Research Completed

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 8

ราชภัฏเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยัง่ ยืน ครัง้ ที่ 1

28 พฤษภาคม 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

เครือญาติกับความสัมพันธ์ในพิธีศพไทยทรงดำา
ตำาบลจอมบึง อำาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี

นางสาวปุณย์จรีย์ สรสีสม และนางสาวจิราภรณ์ หนูสิทธิ ์


สาขาภาษาไทย คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน
จอมบึง
อำาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 โทร 086-801-6805,083-316-2927
E-mail : puncharee82@hotmail.com, keke2530@hotmail.com

Miss Puncharee Sornsrisom and Miss Jiraporn Nusit


Thai Language Program Muban Chombueng Ratjabhat
Chom Bueng District Ratchaburi Province Tel: 086-801-6805, 083-316-2927
E-mail : puncharee82@hotmail.com, keke2530@hotmail.com

บทคัดย่อ Abstract
ครอบครัวและเครือญาติของคนไทย The Black Thai Family and kinship
ทรงดำามีอิทธิพลต่อพิธีศพและวิถีชีวิตประจำา vitally influence to their funeral ritual and
วันของชนกลุ่มนี้เป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะคน ways of life, especially for the Black Thais
ไทยทรงดำาในพื้นที่หมู่บ้านตลาดควาย ตำาบล who live in Talat Khway village, Chom Bueng
จอมบึง อำาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี โดยมี sub district, Chom Bueng district, Ratchaburi
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพิธีศพของคนไทยทรง province. This study aims to investigate the
ดำาควบคู่กับศึกษาความสัมพันธ์ของเครือญาติ correlation between the Black Thai kinship
ในพิธีศพของไทยทรงดำา ซึ่งได้ดำาเนินการเก็บ and its funeral. As a qualitative research, the
รวบรวมข้อมูลโดยวิธีการ research documents are methodologically
สัมภาษณ์(interview),การมีส่วน collected through interview, participation and
ร่วม(participation)และการ observation. These research sources are

สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
สังเกต(observation) ซึ่งข้อมูลที่ได้นำามา proposed in descriptive analysis. The finding
วิเคราะห์เชิงเนื้อหาโดยเฉพาะพิธีศพกับความ of this study is that the marriage kinship is
สัมพันธ์ทางเครือญาติพบว่าอิทธิพลของเครือ more influenced to the funeral rite than blood
ญาติทางการแต่งงานของไทยทรงดำาจะมี kinship. It means that after get married a
บทบาทความสำาคัญมากกว่าเครือญาติทางสาย Black Thai woman who used to follow the
โลหิต กล่าวคือ เครือญาติทางสายโลหิตที่เป็ น blood kinship has to worship the ancestor
เพศหญิงเมื่อแต่งงานออกเรือนไปแล้วก็จะต้อง spirit of her husband’s family. A wife is
ไปนับถือผีของฝ่ ายสามี ส่วนเครือญาติ counted as a member of her husband's
ทางการแต่งงานนัน
้ เมื่อแต่งงานเข้ามาแล้วก็ family. She must change to rely on marriage
จะต้องนับถือผีของฝ่ ายสามีจึงถือว่าเป็ นบุคคล kinship. In addition, she needs to succeed in
ที่อยู่ภายในครอบครัว ที่จะต้องสืบทอดการ worshiping her husband’s ancestor spirit. In
เลี้ยงผีของครอบครัวนัน
้ “ผี” ในความเชื่อ the Black Thai’s belief, “spirit” is their
ของคนไทยทรงดำา คือ บรรพบุรุษ หรือ ราก forebear. Funeral ritual, therefore, is not only
เหง้าของตนเอง พิธีศพจึงไม่ใช่แค่การแสดง to indicate respect to the dead but also the
ความเคารพหรือให้เกียรติผู้ตาย ทว่าพิธีศพ origin of family. The role of the son-in-law and
ของคนไทยทรงดำาเป็ นการแสดงความเคารพ daughter-in-law starts before building the Ban
รากเหง้าของตนเอง ในพิธีศพ บทบาทของ “เ pa until make it done. In the funeral ritual, the
ขย” และ “สะใภ้” เริ่มตัง้ แต่ก่อนจะที่ทำาบ้าน Black Thai emphasizes on the dressing of the
ป่ า จนกระทัง่ การสร้างบ้านป่ า อีกทัง้ การแต่ง in-laws. They wear “Hee” dress presenting
กายในการประกอบพิธีศพจะให้ความสำาคัญกับ their ethnic identity. Because the correlation
การแต่งกายของลูกหลานเขย ลูกหลานสะใภ้ between status and role of the Black Thai
โดยบุคคลดังกล่าวทัง้ หมดจะต้องสวมใส่ชุดฮี family members is shifting, the government
ซึ่งเป็ นชุดที่แสดง should support them preserving their ethnic
อัตลักษณ์ของไทยทรงดำา เนื่องด้วยความ identity for abiding existence.
สัมพันธ์ระหว่างสถานภาพและบทบาทของ
สมาชิกในครอบครัวกับพิธีศพของไทยทรงดำา
กำาลังเปลี่ยนแปลง ทางราชการควรให้การ
สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ เพื่อการธำารงรักษา
อัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธ์ุดงั กล่าวให้คงอยู่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
สืบไป เนือ
่ งจากงานวิจย
ั เรือ
่ งดังกล่าวนีเ้ ป็ นการวิจย

สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งได้ใช้วิธีการ
เก็บข้อมูลทัง้ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก, การมีส่วน
บทนำ า ร่วม และการสังเกต ดังนี้
ไทยทรงดำา เป็ นกลุ่มชาติพันธ์ุกลุ่มหนึ่ง 1 การสัมภาษณ์(interview)
ที่พูดภาษาในตระกูลไต ผ้ว
ู ิจัยสัมภาษณ์บุคคลผู้ให้ข้อมูลทาง
(Tai language family) ซึ่งมีช่ ือเรียกต่างๆ วัฒนธรรม โดยเฉพาะเรื่องพิธีศพของคนไทยทรงดำา
กันว่า ลาวโซ่ง ลาวซ่ง ไทยซ่ง ลาวทรงดำา ได้แก่ นายทัน ลืมกลืนและครอบครัว,นางหวาน คง
ลาวซ่วงดำา ไทยดำา และไทยทรงดำา ซึ่งคำาว่า พันธ์ุ,นายไฟ่ และคณะผู้ประกอบพิธีศพ
ซ่ง โซ่ง ทรง เป็ นคำาเดียวกันมีความหมาย 2 การมีส่วนร่วม(participation)
ว่า กางเกง ดังนัน
้ ทรงดำา จึงมีความหมาย ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในพิธีศพของไทยทรง
ว่า กางเกงดำา จึงเป็ นที่มาของกลุ่มไทยทรง ดำาตัง้ แต่เริ่มต้นพิธีและจนสิ้นสุดพิธี
ดำา ที่สวมใส่เครื่องแต่งกายด้วยสีดำาหรือสี 3 การสังเกต(observation)
ครามเข้มเกือบดำาและสาเหตุที่เรียกว่า ลาว ผ้วู จิ ย
ั สังเกตการแต่งกายของผ้ห
ู ญิงที่
โซ่ง สันนิษฐานว่าชนกลุ่มนี้อพยพมาจาก แต่งงานแล้วทีเ่ ป็ นสะใภ้ของผ้ต
ู ายว่ามีความแตกต่าง
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน จากญาติพน
ี่ ้ องและบุคคลผ้มาร่
ู วมพิธ,ี สังเกตการสร้าง
ลาว และมีขนบธรรมเนียมประเพณีส่วนใหญ่ บ้านป่ าให้กบ
ั ผ้ต
ู าย, สังเกตการณ์ประกอบพิธข
ี องพ่อ
คล้ายคลึงกับคนลาว (กลุ่มนักศึกษาโครงการ หมอและแม่หมอ เป็ นต้น
เรียนรู้ร่วมกันสรรค์สร้างชุมชน: 2547)
กลุ่มชาติพันธ์ุไทยทรงดำาที่อาศัยใน วิธีดำาเนิ นการวิจัย
พื้นที่หมู่บ้านตลาดควาย อำาเภอจอมบึง งานวิจย
ั เครือญาติกบ
ั ความสัมพันธ์ในพิธศ
ี พ
จังหวัดราชบุรี นัน
้ เดิมทีอาศัยอยู่ที่จงั หวัด ไทยทรงดำา ตำาบลจอมบึง อำาเภอจอมบึง จังหวัด
เพชรบุรีและได้ขยับขยายมาหาทีท
่ ำากินใหม่ ราชบุรี เป็ นการวิจย
ั เชิงคุณภาพ (Qualitative
โดยแยกมาแค่จำานวนพี่น้องหรือครอบครัว Research) มีวต
ั ถุประสงค์เพื่อศึกษาพิธีศพและและ
เล็กๆ และมาแยกพี่น้องอีกจำานวนมากที่ ความสัมพันธ์ของพิธีศพกับความเป็ นเครือญาติ
หมู่บ้านนี้เป็ นเวลานับร้อยปี มาแล้ว (นายทัน ทางการแต่งงานของกลุ่มชาติพันธ์ุไทยทรงดำา
ลืมกลืน, สัมภาษณ์) อำาเภอจอมบึง จังวัด โดยมีวิธีดำาเนินการดังต่อไปนี้
ความเป็ นพี่น้อง ความเป็ นเครือญาติ 1. ศึกษาเอกสารในเบื้องต้น
ทัง้ เครือญาติทางสายโลหิตและเครือญาติ การวิจัยนี้เป็ นการใช้ระเบียบวิจัยเชิง
ทางการแต่งงานมีความสำาคัญกับชนทุกกลุ่ม คุณภาพ ที่เริ่มต้นการวิจัยจากการศึกษาเอกสาร สิ่ง
ความสำาคัญทางสังคม เครือญาติแสดงให้เห็น พิมพ์และงานวิจัยอื่นๆที่เกีย
่ วข้องกับไทยทรง-ดำา

สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ถึง “รากเหง้าของบุคคล” รากเหง้าที่ดี ที่ได้รับ ได้แก่ มโน กลีบทอง (2544), เรณู เหมือนจันทร์
การเลี้ยงดูอย่างดีจากความสัมพันธ์ทางเครือ เชย (2541), กลุ่มนักศึกษาโครงการเรียนรู้ร่วมกัน
ญาติ นำ ามาซึ่งความเจริญงอกงามทางสังคม สรรค์สร้างชุมชน (2547), สมทรง ษุรุษพัฒน์
ความสำาคัญทางประวัติศาสตร์ เครือญาติแสดง (2539), สภาวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี (2547)
ให้เห็นถึง “ร่องรอยอารยธรรมของกลุ่มชน” เป็ นต้น
ซึ่งหากศึกษาอย่างลึกซึ้งจะพบว่า กลุ่มชนกลุ่ม อย่างไรก็ตามงานดังกล่าวมีราย
ต่างๆมีความสัมพันธ์ “เป็ นพี่เป็ นน้ อง” ดังเช่น ละเอียดของพิธีศพของคนไทยทรงดำาน้ อยมาก อีก
คนไทยล้านนาเป็ นพี่น้องกับคนลาวล้านช้าง ทัง้ พิธีศพของไทยทรงดำาแบบดัง้ เดิมที่มีการสวดศพ
อันเนื่องมาจากสายสัมพันธ์ทางการแต่งงาน ถึง 5 วัน ประกอบพิธีศพที่ป่าช้าอีก 1 วัน แทบจะ
ในส่วนของเครือญาติของคนไทยทรง สูญหายไปกับกาลเวลาที่ผา่ นไป ด้วยเหตุนี้การได้มี
ดำา พบว่า เครือญาติทางการแต่งงานจะมีบทบาท ส่วนร่วมในพิธีศพของไทยทรงดำาอย่างเต็มรูปแบบ
ความสำาคัญมากกว่าเครือญาติทางสายโลหิต ซึ่ง และได้ศึกษาความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับพิธีศพ
แตกต่างจากกลุ่มคนไทยพื้นราบและคนจีนที่ เป็ นการเพิ่มองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมควบคู่กับการ
จะให้ความสำาคัญกับเครือญาติทางสายโลหิต อนุรักษ์วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุไทยทรงดำา
ความสำาคัญของญาติทางการแต่งงานของไทย 2. การเลือกกรณีศึกษา ได้แก่ ชุมชนหมู่บ้าน
ทรงดำาปรากฏอย่างเด่นชัดในพิธีศพ อย่างไร ตลาดควาย ตำาบลจอมบึง อำาเภอจอมบึง จังหวัด
ก็ตาม การคงรูปแบบพิธีศพอย่างเต็มรูปแบบ ราชบุรี
แทบจะไม่ปรากฏในสังคมไทยทรงดำา ณ 3. วิธีการเก็บข้อมูล ได้แก่ โดยการ
ปั จจุบัน ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยสนใจทีจ่ ะศึกษาความ สัมภาษณ์เชิงลึก, การมีส่วนร่วม และการสังเกต
ความสัมพันธ์ทางเครือญาติในพิธศ
ี พของคนไทย ดังนี้
ทรงดำา เพื่อสนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ และ 4. การนำ าข้อมูลมาวิเคราะห์
ธำารงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่ม 4.1 กระบวนการทำาความเข้าใจเกี่ยว
ชาติพันธ์ุดงั กล่าวให้คงอยู่สืบไป กับงานวิจัยได้ศึกษาร่วมกับอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา
การวิจัยทางภาษาไทยทัง้ การวิเคราะห์ภาษาไทย
วัตถุประสงค์
ทรงดำาและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับพิธีศพของไทย
1. เพือ
่ ศึกษาพิธศ
ี พของคนไทยทรงดำา
ทรงดำา
2. เพือ
่ ศึกษาความสัมพันธ์ของเครือญาติใน
4.2 อธิบายขัน
้ ตอนต่างๆที่ปรากฏในพิธี
พิธศ
ี พของไทยทรงดำา
ศพของคนไทยทรงดำา ตัง้ แต่เริ่มต้นพิธีและจนสิ้น

