Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 35

1

แหล่งจ่ายไฟ

หัวข้อนี้ ว่ากันด้วยเรื่องของแหล่งจ่ายไฟ ซึ่งแหล่งจ่ายแรงดันที่ใช้


กับวงจรอิเล็กทรอนิ กส์การสื่อสารวิทยุน้ ั นมีมากมาย แต่อย่างว่า
ครับ แรงดันส่วนสุดท้ายต้องเป็ นแรงดันไฟตรง
การจำาแนกแหล่งจ่ายไฟจะแบ่งง่ายๆเป็ น 2 ส่วนนะครับ คือ

1. แหล่งจ่ายแรงดันกระแสตรง
แหล่งจ่ายจำาพวกนี้ จะเป็ นแหล่งจ่ายที่เป็ นแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง โดยตรง
จะเป็ นจำาพวก แบตเตอรี่ อาจจะเป็ นชนิ ด กรด หรือชนิ ดแห้งก็แล้วแต่ แต่
แรงดันที่ใช้กับวิทยุส่ ือสารประเภท มือถือ ก็ต้องมีแรงดันระหว่าง 6 โวลท์
ถึง 15 โวลท์ กระแส ตั้งแต่ 800 มิลลิแอมป์ ถึง 3 แอมป์ ก็เพียงพอต่อการ
ใช้งาน แรงดันไฟตรงที่ดีต้องเป็ นแรงดันที่ราบเรียบหมายถึงไม่มีความถี่
ความถี่ของแหล่งจ่ายประเภท แบตเตอรี่ และถ่าน จึงมีความถี่เข้าใกล้ ศูนย์
และแหล่งจ่ายประเภทนี้ เมื่อใช้กระแสไฟฟ้ าหมดแล้ว ทำาการเพิ่มประจุใหม่
โดยการชาร์จกระแสเข้าไป ซึ่งการชาร์จนี้ จะทำาโดยการปล่อยกระแสตำ่า
เข้าไปเป็ นเวลานานอย่างต่อเนื่ อง ทำาให้เกิดการสะสมของกระแสไฟฟ้ า จน
กระทั้งตัวแบตเตอรีห
่ รือถ่านเต็ม ซึ่งอายุการใช้งานของแหล่งจ่ายประเภทนี้
ขึ้นอยู่กับ จำานวนครั้งของการชาร์จ และ อุณหภูมิขณะใช้งาน

การบำารุงรักษาแบตเตอรีห
่ รือถ่าน ชนิ ดประจุ
ไฟได้
1.อย่าใช้งานจนกระทัง่ กระแสหมดไม่เหลือเลย
2.อย่าประจุชาร์จกระแสเกินกว่าเวลาที่กำาหนดข้างตัวถ่าน
ประมาณ 15 ชัว่ โมง
3.อย่าชาร์จกระแส นานถึง 15 ชัว่ โมง หากเพิ่งใช้กระแสไป
2

เพียงนิ ดเดียว
4.อย่าชาร์จกระแสในที่ท่ีมีอุณหภูมิเย็นหรือร้อนเกินไป
5. อย่าทำาการชาร์จประจุต่อไป เมื่อแบตเตอรรีร่ ้อน ควรตรวจ
เช็คว่า มีก้อนใดเสื่อมหรือเปล่า
3

2.แหล่งจ่ายจากแรงดันกระแสสลับ
เป็ นแหล่งจ่ายไฟที่อาศัยการนำาแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับมาเปลี่ยน
ให้
เป็ น

ไฟฟ้ ากระแสตรง โดยอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ ไม่ว่าจะเป็ นการ


เปลี่ยนโดยตรงจากวงจรเร็กติไฟเออร์ หรือจะนำาไปผ่าน
กระบวนการอื่นก่อน เช่น ทำาการเพิ่มความถี่ข้ ึน อย่างในแหล่งจ่าย
ประเภทสวิทย์ช่ิง เพื่อทำาให้ความถี่สูงและสามารถควบคุมแรงดัน
และกระแสได้โดยการกำาหนดค่า Duty cycle คือช่วงเวลาของการ
เกิดแรงดัน ต่อช่วงเวลาของ การเกิด 1 ลูกคลื่น แหล่งจ่ายไฟ
จำาพวกนี้ ได้แก่ หม้อแปลงแบบไฟตรง อะแดปเตอร์ สวิทย์ช่ิง
ซัพพลาย อุปกรณ์ พวกนี้ ล้วนแล้วแต่เปลี่ยน แรงดันไฟฟ้ ากระแส
สลับให้เป็ นแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง แต่มีข้อเสียตรงที่ว่า แรงดันที่
ได้มา จะมีการกระเพื่อมของแรงดัน เนื่ องจากความถี่ท่ีเกิดขึ้น
เป็ นผลให้การใช้งานกับเครื่องรับ -ส่งมีประสิทธิภาพด้อยลงไป จึง
ต้องอาศัยวงจร เร็กกูลเลทเตอร์ เพื่อใช้ควบคุมแรงดันให้ได้ตาม
ต้องการและลดการเกิดแรงดันกระเพื่อม แต่ข้อดีของแหล่งจ่ายไฟ
ประเภทนี้ คือไม่ต้องกังวลว่าจะต้องประจุกระแสเข้าไปใหม่เพราะ
อาศัยแรงดันจากส่วนอื่นตลอดเวลาเช่น กระแสไฟฟ้ าจากการ
ไฟฟ้ า
4

