Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 22

ทวีปอเมริกาใต้ (South America)

ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่ส่วนใหญ่อย่่ทางซีกโลกใต้ เป็ นดินแดนที่อุดม


สมบ่รณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิ ด พื้ นที่ส่วนใหญ่เป็ นภ่เขาและ
ที่ราบส่ง มีท่ีราบเฉพาะเขตชายฝั ่ งและลุ่มแม่น้ า ภ่มิอากาศมีท้ ังเขตร้อน
และเขตอบอุ่น ซึ่งเหมาะแก่การด้ารงชีวิต จึงเป็ นทวีปที่มีประชากรอาศัย
อย่่มากแห่งหนึ่ งของโลก แต่เนื่ องจากความแตกต่างทางด้านสังคม
การเมือง และปั ญหาเกี่ยวกับคุณภาพของประชากร ท้าให้การพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ยังไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร ทั้งๆที่อย่่ใกล้ชิด
ติดต่อกับทวีปอเมริกาเหนื อ ซึ่งเป็ นทวีปที่พัฒนาและเจริญก้าวหน้ามากใน
ทุกๆด้าน
ทวีปอเมริกใต้ เป็ นทวีปที่มีพื้นที่ส่วนใหญ่อย่่ทางซีกโลกใต้ โดยมี
เส้นศ่นย์ส่ตรและเส้นทรอปิ กออฟแคปริคอร์นลากผ่าน ซึ่งแสดงว่าทวีป
อเมริกาใต้มีลักษณะภ่มิอากาศทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น ทวีปอเมริกาใต้
เป็ นที่ทวีปที่มีความแตกต่างกันทางด้านกายภาพมากแห่งหนึ่ งของโลก กล่า
วคือ เป็ นดินแดนที่มีระบบภ่เขาซึ่งมีแนวต่อเนื่ องกันยาวที่สุดในโลก และ
มีท่ีราบลุ่มแม่น้ าที่ปกคลุมด้วยป่ าดิบชื้ นที่กว้างขวางที่สุดในโลก ขณะที่ดิน
แดนบางส่วนของทวีปนี้ มีอากาศแห้งแล้งมาก นอกจากนี้ ประชากรในทวีป
อเมริกาใต้ ยังมีความหลากหลายในด้านเชื้ อชาติและการด้าเนิ นชีวิต คือ มี
ทั้งชาวอินเดียน ซึ่งเป็ นชนเผ่าพื้ นเมืองดั้งเดิมชาวสเปนและโปรตุเกสซึ่ง
เป็ นพวกผิวขาว พวกผิวด้าชาวแอฟริกา พวกผิดเหลืองชาวเอเชีย ซึ่งเป็ น
ผ้่อพยพเข้ามาอย่่ใหม่ และพวกเมติโซซึ่งเป็ นเผ่าพันธ์ุเลือดผสม ส่วนวิถี
การด้าเนิ นชีวิต มีต้ ังแต่สภาพความเป็ นอย่่ตามธรรมชาติแบบเก่าแก่ด้ ังเดิม
จนกระทัง่ การมีชีวิตที่ทันสมัยแบบชาวเมืองยุโรป

ลักษณะทางกายภาพ
1.ทีต
่ ้ ัง
ทวีปอเมริกาใต้ต้ ังอย่่ระหว่างละติจ่ดประมาณ 12-56 องศาใต้
และลองจิจ่ดประมาณ 34-81 องศาตะวันตก พื้ นที่ส่วนใหญ่อย่่ทางซีกโลก
ใต้ มีพื้นที่ส่วนน้อยที่อย่่ทางซีกโลกเหนื อ

2.อาณาเขต
ทิศเหนื อ ติดต่อกับทวีปอเมริกาเหนื อ ทะเลแคริบเบียน และ
มหาสมุทรแอตแลนติก เกาะที่ส้าคัญทางตอนเหนื อของทวีป ได้แก่ เกาะ
ตรินิแดด เกาะโตเบโก
ทิศตะวันออก ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศใต้ ติดต่อกับช่องแคบเดรค (Drake Passage) ซึ่งเป็ น
น่านน้้าที่คัน
่ ทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอนตาร์กติกา เกาะใหญ่ทางใต้สุด คือ
เกาะเตียร์ราเดลฟิ วโก (Tierra del Fuego) โดยมีช่องแคบแมกเจลแลนด์
คัน
่ กับแผ่นดินใหญ่ เกาะฟอล์กแลนด์ของอังกฤษ ซึ่งเป็ นเกาะที่มีความ
ส้าคัญทางยุทธศาสตร์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก และคลองปานามา
เกาะส้าคัญทางตะวันตก ได้แก่ หม่่เกาะกาลาปากอส

3.ขนาด
ทวีปอเมริกาใต้มีพ้ ืนที่ประมาณ 17,819,647 ตารางกิโลเมตร เป็ น
ทวีปที่มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับที่ 4 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย แอฟริกาและ
อเมริกาเหนื อ มีความยาววัดจากทิศเหนื อสุดถึงทิศใต้สุดได้ประมาณ 7,360
กิโลเมตร และมีความกว้างที่สด ุ วัดจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตกได้ประมาณ
5,180 กิโลเมตร
ทวีปอเมริกาใต้มีรูปร่างคล้ายคลึงกับทวีปอเมริกาเหนื อ คือ มีลักษณะ
เป็ นรูปสามเหลี่ยมที่มีฐานกว้างอยู่ทางทิศเหนื อ และมียอดแหลมอยู่ทางทิศใต้
ทวีปอเมริกาใต้ ประกอบด้วย

1.เฟรนช์เกียนา 1.กาเยน
2.ซ่รน
ิ าเม 2.ปารามาเรีย
3.กายอานา 3.จอร์จทาวน์
4.หม่่เกาะฟอล์กแลนด์ 4.สแตนลีย์ (อังกฤษ)
5.อุรุกวัย 5.มอนเตวิเดโอ
6.ชิลี 6.ซานติอาโก
7.เอกวาดอร์ 7.กีโต
8.ปารากวัย 8.อะซุนซิโอน
9.โบลิเวีย 9.ลาปาซ
10.เวเนซุเอลา 10.คารากัส
11.โคลัมเบีย 11.โบโกตา
12.บราซิล 12.บราซิเนี ย
13.เปร่ 13.ลิมา
14.อาร์เจนตินา 14.บ่เอโนสไอเรส

