ประวัติศาสตรที่พึ่งสร้าง

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 183

+ขอขอบคุณขอมูลทั้งหมดจาก

http://www.2519.net/autopage/show_page.php?t=10&s_id=12&d_id=20

http://www.2519.net/autopage/show_page.php?t=10&s_id=13&d_id=22

http://www.2519.net/autopage/show_page.php?t=10&s_id=13&d_id=17

http://www.2519.net/autopage/show_page.php?t=10&s_id=13&d_id=21

http://www.prachatai.com/webboard/topic.php?id=51297
สวนที่เปนสีฟาเปนขอมูลจากคุณวิถีไท

http://www.sameskybooks.org/webboard/show.php?Category=sameskybooks&No=539

เราสู: เพลงพระราชนิพนธการเมืองกับการเมืองป 2518-2519

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

ป 2518-19 ฝายขวาที่ไดรับการจัดตั้งสนับสนุนจากกลไกและชนชั้นนําของรัฐ ไดทําการเคลื่อนไหวตอตานโจมตี


ขบวนการนักศึกษาและพันธมิตรฝายซายดวยรูปแบบตางๆอยางหนัก นับแตการจัดตั้งอบรมมวลชน (ลูกเสือ
ชาวบาน, นวพล), ใชสื่อ เชน หนังสือพิมพบางฉบับ (ดาวสยาม, บานเมือง) และเครือขายสถานีวิทยุของทหาร
(ที่เรียกตัวเองวา "ชมรมวิทยุเสรี" นําโดยสถานีวิทยุยานเกราะ), จัดชุมนุมของตัวเองหรือกอกวนการชุมนุมของ
นักศึกษา, ไปจนถึงใชอาวุธทํารายโดยตรง (ฆาอินถา ศรีบุญเรืองและผูปฏิบัติงานชาวนาอื่นๆ, ฆาอมเรศ ไชย
สะอาด ผูนํานักศึกษามหิดล และบุญสนอง บุญโยทยาน อาจารยธรรมศาสตรเลขาธิการพรรคสังคมนิยม, ปาระเบิด
ใสการเดินขบวนตอตานฐานทัพอเมริกัน และการชุมนุมตอตานการกลับมาของประภาส จารุเสถียร ทําใหมี
ผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมาก)

อยางไรก็ตาม เฉพาะในสวนการโฆษณานั้น อาจกลาวไดวาขบวนการนักศึกษาและพันธมิตรฝายซายเองเปนฝาย


ริเริ่มและเหนือกวาในดานสิ่งตีพิมพประเภทหนังสือเลม (เรียกวาเปน "ยุคทองของพ็อกเก็ตบุค"), งานเขียน (กวี
นิพนธ, เรื่องสั้น), ภาพเขียนและการตูนการเมือง (แนวรวมศิลปน, ชัย ราชวัตร) และการจัดนิทรรศการและการ
แสดงตางๆ (บรรดากลุมละครและ "วงดนตรีเพื่อชีวิต") "สงครามวัฒนธรรม" ระหวางทั้งสองฝายจึงเปนไปอยาง
ดุเดือด

ในดานเพลง เราไดเห็นการตอสูระหวาง "เพลงเพื่อชีวิต" ของฝายซายกับ "เพลงปลุกใจ" ของฝายขวา เปนที่นา


สังเกตวาเนื้อหาและทวงทํานองของเพลงเพื่อชีวิต, ซึ่งโดยรวมแลวมีความหลากหลายกวาเพลงปลุกใจมาก,
พัฒนาไปในทาง "สูรบ" รับใชการชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมืองมากขึ้น ถาผมจําไมผิดเพลงที่ไดรับความนิยม
มากที่สุด ในระหวางการชุมนุมของนักศึกษาในชวง ป 2519 คือ โคมฉาย, บานเกิดเมืองนอน และวีรชนปฏิวัติ ซึ่ง
ลวนสะทอนใหเห็นความเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณที่วานี้ "โคมฉาย" ซึ่งเปนเพลงเดียวในสามเพลงนี้ที่แตง
โดยนักศึกษา เปนการสดุดีการตอสูดวยอาวุธในชนบทโดยตรง ("ขามเขาลําธารฟนฝาศัตรู กระชับปนชูสูเพื่อโลก
ใหม กองทัพประชาแกรงกลาเกรียงไกร ชูธงนําชัยมาใหมวลชน...") สวนอีกสองเพลงจัดเปน "เพลงปฏิวัติ"
มากกวา "เพลงเพื่อชีวิต" ในความหมายเดิม เพราะเปนเพลงที่เอามาจาก "ในปา" คือจากการออกอากาศของ
สถานีวิทยุเสียงประชาชนแหงประเทศไทย สถานีวิทยุคลื่นสั้นของ พคท. ("บานเกิดเมืองนอน" แตงโดย
ผูปฏิบัติงานพรรคเขตภูพาน สวน "วีรชนปฏิวัติ" แตงโดยจิตร ภูมิศักดิ์สมัยอยูในคุก)
ในหมูฝายขวา เพลงปลุกใจที่ไดรับความนิยมมากที่สุดอาจกลาวไดวามี 3 เพลงเชนกัน "ทหารพระนเรศวร" เปน
เพลงที่พรรคชาติไทยซึ่งเปนหัวหอกของฝายขวาในวงรัฐบาลนําทอนหนึ่งมาใชเปนคําขวัญในการหาเสียง ("
เปรี้ยงๆดังเสียงฟาฟาด โครมๆพินาศพังสลอน เปรี้ยงๆลูกปนกระเด็นกระดอน

โครมๆดัสกรกระเด็นไกล ถาสิ้นชาติสิ้นแผนดินสิ้นกษัตริย เห็นสุดจะยืนหยัดอยูได...") แตที่ไดรับความนิยมสูงสุด


นาจะเปน "หนักแผนดิน" ซึ่งสมัยหนึ่งวงดนตรีกรรมาชนของนักศึกษาถึงกับเคยนํามารอง เพื่อโจมตีพวกฝายขวา
เอง เพราะเนื้อเพลงสวนใหญสามารถ "ไปกันได" กับการแอนตี้จักรวรรดินิยมตางชาติของขบวนการนักศึกษา! ("
คนใดใชชื่อไทยอยู กายก็ดูเหมือนไทยดวยกัน... คนใดเห็นไทยเปนทาส ดูถูกชาติเชื้อชนถิ่นไทย แตยังเฝาทํากิน
กอบโกยสินไทยไป เหยียดคนไทยเชนทาสของมัน หนักแผนดิน หนักแผนดิน คนเชนนี้เปนคนหนักแผนดิน...")

อีกหนึ่งในสามเพลงปลุกใจยอดนิยมของฝายขวาคือเพลงพระราชนิพนธ "เราสู" ซึ่งเริ่มถูกนําออกเผยแพรในชวง


ครึ่งแรกของป 2519 ในความทรงจําของผม การปรากฏตัวของเพลงนี้ในฐานะหนึ่งในเพลงที่ฝายขวาใชตอสูกับ
ขบวนการนักศึกษาเปนเรื่องที่ชวนใหแปลกใจไมนอยในสมัยนั้น โดยเฉพาะการที่เนื้อเพลงดูเหมือนจะโจมตี
ตอตานขบวนการนักศึกษาโดยตรง จําไดวาไมมีใครทราบหรืออธิบายไดวาเหตุใดเพลงพระราชนิพนธจึงกลายมามี
บทบาทเชนนั้น ผมเองเก็บเอาความไมรูนี้ไวกับตัวมากวาสองทศวรรษจนเมื่อไมนานมานี้จึงไดลงมือคนควาและ
พบขอมูลที่นาสนใจหลายอยางเกี่ยวกับเพลงนี้ หนึ่งในขอมูลที่พบก็คือ แมจนปจจุบันทางราชการเองก็ไมรูหรือรู
ผิดๆเกี่ยวกับความเปนมาที่แทจริงของเพลง "เราสู"

เพลงพระราชนิพนธ: ภาพรวม
"เพลงพระราชนิพนธ" ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเปนสิ่งที่คนไทยทุกคนรูจักคุนเคยเปนอยางดี ในระหวาง
งานเฉลิมฉลองการครองราชสมบัติครบ 50 ป เมื่อ พ.ศ. 2539 และพระชนมายุ 72 พรรษา เมื่อ พ.ศ. 2542
กิจกรรมอยางหนึ่ง ที่ทั้งภาครัฐและเอกชนจัดขึ้นอยางแพรหลายก็คือ การอัญเชิญเพลงพระราชนิพนธออกแสดง
ในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะตามสถานีโทรทัศนและวิทยุ, และการแสดงคอนเสิรต เพลงสวนใหญที่นําออกแสดง
นั้นอาจกลาวไดรวมๆ วาเปนเพลงในแนว "โรแมนติก" ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับธรรมชาติและความรักที่เรารูจักกันดี
(เชน แสงเทียน, ยามเย็น, สายฝน, ใกลรุง, ชะตาชีวิต, แกวตาขวัญใจ และ ไกลกังวล เปนตน)

ที่เรียกวา "เพลงพระราชนิพนธ" นั้น ไมไดหมายความวาทรงพระราชนิพนธคํารองเอง อันที่จริงเพลงพระราช


นิพนธทั้งหมดคือเพลงที่ทรงพระราชนิพนธทํานอง มีเพียง 5 เพลงเทานั้นที่ทรงพระราชนิพนธคํารองดวย ซึ่งเปน
ภาษาอังกฤษทั้ง 5 เพลง ที่เหลือสวนใหญทรงพระราชนิพนธทํานองกอน แลวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหผูอื่น
ประพันธคํารองใส (ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ) มีบางเพลงที่ทรงพระราชนิพนธทํานองใสใหกับคํารองที่มีผูอื่น
ประพันธไวแลว ("เราสู" เปนหนึ่งในเพลงประเภทนี้)

การนับจํานวนเพลงพระราชนิพนธโดยปกติจึงนับจากจํานวนทํานองเพลง (หลายทํานองเพลงมีมากกวาหนึ่งคํา
รอง) จนถึงปจจุบัน เพลงพระราชนิพนธที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนําออกแสดงเผยแพรแกสาธารณะมีทั้งสิ้น
47 เพลง ทั้งนี้นับตามหนังสือ ธ สถิตในดวงใจนิรันดร: หนังสือประมวลบทเพลงพระราชนิพนธ ซึ่งโรงเรียน
จิตรลดาจัดพิมพในโอกาสกาญจนาภิเษก โดยมีสมเด็จ

