DCMM 10k Passband

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 39

บทที่ 10

การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์
Passband Digital Signal Transmission
http://www.kmitl.ac.th/~kchsomsa/somsak/crse_dcmm/crse_dcmm.html

วัตถุประสงค์ ของบทศึกษา
การส่ งสัญญาณในเบสแบนด์ที่ผา่ นมานั้นเป็ นการส่ งข้อมูลดิจิตอลออกไป โดยไม่ตอ้ งมีการมอดูเลตกับความถี่อื่น (แต่
จะต้องปรับรู ปร่ างของพัลส์เสี ยก่อน) การทวนสัญญาณและการขยายสัญญาณนั้นทําได้ยาก ทําให้เป็ นข้อจํากัดอย่าง
หนึ่งในเรื่ องของระยะทางการส่ ง ในอีกทางเลือกการส่ งแบบผสมความถี่น้ นั ซับซ้อนมากกว่า แต่กท็ าํ การทวนสัญญาณ
ได้ง่าย พร้อมกันนั้นยังสามารถที่จะส่ งข้อมูลครั้งละหลายบิต (เรี ยกว่าสัญญาณเวคเตอร์ ) ได้อีกด้วย
การมอดูเลตหรื อการกลํ้าสัญญาณนั้นอาศัยเทคนิคต่างๆ ดังที่เคยเสนอไปในบทก่อน ๆ เช่น การกลํ้าทางขนาด การกลํ้า
ทางเฟส และการกลํ้าทางเฟสของสัญญาณ

10.1 การส่ งสั ญญาณดิจิตอลในพาสแบนด์


การส่ งสัญญาณในเบสแบนด์ที่ผา่ นมานั้นเป็ นการส่ งข้อมูลดิจิตอลออกไป โดยไม่ตอ้ งมีการมอดูเลตกับความถี่อื่น (แต่
จะต้องปรับรู ปร่ างของพัลส์เสี ยก่อน) การทวนสัญญาณและการขยายสัญญาณนั้นทําได้ยาก ทําให้เป็ นข้อจํากัดอย่าง
หนึ่งในเรื่ องของระยะทางการส่ ง ในอีกทางเลือกการส่ งแบบผสมความถี่น้ นั ซับซ้อนมากกว่า แต่กท็ าํ การทวนสัญญาณ
ได้ง่าย พร้อมกันนั้นยังสามารถที่จะส่ งข้อมูลครั้งละหลายบิต (เรี ยกว่าสัญญาณเวคเตอร์ ) ได้อีกด้วย

Ac cos ( 2πfc t )

รู ปที่ 10.1 แสดงแนวคิดการส่ งข้อมูลดิจิตอลโดยการมอดูเลตกับสัญญาณความถี่

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 1
การส่ งข้อมูลครั้งละหลายบิตนั้นกระทําได้โดยการจัดให้กลุ่มของบิตอยูใ่ นรู ปเวคเตอร์เสี ยก่อน โดยที่เวคเตอร์เหล่านั้น
ประกอบขึ้นมาจากหน่วยเวคเตอร์พ้นื ฐานเป็ นอิสระต่อกัน (เรี ยกว่าเบซิ ส) จํานวนเวคเตอร์ (ก็คือจํานวนสัญญลักษณ์
หรื อ multi-dimensional signal) จะมีมากน้อยนั้น ก็จะขึ้นอยูก่ บั จํานวนเบซิ สนัน่ เอง เมื่อได้เวคเตอร์แล้วก็จะทํา
การมอดูเลตกับความถี่ที่เหมาะสมต่อช่องทางสื่ อสารเมื่อถึงปลายทาง ภาครับก็จะจํากัดความถี่ส่วนคลื่นพาห์ออกไป
ข้อมูลที่ได้จะถูกตัดสิ นใจโดยดีเทคเตอร์

10.2 สั ญญาณในหลายมิติ และปริ ภูมข


ิ องสั ญญาณ
ที่ผา่ นมาเราได้พิจารณาการส่ งสัญญาณที่มีขนาดแตกต่างกัน ซึ่ งในกระบวนการพัลส์ซ่ ึ งมอดูเลตทางขนาด PCM มี
จํานวนระดับสัญญาณ M = 2 k ระดับ เมื่อ k = log 2 M คือจํานวนบิตที่ใช้แทนสัญญาณในแต่ละระดับ ในกรณี
เช่นนี้สัญญาณขนาดต่างๆกันสามารถที่จะแทนได้ดว้ ย จุดตําแหน่งที่อยูบ่ นแกนจํานวนจริ ง ในทางกลับกันเราสามารถ
ที่จะสร้างสัญญาณได้เป็ นหลายรู ปร่ าง (คือ M รู ปร่ าง) ที่อิสระจากกัน (หรื อออร์โธโกนอลกัน) และแต่ละรู ปร่ างก็มี
พลังงานเท่ากัน แต่ละบล็อคของสัญญาณจํานวน k นี้จะเรี ยกว่า สัญลักษณ์ (symbol) โดยแต่ละบล็อคก็จะถูกส่ งไป
ในเวลา T = kTb วิธีการง่าย ๆ วิธีหนึ่ งในการสร้างเซทของสัญญาณ {s1 (t ), s2 (t ),.....sM (t )} ทําได้โดยกา ทําได้โดย
การแบ่งช่วงเวลา T ออกเป็ น M ส่ วนเท่า ๆกัน (ส่ วนละ T/M) แล้วกําหนดรู ปแบบให้แต่ละส่ วนนี้

10.2 .1 วิธีการของแกรม-ชมิดท์ 1
วิธีการของแกรม-ชมิดท์ (Gram-Schmidt) เป็ นวิธีสาํ หรับการหาเบซิ สของเวคเตอร์ ทั้งนี้เพื่อจะพิจารณาว่าสัญญาณ
เหล่านั้น มีพ้นื ฐาน หรื อประกอบมาจากสัญญาณเช่นไร ในการพิจารณาของแกรม-ชมิดท์น้ นั สัญญาณ M รู ปแบบ คือ
s1 (t ), s2 (t ), s3 (t ),.....sM (t ) ในแต่ละรู ปแบบจะประกอบมาจากเบซิ สฟั งก์ชน
ั คือ φi (t ) ที่มีพลังงานเป็ นจํานวน 1
Ts

หน่วย หรื อ ∫ φ(t ) โดยเบซี สเหล่านั้นมีจาํ นวน ฟังก์ชนั ที่ออร์โธโกนอลกัน คือ


2
dt = 1 N
0
t ⎧0 if i ≠ j
∫ φ i φ j dt = ⎨1 if i = j โดยที่ N ≤ M ดังนั้น
0 ⎩

si ( t ) = s i1φ1 ( t ) + s i 2 φ 2 ( t ) + .....SiN φ N ( t ) (10.1)

หรื อ
N
si ( t ) = ∑ sij φ j ( t ) สําหรับ 0 ≤ t ≤ T และ i = 1,2 ,....., M (10.2)
j =1

1 ตั้งชื่อตาม Jørgen Pedersen Gram และ Erhard Schmidt


_____________________________________________________________________________
2 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
โดยให้ขนาดของสัญญาณซึ่ งอยูใ่ นมิติที่สอดคล้อง (ซึ่ ง sij ก็คือขนาดของ si ที่อยูใ่ นทิศทางเดียวกับ φ j (t ) เป็ นต้น)
T


sij = si (t )φ j (t )dt
0
สําหรับ j = 1,2 ,3 ,...N และ i = 1,2 ,....., M

ลําดับขั้นตอนในการหาเบซิ สโดยวิธีการแกรม-ชมิดท์
1. เบซิ สตัวแรกมีทิศทางเดียวกับทิศกับ s1 (t ) ดังนั้น2
s1 (t )
φ1 (t ) = เมื่อ E1 คือพลังงานของ s1 (t ) (10.3)
E1

T
ดังนั้น3 s11 = E1 (โดยที่ ∫
Ei (t ) = si2 (t )dt )
0

T
2. หา s21 จาก ความสัมพันธ์ sij ( t ) = ∫ si ( t )φ j ( t )dt จะได้
0

T
s 21 = ∫ s 2 ( t )φ1 ( t )dt (10.4)
0

3. เพื่อหา φ 2 (t ) จึงกําหนดฟังก์ชนั 4 f 2 ( t ) = s 2 ( t ) − s 21φ1 (t ) และอาศัยคุณสมบัติออร์โธโกนอลของ


φ1 ( t ), φ 2 ( t ) (คือหาก φ2 (t ) เป็ น เบซิ ส φ2 (t ) ก็จะต้องตั้งฉากกับ φ1 (t ) และ φ2 (t ) จะมีทิศแบบ

เดียวกับ f 2 (t ) ) จึงได้5

f 2 (t ) s2 (t ) − s21φ1 (t )
φ2 (t ) = = (10.5)
1 2
E2 − s21
∫f
2
2 (t )dt
0

2 เนื่องจากในแต่ละระบบอาจมีจาํ นสนเบซิสหลายตัว โดยแต่ละตัวก็จะ ออร์โธโกนอลกัน จึงเป็ นการสะดวกที่จะเริ่ มต้นให้เบซิสตัวแรก ( φ (t ) ) อยูใ่ นทิศทางเดียวกับ


1
สัญญาณตัวแรก ( s1 (t ) )
T T 2 T
3 แต่ละเบสซิสจะมีพลังงานเป็ น 1 เสมอ เช่น
∫ φ 1 (t )dt = ⎛⎜ 1E ⎞⎟ dt =
∫ ∫ s (t )dt = 1
2 s (t ) 1 2
E1 1
⎝ 1 ⎠
0 0 0
4 อาจพิจารณาว่า s ก็คือโปรเจคชันของ s (t ) ลงมาบนแกน φ (t ) ซึ่งเป็ นทิศทางเดียวกับ s (t ) ดังนั้น s (t ) − s φ (t ) จึงตั้งฉากกับ s (t )
21 2 1 1 2 21 1 2
T T T T T
5
∫ f 22 (t )dt ∫ {s (t ) − s ∫ ∫ ∫ φ (t )dt =
2
= 2 21 φ1 (t )} dt = s22 (t )dt − 2 s21 s2 (t )φ1 (t )dt 2
+ s21 2
1
E22 − s21
2

