Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

4

การลดความชื้นเมล็ดพันธุ (Seed Drying)

ขอบเขตความรูทั่วไป
ความชืน้ เมล็ดพันธุ คือปริมาณน้ําที่มีอยูในเมล็ดพันธุ โดยธรรมชาตินา้ํ เปนองคประกอบ
สวนหนึง่ ที่อยูใ นเมล็ดพันธุ เริ่มจากการพัฒนาของเมล็ดพันธุจากไขที่ไดรับการผสมแลว สวนประกอบของ
น้ําจะมีอยูสงู มาก ตอเมื่อขบวนการสรางเมล็ดพันธุดําเนินการไป มีการสะสมอาหารแหง (Dry Matter)
เพิ่มมากขึ้น ปริมาณน้าํ หรือความชืน้ ในเมล็ดนั้นจะคอย ๆ ลดลงตามลําดับ จนกระทั่งการพัฒนาของ
เมล็ดสิ้นสุดลง เมล็ดพันธุจะสุกแกทางสรีรวิทยา (Physiological Maturity) ณ จุดนีเ้ มล็ดพันธุไดมีการ
สะสมอาหารแหงสูงสุดแลว โดยที่ปริมาณความชืน้ ยังคงมีระดับสูง และหลังจากนัน้ ระดับความชืน้ ใน
เมล็ดพันธุจะเปลี่ยนแปลงตามสภาวะบรรยากาศ ทั้งนี้เพื่อรักษาระดับคงที่เมื่อเขาสูสมดุลกับบรรยากาศ
นั้น (Equilibrium Moisture Content) ทั้งนี้ขึ้นอยูก ับปจจัยตาง ๆ คือ ชนิดเมล็ดพันธุ , ความชื้นสัมพัทธ
และอุณหภูมิ
5

พัฒนาการของเมล็ดพันธุ (Seed Development) จะสิ้นสุดลงเมื่อเมล็ดพันธุถ ึงสภาวะ


สุกแกทางสรีรวิทยา ซึ่ง ณ ขณะนั้นเมล็ดพันธุจะมีสุขภาพและความมีชีวิต ทัง้ ความงอก (Germination)
และความแข็งแรง (Vigor) สูงที่สุด จากนัน้ จะถือเปนระยะการเก็บรักษาจนกวาจะมีการนําไปใชปลูก
การเสื่อมคุณภาพของเมล็ด (Seed Deterioration) พรอมที่จะเกิดขึ้นไดทุกขณะตลอดชวงระยะเวลานัน้
โดยที่ระดับความชื้นของเมล็ดพันธุเปนปจจัยอันหนึง่ ทีม่ คี วามสําคัญอยางยิ่งตออัตราเสื่อมคุณภาพของ
เมล็ดพันธุในระหวางนัน้ ความชื้นเมล็ดพันธุยงิ่ สูงอัตราการเสื่อมคุณภาพยิง่ รุนแรง ความสําคัญเรื่อง
ความชืน้ เมล็ดพันธุตอการเสือ่ มคุณภาพนี้ มีการประเมินความรุนแรงในการเสื่อมคุณภาพไววา “ทุก ๆ
ระดับความชืน้ ของเมล็ดพันธุท ี่ลดลง 1 % อายุการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุจะเพิม่ ขึ้นเปนทวีคูณ” หรือ
ในทางตรงกันขาม หากความชื้นเพิ่มขึ้น 1 % อายุการเก็บรักษาจะลดลงทวีคูณ เชนกัน
เนื่องจากความชื้นของเมล็ดพันธุเ ปนปจจัยสําคัญทีท่ ําใหเมล็ดเสื่อมคุณภาพที่สาํ คัญ
ที่สุด โดยเมล็ดพันธุท ี่เก็บเกีย่ วใหม ๆ ในขณะที่ยงั มีระดับความชืน้ สูง จําเปนที่จะตองลดระดับความชื้นให
เร็วที่สุดเทาทีจ่ ะกระทําได เมล็ดพันธุท่เี ก็บเกี่ยวในขณะที่ยงั มีความชื้นสูงเมื่อนํามากองรวมกันหรือบรรจุ
รวมกันมาก ๆ ความชืน้ ที่สงู จะเปนสาเหตุสําคัญทําใหเกิดความเสียหายเนื่องจากเมล็ดพันธุเปนสิ่งทีย่ ังมี
ชีวิต จึงตองมีขบวนการ metabolism เกิดขึ้นอยูเสมอ ขบวนการทางชีวเคมีภายในเมล็ดยังคงดําเนินอยู
ที่สําคัญคือ ขบวนการหายใจ ซึ่งเปนขบวนการที่นาํ เอาออกซิเจนจากอากาศไปสันดาปกับโมเลกุลของ
สารประกอบคารโบไฮเดรท (CHO) แลวปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) น้าํ และความรอนออกมา
ดังสมการเคมี
C6H12O6 + 6O2 ------------------------- 6CO2 + 6H2O + 673 Kcal (ความรอน)