บล็อกไดอะแกรมของ Linear supply

ส่วนประกอบของ Linear supply


ลิเนี ยร์ ซัพพลาย หมายถึง วงจรจ่ายไฟ ที่ทำางาน
แบบเชิงเส้น โดยอาศัยการควบคุมแรงดันโดยการเปลี่ยนแรงดัน
ไฟฟ้ ากระแสสลับ ให้เป็ นไฟฟ้ ากระแสตรงด้วยวงจร เร็กติไฟเออร์
ส่วนประกอบแบ่งเป็ น
1. วงจรแปลงแรงดัน ในที่น้ ี ส่วนใหญ่จะใช้
หม้อแปลงไฟฟ้ า โดยการแปลงแรงดันให้ตำ่าลงในกรณี ท่ีใช้กับแรง
ดัน 220 โวลท์ กระแสสลับ ให้เป็ นแรงดันตำ่า ประมาณ 12-24
โวลท์ หม้อแปลงที่ใช้มีหลายชนิ ด เช่นแบบแกน EI แบบ Turiol
แบบ R Core ซึ่งคุณสมบัติและประสิทธิภาพแตกต่างกัน
2. การเปลี่ยนเป็ นกระแสตรงด้วยวงจรเร็กติไฟเอ
อร์มี 3 ชนิ ด
2.1 แบบ Half wave คือใช้ ไดโอด 1 ตัวทำาการไปอัส
แบบ ฟอร์เวริด์ ก็จะได้แรงดันกระแส ตรง แต่ จะเกิด ความถี่ซึ่ง
มีช่วงห่างของ แรงดัน ทำาให้ แรงดันที่ได้ กระเพื่อม ไม่ราบเรียบ
ประสิทธิภาพตำ่า
5

2.2 แบบ Full wave จะใช้ ไดโอด 2 ตัวในการทำางาน เพื่อ


สลับการทำางาน แต่ละช่วงเวลา ทำาให้แรงดันที่ได้ไม่เกิดช่องว่าง
ใช้กับหม้อแปลงแบบมีแท็ป มีประสิทธิภาพกว่าแบบ Half wave
2.3 แบบ Bridge เป็ นการทำางานของไดโอด 4 ตัว ทำางาน
ครั้ง ละ 2 ตัว ใช้สำาหรับ หม้อแปลง แบบ ไม่มี แท็ป
3. วงจรกรองความถี่ เป็ นส่วนที่ทำาหน้าที่ในการลด
การกระเพื่อมของแรงดัน ทำาให้แรงดันดันที่ได้มีความราบเรียบ
เหมือนกับแรงดันจากแบตเตอรี่ ส่วนประกอบส่วนนี้ มีหลายแบบ
ทั้งการใช้ Resistor Coil Capacitor ในการทำางาน หรืออาจนิ ยมใช้
เพียงแค่ Capacitor เพียงอย่างเดียว
4.วงจรควบคุม แรงดัน เป็ นส่วนที่ทำาหน้าที่ควบคุม
แรงดันที่ได้ให้คงที่ หรือเป็ นการควบคุมการเปลี่ยนแปลงแรงดัน
ขึ้นลงตามความต้องการ มีท้ ังแบบกระแสตำ่า และกระแสสูง จะใช้
อุปกรณ์ ต่างกัน โดยกระแสสูงมักจะใช้อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำา
จำาพวก ทรานซิสเตอร์สำาหรับควบคุมแรงดัน หรืออาจจะเพิ่ม IC
เพื่อใช้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงแรงดันต่างๆ

แปลงแรง เปลี่ยนเป็ นก ควบคุมแรง กรอง


ดัน ระแสตรง ดัน ความถี่

ไดอะแกรม switching supply

แหล่งจ่ายไฟแบบ switching ใช้หลักการของการ


ควบคุม Duty cycle ให้มีความกว้าง หรือแคบ PWM(Pulse
6

width modulation)จะทำาให้ค่า เฉลี่ยแรงดันใช้งาน เพิ่มขึ้นหรือตำ่า


ลงได้ ด้วยการ กำาเนิ ดความถี่ใช้หลักการของ PPM และใช้ความถี่
ที่กำาเนิ ดได้ไปควบคุมอุปกรณ์สวิทย์ช่ิงให้ทำางาน ในลักษณะสวิทย์
โดยหลักการต่างๆ นี้ จะทำาให้แรงดันเฉลี่ยสูงขึ้น หรือตำ่าลงได้ด้วย
การปรับเปลี่ยนค่า Duty cycle