พระเทพฯ ทรงเปนองคประธาน (หนังสือ ดนตรีจากพระราชหฤทัย ศูนยรวมใจแหงปวงชน ที่คณะกรรมการ


อํานวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปของรัฐบาลจัดพิมพ นับเพลง Blues for Uthit ซึ่งทรงพระราช
นิพนธเพื่อเปนอนุสรณแกนายอุทิศ ทินกร ณ อยุธยา นักดนตรีวงดนตรี "อ.ส. วันศุกร" ที่ถึงแกกรรมเมื่อป 2522
เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเพลง) จากพระราชนิพนธของสมเด็จพระเทพฯในหนังสือเลมเดียวกันนี้ เรายังไดทราบวามีเพลงอีก
จํานวนหนึ่งที่ทรงพระราชนิพนธ "แตยังไมเปนที่พอพระราชหฤทัยจึงยังไมออกเผยแพร" อยางไรก็ตาม ถานับตาม
จํานวนคํารอง เพลงพระราชนิพนธที่เผยแพรแลวก็มีทั้งสิ้น 72 คํารอง จาก 41 ทํานองเพลง (อีก 6 ทํานองเพลง
ไมมีคํารอง) การพิจารณาจากคํารองนี้จะทําใหมองเห็นบางประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับเพลงพระราชนิพนธซึ่งจะได
กลาวตอไป

ในหนังสือรวมเพลงพระราชนิพนธฉบับทางการ เชน สองเลมที่เพิ่งกลาวถึง เราจะพบเพลงพระราชนิพนธตีพิมพ


ตามลําดับกอนหลังของการพระราชนิพนธทํานอง ถาทํานองใดมีมากกวาหนึ่งคํารอง ทุกคํารองก็จะถูกตีพิมพไว
ดวยกัน ยกตัวอยางเชน เพลง Alexandra ซึ่งคํารองภาษาอังกฤษ (โดย ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช) แตงในป 2502
แตคํารองภาษาไทยชื่อ "แผนดินของเรา" (โดยทานผูหญิงมณีรัตน บุนนาค) เพิ่งแตงในป 2516 ก็จะถูกตีพิมพไว
กอนเพลงยูงทองซึ่งทรงพระราชนิพนธทํานอง (และนายจํานงราชกิจ แตงคํารอง) ในป 2506 เปนตน โดยแตละ
เพลงจะมีคําบรรยาย "เกร็ดประวัติ" ของการพระราชนิพนธไวสั้นๆ (ควรกลาวดวยวา ขอมูลเกี่ยวกับความเปนมา
และปที่แตงทั้งทํานองและคํารองของหลายเพลง มีความแตกตางกันระหวางหนังสือสองเลมขางตน ทําใหการ
จัดลําดับกอนหลังตางกันดวย)

บทความที่กลาวถึงเพลงพระราชนิพนธทั้งหมดเทาที่ผมเคยอานลวนเปนการสดุดีพระราชอัจฉริยภาพดานดนตรี
มากกวาเปนการวิเคราะหวิจารณ จะมี "วิเคราะห" บางก็ในประเด็นดานเทคนิค เชน การที่ทรง "บุกเบิก" การใช
"ไมเนอรครึ่งเสียง" และ "บันไดเสียงโครมาติค" ในวงการเพลงไทยสากล ซึ่งก็ยังคงเปนการวิเคราะหที่อยูใน
บริบทของการสดุดี อันที่จริง จากการพิจารณา เพลงพระราชนิพนธโดยรวม ผมขอเสนอวาเราสามารถจะแบงออก
ไดเปน 2 ชวงใหญๆ คือ ชวงแรกที่ทรงรังสรรคอยางสม่ําเสมอ (Creative Period) จากป 2489 ถึงป 2509 กับ
ชวงหลังที่ทรงพระราชนิพนธแบบเฉพาะกิจ (Occasional Period) จากป 2509 ถึงปจจุบัน

ในชวงแรกนั้นทรงพระราชนิพนธเพลงออกเผยแพรแทบทุกป จากป 2489 ถึง 2502 สวนใหญปละมากกวาหนึ่ง


ทํานองเพลง รวมทั้งสิ้น 35 ทํานองเพลง หลังจากนั้นทรงเวนชวงออกไป คือ ป 2506 ทรงพระราชนิพนธ 1
ทํานองเพลง, ป 2508 ทรงพระราชนิพนธ 4 ทํานองเพลง และป 2509 ทรงพระราชนิพนธ 2 ทํานองเพลง รวม
ทั้งสิ้น 42 ทํานองเพลงในระยะเวลา 20 ป (หรือ 63 คํารองจาก 36 ทํานอง อีก 6 ทํานองไมมีคํารอง)

จากป 2509 ถึงปจจุบัน คือ 35 ป มีเพลงพระราชนิพนธที่ไดรับการเผยแพรเพียง 5 เพลง คือ ความฝนอันสูงสุด


(2514), เราสู (2519), เรา-เหลาราบ 21 (2519), รัก (2537) และ เมนูไข (2538) ทุกเพลงมี

ลักษณะตางกับเพลงในชวงแรก คือทรงพระราชนิพนธทํานองใสใหกับคํารองที่มีผูอื่นประพันธไวแลว

ดวยการแบงเชนนี้ทําใหเราไดขอสังเกตอยางนอย 2 ประการ คือ ประการแรก ระยะสิ้นสุดของชวงที่ทรงรังสรรค


อยางสม่ําเสมอ คือเมื่อเริ่มเขาสูทศวรรษ 2510 นั้น ตรงกับยุคปลายของรัฐบาลทหารเมื่อการเมืองไทยเริ่มเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอยางขนานใหญ โดยที่สถาบันกษัตริยจะมีบทบาทสําคัญในทามกลางการเปลี่ยนแปลงนั้นดวย

ประการที่สอง ถาไมนับ 2 เพลงหลังสุด คือ "รัก" และ "เมนูไข" ซึ่งมีความเปนมาในลักษณะกึ่งสวนพระองค (หรือ


"ภายในครอบครัว" ถาใชภาษาสามัญ) คือทรงพระราชนิพนธจากบทกลอนเมื่อทรงพระเยาวของสมเด็จพระเทพฯ
(ทั้ง 2 เพลง) และเพื่อเปนของขวัญวันพระราชสมภพ 72 พรรษาสมเด็จพระพี่นางฯ (เมนูไข) ทั้งยังทิ้งระยะหาง
จากเพลงกอนหนานั้น (เรา-เหลาราบ 21) ถึงเกือบ 20 ปแลว เพลงของชวงหลังที่เหลือทั้ง 3 เพลงลวนมีลักษณะ
ที่เกี่ยวพันกับการเมืองรวมสมัยอยางใกลชิด ยิ่งถาเราพิจารณารวมไปถึงอีก 2 คํารองที่มีการประพันธขึ้นใหม
ในชวงนี้จากทํานองที่ทรงพระราชนิพนธไวแลวในชวงแรก คือ "เกิดเปนไทยตายเพื่อไทย" (2514 จากทํานอง
เพลง "ไกลกังวล" ที่ทรงพระราชนิพนธไวในป 2500) และ "แผนดินของเรา" (2516 จากทํานองเพลง Alexandra
ที่ทรงพระราชนิพนธในป 2502) ก็จะเห็นลักษณะเกี่ยวพันกับการเมืองรวมสมัยไดชัดเจนขึ้น

มองในแงนี้เราอาจจะแบงเพลงพระราชนิพนธทั้งหมดออกตามลักษณะของเพลงเปน 3 ชวงก็ไดคือ คือ ชวง 20 ป


แรก จาก 2489 ถึง 2509 เปนเพลงพระราชนิพนธโรแมนติก, ชวง 10 ปหลังจากนั้น จาก 2509 ถึง 2519 เปน
เพลงพระราชนิพนธการเมือง, และชวง 20 ปเศษตอมา จาก 2519 ถึงปจจุบัน เปนเพลงพระราชนิพนธในลักษณะ
"สวนพระองค" คือ "รัก" และ "เมนูไข" ควรกลาวดวยวาชวงตนป 2529 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระ
ประชวรที่เชียงใหม หลังจากทรงหายแลว ก็ยังมีคณะแพทยเฝาดูพระอาการ พระองคไดทรงรวบรวมคนเหลานี้และ
ผูตามเสด็จอื่นๆ ตั้งเปนวงดนตรี พระราชทานชื่อวงวา "สหายพัฒนา" โดยทรงฝกสอนดวยพระองคเอง - บางคน
ในวงไมเคยเลนดนตรีมากอน - และไดทรงเขียนโนตเพลง "พระราชทานแจกใหเลน และไดทรงพระราชนิพนธ
เพลงดวยคอมพิวเตอร แตยังไมเปนที่พอพระราชหฤทัยจึงยังไมออกเผยแพร" ดังที่สมเด็จพระเทพฯผูทรงเปน
"สมาชิกพระองคแรก" ของวงทรงเลาไว ซึ่งเปนการสนับสนุนขอสรุปที่วาชวงหลังจากป 2519 ถึงปจจุบัน เพลง
พระราชนิพนธมีลักษณะ "สวนพระองค"

เพลงพระราชนิพนธการเมือง
ขอใหเรามาพิจารณาประเด็นเพลงพระราชนิพนธกับการเมืองใหละเอียดยิ่งขึ้น เพลงพระราชนิพนธในชวงแรก
เกือบทั้งหมดมีลักษณะเปนเพลงในแนว "โรแมนติก" คือพรรณนาถึงธรรมชาติ ชีวิตและความรัก หรือเปนเพลงรื่น
เริงหยอกลอในหมูนักดนตรีที่ทรงดนตรีดวย (H.M. Blues, Never Mind the H.M. Blues, ศุกรสัญลักษณ/Friday
Night Rag) จริงอยูมีบางเพลงที่ทรงพระราชทานใหกับหนวยทหาร (มารชราชวัลลภ, ธงไชยเฉลิมพล, มารชรา
ชนาวิกโยธิน) แตเพลงเหลานี้มีลักษณะเปนเพลงเฉพาะประจําหนวยงาน แบบเดียวกับที่ทรงพระราชทานใหบาง
มหาวิทยาลัย (มหาจุฬาลงกรณ, ยูงทอง, เกษตรศาสตร)

