Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 12

Pharm Chem & analysis นำำไปแยกประเด็นเพิม

่ เติมด้วย
นะ เอำ concept ไปตัด choice
โครงสร้ำงยำทัว
่ ไป
- ยาจะถูกออกแบบโครงสร้าง จากปั จจัยหลายๆอย่าง
เช่น กลไกการออกฤทธิข
์ องยา PK&PD
physicochemical properties
ทีม
่ ำของยำ
- การสร้างยาจะมีมาจากพืชโดยนำามาจากการสกัด
(extraction)
- Synthesis แบ่งเป็ น total (สกัดใหม่หมดเลย) และ
semi-syn (เอามาจากพืชบางส่วนแล้วนำาไปสังเคราะห์
เพิม
่ เติมตาม lead compound)
ทำำไงถึงจะเป็ นยำ
- ต้องนำาไปทดสอบฤทธิต
์ ่างๆทางเภสัชวิทยา ไม่ว่าจะ
เป็ น cell lines, animal, human
- LD50, ED50 คืออะไร อันไหนมากหรือน้อยจะดี
คำำนึงอะไรบ้ำง
- การให้ยาผ่านทางเดินอาหารต้องดูอะไรบ้าง
- ขนาดโครงสร้างโมเลกุล
- การละลาย
- การดูดซึม partition ผ่านเมมเบรน
- First pass metabolism
- ความคงตัวของยาในทางเดินอาหาร
- ระคายเคืองทางเดินอาหาร ??
- ยาบางตัวไม่ต้องการให้ดูดซึม
- การให้ยาเส้นทางอืน
่ ๆ ก็มีความแตกต่างกันออกไป
ดูความแตกต่างดีๆ
- ยามันไม่ดูดซึมเลยต้องทำายาฉีด เช่น
aminoglycosides
- ถ้ายาไม่ละลาย ก็ต้องทำาให้มันละลายก่อนฉีด เช่น
พวก taxols
- ยาเหน็บเข้าเส้นเลือดดำาสามเส้น มีหนึง่ เส้นผ่าน first
pass metabolism
- Suspension ฉีด IM
- กำรแก้ไขปั ญหำ
- Prodrug อาจลดพิษ, เพิม
่ การดูดซึม, target ก็ได้
เช่น เซลล์มะเร็งมีเอนไซม์แปลกๆทีส
่ ามารถ
เปลีย
่ นยาของเราให้ active ได้ ในขณะทีเ่ ซลล์
ปกติไม่มี
- พัฒนาตำารับยา enteric coated, controlled release
- Modifield structure
- การ form salt

- กำรพัฒนำโครงสร้ำงยำ
- โดยส่วนใหญ่ก็เป็ นการดึงหรือเติมส่วนที ่ ไม่ใช่
pharmacophore
- ดูว่าเราต้องการให้ไปจับกับอะไร แล้วมันอยู่ส่วน
ไหนของร่างกาย เช่น ถ้าทำาให้ มันผ่าน BBB ไม่
ได้ ก็ลด SE ทีส
่ มองได้
- Enantiomer selective เช่น dextromethophan,
levonorgestrol, pseudoephredine,
esomeprazole, S-atenolol
- การเติมหมู่ต่างๆ เพือ
่ เพิม
่ half life ทำาให้ออก
ฤทธิน
์ าน เช่น เพิม
่ steric effect หมู่ใหญ่
- บางทีก็เติมหมู่บางอย่างเข้าไปเพือ
่ ให้จับ
receptor ได้แน่นหรือ specific มากขึน

- กำรพัฒนำตำำรับยำ
- ควบคุมการปลดปล่อยตัวยารูปแบบต่างๆ
membrane matrix pellet เยอะแยะมากมาย
- การ targeting เช่น monoclonal antibody
- การให้ตัวยาไป form กับสารอืน
่ ๆ ทำาให้ปลดปล่อย
ออกมาช้าๆ เช่น พวกอินซูลิน
- micronized ดูดซึมดี
- nano, micro เช่น นาโนจะผ่านผิวหนังได้เยอะกว่า
(อาจจะส่งผลต่อ systemic ??)
- enteric coat คือ เคลือบยาให้ไปละลายแล้วดูดซึมที ่
ลำาไส้เล็กหรือบางทีอาจจะไปลดผลข้างเคียงจากยา
ก็ได้ เช่น พวก NSAIDs
- คุณสมบัติของยาก็มีความสำาคัญต่อการพัฒนา
ตำารับยา เช่น ยาละลายไม่ดี, acid labile
โครงสร้ำงเด่นๆ ทีต
่ ้องดูเป็ น
- Carboxylic - cis-tran
- Ketone - S, R isomer ,
Chiral carbon***
- amino group - azole
- amide - indole
- ester - purine
- aromatic - pyrimidine
- alkyl group - pyridine
- halogen - โครงสร้าง alkaloid
- hydroxyl - primary, secondary,
tertiary amine***
** หำโครงสร้ำงตำม google นะ ฮะๆ

กำรเดำ กรด เบส

OH
กรด พวกจ่ำยโปรตรอน
- phenol
- carboxylic
- ละลายในเบส form เกลือกับ sodium
เบส พวกรับโปรตอน พวกมี lone pair
- มี NH2 , มี OH เยอะๆ (lone pair), ละลายในกรด

