิในอฐานะนัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อฏฺĘานกุสลตา.
นีเ้ รียกว่าอัฏฐานกุสลตา.
๒๔. อาชวชวทุกะ.
[๑๓๔๖] ตตฺถ กตโม อาชฺชโว?
[๑๓๔๖] อาชชวะเป็นไฉน?
ยา อาชฺชวตา อชิมหฺ ตา อวงฺกตา อกุฏลิ ตา;
ความซือ่ ตรง ความไม่คด ความไม่งอ ความไม่โกงอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อาชฺชโว.
นีเ้ รียกว่าอาชชวะ.
[๑๓๔๗] ตตฺถ กตโม มทฺทโว?
[๑๓๔๗] มัททวะเป็นไฉน?
676

ยา มุทตุ า มทฺทวตา, อกกฺขฬตา อกถินตา นีจจิตตฺ ตา;


ความอ่อนโยน ความละมุนละไม ความไม่แข็ง ความไม่กระด้าง ความ-
เจียมใจอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ มทฺทโว.
นีเ้ รียกว่ามัททวะ.
๒๕. ขันติทกุ ะ.
[๑๓๔๘] ตตฺถ กตมา ขนฺต?ิ
[๑๓๔๘] ขันติเป็นไฉน?
ยา ขนฺติ ขมนตา อธิวาสนตา, อจณฺฑกิ กฺ ํ อนสุโรโป อตฺตมนตา จิตตฺ สฺส;
ความอดทน กิรยิ าทีอ่ ดทน ความอดกลัน้ ความไม่ดรุ า้ ย ความไม่ปากร้าย
ความแช่มชืน่ แห่งจิตอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ขนฺต.ิ
นีเ้ รียกว่า ขันติ.
[๑๓๔๙] ตตฺถ กตมํ โสรจฺจ?ํ
[๑๓๔๙] โสรัจจะเป็นไฉน?
โย กายิโก อวีตกิ กฺ โม วาจสิโก อวีตกิ กฺ โม กายิกวาจสิโก อวีตกิ กฺ โม;
ความไม่ลว่ งละเมิดทางกาย ความไม่ลว่ งละเมิดทางวาจา ความไม่ลว่ งละ-
เมิดทางกาย และวาจาอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ โสรจฺจ.ํ
นีเ้ รียกว่าโสรัจจะ.
สพฺโพปิ สีลสํวโร โสรจฺจ.ํ
ศีลสังวรแม้ทง้ั หมด จัดเป็นโสรัจจะ.
๒๖. สาขัลยทุกะ.
[๑๓๕๐] ตตฺถ กตมํ สาขลฺย?ํ
[๑๓๕๐] สาขัลยะเป็นไฉน?
ยา สา วาจา อณฺฑกา กกฺกสา ปรกฏุกา ปราภิสชฺชนี โกธสามนฺตา
อสมาธิสวํ ตฺตนิกา,
677

วาจาใดเป็นปม เป็นกาก เผ็ดร้อนต่อผูอ้ น่ื เกีย่ วผูอ้ น่ื ไว้ยว่ั ให้โกรธ ไม่เป็น-
ไปเพือ่ สมาธิ,
ตถารูปึ วาจํ ปหาย ยา สา วาจา เนฬา กณฺณสุขา เปมนิยา หทยงฺคมา โปรี
พหุชนกนฺตา พหุชนมนาปา,
ละวาจาเช่นนัน้ เสีย วาจาใดไร้โทษสบายหู ไพเราะจับใจ เป็นวาจาของ-
ชาวเมือง เป็นทีย่ นิ ดีเจริญใจของชนหมูม่ ากกล่าววาจาเช่นนัน้ ,
ตถารูปึ วาจํ ภาสิตา โหติ; ยา ตตฺถ สณฺหวาจตา สขิลวาจตา อผรุสวาจตา;
ความเป็นผูม้ วี าจาอ่อนหวาน ความเป็นผูม้ วี าจาสละสลวย ความเป็นผูม้ -ี
วาจาไม่หยาบคายในลักษณะดังกล่าวนัน้ อันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ สาขลฺย.ํ
นีเ้ รียกว่าสาขัลยะ.
[๑๓๕๑] ตตฺถ กตโม ปฏิสนฺถาโร?
[๑๓๕๑] ปฏิสนั ถารเป็นไฉน?
เทฺว ปฏิสนฺถารา: อามิสปฏิสนฺถาโร จ ธมฺมปฏิสนฺถาโร จ. อิเธกจฺโจ ปฏิสนฺ-
ถารโก โหติ อามิสปฏิสนฺถาเรน วา ธมฺมปฏิสนฺถาเรน วา;
ปฏิสนั ถาร ๒ คือ อามิสปฏิสนั ถาร ธรรมปฏิสนั ถาร บุคคลบางคนในโลกนี้
เป็นผูป้ ฏิสนั ถารโดยอามิสปฏิสนั ถารก็ดี โดยธรรมปฏิสนั ถารก็ด;ี
อยํ วุจจฺ ติ ปฏิสนฺถาโร.
นีเ้ รียกว่าปฏิสนั ถาร.
๒๗. อินทริเยสุอคุตตทวารตาทุกะ.
[๑๓๕๒] ตตฺถ กตมา อินทฺ รฺ เิ ยสุ อคุตตฺ ทฺวารตา?
[๑๓๕๒] ความเป็นผูไ้ ม่สำรวมในอินทรีย์ ๖ เป็นไฉน?
อิเธกจฺโจ จกฺขนุ า รูปํ ทิสวฺ า นิมติ ตฺ คฺคาหี โหติ อนุพยฺ ċฺชนคฺคาหี,
บุคคลบางคนในโลกนีเ้ ห็นรูปด้วยจักขุแล้วเป็นผูถ้ อื นิมติ เป็นผูถ้ อื โดยอนุพ-
นัญชนะ,
ยตฺวาธิกรณเมนํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ อสํวตุ ํ วิหรนฺตํ อภิชฌ
ฺ าโทมนสฺสา ปาปกา อกุสลา
678

ธมฺมา อนฺวาสฺสเวยฺยุ,ํ
อภิชฌาโทมนัสอกุศลธรรมทัง้ หลายพึงครอบงำบุคคลผูไ้ ม่สำรวมจักขุน-
ทรียอ์ ยูน่ ้ี เพราะเหตุทไ่ี ม่สำรวมจักขุนทรียใ์ ด,
ตสฺส สํวราย น ปฏิปชฺชติ น รกฺขติ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ จกฺขนุ ทฺ รฺ เิ ย น สํวรํ
อาปชฺชติ;
ไม่ปฏิบตั เิ พือ่ สำรวมจักขุนทรียน์ น้ั ไม่รกั ษาจักขุนทรียน์ น้ั ไม่สำเร็จการ-
สำรวมในจักขุนทรียน์ น้ั
โสเตน สทฺทํ สุตวฺ า ฯเปฯ ฆาเนน คนฺธํ ฆายิตวฺ า ฯเปฯ ชิวหฺ าย รสํ สายิตวฺ า
ฯเปฯ กาเยน โผฏฺĘพฺพํ ผุสติ วฺ า ฯเปฯ มนสา ธมฺมํ วิċċ ฺ าย นิมติ ตฺ คฺคาหี โหติ
อนุพยฺ ċฺชนคฺคาหี,
ได้ยนิ เสียงด้วยโสตแล้ว ฯลฯ สูดกลิน่ ด้วยฆานะแล้ว ฯลฯ ลิม้ รสด้วยชิวหา-
แล้ว ฯลฯ ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ฯลฯ รูแ้ จ้งธรรมารมณ์ดว้ ยใจแล้ว
เป็นผูถ้ อื นิมติ เป็นผูถ้ อื โดยอนุพยัญชนะ,
ยตฺวาธิกรณเมนํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ อสํวตุ ํ วิหรนฺตํ อภิชฌ ฺ าโทมนสฺสา ปาปกา อกุสลา
ธมฺมา อนฺวาสฺสเวยฺย,ุํ
อภิชฌาโทมนัสอกุศลธรรมทัง้ หลาย พึงครอบงำบุคคลผูไ้ ม่สำรวมมนิน-
ทรีย์ เพราะเหตุทไ่ี ม่สำรวมมนินทรียใ์ ด,
ตสฺส สํวราย น ปฏิปชฺชติ น รกฺขติ มนินทฺ รฺ ยิ ํ มนินทฺ รฺ เิ ย น สํวรํ
อาปชฺชติ;
ไม่ปฏิบตั เิ พือ่ สำรวมมนินทรียน์ น้ั ไม่รกั ษามนินทรียน์ น้ั ไม่สำเร็จการสำ-
รวมในมนินทรียน์ น้ั ;
ยา อิเมสํ ฉนฺนํ อินทฺ รฺ ยิ านํ อคุตตฺ ิ อโคปนา, อนารกฺโข อสํวโร;
การไม่คมุ้ ครอง กิรยิ าทีไ่ ม่คมุ้ ครอง การไม่รกั ษา การไม่สำรวมซึง่ อินทรีย์
๖ เหล่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ อินทฺ รฺ เิ ยสุ อคุตตฺ ทฺวารตา.
นีเ้ รียกว่าความเป็นผูไ้ ม่สำรวมในอินทรีย์ ๖.
679

[๑๓๕๓] ตตฺถ กตมา โภชเน อมตฺตċฺċตุ า?


[๑๓๕๓] ความเป็นผูไ้ ม่รปู้ ระมาณในโภชนาหารเป็นไฉน?
อิเธกจฺโจ อปฺปฏิสงฺขา อโยนิโส อาหารํ อาหาเรติ ทวาย มทาย มณฺฑนาย
วิภสู นาย; ยา ตตฺถ อสนฺตฏุ Ęฺ ติ า อมตฺตċฺċตุ า อปฺปฏิสงฺขา โภชเน;
บุคคลบางคนในโลกนีไ้ ม่พจิ ารณาโดยแยบคาย บริโภคอาหาร เพือ่ จะเล่น
เพือ่ จะมัวเมา เพือ่ จะประเทืองผิว เพือ่ ความอ้วนพี ความเป็นผูไ้ ม่สนั โดษ
ความเป็นผูไ้ ม่รปู้ ระมาณ ความไม่พจิ ารณาในโภชนาหารนัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ โภชเน อมตฺตċฺċตุ า.
นีเ้ รียกว่า ความเป็นผูไ้ ม่รปู้ ระมาณในโภชนาหาร.
๒๘. อินทริเยสุคตุ ตทวารตาทุกะ.
[๑๓๕๔] ตตฺถ กตมา อินทฺ รฺ เิ ยสุ คุตตฺ ทฺวารตา?
[๑๓๕๔] ความเป็นผูส้ ำรวมในอินทรีย์ ๖ เป็นไฉน?
อิเธกจฺโจ จกฺขนุ า รูปํ ทิสวฺ า น นิมติ ตฺ คฺคาหี โหติ นานุพยฺ ċฺชนคฺคาหี,
บุคคลบางคนในโลกนีเ้ ห็นรูปด้วยจักขุแล้ว เป็นผูไ้ ม่ถอื โดยนิมติ เป็นผูไ้ ม่-
ถือโดยอนุพยัญชนะ,
ยตฺวาธิกรณเมนํ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ อสํวตุ ํ วิหรนฺตํ อภิชฌฺ าโทมนสฺสา ปาปกา อกุสลา
ธมฺมา อนฺวาสฺสเวยฺย,ํุ
อภิชฌาโทมนัส อกุศลธรรมทัง้ หลายพึงครอบงำบุคคลผูไ้ ม่สำรวมจักขุน-
ทรีย์ เพราะเหตุทไ่ี ม่สำรวมจักขุนทรียใ์ ด,
ตสฺส สํวราย ปฏิปชฺชติ, รกฺขติ จกฺขนุ ทฺ รฺ ยิ ํ จกฺขนุ ทฺ รฺ เิ ย สํวรํ อาปชฺชติ;
ปฏิบตั เิ พือ่ สำรวมจักขุนทรียน์ น้ั รักษาจักขุนทรียน์ น้ั สำเร็จการสำรวมใน-
จักขุนทรียน์ น้ั ;
โสเตน สทฺทํ สุตวฺ า ฯเปฯ ฆาเนน คนฺธํ ฆายิตวฺ า ฯเปฯ ชิวหฺ าย รสํ สายิตวฺ า
ฯเปฯ กาเยน โผฏฺĘพฺพํ ผุสติ วฺ า ฯเปฯ มนสา ธมฺมํ วิญċ ฺ าย น นิมติ ตฺ คฺคาหี
โหติ นานุพยฺ ċฺชนคฺคาหี,
ได้ยนิ เสียงด้วยโสตแล้ว ฯลฯ สูดกลิน่ ด้วยฆานะแล้ว ฯลฯ ลิม้ รสด้วยชิวหา-
680

แล้ว ฯลฯ ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ฯลฯ รูธ้ รรมารมณ์ดว้ ยใจแล้ว


เป็นผูไ้ ม่ถอื นิมติ เป็นผูไ้ ม่ถอื โดยอนุพยัญชนะ,
ยตฺวาธิกรณเมนํ มนินทฺ รฺ ยิ ํ อสํวตุ ํ วิหรนฺตํ อภิชฌ ฺ าโทมนสฺสา ปาปกา อกุสลา
ธมฺมา อนฺวาสฺสเวยฺยุ,ํ
อภิชฌาโทมนัส อกุศลบาปธรรมทัง้ หลาย พึงครอบงำบุคคลผูไ้ ม่สำรวม-
มนินทรีย์ เพราะเหตุทไ่ี ม่สำรวมมนินทรียใ์ ด,
ตสฺส สํวราย ปฏิปชฺชติ, รกฺขติ มนินทฺ รฺ ยิ ํ มนินทฺ รฺ เิ ย สํวรํ อาปชฺชติ;
ปฏิบตั เิ พือ่ สำรวมมนินทรียน์ น้ั รักษามนินทรียน์ น้ั สำเร็จการสำรวมใน-
มนินทรียน์ น้ั ;
ยา อิเมสํ ฉนฺนํ อินทฺ รฺ ยิ านํ คุตตฺ ิ โคปนา อารกฺโข สํวโร;
การคุม้ ครอง กิรยิ าทีค่ มุ้ ครอง การรักษา การสำรวมอินทรีย์ ๖ เหล่านี้
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ อินทฺ รฺ เิ ยสุ คุตตฺ ทฺวารตา.
นีเ้ รียกว่าความเป็นผูส้ ำรวมในอินทรีย.์
[๑๓๕๕] ตตฺถ กตมา โภชเน มตฺตċฺċตุ า?
[๑๓๕๕] ความเป็นผูร้ ปู้ ระมาณในโภชนาหารเป็นไฉน?
อิเธกจฺโจ ปฏิสงฺขา โยนิโส อาหารํ อาหาเรติ เนว ทวาย น มทาย น
มณฺฑนาย น วิภสู นาย,
บุคคลบางคนในโลกนีพ้ จิ ารณาโดยแยบคายว่าเราบริโภคอาหาร ไม่ใช่
เพือ่ จะเล่น ไม่ใช่เพือ่ จะมัวเมา ไม่ใช่เพือ่ จะประเทือง ไม่ใช่เพือ่ จะให้-
อ้วนพี,
ยาวเทว อิมสฺส กายสฺส Ęิตยิ า ยาปนาย วิหสึ ปุ รติยา พฺรหฺมจริยานุคคฺ หาย,
อิติ ปุราณċฺจ เวทนํ ปฏิหงฺขามิ, นวċฺจ เวทนํ น อุปปฺ าเทสฺสามิ,
แต่เพียงเพือ่ ให้กายนีด้ ำรงอยูไ่ ด้ เพือ่ ให้ชวี ติ นิ ทรียเ์ ป็นไป เพือ่ บำบัดความ-
หิว เพือ่ อนุเคราะห์พรหมจรรย์ เพราะโดยอุบายนีเ้ ราจักกำจัดเวทนาเก่า-
เสียด้วย จักไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึน้ ด้วย,
681

ยาตฺรา จ เม ภวิสสฺ ติ, อนวชฺชตา จ ผาสุวหิ าโร จาติ ยา ตตฺถ สนฺตฏุ Ęฺ ติ า


มตฺตċฺċตุ า ปฏิสงฺขา โภชเน;
ความดำรงอยูแ่ ห่งชีวติ ความไม่มโี ทษและการอยูโ่ ดยผาสุก จักมีแก่เราด้วย
ดังนีแ้ ล้วจึงบริโภคอาหาร ความสันโดษ ความรูป้ ระมาณ การพิจารณา
ในโภชนาหารนัน้ อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ โภชเน มตฺตċฺċตุ า.
นีเ้ รียกว่าความเป็นผูร้ ปู้ ระมาณในโภชนาหาร.
๒๙. มุฏฐสัจจทุกะ.
[๑๓๕๖] ตตฺถ กตมํ มุฏċ ฺ สฺ จฺจ?ํ
[๑๓๕๖] มุฏฐสัจจะเป็นไฉน?
ยา อสติ อนนุสสฺ ติ อปฺปฏิสสฺ ติ อสติ อสรณตา อธารณตา ปิลาปนตา
สมฺมสุ นตา;
ความระลึกไม่ได้ ความไม่ตามระลึก ความไม่หวนระลึก ความระลึกไม่ได้
อาการทีร่ ะลึกไม่ได้ ความไม่ทรงจำ ความเลือ่ นลอย ความหลงลืมอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ มุฏĘฺ สจฺจ.ํ
นีเ้ รียกว่ามุฏฐสัจจะ.
[๑๓๕๗] ตตฺถ กตมํ อสมฺปชċŇċ?ํ
[๑๓๕๗] อสัมปชัญญะเป็นไฉน?
ยํ อċฺċาณํ อทสฺสนํ ฯเปฯ อวิชชฺ าลงฺคี โมโห อกุสลมูล;ํ
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ฯลฯ ลิม่ คืออวิชชา อกุศลมูล คือโมหะอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ อสมฺปชċฺċ.ํ
นีเ้ รียกว่าอสัมปชัญญะ.
๓๐. สติสมั ปชัญญทุกะ.
[๑๓๕๘] ตตฺถ กตมา สติ?
[๑๓๕๘] สติเป็นไฉน?
682

ยา สติ อนุสสฺ ติ ปฏิสสฺ ติ สติ สรณตา ธารณตา อปิลาปนตา อสมฺมสุ นตา


สติ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สติพลํ สมฺมาสติ;
สติความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิรยิ าทีร่ ะลึก ความทรงจำ
ความไม่เลือ่ นลอย ความไม่ลมื สติ สตินทรีย์ สติพละ สัมมาสติ
อันใด;
อยํ วุจจฺ ติ สติ.
นีเ้ รียกว่าสติ.
[๑๓๕๙] ตตฺถ กตมํ สมฺปชċฺċ?ํ
[๑๓๕๙] สัมปชัญญะเป็นไฉน?
ยา ปċฺċา ปชานนา ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิอนั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ สมฺปชċฺċ.ํ
นีเ้ รียกว่าสัมปชัญญะ.
๓๑. ปฏิสงั ขานพลทุกะ.
[๑๓๖๐] ตตฺถ กตมํ ปฏิสงฺขานพลํ?
[๑๓๖๐] กำลังคือการพิจารณาเป็นไฉน?
ยา ปċฺċา ปชานนา ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิอนั ใด;
อิทํ วุจจฺ ติ ปฏิสงฺขานพลํ.
นีเ้ รียกว่ากำลังคือการพิจารณา.
[๑๓๖๑] ตตฺถ กตมํ ภาวนาพลํ?
[๑๓๖๑] กำลังคือภาวนาเป็นไฉน?
ยา กุสลานํ ธมฺมานํ อาเสวนา ภาวนา พหุลกี มฺม;ํ
การเสพ การเจริญ การทำให้มากซึง่ กุศลธรรมทัง้ หลายอันใด;
อิทํ วุจจฺ ติ ภาวนาพลํ.
นีเ้ รียกว่า กำลังคือภาวนา.
683

สตฺตปิ โพชฺฌงฺคา ภาวนาพลํ.