แตทั้งหาเพลงพระราชนิพนธที่เกิดขึ้นในชวงทศวรรษ 2510 (เกิดเปนไทยตายเพื่อไทย, แผนดินของเรา, ความ


ฝนอันสูงสุด, เราสู, เรา-เหลาราบ 21) มีลักษณะการเมืองในวงกวางออกไป คือเปนการตอสูทางอุดมการณ (กับ
คอมมิวนิสต) โดยตรง เพลง "เรา-เหลาราบ 21" นั้นอาจกลาวไดวามีลักษณะเปนเพลงประจําหนวยงานมากกวา
เพลงตอสูทางอุดมการณ แตเปนที่ทราบกันดีวา ในชวงตนทศวรรษ 2520 นั้น สมเด็จพระนางเจาฯ
พระบรมราชินีนาถทรงมีความใกลชิดกับทหารหนวยนี้เปนการสวนพระองคเปนพิเศษ จนทําให "ราบ 21" เปนที่
รูจักกันดีในนาม "ทหารเสือราชินี" (ดังในเนื้อเพลงที่วา "เราเชื้อชาติชายชาญทหารกลา ทหารเสือราชินีศรี
สยาม") ในบริบทของความแตกแยกในกองทัพขณะนั้น (ซึ่งเปนผลตอเนื่องมาตั้งแต 14 ตุลา) ขอเท็จจริงนี้มี
ความสําคัญทางการเมืองอยางมาก ดังจะเห็นวาในระหวางการปราบ "กบฏยังเตอรก" (รัฐประหาร 1-3 เมษายน
2524) ทหารหนวยนี้ไดเปนกําลังสําคัญที่เคลื่อนเขาปลดอาวุธฝายกบฏ

ประเด็นที่นาสนใจอยางหนึ่งของ "เพลงพระราชนิพนธการเมือง" ทั้งหา คือ ยกเวน "เราสู" แลว ที่เหลืออีก 4


เพลงมีความเปนมาเหมือนกัน คือเกิดจากพระราชเสาวนียของสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถใหประพันธคํา
รองขึ้น และผูที่รับหนาที่นี้ 3 ใน 4 เพลงคือทานผูหญิงมณีรัตน บุนนาค ยกเวน "เรา-เหลาราบ 21" ซึ่งประพันธคํา
รองโดย ร.ต.ท.วัลลภ จันทรแสงศรี

เพลง "เกิดเปนไทยตายเพื่อไทย" นั้น หนังสือ ดนตรีจากพระราชหฤทัย กลาววา "ใน พ.ศ. 2514 บานเมืองอยูใน
สถานการณที่ไมนาไววางใจ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถไดกราบบังคมทูลขอพระราชทานใหทาน
ผูหญิง มณีรัตน บุนนาค แตงคํารองภาษาไทย [จากทํานองเพลง ไกลกังวล/When] เพื่อปลุกจิตสํานึกใหคนไทย
รักและหวงแหนแผนดินไทย" สวนเพลง "แผนดิน ของเรา" หนังสือ ธ สถิตในดวงใจนิรันดร กลาววา "เกิดขึ้นใน
ระยะหลังเมื่อสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ โปรดเพลงปลุกใจใหรักชาติบานเมือง ทรงมีพระราชดําริวา
เพลงนี้ [Alexandra] นาจะใสคํารองภาษาไทยได" และคํารองไทยของทานผูหญิงมณีรัตนก็มีเนื้อหาใกลเคียงกับ
"เกิดเปนไทยตาย เพื่อไทย"

ทั้งสองเพลงนี้ ถานับจากจุดเริ่มตนจริงๆอาจจะมีขึ้นหลัง "ความฝนอันสูงสุด" เล็กนอย ตามการบอกเลาของทาน


ผูหญิงมณีรัตนเอง เมื่อตามเสด็จฯไปที่พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศนในป พ.ศ. 2512 ไดรับพระราชเสาวนีย ให
เขียนกลอนแสดงความนิยมสงเสริมคนดีใหมีกําลังใจทํางานเพื่ออุดมคติและประเทศชาติ "ขาพเจาคอยๆคิดหาคํา
กลั่นกรองใหตรงกับความหมายเทาที่จะสามารถ แลวทูลเกลาฯถวายทอดพระเนตร [สมเด็จพระนางเจาฯ] ทรง
พระกรุณาติชม จนผลสุดทายออกมาเปนกลอน 5 บท....ความบันดาลใจในเรื่องนี้มีที่มาจากการสังเกตของ
ขาพเจา ไดรูเห็นพระราชอัธยาศัย พระราชจริยาวัตร ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงประพฤติปฏิบัติอยูทุกเมื่อ
เชื่อวันไมเสื่อมคลาย" หลังจากนั้น สมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถโปรดใหพิมพบทกลอนนี้ลงในกระดาษ
การดแผน

เล็กๆ พระราชทานขาราชการ ทหาร ตํารวจ พลเรือน และผูทํางานเพื่อประเทศชาติ เตือนสติมิใหทอถอยในการ


ทําความดี "เพราะบานเมืองขณะนั้นยุงอลเวง นาเปนหวงอนาคตของประเทศชาติ" (ดนตรีจากพระราชหฤทัย,
หนา 183) ตอมาในป 2514 สมเด็จพระนางเจาฯจึงไดกราบบังคมทูลขอใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงใส
ทํานองใหกับคํากลอน กลายเปนเพลง "ความฝนอันสูงสุด" ที่รูจักกัน มีประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับเพลงนี้ 3
ประเด็น คือ

หนึ่ง ผูที่รูจักเพลง The Impossible Dream คงสังเกตวาเนื้อเพลงภาษาอังกฤษใกลเคียงอยางมากกับคํากลอน


ภาษาไทยของทานผูหญิงมณีรัตน:
To dream the impossible dreamTo fight the unbeatable foe
ขอฝนใฝในฝนอันเหลือเชื่อขอสูศึกทุกเมื่อไมหวั่นไหว
To bear the unbearable sorrowTo run where the brave dare not go...
ขอทนทุกขรุกโรมโหมกายใจขอฝาฝนผองภัยดวยใจทะนง...
And the world will be better for thisThat one man scorned and covered with scars
โลกมนุษยยอมจะดีกวานี้แนเพราะมีผูไมยอมแพแมถูกหยัน
Still strove with his last ounce of courage....
คงยืนหยัดสูไปใฝประจัญ....

เพลง The Impossible Dream นั้นมาจาก Man of La Mancha ละครเพลงที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเรื่องหนึ่งใน


ประวัติศาสตรของบรอดเวย ซึ่งแสดงระหวางป 2508-2514 ตอมาไดรับการสรางเปนหนังในป 2515 (บทละคร
เพลงเขียนโดย Dale Wasserman ทํานองเพลงโดย Mitch Leigh และคํารองโดย Joe Darion) ขอใหสังเกตวา
บทกลอนของทานผูหญิงมณีรัตนนั้นมีสวนที่ "ไมลงตัว" ในแงเนื้อหาบาง เชน "โลกมนุษยยอมจะดีกวานี้แน
เพราะมีผู...ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย" ซึ่งนาจะเปนรองรอยของการพยายามทําคํารองดั้งเดิมใหเปน
แบบไทยๆ

สอง ในความทรงจําของผม เพลงนี้เมื่อมีการนําออกเผยแพรใหมๆ ในชวงกอน 14 ตุลาเล็กนอย ไดทําในนาม


"เพลงพระราชนิพนธของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ"

สาม กลุมนักเรียนนักศึกษาที่ทํากิจกรรมการเมืองกอน 14 ตุลาบางสวน ไดนําเอาเพลงนี้ไปตีพิมพในหนาหนังสือ


ของตนในฐานะคําขวัญของการตอสูเพื่อประชาธิปไตยเพื่อประชาชนในขณะนั้น นี่อาจถือไดวาเปนอีกตัวอยางหนึ่ง
ของการที่ขบวนการนักศึกษาในระยะนั้นมองวาสิ่งที่ตัวเองและสถาบันกษัตริยกําลังทําเปนสิ่งเดียวกัน ("เพื่ออุดม
คติ", "เพื่อสวนรวมและประเทศชาติ") ทั้งที่ความจริงสองฝายมีจุดเริ่มตนที่ไมเหมือนกัน - ระหวางการตอตาน
เผด็จการ เรียกรองเสรีภาพของนักศึกษากับการแอนตี้คอมมิวนิสมพิทักษการดํารงอยูของสถาบันกษัตริยของราช
สํานัก (ดูบทความ "ร.7 สละราชย: ราชสํานัก, การแอนตี้คอมมิวนิสม และ 14 ตุลา" และ "พระราชหัตถเลขาสละ
ราชย ร.7: ชีวประวัติของเอกสารฉบับหนึ่ง")

เราสู: ความเปนมา
ตามประวัติที่เปนทางการ "เราสู" เกิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว "ทรงพระราชนิพนธทํานองใสคํารอง
ที่นายสมภพ จันทรประภา ประพันธเปนกลอนสุภาพ 4 บท ใน พ.ศ. 2516" โดยที่ "คํารองนี้นายสมภพไดขอพระ
ราชทานพระราชดํารัสที่พระราชทานแกสมาชิกสภานิติบัญญัติ ประกอบดวยขาราชการพลเรือน ทหาร ตํารวจ และ
ประชาชน ซึ่งไดจัดแขงฟุตบอลเพื่อนํารายไดทูลเกลาฯถวายโดยเสด็จพระราชกุศล และเขาเฝาฯ ณ พระตําหนัก
จิตรลดารโหฐาน มาเขียนเปนคํากลอนถวาย" (ดนตรีจากพระราชหฤทัย, หนา 187) "และไดทรงพระราชทานให
เปนของขวัญปใหมแกทหาร อาสาสมัครและตํารวจชายแดน" (ธ สถิตในดวงใจนิรันดร, หนา 333)