4.ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็ น 3 เขต ได้แก่

1) เขตเทือกเขาทางตะวันตก
ทางด้านตะวันตกของทวีปซึ่งติดต่อกับชายฝั ่ งมหาสมุทร
แปซิฟิก มีเทือกเขาแอนดีส ซึ่งเป็ นเทือกเขาที่มีภ่เขาไฟที่ยังทรงพลังอย่่
หลายล่ก ทอดเป็ นแนวยาวขนานกับชายฝั ่ งมหาสมุทรแปซิฟิก จากเหนื อสุด
ลงมาใต้สุด ตั้งแต่ปานามาเกาะเตียร์ราเดลฟิ วโก แนวเทือกเขานี้ มีความ
ยาวประมาณ 7,200 กิโลเมตร นั บเป็ นเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก และ
เป็ นต้นก้าเนิ ดของแม่น้ าโอริโนโค และแม่น้ าแอมะซอน ซึ่งเป็ นแม่น้ าสาย
ส้าคัญในทวีปอเมริกาใต้ มียอดเขาที่ส่งที่สุด ชื่อ อะคองคากัว
(Acomcagua) ส่งประมาณ 6,960 เมตรในประเทศอาร์เจนตินา เป็ น
ยอดเขาที่ส่งที่สุดในทวีปอเมริกาเหนื อและใต้ ในเขตเทือกเขาแอนดีสช่วงที่
เทือกเขาแยกตัวออกเป็ น 2 แนว มีท่ีราบส่งโบลิเวีย ซึ่งเป็ นที่ราบส่งขนาด
ใหญ่ท่ีมีความส่งจากระดับมากเป็ นที่สองของโลกรองจากที่ราบส่งทิเบต แล
ะบนที่ราบส่งมีทะเลสาบส้าคัญ ชื่อ ทะเลสาบติติกากา เป็ นทะเลสาบน้้าจืด
ขนาดใหญ่ท่ีใช้เดินเรือได้ อย่่ส่งที่สุดในโลก (3,810 เมตร)
2) เขตที่ราบลุ่มแม่น้ า ประกอบด้วย
-ที่ราบลุ่มแม่น้ าโอริโนโค อย่่ทางตอนเหนื อสุด มีต้นก้าเนิ ด
จากเทือกเขาแอนดีส ไหลผ่านที่ราบในเขตประเทศโคลัมเบีย และเวเนซ่
เอลา ลงส่่มหาสมุทรแอตแลนติก
-ที่ราบลุ่มแม่น้ าแอมะซอน เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าที่ใหญ่และมี
ประมาณน้้ามากที่สุดของโลก มีเนื้ อที่ประมาณ 7 ล้านกิโลเมตร มีความยาว
ประมาณ 6,437 กิโลเมตร ยาวเป็ นอันดับ 2 รองจากแม่น้ าไนล์ เป็ นแม่น้ า
ที่ได้รบ
ั น้้าจากหลายสาขาที่มีต้นน้้าเกิดจากเทือกเขาแอนดีส ทีร่ าบส่งกิอานา
และที่ราบส่งบราซิล และไหลลงส่่มหาสมุทรแอตแลนติกในเขตประเทศ
บราซิล
-ที่ราบลุ่มแม่น้ าปารานา-ปารากวัย-อุรุกวัย อย่่ทางใต้ของ
ที่ราบลุ่มแม่น้ าแอมะซอน ในเขตประเทศปารากวัย อุรุกวัยและอาร์เจนตินา
บริเวณที่แม่น้ าทั้ง 3 ไหลมาบรรจบกันมีลักษณะเป็ นอ่าวใหญ่ เรียกว่า ริโอ
เดลาพลาตา (Rio de la Plata)
3)เขตที่ราบส่งภาคตะวันออก ประกอบด้วย
-ที่ราบส่งกิอานา อย่่ในเขตประเทศเวเนซุเอลา เฟรนซ์เกีย
นา ซรินาเม กายอานาและภาคเหนื อของประเทศบราซิล
-ที่ราบส่งบราซิล อย่่ทางด้านตะวันออกของทวีปในเขต
ประเทศบราซิล ระหว่างลุ่มแม่น้ าแอมะซอนกับลุ่มแม่น้ าปารานาและ
ปารากวัย เป็ นที่ราบส่งที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่มาก
-ที่ราบส่งโตกรอสโซ อย่่ทางตะวันตกของที่ราบส่งบราซิลใน
เขตประเทศบราซิลและโบลิเวีย
-ที่ราบส่งปาตาโกเนี ยเป็ นที่ราบส่งเชิงเขาแอนดีส อย่่ทาง
ตอนใต้ของประเทศอาร์เจนตินา

ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภ่มิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ข้ ึนอย่่กับปั จจัยต่อไปนี้
1.ที่ต้ ัง พื้ นที่ส่วนใหญ่อย่่ในเขตละติจ่ดต้่า ดังนั้ นเกือบทุก
ประเทศอย่่ในเขตร้อน ยกเว้น อุรุกวัย อาร์เจนตินา ชิลท
ี ่ีอย่่ในเขตละติจ่
กลาง หรืออย่่ในเขตอบอุ่น
2.ลักษณะภ่มิประเทศ มีเทือกเขาแอนดีสวางตัวอย่่แนวเหนื อ-
ใต้ขนานกับชายฝั ่ งมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเป็ นก้าแพงขวางกั้นความชื้ นและ
ลมประจ้าที่พัดจากทะเล ท้าให้ดินแดนภายในทวีปบางบริเวณมีอากาศแห้ง
แล้ง เป็ นเขตทุ่งหญ้าและทะเลทราย ประเทศที่ต้ ังอย่่ในเขตละติจ่ดต้่ามี
อากาศร้อน ยกเว้นบริเวณเทือกเขาและที่ราบส่งจะมีอุณหภ่มิลดลงจะมี
อากาศอบอุ่น เช่น โบโกตา เมืองหลวงของประเทศโคลัมเบีย ลาปาซ เมือง
หลวงของประเทศโบลิเวีย
3.ลมประจ้า พื้ นที่ส่วนใหญ่ของทวีปอเมริกาใต้อย่่ในเขตลม
สงบบริเวณศ่นย์ส่ตร และเขตอิทธิพลของลมสินค้าตะวันออกเฉียงเหนื อและ
ลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้ ท้าให้ชายฝั ่ งตะวันออกของทวีปมีฝนตกชุก แต่
ลมนี้ ไม่ได้น้าความชื้ นเข้าส่่พื้นที่ภายในทวีป
4.กระแสน้้า กระแสน้้าเย็นเวสต์วินด์ ไหลมาจากแถบขั้วโลก
ผ่านเลียบชายฝั ่ งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ คือ ชายฝั ่ งทะเลของประเทศ
ชิลีและเปร่เรียกว่า กระแสน้้าเย็นฮัมโบลต์ หรือกระแสน้้าเย็นเปร่ ท้าให้
ชายฝั ่ งด้านนี้ ในฤด่ร้อนไม่ร้อนมากนั ก ทางด้านตะวันออกมีกระแสน้้าอุ่น
บราซิลและกระแสน้้าเย็นฟอล์กแลนด์ไหลผ่าน

ลักษณะภูมิอากาศของอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็ น 8
เขต
1.เขตภ่มิอากาศแบบป่ าดิบชื้ น (Tropical Rainforest
Climate) เป็ นเขตที่มีอากาศร้อนและชุ่มชื้ นตลอดปี พบในบริเวณเขต
ศ่นย์ส่ตรแถบลุ่มแม่น้ าแอมะซอนและชายฝั ่ งตะวันออกเฉียงเหนื อของ
บราซิล พืชพรรณธรรมชาติ เป็ น ป่ าดิบ เรียกว่า ป่ าเซลวาส (Selvas)
2.เขตภ่มิอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อนหรือสะวันนา
(Savanan Climate) เป็ นเขตที่มีอากาศร้อนตลอดปี มีฤด่แล้งสลับกับ
ฤด่ฝนพบในบริเวณลุ่มแม่น้ าโอริโนโคในประเทศโคลัมเบียและเวเนซุเอลา
ที่ราบส่งกิอานาในประเทศเวเนซุเอลา ที่ราบส่งบราซิล พืชพรรณธรรมชาติ
เป็ น ทุ่งหญ้าและป่ าโปร่งทุ่งหญ้าในเขตลุ่มแม่น้ าโอริโนโคและที่ราบส่ง
กิอานา เรียกว่า ทุ่งหญ้ายาโนส (Llanos) ทุ่งหญ้าในเขตประเทศบราซิล
เรียกว่า ท่งุ หญ้าแคมโปส ท่งุ หญ้าทางตอนใต้ของบราซิล ปารากวัยและ
ตอนเหนื อของอาร์เจนตินา เรียกว่า ทุ่งหญ้ากรันชาโก
3.เขตภ่มิอากาศแบบทะเลทราย (Desert Climate) มี
ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 10 นิ้ วต่อปี ได้แก่ ทะเลทรายอะตากามา ทาง
ชายฝั ่ งมหาสมุทรแปซิฟิกในเขตประเทศเปร่ และตอนเหนื อของชีลี และ
ทะเลทรายในเขตที่ราบส่งปาตาโกเนี ยทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีสใน
เขตประเทศอาร์เจนตินา
4.เขตภ่มิอากาศแบบกึ่งทะเลทราย (Steppe Climate) ซึ่ง
อย่่ระหว่างเขตทะเลทรายกับเขตอบอุ่น มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 15
นิ้ วต่อปี พบบริเวณตะวันออกของอาร์เจนตินาถึงที่ราบส่งปาตาโกเนี ยทาง
ตอนใต้ พืชพรรณธรรมชาติ ท่งุ หญ้าสั้นๆ หรือทุ่งหญ้าสเตปป์

5.เขตภ่มิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนี ยน (Mediterranean
Climate) มีอากาศร้อนแห้งแล้งในฤด่ร้อน และมีอากาศอบอุ่นฝนตกในฤด่
หนาวพบบริเวณชายฝั ่ งมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางของชิลี พืชพรรณ
ธรรมชาติ ไม้พุ่มมีหนาม ใบแหลมเรียวเล็ก เป็ นมันเปลือกหนา เพื่อ
ป้ องกันการคายน้้าในฤด่ร้อน
6.เขตภ่มิอากาศแบบอบอุ่นชื้ น (Humid Subtropical
Climate) มีอากาศอบอุ่นชุ่มชื้ น ปริมาณน้้าฝนปานกลาง ประมาณ 750-
1,500 มิลลิเมตรต่อปี ได้รบ
ั อิทธิพลจากลมประจ้าที่พัดผ่านน่านน้้าน้า
กระแสน้้าอุ่นเข้าส่่ฝั่ง พบบริเวณชายฝั ่ งตะวันออกของทวีป พืชพรรณ
ธรรมชาติ เป็ นป่ าผลัดใบ และบริเวณภายในมีปริมาณน้้าฝนน้อยลง พืช
พรรณเป็ นทุ่งหญ้ายาวเรียกว่า ทุ่งหญ้าปามปั ส (Pampas) มีความส้าคัญ
ทางการเกษตรของประเทศปารากวัย อุรุกวัยและอาร์เจนตินา
7.เขตภ่มิอากาศแบบภาคพื้ นสมุทรชายฝั ่ งตะวันตก (Marine
Westcoast Climate) มีอากาศอบอุ่นชุ่มชื้ นตลอดปี เพราะได้รบ
ั อิทธิพล
จากลมประจ้าตะวันตก ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ย 5,000 มิลลิเมตรต่อปี พบ
บริเวณทางตอนใต้ของเขตภ่มิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนี ยนในประเทศชีลี
พืชพรรณธรรมชาติ ป่ าผลัดใบกับป่ าสน
8.เขตภ่มิอากาศแบบภ่เขาส่ง มีอากาศเปลี่ยนแปลงไปตาม
ความส่งของพื้ นที่พบบริเวณแถบเทือกเขาแอนดีส

กษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
ทวีปอเมริกาใต้เป็ นแหล่งอารยธรรมดั้งเดิมของชาวอินเดียน
เผ่าอินคา เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 19 มีอาณาเขตครอบคลุมพื้ นที่ของ
ประเทศเอกวาดอร์ เปร่ โบลิเวียและทางตอนเหนื อของประเทศชีลิใน
ปั จจุบัน อาณาจักรนี้ มีความเจริญส่งสุดประมาณตอนกลางของพุทธศตวรรษ
ที่ 20 สิ่งที่แสดงถึงอารยธรรมของพวกอินคา ได้แก่ การน้าหินมาป่ถนน
การท้าสะพานแขวนด้วยเชือกเพื่อทอดข้ามล้าธาร แม่น้ าและหุบเขาแคบๆ
การสกัดหินภ่เขาออกมาเป็ นแท่งๆ เพื่อน้าไปก่อสร้างที่อย่่อาศัย การปรับ
พื้ นที่เนิ นเขาให้เป็ นขั้นบันไดเพื่อใช้เพาะปล่กการขุดคลองเพื่อส่งน้้าเพื่อ
การเกษตร ใน พ.ศ.2075 อาณาจักรอินคาต้องตกอย่่ภายใต้อิทธิพลของ
สเปน สเปนจึงมีอ้านาจปกครองดินแดนอันกว้างใหญ่ท่ีอุดมสมบ่รณ์น้ ี การที่
สเปนเข้ามามีอิทธิพลในทวีปอเมริกาใต้ ท้าให้มีค้าเล่าลือว่าทวีปอเมริกาใต้
เป็ นแหล่งที่อุดมสมบ่รณ์ด้วยทองค้า เงินและโลหะอื่นๆ ซึ่งเป็ นดึงด่ดใจให้
ผ้่คนในประเทศสเปนและโปรตุเกส พากันเดินทางเข้ามาแสวงโชคลาภใน
ทวีปนี้ มากขึ้น ดังนั้ นทุกภ่มิภาคในทวีปนอเมริกาใต้จึงตกเป็ นอาณานิ คมของ
สเปน ยกเว้นบราซิลเป็ นอาณานิ คมของโปรตุเกส ปลายพุทธศตวรรษที่
25 ชาวอาณานิ คมได้ต่อส้่จนได้รบ
ั เอกราช และได้สถาปนาเป็ นประเทศ
เอกราชเกือบทั้งหมด ยกเว้นเฟรนซ์เกียนาเป็ นอาณานิ คมของฝรัง่ เศสและ
เกาะฟอล์กแลนด์เป็ นดินแดนในปกครองของอังกฤษ

ลักษณะทางด้านประชากร
1.เชื้ อชาติ ประกอบด้วยกลุ่มชน 3 กลุ่ม คือ กลุ่มชาวอินเดียน
กลุ่มชาวผิวขาวและกลุ่มชาวผิวด้า
1.1 กลุ่มอินเดียน เป็ นชนเผ่าดั้งเดิม ที่สร้างสรรค์อารยธรรม
ในทวีปอเมริกาใต้เมื่อประมาณ 5,000 ปี ส่วนใหญ่อาศัยอย่่ในแถบที่ส่งของ
เทือกเขาแอนดีส และบางส่วนอาศัยอย่่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ าแอมะซอนและ
ชายฝั ่ งทะเลแคริบแบียน เมื่อชาวผิวขาวได้เข้ามามีอิทธิพลในทวีปอเมริกาใต้ก็
บังคับให้ชาวอินเดียนท้างานในไร่นาและเหมืองแร่ของตน ต่อมามีผ้่หญิง
อินเดียจ้านวนมากได้แต่งงานกับคนผิวขาว ท้าให้มีล่กเลือดผสมเรียกว่า เมสติ
โซ ซึ่งปั จจุบันกลายเป็ นประชากรส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ ส่วนชาวอินเดีย
์ ั จจุบันมีอย่่จ้านวนน้อยในบางประเทศ เช่น เปร่ โบลิเวีย
เลือดบริสุทธิป
เอกวาดอร์ บราซิล
1.2 กลุ่มผิวขาว ซึ่งอพยพเข้าไปตั้งหลักแหล่งเมื่อประมาณ
พ.ศ.2400 ได้แก่ ชาวสเปน โปรตุเกส อิตาลี เยอรมัน และโปแลนด์ ต่อมา
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ชาวญี่ป่น
ุ เป็ นพวกผิวเหลืองได้อพยพเข้าส่่ทวีป
อเมริกาใต้เป็ นจ้านวนมาก
1.3 กลุ่มผิวด้า จากทวีปแอฟริกาได้อพยพเข้าในฐานะใช้
แรงงานในไร่นาและเหมืองแร่ของพวกผิวขาวในประเทศบราซิลและโคลัมเบีย
ต่อมาคนผิวด้าได้แต่งงานกับคนผิวขาว และมีล่กเลือดผสมเรียกว่า ม่แลตโต
ส่วนใหญ่อย่่ในประเทศบราซิลและโคลัมเบีย
2.ภาษา ประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้ ใช้ภาษาสเปนเป็ นภาษา
ราชการ ยกเว้นประเทศบราซิลใช้ภาษาโปรตุเกส ประเทศกายอานา ใช้ภาษา
อังกฤษ เฟรนซ์เกียนา ใช้ภาษาฝรัง่ เศส และซ่รน
ิ าเม ใช้ภาษาดัตช์
3.ศาสนา ประชากรร้อยละ 90 ของทวีปอเมริกาใต้นับถือศาสนา
คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ที่ชาวสเปนและโปรตุเกสเป็ นผ้น
่ ้าเข้ามาเผยแผ่
ส่วนนิ กายโปรเตสแตนต์มีผ้่นับถือน้อย
4.การศึกษา ประเทศที่มีการศึกษาพัฒนามากที่สุดในทวีป
อเมริกาใต้ ได้แก่ อาร์เจนตินา ชีลี กายอานา อุรุกวัย และซ่รน
ิ าเม ประชากร
ของประเทศเหล่านี้ มีอัตราการอ่านเขียนได้ส่ง เพราะเป็ นประเทศมี่มีเศรษฐกิจ
ค่อนข้างดี จึงสามารถจัดการศึกษาบังคับแบบให้เปล่าได้ทัว่ ถึง ส่วนประเท
ศอื่นๆ มีประชากรอ่านออกเขียนได้ย่ในอัตราที่ต้่ากว่านี้
5.การกระจายและความหนาแน่นของประชากร
ทวีปอเมริกาใต้มีประชากรทั้งหมด 331 ล้านคน (พ.
ศ.2541) เฉลี่ยความหนาแน่นของประชากร 18.6 คนต่อตารางกิโลเมตร จัด
เป็ นทวีปที่มีประชากรอาศัยอย่่เบาบาง
บริเวณที่มีประชากรอาศัยอย่่เบาบาง
- บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ าแอมะซอน ซึง่ เป็ นเขตป่ าดิบที่มีการ
คมนาคมติดต่อกันได้ยากล้าบาก มีอุทกภัยเกิดขึ้นเสมอและมีสัตว์ป่าที่เป็ น
อันตรายและโรคภัยไข้เจ็บชุกชุม
- บริเวณที่ราบส่งทั้งในเขตร้อนและอบอุ่น มีอากาศแห้งแล้ง
เป็ นทะเลทราย หรือทุ่งหญ้าเขตร้อนมีดินไม่ค่อยอุดมสมบ่รณ์ บริเวณที่มี
ประชากรอาศัยอย่่หนาแน่น เป็ นบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเหมาะ
แก่การด้าเนิ นชีวิต มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบ่รณ์และมีการคมนาคมขนส่ง
สะดวก ได้แก่
- บริเวณชายฝั ่ งมหาสมุทรแอตแลนติกตั้งแต่ปากแม่น้ าแอมะ
ซอนจนถึงปากอ่าวริโอเดอลาพลาตา
- เขตที่ราบส่งของเทือกเขาแอนดีสในประเทศโคลัมเบีย
เอกวาดอร์ และเปร่
- เขตเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศต่างๆในทวีป
อเมริกาใต้

