Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

- สรุปสาระการประชุม -

หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกสร้างความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับภาวะวิกฤติโลกร้อน ครั้งที่2
วันที่ 28 เม.ย. 54 ห้องสุนทรพิพิธ, ศาลากลางฉะเชิงเทรา

ก. ทบทวนการพูดคุยครั้งที่ผ่านมา
ข. นาเสนอสถานการณ์ภัยคุกคาม
ค. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ควรมีการร่วมกันวิเคราะห์ประเด็นภัยคุกคามของแต่ละจังหวัด
- ควรมีการรับรู้สถานการณ์ที่มีอยู่จริงเพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมด
- ควรมีการวิเคราะห์จุดเน้นที่น่าสนใจ ว่าจะมีภัยคุกคามอะไรน่าสนใจ
- ควรสังเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดทั้งของเราและของหน่วยงานอื่นๆ แล้วมากาหนดเป็นประเด็นร่วมสาคัญ
- ควรมีการจัดทาข้อมูลให้น่าสนใจ เช่น การทาลงแผนที่ ที่มีการทับซ้อนกันของพื้นที่อดีตและปัจจุบัน (ตัวอย่างแผน
ที่ของ สช.)
- ควรมีทีมสังเคราะห์กลาง โดยอาจจะเป็นทีมเพื่อนตะวันออกเป็นทีมกลางในการสังเคราะห์
- ควรมีทีมงานในพื้นที่เพื่อช่วยรวบรวมข้อมูลจัดทาเป็นข้อมูลของจังหวัด ซึ่งนอกจากได้ข้อมูลแล้วเราจะได้เพื่อนด้วย
ทาให้คนอื่นเห็นภัยพิบัติร่วมกันกับเรา นอกจากนี้ทีมเราเองอาจจะต้องมีการสืบค้นข้อมูลการพัฒนาภาพรวมเพื่อนา
มาร่วมวิเคราะห์ด้วย
- ควรมีการ จัดเวทีกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เพื่อที่จะให้คนในพื้นที่ได้มองเห็นสถานการณ์จริงในพื้นที่ พร้อมทั้ง
ร่วมตัดสินใจว่าเรื่องใด-สถานการณ์ใดเป็นภัยคุกคามที่พึงต้องเร่งดาเนินการ
- เพื่อนตะวันออกมีหน้าที่เตรียมข้อมูล เปิดเวทีสนับสนุนให้ชาวบ้านได้ตัดสินใจ
- ควรมีแผนปฏิบัติการเพื่อให้สื่อสารกับเพื่อนคนอื่นๆมาเชื่อมการทางานร่วมกันต่อไป
- ไม่จาเป็นต้องรอทาพร้อมกัน หากพื้นไหนพร้อมที่จะปฏิบัติการก็สามารถเริ่มดาเนินการได้เลย
- เราขาดการจัดระบบของข้อมูลที่เรามีอยู่ให้ชัดเจน ทบทวนความถูกต้อง นาข้อมูลมาใช้ มาจัดระเบียบ โดยทีมกอง
เลขาจะช่วยจัดระบบข้อมูลหรือเรียบเรียง อาจจะนาข้อมูลไปนาเสนอในเวทีของวันที่ 22 พ.ค. 54
- จากการเข้าร่วมเวที สช. เคลื่อนงานจากข้อมูล เปิดเวทีจากพื้นที่เข้ามา มีการประมวลข้อมูลแล้วชงเรื่องเข้าสู่ สช.