จากขอมูลนี้ เราอาจตั้งเปนขอสังเกตเบื้องตนไดวา "เราสู" ตางกับอีก 4 เพลงพระราชนิพนธของชวงทศวรรษ


2510 ที่มีลักษณะ "การเมือง" ในแงที่วา ขณะที่ 4 เพลงดังกลาวเกิดจากพระราชเสาวนียของสมเด็จพระนางเจาฯ
พระบรม ราชินีนาถใหมีผูประพันธคํารอง (ทานผูหญิงมณีรัตน บุนนาคเปนสําคัญ) แลว กราบบังคมทูลขอ
พระราชทานทํานองจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, "เราสู" มีตนกําเนิดมาจากพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเอง เทากับวาไดทรง "พระราชนิพนธคํารองโดยออม" ซึ่งหมายความวา "เราสู"
นาจะสะทอนพระราชดําริทางการเมืองของพระองคเองไดมากกวาเพลงอื่นๆ

แตอันที่จริง "เราสู" มีความพิเศษยิ่งไปกวานี้ ขอใหเราไดพิจารณาความเปนมาของเพลงอยางใกลชิดมากขึ้น


ประวัติที่เปนทางการกลาววา เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว "ทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัยที่จะทรงพระ
ราชนิพนธเพลง 'เราสู' ก็ทรงหยิบซองจดหมายใกลพระหัตถมาตีบรรทัด 5 เสน เพื่อทรงพระราชนิพนธทํานอง
เมื่อแลวเสร็จก็พระราชทานใหวงดนตรี อ.ส. วันศุกร ซึ่งกําลังบรรเลงอยูในงานวันขึ้นปใหม 1 มกราคม พ.ศ. 2517
นําออกบรรเลง ณ พระราชวังบางปะอิน จากนั้นไดทรงนํากลับไปแกไข กอนจะพระราชทานออกมาใหวงดนตรี
อ.ส.วันศุกร บรรเลง และทรงแกไขอีกจนพอพระราชหฤทัย" (ดนตรีจากพระราชหฤทัย, หนา 187)

เมื่อไดอานประวัติที่เปนทางการของเพลง "เราสู" นี้ครั้งแรก ผมรูสึกงุนงงไมนอย เพราะถาประวัตินี้ถูกตอง ก็


หมายความวาการที่เพลงพระราชนิพนธนี้ถูกเผยแพรในฐานะเพลงปลุกใจที่ฝายขวาใชในการตอสูกับขบวนการ
นักศึกษาในป 2519 นั้นเปนเรื่อง "บังเอิญ" กลาวคือ เพลงนี้ไดเกิดขึ้นมากอนหนานั้นอยางนอย 2 ป และถา
พิจารณาจากปที่วานายสมภพประพันธกลอนจากพระราชดํารัสคือป 2516 ก็นาจะสันนิษฐานไดวา พระราชดํารัส
เองไมไดมีความเกี่ยวของใดๆ กับการตอสูทางอุดมการณระหวางฝายขวากับฝายซาย เพราะในป 2516 นั้นยังไม
เกิดการตอสูเชนนี้ขึ้น ซึ่งก็ยิ่งทําใหความสัมพันธระหวางเพลง "เราสู" กับการเมืองป 2519 เปนเรื่องบังเอิญมาก
ขึ้นอีก

แตในอีกดานหนึ่ง เนื้อเพลงหลายตอนก็ดูราวกับวาแตงขึ้นเพื่อสถานการณ ป 2518-19 เพื่อตอบโตฝายซาย


ขณะนั้นโดยเฉพาะ ("ถึงขูฆาลางโคตรก็ไมหวั่น จะสูกันไมหลบหนีหาย สูตรงนี้สูที่นี่สูจนตาย ถึงเปนคนสุดทายก็
ลองดู") และถาเปนเรื่องสมเหตุสมผลที่จะมีสมมุติฐานลวงหนาไดวาในการ

การแตงคํากลอนจากพระราชดํารัสนั้น นายสมภพคงตองพยายามใหเนื้อหาของกลอนใกลเคียงกับพระราชดํารัส
ใหมากที่สุด ก็ชวนใหคิดวาพระราชดํารัสดั้งเดิมนาจะมีบางอยางเกี่ยวของกับสถานการณตอสูระหวางฝายขวากับ
ฝายซาย ซึ่งก็ไมนาจะเปนพระราชดํารัสป 2516 ไปได (จริงอยู ในป 2516 มีการตอสูกับ "ผูกอการ ราย
คอมมิวนิสต" แตถาพระราชดํารัสในปนั้นจะพูดถึงการตอสูกับ "ผ.ก.ค." ก็ไมนาจะมีเนื้อหาอยางที่เปนอยู)

ผมไดตรวจดู ประมวลพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทาน ในโอกาสตางๆ ซึ่งสํานักราชเลขาธิการ


จัดพิมพเปนประจําทุกป พบวาตลอดป 2515 และ 2516 ไมมี "พระราชดํารัสที่พระราชทานแกสมาชิกสภานิติ
บัญญัติ ประกอบดวยขาราชการพลเรือน ทหาร ตํารวจ และประชาชน ซึ่งไดจัดแขงฟุตบอลเพื่อนํารายได
ทูลเกลาฯถวายโดยเสด็จพระราชกุศล และเขาเฝาฯ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน" แตอยางใด ที่จริงไมมีบันทึก
การเฝาเชนนี้ของกลุมบุคคลลักษณะนี้เลยแมแตครั้งเดียวในระยะ 2 ปนั้น

จริงอยู บางครั้ง ประมวลพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาท มีการตกหลนที่สําคัญโดยไมมีคําอธิบาย เชน ฉบับ


สําหรับป 2516 ขาดพระบรมราโชวาทที่พระราชทานแกกรรมการศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทยที่เขา
เฝาฯ เมื่อบายวันที่ 13 ตุลาคม 2516 ซึ่งไดทรงแนะใหนักศึกษาสลายการชุมนุมหลังจากรัฐบาลปลอย 13
ผูตองหาเรียกรองรัฐธรรมนูญแลว "เมื่อนิสิตนักศึกษาไดดําเนินการมาตรงเปาหมายและไดรับผลตามสมควรแลว ก็
ขอใหกลับคืนสูสภาพปกติ" (ดูพระบรมราโชวาทฉบับนี้ไดใน ขบวนการประชาชน ตุลาคม 2516, หนา 203; อันที่
จริงยังทรงมีพระราชดํารัสตอกรรมการศูนยฯนอกเหนือจากพระบรมราโชวาทฉบับนี้ดวย ดู เลมเดียวกัน, หนา 179-
181) หรือ ฉบับสําหรับป 2521 ขาดพระราชดํารัสแกผูมาเขาเฝาถวายพระพร วันที่ 4 ธันวาคม อยางนาประหลาด
เปนตน
อยางไรก็ตาม ในกรณีพระราชดํารัส "เราสู" นี้ การไมปรากฏใน ประมวลพระราชดํารัส สําหรับป 2515 และ 2516
นาจะเพราะไมไดทรงพระราชทานในปนั้นจริงๆ ทั้งนี้ นอกจากพิจารณาจากความไมนาจะเปนของเนื้อหาดังกลาว
ขางตนแลว ที่สําคัญ ผมพบวามีพระราชดํารัสที่พระราชทานในป 2518 ครั้งหนึ่ง ที่มีเนื้อหาใกลเคียงกับเพลง
อยางมาก อันที่จริง ผมอยากจะเสนอวา นี่คือพระราชดํารัสที่เปนตนกําเนิดที่แทจริงของเพลงนี้อยางไมตองสงสัย
ผมกําลังพูดถึง "พระราชดํารัสที่พระราชทานแกนักศึกษา พอคา ประชาชน มูลนิธิ องคการตางๆ ที่เขาเฝาฯ ถวาย
พระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม- พรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2518 ณ ศาลาดุสิตาลัย พระราชวังดุสิต
วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม 2518" (นี่คือชื่อเรียกที่เปนทางการของพระราชดํารัสนี้ตามที่ปรากฏใน ประมวลพระราช
ดํารัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาสตางๆ ปพุทธศักราช 2518, หนา 315; นาสังเกตที่มีคําวา
"นักศึกษา" ขึ้นกอนเมื่อพระราชดํารัสนี้ถูกตีพิมพใหมเมื่อเร็วๆนี้ ชื่อเรียกไดถูกเปลี่ยนเปน "พระราชดํารัสที่
พระราชทานแกคณะบุคคลตางๆ ที่เขาเฝาฯ...")

การพระราชทานพระราชดํารัสในวันที่ 4 ธันวาคม
วันที่ 4 ธันวาคม 2518 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระบรม ราชวโรกาสใหคณะบุคคลตางๆ เขาเฝา
ฯ ถวายพระพรเนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชดํารัสที่ทรงพระราชทานในครั้งนั้นอาจกลาวไดวามี
ลักษณะการเมืองมากที่สุดครั้งหนึ่ง - ถาไมใชครั้งที่มากที่สุด - ในตลอดรัชสมัย ของพระองค (ผมหมายถึง
การเมืองในความหมายแคบที่เขาใจกันทั่วไป)

ปจจุบันเราคุนเคยกับความสําคัญของการที่ทรงมีพระราชดํารัสตอหนาผูมาเขาเฝาฯถวายพระพรนับหมื่นคนในวันที่
4 ธันวาคมของทุกปเปนอยางดี ลาสุด พระราชดํารัสเมื่อ 4 ธันวาคม 2540 ("การจะเปนเสือนั้นมันไมสําคัญ...")
ถูกหยิบยกมาเปนจุดเริ่มตนของการรณรงคระดับชาติครั้งใหญเพื่อ "เศรษฐกิจพอเพียง" พระราชดํารัสของป 2518
นั้น เกิดขึ้นในชวงเวลาที่มีลักษณะหัวเลี้ยวหัวตออยางแหลมคมชนิดที่ยากจะหาชวงอื่นในประวัติศาสตรมาเทียบ
ได: เพียงวันเดียวหลังการปฏิวัติสังคมนิยมลาวซึ่งทําใหสถาบันกษัตริย ("เจามหาชีวิต") สิ้นสุดลง และเพียงครึ่งป
เศษหลังชัยชนะของคอมมิวนิสตในเขมรและเวียดนาม. โดยเฉพาะอยางยิ่งเหตุการณในลาวนั้น ดวยเหตุผลทาง
สังคมและประวัติศาสตร ที่มีความใกลชิดอยางมากกับประเทศไทย ไดกอใหเกิด "คลื่นความตกใจ" ในหมูชน
ชั้นสูงของไทยอยางกวางขวาง สะทอนออกมาที่พาดหัวตัวโตของ Bangkok Post ฉบับวันที่ 5 ธันวาคม โดยอาง
คําพูดของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น: No threat to our Throne.

