Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

เอกสารประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็น

เรื่อง การกาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
บริเวณปากแม่น้าบางปะกง

วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2554


ณ ห้องประชุมศูนย์ฝึกอบรมบางปะกง
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ตาบลท่าข้าม อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา

โดย สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การกาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้าบางปะกง

๑. แนวความคิดในการบริหารจัดการ
พื้นที่บริเวณปากแม่น้าบางปะกง เป็นระบบนิเวศชายฝั่ งทะเลที่เ ป็นที่อยู่อาศัย แหล่ งอาหาร
ที่วางไข่ และอนุบาลตัวอ่อนให้กับสัตว์น้านานาชนิด และเป็นแหล่งทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์และมีคุณค่าต่อ
การด้ารงชีวิตของมนุษย์ แต่ก็มีความเปราะบางอ่อนไหวต่อความเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และจากสถานการณ์และ
ประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ต่อทรัพยากรประมงชายฝั่งและ
ส่งผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์และคุณภาพชีวิตของคนในลุ่มน้้าบางปะกง ในขณะที่กฎหมายและระเบียบ
ต่างๆ ในพื้นที่ ซึ่งมีเจตนารมย์หรือวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน เกิดความขัดแย้งในการตีความและการบังคับใช้
รวมถึง แนวนโยบายในการกระจายอ้านาจให้ แก่องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่น ซึ่งส่ ว นใหญ่มุ่งเน้นในเรื่อง
การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ และโครงสร้ า งพื้ น ฐาน แต่ ยั ง ขาดการให้ ค วามส้ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การดู แ ลรั ก ษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ดังนั้น จึงจ้าเป็นจะต้องได้รับการ
แก้ไขและป้องกันปัญหาโดยเร่งด่วน โดยอาศัยพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งได้ก้า หนดเครื่ องมือส้ าคัญ ในการบริห ารจัดการทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ ง แวดล้ อม คื อ
การประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ที่มีเจตนารมณ์เพื่อการป้ องกัน สงวน บ้ารุงรักษา และคุ้มครอง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้อยู่ได้อย่างสมดุลตามธรรมชาติ และสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน
รวมถึง ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมในพื้นที่นั้นๆ ทั้งนี้ การประกาศเขตพื้นที่คุ้มครอง
สิ่งแวดล้อมจะเป็นมาตรการเสริมให้กฎหมายอื่นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่าง
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

๒. เขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้าบางปะกง
แนวทางในการบริ ห ารจั ดการ โดยการประกาศให้ บริเวณปากแม่น้าบางปะกงเป็นเขตพื้นที่
คุ้มครองสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นที่อย่างยั่งยืน และคงความ
สมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงประชาชนมีคุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยอาศัยมาตรา ๔๕
ซึ่งก้าหนดให้พื้นที่ที่ถูกก้าหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ เขตผังเมืองรวม เขตผังเมืองเฉพาะ เขตควบคุมอาคาร
เขตนิคมอุตสาหกรรม หรือเขตควบคุมมลพิษ แต่ปรากฏว่ามีสภาพปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมรุนแรงเข้าขั้นวิกฤต
จ้าเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยทันที และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องไม่มีอ้านาจตามกฎหมาย หรือไม่สามารถที่จะ
ท้ า การแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ให้ รั ฐ มนตรี โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ เ สนอต่ อ
คณะรัฐมนตรี ขออนุมัติเข้าด้าเนินการเพื่อใช้มาตรการคุ้มครองอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างตามมาตรา ๔๔
ตามความจ้าเป็นและเหมาะสม เพื่อควบคุมและแก้ไขปัญหาในพื้นที่นั้นได้ ทั้งนี้ จะใช้การก้าหนดขอบเขต
พื้นที่ที่มีความชัดเจน เพื่อให้สามารถคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยก้าหนดตามขอบเขตการปกครองเพื่อให้สะดวกต่อการบังคับใช้ หรือตามแนวเขตตามธรรมชาติที่เห็ น
ได้ชัดเจน เช่น เขตต้าบล แนวล้าน้้า เนื่องจาก เป็นที่สังเกตได้อย่างชัดเจนและเปรียบเสมือนมีแนวควบคุม และ
ป้องกันปัญหาที่จะเข้ามาหรือแพร่กระจายออกไปจากพื้นที่ นอกจากนี้ ขอบเขตที่ก้าหนดต้องครอบคลุมปัจจัย
ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ พื้ น ที่ ที่ ต้ อ งการคุ้ ม ครองที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต และเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายดั ง กล่ า ว

ทั้งนี้ มาตรการที่ก้าหนดในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้าบางปะกง มีวัตถุประสงค์มุ่งเน้น


ในการป้องกันและฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในบริเวณปากแม่น้าบางปะกง
การควบคุมกิจกรรมต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมบริเวณชายฝั่งทะเล ตลอดจนการการส่งเสริม/
ปลูกจิตส้านึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนในพื้นที่