อาชีพและทรัพยากรธรรมชาติ
1.การเพาะปล่ก ที่ส้าคัญได้แก่
- กาแฟ ประเทศที่ผลิตกาแฟในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่
บราซิล โคลัมเบีย เอกวาดอร์ โดยเฉพาะบราซิล เป็ นประเทศที่ส่งกาแฟ
ออกจ้าหน่ายมากร้อยละ 50 ของโลก
- โกโก้ ได้จากเมล็ดกาเกา ใช้ท้าช็อกโกเลต เครื่องดื่ม และ
ขนมหวาน เป็ นพืชพื้ นเมืองของอเมริกาใต้ ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ
บราซิลและเอกวาดอร์
- ข้าวโพด เป็ นพืชที่ปล่กมากและส่งออกของประเทศ
บราซิล รองลงมาได้แก่ อาร์เจนตินา เวเนซุเอลา เปร่และโคลัมเบีย
- ข้าวสาลี ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ อาร์เจนตินา บราซิล ชี
ลี
- อ้อย ปล่กมากในประเทศบราซิล
- กล้วย ปล่กมากในประเทศเอกวาดอร์
- ฝ้ าย ปล่กมากในประเทศบราซิลและอาร์เจนตินา
2.การเลี้ยวสัตว์
ทวีปอเมริกาใต้เป็ นทวีปที่มีทุ่งหญ้าอุดมสมบ่รณ์เหมาะแก่การ
เลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ท่งุ หญ้ายาโนส ท่งุ หญ้าแคมโปสและทุ่งหญ้ากรันชาโก
ส่วนทุ่งหญ้าปามปั สอย่่ในเขตประเทศอาร์เจนตินา อุรุกวัยและตอนใต้ของ
บราซิล สัตว์เลี้ยงที่ส้าคัญได้แก่
- โคเนื้ อ ประเทศที่เลี้ยงโคเนื้ อมาก คือ อาร์เจนตินา อุรุก
วัย และบราซิล
- แกะ ประเทศที่เลี้ยงมากคือ อุรุกวัย เลี้ยงมากเป็ นอันดับ
2 ของโลกรองจากออสเตรเลีย
- สุกร ประเทศที่เลี้ยงมาก คือ เปร่ บราซิล
3.ป่ าไม้และผลผลิตจากไม้
แหล่งป่ าไม้เนื้ อแข็งที่มีอย่่อย่างอุดมสมบ่รณ์และกว้างขวาง คื
อ ป่ าเซลวาสในบริเวณแม่น้ าแอมะซอน แต่มีการน้ามาใช้น้อย เพราะการ
คมนาคมขนส่งไม่สะดวกควินิน (Quinine) ใช้ท้าเป็ นยาป้ องกันโรค
มาลาเรีย ได้จากต้นซิงโคนา ย่คาลิปตอล (Eucalyptol) จากต้นย่คา
ลิปตัส ใช้เป็ นส่วนผสมของยาแก้ไอ ยางพารา เป็ นพืชดั้งเดิมของ
อเมริกาใต้ ยางไม้ (Chicle) ใช้ท้าหมากฝรัง่ ยางบาลาตา (Balata) ใช้
หุ้มสายเคเบิลใต้น้ า และหุ้มล่กกอล์ฟ ฝาด (Tannin) ใช้ฟอกหนั ง
บราซิลนั ด (Brazil nut) ใช้เป็ นอาหาร ประเทศที่ผลผลิตไม้และผลผลิต
จากป่ าไม้ท่ีส้าคัญ คือ บราซิล โคลัมเบีย และเปร่
4.การประมง
บริเวณทางชายฝั ่ งตะวันตกด้านมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณ
ประเทศเปร่และชิลี เป็ นแหล่งที่มีปลาชุกชุมแห่งหนึ่ งของโลก เพราะเป็ น
บริเวณที่กระแสน้้าเย็นเปร่หรือกระแสน้้าเย็นฮัมโบลต์กับกระแสน้้าอุ่นใต้
เส้นศ่นย์ส่ตรไหลบรรจบกัน