กอนที่จะพิจารณาพระราชดํารัส 4 ธันวาคม 2518 อยางละเอียด ผมขอพูดถึงประเพณีที่ใหความสําคัญกับการ


พระราชทานพระราชดํารัสในวันที่ 4 ธันวาคมของทุกปในปจจุบันสักเล็กนอย ผมเขาใจเอาเองวา การพระราชทาน
พระราชดํารัสในวันที่ 4 ธันวาคมแกพสกนิกรที่เขาเฝาฯเปนจํานวนมากนับหมื่นคนและผานสื่อโทรทัศนไปทั่ว
ประเทศที่เราเห็นกันทุกวันนี้ มีจุดเริ่มตนมาจากการพระราชทานพระราชดํารัสแกคณะบุคคลกลุมเล็กๆที่เปน
ตัวแทนขององคการทางศาสนาตางๆที่เขาเฝาฯถวายพระพรวันเฉลิมพระชนมพรรษา ผมเขาใจวาในปแรกๆในชวง
ตนทศวรรษ 2510 นั้น การเขาเฝาของคณะบุคคลกลุมนี้ถือเปนสิ่งที่เราอาจจะเรียกไดวา "สวนเสริม" ของการเขา
เฝาฯถวายพระพร ที่นอกเหนือไปจากคณะอื่นๆเชนทูตานุทูต (พูดแบบสามัญงายๆคือ เมื่อมีตัวแทนของ
ตางประเทศแลว ก็มีตัวแทนของตางศาสนาดวย)

ในป 2511 มีการเขาเฝาฯของ "สถาบันและองคการที่เกี่ยวกับศาสนา" โดยมี "ครูและนักเรียน" แยกเขาเฝาฯอีก


คณะหนึ่งในวันที่ 5

ปตอมา มีการเขาเฝาฯของ "ผูแทนองคการศาสนาและผูแทนสถาบันการศึกษาตางๆ"

ป 2513 มีการเขาเฝาฯของ "คณะผูแทนสมาคมและองคการเกี่ยวกับศาสนา ครูและนักเรียนโรงเรียนตางๆ กับ


นักศึกษามหาวิทยาลัย รวม 36 คณะ"

ป 2514 ผูเขาเฝาฯถูกเรียกแบบเดียวกับปกอนเพียงแตไมไดระบุจํานวนคณะ และมี "ขาราชการ พอคา ประชาชน


คณะกรรมการของมูลนิธิ สมาคม และสโมสรตางๆ" เขาเฝาฯอีกคณะหนึ่งในวันที่ 5

ป 2515 ไมมีการพระราชทานพระราชดํารัสวันที่ 4 ธันวาคม ทั้งนี้ถือตามหนังสือ ประมวลพระราชดํารัส ผมไม


แนใจวาปนั้นไมมีจริงๆหรือหนังสือตกหลน ถาเปนกรณีแรก ไมแนใจวาจะเกี่ยวกับการที่ในป 2514 ทรงมีพระราช
ดํารัสที่อาจจะตีความไดวาเปนการ "กระทบกระเทือน" ตอ "คณะปฏิวัติ" ของ จอมพลถนอม กิตติขจร ที่เพิ่งยึด
อํานาจเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน หรือไม: "ที่จริงก็ไมสมควรที่จะพูด เพราะวาจะเปนการกระทบกระเทือน แตก็ขอ
พูดสักเล็กนอย เพราะวาถือเปนกันเอง... ที่มีวิกฤติการณในทางการเมืองในปจจุบันนี้ สวนหนึ่งที่ไดอางวาเปน
เหตุผลที่จะตองมีวิกฤติการณทางการเมืองก็คือนักศึกษา นักศึกษาถูกอางวาจะกอความไมเรียบรอย... ในโอกาส
ที่ทานทั้งหลายซึ่งเปนผูที่สนใจและผูปฏิบัติในทางศาสนกิจตางๆและในทางการศึกษามาอยูดวยกัน ก็ขอให
รวมกันคิดในทางที่เหมาะสม... สรางบานเมืองและสังคมของเราใหมั่นคง ไมตองปฏิวัติกัน"

ทั้งป 2516 และ 2517 คณะบุคคลที่เขาเฝาฯวันที่ 4 ธันวาคมถูกเรียก ทํานองเดียวกับป 2513-14 ("องคการทาง


ศาสนา, ครู, นักเรียน, นักศึกษา") ป 2517 มี "105 คณะ" จํานวนประมาณพันคน เปนที่นาสังเกตวาในป 2516 ใน
หลวงยังทรงเริ่มพระราชดํารัสดวยการเจาะจงขอบใจเฉพาะ "ผูแทนขององคการและกิจการเกี่ยวของกับศาสนา"
ทํานองเดียวกับทุกปกอนหนานั้นแมวาในชื่อเรียกผูเขาเฝาฯ จะมีการระบุถึง "คณะนิสิตและนักศึกษา" และแมจะ
เพิ่งเปนเวลาเพียงสองเดือนหลัง 14 ตุลา ในทางกลับกัน เมื่อถึงป 2517 แมผูเขาเฝาฯจะถูกเรียกขึ้นตนวา "คณะ
ผูแทนสมาคมองคการเกี่ยวกับศาสนา..." แตทรงรับสั่งขอบใจ "ทานทั้งหลายที่มาใหพรในวันนี้" อยางไมเจาะจง

ป 2518 - ปของพระราชดํารัส "เราสู" - เปนครั้งแรกที่ไมมีการระบุถึงองคการทางศาสนาเปนการเฉพาะและเปน


อันดับแรกอีกตอไป กลายเปนการเขาเฝาฯที่มีลักษณะทั่วไปแบบที่เรารูจักกันในปจจุบัน ชื่อพระราชดํารัสใน
หนังสือ ประมวลพระราชดํารัส กลาวถึง "นักศึกษา พอคา ประชาชน มูลนิธิ องคการตางๆ" และในเชิงอรรถอธิบาย
ความเปนมาของพระราชดํารัสมีการกลาวถึง "ขาราชการ ทหาร ตํารวจ" เพิ่มเขาไปดวย ซึ่งก็เปนครั้งแรกที่มีระบุ
ถึงคนกลุมนี้ในผูเขาเฝาฯ 4 ธันวาคม หลังจากนั้น คือจากป 2519 เปนตนมา ชื่อเรียกพระราชดํารัสวันที่ 4
ธันวาคมใน ประมวลพระราชดํารัส จะระบุเพียงวาเปนพระราชดํารัสที่ "พระราชทานแกคณะบุคคลตางๆที่เขาเฝาฯ
ถวายชัยมงคล..."

ไมเพียงแต "สาขาอาชีพ" เทานั้น ขนาดของผูเขาเฝาฯ 4 ธันวาคมก็เพิ่มขึ้นอยางมากดวย ดังที่ในหลวงเองทรงมี


รับสั่งแบบติดตลกในป 2521 วา "งานในบายวันนี้เปนงานที่มีเปนประจํามาหลายปและไมไดรับชื่อ นอกจากเรียก
เปนภายในวา งานอนุสมาคม มีงานมหาสมาคมในพระที่นั่งอมรินทรฯแลว ก็มีงานอนุสมาคมที่นี่ แตงานอนุสมาคม
นี้ปรากฏวาใหญโตกวามหาสมาคม (เสียงหัวเราะ)"

อยางไรก็ตาม ในความเห็นของผม การใหความสําคัญกับพระราชดํารัส 4 ธันวาคมแบบในปจจุบันนั้นเปน


ปรากฏการณใหมของทศวรรษ 2530 ขอใหนึกถึงพระราชดํารัส 4 ธันวาคม ป 2532 เรื่องการอนุรักษธรรมชาติ, ป
2534 เรื่อง "รูรักสามัคคี", ป 2537 เรื่อง "ทฤษฎีใหม", และป 2540 เรื่อง "เศรษฐกิจพอเพียง" แมแตจํานวนผูเขา
เฝาฯก็ดูเหมือนจะเพิ่มสูงขึ้นอยางเห็นไดชัดในทศวรรษที่แลวนี้เอง: ในป 2524 มีผูเขาเฝาฯจํานวน 5,700 คน
เจ็ดปตอมา ในป 2531 จํานวนผูเขาเฝาฯยังคงอยูที่ระดับ "เกือบหกพันคน" แตในป 2535 เพิ่มขึ้นเปนถึง 8,800
คน วันที่ 4 ธันวาคม 2543 มีผูเขาเฝาฯ 16,759 คน ในแงนี้จึงไมอาจกลาววา พระราชดํารัส "เราสู" ป 2518 เปน
จุดเปลี่ยนจริงๆในประวัติศาสตรของการพระราชทานพระราชดํารัส 4 ธันวาคม แตความสําคัญของพระราชดํารัสนี้ก็
หาไดลดลงไปในฐานะพระราชดํารัสที่มีเนื้อหาการเมืองเขมขนแหลมคมที่สุด, พระราชทานในสภาพแวดลอมที่ตึง
เครียดทางการเมืองสูงสุด, และ - ในรูปแบบของเพลง "เราสู" - ถูกนํามาใชในการรณรงคทางการเมืองอันดุเดือด
รุนแรงซึ่งสิ้นสุดลงดวยเหตุการณ 6 ตุลา