1. วงจรเรียงกระแสคืออะไร
แหล่งจ่ายกำา ลังไฟฟ้ าเป็ นส่วนหลักของระบบอิเล็กทรอนิ กส์
ทั้ งหมดที่ มี ผ ลมาจากแหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ ากระแสสลั บ แหล่ ง จ่ า ย
ไฟฟ้ ากระแสตรงสำาหรับอิเล็กทรอนิ กส์ขนาดย่อมจะประกอบด้วย
วงจรหม้อแปลงไฟฟ้ ากระแสสลับ วงจรเรียงกระแสและวงจรกรอง
วงจรเรีย งกระแส เป็ นส่ ว นหลั ก ซึ่ ง แปลงผั น แรงดั น จาก
ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ส ลั บ เ ป็ น ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ต ร ง ก า ร ส ร้ า ง แ ร ง ดั น
ไฟฟ้ ากระแสตรงที่ได้ไม่ ได้เ ป็ นแรงดัน ไฟฟ้ ากระตรงอุ ดมคติ มัน
เป็ นผลรวมของค่าแรงดันไฟฟ้ ากระแสแบบคงที่ (เฉลี่ย) และส่วน
เล็กน้อยของไฟฟ้ ากระแสสลับที่เรียกว่าริปเปิ้ ล วงจรกรองแรงดัน
จะทำาการลดค่าริปเปิ้ ลและทำาให้รูปร่างของแรงดันเรียบขึ้น
วงจรรั ก ษาเสถี ย รภาพของระดั บ แรงดั น สามารถที่ จ ะเพิ่ ม
เข้าไปเมื่อต้องการแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงที่มีเสถียรภาพ มันจะ
รั ก ษ า ร ะ ดั บ แ ร ง ดั น ใ ห้ มี ค่ า ค ง ที่ เ มื่ อ แ ร ง ดั น ด้ า น เ ข้ า มี ก า ร
เปลี่ยนแปลงหรือโหลดเปลี่ยนแปลง
7

2. หม้อแปลงไฟฟ้ า (Transformer)

รูปที่ 1 หม้อแปลงไฟฟ้ า (Transformer)


เ มื่ อ ข ด ล ว ด ต่ อ อ ยู่ กั บ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ส ลั บ ที่ แ ร ง
ดั น U1 แ ล ะ มี กร ะ แ ส ไ ห ล ผ่ า น ข ดล ว ด ทำา ใ ห้ เ กิ ดเ ส้ น แร ง แ ม่
เหล็ ก (flux )ขึ้ นมา มั น จะแปรผั น โดยตรงกั บ กระแสและจำา นวน
รอบของขดลวด N1 เมื่อขดลวดชุดที่สอง ซึ่งอยู่ใกล้กับขอลวดชุด
แร ก เ ส้ น แ ร ง แม่ เ ห ล็ ก จะ ตั ด ผ่ า น ข ดล ว ด ทำา ใ ห้ เ กิ ด แ ร ง ดั น
ไฟฟ้ ากระแสสลั บ U2 ขึ้นทางด้ านขดลวดชุ ดที่ ส อง N2 ถ้ าจำา นวน
รอบของขดลวดชุดที่สองมีค่าสูง ก็จะทำาให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ ยว
นำา U2 สูงเช่นกัน
อุปกรณ์ท่ีมีขดลวด 2 ชุดหรือมากกว่า และมีการเส้นแรงแม่
เหล็กคล้องไว้ในแต่ละชุดเรียกว่า หม้อแปลงไฟฟ้ า (Transformer)
ขดลวดที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสสลับเรียกว่าขดลวดปฐมภูมิ
8

(Primary winding) ทางด้านที่มีโหลดต่ออยู่เรียกว่าขดลวดทุติยภูมิ


(Secondary Winding)
สัญลักษณ์ของหม้อแปลงไฟฟ้ า (Transformer Symbol)

รูปที่ 2 สัญลักษณ์ของหม้อแปลงไฟฟ้ า (Transformer Symbol)


สั ญ ลั ก ษณ์ ข องหม้ อ แปลงไฟฟ้ าแสดงไว้ ดั ง รู ป ลั ก ษณะที่
สำาคัญที่สุดของหม้อแปลงไฟฟ้ าคือไม่มีจุดต่อไฟฟ้ าระหว่างแหล่ง
จ่ายกับโหลด (เฉพาะการเชื่อมโยงด้วยแม่เหล็ก) หม้อแปลงไฟฟ้ า
มีไว้เพื่อการส่งถ่ายพลังงานไฟฟ้ าจากขดลวดสู่ อ่ ืน ๆ ในอุ ดมคติ
กำา ลังทางด้านทุติยภูมิจะเท่ากับ กำา ลังทางด้านปฐมภู มิ อัตราส่ วน
การถ่ า ยโอน n ของแรงดั น ปฐมภู มิ ไ ปยั ง แรงดั น ทุ ติ ย ภู มิ จ ะมี ค่ า
เท่ากับอัตราส่วนของจำานวนรอบของขดลวดทั้งสอง
ขดลวดของหม้อแปลงไฟฟ้ าจะถูกพันไว้รอบแกนเหล็ก วัสดุ
ที่ใช้เป็ นแกนคือ อากาศ เฟอร์ไรท์ และเหล็ก ทิศทางของการพัน
9

ขดลวดรอบแกนเหล็ ก จะกำา หนดจากขั้ ว ของแรงดั น โดย Phase


dot จะถูกใช้สำาหรับแสดงขั้วของแรงดัน ซึง่ แสดงดังรูป
วงจรเรียงกระแสหนึ่ งเฟสแบบ Half wave ที่มีโหลดเป็ นตัว
ต้านทาน

U 2m
U 2 ( rms ) = = 0.707 U 2 m (ค่ามี่ได้จากการใช้
2
มิเตอร์ในการวัด)

U d =U 2 m ( ค่าที่ใช้ออสซิโลสโคป

ในการวัด )

U DC = 0.318 U 2 m (ค่าที่ได้

จากการใช้มิเตอร์ในการวัด)