0 0 0 0 0
_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 3
4. เมื่อหา φ2 (t ) ได้แล้ว ก็จะหาเบซิ สตัวต่อ ๆ ไป เช่นนี้ไปเรื่ อย ๆ (เบซิ สทุกตัวมีค่าพลังงานเป็ นหนึ่ง
หน่วยและออร์โธโกนอลกับตัวอื่น ๆ)
5. จากกระบวนการดังกล่าวนี้ สามารถที่จะเขียนเป็ นสมการทัว่ ไปคือ

i −1 T
f i ( t ) = si ( t ) − ∑ sij φ j ( t ) โดยที่ sij ( t ) = ∫ si ( t )φ j ( t )dt (10.6)
j =1 0

ดังนั้น

f i (t )
φi ( t ) = (10.7)
1

∫f
2
i (t )dt
0

ซึ่ งกระบวนการ 1-5 นั้น สามารถที่จะเขียนเป็ นโฟลว์ชาร์ต ดังรู ป

sM (t), .....,s3 (t), s2 (t), s1(t)


s (t )
φ 1 (t ) = 1
E1

i =i+1

i −1
i≤M
f i (t ) = si (t ) − ∑ sij φ j (t)
Yes j =1
END
f i (t )
T
φ i (t ) =

sij = si (t )φ j (t )dt T

∫ fi
2
0 (t )dt
0
T
Yes
j<i

sij = si (t )φ j (t )dt
0
No

φi (t )

รู ปที่ 10.2 โฟลว์ชาร์ตแสดงการหาฟังก์ชนั เบซิ ส โดยวิธีการแกรม-ชมิดท์

_____________________________________________________________________________
4 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
s2 s1 s2 s1

f2
s2 = f 2 + prj( s2 )

2)
j(s
φ 2 (t ) φ1 (t )

Pr
f 2 = s2 − prj( s2 )
= s 2 − k 1 s1
= s2 − s21 s1
s2 − prj( s2 )
−s21 s1

s1 (t ) T
สรุ ปย่อการหา φ2 (t ) : (1) φ1 (t ) = (2) s11 = E1 (3) s 21 = ∫ s 2 ( t )φ1 ( t )dt หรื อ s21 = proj _( s2 )
E1 0
f (t ) s2 (t ) − s21φ1 (t )
(4) f 2 ( t ) = s 2 ( t ) − s 21φ1 ( t ) (5) φ2 (t ) = |f2 (t )| =
2
E2 − s21
2

ตัวอย่ าง
(ตัวอย่างที่ 10.1 , หลักการไฟฟ้ าสื่ อสาร: ลัญฉกร วุฒิสิทธิกลู กิจ)
ให้หาฟั งก์ชนั เบซิ ส โดยวิธีการแกรม-ชมิดท์ ของสัญญาณ s1 (t ), s2 (t ), s3 (t ) และ s4 (t ) โดย

⎧1 0 ≤ t ≤ T / 3 ⎧1 T / 3 ≤ t ≤ T
s1 ( t ) = ⎨ s2 (t ) = ⎨
⎩0 elsewhere ⎩0 elsewhere

⎧0 T / 3 ≤ t ≤ 2T / 3
s3 (t ) = ⎨ s 4 ( t ) = 1; 0 ≤ t ≤ T
⎩1 elsewhere

วิธีทาํ
1. หา s11 โดย

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 5
T T /3

∫ s12 dt ∫ (1) dt = T /3
2
E1 = =
0 0

s11 = E1 = T
3

ดังนั้น

s1 (t ) ⎧⎪ 3
0 ≤ t ≤ T3
φ1 (t ) = =⎨ T
E1 ⎪⎩0 elsewhere

2. หา s21 , φ2 (t ) และ s22 จาก


T
s 21 = ∫ s 2 ( t )φ1 ( t )dt
0
=0

T T
2T
หา E2 โดย E2 = ∫ s22 dt = ∫ 12 dt = แล้วหาเบซิ สตัวที่สองได้จาก
3
0 T /3

⎧1 T
3 ≤t ≤T
f 2 (t ) = s2 (t ) − s21φ1 (t ) = ⎨
⎩0 elsewhere

f 2 (t ) ⎧⎪ 3 T
≤t ≤T
φ2 (t ) = =⎨ 2T 3
2
E2 − s21 ⎩⎪0 elsewhere

T t


s22 = s2 (t )φ2 (t )dt =
0

T /3
3
2T dt = 2T
3

3. หา s31 , s32 , f 3 ( t ) , φ 3 ( t ) และ s33


T T /3
T

s31 = s3 (t )φ1 (t )dt =
0

0
3
T dt =
3

T T
T

s32 = s3 (t )φ2 (t )dt =
0

2 T /3
3
2 T dt =
6

T
2T

E3 = s32 dt =
0
3

_____________________________________________________________________________
6 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
i −1
และจะหา f 3 (t ) หาได้จาก f i ( t ) = si ( t ) − ∑ sij φ j ( t ) โดย
j =1

⎧ −21 T 2T
3 ≤t ≤ 3

f 3 (t ) = s3 (t ) − s31φ1 (t ) − s32 φ2 (t ) = ⎨ 21 2T
3 ≤t ≤T
⎪0 elsewhere

จากนั้นจึงหาค่า φ 3 (t ) และ s33 (โดยที่ 2


E3 − s31 2
− s32 = T
6 )

⎧− 3 T
≤t ≤ 2T

f 3 (t ) f 3 (t ) ⎪ 2T 3 3

φ3 ( t ) = = = ⎨ + 23T 2T
3 ≤t ≤T
T 2 2
E3 − s31 − s32 ⎪ 0 elsewhere
∫f
2
3 (t )dt ⎪⎩
0

T t


s33 = s3 (t )φ3 (t )dt =
0

2 T /3
3
2T dt = T
6

4. หา s41 , s42 , s43 , f 4 ( t ) และ φ 4 (t )


T T /3


s41 = s4 (t )φ1 (t )dt =
0

0
3
T dt = T
3

T T


s42 = s4 (t )φ2 (t )dt =
0

T /3
3
2T dt = 2T
3


s43 = s4 (t )φ3 (t )dt = 0
0

f 4 (t ) = s4 (t ) − s41φ1 (t ) − s42 φ2 (t ) − s42 φ3 (t ) = 0

f 4 (t )
φ 4 (t ) = =0
T

∫f
2
4 (t )dt
0

5. ดังนั้นผลลัทธ์ที่ได้

⎧⎪ 3
0 ≤ t ≤ T3
φ1 (t ) = ⎨ T
⎪⎩0 elsewhere

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 7
⎪⎧ 3 T
≤t ≤T
φ2 (t ) = ⎨ 2T 3
⎪⎩0 elsewhere

⎧− 3 T
≤t ≤ 2T
⎪ 2T 3 3

φ3 (t ) = ⎨ + 23T 2T
≤t ≤T
3
⎪ 0 elsewhere
⎪⎩

*จากตัวอย่างนี้ พึงสังเกตว่า s4 (t ) = s1 (t ) + s2 (t ) จึงไม่มีความจําเป็ น ที่จะนํา s4 (t ) มาคํานวณหาเบซิ ส ดังนั้น


จํานวนเบซิ สจึงมีแค่ 3 เบซิ ส เท่านั้น (ซึ่ งก็คือ N ≤ M ) และสามารถที่จะเขียนสัญญาณต่าง ๆ ได้คือ
T
s1 (t ) = s11φ1 (t ) = 3 φ1 (t )
2T
s2 (t ) = s21φ1 (t ) + s22 φ2 (t ) = 3 φ 2 (t )
T T T
s3 (t ) = s31φ1 (t ) + s32 φ2 (t ) + s33 φ3 (t ) = 3 φ1 (t ) + 6 φ2 (t ) + 6 φ3 ( t )
T 2T
s4 (t ) = s1 (t ) + s2 (t ) = 3 φ1 (t ) + 3 φ2 (t )

หรื อหากจะวาดสัญญาณในลักษณะของปริ ภมู ิสัญญาณ (ดูรายละเอียดหัวข้อถัดไป) ก็สามารถที่จะแสดงได้ดงั รู ป

T
3
s1 (t ) = T
3
φ 1 (t )

s 2 (t ) = 2T φ 2 (t )
T 3
3
s 3 (t ) = T
3
φ 1 (t ) + T
6
φ 2 (t ) + T
6
φ 3 (t )

s 4 ( t ) = s1 ( t ) + s 2 ( t ) = T φ 1 (t ) + 2T φ 2 (t )
3 3
T
3

2T
3

_____________________________________________________________________________
8 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
ตัวอย่ าง
พิจารณาสัญญาณ s1 (t ), s 2 ( t ), s 3 ( t ) และ s4 ( t ) แสดงดังรู ป จงใช้วธิ ีการแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ ส

วิธีทาํ
จะเห็นได้วา่ s4 (t ) = s1 (t ) + s3 (t ) ดังนั้นมีเพียง s1 ( t ), s 2 ( t ), s 3 ( t ) เท่านั้นที่เป็ นอิสระกัน เราจึงใช้สัญญาณเหล่านี้
ในการหาเบซิ ส
1. หาพลังงานของ s1 ( t ) จาก
T T/3
E1 = ∫ s12 ( t )dt = ∫ (1) 2 dt = T
3
0 0