5.การท้าเหมืองแร่ อเมริกาใต้มีแร่ธาตุทีส้าคัญหลายชนิ ด ได้แก่


- ทองแดง ประเทศที่ผลิตทองแดงได้เป็ นอันดับ 1 ของโลก
คือ ประเทศชิลี อย่่ในแคว้นช่คีตมาตานอกจากนี้ ยังมีประเทศเปร่และ
บราซิล
- เหล็ก ประเทศที่ผลิตได้มากเป็ นอันดับ 2 ของโลก คือ
บราซิล นอกจากนี้ ยังประเทศเวเนซุเอลาโบลีเวียและชีลี
- ดีบุก ประเทศที่ผลิตได้มากเป็ นอันดับ 2 ของโลกรองจาก
มาเลเซีย คือ โบลีเวีย อย่่ในเขตที่ราบส่งอัลติพลาโน
- สังกะสี ผลิตได้มากในประเทศเปร่ อาร์เจนตินา บราซิล
- ทองค้า ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ ประเทศบราซิล
- น้้ามันปิ โตรเลียม ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ เวเนซุเอลา
อย่่บริเวณรอบๆ ทะเลสาบมาราไคโบ นอกจากนี้ ยังมีในประเทศ บราซิล
เอกวาดอร์ โบลิเวีย แต่มีปริมาณไม่มาก
6.การอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมในทวีปอเมริกาใต้ส่วนใหญ่เป็ นอุตสาหกรรมเบา
เป็ นแปรผลผลิตทางการเกษตร เช่น การผลิตน้้าตาล อาหารกระป๋ อง
ประเทศที่มีอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้าและมีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ได้แก่
บราซิลและอาร์เจนตินา เช่น การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า การกลัน
่ น้้ามัน
และปิ โตรเคมี การผลิตรถยนต์ และอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อย่่ในเขตเมือง
ใหญ่หรือเมืองหลวง เช่น เซาเปาโล ริโอเดจาเนโร บ่เอโนสไอเรสฯลฯ
7.การค้าขาย สินค้าออก ส่วนใหญ่ของประเทศต่างๆในทวีป
อเมริกาใต้ ได้แก่ วัตถุดิบและผลผลิตทางการเกษตร ที่ส้าคัญคือ กาแฟ
เนื้ อสัตว์ ข้าวโพด กล้วย โกโก้ ฝ้ าย น้้ามัน สินแร่เหล็กและทองแดง
สินค้าเข้า ส่วนใหญ่เป็ นเครื่องจักรและเครื่องยนต์ส้าหรบการเกษตร ยาน
ยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้ า เคมีภัณฑ์และสิ่งทอ ในการค้ากับต่างประเทศเกือบ
ทุกประเทศเสียดุลการค้าตลอดมา ยกเว้นประเทศบราซิล เพราะเป็ น
ประเทศที่อุดมสมบ่รณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และมีการพัฒนา
อุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท จนมีผลผลิตส่งเป็ นสินค้าออก ส่วน
เวเนซุเอลา เป็ นประเทศที่ส่งน้้ามันดิบเป็ นสินค้าออกรายใหญ่รายหนึ่ งของ
โลก ประเทศค่่การค้าส้าคัญของประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่
สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น ฝรัง่ เศส สหราชอาณาจักรและประเทศในทวีป
อเมริกาใต้ด้วยกัน
8.การคมนาคมขนส่ง
แม้ทวีปอเมริกาใต้จะมีอาณาเขตติดต่อเป็ นผืนแผ่นดินเดียวกัน
กับทวีปอเมริกาเหนื อ แต่ระบบการคมนาคมขนส่งในทวีปยังหล้าหลังอย่่
มาก และกระจายไม่ทัว่ ถึงทุกส่วนของทวีป เพราะประเทศส่วนใหญ่เป็ น
ประเทศยากจนและด้อยพัฒนา ประกอบกับการมีสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติท่ีเป็ นอุปสรรคต่อการคมนาคมขนส่งอย่่ทุกภ่มิภาค กล่าวคือ มี
ภ่เขาส่งที่ทุรกันดาร มีภ่มิอากาศแห้งแล้งเป็ นทะเลทราย บริเวณที่มีการ
คมนาคมขนส่งสะดวกจึงกระจายอย่่เป็ นหย่อมๆ ในเขตที่มีทรัพยากรอุดม
สมบ่รณ์ มีสภาพ ภ่มิอากาศที่ไม่ร้อนหรือแห้งแล้งเกินไป ประกอบด้วย

1.ทางบก ประกอบด้วย
1.1 ทางรถยนต์ ทวีปอเมริกาใต้มีถนนสายหลักที่ใช้
ติดต่อเชื่อมประเทศต่างๆ คือ ทางหลวงสายแพนอเมริกัน (Pan-
American Highway) เป็ นเส้นทางที่เชื่อมต่อจากประเทศสหรัฐอเมริกา
ลงมาถึงตอนใต้ของประเทศชีลี โดยมีเส้นทางตัดเชื่อมไปยังเมืองหลวงของ
ประเทศต่างๆกว่า 17 เมือง ส่วนประเทศที่มีการพัฒนาเส้นทางรถยนต์อย่่
ในระดับดี ได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล และชีลี
1.2 ทางรถไฟ ทางรถไฟในทวีปอเมริกาใต้ส่วนใหญ่
เป็ นสายสั้นๆ เชื่อมเมืองใหญ่หรือเมืองท่าระหว่างชายฝั ่ งกับที่ราบภาคใต้
ประเทศที่มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งทางรถไฟได้เจริญก้าวหน้ามาก
ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา เมืองที่เป็ นศ่นย์กลางทางรถไฟในทวีป
อเมริกาใต้ ได้แก่ ริโอเดจาเนโร เซาเปาล่ ในประเทศบราซิล เมืองมอนเตวิ
เดโอในประเทศอุรุกวัย บ่เอโนสไอเรส ในประเทศอาร์เจนตินา
1.3 ทางน้้า ทางแม่น้ าล้าคลอง ที่ใช้ในการคมนาคม
ขนส่งได้ดี คือ แม่น้ าปารานา ซึ่งสามารถเดินเรือเชื่อติดต่อระหว่างเมืองบ่เอ
โนสไอเรสในประเทศอาร์เจนตินากับเมืองต่างๆ ที่ต้ ังอย่่รม
ิ ฝั ่ งแม่น้ า
แม่น้ าแอมะซอนแม้จะกว้างและลึกพอที่จะให้เรือเดินทะเลขนาดใหญ่แล่น
เข้าไปได้ภายในทวีปได้ไกลถึงเมืองมาเนาส์ ซึ่งอย่่ห่างจากปากแม่น้ า
ประมาณ 1,600 กิโลเมตร แต่ก็ไม่ค่อยได้ประโยชน์มากนั ก เพราะใน
เขตลุ่มแม่น้ านี้ มีประชากรอาศัยอย่่เบาบางมาก และมีความส้าคัญทาง
เศรษฐกิจน้อย
2.ทางทะเล ทวีปอเมริกาใต้สามารถใช้เรือเดินสมุทร ติดต่อ
กับทวีปอเมริกาเหนื อและทวีปยุโรปได้สะดวก โดยอาศัยเมืองท่าด้านชายฝั ่ ง
มหาสมุทรแอตแลนติก เช่น เมืองเบแลง เรซิเฟ ริโอเดจาเนโร ในประเทศ
บราซิล เมืองมอนเดวิเดโอ ในประเทศอุรุกวัย เมืองบ่เอโนสไอเรส ประเทศ
อาร์เจนตินา และเมืองคารากัส ในประเทศเวเนซุเอลา ส่วนเมืองท่าทางด้าน
ชายฝั ่ งมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ เมืองคายาโอ ในประเทศเปร่ เมืองวัลพา
ไรโซ ประเทศชิลี
3.ทางอากาศ ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นป่ าทึบ ภ่เขา
ส่งและทะเลทราย ประกอบแหล่งที่มีประชากรหนาแน่นอย่่หา่ งไกลกัน
การคมนาคมขนส่งทางอากาศจึงมีความส้าคัญมาก ทุกประเทศพยายาม
พัฒนาการขนส่งทางอากาศให้ทวั ่ ถึง ประเทศที่มีการคมนาคมขนส่งทาง
อากาศมาก ได้แก่ ประเทศบราซิลและอาร์เจนตินา มีท่าอากาศยานภายใน
ประเทศและระหว่างประเทศที่ทันสมัยอย่่หลายแห่ง เพราะเป็ นประเทศที่มี
ภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างดี