การหายใจของเมล็ดมีความสัมพันธกับความชื้นของเมล็ด ยิ่งเมล็ดมีความชืน้ สูง ยิง่ ทําให


อัตราการหายใจของเมล็ดสูงขึ้น ทําใหอาหารที่สะสมไวในเมล็ดจะถูกนํามายอยสลายเปลี่ยนไปเปน
พลังงานและความรอน น้ําหนักของเมล็ดจะลดลงและมีการเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้น รวมทั้งเกิดความรอน
สะสมในกองเมล็ดเพิ่มมากขึ้น ทําใหเกิด CO2 , H2O และพลังงาน CO2 เปนพิษตอเมล็ด ทําใหเมล็ดมี
อายุสั้นลง น้าํ และความรอนเรงการสลายตัวของสารเคมีในเมล็ดใหเร็วขึ้น เมล็ดจึงเสื่อมความมีชีวิตลง
อยางรวดเร็ว ขอบเขตของอุณหภูมิซึ่งทําลายความงอกเกือบทัง้ หมด และการทําลายทั้งหมดนัน้ แคบมาก
สําหรับเมล็ดทีม่ ีความชืน้ 25% เมล็ดจะถูกทําลายความงอกเกือบหมดที่ 50๐C และความงอกจะถูก
ทําลายทั้งหมดโดยสิ้นเชิงที่ 61๐C แตสําหรับเมล็ดที่มีความชื้น 11% อุณหภูมิทที่ ําลายความงอกเกือบ
ทั้งหมดและทําลายอยางสมบูรณ คือ 64๐C และ 73๐C ตามลําดับ สภาพทีเ่ หมาะสมซึ่งทําใหเมล็ดมีชีวิต
อยูไดนานคือ สภาพซึ่งทําใหอัตราของ metabolism ในเมล็ดดําเนินไปอยางชา ๆ นัน่ คือในทางปฏิบตั ิตอง
ใหเมล็ดมีความชื้นต่ําและอยูในทีเ่ ย็น
6

ความชืน้ ในเมล็ดพันธุ (Seed Moisture Content) คือ ปริมาณของน้าํ ที่แทรกซึมอยูต าม


สวนตาง ๆ ของเมล็ด มีหนวยวัดเปนอัตราสวนรอยละของน้าํ หนักน้ําทีอ่ ยูในเมล็ดพันธุ ตอน้ําหนักมวลรวม
ของเมล็ดพันธุน ั้น (น้าํ หนักฐานเปยก) คํานวณไดจาก

ความชื้นของเมล็ด (%) = นน.ของน้ําที่มีอยูในเมล็ด X 100


นน.ทั้งหมดของเมล็ด
หรือ ความชื้นของเมล็ด (%) = (นน.เมล็ดกอนอบ – นน.เมล็ดหลังอบ) X 100
นน.เมล็ดกอนอบ