๒.๑ เขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
ให้พื้นที่ที่ได้มีการก้าหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์และเขตควบคุมอาคารของจังหวัดฉะเชิงเทราและ
จังหวัดชลบุรี ดังต่อไปนี้ เป็นเขตพื้นที่ให้ใช้มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
๑. พื้นที่ภายในแนวเขตตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องห้ามมิให้ใช้เครื่องมืออวนรัง
และเฝือกรังท้าการประมง ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๗ เฉพาะบริเวณที่วัดจากแนวชายฝั่งทะเลออกไป
ในทะเลเป็ น ระยะ ๕,๔๐๐ เมตร ในเขตต าบลสองคลอง ต าบลบางปะกง อ าเภอบางปะกง จั ง หวั ด
ฉะเชิงเทรา และเขตตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
๒. พื้นที่ภายในแนวเขตตามพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
บังคับในท้องที่บางจังหวัด พ.ศ. ๒๕๓๔ เฉพาะในเขตตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
๓. พื้นที่ภายในแนวเขตตามพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
บังคับในท้องที่บางจังหวัด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ เฉพาะในเขตตาบลบางปะกง ตาบลท่าข้าม ตาบลสองคลอง
อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ให้จ้าแนกพื้นที่ตามข้อ ๑ ถึงข้อ ๓ ออกเป็น ๓ บริเวณ ตามลักษณะกิจกรรมการใช้ประโยชน์
หรือลักษณะทางนิเวศที่ส้าคัญ ดังต่อไปนี้
บริเวณที่ ๑ เขตอนุรักษ์ระบบนิเวศแหล่งน้า ได้แก่
๑.๑ แม่น้าบางปะกง และล้าน้้าสาขาของแม่น้าบางปะกง ในเขตต้าบลบางปะกง ต้าบลท่าข้าม
อ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และเขตต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
๑.๒ พื้นที่น่านน้้าทะเลที่วัดจากแนวชายฝั่งในเขตต้าบลสองคลอง ต้าบลบางปะกง อ้าเภอ
บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และเขตต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
ออกไปในทะเลเป็นระยะ ๕,๔๐๐ เมตร
“แนวชายฝั่งทะเล” หมายความว่า แนวที่น้าทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ
บริเวณที่ ๒ เขตอนุรักษ์ป่าชายเลนและทรัพยากรชายฝั่งทะเล ได้แก่
๒.๑ พื้นที่ป่าชายเลนในเขตต้าบลสองคลอง บริเวณหมู่ที่ ๑ และหมู่ที่ ๒ ของต้าบลบางปะกง
และบริเวณหมู่ที่ ๑ และหมู่ที่ ๒ ของต้าบลท่าข้าม อ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
พื้นที่ป่าชายเลนในเขตหมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๖ ต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง
จังหวัดชลบุรี
๒.๒ พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณวัดบน ป่าชายเลนในบริเวณโรงเรียนบางปะกง “บวร
วิทยายน” และโรงเรียนพระพิมลเสนีย์ ในเขตต้าบลบางปะกง อ้าเภอบางปะกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา


๒.๓ พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณเกาะกลาง ในเขตต้าบลท่าข้าม อ้าเภอบางปะกง จังหวัด


ฉะเชิงเทรา
๒.๔ พื้นที่แนวชายฝั่งทะเล ซึ่งวัดเข้าไปในแผ่นดินในระยะ 50 เมตร และออกไปในทะเลใน
ระยะ 50 เมตร ในเขตหมู่ที่ 6 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ของต้าบลสองคลอง อ้าเภอบางปะกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา และหมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 6 ของต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง
จังหวัดชลบุรี และพื้นที่ริมฝั่งแม่น้า ในระยะ ๕๐ เมตร วัดจากแนวตลิ่งออกไปในแม่น้า
ในเขตหมู่ที่ 10 ต้าบลบางปะกง อ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
บริเวณที่ ๓ เขตควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่
พื้นที่ต่อเนื่องจากบริเวณที่ ๑ และบริเวณที่ ๒ ไปจนสุดเขตต้าบลบางปะกง ต้าบลท่าข้าม
ต้าบลสองคลอง อ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง
จังหวัดชลบุรี

๒.๒ มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
มาตรการต่างๆ ส้าหรับน้าไปใช้ในการก้าหนดกิจกรรมหรือควบคุมการใช้ประโยชน์ในแต่ละพื้นที่
ที่มีการจ้าแนกไว้ ๓ บริเวณ มีดงั ต่อไปนี้