การแบ่งภูมิภาค

คำาว่า ภูมิภาค (region) คือ พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ งซึ่งมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ งหรือ


หลายอย่างที่คล้าย คลึงกัน และสามารถแบ่งแยกออกจากพื้นที่โดยรอบได้ เช่น มี
ลักษณะภูมิประเทศคล้ายกัน อาทิภาคเหนื อของประเทศไทยมีภูมิประเทศหลัก
เป็ นเทือกเขาสูงแทรกสลับด้วยแอ่ง ที่ราบเหมือนกันทั้ง 9 จังหวัด หรือภาคกลางมี
ภูมิประเทศหลักเป็ นที่ราบเหมือนกันทั้ง 22 จังหวัด เป็ นต้น ดังนั้นแบ่งภูมิภาคจึง
แบ่งได้หลายลักษณะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และเกณฑ์ท่ี ใช้แบ่ง นอกจากนี้ ภูมิภาค
ยังมีขนาดพื้นที่หรือขอบเขตที่แตกต่างกันไป

ในทวีปเอเชียจำาแนกภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ออกได้เป็ น 6 ภูมิภาค โดยใช้


สภาพทางภูมิศาสตร์เป็ นตัวแบ่ง ซึ่งพิจารณาจากระบบธรรมชาติ เช่น เรื่องของ
ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เป็ นต้นระบบมนุษย์ เช่น เรื่องของรูปร่างหน้าตา สีผิว
เป็ นต้น และเรื่องของระบบวัฒนธรรม เช่น ภาษา ศาสนา กิจกรรม เศรษฐกิจ
เป็ นต้น

ภูมิภาคของทวีปเอเชียมี 6 ภูมิภาค ดังนี้

1. ภูมิภาคเอเชียตะวันออก ประกอบด้วยประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้


เกาหลีเหนื อ มองโกเลีย และไต้หวัน
2. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย ประเทศพม่า ไทย ลาว
เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนี เซีย
ติมอร์-เลสเต (ติมอร์ตะวันออก) สิงคโปร์ บรูไน และฟิ ลิปปิ นส์
3. ภูมิภาคเอเชียใต้ ประกอบด้วย ประเทศ อินเดีย ศรีลังกา มัลดีฟส์
ปากีสถาน เนปาล ภูฎาน และบังกลาเทศ
4. ภูมิภาค เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย ประเทศอัฟกานิ สถาน
อิหร่าน อิรัก ซีเรีย ตุรกี ซาอุดีอาระเบีย โอมาน เยเมน สหรัฐอาหรับเอมิ
เรตส์ บาหร์เรน กาตาร์ เลบานอน คูเวต จอร์แดน ไซปรัส และอิสราเอล
5. ภูมิภาคเอเชียกลาง ประกอบด้วย ประเทศคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์ก
เมนิ สถาน อาร์เมเนี ย จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน
ทาจิกิสถาน และคีร์กีซ
6. ภูมิภาคเอเชียเหนื อ ได้แก่ ประเทศรัสเซีย ในส่วนที่อยู่ทวีปเอเชีย โดยใช้
แนวของเทือกเขาอูราลเป็ นแนวแบ่งเขตแยกออกจากทวีปยุโรป

การรวมกล่่มระหว่างประเทศ
1. องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งเอเชียและแปซิฟิก หรือ เอเปก
(APEC – Asia-Pacific Economic Cooperation)

เอเปก เป็ นการรวมกลุ่มระหว่างประเทศที่ก่อตั้งขึ้นจากการประชุมระดับ


รัฐมนตรีของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532
ณ กรุงแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย วัตถุประสงค์ ของการต่อตั้งเอเปก คือ

1. เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าของภูมิภาคและของ
โลก
2. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าในระดับพหุภาคี (การค้าหลายฝ่ าย)
3. เพื่อส่งเสริมการเปิ ดเสรีทางการค้าในภูมิภาค ในลักษณะที่ไม่ใช้การรวม
กล่มุ ทางการค้าที่กีดกันประเทศนอกกลุ่ม
4. เพื่อ ลดอุปสรรคและอำานวยความสะดวกด้านการค้าสินค้า บริการ และ
การลงทุนระหว่างสมาชิกให้เป็ นไปโดยเสรี สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของ
แกตต์ (GATT) ที่ปัจจุบันพัฒนามาเป็ นองค์การการค้าโลก (World Trade
Organization – WTO)

เป้ าหมาย เอเปกมีเป้ าหมายหลัก คือ การร่วมกันทางเศรษฐกิจเพื่อสร้าง


ความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับภูมิภาคและโลก

สมาชิก เอเปกมีสมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ ทวีปอเมริกาเหนื อมี


สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก ทวีปอเมริกาใต้มีชิลี และเปรู ทวีป
ออสเตรเลียมีออสเตรเลีย นิ วซีแลนด์ และปาปั วนิ วกินี และทวีปเอเชียมีญ่ีปุ่น
เกาหลีใต้ จีน สิงคโปร์ อินโดนี เซีย มาเลเซีย บรูไน ฟิ ลิปปิ นส์ ฮ่องกง ไต้หวัน
เวียดนาม รัสเซีย และไทย