โพชฌงค์แม้ทง้ั ๗ จัดเป็นกำลังคือภาวนา.
๓๒. สมถวิปสั สนาทุกะ.
[๑๓๖๒] ตตฺถ กตโม สมโถ?
[๑๓๖๒] สมถะเป็นไฉน?
ยา จิตตฺ สฺส Ęิติ ฯเปฯ สมฺมาสมาธิ; อยํ วุจจฺ ติ สมโถ.
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ฯลฯ สัมมาสมาธิอนั ใด; นีเ้ รียกว่าสมถะ.
[๑๓๖๓] ตตฺถ กตมา วิปสฺสนา?
[๑๓๖๓] วิปสั สนาเป็นไฉน?
ยา ปċฺċา ปชานนา ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิอนั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ วิปสฺสนา.
นีเ้ รียกว่าวิปสั สนา.
๓๓. สมถนิมติ ตทุกะ.
[๑๓๖๔] ตตฺถ กตมํ สมถนิมติ ตฺ ?ํ
[๑๓๖๔] สมถนิมติ เป็นไฉน?
ยา จิตตฺ สฺส Ęิติ ฯเปฯ สมฺมาสมาธิ; อิทํ วุจจฺ ติ สมถนิมติ ตฺ .ํ
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ฯลฯ สัมมาสมาธิอนั ใด นีเ้ รียกว่าสมถนิมติ .
[๑๓๖๕] ตตฺถ กตมํ ปคฺคาหนิมติ ตฺ ?ํ
[๑๓๖๕] ปัคคาหนิมติ เป็นไฉน?
โย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ ฯเปฯ สมฺมาวายาโม; อิทํ วุจจฺ ติ ปคฺคาหนิมติ ตฺ .ํ
การปรารภความเพียรทางใจ ฯลฯ สัมมาวายามะอันใด นีเ้ รียกว่าปัคคาห-
นิมติ .
๓๔. ปัคคาหทุกะ.
[๑๓๖๖] ตตฺถ กตโม ปคฺคาโห?
[๑๓๖๖] ปัคคาหะเป็นไฉน?
684

โย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ ฯเปฯ สมฺมาวายาโม;


การปรารภความเพียรทางใจ ฯลฯ สัมมาวายามะอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ ปคฺคาโห.
นีเ้ รียกว่าปัคคาหะ.
[๑๓๖๗] ตตฺถ กตโม อวิกเฺ ขโป?
[๑๓๖๗] อวิกเขปะเป็นไฉน?
ยา จิตตฺ สฺส Ęิติ ฯเปฯ สมฺมาสมาธิ; อยํ วุจจฺ ติ อวิกเฺ ขโป.
ความตัง้ อยูแ่ ห่งจิต ฯลฯ สัมมาสมาธิอนั ใด นีเ้ รียกว่าอวิกเขปะ.
๓๕. สีลวิปตั ติทกุ ะ.
[๑๓๖๘] ตตฺถ กตมา สีลวิปตฺต?ิ
[๑๓๖๘] สีลวิบตั เิ ป็นไฉน?
โย กายิโก วีตกิ กฺ โม วาจสิโก วีตกิ กฺ โม กายิกวาจสิโก วีตกิ กฺ โม;
ความล่วงละเมิดทางกาย ความล่วงละเมิดทางวาจา ความล่วงละเมิดทางกาย
และทางวาจาอันใด;
อยํ วุจจฺ ติ สีลวิปตฺต.ิ
นีเ้ รียกว่าสีลวิบตั .ิ
สพฺพมฺปิ ทุสสฺ ลี ยฺ ํ สีลวิปตฺต.ิ
ความเป็นผูท้ ศุ ลี แม้ทง้ั หมดจัดเป็นสีลวิบตั ิ
[๑๓๖๙] ตตฺถ กตมา ทิฏĘฺ วิ ปิ ตฺต?ิ
[๑๓๖๙] ทิฏฐิวบิ ตั เิ ป็นไฉน?
นตฺถิ ทินนฺ ,ํ นตฺถิ ยิฏĘฺ ,ํ นตฺถิ หุต,ํ นตฺถิ สุกฏทุกกฺ ฏานํ กมฺมานํ ผลํ วิปาโก,
ความเห็นว่าทานทีใ่ ห้แล้วไม่มผี ล การบูชาไม่มผี ล การบวงสรวงไม่มผี ล
ผลวิบากแห่ง กรรมทีท่ ำดีทำชัว่ ไม่ม,ี
นตฺถิ อยํ โลโก, นตฺถิ ปโร โลโก, นตฺถิ มาตา, นตฺถิ ปิตา,
โลกนีไ้ ม่มี โลกอืน่ ไม่มี บิดาไม่มี มารดาไม่ม,ี
นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา, นตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา
685

สมฺมาปฏิปนฺนา,
สัตว์ทจ่ี ตุ แิ ละอุปบัตไิ ม่มี สมณพราหมณ์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบไม่มใี นโลก,
เย อิมċฺจ โลกํ ปรċฺจ โลกํ สยํ อภิċċ ฺ า สจฺฉกิ ตฺวา ปเวเทนฺตตี ิ ยา
เอวรูปา ทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ คิ ตํ ฯเปฯ วิปริเยสคฺคาโห;
สมณพราหมณ์ทท่ี ำให้แจ้งซึง่ โลกนีแ้ ละโลกอืน่ ด้วยปัญญาอันยิง่ เองแล้ว-
ประกาศให้ผอู้ น่ื รูไ้ ด้ไม่มใี นโลก ดังนี้ ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ
การถือโดยวิปลาส มีลกั ษณะเช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ ทิฏĘฺ วิ ปิ ตฺต.ิ
นีเ้ รียกว่าทิฏฐิวบิ ตั .ิ
สพฺพาปิ มิจฉฺ าทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ วิ ปิ ตฺต.ิ
มิจฉาทิฏฐิแม้ทง้ั หมดจัดเป็นทิฏฐิวบิ ตั .ิ
๓๖. สีลสัมปทาทุกะ.
[๑๓๗๐] ตตฺถ กตมา สีลสมฺปทา?
[๑๓๗๐] สีลสัมปทาเป็นไฉน?
กายิโก อวีตกิ กฺ โม, วาจสิโก อวีตกิ กฺ โม, กายิกวาจสิโก อวีตกิ กฺ โม;
ความไม่ลว่ งละเมิดทางกาย ความไม่ลว่ งละเมิดทางวาจา ความไม่ลว่ งละ-
เมิดทางกายและ ทางวาจา;
อยํ วุจจฺ ติ สีลสมฺปทา.
นีเ้ รียกว่าสีลสัมปทา.
สพฺโพปิ สีลสํวโร สีลสมฺปทา.
สีลสังวรแม้ทง้ั หมดจัดเป็นสีลสัมปทา.
[๑๓๗๑] ตตฺถ กตมา ทิฏĘฺ สิ มฺปทา?
[๑๓๗๑] ทิฏฐิสมั ปทาเป็นไฉน?
อตฺถิ ทินนฺ ,ํ อตฺถิ ยิฏĘฺ ,ํ อตฺถิ หุต,ํ อตฺถิ สุกฏทุกกฺ ฏานํ กมฺมานํ ผลํ วิปาโก,
ความเห็นว่าทานทีบ่ คุ คลให้แล้วย่อมมีผล การบูชาย่อมมีผล การบวง-
สรวงย่อมมีผล ผลวิบากแห่งกรรมทีท่ ำดีทำชัว่ มีอยู,่
686

อตฺถิ อยํ โลโก, อตฺถิ ปโร โลโก, อตฺถิ มาตา, อตฺถิ ปิตา, อตฺถิ สตฺตา
โอปปาติกา,
โลกนีม้ อี ยู่ โลกอืน่ มีอยู่ มารดามีอยู่ บิดามีอยู่ สัตว์ทจ่ี ตุ แิ ละอุปบัตมิ อี ยู,่
อตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา สมฺมาปฏิปนฺนา,
สมณพราหมณ์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบมีอยูใ่ นโลก สมณพราหมณ์ทท่ี ำให้แจ้ง
ซึง่ โลกนี,้
เย อิมċฺจ โลกํ ปรċฺจ โลกํ สยํ อภิċċ ฺ า สจฺฉกิ ตฺวา ปเวเทนฺตตี ิ ยา
เอวรูปา ปċฺċา ปชานนา, ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย สมฺมาทิฏĘฺ ;ิ
และโลกอืน่ ด้วยปัญญาอันยิง่ เองแล้วประกาศให้ผอู้ น่ื รูไ้ ด้มอี ยูใ่ นโลก ดังนี้
ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจยั ธรรมสัมมาทิฏฐิมลี กั ษณะ
เช่นว่านีอ้ นั ใด;
อยํ วุจจฺ ติ ทิฏĘฺ สิ มฺปทา;
นีเ้ รียกว่าทิฏฐิสมั ปทา.
สพฺพาปิ สมฺมาทิฏĘฺ ิ ทิฏĘฺ สิ มฺปทา.
สัมมาทิฏฐิแม้ทง้ั หมดจัดเป็นทิฏฐิสมั ปทา.

๓๗. สีลวิสทุ ธิทกุ ะ.


[๑๓๗๒] ตตฺถ กตมา สีลวิสทุ ธฺ ?ิ กายิโก อวีตกิ กฺ โม วาจสิโก อวีตกิ กฺ โม
กายิกวาจสิโก อวีตกิ กฺ โม; อยํ วุจจฺ ติ สีลวิสทุ ธฺ .ิ สพฺโพปิ สีลสํวโร สีลวิสทุ ธฺ .ิ
[๘๗๒] สีลวิสทุ ธิ เป็นไฉน? ความไม่ลว่ งละเมิดทางกาย
ความไม่ลว่ งละเมิดทางวาจา ความไม่ลว่ งละเมิดทางกายและ
ทางวาจา นีเ้ รียกว่า สีลวิสทุ ธิ. สีลสังวรแม้ทง้ั หมด จัดเป็นสีลวิสทุ ธิ.
[๑๓๗๓] ตตฺถ กตมา ทิฏĘฺ วิ สิ ทุ ธฺ ?ิ
[๑๓๗๓] ทิฏฐิวสิ ทุ ธิเป็นไฉน?
กมฺมสฺสกตċาณํ สจฺจานุโลมิกċาณํ มคฺคสมงฺคสิ สฺ ċาณํ ผลสมงฺคสิ สฺ ċาณํ.
687

ญาณเป็นเครือ่ งรูว้ า่ สัตว์มกี รรมเป็นของตน (กัมมัสสกตาญาณ) ญาณอัน-


สมควรแก่การหยัง่ รูอ้ ริยสัจ (สัจจานุโลมิกญาณ) ญาณของท่านผูพ้ ร้อม-
เพรียงด้วยมรรค (มัคคญาณ) ญาณของท่านผูพ้ ร้อมเพรียงด้วยผล (ผลญาณ)
๓๘. ทิฏฐิวสิ ทุ ธิโขปนทุกะ.
[๑๓๗๔] ทิฏĘฺ วิ สิ ทุ ธฺ ิ โข ปนาติ: ยา ปċฺċา ปชานนา ฯเปฯ อโมโห ธมฺมวิจโย
สมฺมาทิฏĘฺ .ิ
[๑๓๗๔] บทว่า ความหมดจดแห่งทิฏฐินน้ั มีนเิ ทศว่า ปัญญา กิรยิ าทีร่ ชู้ ดั ฯลฯ
ความไม่หลง ความวิจยั ธรรม สัมมาทิฏฐิ.
[๑๓๗๕] ยถาทิฏĘฺ สิ สฺ จ ปธานนฺต:ิ โย เจตสิโก วิรยิ ารมฺโภ ฯปฯ
สมฺมาวายาโม.
[๑๓๗๕] บทว่า ความเพียรแห่งบุคคลผูม้ ที ฏิ ฐิอนั หมดจดนัน้ มีนเิ ทศว่า
การปรารภความเพียรทางใจ ฯลฯ สัมมาวายามะ.
๓๙. สังเวชนียฏั ฐานทุกะ.
[๑๓๗๖] สํเวโคติ: ชาติภยํ ชราภยํ พฺยาธิภยํ มรณภยํ, สํเวชนิยํ Ęานนฺต:ิ ชาติ
ชรา พฺยาธิ มรณํ.
[๑๓๗๖] บทว่า ความสลดใจนัน้ มีนเิ ทศว่าญาณอันเห็นชาติโดยความเป็นภัย
ญาณอันเห็นชราโดยความเป็นภัย ญาณอันเห็นพยาธิโดยความเป็นภัย
ญาณอันเห็นมรณะโดยความเป็นภัย.
[๑๓๗๗] สํวคิ คฺ สฺส จ โยนิโส ปธานนฺต:ิ อิธ ภิกขฺ ุ อนุปปฺ นฺนานํ ปาปกานํ
อกุสลานํ ธมฺมานํ อนุปปฺ าทาย ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ วิรยิ ํ อารภติ จิตตฺ ํ
ปคฺคณฺหาติ ปทหติ,
[๑๓๗๗] บทว่า ฐานะเป็นทีต่ ง้ั แห่งความสลดใจนัน้ มีนเิ ทศว่า ชาติ ชรา พยาธิ
มรณะ บทว่า ความพยายามโดยแยบคายแห่งบุคคลผูม้ ใี จสลดแล้ว นัน้ มี-
นิเทศว่า ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ย่อมยังฉันทะให้เกิดย่อมพยายาม ย่อมปรา-
รภความเพียร ย่อมประคองจิตไว้ ย่อมตัง้ จิตไว้,
อุปปฺ นฺนานํ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานาย ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ วิรยิ ํ
688

อารภติ จิตตฺ ํ ปคฺคณฺหาติ ปทหติ,


เพือ่ ความไม่บงั เกิดขึน้ แห่งอกุศลธรรมทัง้ หลายทีย่ งั ไม่บงั เกิดขึน้ เพือ่ ละ-
อกุศลธรรมทัง้ หลายทีบ่ งั เกิดขึน้ แล้ว,
อนุปปฺ นฺนานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อุปปฺ าทาย ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ วิรยิ ํ อารภติ
จิตตฺ ํ ปคฺคณฺหาติ ปทหติ,
เพือ่ ความบังเกิดขึน้ แห่งกุศลธรรมทัง้ หลายทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ ,
อุปปฺ นฺนานํ กุสลานํ ธมฺมานํ Ęิตยิ า อสมฺโมสาย ภิยโฺ ยภาวาย เวปุลลฺ าย
ภาวนาย ปาริปรู ยิ า ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ วิรยิ ํ อารภติ จิตตฺ ํ ปคฺคณฺหาติ
ปทหติ.
เพือ่ ความตัง้ อยู่ เพือ่ ความไม่จดื จาง เพือ่ ความเพิม่ พูน เพือ่ ความไพบูลย์
เพือ่ ความเจริญ เพือ่ ความบริบรู ณ์แห่งกุศลธรรมทัง้ หลายทีบ่ งั เกิดขึน้ แล้ว.
๔๐. อสันตุฏฐิกสุ ลธัมมทุกะ.
[๑๓๗๘] อสนฺตฏุ Ęฺ ติ า จ กุสเลสุ ธมฺเมสูต:ิ ยา กุสลานํธมฺมานํ ภาวนาย
อสนฺตฏุ Ęฺ สฺส ภิยโฺ ยกมฺยตา.
[๘๗๕] บทว่า ความไม่รจู้ กั อิม่ ในกุศลธรรมนัน้ มีนเิ ทศว่า ความพอใจยิง่ ๆ ขึน้ ไป
ของบุคคลผูไ้ ม่รจู้ กั อิม่ ในการเจริญกุศลธรรมทัง้ หลาย.
[๑๓๗๙] อปฺปฏิวานิตา จ ปธานสฺมนิ ตฺ :ิ ยา กุสลานํ ธมฺมานํ ภาวนาย
สกฺกจฺจกิรยิ ตา สาตจฺจกิรยิ ตา อฏฺĘติ กิรยิ ตา อโนลีนวุตตฺ ติ า อนิกขฺ ติ ตฺ จฺฉนฺทตา
อนิกขฺ ติ ตฺ ธุรตา อาเสวนา ภาวนา พหุลกี มฺม.ํ
[๑๓๗๙] บทว่า ความไม่ทอ้ ถอยในความพยายามนัน้ มีนเิ ทศว่า ความเป็นผูก้ ระทำ-
โดยเคารพ ความเป็นผูก้ ระทำติดต่อ ความเป็นผูก้ ระทำไม่หยุด ความเป็น-
ผูป้ ระพฤติไม่ยอ่ หย่อน ความเป็นผูไ้ ม่ทง้ิ ฉันทะ ความเป็นผูไ้ ม่ทอดธุระ
การเสพ การเจริญ การกระทำให้มากเพือ่ ความเจริญแห่งกุศลธรรม-
ทัง้ หลาย.
๔๑. วิชชาทุกะ.
[๑๓๘๐] วิชชฺ าติ: ติสโฺ ส วิชชฺ า: ปุพเฺ พนิวาสานุสสฺ ติċาณํ วิชชฺ า, สตฺตานํ
689

จุตปู ปาเต ċาณํ, วิชชฺ า อาสวานํ ขเย ċาณํ วิชชฺ า.


[๑๓๘๐] บทว่า วิชชานัน้ มีนเิ ทศว่า วิชชา ๓ วิชชาคือญาณอันตามระลึกชาติหน-
หลังได้ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ) วิชชาคือญาณในจุตแิ ละอุปบัตขิ องสัตว์-
ทัง้ หลายแล้ว (จุตปู ปาตญาณ) วิชชาคือญาณในความสิน้ ไปแห่งอาสวะทัง้ -
หลาย (อาสวักขยญาณ)
[๑๓๘๑] วิมตุ ตฺ ตี :ิ เทฺว วิมตุ ตฺ โิ ย: จิตตฺ สฺส จ อธิมตุ ตฺ ิ นิพพฺ านċฺจ.
[๑๓๘๑] บทว่า วิมตุ นิ น้ั มีนเิ ทศว่าวิมตุ ิ ๒ อธิมตุ ติแห่งจิต (สมาบัติ ๘)
และนิพพาน.
๔๒. ขเยญาณทุกะ.
[๑๓๘๒] ขเย ċาณนฺต:ิ มคฺคสมงฺคสิ สฺ ċาณํ
[๑๓๘๒] บทว่า ขเยญาณ? นัน้ มีนเิ ทศว่าญาณของท่านผูพ้ ร้อมเพรียงด้วยมรรค.
[๑๓๘๓] อนุปปฺ าเท ċาณนฺติ ผลสมงฺคสิ สฺ ċาณํ
นิกเฺ ขปกณฺโฑ นิฏĘฺ โิ ต.
[๑๓๘๓] บทว่า อนุปปาเทญาณนัน้ มีนเิ ทศว่าญาณของท่านผูพ้ ร้อมเพรียงด้วยผล.
สุตตันติกทุกนิกเขปะจบ.
นิกเขปกัณฑ์จบ.

๔. อัฏฐกถากัณฑ์.
ติกอตฺถทุ ธฺ าร.
๑. กุสลติกะ.
[๑๓๘๔] กตเม ธมฺมา กุสลา?
[๑๓๘๔] ธรรมเป็นกุศลเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ; อิเม ธมฺมา กุสลา.
กุศลในภูมิ ๔ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกุศล.
[๑๓๘๕] กตเม ธมฺมา อกุสลา?
[๑๓๘๕] ธรรมเป็นอกุศลเป็นไฉน?
690

ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา อกุสลา.


จิตตุปบาทฝ่ายอกุศล ๑๒ ดวงสภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอกุศล.
[๑๓๘๖] กตเม ธมฺมา อพฺยากตา?
[๑๓๘๖] ธรรมเป็นอัพยากฤตเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อพฺยากตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัพยากฤต
๒. เวทนาติกะ.
[๑๓๘๗] กตเม ธมฺมา สุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า?
[๑๓๘๗] ธรรมสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต จตฺตาโร,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต จ กิรยิ โต จ ปċฺจ, รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา
กุสลโต จ, วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่ายอกุศล
๔ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก และฝ่ายกิรยิ า (อย่างละ) ๕ ดวง ฌาน ๓
(ในจตุกกนัย) และ ๔ (ในปัญจกนัย) ทีเ่ ป็นรูปาวจรฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก
และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๓ และ ๔,
โลกุตตฺ รติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ, เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ สุขํ เวทนํ
Ęเปตฺวา;
ทีเ่ ป็นโลกุตตระฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบากเว้นสุขเวทนาทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาท-
เหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
[๑๓๘๘] กตเม ธมฺมา ทุกขฺ าย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า?
[๑๓๘๘] ธรรมทีส่ มั ปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นไฉน?
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, ทุกขฺ สหคตํ กายวิċċ ฺ าณํ, เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ
691

ทุกขฺ ํ เวทนํ Ęเปตฺวา;


จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวงกายวิญญาณทีส่ หรคตด้วย-
ทุกขเวทนา เว้นทุกขเวทนาทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ทุกขฺ าย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยทุกขเวทนา.
[๑๓๘๙] กตเม ธมฺมา อทุกขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า?
[๑๓๘๙] ธรรมสหรคตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร อุเปกฺขาสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต ฉ, กามาวจร-
กุสลสฺส วิปากโต ทส อกุสลสฺส วิปากโต ฉ, กิรยิ โต ฉ, รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ
ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ
วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่ายอกุศล
๖ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๐ ดวง ฝ่ายอกุศลวิบาก ๖ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๖
ดวง รูปาวจรจตุตถฌานฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบากและฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔ ฝ่ายกุศล
ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
โลกุตตฺ รํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ อทุกขฺ มสุขํ เวทนํ
Ęเปตฺวา;
โลกุตตรจตุตถฌาน ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นอทุกขมสุขเวทนาทีบ่ งั เกิด-
ในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา อทุกขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
ติสโฺ ส จ เวทนา รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ; อิเม ธมฺมา น วตฺตพฺพา สุขาย
เวทนาย สมฺปยุตตฺ าติป,ิ ทุกขฺ าย เวทนาย สมฺปยุตตฺ าติป,ิ อทุกขฺ มสุขาย เวทนาย
สมฺปยุตตฺ าติป.
เวทนาทัง้ ๓ รูป และนิพพานสภาวธรรมเหล่านีจ้ ะกล่าวว่าธรรมสัมปยุต-
ด้วยสุขเวทนาก็ไม่ได้ ว่าธรรมสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาก็ไม่ได้ ว่าธรรมสัม-
692

ปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาก็ไม่ได้.
๓. วิปากติกะ.
[๑๓๙๐] กตเม ธมฺมา วิปากา?
[๑๓๙๐] ธรรมเป็นวิบากเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก อิเม ธมฺมา วิปากา.
วิบากในภูมิ ๔ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นวิบาก.
[๑๓๙๑] กตเม ธมฺมา วิปากธมฺมธมฺมา?
[๑๓๙๑] ธรรมเป็นเหตุแห่งวิบากเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ อกุสลํ; อิเม ธมฺมา วิปากธมฺมธมฺมา.
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุแห่งวิบาก.
[๑๓๙๒] กตเม ธมฺมา เนว วิปาก น วิปากธมฺมธมฺมา?
[๑๓๙๒] ธรรมไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุแห่งวิบากเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา เนว วิปาก น วิปากธมฺมธมฺมา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุแห่งวิบาก.