พระราชดํารัส 4 ธันวาคม 2518


นาสังเกตวา ในหลวงทรงเริ่มพระราชดํารัส 4 ธันวาคม 2518 ดวยการติงประภาศน อวยชัย ผูกลาวนําถวายพระพร
วาลืมเอยวาผูมารวมวันนั้นมีชาวนาและกรรมกรดวย ไมใชมีแต "สมาชิกสมาคม มูลนิธิหรือฝายทหาร ตํารวจ
พลเรือน เจาหนาที่ตางๆ": "ก็ไมทราบวาลืมหรืออยางไร ไมไดพูดถึงเกษตรกร... ไมไดบอกวามีกรรมกร
เหมือนกัน", "ขอขอบใจเปนพิเศษแกกลุมกสิกร... กรรมกรที่ไดมาใหพรในวันนี้ทําใหที่ประชุมนี้ยิ่งสมบูรณขึ้น" ซึ่ง
ไมนาจะเปนการบังเอิญ ขณะนั้นขบวนการนักศึกษาและฝายซายในเมืองกําลังเคลื่อนไหวอยางหนักโดยอาง
ผลประโยชนและการสนับสนุนของกรรมการชาวนา และโจมตี "ชนชั้นปกครอง" วาเปนฝายตรงขาม กดขี่ขูดรีดชน
ชั้นทั้งสองนี้ ในหลวงทรงเริ่มพระราชดํารัสดวยการ "โต" ขบวนการนักศึกษาโดยนัย (ทรง "หยอก" ดวยวา "ที่ได
มารวมประชุมนี้ จะเรียกวาชุมนุมก็ไมได เดี๋ยวหาวา มาประทวงอะไร" )

หลังจากรับสั่งวาถาทุกคนทําหนาที่ตามอาชีพของตนและทํางานที่นอกเหนือหนาที่แตเปนประโยชนตอสวนรวม ก็
เทากับเปน "ของขวัญวันเกิด" สําหรับพระองคแลว ทรงรับสั่งถึงสถานการณการเมืองในขณะนั้นทันที:

ปจจุบันนี้บานเมืองเรายังอยูเปนบานเมืองดังที่ประจักษเห็นอยู ทําไมเกิดยังเปนบานเมืองอยูอยางนี้ ไมพังลงไป


ดังที่มีใครตอใครก็ไดคาดคะเนเอาไว วาเมืองไทยจะไมอยูในแผนที่โลกแลวภายในปลายปนี้ ขาพเจาก็ไดยินมา
และตอมาเมื่อเมืองไทยยังอยูในโลก ก็ไดยินมาอีกวา ปหนาไทยแลนดนี้จะกลายเปนตายแลนด ในแผนที่ที่เห็นไว
วาเมืองไทยนี้จะเปนตายแลนด เห็นมานานแลว แลวก็เขาใจวาที่ทําไวอยางนั้น ก็เปนแผนการที่แทอยางหนึ่งที่
อยากใหเปนตายแลนด พวกเราก็ไมยอม ไมยอมใหเปนตายแลนด ไมอยากใหเปน ก็นึกวาที่ใหเปนตายแลนดนั้น
ก็เปนการขมขวัญ แตถาเราทุกคนทําหนาที่ดีแลวก็พยายามที่จะสามัคคีกันดี ชวยกัน เราก็ไมตาย แลวก็ขอพิสูจน
ก็ทุกคนที่ยืนอยูที่นี้ก็ยังไมตาย ก็ไมใชตายแลนด ทีนี้ปหนาเขาบอกเปนปวิกฤต เปนปวิกฤตก็คงเปนวิกฤตทุกป
วันนี้ก็เปนวันวิกฤต ถาดู ถาเชื่อฤกษยามอะไรตางๆก็ไปดูซิ ใครที่เปนหมอดูนะไปดู วันนี้ฤกษไมดี... ถาอยากดูไป
ดู ไปผูกดวง เวลานี้เลวทั้งนั้น แลวก็จะสงผลใหเรามีหายนะ จะลมตายเปนระนาว จะเกิดอาเพศตางๆ ถาดูจริงๆก็
เปนจริง ถาเชื่อก็เชื่อได ทีนี้ไดขมขูทานทั้งหลายอยางรุนแรงแลววาทานตองตายทุกคน แตทําไมทานหัวเราะ ก็
เพราะวาทุกคน ถามีความมั่นใจจริงๆวาเรา...ทําเพื่อรักษาสวนรวม คือสวนรวมนี่เปนที่อยูของเรา เปนที่อาศัยของ
เรา ถาทุกคนมีความมุงมั่นไมคิดถึงสิ่งที่มาขมขู...ถาใครมาขูเข็ญวาจะแยหรือจะตาย เราก็ตองมาดูดวยเหตุผล
เดี๋ยวนี้เราตายหรือเราเปน ก็ตองบอกวาเราเปน ถึงยังมาพูดกันไดอยางนี้

ผมไมแนใจวาแผนที่ที่ทรงรับสั่งวาทรงเคยเห็น ซึ่งเปน "แผนการที่แทอยางหนึ่งที่อยากให (เมืองไทย) เปนตาย


แลนด" นั้นหมายถึงแผนที่ไหน แตในชวงนั้น เทาที่จําไดมีการเผยแพร "แผนที่" สองฉบับโดยพวกฝายขวา ฉบับ
หนึ่งเปนรูปวาดแผนที่ประเทศไทย และมีรูป "คอมมิวนิสต" (คนหนาจีนๆ - หรือเวียดนาม - ใสชุดแบบทหาร
กองทัพปลดแอกของคอมมิวนิสต) ตัวโตพอๆ กับแผนที่กําลังอาปากกวางพยายามจะอมแผนที่ประเทศไทยไว
จากทางดานภาคอีสาน อีกฉบับหนึ่งคือแผนที่ที่หนังสือพิมพบางฉบับนํามาตีพิมพโดยไดมาจากหนวยงานดาน
ความมั่งคงของไทย แสดงใหเห็นสิ่งที่เรียกกันวา "ยุทธศาสตรรูปตัวแอลของ พคท." คือ แผนการ "ตัด" ("
ปลดปลอย") ภาคอีสานออกจาก การควบคุมของกรุงเทพกอน

ที่แนๆ คือในหลวงทรงกําลังหมายถึงฝายซายหรือคอมมิวนิสต ที่วากําลัง "ขมขวัญ" และ "ขมขู...หรือขูเข็ญ" จะ


เปลี่ยน "ไทยแลนด" ใหกลายเปน "ตายแลนด" นาสนใจวาทรงเชื่อแบบเดียวกับฝายขวาในสมัยนั้นวาการเปลี่ยน
การปกครองเปนสังคมนิยม-คอมมิวนิสตนั้นหมายถึงการสูญสิ้นประเทศไทย การที่ทรงใชอุปลักษณ (metaphor)
ของความตายกับประเทศ มองจากมุมของฝายซาย (ซึ่งรวมทั้งขบวนการนักศึกษา) ในขณะนั้น สิ่งที่พวกเขา
ตองการ คือการปฏิวัติเปลี่ยนระบอบเศรษฐกิจการเมืองและสังคม ซึ่งถาปฏิวัติสําเร็จ ก็ยังมีประเทศไทยอยู
(ประโยคที่วา "อนาคตจะตองมีประเทศไทย" ในเพลง "เราสู" นั้น พูดตามคําตรงๆ เปนสิ่งที่ฝายซายในขณะนั้นไม
มีขอโตเถียงดวย สําหรับพวกเขา "อนาคตจะตองมีประเทศไทย" อยูแลว เพียงแตเปนประเทศไทยแบบสังคม
นิยม)

ในหลวงทรงรับสั่งตอไปวาทุกคนตองการความสุขสวนตัว แตตอง "เห็นผลประโยชนของผูอื่นดวย" จึงตอง


"สามัคคีกันปรองดองกัน"

ประเทศชาติก็เหมือนกัน ถารวมกันจริงๆก็อยูได ทีนี้มาคิดอยูอยางหนึ่ง การอยูนี้มีหลายพวก ถาอยากแบงเปนพวก


โดยมากชอบแบงเปนพวก เปนพวกทหาร พวกพลเรือน หรือตํารวจ พวกที่อยูในเครื่องแบบ และพวกที่อยูนอก
เครื่องแบบ แบงเปนพวกเจาหนาที่กับพวกประชาชน แบงเปนผูใหญเปนผูนอย เปนผูเฒาไดโนเสารกับนักศึกษา
และนักเรียน แบงกันทั้งนั้น ชนชั้นตางๆแบงกัน ถาแบงกันอยางนี้อยูกันไมได ตองชวยกันทั้งนั้น... มาเมื่อเร็วๆนี้
เองไดยินมา ฟงแลวก็หมั่นไส บอกวาลิ้นกับฟนมันก็ตองกระทบกันจริง ลิ้นกับฟนตองกระทบกัน บางทีฟนก็กัดลิ้น
แตใครเปนลิ้นใครเปนฟน... เปรียบเทียบอยางนี้มันตลกมาก ที่เปรียบเหมือนลิ้นกับฟน แตวาก็เปนคําเปรียบ
โบราณก็พูดกันมาก

เปรียบขณะนี้ถาเราอยากตลก เราก็ตลกใหเต็มที่ซิ ลิ้นกับฟนกระทบกันขอใหไปคิด ฟนมันกระทบลิ้น มันกัดลิ้น


แลวลิ้นก็เจ็บ เอายอม ลิ้นก็คือประชาชน ฟนคือนาย เขาวาตองปลดแอก ก็ตองถอนฟน แลวอยางไร ถาถอนฟน
ออกหมด เมื่อเดือนที่แลวไปเยี่ยมนครพนม ไปแถวมุกดาหาร ไปเจอผูหญิงคนหนึ่งมีฟนเหลือซี่เดียว เขาก็บนบอก
วากินขาวมันไมอรอย ไมมีฟนนี่กินขาวไมอรอย ก็เลยบอกเขาวาถาใหที่โรงพยาบาลใสฟนจะเอาไหม เขาถามวา
เจ็บไหม ก็บอกวายอมตองเจ็บบางแตวาทําได เขาก็เอา เขาจะทํา... เพราะวาจะไดกินขาวอรอย ทีนี้ก็ฟนที่ใสนั้น
มันก็ฟนปลอม ลิ้นกับฟนกระทบกัน ถาลิ้นของเราฟนของเรากระทบกันเองก็ยังไมเปนไร แตทําไมถาสมมุติวาเอา
ฟนปลอมมาใส เขาจะเลือกฟนปลอมมาจากไหน ยี่หอใด จากประเทศใดมาใส ใหมากระทบลิ้นเรา อันนี้ตองระวัง
ดีๆ ฟนนะฟนปลอมมันใสได มีประโยชนทําใหกินขาวอรอย แตขาวนั้นนะขาวไทย ไปตอกตราฮานอย ก็มี
เหมือนกัน จะเอาหรือ ฟนปลอมที่มาจากที่อื่นนะ... ระวังอยาใหฟนปลอมมาเคี้ยวลิ้นใหหมด อันนี้คิดไปคิดมามัน
กลุม... อยางที่ตะกี้วาลิ้นถูกกัด เพราะเรื่องของฟนปลอมจะเอามาจากไหน มันก็เลยทําใหคิดมาก และก็ถาคิดมาก
แลวก็เกิดเสียวไส เกิดคิดไปมาก เลยทําใหอาจเกิดความไมสบายใจ อาจเปนความกลัวหรือความไมสบายใจใน
จิตใจของเราหรือของแตละทานที่มาอยูที่นี่...