S11 = E1 = T
3

ดังนั้นจึงหาเบซิ สตัวแรกได้จาก
s (t )
φ1 ( t ) = 1
E1
⎧⎪ 3 0 ≤ t ≤T/3
=⎨ T
⎪⎩ 0 elsewhere

2. หา s 21 , E2 และ φ 2 (t ) จาก
T
s 21 = ∫ s 2 ( t )φ1 ( t )dt
0
T/3
= ⎛ 3 ⎞dt
∫ (1)⎜⎝ T ⎟⎠
0

= T
3

พลังงานของสัญญาณ s 2 (t )
T 2 T /3
E2 = ∫
0
s22 (t )dt = ∫
0
(1)2 dt = 2T
3

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 9
ดังนั้นจึงหาเบซิ สตัวที่สองจึงหาได้จาก
s ( t ) − s 21φ1 ( t )
φ 2 (t ) = 2
2
E2 − s 21
⎧⎪ 3 T ≤ t ≤ 2T
=⎨ T 3 3
⎪⎩ 0 elsewhere

หา s22
T
s 22 = ∫ s 2 ( t )φ 2 ( t )dt
0
2T / 3
= 3 dt
∫ T
T/3

= T
3

3. หา s 31 , s 32 , f 3 ( t ) และ φ 3 (t ) จาก
T
s 31 = ∫ s 3 ( t )φ1 ( t )dt
0
=0

T
s 32 = ∫ s 3 ( t )φ 2 ( t )dt
0
2T / 3
= ⎛ 3 ⎞dt
∫ (1)⎜⎝ T ⎟⎠
T/3

= T
3

หาค่าฟั งก์ชนั ชัว่ คราว f 3 (t )

f 3 ( t ) = s 3 ( t ) − s 31φ1 ( t ) − s 32 φ 2 ( t )
⎧⎪ 1 2T ≤ t ≤ T
=⎨ 3
⎪⎩0 elsewhere

ดังนั้นจึงหาเบซิ สตัวที่สามจึงหาได้จาก

_____________________________________________________________________________
10 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
f 3 (t )
φ 3 (t ) =
T
2
∫ f 3 ( t )dt
0
⎧⎪ T 2T ≤ t ≤ T
=⎨ 3 3
⎪⎩ 0 elsewhere

หา s33
T
s 33 = ∫ s 3 ( t )φ 3 ( t )dt
0
T
= 3 dt
∫ T
2T / 3
= T3

เบซิ สทั้งสามสามารถแสดงได้ดงั รู ป

10.3 .2 การแสดงสั ญญาณด้ วยเบซิส


จาก
N
si ( t ) = ∑ sij φ j ( t ) (10.8)
j =1

หรื อ
si ( t ) = s i1φ1 ( t ) + s i 2 φ 2 ( t ) + .....SiN φ N ( t ) (10.10)

จะสามารถเขียนได้เป็ น
_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 11
⎡ s i1 ⎤
⎢s ⎥
si ( t ) = ⎢
i2 ⎥
⎢ : ⎥ 1
[φ (t ) φ 2 ( t ) ... φ N (t )] (10.10)
⎢ ⎥
⎣siN ⎦

ในรู ปของเวคเตอร์ จึงเขียนได้เป็ น

⎡ s i1 ⎤
⎢s ⎥
si = ⎢
i2 ⎥
(10.11)
⎢ : ⎥
⎢ ⎥
⎣siN ⎦

ในกรณี ของตัวอย่างที่ผา่ นมา จะเห็นว่า N=3 ดังนั้น


T
s1 (t ) = s11φ1 (t ) = 3 φ1 (t )
T T
s2 (t ) = s21φ1 (t ) + s22 φ2 (t ) = 3 φ1 (t ) + 3 φ2 ( t )
T T
s3 (t ) = s31φ1 (t ) + s32 φ2 (t ) + s33 φ3 (t ) = 0 + 3 φ2 ( t ) + 3 φ 3 (t )
T T T
s4 (t ) = s1 (t ) + s3 (t ) = 3 φ1 (t ) + 3 φ 2 (t ) + 3 φ3 (t )

หรื อก็คือ

⎡ T⎤ ⎡ 0 ⎤ ⎡ 0 ⎤ ⎡ T ⎤
3
⎢ 3⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
s1 = ⎢ 0 ⎥ s2 = ⎢ T3 ⎥ s3 = ⎢ T3 ⎥ s4 = ⎢ T
3

⎢ 0 ⎥ ⎢ 0 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎢⎣ T3 ⎥⎦ ⎢ T ⎥
⎣ 3 ⎦

s 1 (t ) = T3 φ 1 (t )

s 2 (t ) = T3 φ 1 (t ) + T3 φ 2 (t )

s 3 (t ) = T3 φ 2 (t ) + T3 φ 3 (t )
s 4 (t ) = s 1 ( t ) + s 3 (t )

รู ปที่ 10.3 แสดงรู ปร่ างของสัญญาณส่ วนต่าง ๆ ในปริ ภมู ิสัญญาณ


_____________________________________________________________________________
12 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
ดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่า วิธีการง่าย ๆ วิธีหนึ่งในการสร้างเซทของสัญญาณ {s1 (t ), s2 (t ), s3 (t ),.........., sM (t )}
ทําได้โดยการแบ่งช่วงเวลา T ออกเป็ น M ส่ วนเท่า ๆกัน (ส่ วนละ T/M) แล้วกําหนดรู ปแบบให้แต่ละส่ วนนี้
พึงสังเกตว่า หากมิติเท่ากับหรื อน้อยกว่า 3 แล้ว เราสามารถที่จะจินตนาการและวาดสัญญาณในปริ ภมู ิได้ อย่างไรก็ดี
ในทางทฤษฎีแล้วมสามารถที่จะมีเบซิ ส เท่าไรก็ได้ ในมิติสูง ๆ จึงยากที่จะจินตนาการ

ตัวอย่ าง
พิจารณาสัญญาณ s1 (t ), s 2 ( t ), s 3 ( t ) และ s4 ( t ) แสดงในรู ป จงใช้วธิ ีการแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ ส และแสดง
สัญญาณทั้งสี่ ในปริ ภมู ิ

วิธีทาํ
จะเห็นได้วา่ s4 (t ) = s2 (t ) + s3 (t ) ดังนั้นมีเพียง s1 ( t ), s 2 ( t ), s 3 ( t ) เท่านั้นที่เป็ น อิสระกัน เราจึงใช้สัญญาณเหล่านี้
ในการหาเบซิ ส

(วิธีการหา เช่นเดียวกับตัวอย่างที่ผา่ น ๆมา)

เบซิ สทั้งสามที่หาได้สามารถแสดงดังรู ป

หรื อ แสดงสัญญาณในปริ ภมู ิได้เป็ น

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 13
T
s1 (t ) = s11φ1 (t ) = 3 φ1 (t )
T T
s2 (t ) = s21φ1 (t ) + s22 φ2 (t ) = 3 φ1 (t ) + 3 φ2 (t )
T
s3 (t ) = s31φ1 (t ) + s32 φ2 (t ) + s33 φ3 (t ) = 0 + 0 + 3 φ3 (t )
T T T
s4 (t ) = s2 (t ) + s3 (t ) = 3 φ1 (t ) + 3 φ 2 (t ) + 3 φ 3 (t )

ซึ่ งแสดงในปริ ภูมิสัญญาณคือ

s 1 (t ) = T
3
φ 1 (t )

s 2 (t ) = T
3
φ 1 (t ) + T
3
φ 2 (t )

s 3 (t ) = T
3
φ 3 (t )

s 4 (t ) = T
3
φ 1 (t ) + T
3
φ 2 (t ) + T
3
φ 3 (t )

วิธีการของแกรม-ชมิดท์เป็ นวิธีสาํ หรับการหาเบซิ สของเวคเตอร์ หรื อเป็ นการหาสัญญาณมูลฐานที่เป็ นอิสระจากกัน


(คือออร์โธโกนอลกัน) สัญญาณมูลฐานเหล่านี้ จะมีประโยชน์ที่เราไม่ตอ้ งส่ งสัญญาณที่ซ้ าํ ซ้อนกันไปในช่องสัญญาณ
ทําให้ช่องสัญญาณได้รับการใช้สอยอย่างเกิดประโยชน์สูงสุ ดด้วย
การรวมสัญญาณมูลฐานเข้ากับสัญญาณความถี่จึงเป็ นการส่ งที่มีประสิ ทธิภาพ เพราะช่องสัญญาณมีขอบเขตการ
ตอบสนองต่อความถี่ในช่องที่จาํ กัดเท่านั้น การมอดูเลตจึงเป็ นการทําให้สัญญาณพาห์มีการเปลี่ยนแปลงในเชิง ขนาด
หรื อความถี่ หรื อเฟส หรื อหลายอย่างประกอบกันก็ได้

10.3 การมอดูเลตแบบการเลือ
่ นเฟส
การมอดูเลตแบบเลื่อนเฟสเป็ นการที่ทาํ ให้เฟสของสัญญาณ (ความถี่เฉพาะที่กาํ หนด) มีการเปลี่ยนแปลงไปตามข้อมูล
หากมีจาํ นวนหลายเฟสที่แตกต่างกันก็แสดงว่าสามารถที่จะทําการมอดูเลตได้ครั้งละหลายบิต

10.3.1 การมอดูเลตแบบการเลือ่ นเฟส 2 สถานะ (Binary Phase-Shift Keying: BPSK)


วิธีการเลื่อนเฟสเพียง 2 สถานะ เป็ นการง่ายที่จะแทนสถานะไบนารี ดว้ ยสัญญาณความถี่เดียว แต่มีเฟสตรงกันข้าม
เช่น อาจเป็ นเฟส 0° และเฟส 180° หรื อ 90° และ 270° เป็ นต้น

_____________________________________________________________________________
14 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
+ Eb