จะเลือกไดโอดอย่างไร
10

รูปที่ 5
วงจรเรียงกระแสหนึ่ งเฟส ด้วยไดโอด
ในวงจรเรี ย งกระแสหนึ่ งเฟส ไดโอดจะนำา กระแสเมื่ อ
สัญญาณด้านเข้าครึง่ บวก เมื่อพิจารณาไดโอดเป็ นไดโอดอุดมคติ
แรงดันที่ตกคร่อมไดโอด Uf มีค่าประมาณศูนย์ สำาหรับไดโอดที่ใช้
งานจริง แรงดัน ตกคร่ อมไดโอดในช่ ว งที่ ไ ดโอดนำา กระแสจะมี ค่า
ประมาณ 0.7 V ถึ ง 2.0 V โดยปกติ จ ะไม่ นำา มาคิ ด เมื่ อเปรีย บ
เทียบกับแรงดันที่จ่ายให้กับวงจร ค่าแรงดันสูงสุดขณะที่ไดโอดได้
รับการไบแอสกลับจะมีค่าสูงสุดเท่ากับ U2m ในช่วงที่แรงดันด้าน
เข้าเป็ นลบ ไดโอดจะต้องสามารถทนแรงดันในช่วงที่ได้รบ
ั การไบ
แอสกลับได้ ค่ากระแสเฉลี่ยในวงจร Id จะเท่ากับค่ากระแสในช่วง
ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ไ บ แ อ ส ต ร ง IF ค่ า ก ร ะ แ ส เ ฉ ลี่ ย Id จ ะ ขึ้ น อ ยู่ กั บ
โหลด RL และเป็ นตั วกำา หนดค่ าเฉลี่ย ของแรงดัน ไดโอดในวงจร
เรียงกระแสจะถูกเลือกโดยพิจารณาจากแรงดันไบแอสกลับสูงสุด
และค่ากระแสเฉลี่ย
3. กำาลังไฟฟ้ ากระแสตรงและกำาลังไฟฟ้ าของหม้อแปลง (DC
Power & Transformer Power)
11

รูปที่ กำาลังไฟฟ้ ากระแสตรงและกำาลังไฟฟ้ าของหม้อแปลง


(DC Power & TransformerPower)

วงจรเรียงกระแสทุกวงจรจะถูกสร้าง ตามความต้องการ ของ


ผู้ใช้ท่ีต้องการให้ได้กำาลังไฟฟ้ ากระแสตรง Pd. ซึ่งสามารถหาได้จาก
Pd=Ud.Id หรือ Pd = Ud /RL
2

เมื่อเลือกวงจรเรียงกระแสที่ต้องการใช้งานในงานที่ต้องการ
แล้ว ขนาดของหม้อแปลง ขนาดของวงจรในที่น้ ี อาจจะหมายถึง
พิกัดการทำางานของวงจร และราคา ซึ่งจะต้องมีการประมาณราคา
สำา หรับ วงจรเรีย งกระแสแต่ ล ะวงจร ความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า งกำา ลั ง
ของหม้ อ แปลง PTU และกำา ลั ง ไฟฟ้ ากระแสตรงด้ า นออก Pd.
สำา หรับวงจรเรียงกระแสหนึ่ งเฟสแบบครึง่ คลื่น หม้อแปลงจะถูก
ออกแบบให้PTU = 3.09 Pd และอาจจะมีต้องมีขนาดใหญ่ในงาน
ที่ กำา ลั ง ไฟฟ้ าตำ่ า ๆ สำา หรับ เหตุ ผ ลนี้ วงจรเรีย งกระแสนี้ ถู ก ใช้
สำาหรับงานที่มีกำาลังไฟฟ้ าตำ่า ๆ เช่นวงจรชาร์จแบตเตอรีท
่ ่ ี ง่ า ย ๆ
และเป็ นส่วนหนึ่ งของแหล่งจ่ายไฟฟ้ าและของอุปกรณ์เครื่องใช้ใน
บ้าน

กรณีโหลดเป็ นตัวเก็บประจุ (Capacitive Load)หรือ เรียกว่าการใส่


C-filter
12

รูปที่ 6 กรณี โหลดเป็ นตัวเก็บประจุ (Capacitive Load)


เมื่อใส่ C Filter เข้าไปแล้ว ค่าแรงดันไฟเฉลีย
่ จะมีค่า
เท่ากับ

U dc = 2U 2 ( rms )

วิธีการที่ง่ายที่สุดที่จะทำาให้แรงดันที่ได้จากการเรียงกระแส
เรียบขึ้น คือการใช้ตัวเก็บประจุเป็ นตัวกรอง ซึ่งทำา ให้เป็ นการวิธี
การเปลี่ยนแปลงการทำางานของวงจรเรียงกระแส ระหว่างหนึ่ งในสี่
ของไซเคิลแรกของแรงดันด้านเข้า ไดโอดได้รบ
ั การไบแอสตรง ตัว
เก็ บ ประจุ จ ะทำา การชาร์ จ ประจุ แ บตเตอรี่ จ นกระทั ่ ง แรงดั น ที่
แบตเตอรีม
่ ีค่าประมาณเท่ากับแรงดันสูงสุดด้านเข้า
เมื่ อ แรงดั น อิ น พุ ท เริม
่ ลดลงจากค่ าสู ง สุ ด ตั ว เก็ บ ประจุ จ ะ
เก็บค่าแรงดันไว้ ทำา ให้ไดโอดจะได้รบ
ั การไบแอสกลับ ระหว่างใน
13