กำรคำำนวณกำรแตกตัวของยำ
ต้องดู โครงสร้ำงให้เป็ นว่ำยำมันเป็ นกรดหรือด่ำง
ถ้ำเป็ นกรด
pKa - pH = log [unionize]
[Ionize]
ถ้ำเป็ นด่ำง
pKa – pH = log [Ionize]
[unionize]
Ex.ยา A pKa = 5.4 ถ้าอยู่ในกระแสเลือดจะอยู่ในรูปแบบ
ใดเป็ นส่วนใหญ่
ยาเป็ นกรด ที ่ pH 7.4 มี
5.4-7.4 = log [unionize] ปริมาณ ยาแตกตัว
[Ionize]
มากกว่า ตอบรูปนี ้

1 = log [unionize]
100 [ionize]

ดูคู่ buffer ให้เป็ นด้วย


สังเกตว่ามันจะเป็ นกรดอ่อนและเกลือของมันหรือ ด่ำง
อ่อนและเกลือของมัน โดยส่วนใหญ่มันจะมี H ต่ำงกัน
1 ตัว
เช่น NH4Cl กับ NH3 หรือ CH3COOH กับ CH3COONa

Mass spectroscopy(ขีดยำวเดียวมีลูกน้อง หน่วย m/z)


- แกน X นำา
้ หนักโมเลกุล, MS ไม่นิยมใช้หาปริมาณ
ใช้ confirm เฉยๆ
- อาศัยหลักการทำาให้สารแตกเป็ นท่อนๆ แล้วทำาให้
เกิดประจุ วัดออกมาเป็ น peak ต่างๆ

Infrared spectroscopy (หัวทิม


่ หน่วย wavenumber
หรือ mHz)
- วัดหมู่ฟังก์ชัน
่ ต่างๆ –OH, -COOH ได้หมด ไม่นิยม
ใช้หาปริมาณ ใช้ confirm เฉยๆ
- หลักการสัน
่ ของโมเลกุล strenthing bending
- FTIR Fourier transrorm IR มันคือเครือ
่ ง IR (แบบ
พัฒนา) นัน
่ แหละ

H-NMR (ขึ้นเป็ นกระจุก หน่วย ppm)

C-NMR (ขีดเดียว หน่วย ppm)


1

- รูป 1 เป็ น C-dept NMR มีทั้งหัวตั้งและหัวกลับ


ทำาให้สามารถแยกได้ว่า peak ไหนเป็ น CH3 CH2
CH , NMR เลข 0 จะอยู่ขวำสุด
- รูป 2,3 เป็ น C-NMR ปกติ
- รูป 2,3 ขีดแต่ละขีดบอกจำานวนคาร์บอนได้
- NMR ใช้หลักการกระตุ้นการ spin ของอิเล็กตรอนที ่
นิวเคลียสโดยใช้คลืน
่ วิทยุ
- สารทีใ่ ห้ค่า NMR= 0 คือ tetramethylsilane
(TMS)
Spectrofluorometry (มีสองเส้น) โครงสร้างสารทีว
่ ัดเรือง
แสงได้ sense มากกว่า UV
UV-spectro

จำำ!! เรดบำยำว ,

- - พวกทีม
่ ี double bond
จะดูดกลืนแสง UV ได้
- Lambda max ความยาวคลืน
่ ทีส
่ ูงสุดทีส
่ ารดูดกลืนได้
โดยเราจะใช้ Lambda max ในการวิเคราะห์หา
ปริมาณสาร ต้องมี standard curve
- สารทีไ่ ม่มี double แต่ทำาปฏิกิริยากับสารอืน
่ แล้วมีสี
และเป็ นสารทีด
่ ูดกลืนยูวีได้กาสามารถ วัด UV ได้
- ใช้ดูโครงสร้างได้บางกรณี เช่น พวกอะโรมาติก จะ
ดูดกลืนแสงช่วงไหนมากทีส
่ ุด

HPLC
- หน่วยเป็ น นาที min
- มีแกน y
- ต่างจาก NMR ดูง่ำยๆ NMR เลข 0 จะอยู่ขวำสุด
- ใช้หาปริมาณสาร
- นึกไรไม่ออก ถ้าใช้หาปริมาณตอบ HPLC ไปเลย
- มักสับสนกับ NMR เพราะถ้าสารไม่บริสุทธิม
์ ันจะขึน

หลายๆจุดจนคล้าย H-NMR ดังนัน
้ ดูหน่วยดีๆ
- HPLC peak ห่างกันเยอะๆแสดงว่าแยกสารออกจาก
กันได้ดี
- ประโยชน์ของมันจึงเป็ นทัง้ วัดปริมาณสารสำาคัญเทียบ
กับ standard หรือ อาจจะใช้แยกสารให้บริสุทธิก
์ ็ได้
บางทีอาจจะใช้ iden สาร
- วิธีทีใ่ ช้ iden สารทีง่ ่ายทีส
่ ุดคือ TLC
- Normal phase คอลัมน์(stationary phase) มีขว
ั้
mobile phase ไม่มีขัว

- Reverse phase คอลัมน์(stationary phase) ไม่มีขัว

mobile phase
อืน
่ ๆ
- ตัวทำาละลายทีไ่ ม่มีขัว
้ เรียงจากไม่มีขว
ั ้ มากไปน้อย
hexane>chloroform> ethyl acetate dichloromethane>
acetone>acetonitrile >DMSO>ethanol> methanol
- oxidation จะเป็ นการดึง hydrogen ออก หรือ อาจจะ
เป็ นการเติม oxegen เข้าไป
เช่น carboxylic –COOH เป็ น aldehye –CHO
- reduction จะเป็ นการเติม hydrogen หรือ เอา oxygen
ออก
เช่น dihydrofolate reductase เป็ นการเติม Hydrogen

อ่ำนหนังสือไม่ทัน ตัด choice เอำดีกว่ำ BANK Rx 24

You might also like