Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

การจัดกระบวนการเรียนรูู้ แบบการคิดมโนทัศน์

Conceptual Thinking Learning : ดร.วิรัตน์ คําศรี จนั ทร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์


มหาวทยาลยมหดล
มหาวิ
ทยาลัยมหิ ดล บรรยายพเศษแกนกศกษาปรญญาโทโครงการพเศษ
บรรยายพิเศษแก่นกั ศึกษาปริ ญญาโทโครงการพิเศษ สาขาเทคโนโลยการศกษา
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๕ มกราคม ๒๕๕๓ ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. ห้องบรรยาย ๒๐๒๑

การคิดเชิงมโนทัศน์ คืออะไร บทบาทสํ


• การคดเชงมโนทศนคออะไร บทบาทสาคญตอการพฒนาคุ
าคัญต่อการพัฒนาคณภาพคน
ณภาพคน ชุชมชน
มชน
และสังคม เป็ นอย่างไร
• พื้นฐานทฤษฎีที่มีนยั สําคัญทางสาขาศึกษาศาสตร์ เทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา
สังคมศาสตร์์และมนุษยศาสตร์์ ศิลปกรรมศาสตร์์ วิทยาศาสตร์์สุขภาพ
และการบริ หารจัดการ เป็ นอย่างไรบ้าง
• นวตกรรมและเทคโนโลยการศกษาของการศกษาแบบเปนทางการ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาของการศึกษาแบบเป็ นทางการ
พัฒนศึกษาศาสตร์ และการศึกษาเรียนรู้ ในวิถชี ุมชน ที่น่าสนใจ ควรเป็ นอย่างไร
• ตัวอย่างเครื่ องมือและวิธีการสร้างกระบวนการเรี ยนรูู ้เป็ นกลุุ่ม
เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้แบบการคิดเชิงมโนทัศน์
แผนภาพการคิด Mind Mapping และ แผนภาพเรียนรู้เชิงปรากฏการณ์ วทิ ยา
ทฤษฎีพนื้ ฐาน เป็ นกลางๆ ประยุกต์ ใช้ และพัฒนาเทคโนโลยี
และ ใช้
ใ ้ ร่ วมกันั ไได้้ ทุกสาขา และนวัตกรรมการศึกษา
และนวตกรรมการศกษา

แนวคิด วิทยาศาสตร์ แก้ ปัญหา พัฒนา


ทฤษฎีพี นื้ ฐาน วิทยาการ ศักยภาพ และขด
ศกยภาพ แล ขีด
องค์ ความรู้ เชืงทฤษฎี ความสามารถของปัจเจก
ภูมปิ ัญญาของสั งคม ชุมชน องค์ กร และสั งคม
• เทคนิิค
• วิธีการ
• กระบวนการ
• ขนตอน
ขั้นตอน
ตัวอย่ าง • รู ปแบบ
• เครื่ องมือ กลไก ระบบ

• ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล • Learning Style • Mind Mapping และหลักสูตรเชิง


และกระบวนการต้ องรองรับ กระบวนการเวทีเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้เป็ น
การมีส่วนร่ วมได้ ทกกคน
การมสวนรวมไดทุ คน
และได้ ผลดีมากกว่ าเดิม กลุ่มของกลุ่มเกษตรกรชาวนาบัว