ขอบเขตของการวิจัย สุดพิธี

ศึกษาพิธศ
ี พและความสัมพันธ์ทางครือ 4.3 อธิบายความสัมพันธ์ของเครือ

สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ญาติในพิธศ
ี พของไทยทรงดำาในพื้นที่หมู่บ้าน ญาติกับพิธีศพ
ตลาดควาย อำาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ไม่ 4.4 ตรวจสอบความถูกต้องของ
รวมถึงพิธศ
ี พและความสัมพันธ์ของเครือญาติใน ข้อมูลที่ได้รับ (data
พิธศ
ี พของไทยทรงดำาในพื้นที่อ่ ืน แป้งเพื่อให้เป็ นคนใหม่ หลังจากนัน
้ จะเป็ นวันที่ทำา
บ้านป่ าซึ่งบ้านป่ า เปรียบเสมือนบ้านของผู้ตาย
triangulation) โดยเน้ นการถามซำ้า จากผู้ให้
(สมัยก่อนนิยมทำาบ้านป่ าให้ผู้ตายที่ป่าช้าใกล้ที่เผา
ข้อมูลสำาคัญ หรือผู้ให้ข้อมูลหลัก ทัง้ นายทัน
ศพ) พิธีเริ่มจากนำ าผู้ตายไปเผาที่ป่าแห่ว หรือป่ าช้า
ลืมกลืนและครอบครัว,นางหวาน คงพันธ์,ุ นาย
ส่วนใหญ่ผู้เข้าร่วมพิธีจะเป็ นเครือญาติผู้ตาย เช่น
ไฟ่ และคณะผู้ประกอบพิธีศพ ว่าข้อมูลที่ได้รับ
ลูกเขย ลูกสะใภ้ หรือผู้ที่นับถือผีเดียวกัน หลังจาก
มีความเหมือนกันหรือไม่ ซึ่งถ้าทุกแหล่ง
นัน
้ เขยกก(พ่อหมอ)และเขยหาม(ลูกเขย)จะช่วย
ข้อมูลพบว่าได้รายละเอียดพิธีศพมาเหมือนกัน
กันสร้างบ้านป่ าให้ผู้ตาย เป็ นบ้านหลังเล็กๆ คล้าย
แสดงว่าข้อมูลทีผ
่ ู้วิจัยได้มามีความถูกต้อง
ศาลเจ้าที่ ยกพื้นสูง มุงหลังคาด้วยจาก นำ าหอแก้ว
มาตัง้ ไว้กับบ้านป่ าโดยหันหน้ าเข้าหากัน ห่างจาก
สรุปผลการวิจัย
บ้านป่ า จะตัง้ เสาบนยอดเสาจะติดหอเทียนซึ่งหอ
จากการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรม
เทียนนี้ทำาจากร่ม (หอเทียน ถ้าเป็ นผู้ชายจะเป็ น
ในเรื่องของจำานวนประชากรของคนไทยทรง
นกหงส์ ส่วนผู้หญิงจะเป็ น หอปลี) ตัง้ หอเทียนผูก
ดำาในพื้นที่ชุมชนหมู่บ้านตลาดควาย ตำาบล
ติดกันไว้ห่างจากบ้านป่ าประมาณ ๑ ศอก ซึ่งลูกเขย
จอมบึง อำาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี พบว่า
ขุดหลุมให้ลูกหลานใส่เงินลงไปในหลุมและตัง้ เสา
ชุมชนบ้านตลาดควาย เป็ นพื้นที่ซ่ งึ มีประชากร
ขึ้นให้ลูกหลานเขยลูกหลานสะใภ้มาเตรียมส่งผู้ตาย
กลุ่มชาติพันธ์ุไทยทรงดำาอาศัยอย่เู ป็ นจำานวน
ขึ้นสวรรค์ซ่ ึงลูกสะใภ้จะเป็ นผู้นำาโดยมีผ้าขาว
มาก โดยมีจำานวนประชากรอาศัยอยู่ในช่วง
สี่เหลี่ยม พร้อมแก้ว แหวนเงินทองและกำาไล เสร็จ
เวลาที่เริ่มก่อตัง้ หมู่บ้านตลาดควายเมื่อ พ.ศ.
แล้วลูกสะใภ้และทุกคนนัง่ ลงทำาความเคารพ ๑ ครัง้
๒๔๕๓ ประมาณ ๔๐-๕๐ หลังคาเรือน (นาย
โดยกราบหงายมือขึ้น ๑ ครัง้ และทำารัว
้ ซึ่งในรัว
้ บ้าน
ทัน ลืมกลืน, สัมภาษณ์)
ป่ าจะใส่ข้าวของเครื่องใช้ต่างๆที่จำาเป็ นต้องใช้ใน
ปั จจุบันชาวไทยทรงดำาได้อนุรักษ์และ
ชีวิตประจำาวันไว้ให้ เป็ นอันเสร็จพิธี
สืบทอดประเพณี
การแต่งกายในการประกอบพิธีลูก
พิธีกรรมบางอย่างไว้อาทิเช่น การเสนเรือน
หลานเขย ลูกหลานสะใภ้ทัง้ หมดจะใส่ชุดฮี ส่วน
ซึ่งมีความเกีย
่ วข้องกับการนับถือผีบรรพบุรุษ
ลูกชายของผู้ตายจะต้องโกนผมหรือโพกด้วยผ้าขาว
อย่างไรก็ตามมีพธ
ิ ีกรรมของคนไทยทรงดำาพิธี
ใส่เสื้อคอวีสีขาวไม่ต่อแขน เรียกว่า ใส่เสื้อตกปกหัว
หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงจากช่วงเวลาอดีต นัน