๔. อุปาทินนติกะ.
[๑๓๙๓] กตเม ธมฺมา อุปาทินนฺ ปุ าทานิยา?
[๑๓๙๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรมเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก ยċฺจ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา;
วิบากในภูมิ ๓ และรูปทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อุปาทินนฺ ปุ าทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอุปาทินนุปาทานิยธรรม.
[๑๓๙๔] กตเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยา?
[๑๓๙๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรมเป็นไฉน?
693

ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ; ยċฺจ รูปํ น กมฺมสฺส
กตตฺตา;
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ ปุ าทานิยา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนุปาทินนุปาทานิยธรรม.
[๑๓๙๕] กตเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ านุปาทานิยา?
[๑๓๙๕] อนุปาทินนานุปาทานิยธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ านุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนุปาทินนานุปาทานิยธรรม.
๕. สังกลิฏฐติกะ.
[๑๓๙๖] กตเม ธมฺมา สงฺกลิ ฏิ Ęฺ สงฺกเิ ลสิกา?
[๑๓๙๖] ธรรมเศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา สงฺกลิ ฏิ Ęสงฺกเิ ลสิกา.
จิตตุปบาทฝ่ายอกุศล ๑๒ ดวง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเศร้าหมองและ-
เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๓๙๗] กตเม ธมฺมา อสงฺกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา?
[๑๓๙๗] ธรรมไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๓๙๘] กตเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ าสํกเิ ลสิกา?
[๑๓๙๘] ธรรมไม่เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
694

มรรค ๔ ซึง่ เป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;


อิเม ธมฺมา อสงฺกลิ ฏิ Ęฺ าสงฺกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
๖. สวิตกั กติกะ.
[๑๓๙๙] กตเม ธมฺมา สวิตกฺกสวิจารา?
[๑๓๙๙] ธรรมมีวติ กมีวจิ ารเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลํ, อกุสลํ, กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต เอกาทส จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
อกุสลสฺส วิปากโต เทฺว, กิรยิ โต เอกาทส, รูปาวจรํ ปĘมํฌานํ กุสลโต จ
วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รํ ปĘมํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ
เอตฺถปุ ปฺ นฺเน วิตกฺกวิจาเร Ęเปตฺวา;
กามาวจรกุศล อกุศล จิตตุปบาทฝ่ายกามวจรกุศลวิบาก ๑๑ ดวง ฝ่ายอกุศล-
วิบาก ๒ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๑๑ ดวง รูปาวจรปฐมฌานฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และ-
ฝ่ายกิรยิ า โลกุตตรปฐมฌานฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นวิตกและวิจารทีบ่ งั -
เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สวิตกฺกสวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีวติ กมีวจิ าร.
[๑๔๐๐] กตเม ธมฺมา อวิตกฺกวิจารมตฺตา?
[๑๔๐๐] ธรรมไม่มวี ติ กแต่มวี จิ ารเป็นไฉน?
รูปาวจรปċฺจกนเย ทุตยิ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ ร-
ปċฺจกนเย ทุตยิ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ, เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ วิจารํ Ęเปตฺวา
วิตกฺโก จ;
ทุตยิ ฌานในรูปาวจรปัญจกนัยฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ทุตยิ ฌาน-
ในโลกุตตร ปัญจกนัย ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นวิจารทีบ่ งั เกิดในจิตตุป-
บาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา อวิตกฺกวิจารมตฺตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี ติ กแต่มวี จิ าร.
695

[๑๔๐๑] กตเม ธมฺมา อวิตกฺกาวิจารา?


[๑๔๐๑] ธรรมไม่มวี ติ กไม่มวี จิ ารเป็นไฉน?
เทฺว ปċฺจวิญċ ฺ าณานิ, รูปาวจรติกติกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต
จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รติกติกชฺฌานา
กุสลโต จ วิปากโต จ, ปċฺจกนเย ทุตเิ ย ฌาเน อุปปฺ นฺโน จ วิจาโร, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
ปัญจวิญญาณทัง้ ๒ ฝ่าย ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก
และฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๓ และ ๔
ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก วิจารทีบ่ งั เกิดในทุตยิ ฌานในปัญจ-
กนัย รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อวิตกฺกาวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี ติ กไม่มวี จิ าร.
วิตกฺกสหชาโต วิจาโร น วตฺตพฺโพ สวิตกฺกสวิจาโรติปิ อวิตกฺกวิจารมตฺโตติป,ิ
อวิตกฺกาวิจาโรติป.
วิจารทีบ่ งั เกิดร่วมกับวิตกจะกล่าวว่ามีวติ กมีวจิ ารก็ไม่ได้ ว่าไม่มวี ติ กแต่ม-ี
วิจารก็ไม่ได้ ว่าไม่มวี ติ กไม่มวี จิ ารก็ไม่ได้

๗. ปีตติ กิ ะ.
[๑๔๐๒] กตเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา?
[๑๔๐๒] ธรรมสหรคตด้วยปีตเิ ป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต จตฺตาโร,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ปċฺจ, กิรยิ โต ปċฺจ, รูปาวจรทุกติกชฺฌานา
กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่ายอกุศล
๔ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๕ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๕ ดวง ฌาน ๒ และ ๓
ทีเ่ ป็นรูปาวจรฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
696

โลกุตตฺ รทุกติกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ ปีตึ Ęเปตฺวา;


ฌาน ๒ และ ๓ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นปีตทิ บ่ี งั เกิดใน-
จิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยปีต.ิ
[๑๔๐๓] กตเม ธมฺมา สุขสหคตา?
[๑๔๐๓] ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต จตฺตาโร,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ฉ, กิรยิ โต ปċฺจ, รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต
จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสเวทนา ฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่ายอกุศล
๔ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๖ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๕ ดวง ฌาน ๓ และ ๔
ทีเ่ ป็นรูปาวจรฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
โลกุตตฺ รติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ สุขํ Ęเปตฺวา;
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นสุขเวทนาทีบ่ งั -
เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สุขสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา.
[๑๔๐๔] กตเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา?
[๑๔๐๔] ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร อุเปกฺขาสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
อกุสลโต ฉ,
ฝ่ายอกุศล ๖ ดวง,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ทส,
ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๐ ดวง,
697

อกุสลสฺส วิปากโต ฉ,
ฝ่ายอกุศลวิบาก ๖ ดวง,
กิรยิ โต ฉ,
ฝ่ายกิรยิ า ๖ ดวง,
รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า
กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
รูปาวจรจตุตถฌานฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่าย-
วิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
โลกุตตฺ รํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ อุเปกฺขํ Ęเปตฺวา;
โลกุตตรจตุตฌานฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบากเว้นอุเบกขาเวทนาทีบ่ งั เกิดใน
จิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา.
ปีติ นปีตสิ หคตา สุขสหคตา นอุเปกฺขาสหคตา,
ปีตไิ ม่สหรคตด้วยปีตแิ ต่สหรคตด้วยสุขเวทนา ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา
เวทนา.
สุขํ นสุขสหคตํ สิยา ปีตสิ หคตํ น อุเปกฺขาสหคตํ, สิยา น วตฺตพฺพํ
ปีตสิ หคตนฺต.ิ
สุขเวทนาไม่สหรคตด้วยเวทนา แต่สหรคตด้วยปีติ ไม่สหรคตด้วยอุเบก-
ขาเวทนาก็มี ทีจ่ ะกล่าวไม่ได้วา่ สหรคตด้วยปีตกิ ม็ .ี
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, ทุกขฺ สหคตํ กายวิċċ ฺ าณํ; ยา จ เวทนา
อุเปกฺขา, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวงกายวิญญาณทีส่ หรคตด้วย-
ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา น วตฺตพฺพา ปีตสิ หคตาติป,ิ สุขสหคตาติป,ิ อุเปกฺขาสหคตาติป.ิ
สภาวธรรมเหล่านีจ้ ะกล่าวว่าสหรคตด้วยปีตกิ ไ็ ม่ได้ ว่าสหรคตด้วยสุขเวท-
698

นาก็ไม่ได้ ว่าสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาก็ไม่ได้.
๘. ทัสสนติกะ.
[๑๔๐๕] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนนปหาตพฺพา?
[๑๔๐๕] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท;
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ.
[๑๔๐๖] กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพา?
[๑๔๐๖] ธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ เป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท; อิเม ธมฺมา ภาวนายปหาตพฺพา.
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันมรรค
เบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวง;
อิเม ธมฺมา สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา,
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณก็ม,ี
สิยา ภาวนายปหาตพฺพา.
ทีเ่ ป็นธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณก็ม.ี
[๑๔๐๗] กตเม ธมฺมา เนวทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพา?
[๑๔๐๗] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
699

อิเม ธมฺมา เนวทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งสูง ๓
ไม่ประหาณ.
๙. ทัสสนเหตุตกิ ะ.
[๑๔๐๘] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๔๐๘] ธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท
เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โมหํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวงจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉาเว้น-
โมหะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.
[๑๔๐๙] กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๔๐๙] ธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โมหํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะเว้นโมหะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวง;
อิเม ธมฺมา สิยา ทสฺสเนนปหาตพฺพเหตุกา, สิยา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ-
ก็มี ทีเ่ ป็นธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณก็ม.ี
[๑๔๑๐] กตเม ธมฺมา เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
700

[๑๔๑๐] ธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคและมรรคเบือ้ งสูง ๓


จะประหาณเป็นไฉน?
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต โมโห, อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ
วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ. รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
โมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ กุศลในภูมิ ๔
วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคและ-
มรรคเบือ้ งสูง ๓ จะประหาณ.
๑๐. อาจยคามิตกิ ะ.
[๑๔๑๑] กตเม ธมฺมา อาจยคามิโน?
[๑๔๑๑] ธรรมเป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ; อิเม ธมฺมา อาจยคามิโน.
กุศลในภูมิ ๓ และอกุศล; สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุให้จตุ -ิ
ปฏิสนธิ.
[๑๔๑๒] กตเม ธมฺมา อปจยคามิโน?
[๑๔๑๒] ธรรมเป็นเหตุให้ถงึ นิพพานเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา; อิเม ธมฺมา อปจยคามิโน.
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุให้ถงึ -
นิพพาน.
[๑๔๑๓] กตเม ธมฺมา เนวาจยคามิโนนาปจยคามิโน?
[๑๔๑๓] ธรรมไม่เป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิ และไม่เป็นเหตุให้ถงึ นิพพานเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา เนวาจยคามิโนนาปจยคามิโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุให้จตุ ปิ ฏิสนธิ และไม่เป็นเหตุให้-
701

ถึงนิพพาน.
๑๑. เสกขติกะ.
[๑๔๑๔] กตเม ธมฺมา เสกฺขา?
[๑๔๑๔] ธรรมเป็นของเสกขบุคคลเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, เหฏฺĘมิ านิ จ ตีณิ สามċฺċผลานิ; อิเม ธมฺมา
เสกฺขา.
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตระ และสามัญญผล ๓ เบือ้ งต่ำ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่า
ธรรมเป็นของเสกขบุคคล.
[๑๔๑๕] กตเม ธมฺมา อเสกฺขา?
[๑๔๑๕] ธรรมเป็นของอเสกขบุคคลเป็นไฉน?
อุปริมํ อรหตฺตผลํ; อิเม ธมฺมา อเสกฺขา.
อรหัตผลเบือ้ งสูง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นของอเสกขบุคคล.
[๑๔๑๖] กตเม ธมฺมา เนวเสกฺขานาเสกฺขา?
[๑๔๑๖] ธรรมไม่เป็นของเสกขบุคคลและไม่เป็นของอเสกขบุคคลเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูปและนิพ-
พาน;
อิเม ธมฺมา เนวเสกฺขานาเสกฺขา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นของเสกขบุคคล และไม่เป็นของอเสก-
ขบุคคล.
๑๒. ปริตตติกะ.
[๑๔๑๗] กตเม ธมฺมา ปริตตฺ า?
[๑๔๑๗] ธรรมเป็นปริตตะเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลํ อกุสลํ สพฺโพ กามาวจรสฺส วิปาโก กามาวจรกิรยิ าพฺยากตํ,
สพฺพċฺจ รูป;ํ
702

กามาวจรกุศล อกุศล กามาวจรวิบากทัง้ หมดกามาวจรกิรยิ าอัพยากฤตและ


รูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา ปริตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมปริตตะ.
[๑๔๑๘] กตเม ธมฺมา มหคฺคตา?
[๑๔๑๘] ธรรมเป็นมหัคคตะเป็นไฉน?
รูปาวจรา อรูปาวจรา กุสลาพฺยากตา;
กุศลธรรมและอัพยากตธรรมทีเ่ ป็นรูปาวจร อรูปาวจร;
อิเม ธมฺมา มหคฺคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ ว่ื า่ ธรรมเป็นมหัคคตะ.
[๑๔๑๙] กตเม ธมฺมา อปฺปมาณา?
[๑๔๑๙] ธรรมเป็นอัปปมาณะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อปฺปมาณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอัปปมาณะ.

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ.
[๑๔๒๐] กตเม ธมฺมา ปริตตฺ ารมฺมณา?
[๑๔๒๐] ธรรมมีอารมณ์เป็นปริตตะเป็นไฉน?
สพฺโพ กามาวจรสฺส วิปาโก, กิรยิ า มโนธาตุ, กิรยิ าเหตุกา มโนวิญċฺ าณธาตุ
โสมนสฺสสหคตา;
กามาวจรวิบากทัง้ หมด กิรยิ ามโนธาตุ อเหตุกกิรยิ า มโนวิญญาณธาตุท-่ี
สหรคตด้วยโสมนัสเวทนา;
อิเม ธมฺมา ปริตตฺ ารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นปริตตะ.
703

[๑๔๒๑] กตเม ธมฺมา มหคฺคตารมฺมณา?


[๑๔๒๑] ธรรมมีอารมณ์เป็นมหัคคตะเป็นไฉน?
วิญċ ฺ านċฺจายตนํ เนวสċฺċานาสċฺċายตนํ;
วิญญาณัญจายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ;
อิเม ธมฺมา มหคฺคตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นมหัคคตะ.
[๑๔๒๒] กตเม ธมฺมา อปฺปมาณารมฺมณา?
[๑๔๒๒] ธรรมมีอารมณ์เป็นอัปปมาณะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา จตฺตาริ จ สามċฺผลานิ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ และสามัญญผล ๔;
อิเม ธมฺมา อปฺปมาณารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นอัปปมาณะ.
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, กิรยิ โต จตฺตาโร
ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา สพฺพํ อกุสลํ;
จิตตุปบาททีเ่ ป็นาํ ณวิปปยุตฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง จิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณ-
วิปปยุตฝ่ายกิรยิ า ๔ ดวง อกุศลจิตทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สิยา ปริตตฺ ารมฺมณา, สิยา มหคฺคตารมฺมณา, น อปฺปมาณารมฺมณา,
สิยา น วตฺตพฺพา ปริตตฺ ารมฺมณาติป,ิ มหคฺคตารมฺมณาติป.ิ
สภาวธรรมเหล่านีท้ ม่ี อี ารมณ์เป็นปริตตะก็มที ม่ี อี ารมณ์เป็นมหัคคตะ แต่ไม่-
มีอารมณ์เป็นอัปปมาณะก็มี ทีจ่ ะกล่าวว่ามีอารมณ์เป็นปริตตะก็ไม่ได้วา่ มี
อารมณ์เป็นมหัคคตะก็ไม่ได้กม็ .ี
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร ċาณสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณสัมปยุตฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
กิรยิ โต จตฺตาโร ċาณสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณสัมปยุตฝ่ายกิรยิ า ๔ ดวง,
รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ กิรยิ โต จ กิรยิ าเหตุกา มโนวิญċ ฺ าณธาตุ
704

อุเปกฺขาสหคตา;
รูปาวจรจตุตถฌานฝ่ายกุศล และฝ่ายกิรยิ า อเหตุกกิรยิ ามโนวิญญาณธาตุท่ี
สหรคตด้วยอุเบกขา;
อิเม ธมฺมา สิยา ปริตตฺ ารมฺมณา,
สภาวธรรมเหล่านีท้ ม่ี อี ารมณ์เป็นปริตตะก็ม,ี
สิยา มหคฺคตารมฺมณา,
ทีม่ อี ารมณ์เป็นมหัคคตะก็ม,ี
สิยา อปฺปมาณารมฺมณา,
ทีม่ อี ารมณ์เป็นอัปปมาณะก็ม,ี
สิยา น วตฺตพฺพา ปริตตฺ ารมฺมณาติป,ิ มหคฺคตารมฺมณาติป,ิ อปฺปมาณารมฺม-
ณาติป.ิ
ทีจ่ ะกล่าวว่ามีอารมณ์เป็นปริตตะก็ไม่ได้ ว่ามีอารมณ์เป็นมหัคคตะก็ไม่ได้
ว่ามีอารมณ์เป็นอัปปมาณะก็ไม่ได้กม็ .ี
รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตุตถฺ สฺส ฌานสฺส
วิปาโก,
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจรฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า จตุตถฌาน-
วิบาก,
อากาสานċฺจายตนํ อากิċจฺ ċฺċายตนํ;
อากาสานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ;
อิเม ธมฺมา น วตฺตพฺพา ปริตตฺ ารมฺมณาติป,ิ
สภาวธรรมเหล่านี้ จะกล่าวว่า มีอารมณ์เป็นปริตตะก็ไม่ได้,
มหคฺคตารมฺมณาติป,ิ
ว่ามีอารมณ์เป็นมหัคคตะก็ไม่ได้,
อปฺปมาณารมฺมณาติป.ิ
ว่ามีอารมณ์เป็นอัปปมาณะก็ไม่ได้.
รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ อนารมฺมณา.
705

รูป และนิพพานจัดเป็นอนารัมมณะ.
๑๔. หีนติกะ.
[๑๔๒๓] กตเม ธมฺมา หีนา?
[๑๔๒๓] ธรรมทรามเป็นไฉน?
ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา หีนา.
จิตตุปบาททีเ่ ป็นอกุศล ๑๒ ดวง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทราม.
[๑๔๒๔] กตเม ธมฺมา มชฺฌมิ า?
[๑๔๒๔] ธรรมปานกลางเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา มชฺฌมิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมปานกลาง.
[๑๔๒๕] กตเม ธมฺมา ปณีตา?
[๑๔๒๕] ธรรมประณีตเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา ปณีตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมประณีต.
๑๕. มิจฉัตตติกะ.
[๑๔๒๖] กตเม ธมฺมา มิจฉฺ ตฺตนิยตา?
[๑๔๒๖] ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอนเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเวทนา
๒ ดวง;
อิเม ธมฺมา สิยา มิจฉฺ ตฺตนิยตา, สิยา อนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านี้ ทีเ่ ป็นมิจฉาสภาวะ และให้ผลแน่นอนก็มี ทีใ่ ห้ผลไม่แน่-
706

นอนก็ม.ี
[๑๔๒๗] กตเม ธมฺมา สมฺมตฺตนิยตา?
[๑๔๒๗] ธรรมเป็นสัมมาสภาวะและให้ผลแน่นอนเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา; อิเม ธมฺมา สมฺมตฺตนิยตา.
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นสัมมาสภาวะ
และให้ผลแน่นอน.
[๑๔๒๘] กตเม ธมฺมา อนิยตา?
[๑๔๒๘] ธรรมให้ผลไม่แน่นอนเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท, อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉาจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมให้ผลแน่นอน.