วิธีคิดเพื่อเห็นความแตกต่ างระหว่ างทฤษฎี วิทยาการ


กับมิติความเป็ นเทคโนโลยี ซงเปนการสรางเทคนคเครองมอ
กบมตความเปนเทคโนโลย ซึ่ งเป็ นการสร้ างเทคนิคเครื่ องมือ วิวธการ
ธีการ
และกระบวนการ เพื่อแก้ ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาเรี ยนรู้
ให้ กลุ่มประชาชนสามารถบรรลุเป้ าหมายได้ ดีกว่ าเดิม
• ช่วยการระดมความคิด แผนภาพการคิดและแนวการเขียน
และจัดระบบการคิดเป็ นภาพ
• สามารถคิดแบบกระจาย
เพือ่ บริหารจัดการกลุ่ม
เป็ น 360 องศา
เปน
• เขียนประเด็นย่อๆ
การแตกแขนง แตกเท่่าหัวั ข้อ้ ย่อ่ ย
• ใช้คาํ หลักสั้นๆ กิ่งละหัวข้อ
• วาดรู ปและใช้ส้ ญั ลักษณ์์
• ใส่ สีสนั และใช้พ้นื ที่กระดาษ ตรงกลาง
อย่างมีประสิ ทธิภาพ
อยางมประสทธภาพ
เขียี นประเด็
ป น็ หลักั
หรือหัวข้ อหลัก

การแตกกิ่งแผ่ออกเหมือน
แขนงเส้นประสาท
หรื อกิ่งไม้ เป็ นรายละเอียด
ของหัวข้อย่อย
ของหวขอยอย
เคาโครงและประเดนการวจยแบบเดยวกน
เค้ าโครงและประเด็นการวิจยั แบบเดียวกัน
เมือ่ ทําเป็ นเครื่องมือเก็บข้ อมูลแบบสั มภาษณ์ ทเี่ ราคุ้นเคย
ก็จะแบ่ งแบบสอบถามเป็ น ๖-๗ ส่ วนตามประเด็นและมิตทิ ตี่ ้ องการศึกษา

การศึกษาบทเรียนของกลุ่ม องค์กร ชุมชน


แบบสอบถามส่ วนที่ ๑ ขัอมูลผูต้ อบแบบสอบถาม
แบบสอบถามส่ วนที่ ๒ บรบททางสงคม
แบบสอบถามสวนท บริ บททางสังคม วฒนธรรม
วัฒนธรรม สงแวดลอม
สิ่ งแวดล้อม
แบบสอบถามส่ วนที่ ๓ ข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม องค์กร (ผูก้ ระทําปรากฏการณ์)
แบบสอบถามส่ วนที่ ๔ กิจกรรมและการดําเนินการในกรณี ที่ศึกษา
แบบสอบถามส่ วนที่ ๕ ปัจจัยเชิงบวก
แบบสอบถามส่ วนที่ ๖ ปัจจัยเชิงลบ
แบบสอบถามส่่ วนทีี่ ๗ ข้อ้ เสนอแนะและอืื่นๆ
เมื่อออกแบบทําเป็ นกระบวนการเรียนรู้ เป็ นกลุ่ม
ได้ แผนภาพทีม่ ปี ระเด็นเหมือนแบบสอบถาม
ไดแผนภาพทมประเดนเหมอนแบบสอบถาม
แต่ปฏิสมั พันธ์และสถานการณ์การเรี ยนรู้เป็ นกลุ่ม
บริบททางสั งคม วัฒนธรรม สิ่ งแวดล้ อม จะเกิดขึ้น ซึ่งทําไม่ได้โดยวิธีที่เน้นการเก็บข้อมูลด้วย
• ความเป็ นชุุมชน ปููมชุุมชน พัฒนาการต่าง แบบสอบถามและสร้างความรูู ้โดยคนนอกชุุมชน
• ความรู ้ ระบบคิด ระบบความรู ้ เครื อข่ายทางปัญญา