ภาค ที่น่าสนใจคือ ผู้รับผิดชอบเป็นผู้มารับฟังด้วยตนเอง ดังนั้น เวทีสาธารณะให้คนได้รับรู้เป็นสิ่งสาคัญแล้วจึง
ค่อยๆยกระดับการทางานให้ขยายวงกว้างมากขึ้น หรือมีความเป็นวิชาการที่น่าสนใจและเป็นข้อเท็จจริงที่หลาย
ภาคส่วนไม่มีโอกาสรับรู้
- การให้ความสาคัญกับสื่อนาเสนอ ที่เป็นข้อมูลที่น่าสนใจ ข้อมูลสังเครา ะห์โดยละเอียดของแต่ละพื้นที่เพื่อใช้เป็น
ฐานข้อมูลในการนาไปใช้ประโยชน์ต่อ
- ฝ่ายข้อมูลต้องทาหน้าที่รวบรวมในพื้นที่ สังเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่ รวมถึงข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ที่เราต้อง
รวบรวมไว้
- ต้องมีการส่งต่อช่องทางในการแก้ไขปัญหา โดยเราต้องมีข้อมูลที่ชัดเจน
- การจัดการเป็นเรื่องที่เราจะต้องมาดู ต้องทบทวนนักปฏิบัติการในแต่ละพื้นที่ที่มีอยู่ด้วยว่าจะเชื่อมการทางานร่วมกัน
ได้อย่างไร
- ทาง พอช. ต้องการให้ประเด็นการต่อสู้ของภาคตะวันออกที่ชัดเจน และมองว่าต้องการขับเคลื่อนที่ชัดเจนและเป็น
การช่วยกระตุ้นสู่ขบวนองค์กรชุมชนในพื้นที่ภาคตะวันออกด้วย
- สผ.ทางานวิชาการไปพักใหญ่แล้ว และอยากให้ภาคประชาชนลุกขึ้นมาเคลื่อนเป็นภาพใหญ่ในสังคม ไม่ให้งานขึ้นหิ้ง
ทิ้งเปล่า
- กลุ่มยุทธศาสตร์จังหวัดเองก็เห็นความสาคัญที่จะมา
- ทาอย่างไรเราจะไม่จมอยู่แค่ข้อมูล ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวแล้วคนหันมาให้ความสนใจ
- ต้องเกิดการเรียนรู้ครั้งใหญ่ เพราะสถานการณ์ปัญหารุนแรงและทวีเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับการศึกษาฐานชุมชน
ด้วยที่ทาให้คนมองเห็นทางรอดและทางเลือก
- เครือข่ายเพื่อนตะวันออกจะต้องช่วยนาเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ทาสื่อที่น่าสนใจแล้วนาไปสู่การนาเสนอสู่
สาธารณะ
- จาก การผลักดันมติของ สช.ในพื้นที่ภาคตะวันออก มีอยู่ 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1)การประกาศคุ้มครองพื้นที่
สิ่งแวดล้อมของมาบตาพุด 2)การรุกพื้นที่สีเขียวของอุตสาหกรรมในพื้นที่รอบมาบตาพุด และ 3)การทบทวน
แผนพัฒนาภาคตะวันออก (จะมีการประชุมวันที่ 22,25 พ.ค. 54) และเห็นว่าต้องมีการเคลื่อนร่วมกับประชาสังคม
ด้วย ดังนั้นเราต้องรีบเกี่ยวร้อย โดยที่เรามีต้นทุนอยู่บ้าง เช่น Time line หรือแผนที่ต้นทุนศักยภาพของแต่ละ
จังหวัด ก็จะช่วยให้การทางานรวดเร็วมากขึ้น
- และจะเป็นไปได้หรือไม่ที่จันทบุรีและตราดกัดฟันจัดซักเวทีในระยะนี้
- รับฟังเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มีการเชิญกลุ่มคนที่อยู่ในพื้นที่ได้รับผลกระทบ เกิดเป็น “เครือข่ายพลังไทยปฏิรูป
พลังงาน” มีเป้าหมายเพื่อการต่อต้านโรงไฟฟ้าจากฟอสซิลและนิวเคลียร์ โดยเสนอทางเลือกเป็นพลังงานแสงอาทิตย์
และพลังงานลม
ง. แผนงานต่อไป
ระยะเวลา เป้าประสงค์ แผนงาน วิธีการเบื้องต้น กลุ่มเป้าหมาย
๑ เดือน ทาข้อมูลให้ชัดเจน จัดการข้อมูล -รวบรวมข้อมูล(พื้นที่/ -กองเลขา
หน่วยงาน) -ผู้เชี่ยวชาญ
-ทบทวนข้อมูลจากการจัด นัดหมายพูดคุย?????