๑๖. มัคคารัมมณติกะ.
[๑๔๒๙] กตเม ธมฺมา มคฺคารมฺมณา?
[๑๔๒๙] ธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์เป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร ċาณสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีเ่ ป็นาํ ณสัมปยุตฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
กิรยิ โต จตฺตาโร ċาณสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณสัมปยุตฝ่ายกิรยิ า ๔ ดวง,
อิเม ธมฺมา สิยา มคฺคารมฺมณา, น มคฺคเหตุกา, สิยา มคฺคาธิปติโน, สิยา น
707

วตฺตพฺพา มคฺคารมฺมณาติป,ิ มคฺคาธิปติโนติป.ิ


สภาวธรรมเหล่านีท้ ม่ี มี รรคเป็นอารมณ์ แต่ไม่มเี หตุคอื มรรคก็ม,ี ทีม่ มี รรค
เป็นอธิบดี แต่จะกล่าวว่ามีมรรคเป็นอารมณ์กไ็ ม่ได้ ว่ามีมรรคเป็นอธิบดี-
ก็ไม่ได้กม็ .ี
จตฺตาโร อริยมคฺคา น มคฺคารมฺมณา, มคฺคเหตุกา, สิยา มคฺคาธิปติโน, สิยา น
วตฺตพฺพา มคฺคาธิปติโนติ.
อริยมรรค ๔ ไม่มมี รรคเป็นอารมณ์แต่มเี หตุคอื มรรค ทีม่ มี รรคเป็นอธิบดี-
ก็มี ทีจ่ ะกล่าวไม่ได้วา่ มีมรรคเป็นอธิบดีกม็ .ี
รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ กิรยิ โต จ, กิรยิ าเหตุกา มโนวิญċ ฺ าณธาตุ
อุเปกฺขาสหคตา อิเม ธมฺมา สิยา มคฺคารมฺมณา, น มคฺคเหตุกา น
มคฺคาธิปติโน, สิยา น วตฺตพฺพา มคฺคารมฺมณาติ.
รูปาวจรจตุตถฌานฝ่ายกุศล และฝ่ายกิรยิ า อเหตุกกิรยิ ามโนวิญญาณธาตุท-่ี
สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมเหล่านีท้ ม่ี มี รรคเป็นอารมณ์ แต่ไม่มเี หตุ-
คือมรรค ไม่มมี รรคเป็นอธิบดีกม็ ี จะกล่าวไม่ได้วา่ มีมรรคเป็นอารมณ์กม็ .ี
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร ċาณวิปปฺ ยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณวิปปยุตฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
สพฺพํ อกุสลํ, สพฺโพ กามาวจรสฺส วิปาโก, กิรยิ โต ฉ จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
อกุศลทัง้ หมด กามาวจรวิบากทัง้ หมด จิตตุปบาทฝ่ายกิรยิ า ๖ ดวง,
รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตุตถฺ สฺส ฌานสฺส
วิปาโก, จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตฺตาริ จ
สามċฺċผลานิ;
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจรฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า จตุตถฌาน-
วิบาก อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า สามัญญผล ๔;
อิเม ธมฺมา น วตฺตพฺพา มคฺคารมฺมณาติป,ิ
สภาวธรรมเหล่านีจ้ ะกล่าวว่ามีมรรคเป็นอารมณ์กไ็ ม่ได้,
มคฺคเหตุกาติปิ มคฺคาธิปติโนติป;ิ
708

ว่ามีเหตุคอื มรรคก็ไม่ได้ ว่ามีมรรคเป็นอธิบดีกไ็ ม่ได้;


รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ อนารมฺมณา.
รูปทัง้ หมดและนิพพานจัดเป็นอนารัมมณะ.
๑๗. อุปปันนติกะ.
[๑๔๓๐] กตเม ธมฺมา อุปปฺ นฺนา?
[๑๔๓๐] ธรรมเกิดขึน้ แล้วเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก; ยċฺจ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา; อิเม ธมฺมา สิยา อุปปฺ นฺนา,
วิบากในภูมิ ๔ และรูปทีก่ รรมแต่งขึน้ สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมเกิดขึน้ -
แล้วก็ม,ี
สิยา อุปปฺ าทิโน, น วตฺตพฺพา อนุปปฺ นฺนาติ.
ทีเ่ ป็นธรรมจักเกิดขึน้ ก็มี แต่จะกล่าวไม่ได้วา่ เป็นธรรมยังไม่เกิดขึน้ .
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓;
ยċฺจ รูปํ น กมฺมสฺส กตตฺตา;
และรูปทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้ ;
อิเม ธมฺมา สิยา อุปปฺ นฺนา,
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมเกิดขึน้ แล้วก็ม,ี
สิยา อนุปปฺ นฺนา, น วตฺตพฺพา อุปปฺ าทิโนติ.
ทีเ่ ป็นธรรมยังไม่เกิดขึน้ แต่จะกล่าวไม่ได้วา่ เป็นธรรมจักเกิดขึน้ ก็ม.ี
นิพพฺ านํ น วตฺตพฺพํ อุปปฺ นฺนนฺตปิ ,ิ อนุปปฺ นฺนนฺตปิ ิ อุปปฺ าทีตปิ .ิ
นิพพานจะกล่าวว่าเป็นธรรมเกิดขึน้ แล้วก็ไม่ได้ ว่าเป็นธรรมยังไม่เกิดขึน้ -
ก็ไม่ได้ ว่าเป็นธรรมจักเกิดขึน้ ก็ไม่ได้.
๑๘. อตีตติกะ.
[๑๔๓๑] นิพพฺ านํ Ęเปตฺวา สพฺเพ ธมฺมา สิยา อตีตา, สิยา อนาคตา สิยา
ปจฺจปุ ปฺ นฺนา,
[๑๔๓๑] ธรรมทัง้ ปวงเว้นนิพพานเสีย ทีเ่ ป็นอดีตก็มี ทีเ่ ป็นอนาคตก็มี ทีเ่ ป็นปัจจุ-
709

บันก็ม.ี
นิพพฺ านํ น วตฺตพฺพํ อตีตนฺตปิ ,ิ อนาคตนฺตปิ ,ิ ปจฺจปุ ปฺ นฺนนฺตปิ .ิ
นิพพานจะกล่าวว่าเป็นอดีตก็ไม่ได้ ว่าเป็นอนาคตก็ไม่ได้ ว่าเป็นปัจจุบนั -
ก็ไม่ได้.
๑๙. อตีตตารัมมณติกะ.
[๑๔๓๒] กตเม ธมฺมา อตีตารมฺมณา?
[๑๔๓๒] ธรรมมีอารมณ์เป็นอดีตเป็นไฉน?
วิญċฺ าณċฺจายตนํ เนวสċฺċานาสċฺċายตนํ;
วิญญาณัญจายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ;
อิเม ธมฺมา อตีตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นอดีต.
[๑๔๓๓] นิโยคา อนาคตารมฺมณา นตฺถ.ิ
[๑๔๓๓] ธรรมทีจ่ ดั ว่ามีอารมณ์เป็นอนาคตโดยเฉพาะไม่ม.ี
[๑๔๓๔] กตเม ธมฺมา ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณา?
[๑๔๓๔] ธรรมมีอารมณ์เป็นปัจจุบนั เป็นไฉน?
เทฺว ปċฺจวิญċฺ าณานิ ติสโฺ ส จ มโนธาตุโย;
ปัญจวิญญาณทัง้ ๒ ฝ่าย มโนธาตุ ๓;
อิเม ธมฺมา ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์เป็นปัจจุบนั .
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ทส จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๐ ดวง,
อกุสลสฺส วิปากโต มโนวิญċ ฺ าณธาตุ อุเปกฺขาสหคตา, กิรยิ าเหตุกา
มโนวิญċฺ าณธาตุ โสมนสฺสสหคตา;
มโนวิญญาณธาตุทส่ี หรคตด้วยอุเบกขา ฝ่ายอกุศลวิบาก อเหตุกกิรยิ ามโน-
วิญญาณธาตุทส่ี หรคตด้วยโสมนัส;
อิเม ธมฺมา สิยา อตีตารมฺมณา, สิยา อนาคตารมฺมณา สิยา ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺ-
710

มณา.
สภาวธรรมเหล่านีท้ ม่ี อี ารมณ์เป็นอดีตก็มี ทีม่ อี ารมณ์เป็นอนาคตก็มี
ทีม่ อี ารมณ์เป็นปัจจุบนั ก็ม.ี
กามาวจรกุสลํ, อกุสลํ, กิรยิ โต นว จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ
กุสลโต จ กิรยิ โต จ;
กามาวจรกุศล อกุศล จิตตุปบาทฝ่ายกิรยิ า ๙ ดวง, รูปาวจรจตุตถฌาน
ฝ่ายกุศล และฝ่ายกิรยิ า;
อิเม ธมฺมา สิยา อตีตารมฺมณา, สิยา อนาคตารมฺมณา, สิยา ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺ-
มณา, สิยา น วตฺตพฺพา อตีตารมฺมณาติป,ิ อนาคตารมฺมณาติป,ิ
ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณาติป.ิ
สภาวธรรมเหล่านีท้ ม่ี อี ารมณ์เป็นอดีตก็มี ทีม่ อี ารมณ์เป็นอนาคตก็มี
ทีม่ อี ารมณ์เป็นปัจจุบนั ก็มี จะกล่าวว่ามีอารมณ์เป็นอดีตก็ไม่ได้วา่ มีอารมณ์-
เป็นอนาคตก็ไม่ได้ ว่ามีอารมณ์เป็นปัจจุบนั ก็ไม่ได้กม็ .ี
รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตุตถฺ สฺส
ฌานสฺส วิปาโก, อากาสานċฺจายตนํ อากิċจฺ ċฺċายตนํ,
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจรฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก ฝ่ายกิรยิ า จตุตถฌานวิบาก
อากาสานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ,
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ และสามัญผล ๔;
อิเม ธมฺมา น วตฺตพฺพา อตีตารมฺมณาติป,ิ
สภาวธรรมเหล่านีจ้ ะกล่าวว่ามีอารมณ์เป็นอดีตก็ไม่ได้,
อนาคตารมฺมณาติปิ ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมณาติป.ิ
ว่ามีอารมณ์เป็นอนาคตก็ไม่ได้ ว่ามีอารมณ์เป็นปัจจุบนั ก็ไม่ได้.
รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ อนารมฺมณา.
รูป และนิพพานจัดเป็นอนารัมมณะ.
๒๐. อัชฌัตตติกะ.
711

[๑๔๓๕] อนินทฺ รฺ ยิ พทฺธรูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ Ęเปตฺวา สพฺเพ ธมฺมา สิยา


อชฺฌตฺตา, สิยา พหิทธฺ า สิยา, อชฺฌตฺตพหิทธฺ า. อนินทฺ รฺ ยิ พทฺธรูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ พหิทธฺ า.
[๑๔๓๕] ธรรมทัง้ ปวง เว้นรูปทีไ่ ม่เนือ่ งด้วยอินทรียแ์ ละนิพพาน ทีเ่ ป็นภายในก็มี
ทีเ่ ป็นภายนอกก็มี ทีเ่ ป็นทัง้ ภายในและภายนอกก็มี รูปทีไ่ ม่เนือ่ งด้วยอิน-
ทรีย์ และนิพพานจัดเป็นภายนอก.
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ.
[๑๔๓๖] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตารมฺมณา?
[๑๔๓๖] ธรรมมีอารมณ์เป็นภายใน เป็นไฉน?
วิญċฺ าณċฺจายตนํ เนวสċฺċานาสċฺċายตนํ;
วิญญาณัญจายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ;
อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่า ธรรมมีอารมณ์ เป็นภายใน.
[๑๔๓๗] กตเม ธมฺมา พหิทธฺ ารมฺมณา?
[๑๔๓๗] ธรรมมีอารมณ์เป็นภายนอก เป็นไฉน?
รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตุตถฺ สฺส
ฌานสฺส วิปาโก, อากาสานċฺจายตนํ, จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ
จ สามċฺċผลานิ;
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก ฝ่ายกิรยิ า จตุตถฌานวิบาก
อากาสานัญจายตนะ มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ และสามัญผล ๔
อิเม ธมฺมา พหิทธฺ ารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านี้ ชือ่ ว่า ธรรมมีอารมณ์เป็นภายนอก.
รูปํ Ęเปตฺวา สพฺเพว กามาวจรา กุสลากุสลาพฺยากตา ธมฺมา,
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม ทีเ่ ป็นกามาวจรทัง้ หมด เว้นรูปเสีย,
รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ กิรยิ โต จ;
รูปาวจรจตุตถฌาน ฝ่ายกุศล และฝ่ายกิรยิ า,
712

อิเม ธมฺมา สิยา อชฺฌตฺตารมฺมณา, สิยา พหิทธฺ ารมฺมณา, สิยา


อชฺฌตฺตพหิทธฺ ารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านี้ ทีม่ อี ารมณ์เป็นภายในก็มี ทีม่ อี ารมณ์เป็นภายนอกก็มี
ทีม่ อี ารมณ์เป็นทัง้ ภายในและภายนอกก็ม.ี
อากิċจฺ ċฺċายตนํ น วตฺตพฺพํ อชฺฌตฺตารมฺมณนฺตปิ ,ิ พหิทธฺ ารมฺมณนฺตปิ ,ิ
อชฺฌตฺตพหิทธฺ ารมฺมณนฺตปิ .ิ
อากิญจัญญายตนะ จะกล่าวว่า มีอารมณ์เป็นภายในก็ไม่ได้ ว่ามีอารมณ์
เป็นภายนอก ก็ไม่ได้ ว่ามีอารมณ์เป็นทัง้ ภายในและภายนอกก็ไม่ได้.
รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ อนารมฺมณา.
รูป และนิพพาน จัดเป็นอนารัมมณะ.
[๑๔๓๘] กตเม ธมฺมา สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา?
[๑๔๓๘] ธรรมทีเ่ ห็นได้และกระทบได้เป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิเม ธมฺมา สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา.
รูปายตนะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นได้และกระทบได้.
[๑๔๓๙] กตเม ธมฺมา อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา?
ธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้เป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ;
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ;
อิเม ธมฺมา อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้แต่กระทบได้.
[๑๔๔๐] กตเม ธมฺมา อนิทสฺสนาปฺปฏิฆา?
[๑๔๔๐] ธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้เป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป ทีเ่ ห็นไม่
ได้และ
713

ยċฺจ รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺน,ํ นิพพฺ านċฺจ;


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้.
อิเม ธมฺมา อนิทสฺสนาปฺปฏิฆา.
กระทบไม่ได้แต่นบั เนือ่ งในธัมมายตนะ และนิพพาน
ติกอัตถุทธารจบ.
ทุกอัตถุทธาร.
๑. เหตุโคจฺฉก.
๑. เหตุทกุ ะ.
[๑๔๔๑] กตเม ธมฺมา เหตู ตโย?
[๑๔๔๑] ธรรมเป็นเหตุเป็นไฉน?
กุสลเหตู ตโย อกุสลเหตู, ตโย อพฺยากตเหตู อโลโภ กุสลเหตุ; อโทโส
กุสลเหตุ,
กุศลเหตุ ๓ อกุศลเหตุ ๓ อัพยากตเหตุ ๓ อโลภกุศลเหตุ อโทสกุศลเหตุ;
จตูสุ ภูมสี ุ กุสเลสุ อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
บังเกิดในกุศลทัง้ ๔ ภูมิ อโมหกุศลเหตุบงั เกิดในกุศลทัง้ ๔
อโมโห กุสลเหตุ กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร ċาณวิปปฺ ยุตเฺ ต จิตตฺ ปุ ปฺ าเท
Ęเปตฺวา จตูสุ ภูมสี ุ กุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ.
ภูมเิ ว้นจิตตุป บาท ทีเ่ ป็นาํ ณวิปปยุตฝ่ายกามาวจร ๔ ดวง
โลโภ อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
โลภะ บังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง
โทโส ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ โมโห สพฺพากุสเลสุ
อุปปฺ ชฺชติ.
โทสะ บังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัส ๒ ดวง โมหะบังเกิดใน
อกุศลทัง้ ปวง.
อโลโภ วิปากเหตุ, อโทโส วิปากเหตุ กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก
จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา จตูสุ ภูมสี ุ วิปาเกสุ อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
714

อโลภวิปากเหตุ อโทสวิปากเหตุยอ่ มเกิดในวิบากทัง้ ๔ ภูมิ เว้นอเหตุกจิต-


ตุปบาทฝ่ายกามาวจรวิบาก;
อโมโห วิปากเหตุ กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา จตฺตาโร
ċาณวิปปฺ ยุตเฺ ต จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา จตูสุ ภูมสี ุ วิปาเกสุ อุปปฺ ชฺชติ.
อโมหวิปากเหตุบงั เกิดในวิบากทัง้ ๔ ภูมิ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามา-
วจรวิบาก และเว้นจิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณวิปปยุต ๔ ดวง.
อโลโภ กิรยิ เหตุ, อโทโส กิรยิ เหตุ, กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา
ตีสุ ภูมสี ุ กิรเิ ยสุ อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
อโลภกิรยิ เหตุ อโทสกิรยิ เหตุ บังเกิดในกิรยิ าทัง้ ๓ ภูมิ เว้นอเหตุกจิตตุป-
บาทฝ่ายกามาวจรกิรยิ า;
อโมโห กิรยิ เหตุ กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา จตฺตาโร
ċาณวิปปฺ ยุตเฺ ต จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา ตีสุ ภูมสี ุ กิรเิ ยสุ อุปปฺ ชฺชติ;
อโมหกิรยิ เหตุบงั เกิดในกิรยิ าทัง้ ๓ ภูมิ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจร-
กิรยิ า และเว้นจิตตุปบาททีเ่ ป็นาํ ณวิปปยุต ๔ ดวง;
อิเม ธมฺมา เหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุ.
[๑๔๔๒] กตเม ธมฺมา น เหตู?
[๑๔๔๒] ธรรมไม่เป็นเหตุเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา เหตู จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
เว้นเหตุทง้ั หลายเสีย กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตใน-
ภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา น เหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุ.
๒. สเหตุทกุ ะ.
[๑๔๔๓] กตเม ธมฺมา สเหตุกา?
715

[๑๔๔๓] ธรรมมีเหตุเป็นไฉน?
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคตํ อุทธฺ จฺจสหคตํ โมหํ Ęเปตฺวา อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ
กุสลํ, กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก,
กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นโมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา และทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรวิบาก
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกิรยิ า;
อิเม ธมฺมา สเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุ.
[๑๔๔๔] กตเม ธมฺมา อเหตุกา?
[๑๔๔๔] ธรรมไม่มเี หตุเป็นไฉน?
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต โมโห อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห เทฺว ปċฺจวิญċ ฺ าณานิ, ติสโฺ ส จ
มโนธาตุโย, ปċฺจ จ อเหตุกา มโนวิญċ ฺ าณธาตุโย, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
โมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ ปัญจวิญญาณทัง้
๒ ฝ่าย มโนธาตุ ๓ อเหตุกมโนวิญญาณธาตุ ๕ รูปและนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มเี หตุ.
๓. เหตุสมั ปยุตตทุกะ.
[๑๔๔๕] กตเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า?
[๑๔๔๕] ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุเป็นไฉน?
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคตํ อุทธฺ จฺจสหคตํ โมหํ Ęเปตฺวา อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ
กุสลํ,
อกุศลทีเ่ หลือเว้นโมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา และทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ
กุศลในภูมิ ๔,
กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก,
716

กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ;


วิบากในภูมิ ๔ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรวิบาก กิรยิ าอัพยากฤตใน-
ภูมิ ๓ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกิรยิ า;
อิเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยเหตุ.
[๑๔๔๖] กตเม ธมฺมา เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ า?
[๑๔๔๖] ธรรมวิปปยุตจากเหตุเป็นไฉน?
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต โมโห, อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห เทฺว ปċฺจวิญċ ฺ าณานิ, ติสโฺ ส
จ มโนธาตุโย, ปċฺจ จ อเหตุกา มโนวิญċ ฺ าณธาตุโย, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
โมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ ปัญจวิญญาณทัง้
๒ ฝ่าย มโนธาตุ ๓ อเหตุกมโนวิญญาณธาตุ ๕ รูปและนิพพาน;
อิเม ธมฺมา เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากเหตุ.
๔. เหตุสเหตุกทุกะ.
[๑๔๔๗] กตเม ธมฺมา เหตู เจว สเหตุกา จ?
[๑๔๔๗] ธรรมเป็นเหตุและมีเหตุเป็นไฉน?
ยตฺถ เทฺว ตโย เหตู เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
เหตุ ๒-๓ บังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา เหตู เจว สเหตุกา จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุและมีเหตุ.
[๑๔๔๘] กตเม ธมฺมา สเหตุกา เจว น จเหตู?
[๑๔๔๘] ธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ, เอตฺถปุ ปฺ นฺเน เหตู Ęเปตฺวา;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจร-
717

วิบาก กิรยิ า อัพยากฤตในภูมิ ๓ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกิรยิ า,


เว้นเหตุทง้ั หลายทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สเหตุกา เจว น จเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ.
อเหตุกา ธมฺมา น วตฺตพฺพา เหตู เจว สเหตุกา จาติป,ิ
ธรรมไม่มเี หตุจะกล่าวว่าธรรมเป็นเหตุและมีเหตุกไ็ ม่ได้,
สเหตุกา เจว น จ เหตูตปิ .ิ
ว่าธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุกไ็ ม่ได้.
๕. เหตุเหตุสมั ปยุตตทุกะ.
[๑๔๔๙] กตเม ธมฺมา เหตู เจว เหตุสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๔๔๙] ธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุเป็นไฉน?
ยตฺถ เทฺว ตโย เหตู เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
เหตุ ๒-๓ บังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา เหตู เจว เหตุสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ.
[๑๔๕๐] กตเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า เจว น จ เหตู?
[๑๔๕๐] ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ เอตฺถปุ ปฺ นฺเน เหตู Ęเปตฺวา;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรวิบาก
กิรยิ า อัพยากฤตในภูมิ ๓ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกิรยิ า
เว้นเหตุทง้ั หลายทีบ่ งั เกิดขึน้ ในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา เหตุสมฺปยุตตฺ า เจว น จเหตู.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ.
เหตุวปิ ปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา เหตู เจว เหตุสมฺปยุตตฺ า จาติป,ิ
718

ธรรมวิปปยุตจากเหตุจะกล่าวว่าธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุกไ็ ม่ได้,
เหตุสมฺปยุตตฺ า เจว น จ เหตูตปิ .ิ
ว่าธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุกไ็ ม่ได้.
๖. นเหตุสเหตุทกุ ะ.
[๑๔๕๑] กตเม ธมฺมา นเหตู สเหตุกา?
[๑๔๕๑] ธรรมไม่เป็นเหตุแต่มเี หตุเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, กามาวจรสฺส วิปากโต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท เปตฺวา
จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, กามาวจรกิรยิ โต อเหตุเก จิตตฺ ปุ ปฺ าเท Ęเปตฺวา ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ เอตฺถปุ ปฺ นฺเน เหตู Ęเปตฺวา;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรวิบาก
กิรยิ า อัพยากฤตในภูมิ ๓ เว้นอเหตุกจิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกิรยิ า เว้นเหตุ-
ทัง้ หลายทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา นเหตู สเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุแต่มเี หตุ.
[๑๔๕๒] กตเม ธมฺมา นเหตู อเหตุกา?
[๑๔๕๒] ธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มเี หตุเป็นไฉน?
เทฺว ปċฺจวิญċ ฺ าณานิ ติสโฺ ส จ มโนธาตุโย ปċฺจ จ อเหตุกา มโนวิญċ ฺ าณ-
ธาตุโย รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
ปัญจวิญญาณทัง้ ๒ ฝ่าย มโนธาตุ ๓ อเหตุกมโนวิญญาณธาตุ ๕ รูป
และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา น เหตูอเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มเี หตุ.
เหตู ธมฺมา น วตฺตพฺพา น เหตู สเหตุกาติป,ิ
ธรรมเป็นเหตุจะกล่าวว่าธรรมไม่เป็นเหตุแต่มเี หตุกไ็ ม่ได้,
น เหตู อเหตุกาติป.ิ
ว่าธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มเี หตุกไ็ ม่ได้.
719

เหตุโคจฉกจบ.
๒. จูฬนั ตรทุก.
๑. สัปปัจจยทุกะ.
[๑๔๕๓] กตเม ธมฺมา สปฺปจฺจยา?
[๑๔๕๓] สัปปัจจยธรรมเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ
สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สปฺปจฺจยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสัปปัจจยธรรม.
[๑๔๕๔] กตเม ธมฺมา อปฺปจฺจยา;
[๑๔๕๔] อัปปัจจยธรรมเป็นไฉน?
นิพพฺ านํ อิเม ธมฺมา อปฺปจฺจยา.
นิพพาน สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอัปปัจจยธรรม.
๒. สังขตทุกะ.
[๑๔๕๕] กตเม ธมฺมา สงฺขตา?
[๑๔๕๕] สังขตธรรมเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ อกุสลํ จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ
สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และ
รูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สงฺขตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสังขตธรรม.
[๑๔๕๖] กตเม ธมฺมา อสงฺขตา นิพพฺ านํ?
[๑๔๕๖] อสังขตธรรมเป็นไฉน?
720

อิเม ธมฺมา อสงฺขตา.