เรื่ องที่จะถอดบทเรี ยนและแสดงเชิงปรากฏการณ์ อย่างเป็ นระบบ


เครือข่ ายพัฒนาสุุ ขภาพและคุุณภาพชีวติ ชุุมชน

ทีมทีด่ ปี ระกอบด้ วยใครบ้ าง

ปัจจัยบวก เสริมให้ สําเร็จ อุปสรรค ปัญหา ทําให้ ผลไม่ ดี


ทําํ ให้
ใ ้ เข้้ มแข็ง็ ๓ อย่่ าง ควรเลียี่ ง ๓ อย่่ าง
บริบททางสั งคม วัฒนธรรม สิ่ งแวดล้ อม
• เป็ นชุมชนระดับอําเภอ เพิง่ ก่อตั้ง ๓ ตําบล จาก ๔ จังหวัด
• ชนบทล้าหลัง ชุมชนเมืองบ้านจัดสรร ปริ มณฑลเมืองหลวงไทย
• ที่ราบลุ่ม แหล่งอุดมสมบูรณ์ภาคกลาง ลุ่มนํ้าเจ้าพระยา

เครื อข่ายพัฒนาสขภาพและคณภาพชี
เครอขายพฒนาสุ ขภาพและคุณภาพชวตชุ
วติ ชมชน
มชน
บทเรียนประชาคม อําเภอพุทธมณฑล

กลุ่มประชาคมวิจยั สหสาขา
และปฏิบัตกิ ารชุุมชน
๒๐๐-๓๐๐ คน

ปัจจัยบวก เสริมให้ สําเร็จ อุปสรรค ปญหา


ปั ทาใหผลไมด
ํใ ้ ไ ่ ี
• สร้างความรู้ชุมชน • การเชื่อมภายนอกเร็ วไป
• เครื อข่ายสหสาขา • การขาดการถอดบทเรี ยยงนรวม
• ทํางานแนวราบ แนวประชาคม • ขาดการจดการความรู
ขาดการจัดการความร้ที่พอเพยง
พอเพียง
กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี ปลีย่ นไปเมื
ไ อื่ ระเบียบวิธีวจิ ยั และปฏิบัตกิ ารเชิงสั งคม
มีเครื่องมือและวิธีการเชิงกระบวนการเข้ ามาแทนวิธีการเดิม
• คิดและทํางานด้วยภาษาภาพและสื่อปฏิสมั พันธ์ที่หลากหลาย เสริ มพลังการสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้เป็ นกลุ่ม
• ช่องว่างทางสังคมหลายมิติ แก้ปัญหาความแตกต่างทางความรู ้ ปั ญหาความแตกต่างและเหลื่อมลํ้าทางประสบการณ์
ทําให้ชาวบ้านที่อ่านหนังสื อไม่แตกและร่ วมการประชุมไม่เป็็ นมีโอกาสพัฒนาตนเองให้มีส่วนร่ วมได้มากขึ้น
• ทบาทและโครงสร้างความสัมพันธ์ของนักวิจยั กับชุมชน และบทบาทของครู วิทยากร นักพัฒนา กับชาวบ้าน
เปลี่ยนจากโครงสร้างแนวดิ่งเป็ นแนวราบ ชาวบ้านไม่ได้เป็ นเพียงผ้ถู กวิ ู จยั และแหล่งข้อมลให้
ู นกั วิชาการ
แต่ร่วมเป็ นผูเ้ รี ยนรู ้และเป็ นนักวิจยั สร้างความรู ้ เพื่อแก้ปัญหาของตนเองด้วย นักวิจยั และนักวิชาการก็เป็ นผูเ้ รี ยนรู้
• เปลี่ยนบทบาทชาวบ้านและกลุ่มเป้ าหมายจากการเป็ นผูใ้ ห้สมั ภาษณ์รายบุคคล เป็ นกลุ่มเรี ยนรู ้และสร้างความรู้แก้ปัญหา
• กลุ่มและชุมชนเป็ นเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ วิจยั สร้างบทสรุ ปและนําสิ่ งต่างๆไปใช้แก้ปัญหา
• เกิดการแลกเปลี่ยนสื่ อสารและจัดการความรู ้ผสมผสาน ทําให้ประสบการณ์ลศักยภาพหลากหลายของปัจเจก
เป็ นทนทางปั
เปนทุ นทางปญญา
ญญา
• เกิดกระบวนการทํางานและเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่ม สร้างภาวะผูน้ าํ แบบรวมกลุ่ม ทําให้เกิดองค์กรจัดการอย่างมีส่วนร่ วมที่ดี
กลุ่มก้้ อน ชุมชน กลุ่มประชาคม
ป เป็ นทั้ งครู ผูเ้ รี ยน หลักสู ตรและกระบวนการเรี ยนรู ้
เป็ นทั้งสถานการณ์การเรี ยนรู ้ เนื้อหาการเรี ยนรู ้ เป้ าหมายการพัฒนา
และเปนปจจยหลกเพอกระบวนการเรยนการสอน
ป็ ปั ั ั ื่ ี ส เพอความเปนชุ
ื่ ่
ป็ มชนแหงการเรยนรู
ี ้
และการศึกษาเรี ยนรู ้ที่ดาํ เนินอยูใ่ นวิถีชีวติ
การเรียนรู้คนเดียว เช่น การนัง่ คิด อ่าน เขียน วาดรู ป การภาวนาคนเดียว
อินเทอร์เน็ตและสื่ อแบบ On demand
การเรีียนรู้ เป็ นมวลชน เช่น เรี ยนรู้จากสื่อโทรทัศน์์ หนังสือพิมพ์์ วิทยุ เวทีสาธารณะ
โรงภาพยนต์ ลิเก มโหรสพ กิจกรรมสาธารณะ พิพิธภัณฑ์ หอสมุด
การเรียนร้ เปนกลุ
การเรยนรู ป็ นกล่ มและเปนชุ
และเป็ นชมชน
มชน เชนเช่น เรยนรู
เรี ยนร้จากกิ
ากกจกรรม
จกรรม การพู
การพดและสนทนากั
ดและสนทนากนน
การทําโครงงานกิจกรรมเป็ นกลุ่ม ปฏิบตั ิการชุมชน ทํางานส่ วนรวม
การลงแขก
การศึกษาและการพัฒนาการเรียนร้
การศกษาและการพฒนาการเรยนรู