ขาว เป็ นการไว้ทุกข์
คือพิธีศพ อีกทัง้ การคงรูปแบบพิธีศพอย่างเต็ม
สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
รูปแบบแทบจะไม่มีในปั จจุบัน เนื่องจากพิธีศพ จากการมีส่วนร่วม สังเกต พิธีศพตาม
ของคนไทยทรงดำา ปั จจุบันนิยมจัดอย่างเรียบ ประเพณีของไทยทรงดำา และสัมภาษณ์บุคคลต่างๆ
ง่าย ข้ามขัน
้ ตอนการสวดหรือแม้กระทัง่ ขัน
้ ซึ่งเป็ นคนไทยทรงดำา ได้ชี้ให้เห็นว่า มีการตระหนัก
ตอนของการสร้างบ้านป่ าให้กับผู้ตายในป่ าช้า ถึงคุณค่าของผู้เสียชีวิตไปแล้วและให้ความสำาคัญ
เนื่องจากข้อจำากัดของสถานที่ เป็ นต้น รวมไป กับผู้ตายและญาติของผู้ตายโดยเฉพาะเขยและ
ถึงการขาดการศึกษาเรื่องของความสัมพันธ์ สะใภ้ซ่ ึงต้องมาเป็ นผู้นับถือและสืบทอดการนับ-ถือ
ระหว่างพิธีศพกับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ผีบรรพบุรุษ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า การ สถานภาพและบทบาทของสมาชิกในครอบครัวกับ
ประกอบพิธีศพของคนไทยทรงดำา มี 2 พิธีกรรม เป็ นการจัดระเบียบทางสังคมทีด
่ ีที่เห็นได้
ลักษณะ กล่าวคือ ลักษณะแรก คือ การทำาพิธี อย่างชัดเจน
แบบคนไทยที่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งจะมีการ
สวดพระอภิธรรมโดยจำานวนวันที่สวดพระ ข้อเสนอแนะ
อภิธรรมขึ้นอยู่กับการตกลงกันในหมู่เครือ 1.ควรมีการศึกษาสายตระกูลของกลุ่ม
ญาติ ลักษณะที่สอง คือ การประกอบพิธีทาง ชาติพันธ์ุไทยทรงดำา
ประเพณีของไทยทรงดำา เริ่มจากเช้าของวัน 2.ศึกษาความสัมพันธ์ทางเครือญาติของ
เผา โดยพ่อหมอและแม่หมอมาทำาพิธี จะมี หมอผี ทัง้ พ่อหมอและแม่หมอที่มาประกอบพิธีศพ
พิธีการเรียกผีข้ ึนเรือน ที่รู้จักในชื่อ การ 3.ศึกษาพิธีศพของไทยทรงดำาในพื้นที่อ่ ืนๆ
ประกอบพิธีเสนเรือน ในขณะที่แม่หมอจะเป็ น 4. ส่งเสริมให้ทางราชการสืบสานวัฒนธรรม
ผู้สวดเรียกขวัญของญาติผู้ตายและผู้มาร่วม ของคนไทยทรงดำาเพื่อการธำารงรักษาอัตลักษณ์ของ
งานไม่ให้ลอยล่องตามไปกับผู้ตาย เมื่อนำ าศพ กลุ่มชาติพันธ์ด
ุ ังกล่าวให้คงอยู่สืบไป
ออกจากบ้านได้นำาหอแก้วมาตัง้ แทนที่ไว้ ก่อน
ที่จะเริ่มพิธีเก็บกระดูก ลูกหลานจะมาร่วมกิน เอกสารอ้างอิง
ข้าว กลุ่มนักศึกษาโครงการเรียนรู้ร่วมกันสรรค์
ป๊าดตง ซึ่งเป็ นพิธีกินข้าวไว้ทุกข์ เอาข้าว สร้างชุมชน . (2547).
พร้อมด้วยกับข้าวรวมไปถึงสิ่งของที่ใช้บริโภค สารานุกรมไทดำาลำา้ ค่า. เพชรบุรี
ในชีวิตประจำาวันมาวางบนใบตองซึ่งวางใน . เพชรภูมิการพิมพ์ .
กระด้งโดยวางข้าวไว้ตรงกลาง ส่วนกับข้าวจะ มโน กลีบทอง . (2544). พิพิธภัณฑ์สถาน
วางไว้สี่มุม ญาติผีเดียวกันนัง่ ห้อมล้อมแล้ว แห่งชาติ ราชบุรีและ
หยิบข้าวรวมกับข้าวคำาเดียวกัน โดยแบ่งให้ จังหวัดราชบุรี .สำา นั กพิมพ์สมา
ผู้ชายนัง่ ทางซ้ายและผู้หญิงนัง่ ทางขวาของศพ พันธ์ .

สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พอกินอิ่มก็กินนำ้ าในกระบอกไม้ไผ่ ในส่วน เรณู เหมื อ นจั น ทร์ เ ชย. (2541). การศึ ก ษา
ของเหล้า จะให้เขยกก(พ่อหมอ)เป็ นคนริน อิทธิพลความเชื่อ
เหล้าให้ จากนัน
้ เขยกกจะพูดว่า ”ขาดกันเท่า ประเพณี และพิ ธี ก รรมของ
นี้นะ” คือ ขาดพี่ ขาดน้ อง ขอให้ไปตามทาง ชาวไทยโซ่งที่มีผลต่อการ
ไปเฝ้ าป่ ูยา่ ตายาย พัฒนาคุณภาพชีวิต : กรณี
ก่อนจะที่ทำาบ้านป่ า ลูกเขย ลูกสะใภ้จะ ศึกษาหมู่บ้านแหลม
ทำาพิธีเก็บกระดูก โดยมีการแยกกระดูกของผู้ กะเจา ๒ ตำา บลลำา บั ว อำา เภอ
ตายออกเป็ น หัวใจ มือ เท้า และตัว ดอนตูม จังหวัดนครปฐม.
พร้อมทัง้ ท่องคาถาแล้วใช้ไม้คีบเก็บและให้ลูก ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลานมาคีบโดยร้องบอกว่าคืออวัยวะส่วนต่างๆ พัฒนาชนบทศึกษา
เสร็จแล้วให้อาบนำ้ าด้วยนำ้ าหอมพร้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
สมทรง ษุรุษพัฒน์ . (2539). มหิดล.
สารานุกรมชาติพันธ์ุไทย
โซ่ง. สถาบันวิจัยภาษาและ
วัฒนธรรมเพื่อพัฒนา
ชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล .
สภาวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี (2547). 8
ชาติพันธ์ุใน
ราชบุรี. ราชบุรี: ธรรมรักษ์การ
พิมพ์.

สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลป
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

You might also like