4
มาตรการเฉพาะสาหรับแต่ละเขต
เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ
บริเวณที่ ๑ เขตอนุรักษ์ระบบนิเวศแหล่งน้้า ๑. คุณภาพน้้าทะเลบริเวณปากแม่น้าบางปะกง ๑. ก้าหนดบริเวณที่ ๑ ให้เป็นพื้นที่ห้ามกระท้าการ ๑. ก้ากับการบังคับใช้กฎหมายกับแหล่งก้าเนิด
ได้แก่ มีแนวโน้มความเปลีย่ นแปลงในทางที่เลวลง หรือประกอบกิจกรรม ดังต่อไปนี้ มลพิษที่ถูกควบคุมภายใต้พระราชบัญญัติ
๑.๑ แม่น้าบางปะกง และล้าน้้าสาขา โดยในปี ๒๕๕๒ คุณภาพน้้าบริเวณปากแม่น้า (๑) การปล่อยทิ้งของเสียหรือมลพิษลงสู่แหล่ง ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ของแม่น้าบางปะกง ในเขตต้าบล บางปะกงอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก เนื่องจาก น้้าหรือทะเล เว้นแต่กรณีที่ได้ผา่ นการ พ.ศ. ๒๕๓๕ ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียและ
บางปะกง ต้าบลท่าข้าม อ้าเภอ ปริมาณของเสียที่ระบายสู่แหล่งน้า้ เพิ่มขึ้นตาม บ้าบัดตามมาตรฐานของทางราชการแล้ว ระบายน้้าทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุม
บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา จ้านวนประชากรที่เพิม่ ขึ้น (๒) การล่วงล้้าล้าน้้า ยกเว้น กระชังเลีย้ งปลา การระบายน้้าทิ้งที่ก้าหนด เพื่อฟื้นฟูคุณภาพน้้า
และเขตต้าบลคลองต้าหรุ ๒. การท้าประมงโดยใช้เครื่องมือที่ไม่เหมาะสม เช่น กุ้ง หรือหอย และอาคารหรือการล่วงล้้าที่ ในแม่น้าบางปะกงและล้าน้้าสาขาให้อยู่ใน
อ้าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โพงพาง อวนรุน อวนลาก และการท้าประมงใน มีลักษณะตามข้อ ๔ (๑) ถึง (๗) แห่ง มาตรฐานแหล่งน้้าผิวดินประเภทที่ ๓ และ
๑.๒ พื้นที่น่านน้้าทะเลทีว่ ัดจากแนว พื้นที่ใกล้ชายฝั่ง เป็นสาเหตุท้าให้ทรัพยากร กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) คุณภาพน้้าทะเลบริเวณปากแม่น้าบางปะกง
ชายฝั่งในเขตต้าบลสองคลอง ประมงลดลง ทั้งในแง่ของความหลากชนิดและ ออกตามความในพระราชบัญญัติการ ให้อยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้้าทะเลประเภทที่ ๓
ต้าบลบางปะกง อ้าเภอบางปะกง ความชุกชุม โดยปลาที่ส้ารวจพบ เป็นชนิดที่มี เดินเรือในน่านน้้าไทย พระพุทธศักราช หรือมาตรฐานที่ดีกว่า
จังหวัดฉะเชิงเทรา และเขตต้าบล แนวโน้มสูญพันธุ์ (vulnerable) จ้านวน ๔ ชนิด ๒๔๕๖ ที่ได้รับอนุญาต 2. การจัดท้าแผนฟื้นฟูคุณภาพน้้าในแม่น้า
คลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง จังหวัด 3. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในแม่น้าและบริเวณ (๓) ท้าการประมงที่ใช้เครื่องมือประมง บางปะกงและล้าน้้าสาขา
ชลบุรี ออกไปในทะเลเป็นระยะ ปากแม่น้าบางปะกงบางส่วน เช่น การเลีย้ งปลา ต้องห้าม ตามความในมาตรา ๓๒ แห่ง 3. ส่งเสริมให้มีเครือข่ายในการติดตามตรวจสอบ
๕,๔๐๐ เมตร ในกระชัง ขาดความเข้มงวดกวดขันในการ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ คุณภาพน้้าในแหล่งน้้า และแหล่งก้าเนิดมลพิษ
ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ ที่กรมประมง ๒. ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่จะ ต่างๆ เช่น เครือข่ายนักสืบสายน้้า
ก้าหนดไว้ ท้าให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่างๆ ด้าเนินการโครงการหรือประกอบกิจการ 4. การจัดท้าแผนฉุกเฉินในการเตือนภัยคุณภาพ
ตามมา เช่น กีดขวางการสัญจรทางน้้า หรือรุกล้้า ดังต่อไปนี้ ในพื้นที่บริเวณที่ ๑ เสนอรายงาน น้้าในแม่น้าบางปะกงและล้าน้้าสาขา
ไปในรัศมีร่องน้้าทางเดินเรือ ล้าน้้าตื้นเขินจาก ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ต่อส้านักงาน 5. ควบคุมการด้าเนินกิจกรรมการเพาะเลีย้ ง
การสะสมของเลนหรือตะกอนใต้กระชัง การสร้าง นโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและ สัตว์น้า เพื่อป้องกันผลกระทบต่อระบบนิเวศ
ร้านเฝ้ากระชังหรือกระเตงในลักษณะที่ถาวร สิ่งแวดล้อม ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ และสภาพแวดล้อม รวมถึง ทัศนียภาพของ
ระเบียบปฏิบัติทึ่ก้าหนดไว้ตามมาตรา 46 ชายฝั่งและการใช้ประโยชน์ในล้าน้้า ดังนี้


เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ
4. การท่องเที่ยวชมโลมาในบริเวณปากแม่น้า แห่งพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ (๑) ศึกษาขีดความสามารถในการรองรับของ
บางปะกง ยังขาดการบริหารจัดการที่ถูกต้อง สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พื้นที่ เพื่อจัดระเบียบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
ตามหลักวิชาการ ท้าให้ส่งผลกระทบต่อ (1) โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมชุมชน โดยก้าหนดบริเวณอนุญาตที่ชัดเจน มีการ
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปในการด้ารงชีวิตของ ที่มีความสามารถในการบ้าบัดน้้าเสีย กระจายการเพาะเลีย้ งอย่างเหมาะสม
โลมา รวมถึง รูปแบบของการท่องเที่ยวที่ยังขาด ได้ไม่เกิน 3,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และมีสัดส่วนการถือครองที่เป็นธรรม
มาตรฐานทางด้านความปลอดภัย หรือสถานที่ทใี่ ช้ในการก้าจัดมูลฝอยที่มี (๒) ก้าหนดระเบียบการขึ้นทะเบียนและ
ปริมาณในการก้าจัดไม่เกิน 50 ตันต่อวัน หลักเกณฑ์ในการอนุญาต โดยผูไ้ ด้รับ
แต่ไม่รวมถึงโรงงานปรับคุณภาพของเสีย อนุญาตต้องปฏิบตั ิตามมาตรฐานของการ
รวมเฉพาะสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เพาะเลี้ยงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ
ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ปฏิบัติตามเงื่อนไขของกรมประมง หรือ
(2) ท่าเทียบเรือทุกประเภท ยกเว้นเรือส้าราญ กฎระเบียบอื่นๆ ที่ก้าหนดไว้โดยเคร่งครัด
และกีฬา ที่มีขนาดตั้งแต่ 100 ตันกรอส (๓) ก้าหนดแนวทางการบริหารจัดการ
แต่ไม่ถึง 500 ตันกรอส หรือมีความยาว ทางด้านสิ่งแวดล้อม โดยใช้มาตรการ
หน้าท่าตั้งแต่ 20 เมตร แต่ไม่เกิน 100 ทางด้านเศรษฐศาสตร์ เช่น การก้าหนด
เมตร และพื้นที่รวมของท่าเทียบเรือ อัตราค่าธรรมเนียมเพื่อน้ามาใช้ในการ
มีขนาดไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม และก้าหนดเงื่อนไข
(3) ท่าเทียบเรือส้าราญและกีฬา ที่รองรับเรือ แนบท้ายการอนุญาต ให้มีการบ้ารุงรักษา
ได้ตั้งแต่ 10 ถึง 50 ล้า และพื้นทีร่ วม พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า โดยให้ผเู้ ลีย้ งเป็น
ของท่าเทียบเรือมีขนาดไม่เกิน 1,000 ผู้รับผิดชอบมากยิ่งขึ้น เช่น ห้ามการ
ตารางเมตร เคลื่อนย้ายกระชังปลา ให้มีการดูดเลน
๓. ก้าหนดบริเวณที่ ๑ ให้เป็นเขตอนุรักษ์พันธุ์ ใต้กระชังเลี้ยงปลาเพื่อป้องกันการสะสม
สัตว์น้าและโลมา และเขตกิจกรรมการ ของตะกอน การดัดแปลงร้านเฝ้าคอกหรือ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กระเตงเป็นที่พักส้าหรับการท่องเที่ยว
เป็นต้น


เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ
๖. ให้มีการศึกษาและออกแบบการขุดลอกร่องน้้า
เพื่อปรับปรุงแนวเขตร่องน้้าการเดินเรือให้มี
ความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในปัจจุบัน
๗. จัดท้าแผนแม่บทการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
บริเวณปากแม่น้าและชายฝั่งทะเล และศึกษา
ศักยภาพในการเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยว
อื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง

บริเวณที่ ๒ เขตอนุรักษ์ป่าชายเลนและ ๑. พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้าบางปะกง ๑. ก้าหนดบริเวณที่ ๒.1 2.2 และ 2.3 ให้เป็น ๑. เร่งด้าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
ทรัพยากรชายฝั่งทะเล ได้แก่ มีพื้นที่ประมาณ ๒๒,๒๙๐ ไร่ ในปี ๒๕๓๐ พื้นที่ห้ามมิให้ใช้ป่าชายเลนเพื่อกิจการอื่นใด ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ให้ประชาชนทุก
๒.๑ พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณหมู่ที่ ๑ ลดลงเหลือประมาณ ๒,๓๐๐ ไร่ หรือเพียง ที่มผี ลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ หมู่เหล่าร่วมกันฟื้นฟูป่าชายเลนให้คืนและคง
หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๓ และหมู่ที่ ๖ ร้อยละ ๑๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ อันเป็นผลจาก ป่าชายเลน เว้นแต่ เป็นการกระท้าของทาง ความอุดมสมบูรณ์ ในจังหวัดที่มีพนื้ ที่ป่าชาย
ในเขตต้าบลสองคลอง บริเวณ การเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณ ราชการเพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า เลนอย่างน้อยจังหวัดละ ๒๐,๐๐๐ ไร่ โดย
หมู่ที่ ๑ และหมู่ที่ ๒ ของต้าบล ริมฝั่งแม่น้า ทดลอง หรือวิจัยทางวิชาการ ทั้งนี้ โดยได้รับ มุ่งเน้นในเขตพื้นที่ป่าชายเลนตามมติ
บางปะกง และบริเวณหมู่ที่ ๑ ๒. การลดลงของพื้นที่ป่าชายเลนจากกิจกรรม อนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี หรือกิจการที่ได้รับ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
และหมู่ที่ ๒ ของต้าบลท่าข้าม ต่างๆ รวมทัง้ การปนเปื้อนของสารเคมีก้าจัด อนุญาตตามกฎหมายให้ใช้ประโยชน์อยู่ก่อน ๒. ก้าหนดให้ที่งอกบริเวณริมฝั่งเป็นที่สาธารณะ
อ้าเภอบางปะกง จังหวัด วัชพืชลงสู่แหล่งน้้า ท้าให้พรรณไม้ชายเลน วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ และรักษาไว้เป็นพื้นที่อนุรักษ์ตามธรรมชาติ
ฉะเชิงเทรา และพื้นที่ป่าชายเลนใน ซึ่งแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร รวมทั้งเป็น ๒. ก้าหนดบริเวณที่ ๒.2 และ 2.3 ให้เป็นพื้นที่ ตามแนวทางของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒
เขตหมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๖ แหล่งวางไข่และเลีย้ งดูตัวอ่อนให้กับสัตว์น้า ส่งเสริมให้เป็นเขตนันทนาการเพือ่ การท่องเที่ยว สิงหาคม ๒๕๔๓
ของต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง หลายชนิด มีจา้ นวนชนิดลดลง ห้ามมิให้ท้ากิจการอื่นใดในบริเวณนี้ อันจะก่อ ๓. หากมีพื้นที่ทิ้งร้างหรือไม่มีการใช้ประโยชน์
จังหวัดชลบุรี ๓. ป่าชายเลนที่สมบูรณ์บริเวณแนวชายฝั่ง ซึ่งเป็น ให้เกิดปัญหาและอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว ของเอกชนที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายแล้ว
๒.๒ พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณวัดบน แนวก้าบังคลื่นลมตามธรรมชาติถกู ท้าลายลง ๓. ก้าหนดบริเวณที่ ๒.4 ให้เป็นพื้นทีห่ ้ามด้าเนิน ให้ฟื้นฟูคืนสู่สภาพธรรมชาติโดยเร็ว เพื่อเป็น
ป่าชายเลนในบริเวณโรงเรียน ท้าให้กระแสคลื่นกัดเซาะชายฝั่งอย่างรุนแรง กิจกรรมใดๆ หรือการก่อสร้างโครงสร้างใดๆ แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าและเพิ่มความ
บางปะกง “บวรวิทยายน” และ และต่อเนื่อง เป็นพื้นที่มากกว่า ๑,๐๐๐ ไร่ บริเวณชายฝั่งที่เป็นการรบกวนสมดุลของ อุดมสมบูรณ์ให้แก่ธรรมชาติ


เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ
โรงเรียนพระพิมลเสนีย์ ในเขต รวมทั้ง การท้าประมงแบบอวนลากหรืออวนรุน ชายฝั่งทะเล เว้นแต่ การด้าเนินการเพื่อป้องกัน ๔. ศึกษาและจัดท้าแผนแม่บทการจัดการ
ต้าบลบางปะกง อ้าเภอบางปะกง ท้าให้เกิดการเคลื่อนที่ของตะกอนออกไปจาก และแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝัง่ ที่ได้มีผล ท่องเที่ยวเชิงนิเวศเฉพาะแหล่ง โดยก้าหนด
จังหวัดฉะเชิงเทรา ชายฝั่ง การศึกษาทางวิชาการที่ชัดเจนเป็นที่ยอมรับ แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการให้
๒.๓ พื้นที่ปา่ ชายเลนบริเวณเกาะกลาง ๔. ล้าน้้าบางปะกงบริเวณคุ้งน้้าด้านในตื้นเขิน และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ หรือมีความ เหมาะสมสอดคล้องกับขีดความสามารถในการ
ในเขตต้าบลท่าข้าม อ้าเภอบางปะกง เนื่องจากกระแสน้า้ ในบริเวณดังกล่าวไหลช้า จ้าเป็นเพื่อกิจการของส่วนราชการตามมติของ รองรับเชิงนิเวศของพื้นที่
จังหวัดฉะเชิงเทรา ท้าให้มีการตกตะกอนได้ง่ายตามธรรมชาติ กรมการจังหวัดโดยความเห็นชอบของ ๕. สนับสนุนและพัฒนาพื้นที่ป่าชายเลนให้เป็น
(เขตป่าชายเลนตาม ๒.๑ ๒.๒ และการเลีย้ งปลาในกระชังที่เพิ่มมากขึ้นท้าให้ คณะรัฐมนตรี ศูนย์เผยแพร่การเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน
และ ๒.๓ ให้ใช้แนวเขตป่าชายเลน กีดขวางการไหลของกระแสน้้า ส่งผลให้ ๖. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการอนุรักษ์ระบบนิเวศป่า
ตามที่ปรากฎบนแผนทีภ่ ูมิประเทศ กระแสน้า้ ในบริเวณนี้ไหลช้าลงและเกิดการ ชายเลน เพื่อปลูกสร้างจิตส้านึกให้กับประชาชน
ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกรมแผนที่ทหาร) ตกตะกอน ในขณะเดียวกันผู้เลี้ยงไม่มีการดูดเลน ๗. ปรับปรุง และจัดท้าแผนที่แนวชายฝั่งให้เป็น
๒.๔ พื้นทีแ่ นวชายฝั่งทะเล ซึ่งวัดเข้าไป ใต้กระชัง จึงท้าให้มีตะกอนสะสมเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบัน เพื่อสามารถน้ามาใช้ประกอบการ
ในแผ่นดินในระยะ 50 เมตร และ วางแผนการจัดการชายฝั่งได้อย่างเป็นระบบ
ออกไปในทะเลในระยะ 50 เมตร และมีประสิทธิภาพ
ในเขตหมู่ที่ 3 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 9 ๘. ศึกษาในเชิงบูรณาการเพื่อน้าวิธีการและ
และหมู่ที่ 10 ของต้าบลสองคลอง เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการป้องกันชายฝั่ง
อ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา บริเวณทีม่ ีการกัดเซาะอย่างรุนแรง โดย
และหมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 6 ระมัดระวังมิให้ส่งผลกระทบต่อการกัดเซาะใน
ของต้าบลคลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง บริเวณข้างเคียง
จังหวัดชลบุรี และพื้นที่ริมฝั่งแม่นา้ ๙. ศึกษา ส้ารวจ เพื่อก้าหนดระยะถอยร่นของ
ในระยะ ๕๐ เมตร วัดจากแนวตลิง่ สิ่งปลูกสร้างบริเวณชายฝั่งที่เหมาะสม เพื่อเป็น
ออกไปในแม่น้า ในเขตหมู่ที่ 10 แนวกันชน (Buffer) บริเวณชายฝัง่
ต้าบลบางปะกง อ้าเภอบางปะกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา


เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ

บริเวณที่ ๓ เขตควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน ๑. การขาดการจัดการที่เหมาะสม ท้าให้ภาวะ ๑. ก้าหนดบริเวณที่ ๓ ให้เป็นพื้นที่หา้ มกระท้าการ ๑. สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบ


ได้แก่ มลพิษจากแหล่งก้าเนิดต่างๆ บริเวณริมฝั่งแม่น้า ดังต่อไปนี้ บ้าบัดน้้าเสียรวมและให้ความช่วยเหลือองค์กร
พื้นที่ต่อเนื่องจากบริเวณที่ ๑ บางปะกงและบริเวณใกล้เคียง ทั้งเขตชุมชน (๑) การปล่อยทิ้งของเสียหรือมลพิษลงสู่แหล่ง ปกครองส่วนท้องถิ่นในการดูแลและรักษาระบบ
และบริเวณที่ ๒ ไปจนสุดเขต เขตอุตสาหกรรม และแหล่งประกอบอาชีพ น้้า เว้นแต่กรณีที่ได้ผ่านการบ้าบัดตาม บ้าบัดน้้าเสียรวมที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ
ต้าบลบางปะกง ต้าบลท่าข้าม ทางการเกษตร ทั้งการเพาะปลูก ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มาตรฐานของทางราชการแล้ว ๒. สนับสนุนให้มีการจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุน
ต้าบลสองคลอง อ้าเภอบางปะกง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้้า (๒) การถม ปรับพื้นที่ หรือปิดกั้น ซึ่งท้าให้ เพื่อจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จังหวัดฉะเชิงเทรา และต้าบล โดยตรง และ ท้าให้คุณภาพน้้าบริเวณปากแม่น้า แหล่งน้้าสาธารณะตื้นเขิน หรือเปลี่ยน ส้าหรับการก่อสร้างระบบบ้าบัดน้้าเสียรวมชุมชน
คลองต้าหรุ อ้าเภอเมือง จังหวัด บางปะกงเสื่อมโทรม โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ทิศทาง หรือท้าให้แหล่งน้้านั้นไม่อาจไหล และกิจกรรม/โครงการด้านการจัดการน้้าเสีย
ชลบุรี 2. ปริมาณน้้าเสียและของเสียเพิ่มมากขึ้น จากการ ไปได้ตามปกติ ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง
ขยายตัวของเขตชุมชนบริเวณใกล้ปากแม่น้า ๒. ในบริเวณที่ ๓ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ริมฝั่ง ส่วนท้องถิ่นพิจารณาออกข้อบัญญัติท้องถิ่นให้
บางปะกง ทั้งชุมชนดั้งเดิมและชุมชนที่เกิดขึ้น แม่น้า ล้าคลอง หรือแหล่งน้้าสาธารณะให้มี บ้านเรือนและอาคารที่อยู่นอกพื้นที่ให้บริการ
ใหม่ ตามการขยายตัวของพื้นที่อุตสาหกรรม ที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามธรรมชาติของ บ้าบัดน้้าเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนที่อยู่
และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ แม่น้า ล้าคลอง หรือแหล่งน้้าสาธารณะไม่น้อย ริมน้้าติดตั้งระบบบ้าบัดน้้าเสีย และควบคุม
โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก กว่า ๖ เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตาม
2. ผังเมืองรวมชุมชนบางปะกง ซึง่ ใช้บังคับตั้งแต่ คมนาคมทางน้้าหรือการสาธารณูปโภค พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
วันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้หมดอายุ และกฎหมายที่เกีย่ วข้อง
บังคับใช้ลงเมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕ 4. น้าร่องการเพิ่มพื้นที่สเี ขียวในแปลงที่ดินของรัฐ
ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการด้าเนินการตาม สถานที่ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน และ
ขั้นตอนของกฎหมายและยังไม่มีผลบังคับใช้ การปลูกไม้ยืนต้นในบริเวณที่ดินสาธารณริมทาง
ดังนั้น ระยะเวลาทีล่ ่วงเลยมาจนถึงปัจจุบัน จึง หรือริมน้้าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชน
ท้าให้เกิดช่องว่างในการควบคุมผังเมือง 5. ให้ท้องถิ่นออกข้อบัญญัติท้องถิ่นที่สามารถ
ก่อให้เกิดสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินไปใน ก้ากับและผลักดันให้พื้นทีส่ ีเขียวเกิดขึ้นได้อย่าง
ทิศทางที่ไม่เหมาะสม เป็นรูปธรรม


เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ
6. ส่งเสริม สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการพื้นที่สีเขียว
ของชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ยั่งยืน ได้แก่ การจัดท้าแผนแม่บทการจัดการ
พื้นที่สีเขียวระดับชุมชน การส่งเสริมให้ชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส้ารวจจ้านวนและ
ขนาดพื้นที่สีเขียวแต่ละประเภท รวบรวมและ
จัดท้าข้อมูลพันธุ์ไม้ โดยเฉพาะไม้ยืนต้นขนาด
ใหญ่ พร้อมทัง้ จัดท้าฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่
สนับสนุนการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว
7. ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดใน
โรงงานอุตสาหกรรม (Clean Technology)
8. ส่งเสริมและสนับสนุนโรงงานอุตสาหกรรมขนาด
กลางและขนาดย่อม ตลอดจนอุตสาหกรรมชุมชน
ให้มีการจัดการน้้าเสียที่เหมาะสม
9. ก้ากับการบังคับใช้กฎหมายกับโรงงาน
อุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม
และนิคมอุตสาหกรรม ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสีย
และระบายน้้าทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ควบคุมการระบายน้้าทิ้งที่ก้าหนด
๑๐. ให้มีการติดตาม ตรวจสอบการด้าเนินการตาม
มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามที่ได้
ก้าหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง

๑๐
เขตพื้นที่ ประเด็นปัญหา มาตรการ แนวทางปฏิบัติ
๑๑. ศึกษาถึงศักยภาพของพื้นที่เกษตรกรรม และ
ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์และคุ้มครอง
พื้นที่เกษตรกรรม (พื้นที่สีเขียว) โดยเฉพาะพื้นที่
เกษตรกรรมชั้นดี ให้คงไว้ในสัดส่วนที่เหมาะสม
๑๒. เสริมสร้างศักยภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
เกษตรกรในการจัดการของเสียและน้้าเสียจาก
ฟาร์มสุกร และควบคุมการระบายน้้าทิ้งให้เป็นไป
ตามมาตรฐานการระบายน้้าทิ้งจากฟาร์มสุกร
๑๓ เสริมสร้างศักยภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
เกษตรกรในการจัดการน้า้ ทิ้งจากการเพาะเลีย้ งสัตว์
น้้าชายฝั่ง และควบคุมการระบายน้้าทิ้งจากการ
เพาะเลีย้ งสัตว์น้าให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุม
การระบายน้้าทิ้งจากบ่อเพาะเลีย้ งสัตว์น้าชายฝั่ง
๑๔. เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา
มลพิษทางน้้าจากการเพาะปลูก และส่งเสริม
เกษตรอินทรีย์และการพัฒนาฟาร์มตาม
มาตรฐานทีด่ ี (Good Agriculture Practice:
GAP) และมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืน (Code of Conduct :CoC)
๑๕. ก้ากับการบังคับใช้กฎหมายกับฟาร์มสุกรและ
บ่อเพาะเลีย้ งสัตว์น้าที่ถูกควบคุมภายใต้
พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้มีระบบ
บ้าบัดน้้าเสียและระบายน้้าทิ้งเป็นไปตาม
มาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งที่ก้าหนด

๑๑
มาตรการทั่วไปสาหรับทุกเขต
มาตรการ ที่มา
๑. เพื่อประโยชน์ในการก้ากับดูแลและติดตามผลการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้าบางปะกง - ผลการศึกษาภายใต้โครงการบริหารจัดการ
(๑) ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการก้ากับดูแลและติดตามผลการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด เพื่อท้าหน้าที่ดูแล ติดตาม และตรวจสอบการบังคับ นิเวศลุ่มน้้าบางปะกง. และการระดมความเห็น
ใช้มาตรการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมตามประกาศนี้ และให้ความเห็นชอบต่อการน้าแผนงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ (สผ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒)
ให้คณะกรรมการระดับจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานคณะกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการที่เกีย่ วข้องประจ้า
จังหวัดหรือผู้แทน หัวหน้ารัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องในจังหวัดหรือผู้แทน หัวหน้าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งในพื้นที่หรือผู้แทน ผู้ทรงคุณวุฒิ
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในพื้นที่ไม่เกินสามคน และผู้แทนภาคเอกชนซึ่งมีกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในพื้นที่ไม่เกินสามคนเป็นกรรมการ และให้หัวหน้าส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด เป็นกรรมการและ
เลขานุการ
กรรมการตามวรรคสองให้ผู้ว่าราชการจังหวัดในพื้นที่ เป็นผู้เสนอชื่อต่อรัฐมนตรีภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ
คณะกรรมการก้ากับดูแลและติดตามผลการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด ต้องมีการประชุมอย่างน้อยหนึ่งครั้งต่อปี และต้องรายงานผลต่อ
คณะอนุกรรมการพิจารณาการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม (คณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ)
อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
(๒) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการก้ากับดูแลและติดตามผลการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้าบางปะกง
แต่งตั้งคณะกรรมการระดับท้องถิ่น เพื่อท้าหน้าที่ดูแล ติดตาม และตรวจสอบการบังคับใช้มาตรการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมตามประกาศนี้
ให้คณะกรรมการระดับท้องถิ่นตามวรรคหนึ่ง ประกอบด้วยผู้บริหารท้องถิ่นเป็นประธานคณะกรรมการ รองนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในพื้นที่ สมาชิกสภาท้องถิ่นแต่ละแห่งในพื้นที่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกจ้านวนสามคน ผู้แทนภาคราชการและ/หรือรัฐวิสาหกิจ
ที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกไม่น้อยกว่าสามคน ผู้แทนประชาคมท้องถิ่นที่ประชาคมท้องถิ่นคัดเลือกไม่น้อยกว่าสามคน เป็นกรรมการ และให้
ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการก้ากับดูแลและติดตามผลการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น ต้องมีการประชุมอย่างน้อยสองครั้งต่อปี และต้องรายงานผลต่อ
คณะกรรมการระดับจังหวัด อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