การศึกษาทีเ่ ป็ นทางการ เช่น การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาก่อนอุดมศึกษา


การศึกษาอดมศึ
การศกษาอุ ดมศกษา
กษา เทคนค
เทคนิค อาชวะ
อาชีวะ หลั
หลงปรญญา
งปริ ญญา
การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษาทางเลือก เช่น การศึกษาผูใ้ หญ่
การศึกษานอกโรงเรี ยน การศึกษาทางไกล การศึกษาบ้านเรี ยน
การศึกษาตลอดชีวติ การศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การอ่าน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวทัศนศึกษาและเรี ยนรู ้ การอาสาชุมชน
การทํางานอาสาสมัคร การเปิ ดรับสื่ ออย่างเรี ยนรู ้
การทําการงานอย่างมีการเรี ยนรู ้ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น
กลุ่มเรยนรู
ี ้ กลุ่มประชาคมทมมตการศกษาเรยนรู
ป ี่ ี ิ ิ ศึ ี ้
ตัวแปรและองค์ ประกอบสํ าคัญ ทีส่ ามารถพัฒนาแนวคิดและออกแบบกระบวนการได้
• เนอหาและบทเรยน
เนื ้ อหาแล บทเรี ยน
• หลักสูตรและการออกแบบกระบวนการ
• ผูส้ อน ครู ผูจ้ ดั กระบวนการเรี ยนการสอน
• ผูร้ ี ยน คุณลักษณะผูเ้ รี ยน ความเป็ นปัจเจก
• กิจกรรมการเรี ยนรการสอน
• สื่ อ แหลงประสบการณ
สอ แหล่งประสบการณ์ ทรพยากรและปจจยเกอหนุ
ทรัพยากรและปั จจัยเกื้อหนนการเรี
นการเรยนการสอน
ยนการสอน
• เทคโนโลยี นวัตกรรมการศึกษา และการบริ หารจัดการเพื่อการเรี ยนการสอน
• การนําเสนอสถานการณ์การเรี ยนการสอน การนําเสนอสื่ อ
หลักการและทฤษฎีทคี่ วรศึกษาเพือ่ ประยุกต์ ใช้