นิพพาน สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอสังขตธรรม.
๓. สนิทสั สนทุกะ.
[๑๔๕๗] กตเม ธมฺมา สนิทสฺสนา?
[๑๔๕๗] สนิทสั สนธรรมเป็นไฉน?
รูปายตนํ; อิเม ธมฺมา สนิทสฺสนา.
รูปายตนะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสนิทสั สนธรรม.
[๑๔๕๘] กตเม ธมฺมา อนิทสฺสนา?
[๑๔๕๘] อนิทสั สนธรรมเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ โผฏฺĘพฺพายตนํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก,
ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ ยċฺจ;
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ า
อัพยากฤตในภูมิ ๓;
รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺน,ํ นิพพฺ านċฺจ;
รูปทีเ่ ห็นไม่ได้ทก่ี ระทบไม่ได้แต่นบั เนือ่ งในธัมมายตนะ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนิทสฺสนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนิทสั สนธรรม.
๔. สัปปฏิฆทุกะ.
[๑๔๕๙] กตเม ธมฺมา สปฺปฏิฆา?
[๑๔๕๙] สัปปฏิฆธรรมเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ โผฏĘพฺพายตนํ; อิเม ธมฺมา สปฺปฏิฆา.
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสัปปฏิฆธรรม.
[๑๔๖๐] กตเม ธมฺมา อปฺปฏิฆา?
[๑๔๖๐] อัปปฏิฆธรรมเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ; ยċฺจ
รูปํ อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺนํ นิพพฺ านċฺจ;
721

กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูปทีเ่ ห็นไม่-


ได้ทก่ี ระทบไม่ได้ แต่นบั เนือ่ งในธัมมายตนะ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อปฺปฏิฆา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอัปปฏิฆธรรม.
๕. รูปที กุ ะ.
[๑๔๖๑] กตเม ธมฺมา รูปโิ น?
[๑๔๖๑] รูปธิ รรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร จ มหาภูตา จตุนนฺ ċฺจ มหาภูตานํ อุปาทาย รูป;ํ
มหาภูตรูป ๔ และรูปทีอ่ าศัยมหาภูตรูป ๔ นัน้ ;
อิเม ธมฺมา รูปโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ารูปธิ รรม.
[๑๔๖๒] กตเม ธมฺมา อรูปโิ น?
[๑๔๖๒] อรูปธิ รรมเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ,
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อรูปโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอรูปธิ รรม,

๖. โลกิยทุกะ.
[๑๔๖๓] กตเม ธมฺมา โลกิยา?
[๑๔๖๓] โลกิยธรรมเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ,
สพฺพċฺจ;
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
722

รูปํ อิเม ธมฺมา โลกิยา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าโลกิยธรรม.
[๑๔๖๔] กตเม ธมฺมา โลกุตตฺ รา?
[๑๔๖๔] โลกุตตรธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โลกุตตฺ รา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าโลกุตตรธรรม.
๗. เกนจวิญเญยยทุกะ.
สพฺเพว ธมฺมา เกนจิ วิญเฺ ċยฺยา เกนจิ น วิญเฺ ċยฺยา.
ธรรมทัง้ หมดจัดเป็นเกนจิวญ
ิ เญยยธรรม เกนจินวิญเญยยธรรม.
จูฬนั ตรทุกะจบ.
๓. อาสวโคจฉก.
๑. อาสวทุกะ.
[๑๔๖๕] กตเม ธมฺมา อาสวา?
[๑๔๖๕] อาสวธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร อาสวา; กามาสโว ภวาสโว ทิฏĘฺ าสโว อวิชชฺ าสโว.
อาสวะ ๔ คือ กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ.
กามาสโว อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
กามาสวะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
ภวาสโว จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ภาวสวะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตทิฏฐิ ๔ ดวง,
ทิฏĘฺ าสโว จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ทิฏฐาสวะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
อวิชชฺ าสโว สพฺพากุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ;
อวิชชาสวะบังเกิดในอกุศลทัง้ ปวง;
723

อิเม ธมฺมา อาสวา.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอาสวธรรม.
[๑๔๖๖] กตเม ธมฺมา โน อาสวา?
[๑๔๖๖] ธรรมไม่เป็นอาสวะเป็นไฉน?
เปตฺวา อาสเว อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
อกุศลทีเ่ หลือเว้นอาสวธรรมเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยา-
กฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน อาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอาสวะ.
๒. สาสวทุกะ.
[๑๔๖๗] กตเม ธมฺมา สาสวา?
[๑๔๖๗] ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ,
สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ.
[๑๔๖๘] กตเม ธมฺมา อนาสวา?
[๑๔๖๘] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ.
๓. อาสวสัปปยุตตทุกะ.
724

[๑๔๖๙] กตเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า?


[๑๔๖๙] ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นไฉน?
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โมหํ Ęเปตฺวา, วิจกิ จิ ฉฺ าสห-
คตํ โมหํ อุทธฺ จฺจสหคตํ โมหํ Ęเปตฺวา อวเสสํ อกุสลํ;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัส ๒ ดวง อกุศลทีเ่ หลือ เว้นโมหะทีเ่ กิดใน-
จิตตุปบาท ๒ ดวงนี้ เว้นโมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา และเว้นโมหะที-่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ;
อิเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรม เหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ.
[๑๔๗๐] กตเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๔๗๐] ธรรมวิปปยุตจากอาสวะเป็นไฉน?
ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺโน โมโห,
โมหะทีเ่ กิดขึน้ ในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัส ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต โมโห, อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห,
โมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา โมหะทีส่ หรคตอุทธัจจะ,
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ,
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะ.
๔. อาสวสาสวทุกะ.
[๑๔๗๑] กตเม ธมฺมา อาสวา เจว สาสวา จ?
[๑๔๗๑] ธรรมเป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
เตว อาสวา อาสวา เจว สาสวาจ.
อาสวะเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ.
[๑๔๗๒] กตเม ธมฺมา สาสวา เจว โน จ อาสวา?
[๑๔๗๒] ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นไฉน?
725

เปตฺวา อาสเว อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป,ํ
อกุศลทีเ่ หลือเว้นอาสวะเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤต-
ในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด,
อิเม ธมฺมา สาสวา เจว โน จ อาสวา. อนาสวา ธมฺมา น วตฺตพฺพา
อาสวา เจว สาสวาจาติป,ิ สาสวา เจว โน จ อาสวาติป.ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะจะกล่าวว่า เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของ-
อาสวะก็ไม่ได้ ว่าเป็นอารมณ์ของอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะก็ไม่ได้.
๕. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ.
[๑๔๗๓] กตเม ธมฺมา อาสวา เจว อาสวสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๔๗๓] ธรรมเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นไฉน?
ยตฺถ เทฺว ตโย อาสวา เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
อาสวะ ๒-๓ อย่าง บังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา อาสวา เจว อาสวสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ.
[๑๔๗๔] กตเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อาสวา?
[๑๔๗๔] ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา อาสเว อวเสสํ อกุสลํ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นอาสวะทัง้ หลายเสีย;
อิเม ธมฺมา อาสวสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ.
อาสววิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา อาสวา เจว อาสวสมฺปยุตตฺ า จาติป,ิ
อาสวสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อาสวาติป.ิ
ธรรมวิปปยุตจากอาสวะจะกล่าวว่าเป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะก็ไม่-
ได้ ว่าสัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะก็ไม่ได้.
726

๖. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ.
[๑๔๗๕] กตเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า สาสวา?
[๑๔๗๕] ธรรมวิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺโน โมโห,
โมหะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต โมโห, อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ
วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากต,ํ สพฺพċฺจ รูป,ํ
โมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ กุศลในภูมิ ๓
วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า สาสวา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะแต่ไม่เป็นอารมณ์ของ-
อาสวะ
[๑๔๗๖] กตเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า อนาสวา?
[๑๔๗๖] ธรรมวิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า อนาสวา,
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะ,
อาสวสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา อาสววิปปฺ ยุตตฺ า สาสวาติป,ิ
ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะจะกล่าวว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์-
ของอาสวะก็ไม่ได้,
อาสววิปปฺ ยุตตฺ า อนาสวาติป.ิ
ว่าธรรมวิปปยุตจากอาสวะ และไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะก็ไม่ได้.
อาสวะโคจฉกะจบ.
๔. สัญโญชนโคจฉก.
727

๑. สัญโญชนทุกะ.
[๑๔๗๗] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนา?
[๑๔๗๗] สัญโญชนธรรมเป็นไฉน?
ทส สċฺโċชนานิ; กามราคสċฺโċชนํ ปฏิฆสċฺโċชนํ มานสċฺโċชนํ
ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชนํ สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ ภวราคสċฺโċช-
นํ อิสสฺ าสċฺโċชนํ มจฺฉริยสċฺโċชนํ อวิชชฺ าสċฺโċชนํ,
สัญโญชน์ ๑๐ คือ กามราคสัญโญชน์ ปฏิฆสัญโญชน์ มานสัญโญชน์
ทิฏฐิสญ ั โญชน์ วิจกิ จิ ฉาสัญโญชน์ สีลพั พตปรามาสสัญโญชน์ ภวราค-
สัญโญชน์ อิสสาสัญโญชน์ มัจฉริยสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์,
กามราคสċฺโċชนํ อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
กามราคสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
ปฏิฆสċฺโċชนํ ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ปฏิฆสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
มานสċฺโċชนํ จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
มานสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ วิปปยุตจากทิฏฐิ ๔
ดวง,
ทิฏĘฺ สิ ċฺโċชนํ จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ทิฏฐิสญ ั โญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสċฺโċชนํ วิจกิ จิ ฉฺ าสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
วิจกิ จิ ฉาสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
สีลพฺพตปรามาสสċฺโċชนํ จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
สิลพั พตปรามาสสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
ภวราคสċฺโċชนํ จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ภวราคสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ วิปปยุตจากทิฏฐิ
๔ ดวง,
728

อิสสฺ าสċฺโċชนċฺจ มจฺฉริยสċฺโċชนċฺจ ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ า-


เทสุ อุปปฺ ชฺชนฺต,ิ
อิสสาสัญโญชน์และมัจฉริยสัญโญชน์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วย-
โทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
อวิชชฺ าสċฺโċชนํ สพฺพากุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ;
อวิชชาสัญโญชน์บงั เกิดขึน้ ในอกุศลทัง้ ปวง;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสัญโญชนธรรม.
[๑๔๗๘] กตเม ธมฺมา โนสċฺโċชนา?
[๑๔๗๘] ธรรมไม่เป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา สċฺโċชเน อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก,
ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ, นิพพฺ านċฺจ,
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นสัญโญชน์ทง้ั หลายเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นสัญโญชน์.
๒. สัญโญชนิยทุกะ.
[๑๔๗๙] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา?
[๑๔๗๙] ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ อกุสล,ํ ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพċฺจ
รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๗ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์.
[๑๔๘๐] กตเม ธมฺมา อสċฺโċชนิยา?
729

[๑๔๘๐] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อสċฺโċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์.
๓. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ.
[๑๔๘๑] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า?
[๑๔๘๑] ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์เป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคตํ โมหํ Ęเปตฺวา อวเสสํ อกุสลํ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นโมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
[๑๔๘๒] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๔๘๒] ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์เป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ, นิพพฺ านċฺจ;
โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤต-
ในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์.
๔. สัญโญชนสัญโยชนิยทุกะ.
[๑๔๘๓] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนิยาจ?
[๑๔๘๓] ธรรมเป็นสัญโญชน์และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
ตาเนว สċฺโċชนานิ สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนิยาจ.
สัญโญชน์เหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นสัญโญชน์และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์.
[๑๔๘๔] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา เจว โน จ สċฺโċชนา?
730

[๑๔๘๔] ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา สċฺโċชเน อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป,ํ
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นสัญโญชน์ทง้ั หลายเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด,
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนิยา เจว โน จ สċฺโċชนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์แต่ไม่เป็น
สัญโญชน์.
อสċฺโċชนิยา ธมฺมา น วตฺตพฺพา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนิยา จาติป,ิ
ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์จะกล่าวว่าธรรมเป็นสัญโญชน์และเป็น-
อารมณ์ของสัญโญชน์กไ็ ม่ได้,
สċฺโċชนิยา เจว โน จ สċฺโċชนาติป.ิ
ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์กไ็ ม่ได้.
๕. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ.
[๑๔๘๕] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๔๘๕] ธรรมเป็นสัญโญชน์และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์เป็นไฉน?
ยตฺถ เทฺว ตีณิ สċฺโċชนานิ เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
สัญโญชน์ ๒-๓ อย่าง บังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นสัญโญชน์และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์.
[๑๔๘๖] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ สċฺโċชนา?
[๑๔๘๖] ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา สċฺโċชเน อวเสสํ อกุสลํ,
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นสัญโญชน์ทง้ั หลายเสีย,
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ สċฺโċชนา.
731

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์.


สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา สċฺโċชนา เจว สċฺโċชนสมฺป-
ยุตตฺ า จาติป,ิ
ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์จะกล่าวว่าธรรมเป็นสัญโญชน์ และสัมปยุต-
ด้วยสัญโญชน์กไ็ ม่ได้,
สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ สċฺโċชนาติป.ิ
ว่าธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์แต่ไม่เป็นสัญโญชน์กไ็ ม่ได้.
๖. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ.
[๑๔๘๗] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า สċฺโċชนิยา?
[๑๔๘๗] ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์แต่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ รูป;ํ
โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤต-
ในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า สċฺโċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์แต่เป็นอารมณ์ของ
สัญโญชน์.
[๑๔๘๘] กตเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า อสċฺโċชนิยา?
[๑๔๘๘] ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์เป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า อสċฺโċชนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์ และไม่เป็นอารมณ์-
ของสัญโญชน์.
สċฺโċชนสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า สċฺโċชนิ-
ยาติป,ิ
732

ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์จะกล่าวว่าธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์
แต่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์กไ็ ม่ได้,
สċฺโċชนวิปปฺ ยุตตฺ า อสċฺโċชนิยาติป.ิ
ว่าธรรมวิปปยุตตจากสัญโญชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์กไ็ ม่ได้.
สัญโญชนโคจฉกะจบ.
๕. คันถโคจฉก.
๑. คันถทุกะ.
[๑๔๘๙] กตเม ธมฺมา คนฺถา?
[๑๔๘๙] คันถธรรมนัน้ เป็นไฉน?
จตฺตาโร คนฺถา; อภิชฌ ฺ า กายคนฺโถ พฺยาปาโท กายคนฺโถ สีลพฺพตปรามาโส
กายคนฺโถ อิทสํ จฺจาภินเิ วโส กายคนฺโถ.
คันธะ ๔ คือ อภิชฌากายคันถะ พยาบาทกายคันถะ สีลพั พตปรามาสกาย-
คันถะ อิทงั สัจจาภินเิ วสกายคันถะ.
อภิชฌ ฺ า กายคนฺโถ อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
อภิชฌากายคันถะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
พฺยาปาโท กายคนฺโถ ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
พยาปาทกายคันถะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒
ดวง,
สีลพฺพตปรามาโส กายคนฺโถ จ อิทสํ จฺจาภินเิ วโส กายคนฺโถ จ จตูสุ
ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชนฺต,ิ
สีลพั พตปรามาสกายคันถะ และอิทงั สัจจาภินเิ วสกายคันถะ บังเกิดในจิตตุป-
บาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง;
อิเม ธมฺมา คนฺถา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าคันถธรรม.
[๑๔๙๐] กตเม ธมฺมา โนคนฺถา?
[๑๔๙๐] ธรรมไม่เป็นคันถะเป็นไฉน?
733

Ęเปตฺวา คนฺเถ อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นคันถะทัง้ หลายเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ า-
อัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โนคนฺถา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นคันถะ.
๒. คันถนิยทุกะ.
[๑๔๙๑] กตเม ธมฺมา คนฺถนิยา?
[๑๔๙๑] ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพċฺจ
รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา คนฺถนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีเ่ ป็นอารมณ์ของคันถะ.
[๑๔๙๒] กตเม ธมฺมา อคนฺถนิยา?
[๑๔๙๒] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อคนฺถนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ
๓. คันถสัมปยุตตทุกะ.
[๑๔๙๓] กตเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า?
[๑๔๙๓] ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
734

จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โลภํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง เว้นโลภะทีบ่ งั เกิด-
ในจิตตุปบาทนีเ้ สีย;
เทฺว โทมนสฺสสหคตจิตตฺ ปุ ปฺ าทา เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ ปฏิฆํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง เว้นปฏิฆะทีเ่ กิดในจิตตุป-
บาทนีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ.
[๑๔๙๔] กตเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๔๙๔] ธรรมวิปปยุตจากคันถะเป็นไฉน?
จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺโน โลโภ,
โลภะทีบ่ งั เกิดขึน้ ในจิตตุปบาท ทีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺนํ ปฏิฆ,ํ
ปฏิฆะทีเ่ กิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท, อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ,
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะ.
๔. คันถคันถนิยทุกะ.
[๑๔๙๕] กตเม ธมฺมา คนฺถาเจวคนฺถนิยา จ?
[๑๔๙๕] ธรรมเป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
เตว คนฺถา คนฺถา เจว คนฺถนิยา จ.
735

คันถธรรมเหล่านัน้ แล ชือ่ ว่า ธรรมเป็นคันถะ และเป็นอารมณ์ของคันถะ.


[๑๔๙๖] กตเม ธมฺมา คนฺถนิยา เจว โน จ คนฺถา?
[๑๔๙๖] ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นไฉน?
เปตฺวา คนฺเถ อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นคันถะทัง้ หลายเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพ-
ยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา คนฺถนิยา เจว โน จ คนฺถา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ,
อคนฺถนิยา ธมฺมา น วตฺตพฺพา คนฺถา เจว คนฺถนิยา จาติป,ิ
ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะจะกล่าวว่าธรรมเป็นคันถะ และเป็นอารมณ์-
ของคันถะก็ไม่ได้,
คนฺถนิยา เจว โน จ คนฺถาติป.ิ
ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะก็ไม่ได้.
๕. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ.
[๑๔๙๗] กตเม ธมฺมา คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๔๙๗] ธรรมเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นไฉน?
ยตฺถ ทิฏĘฺ ิ จ โลโภ จ เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
ทิฏฐิและโลภะบังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ.
[๑๔๙๘] กตเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ คนฺถา?
[๑๔๙๘] ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นไฉน?
อฏฺĘ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา เอตฺถปุ ปฺ นฺเน คนฺเถ เปตฺวา;
736

จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง;


อิเม ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ คนฺถา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ.
คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตตฺ า จาติป,ิ
ธรรมวิปปยุตจากคันถะจะกล่าวว่าธรรมเป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะ-
ก็ไม่ได้,
คนฺถสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ คนฺถาติป.ิ
ว่าธรรมสัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะก็ไม่ได้.
๖. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ.
[๑๔๙๙] กตเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า คนฺถนิยา?
[๑๔๙๙] ธรรมวิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺโน โลโภ,
โลภะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺนํ ปฏิฆ,ํ
ปฏิฆะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท, อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า คนฺถนิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะ.
[๑๕๐๐] กตเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า อคนฺถนิยา?
[๑๕๐๐] ธรรมวิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า อคนฺถนิยา.
737

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะ และไม่เป็นอารมณ์ของ-


คันถะ.
คนฺถสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า คนฺถนิยาติป,ิ
ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะจะกล่าวว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะ แต่เป็นอารมณ์-
ของคันถะก็ไม่ได้,
คนฺถวิปปฺ ยุตตฺ า อคนฺถนิยาติป.ิ
ว่าธรรมวิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะก็ไม่ได้.
คันถโคจฉกะจบ.
๖. โอฆโคจฺฉก.
๑. โอฆทุกะ.
[๑๕๐๑] กตเม ธมฺมา โอฆา ฯเปฯ
[๑๕๐๑] โอฆธรรมเป็นไฉน ฯลฯ
๗. โยคโคจฺฉก.
๑. โยคทุกะ.
[๑๕๐๒] กตเม ธมฺมา โยคา ฯเปฯ
[๑๕๐๒] โยคธรรมเป็นไฉน ฯลฯ
๘. นีวรณโคจฺฉก.
๑. นีวรณทุกะ.
[๑๕๐๓] กตเม ธมฺมา นีวรณา?
[๑๕๐๓] นีวรณธรรมเป็นไฉน?
ฉ นีวรณานิ; กามจฺฉนฺทนีวรณํ พฺยาปาทนีวรณํ ถีนมิทธฺ นีวรณํ อุทธฺ จฺจกุกกฺ จุ -ฺ
จนีวรณํ วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ อวิชชฺ านีวรณํ;
นิวรณ์ ๖ คือ กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุก-
กุจจนิวรณ์ วิจกิ จิ ฉานิวรณ์ อวิชชานิวรณ์.
กามจฺฉนฺทนีวรณํ อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
กามฉันทนิวรณ์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
738

พฺยาปาทนีวรณํ ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,


พยาปาทนิวรณ์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
ถีนมิทธฺ นีวรณํ สสํขาริเกสุ อกุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ถีนมิทธนิวรณ์บงั เกิดในอกุศลจิตทีเ่ ป็นสสังขาริก,
อุทธฺ จฺจนีวรณํ อุทธฺ จฺจสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
อุทธัจจนิวรณ์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
กุกกฺ จุ จฺ นีวรณํ ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
กุกกุจจนิวรณ์ บังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ านีวรณํ วิจกิ จิ ฉฺ าสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
วิจกิ จิ ฉานิวรณ์บงั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
อวิชชฺ านีวรณํ สพฺพากุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ,
อวิชชานิวรณ์บงั เกิดในอกุศลจิตทัง้ ปวง,
อิเม ธมฺมา นีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่านีวรณธรรม.
[๑๕๐๔] กตเม ธมฺมา โน นีวรณา?
[๑๕๐๔] ธรรมไม่เป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
เปตฺวา นีวรเณ อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นนิวรณ์ทง้ั หลายเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน นีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นนิวรณ์
๒. นีวรณิยทุกะ.
[๑๕๐๕] กตเม ธมฺมา นีวรณิยา?
[๑๕๐๕] ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ
739

รูป,ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา นีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
[๑๕๐๖] กตเม ธมฺมา อนีวรณิยา?
[๑๕๐๖] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
๓. นีวรณสัมปปยุตตทุกะ.
[๑๕๐๗] กตเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า?
[๑๕๐๗] ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นไฉน?
ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า.
จิตตุปบาทฝ่ายอกุศล ๑๒ ดวง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วย-
นิวรณ์.
[๑๕๐๘] กตเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๕๐๘] ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์เป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์.
๔. นีรวณนีวรณิยทุกะ.
[๑๕๐๙] กตเม ธมฺมา นีวรณา เจว นีวรณิยา จ?
740

[๑๕๐๙] ธรรมเป็นนิวรณ์ และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?