สารองคประกอบในเมล็ดพันธุ สวนใหญมีคุณสมบัติเปนสารไฮโกรสโคปก
(Hygroscopic) ที่สามารถเปลี่ยนแปลงระดับความชืน้ และควบคุมระดับความชืน้ คงที่ไดตามสภาพ
บรรยากาศที่อยู เมล็ดพันธุตา งชนิดหรืออยูต างบรรยากาศกัน จะรักษาระดับความชืน้ คงที่ตางกัน เรียก
ระดับความชืน้ ของเมล็ดพันธุตามเงื่อนไขนี้วา ความชืน้ สมดุลของเมล็ดพันธุ (Seed Equilibrium
Moisture Content)
ตารางแสดงความชืน้ สมดุลของเมล็ดพันธุท ี่ระดับความชื้นสัมพัทธตา ง ๆ ณ อุณหภูมิ 25๐C
พืช ความชืน้ สัมพัทธ (%)
15 30 45 60 75 90
ขาว 5.6 7.9 9.8 11.8 14.0 17.6
ขาวโพด 6.5 8.4 10.5 12.9 14.8 19.1
ขาวฟาง 6.4 8.6 10.5 12.0 15.2 18.8
ถั่วเหลือง 4.3 6.5 7.4 9.3 13.1 18.8
ถั่วลิสง 2.6 4.2 5.6 7.2 9.8 13.0
ที่มา : Conditioned Storage of Seed, Welch and Delouche, MSU. 1974.
หมายเหตุ จากตารางประมาณคาเปลี่ยนแปลงเนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจากจุดกําหนด (25๐C) ทุก ๆ 5.5๐C
(10๐F) เพิ่มขึ้น หรือ ลดลง ความชื้นสมดุลของเมล็ดพันธุ ที่ระดับนั้นจะลดลงหรือเพิ่มขึ้น 1% ตามลําดับ
7

กลาวไดวา ความชื้นสมดุลของเมล็ด (Equilibrium Moisture Content) คือความชืน้ ของ


เมล็ดที่จะเขาสูสมดุลกับสภาพอากาศรอบ ๆ เมล็ด ความชื้นเมล็ดจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามการ
เปลี่ยนแปลงของความชื้นสัมพัทธของอากาศเปนสําคัญ นัน่ คือเมื่อความชืน้ สัมพัทธสูงขึน้ เมล็ดก็จะดูด
ความชืน้ จนกระทั่งความชืน้ ในเมล็ดเขาสูส มดุลกับความชื้นสัมพัทธของอากาศ ในทํานองเดียวกัน เมื่อ
ความชืน้ สัมพัทธของอากาศต่ําลง เมล็ดก็จะคายความชืน้ ออกสูบรรยากาศ จนกระทัง่ เกิดความสมดุล
ระหวางความชื้นในเมล็ดและความชืน้ สัมพัทธของ % MC
อากาศ
การรักษาระดับความชืน้ สมดุลกับบรรยากาศที่เก็บ
รักษาเดียวกัน อาจพบวามีความแตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูก บั
ทิศทางการเขาสูสมดุล เมล็ดพันธุเมื่ออยูในสถานะคาย
ความชืน้ ใหกบั บรรยากาศ (Desorption) จะมีระดับ Time
ความชืน้ สมดุลสูงกวาเมื่ออยูในสถานะดูดความชืน้ จาก ภาพแสดงทิ ศทางการเข า สู ร
 ะดั บ ความชื น
้ สมดุ ล
บรรยากาศ (Absorption) ปรากฏการณนเี้ รียกวา ของเมล็ดพันธุจากปรากฏการณ Hysteresis

Hysteresis

ความชืน้ เมล็ดจะเปลี่ยนแปลงไปตามความชื้น
สัมพัทธของอากาศ แตมิไดเปลี่ยนแปลงอยางทันที
ทันใด เปนเรื่องที่ตองใชเวลา ซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของ
เมล็ดพืช เมล็ดหญาขนาดเล็กใชเวลา 3-5 วัน ในการ
เขาสูสมดุลกับความชืน้ สัมพัทธระดับ 80% สวนเมล็ด
ถั่วขนาดเล็กใชเวลาประมาณ 4 สัปดาห ในการเขาสู
สมดุลกับความชื้นสัมพัทธระดับดังกลาว เมล็ดถั่วมี
ความชืน้ เขาสูส มดุลหลังจากเก็บไว 1 เดือน ในสภาพ
ภาพแสดงความสัมพันธระหวางความชื้นสัมพัทธ
ของอากาศกับความชื้นของเมล็ดพันธุเฉลี่ย 10 ชนิด
ที่มีความชืน้ สัมพัทธตั้งแต 20-60 % แตเมล็ดหญาใช
เวลาเพียง 1 สัปดาหในการเขาสูสมดุลกับความชืน้
สัมพัทธระดับ 42-70 %

You might also like