• ทฤษฎี
ทฤษฎการเรยนรู
การเรี ยนร้แบบเชื
บบเชอมโยง
่อมโยง การเรี
การเรยนรู
ยนร้หลัลกการ
กการ การเรยนรู
การเรี ยนร้มโนทศน
โนทัศน์ และ
การเรี ยนรู ้กฎ เช่น ของกานเย่ บรู เนอร์ รวมทั้งแนวนีโอฮิวแมนนิสต์
• ทฤษฎีการสร้างความรู ้ (Constructivism Theory)
• ทฤษฎี
ฤ ฎการเรี ยนรูู ้ทางสังคม ((Social Learningg Theory) y)
• ทฤษฎีการเรี ยนรู ้จากสถานการณ์ (Situated Learning)
• ทฤษฎการปฏสมพนธและเรยนรู
ี ป ิ ั ั ์ ี ้ (Interactive
(I t ti Learning)
L i )
ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบเชืื่อมโยง การเรียนรู้ หลักการ การเรียนรู้ มโนทัศน์์
และการเรียนรู้ กฎ เช่ น ของกานเย่ บรู เนอร์ รวมทั้งแนวนีโอฮิวแมนนิสต์

การเกิดประสบการณ์ที่หลากหลาย ทําให้ปัจเจกมีแหล่งอ้างอิงภายใน เปรี ยบเทียบ สร้างบท สรุ ป


ความคิดรวบยอด เห็นแบบแผน เกิดมโนทัศน์และกระบวนการคิดเชิงระบบ
ประสบการณ์อนั หลากหลายดังกล่าว เช่น ประสบการ์เชิงสัมผัส การลองปฏิบตั ิ การลองผิดลองถูก
และกระบวนการคิิดซึ่ ึงเกิิดประสบการณ์
ป ์การเรีี ยนรู ้ภายใน

ทฤษฎีการสร้ างความรู้ (Constructivism Theory)

ความรู ้และการเรี ยนรู ้ไม่ใช่สิ่งที่เป็ นประสบการณ์ภายนอกที่ถ่ายทอดจากผูอ้ ื่นไปยังปัจเจก


ซึ่งเป็ นผูเ้ รี ยนรู ้อีกคนหนึ่งเหมือนกับการถ่ายเทของมวลสารและวัตถุ จากผูร้ ู ้ไปยังผูเ้ รี ยน
ทว่า ปัจเจกต่างเป็็ นผูแ้ ลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ เป็็ นปัจจัยแวดล้อ้ มและกัลยาณมิตรทางการเรี ยนรู ้
ของกันและกัน ความรู ้และแหล่งประสบการณ์ต่างๆ ก็เป็ นสภาพแวดล้อม
และเงืื่อนไขทางการเรี
ไ ี ยนรู ้ ทว่า่ ความรู ้และการเรีี ยนรู ้จะเป็ป็ นสิิ่ งทีี่ปัจเจกมีีส่วนร่่ วมในการสร้
ใ ้างขึ้ ึน
ภายในตนเอง การได้ปฏิบตั ิในระดับต่างๆและก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในตนเอง จึงเป็ นการเรี ยนรู ้
ที่ปัจเจกต้องมีส่วนร่ วมสร้างขึ้นด้วยตนเอง ครู
ทปจเจกตองมสวนรวมสรางขนดวยตนเอง คร ผ้ผูสอน และบุ
และบคคลแวดล้
คคลแวดลอม อม สามารถเปนผู
สามารถเป็ นผ้ ส่ งงเสรม
เสริม
และสนับสนุนการเรียนรู้ ให้ ได้ เท่ านั้น
ทฤษฎีการเรียนรู้ ทางสั งคม (Social Learning Theory)