ช่วงไซเคิลที่เหลือตัวเก็บประจุจะเริม
่ คายประจุผ่านโหลดที่พิกัดซึ่ง
กำา หนดโดยช่วงเวลาคงที่RLC ในช่วงเวลาคงที่ท่ีมีค่ามาก ตัวเก็บ
ประจุจะคายประจุได้น้อย เพราะว่าตัวเก็บประจุจะเก็บ ประจุ ท่ีค่า
สูงสุดของ U2m และค่าแรงดันสูงสุดในช่วงที่ได้รบ
ั การไบแอสกลับ
มีค่าเท่ากับ 2 U2m

4. เครื่องประจุแบตเตอรี่ (Battery Charger)

รูปที่ 7 เครื่องประจุแบตเตอรี่ (Battery Charger)

วงจรที่ใช้สำาหรับเครื่องประจุแบตเตอร์รท
่ี ่ีง่ายที่สุดคือ การใช้
วงจรเรียงกระแสหนึ่ งเฟสแบบครึง่ คลื่น
14

วงจรเรียงกระแสจะกำาหนดทิศทางการไหลของพลังงาน จาก
สายไฟฟ้ าถึงแบตเตอรี่ ไดโอดจะนำากระแสระหว่างที่เป็ นครึง่ ไซเคิ
ลบวก เมื่อแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ U2 มีค่าเป็ นบวกมากกว่าแรง
ดันที่แบตเตอรี่UB ตัวต้านทานจะเป็ นตัวจำากัดกระแสในการประจุ
แบตเตอรี่ การออกแบบเครื่องประจุแบตเตอรีท
่ ่ีดีน้ ั นต้องสามารถ
ทำางานได้โดยไม่ต้องใช้ตัวต้านทานจำากัดกระแส ซึ่งสามารถเป็ นไป
ได้เมื่อใช้ตัวเหนี่ ยวนำา ที่ไม่มีกำาลังสูญเสียเป็ นตัวจำากัดกระแส
การป้ องกันเครื่องชาร์จแบตเตอรีเ่ ป็ นสิ่งที่สำาคัญที่สุด ซึ่งการ
ใช้ฟิวส์ต่อทั้งด้านที่ต่อกับ AC และ ด้านที่ต่อกับ DC เป็ นวิธีการที่
ใช้ป้องกันเครื่องชาร์จแบตเตอรี่

5. วงจรเรียงกระแสสองเฟส (วงจรเรียงกระแสที่ใช้หม้อแปลง
แถบกลาง)
(Two-Phase Rectifier)

รูป
ที่ 8
15

วงจรเรียงกระแสสองเฟส (วงจรเรียงกระแสที่ใช้หม้อแปลงแถบ
กลาง) (Two-Phase
Rectifier)
กรณี โหลดตัวต้านทาน (Resistive Load)

รูปที่ 9 วงจรกรณีโหลดตัวต้านทาน (Resistive Load)

U dc = 0.636 U 2 a

ค่าแรงดันไฟดีซีเฉลี่ยที่ใช้มิเตอร์ในการวัด
กรณีท่ีโหลดเป็ นตัวเก็บประจุ (Capacitive Load)
16

รูปที่ 10 วงจรกรณี ท่ีโหลดเป็ นตัวเก็บประจุ (Capacitive Load)


เมื่อใส่ C Filter เข้าไปแล้ว ค่าแรงดันไฟเฉลีย
่ จะมีค่า
เท่ากับ

U dc = 2U 2 ( rms )

เมื่ อต่ อ ตั ว เก็ บ ประจุ เ ข้ า ไปในวงจรเช่ น เดี ย วกั บ วงจรเรีย ง


กระแสหนึ่ งเฟส โหลดที่ เ ป็ นตั ว เก็ บ ประจุ น้ ี จะทำา ให้ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงการทำางานของวงจร
ไดโอด D1 จะนำากระแสในช่วงเวลาอันสั้น เมื่อแรงดัน U2a
มี ค่ามากกว่ า แรงดั น ของตั ว เก็ บ ประจุ Ud การทำา งานของไดโอด
D2 ก็เช่นเดียวกันเมื่อเทียบกับแรงดัน U2b เมื่อ D1 และ D2 นำา
กระแส ตัวเก็บประจุจะเริม
่ ชาร์จ พลังงานจะไหลจากแหล่งจ่ายแรง
17

ดันไฟฟ้ ากระแสสลับไปยังตัวเก็บประจุและโหลด ในระหว่างช่วง


เวลาที่เหลือ ตัวเก็บประจุจะเริม
่ คายประจุผ่านโหลดและจะทำา ให้
แรงดันที่โหลดเรียบขึ้น
6. วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ (Bridge Rectifiers)
วงจรเรียงกระแสแบบบริด จ์คื อวงจรเรี ยงกระแสแบบเต็ ม
คลื่ น แบบหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ นวงจรเรี ย งกระแสที่ ส ามารถทำา การเรี ย ง
กระแสได้ทัง้ ในช่วงที่แหล่งจ่ายแรงดันเป็ นครึ่งบวกและครึ่งลบ
เพื่อเรียงกระแสทัง้ ครึ่งบวกและครึ่งลบ ซึ่งวงจรจะประกอบด้วย
ไดโอดจำานวนสองเท่า
ในวงจรเรี ย งกระแสแบบบริ ด จ์ พลั ง งานจะถู ก ทำา ให้
สมมาตรโดยแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ ทัง้ ในส่วนที่เป็ น
ครึ่ งบวกและส่ ว นที่ เ ป็ นครึ่ งลบ ดั ง นั ้ น จึ ง มี ค่ า กำา ลั ง ไฟฟ้ าใช้
ประโยชน์ (Power Utilization) ดีกว่าวงจรเรียงกระแสแบบครึ่ง
คลื่น