− Eb
2 Eb
Tb

รู ปที่ 10.4 รู ปร่ างสัญญาณการมอดูเลตสัญญาณดิจิตอลเฟสเลื่อน 2 สถานะ

เราสามารถที่จะให้คลื่นพาห์มีความถี่ ωc = 2 πfc หรื อก็คือ xc (t ) = φ(t ) = 2


Tb cos ωc t โดยที่ขอ้ มูลไบนารี ลอจิก
“1” และ “0” ในช่วงเวลา 0 ≤ t ≤ Tb แทนโดย s1 ( t ) และ s 2 ( t ) ตามลําดับ (สังเกตุวา่ s1 ( t ) และ s2 (t ) มีเฟส
ต่างกันอยูเ่ ป็ นมุม π )

2 Eb
s1 (t ) = + cos(2 πfc t ) (10.12)
Tb

2 Eb
s2 (t ) = − cos ωc t
Tb
(10.13)
2 Eb
= cos ( ωc t + π )
Tb

โดยที่ 2Eb
คือขนาดของสัญญาณ และ Eb ก็คือพลังงานของสัญญาณ 1 บิต6 หรื อ พลังงาน ต่อบิต นัน่ เอง และใน
Tb
ที่น้ ี s1 (t ) และ s2 (t ) อาจแทน สัญญาณไบนารี “1” และ “0” (หรื อ อาจสลับกันก็ได้)
จากวิธีการของแกรม-ชมิดท์ จะพิจารณาได้วา่ มีเบซิ สเพียงตัวเดียว (เพราะ s2 (t ) = ( −1)s1 (t ) ) คือ7

2
φ1 (t ) = cos ωc t ; 0 ≤ t ≤ Tb (10.14)
T

ดังนั้น

s1 ( t ) = s11φ1 ( t ) หรื อ s11 = Eb (10.15)

Tb
6 พลังงาน ต่อบิต หาได้จาก E =
∫ x(t )
2
b dt
0

7 จาก φ1 (t ) = s1 (t ) = +
2 Eb
cos( ωc t ) =
2
cos ωc t
E1 Tb E1 T
_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 15
Tb

หรื ออาจหาจาก s11 = ∫ s (t )φ (t ) ก็ได้


0
1 1

Tb

s21 = ∫ s (t )φ (t ) = −
0
2 1 Eb (10.16)

จึงได้ s1 (t ) = s11φ1 (t ) = Eb φ1 (t ) และ s2 = s21φ1 (t ) = − Eb φ1 (t ) โดยที่ 0 ≤ t ≤ Tb


ดังนั้น ปริ ภมู ิสัญญาณจึงแสดงได้ดงั รู ป

s 21 = − Eb s11 = Eb

รู ปที่ 10.5 ปริ ภมู ิของสัญญาณ BPSK และสัญญาณ BPSK

ในการหาโอกาสของความน่าจะเป็ น ของความผิดพลาดเมื่อส่ งข้อมูล “0” หรื อ s2 (t ) แล้วรับได้เป็ น“1” หรื อ s1 ( t )


ลองพิจารณาต่อไปนี้
เมื่อ z1 เป็ นสเกลาในกลุ่มที่ทาํ ให้แปลความหมายว่า “1” โดยให้ z(t ) เป็ นสัญญาณที่รับได้
Tb

z1 = ∫ z(t )φ (t )dt
0
1 (10.17)

ดังนั้นฟังก์ชนั การกระจายแบบมีเงื่อนไข (เมื่อส่ งสัญญาณ s2 (t ) )


1 − 1 ( z − s )2
f ( z1 |s2 ) = e N0 1 21
πN 0
(10.18)
1 − 1 (z + Eb )2
= e N0 1
πN 0

โอกาสของความน่าจะเป็ นในกรณี น้ ีคือ



pe 0 = ∫
0
f ( z1 |s2 )dz1


1 − N1 ( z1 + Eb )2
=
πN 0 ∫ e 0
dz1
0 (10.19)
_____________________________________________________________________________
16 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
เมื่อให้ x= 1
N0 ( z1 + Eb )2 และเปลี่ยนออร์ เดอร์ ของการอินทิเกรตจาก z1 เป็ น x จะได้

1

2
pe 0 = e − x dx
π
Eb / N 0 (10.20)
= 21 erfc ( ) Eb
N0

8
เมื่อ erfc คือ Complementary Error Function (erfc: เปิ ดตาราง)

ในและทํานองเดียวกัน โอกาสที่ส่ง “1” แลัวรับได้ “0” ก็สามารถที่จะหาได้แบบเดียวกัน และค่าที่ได้กเ็ หมือนกัน


ดังนั้นค่าเฉลี่ยของโอกาสความผิดพลาดก็คือ

pe 0 = pe 1 = 21 erfc ( )Eb
N0 (10.21)

Eb − Eb
จะสังเกตุได้วา่ เงื่อนไขการตัดสิ นใจที่ดี ก็คือ λ0 = 2 =0

หากพิจารณาถึงภาครับสัญญาณ BPSK เพื่อจะตัดสิ นใจว่าสัญญาณที่ส่งมานั้นเป็ น “1” หรื อ “0” ก็ข้ ึนกับว่าจุด


สัญญาณนั้นจะใก้ลไปทาง + Eb หรื อ − Eb มากกว่ากัน หากเราให้ s1 (t ) และ s 2 ( t ) เป็ นตัวแทนของสัญญาณ
“1” และ “0” ตามลําดับ

พื้ นทีบ่ ริเวณที่ พื้ นทีบ่ ริเวณที่


ควรตัดสินในเป็น “0” ควรตัดสินในเป็น “1”
“0” “1” 1

s 21 = − Eb s11 = Eb

f ( z | s2 ) f ( z | s1 )

s21 s11
Pe 1 Pe 0

∞ z
8 erfc: Complementary Error Function; erfc( z ) =
∫e เมื่อ ∫e
2 −λ 2 −λ
π
dλ = 1 − erf ( z ) erf ( z ) = 2
z

z 0

−λ 2
และสามารถเขียนในรู ปฟังก์ชนั Q คือ Q( z) = 1
2π ∫ z
e 2
dλ โดยที่ Q( z 2 ) = 21 erfc( z )

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 17
รู ปที่ 10.5 การกระจายของความผิดพลาด และการแบ่งพื้นที่ตดั สิ นใจของสัญญาณ BPSK

z(t ) zi ⎧"1"


λ ⎪"0"

φ 1 (t )

รู ปที่ 10.6 บล็อคไดอะแกรมส่ วนรับสัญญาณที่ผา่ นการมอดูเลตแบบเฟสเลื่อน 2 สถานะแบบโคฮีเร้นท์

ในการสร้างสัญญาณ BPSK นั้น จะสร้างจาก s1 (t ) = Eb φ1 (t ) และ s2 = − Eb φ1 (t ) เมื่อ


φ1 (t ) = 2
Tb cos(2 πfc t ) โดยที่ fc =
ωc
2π ก็คือความถี่ของสัญญาณพาห์ โดยที่ขอ้ มูลไบนารี คือ m1 (t ) = + Eb และ
m2 (t ) = − Ebแทนข้อมูลที่เป็ นลอจิก “1” และ “0” ในช่วงเวลา 0 ≤ t ≤ Tb ตามลําดับ การมอดูเลตก็กระทําได้โดย
การคูณกันระหว่าง mi (t ) และ φ1 (t ) ซึ่ งจะได้ xmc (t ) = si (t ) = mi (t )φ1 (t ) สําหรับ mi ∈ {"0","1"} ที่จะต้องถูก
2 Eb
แทนด้วย − Eb และ + Eb ตามลําดับ ดังนั้นเมื่อมอดูเลตแล้วจึงได้ s1 (t ) = + cos(2 πfc t ) และ
Tb
2 Eb
s2 (t ) = cos ( 2 πfc t + π ) (สังเกตุวา่ s1 ( t ) และ s2 (t ) มีเฟสต่างกันอยูเ่ ป็ นมุม π ) โดยจะให้เวลาในการส่ ง
Tb
ข้อมูลต่อบิตนั้นกว้างเป็ นจํานวนเท่าของคาบเวลาคลื่นพาห์ Tb = nc ( f1 ) หรื อ c
n
fc = Tc
b
สําหรับจํานวนเต็ม nc ใด ๆ

+ Eb
มอดูเลเตอร์แบบคูณ
(Product Modulator)
สัญญาณ BPSK
ข้อมูลไบนารี
− Eb

φ 1 (t ) = 2 cos( 2 πf c t )
Tb

รู ปที่ 10.6 บล็อคไดอะแกรมส่ วนสร้างสัญญาณมอดูเลตแบบเฟสเลื่อน 2 สถานะ (BPSK)

10.4.2 การมอดูเลตแบบการเลือ่ นเฟส 4 สถานะ (Quardriphase-Shift Keying: QPSK)


ในวิธีการ BPSK จะพิจารณาสัญญาณครั้งละ 1 บิต แต่การพิจารณาสัญญาณครั้งละมากกว่า 1 บิต ย่อมกระทําได้
เช่นกัน เช่นหากพิจารณา ครั้ง ละ 2 บิต จะทําให้ได้สัญญาณที่แตกด่างกัน 4 รู ปแบบ หรื อ 4 สัญญลักษณ์ (Symbol)

_____________________________________________________________________________
18 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
เพราะว่า ( 2 2 = 4 ) คือ 00, 10, 10 และ 11 ในกรณี เช่นนี้ เราสามารถให้เฟสของสัญญาณ ต่างกันได้ 4 รู ปแบบ คือ 0,
9
π /2, π และ 3π /2 ดังนั้น หากให้ Es เป็ นพลังงานที่ใช้ในการส่ งแต่ละสัญลักษณ์ในช่วงเวลา Ts