ตาเนว นีวรณานิ นีวรณา เจว นีวรณานิ จ.
นีวรณธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นนิวรณ์ และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
[๑๕๑๐] กตเม ธมฺมา นีวรณิยา เจว โน จ นีวรณา?
[๑๕๑๐] ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา นีวรเณ อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นนิวรณ์ทง้ั หลายเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ า-
อัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา นีวรณิยา เจว โน จ นีวรณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์.
อนีวรณิยา ธมฺมา น วตฺตพฺพา นีวรณา เจว นีวรณิยา จาติป,ิ
ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์จะกล่าวว่าธรรมเป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์-
ของนิวรณ์กไ็ ม่ได้,
นีวรณิยา เจว โน จ นีวรณาติป.ิ
ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์กไ็ ม่ได้.
๕. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๑๑] กตเม ธมฺมา นีวรณา เจว นีวรณสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๕๑๑] ธรรมเป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นไฉน?
ยตฺถ เทฺว ตีณิ นีวรณานิ เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
นิวรณ์ ๒-๓ อย่างบังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา นีวรณา เจว นีวรณสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นนิวรณ์ และสัมปยุตด้วยนิวรณ์.
[๑๕๑๒] กตเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ นีวรณา?
[๑๕๑๒] ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา นีวรเณ อวเสสํ อกุสลํ, อิเม ธมฺมา นีวรณสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ
741

นีวรณา.
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นนิวรณ์ทง้ั หลายเสีย สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุต-
ด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์.
นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา นีวรณา เจว นีวรณสมฺปยุตตฺ า จาติป,ิ
ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์จะกล่าวว่าธรรมเป็นนิวรณ์ และสัมปยุตด้วยนิวรณ์-
ก็ไม่ได้,
นีวรณสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ นีวรณาติป.ิ
ว่าธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์กไ็ ม่ได้.
๖. นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ.
[๑๕๑๓] กตเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า นีวรณิยา?
[๑๕๑๓] ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า นีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์.
[๑๕๑๔] กตเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า อนีวรณิยา?
[๑๕๑๔] ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ และไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า อนีวรณิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปยุตตจากนิวรณ์ และไม่เป็นอารมณ์ของ-
นิวรณ์.
นีวรณสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า นีวรณิยาติป,ิ
ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์จะกล่าวว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ แต่เป็นอารมณ์-
ของนิวรณ์กไ็ ม่ได้,
นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ า อนีวรณิยาติป.ิ
742

ว่าธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ และไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์กไ็ ม่ได้.


นีวรณโคจฉกะจบ.
๙. ปรามาสโคจฉก.
๑. ปรามาสทุกะ.
[๑๕๑๕] กตเม ธมฺมา ปรามาสา?
[๑๕๑๕] ปรามาสธรรมเป็นไฉน?
ทิฏĘฺ ปิ รามาโส จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ;
ทิฏฐิปรามาสะ บังเกิดในจิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง;
อิเม ธมฺมา ปรามาสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าปรามาสธรรม.
[๑๕๑๖] กตเม ธมฺมา โนปรามาสา?
[๑๕๑๖] ธรรมไม่เป็นปรามาสะเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา ปรามาสํ อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นปรามาสะเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยา-
กฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โนปรามาสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นปรามาสะ.
๒. ปรามัฏฐทุกะ.
[๑๕๑๗] กตเม ธมฺมา ปรามฏฺา?
[๑๕๑๗] ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ,
สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ.
743

[๑๕๑๘] กตเม ธมฺมา อปรามฏฺĘา?


[๑๕๑๘] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċŇจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ.
๓. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๑๙] กตเม ธมฺมา ปรามาสสมฺปยุตตฺ า?
[๑๕๑๙] ธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ ปรามาสํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง เว้นปรามาสะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาท-
เหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ปรามาสสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะ.
[๑๕๒๐] กตเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๕๒๐] ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาทสหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท, อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ,
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
รูปและนิพพาน;
744

อิเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า.


สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ.
ปรามาโส น วตฺตพฺโพ ปรามาสสมฺปยุตโฺ ตติป,ิ ปรามาสวิปปฺ ยุตโฺ ตติป.ิ
ปรามาสธรรมจะกล่าวว่าสัมปยุตด้วยปรามาสะก็ไม่ได้วา่ วิปปยุตจาก-
ปรามาสะก็ไม่ได้.
๔. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ.
[๑๕๒๑] กตเม ธมฺมา ปรามาสา เจว ปรามฏฺĘา จ?
[๑๕๒๑] ธรรมเป็นปรามาสะ และเป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
โสเอว ปรามาโส ปรามาโส เจว ปรามฏฺโĘจ.
ปรามาสธรรมนัน้ ชือ่ ว่าธรรมปรามาสะและเป็นอารมณ์ของปรามาสะ.
[๑๕๒๒] กตเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา เจว โน จ ปรามาสา?
[๑๕๒๒] ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะแต่ไม่เป็นปรามาสะเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา ปรามาสํ อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นปรามาสะเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยา-
กฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา ปรามฏฺĘา เจว โน จ ปรามาสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะแต่ไม่เป็น-
ปรามาสะ.
อปรามฏฺĘา ธมฺมา น วตฺตพฺพา ปรามาสา เจว ปรามฏฺĘา จาติป,ิ
ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะจะกล่าวว่า ธรรมเป็นปรามาสะและเป็น-
อารมณ์ของปรามาสะก็ไม่ได้,
ปรามฏฺĘา เจว โน จ ปรามาสาติป.ิ
ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ แต่ไม่เป็นปรามาสะก็ไม่ได้.
๕. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ.
[๑๕๒๓] กตเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า ปรามฏฺĘา?
745

[๑๕๒๓] ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะแต่เป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า ปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปยุตจากปรามาสะแต่เป็นอารมณ์ของ-
ปรามาสะ.
[๑๕๒๔] กตเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า อปรามฏฺĘา?
[๑๕๒๔] ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า อปรามฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ และไม่เป็นอารมณ์-
ของปรามาสะ.
ปรามาสา จ ปรามาสสมฺปยุตตฺ า จ ธมฺมา น วตฺตพฺพา ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า
ปรามฏฺĘาติป,ิ
ธรรมเป็นปรามาสะและสัมปยุตด้วยปรามาสะจะกล่าวว่าธรรมวิปปยุต-
จากปรามาสะแต่เป็นอารมณ์ของปรามาสะก็ไม่ได้,
ปรามาสวิปปฺ ยุตตฺ า อปรามฏฺĘาติป.ิ
ว่าธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ และไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะก็ไม่ได้.
746

ปรามาสโคจฉกะจบ.
๑๐. มหันตรทุก.
๑. สารัมมณทุกะ.
[๑๕๒๕] กตเม ธมฺมา สารมฺมณา?
[๑๕๒๕] ธรรมมีอารมณ์เป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓;
อิเม ธมฺมา สารมฺมณา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีอารมณ์.
[๑๕๒๖] กตเม ธมฺมา อนารมฺมณา?
[๑๕๒๖] ธรรมไม่มอี ารมณ์เป็นไฉน?
รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ; อิเม ธมฺมา อนารมฺมณา.
รูป และนิพพาน; สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มอี ารมณ์.
๒. จิตตทุกะ.
[๑๕๒๗] กตเม ธมฺมา จิตตฺ า?
[๑๕๒๗] ธรรมเป็นจิตเป็นไฉน?
จกฺขวุ ċฺċาณํ โสตวิċċ ฺ าณํ ฆานวิċċ ฺ าณํ ชิวหฺ าวิċċ
ฺ าณํ กายวิċċ
ฺ าณํ,
มโนธาตุ มโนวิญċ ฺ าณธาตุ;
จักขุวญ
ิ ญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ
มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นจิต.
[๑๕๒๘] กตเม ธมฺมา โนจิตตฺ า?
[๑๕๒๘] ธรรมไม่เป็นจิตเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
747

เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ รูป และนิพพาน;


อิเม ธมฺมา โนจิตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิต.
๓. เจตสิกะ.
[๑๕๒๙] กตเม ธมฺมา เจตสิกา?
[๑๕๒๙] เจตสิกธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา เจตสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าเจตสิกธรรม.
[๑๕๓๐] กตเม ธมฺมา อเจตสิกา?
[๑๕๓๐] อเจตสิกธรรมเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิต รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อเจตสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอเจตสิกธรรม.
๔. จิตตสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๓๑] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สมฺปยุตตฺ า?
[๑๕๓๑] จิตตสัมปยุตธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสัมปยุตธรรม
[๑๕๓๒] กตเม ธมฺมา จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๕๓๒] จิตตวิปปยุตธรรมเป็นไฉน?
รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ; อิเม ธมฺมา จิตตฺ วิปปฺ ยุตตฺ า.
748

รูป และนิพพาน สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตวิปปยุตธรรม.


จิตตฺ ํ น วตฺตพฺพํ จิตเฺ ตน สมฺปยุตตฺ นฺตปิ ,ิ จิตเฺ ตน วิปปฺ ยุตตฺ นฺตปิ .ิ
จิต จะกล่าวว่าจิตตสัมปยุตก็ไม่ได้ ว่าจิตตวิปปยุตธรรมก็ไม่ได้.
๕. จิตตสังสัฏฐทุกะ.
[๑๕๓๓] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘา?
[๑๕๓๓] จิตตสังสัฏฐธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสังสัฏฐธรรม.
[๑๕๓๔] กตเม ธมฺมา จิตตฺ วิสสํ ฏฺĘา?
[๑๕๓๔]จิตตวิสงั สัฏฐธรรมเป็นไฉน?
รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ; อิเม ธมฺมา จิตตฺ วิสสํ ฏฺĘา.
รูป และนิพพาน สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตวิสงั สัฏฐธรรม.
จิตตฺ ํ น วตฺตพฺพํ จิตเฺ ตน สํสฏฺĘนฺตปิ ,ิ จิตเฺ ตน วิสสํ ฏฺĘนฺตปิ .ิ
จิตจะกล่าวว่าจิตตสังสัฏฐธรรมก็ไม่ได้ ว่าจิตตวิสงั สัฏฐธรรมก็ไม่ได้.
๖. จิตตสมุฏฐานทุกะ.
[๑๕๓๕] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สมุฏĘฺ านา?
[๑๕๓๕] จิตตสมุฏฐานธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ, กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญิ ċ ฺ ตฺต,ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต,ิ
ยํ วา ปนċฺċมฺปิ อตฺถิ รูปํ จิตตฺ ชํ จิตตฺ เหตุกํ จิตตฺ สมุฏĘฺ านํ;
หรือรูปแม้อน่ื ใดซึง่ เกิดแต่จติ มีจติ เป็นเหตุ มีจติ เป็นสมุฏฐานมีอยู;่
รูปายตนํ สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฏฺĘพฺพายตนํ,
ได้แก่ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ,
อากาสธาตุ อาโปธาตุ, รูปสฺส ลหุตา รูปสฺส มุทตุ า รูปสฺส กมฺมċฺċตา,
749

รูปสฺส อุปจโย รูปสฺส สนฺตติ, กพฬึกาโร อาหาโร;


อากาสธาตุ อาโปธาตุ รูปลหุตา รูปมุทตุ า รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ
รูปสันตติ กพฬิงการาหาร;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สมุฏĘฺ านา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสมุฏฐานธรรม.
[๑๕๓๖] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ สมุฏĘฺ านา?
[๑๕๓๖] ธรรมไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐานเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ อวเสสċฺจ รูปํ นิพพฺ านċฺจ;
จิต รูปทีเ่ หลือ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สมุฏĘฺ านา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มจี ติ เป็นสมุฏฐาน.
๗. จิตตสหภูทกุ ะ.
[๑๕๓๗] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สหภุโน?
[๑๕๓๗] จิตตสหภูธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ, กายวิญċ ฺ ตฺติ วจีวญ ิ ċ ฺ ตฺต;ิ
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สหภุโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสหภูธรรม.
[๑๕๓๘] กตเม ธมฺมา โนจิตตฺ สหภุโน?
[๑๕๓๘] ธรรมไม่เป็นจิตตสหภูเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ อวเสสċฺจ รูปํ นิพพฺ นċฺจ; อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สหภุโน.
จิต รูปทีเ่ หลือ และนิพพาน สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิตตสหภู.
๘. จิตตานุปริวตั ติทกุ ะ.
[๑๕๓๙] กตเม ธมฺมา จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น?
[๑๕๓๙] จิตตานุปริวตั ติธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ, กายวิญċ
ฺ ตฺติ วจีวญ
ิ ċ
ฺ ตฺต;ิ
750

เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ กายวิญญัติ วจีวญ ิ ญัต;ิ


อิเม ธมฺมา จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตานุปริวตั ติธรรม.
[๑๕๔๐] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น?
[๑๕๔๐] ธรรมไม่เป็นจิตตานุปริวตั ติเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ อวเสสċฺจ รูปํ นิพพฺ านċฺจ;
จิต รูปทีเ่ หลือ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ านุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิตตานุปริวตั ติ.
๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ.
[๑๕๔๑] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏċานา?
[๑๕๔๑] จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม.
[๑๕๔๒] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา?
[๑๕๔๒] ธรรมไม่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิต รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน.
๑๐. จิตตสัวสัฏฐสมุฏฐานสหภูทกุ ะ.
[๑๕๔๓] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน ?
[๑๕๔๓] จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ;
751

เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;


อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรม.
[๑๕๔๔] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน?
[๑๕๔๔] ธรรมไม่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิต รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านสหภุโน.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภู.
๑๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวตั ติทกุ ะ.
[๑๕๔๕] กตเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น?
[๑๕๔๖] จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวตั ติธรรมเป็นไฉน?
เวทนากฺขนฺโธ สċฺċากฺขนฺโธ สํขารกฺขนฺโธ;
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์;
อิเม ธมฺมา จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวตั ติธรรม.
[๑๕๔๖] กตเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น?
[๑๕๔๖] ธรรมไม่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวตั ติเป็นไฉน?
จิตตฺ ċฺจ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิต รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน จิตตฺ สํสฏฺĘสมุฏĘฺ านานุปริวตฺตโิ น.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวตั ติ.
๑๒. อัชฌัตติทกุ ะ.
[๑๕๔๗] กตเม ธมฺมา อชฺฌตฺตกิ า?
[๑๕๔๗] อัชฌัตติกธรรมเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ มนายตนํ;
752

จักขายตนะ ฯลฯ มนายตนะ;


อิเม ธมฺมา อชฺฌตฺตกิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอัชฌัตติกธรรม.
[๑๕๔๘] กตเม ธมฺมา พาหิรา?
[๑๕๔๘] พาหิรธรรมเป็นไฉน?
รูปายตนํ ฯเปฯ ธมฺมายตนํ;
รูปายตนะ ฯลฯ ธัมมายตนะ;
อิเม ธมฺมา พาหิรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าพาหิรธรรม.
๑๓. อุปาทาทุกะ.
[๑๕๔๙] กตเม ธมฺมา อุปาทา?
[๑๕๔๙] อุปาทาธรรมเป็นไฉน?
จกฺขายตนํ ฯเปฯ กพฬึกาโร อาหาโร;
จักขายตนะ ฯลฯ กพฬิงการาหาร;
อิเม ธมฺมา อุปาทา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอุปาทาธรรม.
[๑๕๕๐] กตเม ธมฺมา โนอุปาทา?
[๑๕๕๐] ธรรมไม่เป็นอุปาทาเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ,
จตฺตาโร จ มหาภูตา นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ มหาภูตรูป ๔
และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โน อุปาทา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอุปาทา.
๑๔. อุปาทินนทุกะ.
[๑๕๕๑] กตเม ธมฺมา อุปาทินนฺ า?
753

[๑๕๕๑] อุปาทินนธรรมเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก; ยċฺจ รูปํ กมฺมสฺส กตตฺตา;
วิบากในภูมิ ๓ และรูปทีก่ รรมแต่งขึน้ ;
อิเม ธมฺมา อุปาทินนฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอุปาทินนธรรม.
[๑๕๕๒] กตเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ า?
[๑๕๕๒] อนุปาทินนธรรมเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, ยċฺจ รูปํ น กมฺมสฺส
กตตฺตา, จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทีก่ รรมมิได้แต่งขึน้
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนุปาทินนฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนุปาทินนธรรม.
มหันตรทุกะจบ.
๑๑. อุปาทานโคจฉก.
๑. อุปาทานทุกะ.
[๑๕๕๓] กตเม ธมฺมา อุปาทานา?
[๑๕๕๓] อุปาทานธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาริ อุปาทานานิ กามุปาทานํ: ทิฏĘุปาทานํ สีลพฺพตุปาทานํ อตฺตวาทุปาทานํ
กามุปาทานํ.
อุปาทาน ๔ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลพั พตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน.
อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
กามุปาทานบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
ทิฏĘฺ ปุ าทานċฺจ สีลพฺพตุปาทานċฺจ อตฺตวาทุปาทานċฺจ จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺป-
ยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
ทิฏฐุปาทาน สีลพั พตุปาทาน และอัตตวาทุปาทานบังเกิดในจิตตุปบาท
754

ทีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง;


อิเม ธมฺมา อุปาทานา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอุปาทานธรรม.
[๑๕๕๔] กตเม ธมฺมา โนอุปาทานา?
[๑๕๕๔] ธรรมทีไ่ ม่เป็นอุปาทาน เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา อุปาทาเน อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก,
ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċิจ นิพพฺ านċฺจ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นอุปาทานทัง้ หลายเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โนอุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมทีไ่ ม่เป็นอุปาทาน.
๒. อุปาทานิยทุกะ.
[๑๕๕๕] กตเม ธมฺมา อุปาทานิยา?
[๑๕๕๕] ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ
รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา อุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
[๑๕๕๖] กตเม ธมฺมา อนุปาทานิยา?
[๑๕๕๖] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน.
755

๓. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๕๗] กตเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า?
[๑๕๕๗] ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ โลภ สหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะสัมปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โลภํ Ęเปตฺวา อิเม;
เว้นโลภะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน.
[๑๕๕๘] กตเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๕๕๘] ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานเป็นไฉน?
จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺโน โลโภ,
โลภะซึง่ เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง, เทฺว
โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า.
756

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน.


๔. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ.
[๑๕๕๙] กตเม ธมฺมา อุปาทานาเจวอุปาทานิยาจ?
[๑๕๕๙] ธรรมเป็นอุปาทาน และเป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นไฉน?
ตาเนว อุปาทานานิ อุปาทานา เจว อุปาทานิยาจ.
อุปาทานธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นอุปาทาน และเป็นอารมณ์ของ-
อุปาทาน.
[๑๕๖๐] กตเม ธมฺมา อุปาทานิยาเจวโนจอุปาทานา?
[๑๕๖๐]ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน เป็นไฉน?
Ęเปตฺวา อุปาทาเน อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ รูป;ํ
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นอุปาทานทัง้ หลายเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ า-
อัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา อุปาทานิยา เจว โน จ อุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน.
อนุปาทานิยา ธมฺมา น วตฺตพฺพา อุปาทานา เจว อุปาทานิยา จาติปิ
อุปาทานิยา เจว โน จ อุปาทานาติป.ิ
ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานจะกล่าวว่าธรรมเป็นอุปาทาน และเป็น-
อารมณ์ของอุปาทานก็ไม่ได้ ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทานก็ไม่ได้.
๕. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๖๑] กตเม ธมฺมา อุปาทานา เจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๕๖๑] ธรรมเป็นอุปาทาน และสัมปยุตด้วยอุปาทาน เป็นไฉน?
ยตฺถ ทิฏĘฺ ิ จ โลโภ จ เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
ทิฏฐิและโลภะ บังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา อุปาทานา เจว อุปาทานสมฺปยุตตฺ า จ.
757

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอุปาทาน และสัมปยุตด้วยอุปาทาน.