วงจรเรียงกระแสหนึ่ งเฟสแบบบริดจ์กรณี โหลดเป็ นตัว

ต้านทาน(Single-Phase Bridge Rectifier - Resistive Load)


18

วงจรเรียงกระแสหนึ่ งเฟสแบบบริดจ์มีใช้กันอย่างแพร่หลาย
และยังได้มีการทำาเป็ นวงจรรวม IC ขึ้นมา
ในระหว่างครึง่ บวกของแรงดันทางด้านทุติยภูมิ U2 กระแส
โหลดจะไหลผ่าน D1 และ D3 ในระหว่างครึง่ ลบ D2 และ D4 จะ
นำากระแส กระแสไหลผ่านโหลดในทิศทางเดิม
เมื่ อ โหลดเป็ นตั ว ต้ า นทานแรงดั น ไฟฟ้ าที่ ไ ด้ จ ากวงจรเรีย ง
กระแสจะมีเฉพาะค่าเฉลี่ยของสัญญาณที่เป็ นครึง่ บวก ไดโอดทุก
ตัวจะนำากระแสครึง่ ช่วงเวลา ค่าแรงดันสูงสุดในช่วงที่ได้รบ
ั การไบ
แอสกลับคือ U2m และค่ากระแสเฉลี่ยคือ IFAV
กระแส i2 ที่ ไ หลผ่ า นขดลวดทางด้ า นทุ ติ ย ภู มิ จ ะเปลี่ ย น
ทิ ศ ทางการไหลทุ ก ๆ ครึ่ง ช่ ว งเวลา มั น คื อ กระแสไฟฟ้ าที่ เ ป็ น
ไฟฟ้ ากระแสสลับ กระแสโหลด id จะประกอบด้วยสัญญาณที่เป็ น
เฉพาะครึง่ บวกมันคือกระแสไฟฟ้ าที่เป็ นกระแสตรง

7. คุณลักษณะของวงจรเรียงกระแส (Rectifier Characteristic)


19

รูปที่ 18 คุณลักษณะของวงจรเรียงกระแส (Rectifier


Characteristic)

คุณลักษณะเฉพาะของวงจรเรียงกระแสคือ คุณสมบัติของเอา
ท์พุทหรือโหลด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติที่เป็ นอิสระของแรง
ดัน Ud กับ กระแสโหลด Id
เมื่อโหลดเป็ นตัวต้านทานและเป็ นวงจรเรียงกระแสใน
อุดมคติ แรงดันด้านออก Ud จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง การ
เปลี่ยนแปลงกระแสที่ไหลผ่านโหลด จะไม่มีผลต่อการทำางานของ
วงจร

การกระเพื่อม (Ripple)
20

รูปที่ 19 การกระเพื่อม (Ripple)

วงจรเรียงกระแสแต่ละวงจรจะมีรูปร่างของแรงดันด้านออกที่
มีรูปร่างเฉพาะ แรงดันไฟฟ้ าที่ได้จากวงจรเรียงกระแสแต่ละวงจร
จะประกอบด้วยองค์ประกอบของส่วนที่เป็ น DC และองค์ประกอบ
ของส่วนที่เ ป็ น AC ที่เรียกกันว่า ริปเปิ้ ล รูปร่างของสัญ ญาณจะ
ขึ้นอยู่กับวงจรเรียงกระแส ค่าริปเปิ้ ลเป็ นค่าโดยประมาณในส่วน
ของเส้นโค้งของรูปคลื่นไซในอุดมคติ ซึ่งการกำาหนดขนาด ที่เรียก
กั น ว่ า สั ม ประสิ ท ธ์ ข องริป เปิ้ ล Kr จะเป็ นค่ า สั ม ประสิ ท ธ์ ท่ี ถู ก ใช้
ประมาณและเปรียบเทียบความแตกต่างของวงจรเรียงกระแส
ริปเปิ้ ลจะมีความถี่เท่ากับหรือมีค่าเป็ นสองเท่า สามเท่าหรือ
มากกว่าความถี่สายกำาลัง ซึ่งจะขึ้นอยู่กับวงจรเรียงกระแส โดยจะ
แสดงให้เห็นว่าจะใช้เวลาเท่าไหร่ในการไหลของกระแสจากแหล่ง
จ่ายไฟฟ้ าและโหลด หรือจะต้องใช้จำานวนพัลส์เท่าไหร่จากเส้นโค้ง
21

โหลด บางครั้งวงจรเรียงกระแสเดียวกันอาจจะถูกเรียกชื่อต่างกัน
ไปเช่น three pulse หรือ six pulse หรืออื่น ๆ

วงจรเรียงกระแสแบบพิเศษ (Special Rectifiers)