2 Es
s1 (t ) = cos(2 πfc t )
Ts

2 Es 2 Es
s2 (t ) = cos ( 2 πfc t + π2 ) = sin(2 πfc t )
Ts Ts

2 Es 2 Es
s3 (t ) = cos ( 2 πfc t + π ) = − cos(2 πfc t )
Ts Ts

2 Es 2 Es
s4 ( t ) = cos ( 2 πfc t + 32π ) = − sin(2 πfc t )
Ts Ts

ในกรณี น้ ีเห็นชัดว่าซายน์และโคซายน์ จะออร์โธโกนอลกัน และหากเราใช้วธิ ีการของแกรม-ชมิดท์ในการหาเบซี ส เรา


ก็จะได้

2 2
φ1 (t ) = cos(2 πfc t ) และ φ2 (t ) = sin(2 πfc t )
Ts Ts

ดังนั้น

s1 (t ) = Es φ1 (t ) = s11φ1 (t )
s2 (t ) = Es φ2 (t ) = s22 φ1 (t )
s3 (t ) = − Es φ1 (t ) = − s11φ1 (t )
s4 (t ) = − Es φ2 (t ) = − s22 φ1 (t )

หรื อก็คือ

s11 = Es s12 = 0
s 21 = 0 s 22 = Es

Ts Ts
s 31 = ∫ s 3 ( t )φ1 ( t ) = − Es s 32 = ∫ s 3 ( t )φ 2 ( t )0 = 0
0 0
Ts Ts
s 41 = ∫ s 4 ( t )φ1 ( t ) = 0 s 42 = ∫ s 4 ( t )φ 2 ( t ) = − Es
0 0

9 เราใช  T เป็ นเวลาของสัญญลักษณ์ และ T เป็ นเวลาของบิต (ในกรณี สญ


ั ญาณ 1 บิต เช่น ASK, BFSK, BPSK, Ts = Tb และ Es = Eb )
s b
_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 19
ดังนั้น ปริ ภมู ิของสัญญาณจึงแสดงได้ดงั รู ป

00 01 10 11
“01” Es

− Es “00” 1

“10” Es

− Es “11”

2 Es
รู ปที่ 10.7 ปริ ภมู ิของสัญญาณ QPSK และสัญญาณ QPSK (4-PSK) เมื่อ si (t ) = cos ( 2 πfc t + ( i − 1) π2 )
Ts

อย่างไรก็ดี QPSK แม้วา่ เฟสของแต่ละสัญญลักษณ์จะเลื่อนกันไปเป็ นมุม π แต่กไ็ ม่จาํ เป็ นที่ตอ้ งมีเฟสแรกตรงกับ
ศูนย์กไ็ ด้ เช่น อาจจะเลื่อนไปอีก π /4 ซึ่ งจะทําให้ได้สมการของ si (t ) คือ

2 Es
si (t ) = cos ( 2 πfc t + (2 i − 1) π4 ) (10.24)
Ts

หรื อ
si (t ) = si 1φ1 (t ) + si 2 φ2 (t )
2 2 (10.25)
= si 1 cos(2 πfc t ) + si 2 sin(2 πfc t )
Ts Ts

แต่ละจุดของสัญญาณ QPSK จะหมายถึงคู่ของบิต (หรื อ 2 บิต) ที่จะมีโคออร์ดิเนต {si1 , si2 } และมุมห่างไปจาก


ตําแหน่งเดิม π /2 (หรื อตั้งฉาก)
สัญญาณ อินพุท เฟส โคออร์ดิเนต
(บิตคู่) (เรเดียน)
Si 1 Si 2
S1 (t ) 10 π /4 + E/2 − E/2
S2 (t ) 00 3π /4 − E/2 − E/2
S3 (t ) 01 −3π /4 − E/2 + E/2
S4 (t ) 11 −π /4 + E/2 + E/2

_____________________________________________________________________________
20 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
ในการหาโอกาสของความผิดพลาด พื้นที่หรื อบริ เวณในการตัดสิ นใจนั้นแบ่งเป็ น 4 ส่ วน (ดูรูป ประกอบ) ในระบบที่
มีสัญญาณรบกวน n(t ) (โดยที่ n(t ) สัญญาณรบกวนขาว มีค่าเฉลี่ยเป็ นศูนย์ และความหนาแน่นสเปคตรัมกําลัง
เท่ากับ N 0 /2 ) สัญญาณที่รับได้ คือ
ri (t ) = si (t ) + ni (t ) (10.26)

ในภาครับแบบโคฮีเรนท์จะมี 2 องค์ประกอบคือ y1 (t ) แล y 2 (t ) ที่อธิบายโดย


Ts

y1 (t ) = ∫ φ s (t )dt + n (t )
0
1 i 1

Ts

∫ cos ( 2 πfc t ) cos ( 2 πfc t + (2 i − 1) π4 ) + n1 (t )


2 Es
= 2
Ts Ts
0
(10.27)
Ts

∫ cos ( 2πf t ) cos ( 2πf t + (2i − 1) ) + n (t ) π


2 E
= Ts c c 4 1
0

= E cos ((2 i − 1) π4 ) + n1 (t )

และ
Ts

y 2 (t ) = ∫ φ s (t )dt + n (t )
0
2 i 2

Ts

∫ sin ( 2 πfc t ) cos ( 2 πfc t + (2 i − 1) π4 ) + n2 (t )


2 Es
= 2
Ts Ts
0
(10.28)
Ts

∫ sin ( 2πf t ) cos ( 2πf t + (2i − 1) ) + n (t ) π


2 E
= Ts c c 4 2
0

= E sin ((2 i − 1) π4 ) + n2 (t )

y1 (t )
ตัดสินใจ
สัญญาณ QPSK สัญญาณ QPSK
φ 1 (t ) ข้อมูลไบนารี
r(t ) MPX
φ 2 (t )
y 2 (t )
ตัดสินใจ
ค)

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 21
E/ 2 E/ 2

E E E

E/ 2 E/ 2

− E/2 − E/2
E E

− E/2 − E/2

รู ปที่ 10.8 การแบ่งพื้นที่ตดั สิ นใจของสัญญาณ QPSK

จะเห็นว่า หากเราส่ ง หากเราส่ ง s4 (t ) ทางส่ วนรับ ก็ควรจะรับสัญญาณที่ตกอยูใ่ นบริ เวณ Z4 (คือควรจะมีเฟสอยู่


ในช่วง 0 → π /2 เรเดียน เป็ นต้น หากไปตกในบริ เวณอื่นก็จะถือว่ามีความผิดพลาด ดังนั้นโอกาสของความถูกต้อง
ในแต่ละควอเตอร์ กจ็ ะเป็ นโอกาสร่ วมกันของตัวแปรสุ่ ม Y1 และ Y2 ที่มีค่าเฉลี่ยแบบมีเงื่อนไข คือ E/2 ซึ่ ง
โอกาสเช่นนี้กค็ ือ y1 และ y2 เมื่อให้ pc คือโอกาสของความถูกต้อง จะได้ (ถือว่าสัญญาณที่ส่งไป คือ s4 (t ) )
∞ ( y 1 − E /2 )2 ∞ ( y 2 − E /2 )2
− −
pc = 1
πN 0 ∫e
0
N0
dy1 × 1
πN 0 ∫e
0
N0
dy 2 (10.210)

เมื่อให้
( y 1 − E /2 )2 ( y 2 − E /2 )2
N0 = N0 =z

ก็จะได้
2
⎧ ∞ ⎫
⎪ ⎪

2
pc = ⎨ 1
π
e− z dz ⎬
⎪⎩ E /2 ⎪⎭


ซึ่ งก็จะเข้ารู ปของ Complement error function (erfc) ซึ่ ง 1 − 21 erfc ( 2 NE ) ∫ จึงได้
2
= 1
π
e − z dz
0
E /2

{ ( )}
2
pc = 1 − 21 erfc E
2 N0
(10.210)
=1− 1
2 erfc ( )+ E
2 N0
1
4 erfc 2
( E
2 N0 )
ดังนั้น ค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อน ก็คือ
_____________________________________________________________________________
22 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
pe = 1 − pc
(10.210)
= 21 erfc ( E
2 N0 )− 1
4 erfc 2 ( E
2 N0 )
สําหรับบริ เวณที่ E
2 N0 >> 1 เราอาจจะไม่ตอ้ งนําเทอมที่สองมาคิด และในระบบ QPSK นั้นใน 1 สัญญลักษณ์
ประกอบด้วย 2 บิต พลังงานจึงมากเป็ นสองเท่าของพลังงานต่อบิต หรื อ E = Es = 2 Eb ดังนั้น จึงได้

pe = erfc ( Eb
2 N0 ) (10.210)

ส่ วนกําเนิดสัญญาณ QPSK จะเริ่ มการแยกข้อมูลไบนารี บิตคี่และบิตคู่ออกจากกัน (บิตคี่จะเป็ น I-Channel และ บิต


คู่จะเป็ น Q-Channel) จากนั้นในแต่ละส่ วน ก็จะเข้ารหัสเป็ นมีข้ วั ไม่คืนศูนย์ หรื อ Polar NRZ (คือ “1” จะแทน
2
ด้วย + Eb และ “0” จะแทนด้วย − Eb ) เมื่อแต่ละส่ วนคูณด้วย φ1 (t ) = cos(2 πfc t ) และ
Ts
2
φ2 ( t ) = sin(2 πfc t ) ตามลําดับแล้วจะมารวมกันอีกครั้งหนึ่ง
Ts

+ Eb

A
1001 เข้ารหัส − Eb

I-CH NRZ
ข้อมูลไบนารี 2 cos( 2 πf c t )
สัญญาณ QPSK
De-MPX Ts
11000110 /2
2 sin( 2 πf c t )
Ts
Q-CH
เข้ารหัส
1010 NRZ + Eb B
− Eb
ก)