ในป 2541 เมื่อทรง "เรียบเรียงและปรับปรุง" พระราชดํารัสนี้ใหมและโปรดเกลาฯใหตีพิมพ "พระราชทานเพื่อใช


ในราชการ" พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทําเชิงอรรถอธิบายขอความตอนนี้วา "(หมายเหตุ) 'ฮานอย'. ระยะ
นั้นไดมีการขายขาวไทยแกเวียดนามใต ขาวนั้นถูกลอบนําเขาเวียดนามเหนือ ซึ่งกลับสงนอกไปอีกที ทําใหเปน
การแยงตลาดไทย." อยางไรก็ตาม ถาเราอานขอความตอนนี้ทั้งหมด ก็หลีกเลี่ยงไมไดที่จะสรุปวา ในป 2518 นั้น
ทรงตั้งพระทัยใหมีความหมายอีกอยางหนึ่ง. แมจะทรงใชอุปลักษณโดยตลอด, แตสาระ (message) ที่รับสั่งนั้น
ชัดเจนมาก: การที่ฝายซายในขณะนั้นเรียกรองใหประชาชน ("ลิ้น") "ปลดแอก" จาก "นาย" ("ฟน") นั้น ตองระวัง
วาเมื่อ "ปลดแอก" แลว ผูที่จะมาเปน "นาย" แทน ("ฟนปลอม") จะเปนใคร ("จะเลือกฟนปลอมมาจากไหน ยี่หอ
ใด จากประเทศใดมาใส ใหกระทบลิ้นเรา") และขอสรุปของพระองคก็คือ "ตองระวังใหดีๆ" ผูจะมาเปน "นาย"
แทน จะกลายเปนคอมมิวนิสตเวียดนาม ("ฮานอย") ไป

เปนที่ทราบกันทั่วไปในสมัยนั้นวา ชนชั้นนําไทยมีความเชื่อ (หรือความกลัว) อยางหนึ่งวา การเคลื่อนไหว


เรียกรอง "เอกราชประชาธิปไตย" ของขบวนการนักศึกษาและฝายซายเปนการกระทําที่ไดรับการชักใยบงการจาก
คอมมิวนิสตเวียดนาม ฉากที่อันธพาลฝายขวารุมทํารายนักศึกษาที่ชุมนุมในธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลาคม
2519 ถึงขั้นนําไปแขวนคอ เผาและทารุณกรรมศพ ขณะเดียวกับที่ตะโกนประณามวาคนที่กําลังถูกทารุณกรรมนั้น
เปน "ญวน" เปนฉากที่รูจักกันดี นี่เปนประเด็นที่ผมมักไมเขาใจและมีความลําบากในการหาคําอธิบายที่ชัดเจนเปน
ที่นาพอใจ จริงอยู บอยครั้งพวกฝายขวาสมัยนั้นก็โจมตีนักศึกษาเปน "สมุนจีนแดง" และแมแต "สมุนรัสเซีย" ดวย
ในบางครั้ง แตเหตุใด พวกเขาจึงมีความหมกมุน (obsession) ในเรื่อง "ญวน" มากกวาเรื่องอื่น ทั้งๆที่ในความเปน
จริง กลาวไดวาไมมี "ความเปนญวน" อะไรเกี่ยวกับขบวนการนักศึกษาเลย (ถาจะเปนเรื่อง "ความเปนจีน" ทั้งใน
แงเชื้อสายของนักกิจกรรม หรือในแงที่ขบวนการมีความสัมพันธกับ พคท. ซึ่งเชียรจีน ก็ยังพอเขาใจได แตพวก
ฝายขวากลับหมกมุนเรื่อง "ญวน" มากกวา) ถึงจุดนี้แมผมจะยังไมมีคําอธิบายที่นาพอใจ แตอยางนอย เราก็ได
ทราบวา ความหมกมุนเรื่อง "ญวน" นี้แพรหลายเขมขนในหมูชนชั้นนําไทยเพียงใด

ในหลวงทรงย้ําวาสถานการณในขณะนั้นเรียกรองใหทุกคนยิ่งตอง "คิดดี ทําดี"

เพราะวาถาเรานึกวาเดี๋ยวนี้มาถือวาประเทศชาติของเรามีความปนปวน แนนอน มีอันตรายคุกคามแนนอนจากทุก


ทิศทั้งภายนอกภายใน กําลังรูสึกกันนะ ทุกคนรูสึกวาเมืองนี้ชักจะอันตราย จนกระทั่งมีบางคนเลาลือกันวา เก็บ
กระเปาขายของ ไปตางประเทศเสียแลวก็มี แตวาทานพวกนั้นที่เก็บของ ขายของ หนีออกจากประเทศ ไปเสียที
เพราะวาเมืองไทยมันเต็มทนแลว กลับไปเจอเขาริบของในประเทศโนนที่ไปอาศัยเขา พังเคไปหมด หารูไมวา
เมืองไทย นี่นาอยูนะ มีชาวตางประเทศที่อยูตางประเทศในเมืองเสียอีก เปนอารยประเทศ เปนประเทศที่ศิวิไลซ
ประเทศที่กาวหนาแลว เขาอยูไมได เขาขอมาอยูเมืองไทย ขอมาตั้งรกรากที่เมืองไทยนี่ ฉะนั้นประเทศไทยนี่
ทําไมอยูได ก็เพราะพวกเราทุกคน ถาเราสรางความดี คือทําปฏิบัติในสิ่งที่บริสุทธิ์ใจที่สุจริต... ก็เปนการสราง
กําลังของบานเมือง ทําใหเปนเหมือนฉีดยาปองกันโรค...

หลังจากนี้ ทรงรับสั่งถึงสาเหตุที่ไดทําและจะทําให "เมืองไทยอยูได" เนื้อหาในพระราชดํารัสตอนนี้ ผูที่รูจักคํา


รองเพลง "เราสู" ควรตองรูสึกคุนเคยเปนอยางดี:

แตทําไมเมืองไทยอยูได ก็เพราะวาบรรพบุรุษของเราทํามาเปนแรมปเปนรอยๆป ทํามาดวยความสุจริตใจ ในสิ่งที่


เรารูในประวัติศาสตรวานักรบไทยไดปองกัน ประเทศใหอยู นักปกครองไทยไดปองกันความเปนอยูของเมืองไทย
ใหอยูไดตกทอดมาถึงเรานั้นนะ ทานไดทํามาดวยความตั้งใจใหเปนมรดก... คือเปนบารมี ไดสรางบารมีมาตั้งแต
โบราณกาลมา สะสมมาเรื่อย... ขอเปรียบเทียบเหมือนบารมี นั่นคือทําความดีนี้ เปรียบเทียบเหมือนการธนาคาร...
เราอยาไป เบิกบารมีที่บานเมืองที่ประเทศไดสรางสมเอาไวตั้งแตบรรพบุรุษของเราใหเกิน เราตองทําบาง หรือ
เพิ่มพูนใหประเทศชาติมีอนาคตที่แนนอน อนาคตที่จะสามารถถือวาชั่วลูกชั่วหลานชั่วเหลนชั่วโหลน ประเทศไทย
ก็ยังคงอยู... การสรางบารมีของบรรพบุรุษของเราแตโบราณกาล ที่ไดรักษาสรางบานเมืองขึ้นมาจนถึงเราแลว ก็
ในสมัยนี้ที่เราอยูในที่ที่เรากําลังเสียขวัญกลัวก็ไมตองกลัว ไมตองกลัวเพราะเรามีทุนอยู...
เรามีบานเมืองแลว เราตองรักษาไมใชทําลาย ใครอยากทําลายบานเมืองก็ทําลายเขา เชิญทําลาย เราสู แตวาผูที่
จะทําลายระวังดีๆ คือวาผูที่อยากทําลายนั้นไมใชวาเขาอยากทําลายเพื่ออะไร แตเขาทําลายตัวเอง นาสงสาร
สวนมากเขาทําลายตัวเอง...