เวทีที่ผ่านมา
-สังเคราะห์ข้อมูลให้เป็น
ระบบ พัฒนาเป็นสื่อ
๒ เดือน ค้นหาข้อเท็จจริงใน ทาให้คนไม่รู้ -สร้างกระแสในจังหวัด -คนให้ข้อมูลที่ชัดเจน ไม่ต้องหวัง
พื้นที่ ได้รู้ -เวทีการเรียนรู้ในพื้นที่ คนมาก (ประมาณ ๒๕-๓๐คน)
(เวทีพื้นที)่ -รับฟังข้อเท็จจริงในพื้นที่
-การเติมข้อมูล
สร้างความร่วมมือ เวทีหน่วยงาน
กับภาคส่วนต่างๆ
ประกาศข้อเสนอ เวทีสาธารณะ -ประชาชนภาคตะวันออก
ของคนตะวันออก -องค์กรภาคตะวันออก
(มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ/วนเกษตร/ป่า
เพื่อปกป้องคุ้มครอง ชุมชน/ลุ่มน้าพอเพียง/เครือข่าย
พื้นที่อาหารและ ประชาชนภาคตะวันออก/เครือข่าย
ความอยู่ดีมีสุขใน เพื่อนตะวันออก/สมัชชารักษ์คนรักษ์
โลก/)
การรับมือกับภาวะ
-หน่วยงานทุกภาคส่วนในพื้นที่
โลกร้อน (สช./สผ./สภาพัฒน์ฯ/การนิคม/ BOI/
กระทรวงทรัพฯ/กระทรวงอุตฯ/กลมชล
ฯ/กรมทรัพยากรน้าฯ/คณะกรรมการ
สิทธิ์ฯ/กลุ่มจังหวัด 2กลุ่ม/กรมควบคุม
มลพิษฯ/สคบ./พอช./สสส./สกว./
สปสช./กรีนพีช/)
-ผู้ประกอบการ
(ดับเบิ้ลเอ/สหวิริยา/อีสวอเตอร์/อมตะ
นคร/เหมราช/เครือเจริญโภคภัณฑ์/
สหพัฒน์/ห้างโมเดิลเทรด/)
-หน่วยงานปกครองท้องถิ่น
(จังหวัด/อปท./กานันผู้ใหญ่บ้าน)
จ. ปฏิทินงาน
งบประมาณที่
วันที่ พื้นที่ สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อนตะวันออก อื่นๆ
22 พ.ค. สระแก้ว วัดหนองผูกเต่า ต.บ้าน
54 แก้ง อ.เมือง จ.สระแก้ว
เดือน ลุ่มน้าบาง ปราจีนบุรี ๔๐ ชุมชนนาร่อง ใน ใช้งบประมาณจากลุ่มน้าพอเพียง
พ.ค. ปะกง โครงการลุ่มน้าพอเพียง
ปลาย ระยอง เขาโบสถ์/ปลวกแดง/เขา ๓,๐๐๐ รักษ์เขาชะเมา
เดือน น้อย/ชายฝั่ง/วังจันทร์ สมทบค่าอาหาร
มิ.ย.
ฉ. การพูดคุยครั้งหน้า
- ข้อมูลกลุ่ม/เครือข่ายที่จะทางานร่วมกันกับเรา
- ข้อมูลเครือข่ายที่ทางานเรื่องการจัดการทรัพยากรในพื้นที่ของจังหวัดตนเอง
- ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินของพื้นที่ภาคตะวันออก
- นัดหมายวันส่งข้อมูลภายในวันที่ ๒๘ พ.ค. ๕๔ และนัดหมายประชุมวันที่ ๑๑ มิ.ย. ๕๔ สถานที่ บางคล้า
ฉะเชิงเทรา
- คนที่จะชวนมาเพิ่มเป็นคนที่สนใจ อยากมา มาแล้วควรจะต้องมีข้อมูลมาด้วย (พี่ทนงศักดิ์ อ.สมลักษณ์ พี่พรชัย
พี่นันทวัน พี่โยธิน อ.สุพัฒน์ อ.เจษฎา)
- วิเคราะห์ข้อมูลพื้นทีท่ ตี่ ้องเร่งปกป้อง และแนวทางการดาเนินต่อไป...
พี่หมู รายงาน

You might also like