รู ปที่ 10.x การสร้างสัญญาณ QPSK

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 23
10.4.3 การมอดูเลตแบบการเลือ่ นเฟส M สถานะ (M-ary Phase-Shift Keying: M-ary PSK)
ในวิธีการ QPSK จะพิจารณาสัญญาณครั้งละ 2 บิต แต่การพิจารณาสัญญาณครั้งละ k บิต จึงเป็ นการขยายแนวคิด
ออกไป จํานวนสัญลักษณ์ท้ งั หมด M = 2 k (หรื อเรี ยกว่า M-Ary นัน่ เอง) เราสารถที่จะส่ งสัญญาณครั้งละ 1
สัญลักษณ์ (ขนาด k บิต) โดยให้ Es เป็ นพลังงานที่ใช้ในการส่ งแต่ละสัญลักษณ์ ในช่วงเวลา Ts แต่ละสัญลักษณ์
ยังคงมีขนาดและความถี่เท่าเดิม แต่เฟสจะแตกต่างออกไปทีละ 2 π / M เรเดียน ดังนั้น

2 Es 2 π( i − 1) ⎞
si ( t ) = cos⎛⎜ ωc t + ⎟ โดยที่ i = 1,2 ,3......M
Ts ⎝ M ⎠

เบซิ สที่เหมาะสมก็ยงั คงเหมือน QPSK คือ

2
φ1 ( t ) = cos ωc t 0 ≤ t ≤ Ts
Ts

และ

2
φ 2 (t ) = sin ωc t 0 ≤ t ≤ Ts
Ts

ทั้ง φ1 (t ) และ φ2 (t ) มีพลังงานเป็ นหนึ่ งหน่วย ดังนั้นจุดของสัญญาณจะอยูบ่ นวงกลมที่มีรัศมี E แต่ละจุดมุมจะ


แตกต่างออกไป 2 π / M เรเดียน สําหรับโอกาสของความผิดพลาด จะเขียนได้เป็ นดังนั้น

pe = erfc ( Eb
2 N0
π
sin M )
ตัวอย่างของปริ ภมู ิสัญญาณ เมื่อ k=3 และ k=4 แสดงดังรู ป

2 2
Es “010” Es
“011”
“001”

“100” “000” 1
/8 /16 Es
1
− Es − Es
Es

“101” “111”

− Es “110” − Es
8-ary 16-ary

รู ปที 10.10 ปริ ภมู ิของสัญญาณ M-ary PSK (M=8, M=16)

_____________________________________________________________________________
24 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
10.5 การมอดูเลตแบบการเลือ
่ นความถี่
การกลํ้าสัญญาณโดยการเลื่อนความถี่กเ็ ป็ นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้กนั แพร่ หลาย

10.5.1 Binary Frequency-Shift Keying (BFSK)

วิธีการ BPSK จะแทนสถานะไบนารี ดว้ ยสัญญาณความถี่ 2 ความถี่ที่มีขนาดเท่ากันคือ

2 Eb
s1 ( t ) = cos ω1t
Tb

2 Eb
s1 ( t ) = cos ω 2 t
Tb

เมื่อ Eb ก็คือพลังงานของสัญาณใน 1 บิต หรื อ พลังงานต่อบิต นัน่ เอง และในที่น้ ี s1 (t ) และ s2 (t ) อาจแทน
สัญญาณไบนารี “1” และ “0” หรื อ อาจสลับกันก็ได้ เราสามารถที่จะกําหนดเบซิ สได้ คือ

2
φ1 ( t ) = cos ω1t ; 0 ≤ t ≤ Tb (10.x)
T

และ

2
φ 2 (t ) = cos ω 2 t ; 0 ≤ t ≤ Tb (10.x)
T

ซึ่ งจะได้

s11 = s 22 = Eb

Es

Es

รู ปที 10.x ปริ ภูมิของสัญญาณ BFSK และสัญญาณ BFSK

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 25
Es

Es

รู ปที่ 10.11 การแบ่งพื้นที่ตดั สิ นใจของสัญญาณ BFSK

ในการหาโอกาสของความน่าจะเป็ น ของความผิดพลาดเมื่อส่ งข้อมูล “0” หรื อ s2 (t ) แล้วรับได้เป็ น “1” เมื่อ z1


เป็ นสเกลาในกลุ่มที่ทาํ ให้แปลความหมายว่า “1” และ z2 เป็ นสเกลาในกลุ่มที่ทาํ ให้แปลความหมายว่า “0” โดยที่
z(t ) เป็ นสัญญาณที่รับได้และผ่านการดีมอดูเลตแล้ว และให้

x = z1 − z2 (10.x)

ดังนั้น เมื่อ Z1 และ Z2 เป็ นตัวแปรสุ่ มของ z1 และ z2 ตามลําดับ และหากส่ ง “1” ไป จึงได้

E [ X|1] = E [ Z1 |1] − E [ Z2 |1] = + Eb (10.x)

และทํานองเดียวกันหากส่ ง “0” ไป ก็จะได้

E [ X|0 ] = E [ Z2 |0 ] − E [ Z1 |0 ] = + Eb (10.x)

เนื่องจากความแปรปรวนของ X เป็ นอิสระต่อกันและไม่ข้ ึนอยูก่ บั รู ปแบบของสัญญาณที่ส่ง โดยแต่ละตัวก็จะมีความ


แปรปรวน เท่ากับ N 0 /2 เราจึงได้

Var [X ] = Var [ Z1 ] + Var [ Z2 ] = N 0

ในกรณี ที่เราส่ ง s2 ก็จะได้ฟังก์ชนั การกระจายแบบมีเงื่อนไข คือ


( x + E )2
1 −
f ( x|s2 ) = 2 πN 0
e 2 N0
(10.x)

เมื่อ z1 > z 2 ก็จะสอดคล้องกับ x > 0 ดังนั้นโอกาสของความน่าจะเป็ นในกรณี น้ ี คือ

_____________________________________________________________________________
26 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209

pe 0 = ∫f
0
X ( x|s2 )dx


(10.x)
( x + E )2

= 1
2 πN 0 ∫e
0
2 N0
dx

เมื่อให้ z=
(x+ E )
2 N0
และเปลี่ยนลําดับของการหาปริ พนั ธ์ จาก x1 เป็ น z จะได้


2
pe 0 = 1
π
e − z dz
Eb / N 0 (10.x)
= 21 erfc ( ) Eb
2 N0

และทํานองเดียวกัน โอกาสที่ส่ง “1” แลัวรับได้ “0” ก็สามารถที่จะหาได้แบบเดียวกัน และค่าที่ได้กเ็ หมือนกัน ดังนั้น


ค่าเฉลี่ยของโอกาสความผิดพลาดก็คือ

pe 0 = pe 1 = 21 erfc ( ) Eb
2 N0 (10.x)

เมื่อ เทียบกรณี ของการส่ งแบบ BPSK จะเห็นว่า BFSK นั้นมีโอกาสความผิดพลาดมากกว่า BPSK และหากจะให้
BFSK มีโอกาสความผิดพลาดน้อยเหมือน BPSK นั้นจะต้องส่ งกําลังงานต่อบิตสู งขึ้นเป็ น 2 เท่า

การส่ งและการรับสัญญาณ BFSK จะแสดงได้ ดังรู ปที่ 10.12

+ Eb

สัญญาณ BFSK
φ 1 (t ) = T2 cos(2πf 1t )
b

ข้อมูลไบนารี
φ 2 (t ) = T2 cos( 2πf 2 t )
b

ก)

z1

φ 1 (t )
λ
ri (t ) φ 2 (t )
z2

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 27
T = Tb

T = Tb

รู ปที่ 10.12 บล็อคไดอะแกรม ก) ส่ วนส่ ง BFSK ข) ส่ วนรับ BFSK (แบบโคฮีเรนท์)


และ ค) ส่ วนรับ BFSK (แบบ นอน-โคฮีเรนท์)

10.5.2 M-ary Frequency-Shift Keying (M-ary FSK)

วิธีการ BFSK จะแทนสถานะไบนารี ดว้ ยสัญญาณความถี่ 2 ความถี่ที่มีขนาดเท่ากันคือ หากต้องการส่ งทีละสัญลักษณ์


ที่มี k บิต แต่ละสัญลักษณ์ จะต้องแทนด้วย ความถี่ที่แตกต่างกันออกไป จํานวน M ความถี่ เมื่อ M = 2 k จะทําให้ได้

2 Es
si (t ) = (2 πfcit ) โดยที่ i = 1,2 ,3......M (10.x)
Ts

ฟังก์ชนั เบซิ สที่จะต้องใช้กม็ ีจาํ นวน M เบซิ ส เหมือนกัน โดยที่

2
φi ( t ) = cos(2 πfcit ) ; 0 ≤ t ≤ Tb และ i = 1,2 ,3......M (10.x)
T

หรื อในรู ปของเวคเตอร์

⎡ Es ⎤ ⎡ 0 ⎤ ⎡ 0 ⎤ ⎡ 0 ⎤
⎢ ⎥ ⎢
⎢ 0 ⎥
⎢ Es ⎥ ⎢ 0 ⎥ 0 ⎥
⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
s1 = ⎢ 0 ⎥ s2 = ⎢ 0 ⎥ s3 = ⎢ Es ⎥ ….. และ sM = ⎢ 0 ⎥
⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎢ .. ⎥ ⎢ .. ⎥ ⎢ .. ⎥ ⎢ .. ⎥
⎢ 0 ⎥⎦ ⎢⎣ 0 ⎥⎦ ⎢⎣ 0 ⎥⎦ ⎢ Es ⎥⎦
⎣ ⎣

ในรู ปของสเปสของสัญญาณจะต้องมีท้ งั หมด M แกนอิสระกัน แต่ละแกนก็จะมีขนาดสัญญาณเท่ากับ Es