๑๒
มาตรการ ที่มา
๒. เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการฟื้นฟูและบ้ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ให้ด้าเนินการ
ดังต่อไปนี้
(๑) ให้จังหวัดด้าเนินการให้มีการฟื้นฟูและบ้ารุงรักษาพื้นที่ป่าชายเลนทีม่ ีสภาพรกร้างว่างเปล่า หรือเลิกการใช้ประโยชน์ตามที่ได้รับอนุญาตตาม - มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ.
กฎหมายแล้ว ให้สอดคล้องกับแผนการจัดการป่าชายเลนของประเทศตามมติคณะรัฐมนตรี เพื่อให้พนื้ ที่นั้นฟื้นคืนสู่ธรรมชาติโดยเร็ว เพื่อเป็นแหล่ง ๒๕๔๖ เรื่อง โครงการปลูกป่าชายเลน
ที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า และเพื่อเพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ธรรมชาติ ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการก้ากับดูแลและติดตามผลการ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์
คุ้มครองสิ่งแวดล้อม พระบรมราชินีนาท ในวโรกาสทรงพระชนมายุ
(๒) ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้าเนินการส้ารวจพื้นที่งอกชายฝั่ง การใช้ประโยชน์พื้นที่ และการถือครอง โดยจ้าแนกเป็นพื้นที่ในกรรมสิทธิ์ของเอกชนและ ๗๒ พรรษา ที่ให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าร่วมกัน
ของรัฐให้ชัดเจน เพื่อน้าพื้นที่งอกชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้นใหม่ผนวกรวมเป็นพื้นที่อนุรักษ์ ตามแนวทางของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ฟื้นฟูป่าชายเลนให้คืนและคงความอุดมสมบูรณ์
๒๕๔๓ ในจังหวัดที่มีพื้นทีป่ ่าชายเลนอย่างน้อยจังหวัด
ละ ๒๐,๐๐๐ ไร่
- มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๓
เรื่อง การแก้ไขปัญหาการจัดการพื้นที่ป่าชายเลน

๓. เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างจิตส้านึกด้านสิ่งแวดล้อม ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน ที่จะด้าเนินโครงการหรือ - ผลการศึกษาภายใต้โครงการบริหารจัดการนิเวศ


กิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม จัดท้าแผนงานดังต่อไปนี้ ลุ่มน้้าบางปะกง (สผ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒)
(๑) แผนงานสร้างจิตส้านึกและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้ชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม
(๒) แผนงานการเผยแพร่ความรู้และการประชาสัมพันธ์ให้แก่ชุมชนในท้องถิ่นเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถด้าเนินการดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับแผนงานของท้องถิ่นนั้น

๑๓
มาตรการ ที่มา
๔. ก้าหนดให้พื้นที่ชุ่มน้้าบริเวณปากแม่น้าบางปะกงเป็นที่สาธารณะและมิให้ส่วนราชการเข้าไปใช้ประโชน์เพื่อสงวนไว้เป็นเหล่งรองรับน้้าและกักเก็บน้้า - มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
ต่อไป ตามแนวทางของมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๓ เรื่อง ทะเบียนรายงาน เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี วันที่
พื้นที่ชุ่มน้้าที่มีความส้าคัญระดับนานาชาติ และระดับชาติของประเทศไทยและมาตรการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้้า โดยมีแนวทางปฏิบตั ิดังนี้ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๓ เรื่อง ทะเบียนรายงานพื้นที่
(๑) โครงการพัฒนาใดๆ ทีม่ ีแนวโน้มจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศของพื้นที่ชุ่มน้้าบริเวณปากแม่น้าบางปะกง ให้เสนอรายงานผลกระทบ ชุ่มน้้าที่มีความส้าคัญระดับนานาชาติ และ
สิ่งแวดล้อมเบื้องต้นหรือรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แล้วแต่กรณี ต่อส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ระดับชาติของประเทศไทยและมาตรการอนุรักษ์
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติที่ก้าหนดตามมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ พื้นที่ชุ่มน้้า
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
(๒) ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอ้านาจเรียกให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และบุคคลอื่น ส่งเอกสารการส้ารวจผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เรื่อง ก้าหนดประเภทและขนาด
สิ่งแวดล้อม และเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องของโครงการและแผนงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือบุคคลนั้นมาพิจารณา ในการนี้อาจเรียก ของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดท้ารายงาน
บุคคลที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงด้วย หากเห็นว่าโครงการและแผนงานใดอาจจะท้าให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ
ให้เสนอมาตรการแก้ไขต่อคณะรัฐมนตรี หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทาง
การจัดท้ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒
- มาตรา ๑๙ แห่ง พรบ. ส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

๕. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยและรวบรวมข้อมูลทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลส้าหรับ - ผลการศึกษาภายใต้โครงการบริหารจัดการ


สนับสนุนการตัดสินใจในอนาคต นิเวศลุ่มน้้าบางปะกง (สผ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒)

๖. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกองทุน หรือการน้ากองทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ เพื่อให้ - ผลการศึกษาภายใต้โครงการบริหารจัดการ


ด้าเนินการตามมาตรการต่างๆ ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กองทุนสิ่งแวดล้อม กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าบางปะกง เป็นต้น นิเวศลุ่มน้้าบางปะกง. และการประชุมรับฟัง
ความเห็น (สผ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒)

๑๔

You might also like