จะเห็นได้ว่าเอเปกเป็ นการรวมกลุ่มระหว่างประเทศที่เน้นในเรื่องของ
เศรษฐกิจ เป็ นหลักโดยมีสมาชิกกระจายอยู่ในทวีป
ต่าง ๆ ถึง 4 ทวีป คือ เอเชีย อเมริกาเหนื อ อเมริกาใต้ และออสเตรเลีย ซึง ่ มี
ตำาแหน่งที่ต้ังอย่ใู นย่านมหาสมุทรแปซิฟิก ดังนั้นในเรื่องของการติดต่อค้าขาย
ระหว่างประเทศกลุ่มสมาชิกจึงใช้ประโยชน์ จากการคมนาคมทางนำ้าควบคู่กับทาง
อากาศเป็ นหลัก

2. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN – Association


of South East Asia Nations)

อาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ปั จจุบันมีสมาชิก 10


ประเทศ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนี เซีย
บรูไน และฟิ ลิปปิ นส์ มีวต
ั ถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

3. กล่ม
ุ ประเทศผู้ส่งนำ้ามันดิบเป็ นสินค้าออก (OPEC – Organisation of
Petroleum Exporting Countries)

โอเปก ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2503 ปั จจุบันมีสมาชิก 13


ประเทศ ในทวีปเอเชียมีคูเวต อิรัก อิหร่าน ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์
กาตาร์ และอินโดนี เซีย ทวีปแอฟริกามี ลิเบีย แอลจีเรีย กาบอง และไนจีเรีย และ
ทวีปอเมริกาใต้มี เวเนซุเอลา และเอกวาดอร์ มีสำานักงานใหญ่อยู่ทีเมืองเจนี วา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีวต ั ถุประสงค์หลักเพื่อปรึกษาหารือ และการประสานกัน
เกี่ยวกับนโยบายนำ้ามันของประเทศสมาชิก

4. สันนิ บาตอาหรับ (Arab League) สันนิ บาตอาหรับ เป็ นการรวมกลุ่ม


ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และแอฟริกาตอนเหนื อ ก่อตั้ง
ขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2488 ปั จจุบันมีสมาชิก 20 ประเทศ ได้แก่ ซีเรีย
เลบานอน อิรัก จอร์แดน ซาอุดีอาระเบีย เยเมน ลิเบีย ซูดาน ตูนิเซีย โมร็อกโก
คูเวต แอลจิเรีย บาห์เรน โอมาน กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เอธิโอเปี ย
โซมาเลีย ปาเลสไตน์ และจิบต ู ี มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความมั่นคง ร่วมมือกัน
ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม รวมทั้งในเรื่องของนำ้ามัน การศึกษา
วัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์

5. กล่ม
ุ ในเครือรัฐอิสระ (CIS – Commonwealth of Independent
States)

กล่่มในเครือรัฐอิสระ เป็ นกลุ่มการรวมกลุ่มของประเทศที่แยกตัวออก


มาจากอดีตประเทศสหภาพโซเวียต มีสมาชิก 16 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย คาซัค
สถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิ สถาน ทาจิกิสถาน คีร์กีซ จอร์เจีย อาร์เมเนี ย อาเซ
อร์ไบจาน ยูเครน เบลารุส ลิทัวเนี ย ลัตเวีย เอสโตเนี ย แอลเบเนี ย และมอลโดวา
มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
ของประเทศอดีตสหภาพโซเวียต
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชียกับประเทศไทย หรือระหว่าง
ประเทศกับประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชียมีอยู่หลาย ๆ ด้าน หลายรูปแบบและ
หลายระดับ โดยจะปรากฏเด่นชัดเป็ นทางการในรูปแบบทางการทูต สถานกงสุล
ความสัมพันธ์
ดังกล่าว เช่น ด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง
เทคโนโลยี เป็ นต้น โดยความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะการค้าขายจะเด่น
ชัด และสำาคัญที่สุดประเทศคู่ค้าที่สำาคัญของไทยในทวีปเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุ่น
สิงคโปร์ ฮ่องกง (จีน) จีน ไต้หวัน และมาเลเซีย รวมทั้งประเทศเพื่อนบ้านทั้ง ลาว
กัมพูชา และพม่า ก็มก ี ารค้าขายตามแนวชายแดน เนื่ องจากการค้าขายระหว่าง
ประเทศเป็ นกิจกรรมหลักของระบบเศรษฐกิจทำาให้ระบบ เศรษฐกิจขับเคลื่อนไป
ได้ ท้ายที่สด
ุ ส่งผลต่อระดับการพัฒนาประเทศ การเรียนรู้ประเทศต่าง ๆ ในทวีป
เอเชย ทั้งทางลักษณะธรรมชาติ ประชากร และระบบวัฒนธรรมน่ าจะช่วยให้เข้าใจ
สภาพที่เป็ นจริงของประเทศนั้น ๆ สามารถที่จะคาดคะเนหรือประเมินสถานการณ์
ในการดำาเนิ นความสัมพันธ์ได้อย่าง เหมาะสมและเกิดประโยชน์กับประเทศไทยได้
มาก
คำานำา
รายงานนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของวิชา สังคมศึกษา

ศาสนา และ วัฒนธรรม เรื่อง ทวีปอเมริกาใต้ จัดท้าเพื่อ

เป็ นสื่อการเรียนการสอน ในรายวิชาดังกล่าว ซึ่งรายงานนี้

มีเนื้ อหาความร้่เกี่ยวกับ ตลอดจนถึงพลังงานทดแทน หวัง

ว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์แก่ผ้่อ่านไม่มากก็น้อย หาก

มีข้อผิดพลาดประการใดก็ขอ อภัยไว้ ณ ที่น้ ี ด้วย


ผ้่

จัดท้า

เด็กหญิงปั ญจ

รัตน์ ภัทรธนาทรัพย์

สารบัญ
เนื้ อหา
หน้า

ทวีปอเมริกาใต้ 1

การแบ่งภูมิภาค 10
การรวมกลุ่มระหว่างประเทศ 11

ความสัมพันธ์กบ
ั ประเทศไทย 12

รายงาน
เรื่อง

ทวีปอเมริกาใต้

เสนอ

ม.สุวิมล ม่วงคุ้ม

จัดทำาโดย

เด็กหญิงปั ญจรัตน์ ภัทรธนาทรัพย์

ชั้น ม.3/3 เลขที่ 26

ปี การศึกษา 2/2553

โรงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบัวทอง

You might also like