10.6 การมอดูเลตแบบการเปลีย
่ นขนาดและเลือ่ นเฟส
10.6.1 Binary Amplitude-Shift Keying (BASK)

_____________________________________________________________________________
28 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
ในระบบ ASK ความถี่และเฟสของสัญญาณจะมีคา่ คงที่ ขนาดของสัญญาณจะขึ้นอยูก่ บั การออกแบบซึ่ งขนาดของ
สัญญาณที่แทน “1” และแทน “0” ควรจะมีที่ขนาดแตกต่างกันมาก (เพื่อการทนต่อสัญญาณรบกวน) แบบที่นิยมมาก
ที่สุด คือ OOK-ASK หรื อ On-Off Keying ASK โดยจะให้ “1” มีความถี่ตามขนาดที่ตอ้ งการ ในขณะที่เป็ น “0”
นั้น b จะไม่ส่งอะไรเลย ซึ่ งจะเป็ นการประหยัดพลังงานอย่างไรก็ตามระบบ ASK เป็ นระบบที่มอดูเลตทางขนาด ทํา
ให้มีการรบกวนของสัญญาณได้ง่าย

รู ปที่ 10.13 ลักษณะสัญญาณ ASK

“0” “1” 1(t)

s11 = Eb

พื้ นทีบ่ ริเวณที่


ควรตัดสินในเป็น “1”

รู ปที่ 10.14 ปริ ภมู ิของสัญญาณ ASK และบริ เวณการตัดสิ นใจ

วิธีการ BASK จะแทนสถานะไบนารี ดว้ ยสัญญาณความถี่ เดียว คือ

⎧ 2 Eb
⎪ s1 (t ) = cos(2 πfc t )
si (t ) = ⎨ Tb
⎪ s (t ) = 0
⎩ 1

เมื่อ Eb ก็คือพลังงานของสัญาณใน 1 บิต หรื อ พลังงานต่อบิต นัน่ เอง และในที่น้ ี s1 ( t ) และ s2 (t ) อาจแทน
สัญญาณไบนารี “1” และ “0” หรื อ อาจสลับกันก็ได้ เราสามารถที่จะหาเบซิ สได้ คือ

2
φ1 (t ) = cos(2 πfc t ) ; 0 ≤ t ≤ Tb (10.x)
T

และโอกาสความผิดพลาดก็คือ
_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 29
pe 0 = pe 1 = 21 erfc ( )
Eb
2 N0 (10.x)

10.6.2 M-ary Quadrature Amplitude Modulation (QAM)

ในระบบ ASK ความถี่และเฟสของสัญญาณจะมีคา่ คงที่ ขนาดของสัญญาณจะขึ้นอยูก่ บั การออกแบบซึ่ งขนาดที่ผา่ น


มาเราจะเห็นว่า ในการเลื่อนทางเฟส (PSK) นั้นจํานวนเฟสที่ตอ้ งการ คือ M = 2 m (เมื่อ m คือจํานวนบิต) เมื่อมุมมี
ค่าตํ่า ก็ยอ่ มอาจเกิดความผิดพลาดได้ง่าย ในขณะเดียวกันวิธีการ ASK นั้นวิธีการมอดูเลตทางขนาดโดยการเปลี่ยน
ขนาดของสัญญาณตามข้อมูล (ความถี่คงเดิม) ซึ่ งมีจุดอ่อนที่สาํ คัญคือ ไวต่อการรบกวน การมอดูเลตแบบ QAM จะ
เป็ นวิธีการผสมกันระหว่าง ASK และ PSK ทําให้ส่งสัญญลักษณ์ที่มีหลาย ๆ บิตมากขึ้น และมักจะใช้จาํ นวนเฟส
มากกว่าจํานวนขนาดเสมอ การแทนปริ ภมู ิของสัญญาณ QAM จะเป็ นช่วงสี่ เหลี่ม (rectangular, square lattice)
มากกว่าวงกลม หรื อก็คือสัญญาณ QAM ประกอบด้วยทั้งซายน์และโคซายน์

16-QAM 16-QAM

2 Amplitudes 8 Phases 3 Amplitudes 12 Phases

รู ปที่ 10.15 ปริ ภมู ิของสัญญาณ QAM ที่จาํ นวนบิตต่อสัญญลักษณ์ ต่าง ๆ กัน

_____________________________________________________________________________
30 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
รู ปที่ 10.16 สัญญาณ 8-QAM (2 ขนาด 4 เฟส)

สัญญาณ QAM จะประกอบด้วย 2 ส่ วน คือส่ วนเฟสเหมือน (in phase, φ1 ( t ) ) และส่ วนเฟสต่าง (Quadrature
phase, φ2 ( t ) )

2
φ1 (t ) = cos(2 πfc t ) ; 0 ≤ t ≤ Tb (10.x)
T

2
φ2 (t ) = sin (2 πfc t ) ; 0 ≤ t ≤ Tb (10.x)
T

10.4.3 การมอดูเลตแบบการเลือ่ นเฟส M สถานะ (M-ary Phase-Shift Keying: M-ary PSK)


ในวิธีการ QPSK จะพิจารณาสัญญาณครั้งละ 2 บิต แต่การพิจารณาสัญญาณครั้งละ k บิต จึงเป็ นการขยายแนวคิด
ออกไป จํานวนสัญลักษณ์ท้ งั หมด M = 2 k (หรื อเรี ยกว่า M-Ary นัน่ เอง) เราสามารถที่จะส่ งสัญญาณครั้งละ 1
สัญลักษณ์ (ขนาด k บิต) โดยให้ Es เป็ นพลังงานที่ใช้ในการส่ งแต่ละสัญลักษณ์ ในช่วงเวลา Ts แต่ละสัญลักษณ์
ยังคงมีขนาดและความถี่เท่าเดิม แต่เฟสจะแตกต่างออกไปทีละ 2π/M เรเดียน ดังนั้น

2 Es 2 Es
si (t ) = ai cos(2 πfc t ) + bi s in(2 πfc t ) ; 0 ≤ t ≤ Ts (10.x)
Ts Ts

เมื่อ E0 คือพลังงานของสัญญาณที่มีพลังงานตํ่าที่สุด ai และ bi เป็ นคูข่ องจํานวนเต็มที่อิสระจากกัน จํานวนเบซิ ส


คือ 2 ลองพิจารณาตัวอย่าง 16-QAM ซึ่ งในระบบนี้ แต่ละสัญญลักษณ์จะมี 4 บิต (หรื อก็คือ M = 16 และ
L = M = 16 = 4 ) ในแต่ละเบซิ สจะมีจาํ นวนจุดสัญญาณ เท่ากับ L/2 โดยโคออร์ ดิเนตของสัญญาณที่ ith ก็คือ
ai E และ bi E เช่นนี้ ai และ bi ก็จะเป็ นสมาชิกของแมทริ กซ์ขนาด L × L หรื อ 4 × 4 ซึ่ งแต่ละ 2 บิต ก็จะ
เข้ารหัสแบบ Gray-code (คือ “00”Æ-3, “01”Æ1, “11”Æ+1, และ “10”Æ+3)

⎡ −3, +3 −1, +3 +1, +3 +3, +3 ⎤


⎢ −3, +1 −1, +1 +1, +1 +3, +1⎥
{ai , bi } = ⎢⎢ −3, −1 −1, −1 +1, −1 +3, −1⎥
⎥ (10.x)
⎢ ⎥
⎣ −3, −3 −1, −3 +1, −3 +3, −3 ⎦

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 31
ในระบบ QAM ส่ งข้อมูลที่มีหลายระดับและเฟสที่แตกกต่างกัน โอกาสความผิดพลาดจะหาได้จาก

⎛ 3 Eavg ⎞
pe ≈ 2(1 − 1
M
)erfc ⎜ 2 N 0 ( M − 1) ⎟ (10.x)
⎝ ⎠

โดยที่ Eavg คือค่าความผิดพลาดเฉลี่ย ซึ่ งหาได้จาก Eavg =


2 E0 ( M − 1)
3

φ 1 (t )

φ 2 (t )
φ 2 (t )
E0

2E0

φ 1 (t )
E0

cos( 2 πf c t )

sin( 2 πf c t )

z2

cos( 2 πf c t )
sin( 2 πf c t )

รู ปที่ 10.XX สัญญาณ 8-QAM (2 ขนาด 4 เฟส)


_____________________________________________________________________________
32 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
φ1 (t )

cos( 2 πf c t ) m1 (t ) s(t )
m2 (t )

cos ( )
πt
2 Tb φ2 ( t )

y 1 (t )

φ 1 (t )
r(t )
φ 2 (t )
y 2 (t )

รู ปที่ 10.XX การดีมอดูเลต สัญญาณ 8-QAM

อัตราการส่ งโดยใช้วธิ ี การมอดูเลตแบบต่าง ๆ


วิธีการมอดูเลต หน่วยเรี ยก บิต/บอด บิตเรท
bit/symbol bit/sec
ASK, FSK, 2-PSK Bit 1 N
4-PSK, 4-QAM Dibit 2 2N
8-PSK, 8-QAM Tribit 3 3N
16-QAM Quadbit 4 4N
32-QAM Pentabit 5 5N
64-QAM Hexabit 6 6N
128-QAM Septabit 7 7N
256-QAM Octabit 8 8N

Minimum Shift Keying

ในระบบ PSK ที่เป็ น Coherent detection เฟสจะยังไม่ถูกใช้อย่างเต็มที่ (ใช้เพียงเพื่อการซิ งโครไนซ์ ระหว่างการ


ส่ งและการรับเท่านั้น) วิธีการที่จะกล่าวต่อไปนี้ จะช่วยให้การใช้เฟสของสัญญาณได้ประโยชน์มากขึ้น ทั้งยังช่วยเพิ่ม