[๑๕๖๒] กตเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า เจว โน จอุปาทานา?
[๑๕๖๒] ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน แต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นไฉน?
อฏฺĘ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา เอตฺถปุ ปฺ นฺเน อุปาทาเน Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง เว้นอุปาทานทัง้ หลายทีบ่ งั เกิดใน-
จิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา อุปาทานสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อุปาทานา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน.
อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา อุปาทานา เจว อุปาทาน สมฺปยุตตฺ า
จาติป,ิ
ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานจะกล่าวว่าธรรมเป็นอุปาทาน และสัมปยุตด้วย-
อุปาทานก็ไม่ได้,
อุปาทานสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ อุปาทานาติป.ิ
ว่าธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน แต่ไม่เป็นอุปาทานก็ไม่ได้.
๖. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ.
[๑๕๖๓] กตเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อุปาทานิยา?
[๑๕๖๓] ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ นฺโน โลโภ,
โลภะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ;
758

กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;


รูปํ อิเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน แต่เป็นอารมณ์ของ-
อุปาทาน.
[๑๕๖๔] กตเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อนุปาทานิยา?
[๑๕๖๔] ธรรมวิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อนุปาทานิยา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็นอารมณ์ของ-
อุปาทาน.
อุปาทานสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อุปาทานิยาติป;ิ
ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทานจะกล่าวว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน แต่เป็น-
อารมณ์ของอุปาทานก็ไม่ได้;
อุปาทานวิปปฺ ยุตตฺ า อนุปาทานิยาติป.ิ
ว่าธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานก็ไม่ได้.
อุปาทานโคจฉกะจบ
๑๒. กิเลสโคจฉก.
[๑๕๖๕] กตเม ธมฺมา กิเลสา?
[๑๕๖๕] กิเลสธรรมเป็นไฉน?
ทส กิเลสวตฺถนู :ิ โลโภ โทโส โมโห มาโน ทิฏĘฺ ิ วิจกิ จิ ฉฺ า ถีนํ อุทธฺ จฺจํ
อหิรกิ ํ อโนตฺตปฺป.ํ
กิเลสวัตถุ ๑๐ คือ โลภะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา ถีนะ อุทธัจจะ
อหิรกิ ะ อโนตตัปปะ.
โลโภ อฏฺĘสุ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
โลภะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ ๘ ดวง,
759

โทโส ทฺวสี ุ โทมนสฺสสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,


โทสะบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
โมโห สพฺพากุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ,
โมหะบังเกิดในอกุศลทัง้ ปวง,
มาโน จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
มานะ บังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
ทิฏĘฺ ิ จตูสุ ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ทิฏฐิ บังเกิดในจิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ า วิจกิ จิ ฉฺ าสหคเตสุ จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ อุปปฺ ชฺชติ,
วิจกิ จิ ฉาบังเกิดในจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
ถีนํ สสํขาริเกสุ อกุสเลสุ อุปปฺ ชฺชติ,
ถีนะบังเกิดในอกุศลจิตทีเ่ ป็นสังขาริก,
อุทธฺ จฺจċฺจ อหิรกิ ċฺจ อโนตฺตปฺปċฺจ สพฺพากุสเลสุ อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
อุทธัจจะ อหิรกิ ะ และอโนตตัปปะบังเกิดในอกุศลจิตทัง้ ปวง;
อิเม ธมฺมา กิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ากิเลสธรรม.
[๑๕๖๖] กตเม ธมฺมา โนกิเลสา?
[๑๕๖๖] ธรรมไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
เปตฺวา กิเลเส อวเสสํ อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ
ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นกิเลสทัง้ หลายเสีย กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพ-
ยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา โนกิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นกิเลส.
๒. สังกิเลสิกทุกะ.
760

[๑๕๖๗] กตเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา?


[๑๕๖๗] ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ
รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๕๖๘] กตเม ธมฺมา อสํกเิ ลสิกา?
[๑๕๖๘] ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อสํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
๓. สังกิลฏิ ฐทุกะ.
[๑๕๖๙] กตเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า?
[๑๕๖๙] ธรรมเศร้าหมองเป็นไฉน?
ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า.
อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ดวง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเศร้าหมอง.
[๑๕๗๐] กตเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ า?
[๑๕๗๐] ธรรมไม่เศร้าหมองเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อสํกลิ ฏิ Ęฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีเ้ รียกว่าธรรมไม่เศร้าหมอง.
761

๔. กิเลสสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๗๑] กตเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า?
[๑๕๗๑] ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสเป็นไฉน?
ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า.
อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ดวง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส.
[๑๕๗๒] กตเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า?
[๑๕๗๒] ธรรมวิปปยุตจากกิเลสเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลส.
๕. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ.
[๑๕๗๓] กตเม ธมฺมา กิเลสา เจว สํกเิ ลสิกา จ?
[๑๕๗๓] ธรรมเป็นกิเลส และเป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
เตว กิเลสา กิเลสา เจว สํกเิ ลสิกา จ.
กิเลสธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าธรรมเป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๕๗๔] กตเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา เจว โน จ กิเลสา?
[๑๕๗๔] ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา กิเลเส อวเสสํ อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ, สพฺพċฺจ รูป;ํ
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นกิเลสทัง้ หลายเสีย กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ า
อัพยากฤตในภูมิ ๓ รูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สํกเิ ลสิกา เจว โน จ กิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส.
อสํกเิ ลสิกา ธมฺมา น วตฺตพฺพา กิเลสา เจว สํกเิ ลสิกา จาติปิ สํกเิ ลสิกา เจว
โน จ กิเลสาติป.ิ
762

ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส จะกล่าวว่าธรรมเป็นกิเลส และเป็น-


อารมณ์ของสังกิเลสก็ไม่ได้ ว่าธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลสแต่ไม่เป็น-
กิเลสก็ไม่ได้.
๖. กิเลสสังกิลฏฐทุกะ.
[๑๕๗๕] กตเม ธมฺมา กิเลสา เจว สํกลิ ฏิ Ęฺ า จ, เต ว กิเลสา กิเลสา เจว
สํกลิ ฏิ Ęฺ า จ.
[๑๕๗๕] ธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมองเป็นไฉน? กิเลสธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่า-
ธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมอง.
[๑๕๗๖] กตเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า เจว โน จ กิเลสา?
[๑๕๗๖] ธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา กิเลเส อวเสสํ อกุสลํ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นกิเลสทัง้ หลายเสีย;
อิเม ธมฺมา สํกลิ ฏิ Ęฺ า เจว โน จกิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส.
อสํกลิ ฏิ Ęฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา กิเลสา เจว สํกลิ ฏิ Ęฺ าจาติป,ิ
ธรรมเศร้าหมองจะกล่าวว่าธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมองก็ไม่ได้,
สํกลิ ฏิ Ęฺ า เจว โน จ กิเลสาติป.ิ
ว่าธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสก็ไม่ได้.
๗. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ.
[๑๕๗๗] กตเม ธมฺมา กิเลสา เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ?
[๑๕๗๗] ธรรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสเป็นไฉน?
ยตฺถ เทฺว ตโย กิเลสา เอกโต อุปปฺ ชฺชนฺต;ิ
กิเลส ๒-๓ อย่าง บังเกิดร่วมกันในจิตตุปบาทใด;
อิเม ธมฺมา กิเลสา เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส.
[๑๕๗๘] กตเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ กิเลสา?
763

[๑๕๗๘] ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นไฉน?
Ęเปตฺวา กิเลเส อวเสสํ อกุสลํ;
อกุศลทีเ่ หลือ เว้นกิเลสทัง้ หลายเสีย;
อิเม ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตตฺ เจว โน จ กิเลสา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส.
กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา กิเลสา เจว กิเลสสมฺปยุตตฺ า จาติป,ิ
ธรรมวิปยุตจากกิเลสจะกล่าวว่าธรรมเป็นกิเลส และสัปปยุตด้วยก็ไม่ได้,
กิเลสสมฺปยุตตฺ า เจว โน จ กิเลสาติป.ิ
ว่าเป็นธรรมสัมปปยุตด้วยกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลสก็ไม่ได้.
๘. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ.
[๑๕๗๙] กตเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า สํกเิ ลสิกา?
[๑๕๗๙] ธรรมวิปปยุตจากกิเลส แต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า สํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส.
[๑๕๘๐] กตเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า อสํกเิ ลสิกา?
[๑๕๘๐] ธรรมวิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า อสํกเิ ลสิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลส และไม่เป็นอารมณ์ของ-
สังกิเลส.
กิเลสสมฺปยุตตฺ า ธมฺมา น วตฺตพฺพา กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า สํกเิ ลสิกาติป,ิ
ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลสจะกล่าวว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลส แต่เป็นอารมณ์-
ของสังกิเลสก็ไม่ได้,
กิเลสวิปปฺ ยุตตฺ า อสํกเิ ลสิกาติป.ิ
764

ว่าธรรมวิปปยุตจากกิเลส และไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลสก็ไม่ได้.
กิเลสโคจฉกะจบ.
๑๓. ปิฏฐิทกุ ะ.
๑. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ.
[๑๕๘๑] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา?
[๑๕๘๑] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา.
ธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ.
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
สภาวจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
อิเม ธมฺมา สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา สิยา นทสฺสเนน ปหาตพฺพา
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณก็มี ทีเ่ ป็นธรรม-
อันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณก็ม.ี
[๑๕๘๒] กตเม ธมฺมา นทสฺสเนน ปหาตพฺพา?
[๑๕๘๒] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณเป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ
กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔
กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นทสฺสเนน ปหาตพฺพา.
765

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณ.


๒. ภาวนายปหาตัพพทุกะ.
[๑๕๘๓] กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพา?
[๑๕๘๓] ธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
อิเม ธมฺมา สิยา ภาวนาย ปหาตพฺพา สิยา นภาวนายปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณก็มี ทีเ่ ป็นธรรม
อันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณก็ม.ี
[๑๕๘๔] กตเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพา?
[๑๕๘๔] ธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท จตูสุ
ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
จิตตุปบาทสัมปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา กุศล-
ในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นภาวนายปหาตพฺพา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมอันมรรคเบือ้ งสูง ๓ ไม่ประหาณ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ.
[๑๕๘๕] กตเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๕๘๕] ธรรมมีสมั ปยุตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณเป็นไฉน?
766

จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,


จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โมหํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉาเว้นโมหะทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ.
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตาจิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง;
อิเม ธมฺมา สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา สิยา นทสฺสเนน
ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคประหาณ-
ก็มี ทีเ่ ป็นธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคไม่ประหาณก็ม.ี
[๑๕๘๖] กตเม ธมฺมา น ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๕๘๖] ธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคจะประหาณเป็นไฉน?
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต โมโห,
โมหะทีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ , จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั โสดาปัตติมรรคจะ-
ประหาณ.
767

๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ.
[๑๕๘๗] กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๕๘๗] ธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณเป็นไฉน?
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ โมหํ Ęเปตฺวา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะเว้นโมหะทีบ่ งั เกิดขึน้ ในจิตตุปบาทนีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ.
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัส๒ ดวง;
อิเม ธมฺมา สิยา ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา สิยา นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นธรรมมีสมั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณ-
ก็มี ทีเ่ ป็นธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ ประหาณก็ม.ี
[๑๕๘๘] กตเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา?
[๑๕๘๘] ธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓ จะประหาณเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
อุทธฺ จฺจสหคโต โมโห,
โมหะทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มสี มั ปยุตตเหตุอนั มรรคเบือ้ งสูง ๓
768

จะประหาณ.
๕. สวิตกั กทุกะ.
[๑๕๘๙] กตเม ธมฺมา สวิตกฺกา?
[๑๕๘๙] ธรรมมีวติ กเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลํ, อกุสลํ กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต เอกาทส จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
อกุสลสฺส วิปากโต เทฺว กิรยิ โต เอกาทส,
กามาวจรกุศล อกุศล จิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๑ ดวง ฝ่ายอกุศล-
วิบาก ๒ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๑๑ ดวง,
รูปาวจรํ ปĘมํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รํ ปĘมํ ฌานํ
กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ วิตกฺกํ Ęเปตฺวา;
รูปาวจรปฐมฌานฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบากและกิรยิ า โลกุตตรปฐมฌานฝ่ายกุศล
ฝ่ายวิบาก เว้นวิตกทีบ่ งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สวิตกฺกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีวติ ก.
[๑๕๙๐] กตเม ธมฺมา อวิตกฺกา?
[๑๕๙๐] ธรรมไม่มวี ติ กเป็นไฉน?
เทฺว ปċฺจวิญċ ฺ าณานิ, รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ
กิรยิ โต จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รติก-
จตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ วิตกฺโก จ รูปċฺจ;
ปัญจวิญญาณทัง้ ๒ ฝ่าย ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก
และ ฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๓ และ ๔
ทีเ่ ป็นโลกุตตระฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก วิตก รูป และนิพพาน;
นิพพฺ านċฺจ อิเม ธมฺมา อวิตกฺกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี ติ ก.
๖. สวิจารทุกะ.
[๑๕๙๑] กตเม ธมฺมา สวิจารา?
769

[๑๕๙๑] ธรรมมีวจิ ารเป็นไฉน?


กามาวจรกุสลํ, อกุสลํ, กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต เอกาทส จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
กามาวจรกุศล อกุศล จิตตุปบาทฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๑ ดวง,
อกุสลสฺส วิปากโต เทฺว กิรยิ โต เอกาทส, รูปาวจรเอกทุกชฺฌานา กุสลโต จ
วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รเอกทุกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ
เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ วิจารํ Ęเปตฺวา;
ฌาน ๑ และ ๒ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และกิรยิ า ฌาน ๑-๒
ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นวิจารทีเ่ กิดขึน้ ในจิตตุปบาท-
เหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สวิจารา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีวจิ าร.
[๑๕๙๒] กตเม ธมฺมา อวิจารา?
[๑๕๙๒] ธรรมไม่มวี จิ ารเป็นไฉน?
เทฺว ปċฺจวิญċ ฺ าณานิ, รูปาวจรติกติกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต
จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รติกติกชฺฌานา
กุสลโต จ วิปากโต จ, วิจาโร จ รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
ปัญจวิญญาณทัง้ ๒ ฝ่าย, ฌาน ๓ และ ๓ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก
และฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๓ และ ๓
ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก วิจาร รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อวิจารา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มวี จิ าร.

๗. สัปปีตกิ ะ.
[๑๕๙๓] กตเม ธมฺมา สปฺปตี กิ า?
[๑๕๙๓] ธรรมมีปตี เิ ป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต จตฺตาโร,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ปċฺจ, กิรยิ โต ปċฺจ,
770

จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่าย-


อกุศล ๔ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๕ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๕ ดวง ,
รูปาวจรทุกติกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รทุกติกชฺฌานา
กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ ปีตึ Ęเปตฺวา;
ฌาน ๒ และ ๓ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า, ฌาน ๒
และ ๓ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก เว้นปีตทิ เ่ี กิดในจิตตุปบาทเหล่า-
นีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา สปฺปตี กิ า.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมมีปตี .ิ
[๑๕๙๔] กตเม ธมฺมา อปฺปตี กิ า?
[๑๕๙๔] ธรรมไม่มปี ตี เิ ป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร อุเปกฺขาสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต อฏฺĘ,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต เอกาทส, อกุสลสฺส วิปากโต สตฺต, กิรยิ โต ฉ,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่ายอกุศล
๘ ดวงฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๑ ดวง ฝ่ายอกุศลวิบาก ๗ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๖
ดวง,
รูปาวจรทุกทุกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า
กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รทุกทุกชณานา กุสลา จ วิปากโต
จ, ปีติ จ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
ฌาน ๒ และฌาน ๒ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔
ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๒ และ ๒ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล
และฝ่ายวิบาก ปีติ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อปฺปตี .ิ
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่มปี ตี .ิ
๘. ปีตสิ หคตทุกะ.
[๑๕๙๕] กตเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา?
771

[๑๕๙๕] ธรรมสหรคตด้วยปีตเิ ป็นไฉน?


กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมมสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา, อกุสลโต จตฺตาโร,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ปċฺจ, กริยาโต ปċฺจ,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง ฝ่าย-
อกุศล ๔ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๕ ดวง ฝ่ายกิรยิ า ๕ ดวง,
รูปาวจรทุกทุกติกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รทุกทุก-
ติกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ ปีติ Ęเปตฺวา;
ฌาน ๒ และ ๓ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๒ และ
๓ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก เว้นปีตทิ บ่ี งั เกิดในจิตตุปบาทเหล่านี-้
เสีย;
อิเม ธมฺมา ปีตสิ หคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยปีต.ิ
[๑๕๙๖] กตเม ธมฺมา น ปีตสิ หคตา?
[๑๕๙๖] ธรรมไม่สหรคตด้วยปีตเิ ป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร อุเปกฺขาสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
อกุสลโต อฏĘ,
ฝ่ายอกุศล ๘ ดวง,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต เอกาทส อกุสลสฺส,
ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๑ ดวง,
วิปากโต สตฺต,
ฝ่ายอกุศลวิบาก ๗ ดวง,
กิรยิ โต ฉ,
ฝ่ายกิรยิ า ๖ ดวง,
รูปาวจรทุกทุกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, จตฺตาโร อารุปปฺ า
กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ, โลกุตตฺ รทุกทุกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต
772

จ, ปีติ จ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;


ฌาน ๒ และ ๒ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า อรูป ๔
ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า ฌาน ๒ และ ๒ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล
และฝ่ายวิบาก ปีติ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา น ปีตสิ หคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่สหรคตด้วยปีต.ิ
๙. สุขสหคตทุกะ.
[๑๕๙๗] กตเม ธมฺมา สุขสหคตา?
[๑๕๙๗] ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
อกุสลโต จตฺตาโร,
ฝ่ายอกุศล ๔ ดวง,
กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ฉ,
ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๖ ดวง,
กิรยิ โต ปċฺจ,
ฝ่ายกิรยิ า ๕ ดวง,
รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศลฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
โลกุตตฺ รติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ สุขํ Ęเปตฺวา;
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นสุขเวทนาที-่
บังเกิดในจิตตุปบาทเหล่านี;้
อิเม ธมฺมา สุขสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา.
[๑๕๙๘] กตเม ธมฺมา น สุขสหคตา?
[๑๕๙๘] ธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนาเป็นไฉน?
773

กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร อุเปกฺขาสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,


จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
อกุสลโต อฏฺĘ, กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ทส, อกุสลสฺส วิปากโต สตฺต,
กิรยิ โต ฉ,
ฝ่ายอกุศล ๘ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๐ ดวง ฝ่ายอกุศลวิบาก ๗ ดวง
ฝ่ายกิรยิ า ๖ ดวง,
รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
รูปาวจรจตุตถฌานฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
โลกุตตฺ รํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ, สุขċฺจ, รูปċฺจ นิพพฺ านċฺจ;
โลกุตตรจตุตถฌานฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก สุขเวทนา รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา นสุขสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนา.
๑๐. อุเปกขาสหคตทุกะ.
[๑๕๙๙] กตเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา?
[๑๕๙๙] ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร อุเปกฺขาสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
อกุสลโต ฉ, กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ทส, อกุสลสฺส วิปากโต ฉ, กิรยิ โต
ฉ,
ฝ่ายอกุศล ๖ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๑๐ ดวง ฝ่ายกุศลวิบาก ๖ ดวง
ฝ่ายกิรยิ า ๖ ดวง,
รูปาวจรํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
รูปาวจรจตุตถฌานฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
774

อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,


โลกุตตฺ รํ จตุตถฺ ํ ฌานํ กุสลโต จ วิปากโต จ เอตฺถปุ ปฺ นฺนํ อุเปกฺขํ Ęเปตฺวา;
โลกุตตรจตุตถฌานฝ่ายกุศล และฝ่ายวิบาก เว้นอุเบกขาเวทนาทีบ่ งั เกิดใน-
จิตตุปบาทเหล่านีเ้ สีย;
อิเม ธมฺมา อุเปกฺขาสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา.
[๑๖๐๐] กตเม ธมฺมา น อุเปกฺขาสหคตา?
[๑๖๐๐] ธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นไฉน?
กามาวจรกุสลโต จตฺตาโร โสมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโสมนัสสเวทนาฝ่ายกามาวจรกุศล ๔ ดวง,
อกุสลโต ฉ, กามาวจรกุสลสฺส วิปากโต ฉ, อกุสลสฺส วิปากโต เอโก, กิรยิ โต
ปċฺจ,
ฝ่ายอกุศล ๖ ดวง ฝ่ายกามาวจรกุศลวิบาก ๖ ดวง ฝ่ายอกุศลวิบาก ๑ ดวง
ฝ่ายกิรยิ า ๕ ดวง,
รูปาวจรติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ,
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า,
โลกุตตฺ รติกจตุกกฺ ชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ, อุเปกฺขา จ, รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
ฌาน ๓ และ ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ ฝ่ายกุศลและฝ่ายวิบาก อุเบกขาเวทนา รูป
และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา น อุเปกฺขาสหคตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา.
๑๑. กามาวจรทุกะ.
[๑๖๐๑] กตเม ธมฺมา กามาวจรา?
[๑๖๐๑] กามาวจรธรรม เป็นไฉน?
กามาวจรกุสลํ อกุสลํ สพฺโพ กามาวจรสฺส วิปาโก กามาวจรกิรยิ าพฺยากตํ
775