รูปที่ 21 วงจรเรียงกระแสแบบพิเศษ (Special Rectifiers)

วงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบอนาลอกหลายวงจร ต้ อ งการใช้


แหล่งจ่ายแรงดันแบบสองแหล่งจ่าย ซึ่งแหล่งจ่ายแรงดันด้านหนึ่ ง
เป็ นบวกเมื่อเทียบกับจุดศูนย์และอีกแหล่งจ่ายหนึ่ งอาจจะเป็ นลบ
เมื่อเทียบกับจุดศูนย์ ตัวอย่างเช่น
22

จากรู ป แสดงวงจรเรี ย งกระแสหนึ่ งเฟสแบบ Dual ซึ่ ง


ประกอบด้วยหม้อแปลงแทปกลาง (เหมือนกับวงจรเรียงกระแส
สองเฟส) และวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีใช้ไดโอด
ไดโอด D1 และ D2 จะต่อกับแรงดันด้านบวกของ Ud1 ได
โอด D1 นำา กระแสระหว่างครึง่ ไซเคิลบวกของ U2a และ D2 นำา
กระแสระหว่ างครึง่ ไซเคิล บวกของ U2b ในลักษณะเดี ยวกัน D3
และ D4 ต่ อ กั บ แรงดั น ด้ า นลบของ Ud2 ซึ่ ง จะเห็ น ว่ าแหล่ ง จ่ าย
แรงดั น ทางด้ า นทุ ติ ย ภู มิ U2a และ U2b จะต่ อ อยู่ กั บ แรงดั น ทั้ ง
ด้านบวกและด้านลบ นั ่ นแสดงให้เห็นว่าทำา ให้มีแหล่งจ่ายแรงดัน
ไฟฟ้ ากระแสตรงสองแหล่งจ่าย

วงจรเรียงกระแสแบบทวีแรงดัน (Voltage-Multiplier Rectifiers)


23

รูปที่ 25 วงจรเรียงกระแสแบบทวีแรงดัน (Voltage-Multiplier


Rectifiers)

ในงานหลาย ๆ อย่าง แรงดันที่ได้จากวงจรเรียงกระแสอาจ


จะไม่ เ พี ย งพอกั บ ความต้ อ งการของโหลด ในกรณี น้ ี วงจรเรีย ง
กระแสแบบทวีแรงดันจะถูกนำา มาใช้ ซึ่งวงจรจะประกอบด้วย ได
โอดและคาปาซิเตอร์ สอง หรือสาม เซลล์ แรงดันด้านออกที่ได้จะ
ได้มาจากผลรวมของแรงดันที่ตัวเก็บประจุ
ระหว่างครึง่ ไซเคิลบวกของ U2 ตัวเก็บประจุ C1 เก็บประจุ
ผ่านไดโอด D1 จนถึงค่าแรงดันยอดของ U2m ระหว่างครึง่ ไซเคิล
ลบ ตั ว เก็ บ ประจุ C2 เก็ บ ประจุ ผ่ านไดโอด D2 จนถึ ง ค่ าแรงดั น
ยอดของ U2m
กระแสจะไหลจากแหล่งจ่ายแรงดันและกลับมายังแหล่งจ่าย
ในช่วงเวลาสั้น ๆ ในช่วง
24

เวลาที่เหลือกระแสโหลดจะไหลผ่ าน RL เนื่ องจากการคายประจุ


ของตัวเก็บประจุ
วงจรเรีย งกระแสแบบทวี แ รงดั น ถู ก ใช้ สำา หรับ แรงดั น ฟ้ า
กระแสตรงสูง ๆ และกระแสโหลดตำ่า

์ ารทวีแรงดันสูงสุด (Higher Multiplying


สัมประสิทธิก
Coefficient)

์ ารทวีแรงดันสูงสุด (Higher Multiplying


รูปที่ 27 สัมประสิทธิก
Coefficient)
25

Kinescopes แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ สำา ห รั บ electrostatic painting


ต้องการแรงดันสูง (มากว่า 100 kW) ด้วยกระแสโหลดที่มีค่าน้อย
กว่า 1 mA วงจรเรียงกระแสแบบทวีแรงดันที่มีการทวีแรงดันถึง
3 เท่าจะถูกใช้สำาหรับงานเหล่านี้ โดยวงจรจะถูกสร้างโดยใช้เทคนิ ค
ดังแสดงในรูป
ในช่ ว งเริม
่ ต้ น เมื่ อแรงดั น ไฟฟ้ ากระแสสลั บ U2 เป็ นบวก
ตั วเก็บ ประจุ C1 จะเริม
่ เก็ บประจุโ ดยผ่านไดโอด D1 จนถึง แรง
ดัน Uc1 = U2m ถ้าในทำานองเดียวกัน ไดโอดและตัวเก็บประจุชุด
ที่สองถูกเพิ่มเข้ามาในวงจร แรงดันแหล่งจ่ายทางด้านทุติยภูมิ U2
และแรงดั น จากแหล่ ง จ่ า ย Uc1 เริ่ม ชาร์ จ C2 ผ่ า นไดโอด D2
ระหว่างช่วงครึง่ ไซเคิลลบ ในช่วงเวลาเล็กน้อย Uc2 = 2U2m ถ้า
ไดโอด ตัวเก็บประจุชุดที่สามถูกเพิ่มเข้ามาในวงจร ตัวเก็บประจุ
C3 จะชาร์จประจุผ่านขดลวดทุติยภู มิ C1 D3 C2 ในช่วงสถานะ
คงตัว แรงดัน Uc3 = 2U2m และอื่น ๆ