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 33
ประสิ ทธิภาพในการลดสัญญาณรบกวนได้อีกมาก วิธีการดังกล่าวคือให้เฟสของสัญญาณมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
ต่อเนื่อง
พิจารณาระบบ CPFSK (Continuous Phase Shift Keying) ที่นิยามในช่วง 0 ≤ t ≤ Tb ดังนี้

⎧ 2 Eb
⎪ cos[2 πf 1t + θ(0)] for symbol "1"
⎪ Tb
s(t ) = ⎨ (10.x)
⎪ 2 Eb cos[2 πf t + θ(0)] for symbol "0"
⎪ T 2
⎩ b

เมื่อ Eb พลังงานการส่ งต่อบิต และ Tb คือช่วงเวลาของแต่ละบิต และเฟส θ(0) หมายถึง เฟสเมื่อ t = 0 ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั
การมอดูเลตในช่วงที่ผา่ นมา ซึ่ ง f1 และ f2 เป็ นความถี่ที่แตกต่างกันในการส่ งข้อมูลไบนารี “1” และ “0”
ตามลําดับ บางครั้ง CPFSK จึงก็อาจเขียนได้เป็ น

2 Eb
s(t ) = cos ⎡⎣ 2 πfc t + θ(t )⎤⎦ (10.x)
Tb

จะเป็ นเฟสของ s(t ) และ θ(t ) เป็ นฟังก์ชนั ของเวลาที่ต่อเนื่อง ซึ่ งเราจะพบว่า s(t ) เป็ นฟังก์ชนั ที่ต่อเนื่อง
θ(t )
ตลอดเวลาด้วย (แม้วา่ ค่าของสัญญาณในแต่ละบิตจะเปลี่ยนไป) โดยที่ค่าเฉลี่ยของความถี่ เป็ นค่ากลางระหว่าง และ
คือ

f1 + f2
fc = (10.x)
2

โดยที่เฟส θ(t ) จะเพิ่มขึ้น หรื อลดลงอย่างเป็ นเชิงเส้นกับเวลา ในช่วงเวลา Tb แสดงโดย


πh
θ(t ) = θ(0) ± t (10.x)
Tb

เมื่อ เครื่ องหมาย + แสดงถึงว่า สัญญลักษณ์ที่ส่งมาเป็ น “1” และเครื่ องหมาย - แสดงถึงว่า สัญญลักษณ์ที่ส่งมาเป็ น
“0” โดยที่พารามิเตอร์ h หรื อ อัตราส่ วนการเปลี่ยนแปลง (derivation ratio) นิ ยามโดย

h = Tb ( f 1 − f 2 ) (10.x)

ค่า h จะวัดเปรี ยบเทียบกับอัตราการส่ ง หรื อบิตเรต (bit rate; 1/Tb ) ดังนั้น จากสมการ () จึงได้

⎧ +πh for symbol "1"


θ(Tb ) − θ(0) = ⎨ (10.x)
⎩ −πh for symbol "0"

ซึ่ งก็คือเมื่อส่ ง “1” เฟสจะเพิม่ ขึ้น πh และถ้าส่ ง “0” เฟสก็จะลดลง πh เช่นกัน

_____________________________________________________________________________
34 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
+4 πh

+3πh

θ(t ) − θ(0), radian +2 πh

+πh

0 t
2Tb 4Tb 6Tb 8Tb
−πh

−2 πh

−3πh

−4 πh

รู ปที่ 10.XX เฟสไดอะแกรม หรื อ phase tree

10.7 บทสรุ ป
การส่ งสัญญาณในเบสแบนด์ที่ผา่ นมานั้นเป็ นการส่ งข้อมูลดิจิตอลออกไป โดยไม่ตอ้ งมีการมอดูเลตกับความถี่อื่น (แต่
จะต้องปรับรู ปร่ างของพัลส์เสี ยก่อน) การทวนสัญญาณและการขยายสัญญาณนั้นทําได้ยาก ทําให้เป็ นข้อจํากัดอย่าง
หนึ่งในเรื่ องของระยะทางการส่ ง ในอีกทางเลือกการส่ งแบบผสมความถี่น้ นั ซับซ้อนมากกว่า แต่กท็ าํ การทวนสัญญาณ
ได้ง่าย พร้อมกันนั้นยังสามารถที่จะส่ งข้อมูลครั้งละหลายบิต (เรี ยกว่าสัญญาณเวคเตอร์ ) ได้อีกด้วย

วิธีการมอดูเลต บิต/บอด โอกาสความผิดพลาดของสัญญลักษณ์


bit/symbol Error Probability (pe)
BPSK 1
pe = pe 0 = pe 1 = 21 erfc ( ) Eb
N0

QPSK,MSK 2
pe = erfc ( Eb
2 N0 ) − erfc ( )
1
4
2 Eb
2 N0

BFSK 1 pe = pe 0 = pe 1 = 21 erfc ( )
Eb
2 N0

OOK 1 erfc ( )
Eb
pe = pe 0 = pe 1 = 1
2 2 N0

QAM M ⎛ 3 Eavg ⎞
pe ≈ 2(1 − 1
M
)erfc ⎜ 2 N 0 ( M − 1) ⎟
⎝ ⎠
เมื่อ Eavg = 2 E (3M −1)
0

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 35
0
Error Probability Distribution
10

-1
10 ← QPSK,MSK

-2
10 ← BPSK ← BFSK,OOK
Error Probability (pe)

-3
10

-4
10

-5
10

-6
10

-7 m09090220pe.m
10
0 5 10 15
Eb/N0 (dB)

_____________________________________________________________________________
36 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
แบบฝึ กหัด
1. พิจารณาสัญญาณ s1 (t ), s2 (t ), s3 (t ) และ s4 ( t ) แสดงในรู ป จงใช้วิธีการแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ ส และแสดง
สัญญาณทั้งสี่ ในปริ ภมู ิ

2. พิจารณาสัญญาณ s1 (t ), s2 (t ), s3 (t ) และ s4 ( t ) แสดงในรู ป จงใช้วิธีการแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ ส

3. พิจารณาสัญญาณ s1 (t ) และ s2 (t ) แสดงในรู ป จงใช้วธ


ิ ี การแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ ส
s1(t) s2(t)

1 1

t t
0 0
T/2 T/2 T

4. พิจารณาสัญญาณ s1 (t ) และ s2 (t ) แสดงในรู ป จงใช้วธ


ิ ี การแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ ส

s1(t) s2(t)

1 1

t t
0 0
T/2 T/2 T

5. จงใช้วธ
ิ ี การแกรม-ชมิดธ์ ในการหาเบซิ สของการมอดูเลตแบบเฟสเลื่อน 4 เฟส โดยเฟสเริ่ มต้นคือ π /4
_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 37
2
6. วงจรโครี เลเตอร์ สาํ หรับสัญญาณมอดูเลตเฟสเลื่อน โดยที่ φ1 (t ) = cos ωc t จงแสดงรู ปร่ างของ y (t ) เมื่อ
T

ก) z(t ) = A cos ωc t และ ข) z(t ) = A cos( ωc t + π)

โครีเลเตอร์
สัญญาณ BPSK z(t ) y (t ) zi

ประเมินที่ t=Tb
φ 1 (t )

5. จงค้นคว้าและอธิ บายถึง

5.1 MSK (Minimum Shift Keying)


5.2 OFDM
3.3 Spread Spectrum Communication

_____________________________________________________________________________
38 การสือ่ สารดิจติ อล สมศักดิ ์ ชุมช่วย C3.20100209
สารบัญ
บทที่ 10 ......................................................................................................................................................................... 1 
การส่ งสัญญาณดิจิตอลในพาสแบนด์........................................................................................................................ 1 
Passband Digital Signal Transmission ................................................................................................................ 1 
วัตถุประสงค์ของบทศึกษา .............................................................................................................................. 1 
10.1 การส่ งสัญญาณดิจิตอลในพาสแบนด์ ..................................................................................................... 1 

10.2 สัญญาณในหลายมิติ และปริ ภูมิของสัญญาณ .......................................................................................... 2 

10.2.1 วิธีการของแกรม-ชมิดท์................................................................................................................... 2 

10.3.2 การแสดงสัญญาณด้วยเบซิ ส .......................................................................................................... 11 

10.3 การมอดูเลตแบบการเลื่อนเฟส .............................................................................................................. 14 

10.3.1 การมอดูเลตแบบการเลื่อนเฟส 2 สถานะ (Binary Phase-Shift Keying: BPSK) ........................ 14 

10.4.2 การมอดูเลตแบบการเลื่อนเฟส 4 สถานะ (Quardriphase-Shift Keying: QPSK) ...................... 18 

10.4.3 การมอดูเลตแบบการเลื่อนเฟส M สถานะ (M-ary Phase-Shift Keying: M-ary PSK) .............. 24 

10.5 การมอดูเลตแบบการเลื่อนความถี่.......................................................................................................... 25 


10.5.1 Binary Frequency-Shift Keying (BFSK)................................................................................... 25 
10.5.2 M-ary Frequency-Shift Keying (M-ary FSK) ......................................................................... 28 
10.6 การมอดูเลตแบบการเปลี่ยนขนาดและเลื่อนเฟส ................................................................................... 28 
10.6.1 Binary Amplitude-Shift Keying (BASK) ................................................................................. 28 
10.6.2 M-ary Quadrature Amplitude Modulation (QAM) .............................................................. 30 
10.4.3 การมอดูเลตแบบการเลื่อนเฟส M สถานะ (M-ary Phase-Shift Keying: M-ary PSK) ............... 31 

10.7 บทสรุ ป ................................................................................................................................................. 35 

_____________________________________________________________________________
DCMM-S2 บทที่ ๑๐ การส่งสัญญาณดิจติ อลในพาสแบนด์ อิเล็กทรอนิกส์ สจล. 39

You might also like