สพฺพċฺจ รูป;ํ
กามาวจรกุศล อกุศล วิบากแห่งกามาวจรทัง้ หมด กามาวจรกิรยิ า อัพยากฤต
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา กามาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ากามาวจรธรรม.
[๑๖๐๒] กตเม ธมฺมา น กามาวจรา?
[๑๖๐๒] ธรรมไม่เป็นกามาวจรเป็นไฉน?
รูปาวจรา อรูปาวจรา, อปริยาปนฺนา;
รูปาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ;
อิเม ธมฺมา น กามาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นกามาวจร.
๑๒. รูปาวจรทุกะ.
[๑๖๐๓] กตเม ธมฺมา รูปาวจรา?
[๑๖๐๓] รูปาวจรธรรมเป็นไฉน?
รูปาวจรจตุกกฺ ปċฺจกชฺฌานา กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ;
ฌาน ๔ และ ๕ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และฝ่ายกิรยิ า;
อิเม ธมฺมา รูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่ารูปาวจรธรรม.
[๑๖๐๔] กตเม ธมฺมา น รูปาวจรา?
[๑๖๐๔] ธรรมไม่เป็นรูปาวจรเป็นไฉน?
กามาวจรา อรูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
กามาวจร อรูปาวจร โลกุตตระ;
อิเม ธมฺมา น รูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นรูปาวจร.
๑๓. อรูปาวจรทุกะ.
[๑๖๐๕] กตเม ธมฺมา อรูปาวจรา?
776

[๑๖๐๕] อรูปาวจรธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร อารุปปฺ า กุสลโต จ วิปากโต จ กิรยิ โต จ;
อรูป ๔ ฝ่ายกุศล ฝ่ายวิบาก และกิรยิ า;
อิเม ธมฺมา อรูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอรูปาวจรธรรม.
[๑๖๐๖] กตเม ธมฺมา น อรูปาวจรา?
[๑๖๐๖] ธรรมไม่เป็นอรูปาวจรเป็นไฉน?
กามาวจรา รูปาวจรา อปริยาปนฺนา;
กามาวจร รูปาวจร โลกุตตระ;
อิเม ธมฺมา น อรูปาวจรา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าธรรมไม่เป็นอรูปาวจร.
๑๔. ปริยาปันนทุกะ.
[๑๖๐๗] กตเม ธมฺมา ปริยาปนฺนา?
[๑๖๐๗] ปริยาปันนธรรม เป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, อกุสลํ, ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ
รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา ปริยาปนฺนา
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าปริยาปันนธรรม.
[๑๖๐๘] กตเม ธมฺมา อปริยาปนฺนา?
[๑๖๐๘] อปริยาปันนธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา, จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อปริยาปนฺนา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอปริยาปันนธรรม.
777

๑๕. นิยยานิกทุกะ.
[๑๖๐๙] กตเม ธมฺมา นิยยฺ านิกา?
[๑๖๐๙] นิยยานิกธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา;
มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ;
อิเม ธมฺมา นิยยฺ านิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่านิยยานิกธรรม.
[๑๖๑๐] กตเม ธมฺมา อนิยยฺ านิกา?
[๑๖๑๐] อนิยยานิกธรรมเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ. อกุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป
และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนิยยฺ านิกา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนิยยานิกธรรม.
๑๖. นิยตทุกะ.
[๑๖๑๑] กตเม ธมฺมา นิยตา?
[๑๖๑๑] นิยตธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตสมฺปยุตตฺ า จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ มั ปยุตด้วยทิฏฐิ ๔ ดวง,
เทฺว โทมนสฺสสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา;
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ๒ ดวง,
อิเม ธมฺมา สิยา นิยตา, สิยา อนิยตา, จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา;
สภาวธรรมเหล่านีท้ เ่ี ป็นนิยตธรรมก็มี ทีเ่ ป็นอนิยตธรรมก็มี มรรค ๔
ทีเ่ ป็นโลกุตตระ;
อิเม ธมฺมา นิยตา.
778

สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่านิยตธรรม.


[๑๖๑๒] กตเม ธมฺมา อนิยตา?
[๑๖๑๒] อนิยตธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร ทิฏĘฺ คิ ตวิปปฺ ยุตตฺ โลภสหคตา จิตตฺ ปุ ปฺ าทา,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะวิปปยุตจากทิฏฐิ ๔ ดวง,
วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยวิจกิ จิ ฉา,
อุทธฺ จฺจสหคโต จิตตฺ ปุ ปฺ าโท,
จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจะ,
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๓ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อนิยตา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนิยตธรรม.
๑๗. สอุตตรทุกะ.
[๑๖๑๓] กตเม ธมฺมา สอุตตฺ รา?
[๑๖๑๓] สอุตตรธรรมเป็นไฉน?
ตีสุ ภูมสี ุ กุสลํ อกุสลํ ตีสุ ภูมสี ุ วิปาโก ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ สพฺพċฺจ
รูป;ํ
กุศลในภูมิ ๓ อกุศล วิบากในภูมิ ๓ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓
และรูปทัง้ หมด;
อิเม ธมฺมา สอุตตฺ รา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสอุตตรธรรม.
[๑๖๑๔] กตเม ธมฺมา อนุตตฺ รา?
[๑๖๑๔] อนุตตรธรรมเป็นไฉน?
จตฺตาโร มคฺคา อปริยาปนฺนา จตฺตาริ จ สามċฺċผลานิ นิพพฺ านċฺจ;
779

มรรค ๔ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ สามัญญผล ๔ และนิพพาน;


อิเม ธมฺมา อนุตตฺ รา.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอนุตตรธรรม.
๑๘. สรณทุกะ.
[๑๖๑๕] กตเม ธมฺมา สรณา?
[๑๖๑๕] สรณธรรมเป็นไฉน?
ทฺวาทส อกุสลจิตตฺ ปุ ปฺ าทา; อิเม ธมฺมา สรณา
อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ ดวง สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าสรณธรรม.
[๑๖๑๖] กตเม ธมฺมา อรณา?
[๑๖๑๖] อรณธรรมเป็นไฉน?
จตูสุ ภูมสี ุ กุสลํ, จตูสุ ภูมสี ุ วิปาโก, ตีสุ ภูมสี ุ กิรยิ าพฺยากตํ รูปċฺจ
นิพพฺ านċฺจ;
กุศลในภูมิ ๔ วิบากในภูมิ ๔ กิรยิ าอัพยากฤตในภูมิ ๓ รูป และนิพพาน;
อิเม ธมฺมา อรณาติ.
สภาวธรรมเหล่านีช้ อ่ื ว่าอรณธรรม.
ปิฏฐิทกุ ะจบ.
อตฺถทุ ธโร นิฏĘฺ โิ ต.
ทุกอัตถุทธาระจบ.
ธมฺมสํคณิปปฺ กรณํ นิฏĘฺ ติ .ํ
ธัมมสังคณีปกรณ์จบ.

สัพพปัตติทานคาถา
ปุċċ
Ň สฺสทิ านิ กตสฺส ยานċฺċานิ กตานิ เม
เตสċŇจ ภาคิโน โหนฺตุ สตฺตานนฺตาปฺปมาณกา,
สัตวฺทง้ั หลายไม่มที ส่ี ดุ ไม่มปี ระมาณ, จงมีสว่ นแห่งบุญทีข่ า้ พเจ้าได้ทำในบัดนี,้
780

และแห่งบุญอืน่ ทีไ่ ด้ทำไว้กอ่ นแล้ว;


เย ปิยา คุณวนฺตา จ มยฺหํ มาตาปิตาทโย
ทิฏĘฺ า เม จาปยทิฏĘฺ า วา อċฺเċ มชฺฌตฺตเวริโน,
คือจะเป็นสัตว์เหล่าใด, ซึง่ เป็นทีร่ กั ใคร่และมีบญ ุ คุณ, เช่นมารดาบิดาของข้าพเจ้า
เป็นต้นก็ด;ี ทีข่ า้ พเจ้าเห็นแล้วหรือไม่ได้เห็นก็ด;ี สัตว์เหล่าอืน่ ทีเ่ ป็นกลาง ๆ
หรือเป็นคูเ่ วรกันก็ด;ี
สตฺตา ติฏĘฺ นฺติ โลกสฺมึ เต ภุมมฺ า จตุโยนิกา
ปċฺเจกจตุโวการา สงฺสรนฺตา ภวาภเว,
สัตว์ทง้ั หลายตัง้ อยูใ่ นโลก; อยูใ่ นภูมทิ ง้ั สาม; อยูใ่ นกำเนิดทัง้ สี;่ มีขนั ธ์หา้ ขันธ์
มีขนั ธ์ขนั ธ์เดียว มีขนั ธ์สข่ี นั ธ์; กำลังท่องเทีย่ วอยูใ่ นภพน้อยภพใหญ่กด็ ;ี
ċฺาตํ เย ปตฺตทิ านมฺเม อนุโมทนฺตุ เต สยํ
เย จิมํ นปฺปชานนฺติ เทวา เตสํ นิเวทยุ,ํ
สัตว์เหล่าใดรูส้ ว่ นบุญทีข่ า้ พเจ้าแผ่ให้แล้ว; สัตว์เหล่านัน้ จงอนุโมทนาเองเถิด;
ส่วนสัตว์เหล่าใดยังไม่รสู้ ว่ นบุญนี้ ขอเทวดาทัง้ หลายจงบอกสัตว์เหล่านัน้ ให้ร;ู้
มยา ทินนฺ าน ปุċċ ฺ านํ อนุโมทนเหตุนา
สพฺเพ สตฺตา สทา โหนฺตุ อเวรา สุขชีวโิ น
เขมปฺปทċฺจ ปปฺโปนฺตุ เตสาสา สิชฌ ฺ ตํ สุภา.
เพราะเหตุทไ่ี ด้อนุโมทนาส่วนบุญทีข่ า้ พเจ้าแผ่ให้แล้ว; สัตว์ทง้ั หลายทัง้ ปวงจงเป็น-
ผูไ้ ม่มเี วรอยูเ่ ป็นสุขทุกเมือ่ ; จนถึงบทอันเกษมกล่าว คือ พระนิพพาน;
ความปรารถนาทีด่ งี ามของสัตว์เหล่านัน้ จงสำเร็จเถิด.

ปตฺตทิ านคาถา
ยา เทวตา สนฺติ วิหารวาสิน;ี ถูเป ฆเร โพธิฆเร ตหึ ตหึ,
เทวดาเหล่าใดมีปรกติอยูใ่ นวิหาร, สิงสถิตทีเ่ รือนสถูป ทีเ่ รือนโพธิต์ ลอด ณ
ทีแ่ ห่งนัน้ ,
781

ตา ธมฺมทาเนน ภวนฺตุ ปูชติ า; โสตฺถึ กโรนฺเตน วิหารมณฺฑเล,


เทวดาเหล่านัน้ เป็นผูอ้ นั เราบูชาแล้วด้วยธรรมทาน, ขอจงทำซึง่ ความสวัสดีความ-
เจริญ ในมณฑลวิหารนี,้
เถรา จ มชฺฌา นวกา จ ภิกขฺ โว; สารามิกา ทานปตี อุปาสกา,
ภิกษุทง้ั หลายทีเ่ ป็นเถระก็ดี ทีเ่ ป็นปานกลางก็ดี ทีเ่ ป็นผูบ้ วชใหม่กด็ ี อุบาสก
อุบาสิกาทัง้ หลายทีเ่ ป็นทานบดีพร้อมทัง้ อารามิกชนก็ด,ี
คามา จ เทสา นิคมา จ อิสสฺ รา; สปฺปาณภูตา สุขติ า ภวนฺตุ เต,
ชนทัง้ หลายเหล่าใดทีเ่ ป็นชาวบ้านก็ดี ทีเ่ ป็นชาวต่างประเทศก็ดี ทีเ่ ป็นชาวนิคมก็ดี
ทีเ่ ป็นอิสระเป็นใหญ่กด็ ี ขอชนทัง้ หลายเหล่านัน้ จงมีความสุขเถิด,
ชลาพุช เยปิ จ อณฺฑสมฺภวา; สงฺเสทชาตา อถโวปปาติกา,
สัตว์ทง้ั หลายทีเ่ ป็นชลาพุชะกำเนิดก็ดี ทีเ่ ป็นอัณฑชะกำเนิดก็ดี ทีเ่ ป็นสังเสทชะกำ-
เนิดก็ดี ทีเ่ ป็นอุปปาติกะกำเนิดก็ด,ี
นิยยฺ านิกํ ธมฺมวรํ ปฏิจจฺ เต; สพฺเพปิ ทุกขฺ สฺส กโรนฺตุ สงฺขยํ,
สัตว์ทง้ั หลายทัง้ ปวงเหล่านัน้ ได้อาศัยแล้วซึง่ ธรรมอันประเสริฐ เป็นนิยานิกธรรม
ประกอบในอันนำผูป้ ฏิบตั ใิ ห้ออกไปจากทุกข์ จงกระทำซึง่ ความสิน้ ไปแห่ง-
ทุกข์เถิด,
Ęาตุ จิรํ สตํ ธมฺโม ธมฺมทฺธรา จ ปุคคฺ ลา,
ขอธรรมของสัตบุรษุ ทัง้ หลายจงตัง้ อยูน่ าน ขอบุคคลผูท้ รงไว้ซง่ึ พระธรรมจงดำรง-
อยูน่ าน,
สํโฆ โหตุ สมคฺโค ว อตฺถาย จ หิตาย จ,
ขอพระสงฆ์จงมีความสามัคคีพร้อมเพรียงกัน ในอันทำซึง่ ประโยชน์และสิง่ เกือ้ -
กูลเถิด,
อมฺเห รกฺขตุ สทฺธมฺโม สพฺเพปิ ธมฺมจาริโน,
ขอพระธรรมจงรักษาไว้ซง่ึ เราทัง้ หลาย แล้วจงรักษาไว้ซง่ึ บุคคลผูป้ ระพฤติธรรม-
ทัง้ ปวง,
วุฑฒ ฺ ึ สมฺปาปุเณยฺยาม ธมฺเม อริยปฺปเวทิเต,
782

ขอเราทัง้ หลายพึงถึงพร้อมซึง่ ความเจริญในธรรมทีพ่ ระอริยเจ้าได้ประกาศไว้ดแี ล้ว,


ปสนฺนา โหนฺตุ สพฺเพปิ ปาณิโน พุทธฺ สาสเน,
ขอสรรพสัตว์ทง้ั หลายทัง้ ปวงจงเป็นผูเ้ ลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา,
สมฺมา ธารํ ปเวจฺฉนฺโต กาเล เทโว ปวสฺสตุ,
ขอฝนทัง้ หลายจงตกต้องตามฤดูกาล,
วุฑฒ ฺ ิ ภาวาย สตฺตานํ สมิทธฺ ํ เนตุ เมทนึ,
ขอฝนจงนำความสำเร็จมาสูพ่ น้ื ปฐพี เพือ่ ความเจริญแก่สตั ว์ทง้ั หลาย,
มาตา ปิตา จ อตฺรชํ นิจจฺ ํ รกฺขนฺติ ปุตตฺ กํ,
มารดาและบิดารักษาบุตรทีเ่ กิดในตนเป็นนิจ ฉันใด,
เอวํ ธมฺเมน ราชาโน ปชํ รกฺขนฺตุ สพฺพทา;
ขอพระราชาจงปกครองประชาชนโดยชอบธรรมในกาลทุกเมือ่ ฉันนัน้ ตลอดกาล-
นาน เทอญ;
ปฏฺĘนĘปนคาถา
ยนฺทานิ เม กตํ ปุċċ ฺ ํ เตนาเนนุททฺ เิ สน จ
ขิปปฺ ํ สจฺฉกิ เรยฺยาหํ ธมฺเม โลกุตตฺ เร นว.
บุญใดทีข่ า้ พเจ้าได้ทำในบัดนี้ เพราะบุญนัน้ และการอุทศิ แผ่สว่ นบุญนัน้ ; ขอให้-
ข้าพเจ้าทำให้แจ้งซึง่ โลกุตตรธรรมเก้าในทันที.
สเจ ตาว อภพฺโพหํ สงฺสาเร ปน สงฺสรํ
ถ้าข้าพเจ้าเป็นผูอ้ าภัพอยู่ ยังต้องท่องเทีย่ วไปในวัฏฏสงสาร;
นิยโต โพธิสตฺโตว สมฺพทุ เฺ ธน วิยากโต
นาฏฺĘารสปิ อาภพฺพ Ęานานิ ปาปุเณยฺยหํ.
ขอให้ขา้ พเจ้าเป็นเหมือนโพธิสตั ว์ผเู้ ทีย่ งแท้ ได้รบั พยากรณ์แต่พระพุทธเจ้าแล้ว;
ไม่ถงึ ฐานะแห่งความอาภัพ ๑๘ อย่าง;
ปċฺจเวรานิ วชฺเชยฺยํ รเมยฺยํ สีลรกฺขเน
ปċฺจกาเม อลคฺโคหํ วชฺเชยฺยํ กามปํกโต.
ข้าพเจ้าพึงเว้นจากเวรทัง้ ห้า; พึงยินดีในการรักษาศีล; ไม่เกาะเกีย่ วในกามคุณทัง้ ห้า;
783

พึงเว้นจากเปือกตมกล่าวคือ กาม.
ทุททฺ ฏิ Ęฺ ยิ า น ยุชเฺ ชยฺยํ สงฺยชุ เฺ ชยฺยํ สุทฏิ Ęฺ ยิ า
ปาเป มิตเฺ ต น เสเวยฺยํ เสเวยฺยํ ปณฺฑเิ ต สทา.
ขอให้ขา้ พเจ้าไม่พงึ ประกอบด้วยทิฏฐิชว่ั ; พึงประกอบในทิฏฐิทด่ี งี าม; ไม่พงึ คบ-
มิตรชัว่ พึงคบแต่บณ ั ฑิตทุกเมือ่ .
สทฺธาสติหโิ รตฺตปฺปา ตาปกฺขนฺตคิ ณ ุ ากโร
อปฺปสยฺโห ว สตฺตหู ิ เหยฺยํ อมนฺทมุยหฺ โก.
ขอให้ขา้ พเจ้าเป็นบ่อเกิดแห่งคุณ คือ ศัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ ความเพียร
และขันติ; พึงเป็นผูท้ ศ่ี ตั รูครอบงำไม่ได้; ไม่เป็นคนเขลาคนหลงงมงาย.
สพฺพายาปายุปาเยสุ เฉโก ธมฺมตฺถโกวิโท
เċยฺเย วตฺตตฺวสชฺชํ เม ċาณํ อเฆว มาลุโต.
ขอให้ขา้ พเจ้าเป็นผูฉ้ ลาดในอุบายแห่งความเสือ่ มและความเจริญ; เป็นผูเ้ ฉียบแหลม-
ในอรรถและธรรม; ขอให้ญาณของข้าพเจ้าเป็นไปไม่ขอ้ งขัดในธรรมทีค่ วรรู้
ดุจลมพัดไปในอากาศ ฉะนัน้ .
ยา กาจิ กุสลา มฺยาสา สุเขน สิชฌ ฺ ตํ สทา
เอวํ วุตตฺ า คุณา สพฺเพ โหนฺตุ มยฺหํ ภเว ภเว.
ความปรารถนาใด ๆ ของข้าพเจ้าทีเ่ ป็นกุศล ขอให้สำเร็จโดยง่ายทุกเมือ่ ; คุณทีข่ า้ พ-
เจ้ากล่าวมาแล้วทัง้ ปวงนีจ้ งมีแก่ขา้ พเจ้าทุก ๆ ภพ.
ยทา อุปปฺ ชฺชติ โลเก สมฺพทุ โฺ ธ โมกฺขเทสโก
ตทา มุตโฺ ต กุกมฺเมหิ ลทฺโธกาโส ภเวยฺยหํ.
เมือ่ ใดพระสัมพุทธเจ้าผูแ้ สดงธรรมเครือ่ งพ้นจากทุกข์เกิดขึน้ แล้วในโลก; เมือ่ นัน้ -
ขอให้ขา้ พเจ้าพ้นจากกรรมอันชัว่ ช้าทัง้ หลาย; เป็นผูไ้ ด้โอกาสแห่งการบรรลุธรรม.
มนุสสฺ ตฺตċฺจ ลิงคฺ ċฺจ ปพฺพชฺชċฺจปุ สมฺปทํ
ลภิตวฺ า เปสโล สีลี ธาเรยฺยํ สตฺถสุ าสนํ.
ขอให้ขา้ พเจ้าพึงได้ความเป็นมนุษย์; ได้เพศบริสทุ ธิ;์ ได้บรรพชาอุปสมบทแล้ว-
เป็นคนรักศีลมีศลี ; ทรงไว้ซง่ึ พระศาสนาของพระศาสดา.
สุขาปฏิปโท ขิปปฺ า ภิċโฺ ċ สจฺฉกิ เรยฺยหํ
784

อรหตฺตผลํ อคฺคํ วิชชฺ าทิคณ


ุ ลงฺกตํ.
ขอให้ขา้ พเจ้าเป็นผูม้ กี ารปฏิบตั โิ ดยสะดวกตรัสรูไ้ ด้พลัน; กระทำให้แจ้งซึง่ อรหัต-
ตผลอันเลิศ; อันประดับด้วยธรรมมีวชิ ชาเป็นต้น.
ยทิ นุปปฺ ชฺชติ พุทโฺ ธ กมฺมํ ปริปรู ċฺจ เม
เอวํ สนฺเต ลเภยฺยาหํ ปจฺเจกโพธิมตุ ตฺ มนฺ ติ.
ถ้าหากพระพุทธเจ้าไม่บงั เกิดขึน้ แต่กศุ ลกรรมของข้าพเจ้าเต็มเปีย่ มแล้ว;
เมือ่ เป็นเช่นนัน้ ขอให้ขา้ พเจ้าพึงได้ญาณเป็นเครือ่ งรูเ้ ฉพาะตนอันสูงสุดเทอญ.

You might also like