หลักการสําคัญมี ๒ มิติ คือ การเรี ยนรู ้ทางสังคมในแง่ที่เป็ นเนื้ อหาการเรี ยนรู ้ และการเรี ยนรู ้ทาง
สังคมในแง่ที่เป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้
ในแง่ ทเี่ ป็ นเนือ้ หาการเรียนร้ การเรยนรู
ในแงทเปนเนอหาการเรยนรู ี ้ทางสงคมเปนการเรยนรู
ั ป็ ี่ ั
ี ้เกยวกบตนเองของปจเจกใน ปั ใ
ฐานะเป็ นสมาชิกของสังคม ความเป็ นพลเมืองและการมีส่วนร่ วมต่อการสร้างสรรค์ความเป็ น
ส่ วนรวม ตลอดจนระบบสังคมต่างๆๆ เพื่อการพัฒนาการอยูรู่ ่ วมกันในสังคมและสร้างสุุขภาวะ
สังคมที่ดี
ในแง่ กระบวนการเรียนรู้ การปฏิบตั ิกิจกรรมทางสังคมต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นการติดต่อสื่ อสาร
กับผูอ้ ่ืน การสร้างชีวติ กลุ่มก้อนและความเป็ นชุมชน การดําเนินชีวติ และการทํามาหากินซึ่ งต้องจัด
ความสัมพันธ์ทางสังคมและมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ื่นในสังคม เป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ของปัจเจกและ
ชุชมชน
มชน ซงทาใหเกดการพฒนาคนและสรางความเปลยนแปลงในระดบตางๆของสงคมได
ซึ่งทําให้เกิดการพัฒนาคนและสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับต่างๆของสังคมได้
ทฤษฎีการเรียนรู้ จากสถานการณ์์ (Situated Learning Theory)

การได้สมั ผัสกับสถานการณ์ต่างๆ หรื อการได้เข้าไปอยูใ่ นสถานการณ์ดว้ ยตนเอง ทําให้ปัจเจก


ได้ประสบการณ์ที่รอบด้านและเป็ นองค์รวม จึงสร้างความรู ้ความเข้าใจและบทสรุ ปของตนเอง
ให้เ้ ป็็ นการเรี ยนรู ้จาํ เพาะตนและจําเพาะสถานการณ์์ได้้
ทฤษฎีการปฏิสัมพันธ์์ และเรียนรู้ (Interactive Learning)

กระบวนการเรี ยนรู ้ตอ้ งอาศัยองค์ประกอบการเกิดประสบการณ์ซ่ ึงเป็ นแหล่งอ้างอิงและการสะสม


ประสบการณ์ท้ งั ภายในและภายนอกปั จเจก การได้ปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ื่น รวมทั้งคุณลักษณะและ
ระดับการปฏิสมั พันธ์กบั แหล่งประสบการณ์ชนิดต่างๆ จึจงสงผลใหเกดการเรยนรู
ระดบการปฏสมพนธกบแหลงประสบการณชนดตางๆ งส่ งผลให้เกิดการเรี ยนร้ข้ ึนนภายในปจเจก
ภายในปัจเจก
ยืดหยุน่ ไปตามการปฏิสมั พันธ์และเรี ยนรู ้ในเงื่อนไขแวดล้อมนั้นๆ
ความคิดและความเป็ นจริง 3 ระดับ ทีค่ วรรู้

• ปรากฎการณ์
ปรากฎการณ เหนดวยตาและการสมผส
เห็นด้ วยตาและการสั มผัส
• โครงสร้าง ระบบ ระเบียบแบบแผน กําหนดปรากฏการณ์ เห็นด้ วยความรู้
• Theme / วิถีการคิด / Mental Model เห็นด้ วยสติปัญญา

You might also like