วงจรรักษาระดับแรงดัน ( Voltage Stabilizers )


26

รูปที่ 28 วงจรรักษาระดับแรงดัน (Voltage Stabilizers)

วงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ ท้ ั งหมดต้ อ งการแหล่ ง จ่ า ยแรงดั น


ไฟฟ้ ากระแสตรงที่คงที่ทำา หรับการทำา งาน วงจรรักษาเสถียรภาพ
แรงดันไม่ได้เป็ นส่วนที่มีการบังคับใช้ในแหล่งจ่าย แต่มันจะถูกใช้
เมื่อต้องการเสถียรภาพสูง ๆ สำาหรับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
วงจรเรีย งกระแสไดโอดจะสร้ า งแรงดั น ไฟฟ้ ากระแสตรงที่
ประกอบด้วยค่าเฉลี่ยของแรงดันคงที่ และส่วนขององค์ประกอบ
ของริปเปิ้ ล ค่าเฉลี่ยจะขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของแรงดันที่จ่าย
ให้กับวงจร วงจรรักษาเสถียรภาพของแรงดันจะถูกใช้เพื่อให้แรง
ดันไฟฟ้ ากระแสตรงมีค่าคงที่เมื่อแรงดันที่จ่ายให้กับวงจรและโหลด
มีการเปลี่ยนแปลง ทำาให้ปราศจากริปเปิ้ ล วงจรรักษาเสถียรภาพ
ของแรงดั นสามารถพิ จารณาจากแหล่ ง จ่ ายแรงดั น ในอุ ด มคติ ท่ี มี
แรงดันด้านออกคงที่ Ust
27

วงจรรักษาเสถียรภาพเชิงเส้น (Linear Stabilizer)

รูปที่ 29 วงจรรักษาเสถียรภาพเชิง
เส้น (Linear Stabilizer)

บล็อกไดอะแกรมพื้นฐานของวงจรรักษาเสถียรภาพของ
แรงดันเชิงเส้นแสดงให้เห็นดังรูป ซึ่งประกอบด้วยแรงดันอ้างอิง
(วงจรจะสร้างจะแรงดันอ้างอิง Uref) วงจรแบ่งแรงดัน (ให้แรง
ดันป้ อนกลับ Ufb) วงจรเปรียบเทียบเชิงอนุมาน วงจรขยายค่า
ความผิดพลาด และส่วนเอาท์พท
ุ แรงดันที่ได้จากวงจรรักษา
เสถียรภาพจะมีค่าเท่ากับ Ust=Ud-UCE แรงดันที่ได้จากวงจร
รักษาเสถียรภาพจะเก็บค่าคงที่โดยจะรักษาการเปลี่ยนแปลงและ
การควบคุมแรงดันคอลเล็กเตอร์ อิมิตเตอร์ UCE เป็ นสัดส่วน
ตรง สำาหรับแรงดัน Ufb ที่นำาเสนอ ซึ่งเป็ นสัดส่วนกับการ
28

เปลี่ยนแปลง Ust เมื่อเทียบกับ Uref ความแตกต่าง ความผิด


พลาด จะถูกขยายให้มากขึ้นและควบคุม UCE
วงจรรักษาระดับแรงดัน (Voltage Stabilizers)
 แบ่งเป็ น 2 แบบ

วงจรรักษาระดับแรงดันแบบอนุ กรม
วงจรรักษาระดับแรงดันแบบขนาน
วงจรรักษาระดับแรงดันแบบอนุ กรม

ตัวอย่างวงจรรักษาระดับแรงดันแบบอนุ กรม
IS IC IE

IR
IB

IZ IL

VO =VZ −VBE

ค่าแรงดันเอาท์พุท

จากวงจรให้คำานวณหา V O , I L , I S , I R , I Z , I B , IC , I E เมื่อ RL=100 Ω

Is Ic IE
29

IR IB

Iz IL

วิธีทำา

วงจรรักษาระดับแรงดันแบบขนาน
30

ตัวอย่างวงจรรักษาระดับแรงดันแบบอนุ กรม
IS

V = VZ +VBE
แรงดันเอาท์พุท L

การใช้ IC รักษาระดับแรงดัน
31

ตัวอย่างการใช้งาน IC รักษาระดับแรงดัน

ตัวอย่างการใช้งาน IC รักษาระดับแรงดัน

ตัวอย่างการใช้งาน IC รักษาระดับแรงดัน
32

ตารางการใช้งาน IC 7800 Series

ตารางการใช้งาน IC 7900 Series


33

วงจรรักษาระดับแรงดันแบบปรับค่าได้

ค่าแรงดันที่เกิดขึ้น
 R 
VO = Vref 1 + 2  + I adj R2
 R1 

การใช้งาน วงจรรักษาระดับแรงดันแบบปรับค่าได้

วิธีทำา
34

เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง แหล่งจ่ายไฟตรง
35

วิชาอิเล็กทรอนิ กส์อุตสาหกรรม
แผนกช่างอิเล็กทรอนิ กส์
วิทยาลัยเทคนิ คสุพรรณบุร ี

You might also like