วันรุงขึ้นหนังสือพิมพหลายฉบับไดรายงานขาวพระราชดํารัส 4 ธันวาคม 2518 นี้ แตที่นาแปลกใจคือ ดาวสยาม


ไมใชหนึ่งในจํานวนนั้น ทั้งนี้อาจเพราะไดตีพิมพ "ฉบับพิเศษ" วันเฉลิมพระชนมพรรษาแทน โดยอุทิศหนาหนึ่ง
ทั้งหนาใหกับการถวายราชสดุดี ดาวสยาม วันตอมา (6 ธันวาคม) พาดหัวตัวโต "ญวนหมิ่นในหลวง วิจารณพระ
ราชดํารัสวันเฉลิมฯ" จากขาวเล็กๆ ที่มีการจับชาวไทยเชื้อสายเวียดนามอาชีพชางตัดเสื้อคนหนึ่งที่ถูกกลาวหาวา
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพวิจารณพระราชดํารัสวันที่ 4 ขณะฟงการถายทอดเสียงทางวิทยุ (ฉบับอื่นมีเพียง เดลินิวส
วันที่ 6 ธันวาคม ที่ใหความสําคัญกับขาวนี้ ดวยการพาดหัว "รวบญวนโอหัง หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ"; The
Nation วันเดียวกันรายงานขาวนี้ในหนาแรก แตใหพื้นที่ของขาวเล็กนิดเดียวและเขียนดวยภาษาเรียบๆ)

หนังสือพิมพอื่นของวันที่ 5 ธันวาคม 2518 ใหความสําคัญกับพระราชดํารัสวันที่ 4 ในระดับที่ตางกัน ทั้ง Bangkok


Post กับ The Nation รายงานเปนขาวเล็กๆหนาหนึ่ง (พาดหัว King says 'Don't be alarmed' และ King calls
for unity ตามลําดับ) ขณะที่ ประชาชาติ ใหพื้นที่ขาวมากกวาแตไมถึงกับเปนขาวนํา (พาดหัว: ทรงเตือน 'อยา
แบงพวก') ไทยรัฐ, เดลินิวส และ บานเมือง เปนเพียง 3 ฉบับที่พาดหัวตัวโตเปนขาวนํา. ไทยรัฐ: ในหลวงรับสั่ง
วันเฉลิม ชี้ภัยไทย แบงชนชั้น. เดลินิวส: ในหลวงทรงประกาศสูผูทําลายชาติ ไมยอมใหไทย เปน 'ตายแลนด'.
บานเมือง: ในหลวงทรงรับสั่งใหตระหนัก ไทยแลนดจะเปน 'ตายแลนด' เตือนสามัคคี.

จากพระราชดํารัสถึงเพลง
ผมขอเสนอวา พระราชดํารัส 4 ธันวาคม 2518 นี้ คือตนตอที่แทจริงของเพลงพระราชนิพนธ "เราสู" อยางไมตอง
สงสัย นี่คือพระราชดํารัสที่นายสมภพ จันทรประภานํามาประพันธเปนกลอนแปด แลวทูลเกลาฯถวาย และ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูทรงใสทํานอง ไมใช "พระราชดํารัสที่พระราชทานแกสมาชิกสภานิติบัญญัติ
ประกอบดวยขาราชการพลเรือน ทหาร ตํารวจ และประชาชน ซึ่งไดจัดแขงฟุตบอล..." ใน พ.ศ. 2516 (ซึ่งนาจะ
ไมมีตัวตน) แตอยางใด

เห็นไดชัดวาสมภพไดประพันธตามพระราชดํารัสอยางใกลเคียงมาก ไมเพียงในแงความ, แตคําและวลีหลักๆก็ลวน


นํามาจากพระราชดํารัสทั้งสิ้น ตั้งแตชื่อกลอน "เราสู" จนถึงวลีตอไปนี้ (ในวงเล็บเปนคําในพระราชดํารัส):
"บรรพบุรุษของไทย (เรา) แตโบราณ", "(ชั่ว)ลูก(ชั่ว)หลาน(ชั่ว)เหลน(ชั่ว)โหลน", "อนาคตจะตองมีประเทศ
ไทย" (อนาคต...ประเทศไทยก็ยังคงอยู), "บานเมืองเราเราตองรักษา" (เรามีบานเมืองแลว เราตองรักษา), และ
"อยากทําลายเชิญมาเราสู" (ใครอยากทําลาย...เชิญทําลาย เราสู)

ตามประวัติที่เปนทางการ (ดังที่ไดเลาแลวในตอนตน) หลังจากสมภพไดเขียนกลอนถวายแลว ไดทรง


พระราชทานกลอนนี้ "ใหเปนของขวัญปใหมแก ทหาร อาสาสมัคร และตํารวจชายแดน" (ธ สถิต, หนา 333) สวน
ทํานองเพลง นั้น ไดทรงพระราชนิพนธขึ้นในลักษณะที่ "ทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย... หยิบซองจดหมาย
ใกลพระหัตถมาตีบรรทัด 5 เสน เพื่อทรงพระราชนิพนธทํานอง เมื่อแลวเสร็จก็พระราชทานใหวงดนตรี อ.ส.วันศุกร
ซึ่งกําลังบรรเลงอยูในงานวันขึ้นปใหม 1 มกราคม 2517 นําออกบรรเลง ณ พระราชวังบางปะอิน จากนั้นไดทรงนํา
กลับไปแกไข กอนจะพระราชทานออกมาใหวงดนตรี อ.ส.วันศุกร บรรเลง และทรงแกไขอีกจนพอพระราชหฤทัย"
(ดนตรี, หนา 187)

ในขณะที่ประวัติทางการของเพลง "เราสู" ผิดพลาดในเรื่องพระราชดํารัสซึ่งเปนที่มาของเพลง ดวยเหตุนี้จึง


เปนไปไมไดที่การบรรเลงเพลงนี้ครั้งแรก ของวง อ.ส. วันศุกรจะเกิดขึ้นในวันปใหม 2517, ผมเชื่อวารายละเอียด
อื่นๆ ในประวัติที่เปนทางการนาจะเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจริง เพียงแตเราตองเปลี่ยนป พ.ศ. เทานั้น ดังนี้:

(1)วันที่ 4 ธันวาคม 2518ทรงมีพระราชดํารัสวันเฉลิมพระชนมพรรษา


(2)ระหวางวันที่ 4 - ปลายเดือนสมภพ จันทรประภา เขียนกลอน "เราสู" จาก
ธันวาคม 2518พระราชดํารัส แลวทูลเกลาฯถวาย
(3)ปลายธันวาคม 2518ทรงพระราชทานกลอน "เราสู" ใหเปนของขวัญปใหมแก
ทหาร และ ตชด.
(4)วันที่ 1 มกราคม 2519ทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย พระราชนิพนธทํานองให
กลอน "เราสู" ขณะทรงประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน แลว
ทรงพระราชทานใหวง อ.ส.วันศุกร ซึ่งกําลังบรรเลงในงานวันปใหมที่นั่นทดลองบรรเลง
(5)ตน - กลางป 2519ทรงนําทํานองเพลง "เราสู" กลับไปแกไขจนพอพระราช
หฤทัย แลวพระราชทานฉบับสมบูรณออกมา
(6) ตน - กลางป 2519มีการนําเพลง "เราสู" ออกเผยแพรในหมูกลุมพลังฝายขวา

เราไดเห็นรายละเอียดของขอ (1) แลว ซึ่งทําใหไดเขาใจขอ (2) ดวย, ในสวนขอ (3) นั้น ประวัติที่เปนทางการ
กลาววา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานกลอน "เราสู" ที่สมภพแตงถวาย "ใหเปนของขวัญปใหม
แกทหาร อาสาสมัคร และตํารวจชายแดน" แตไมมีการใหรายละเอียดหรือหลักฐาน อันที่จริง ผมเชื่อวาคนเขียน
ประวัติทางการไมรูรายละเอียดและไมมีหลักฐานดวย เพราะมิเชนนั้นจะตองไมผิดพลาดเรื่องปเกิดของเพลงอยาง
แนนอน เพราะเมื่อเร็วๆนี้ผมพบหลักฐานวาทรงพระราชทานกลอนใหเปนของขวัญปใหมจริงๆ แตเปนปใหม 2519
และในลักษณะที่นาสนใจยิ่ง

ดังที่ผมไดกลาวบางแลวขางตน, เมื่อเร็วๆนี้ (ตุลาคม 2541) ในหลวงไดทรงนําพระราชดํารัส 4 ธันวาคม 2518 มา


"ทรงเรียบเรียงและปรับปรุง" ใหมพรอมๆกับพระราชดํารัส 4 ธันวาคมอีก 4 ป คือป 2517, 2519, 2520 และ
2521 ทั้งยังไดทรงแปลเปนภาษาอังกฤษดวยพระองคเองทั้ง 5 พระราชดํารัส แลวโปรดเกลาฯใหตีพิมพรวมกัน
เปนเลมเดียว ภาษาไทยอยูหนาขวาอังกฤษอยูหนาซายคูกันไปตลอดเลม (โดยบริษัทอมรินทรพริ้นติ้ง) ออก
เผยแพร "พระราชทานเพื่อใชในราชการ" ในหนังสือรวมพระราชดํารัส 4 ธันวาคม เลมนี้ นอกจากจะทรงโปรด
เกลาฯใหตีพิมพภาพถายทั้งสีและขาวดําการเขาเฝาฯของคณะบุคคลในวันที่ 4 ธันวาคมของปตางๆนั้นแลว ใน
หนา 46 ยังไดทรงใหตีพิมพสิ่งที่ดูเหมือนกับ การด ส.ค.ส. ป 2519 ที่ทรงประดิษฐขึ้นดวยพระองคเอง คลายกับ
การด ส.ค.ส. ที่พระองคทรงประดิษฐขึ้นและพระราชทานแกพสกนิกรในวันสิ้นปเกาขึ้นปใหมของทุกปในปจจุบัน
เนื้อหาของสิ่งที่ดูเหมือนการด ส.ค.ส. 2519 นี้ ก็คือบทกลอน "เราสู" นั่นเอง โดยมีคําแปลภาษาอังกฤษพิมพ
สลับกับกลอนภาษาไทยบทตอบท แมจะไมมีคําอธิบายใดๆ ก็แทบจะไมตองสงสัยเลยวาคําแปลดังกลาวเปนพระ
ราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว (ความแตกตางที่เห็นไดระหวาง "การด" ป 2519 ที่วานี้กับการดของ
ในหลวงในปจจุบัน คือการดป 2519 ไมไดพิมพดวยคอมพิวเตอร; ดูคําอธิบายเรื่องนี้ขางลาง)

ผมเชื่อวา การด ส.ค.ส. 2519 "เราสู" นี้มีความสําคัญมาก อยางนอย 3 ประการ คือ หนึ่ง เปนการยืนยันวาใน
หลวงไดทรงพระราชทานกลอน "เราสู" เปนของขวัญปใหมจริงๆ แตเปนป 2519; สอง แสดงวามี "เราสู" ใน
version ภาษาอังกฤษ ซึ่งทรงพระราชนิพนธเอง. (เรื่องนี้ผมไมเคยไดยินใครพูดถึงมากอน รวมทั้งหนังสือเกี่ยวกับ
เพลงพระราชนิพนธและพระราชกรณียกิจตางๆ) ในขณะที่กลอน "เราสู" ของสมภพ จันทรประภานั้น อาจกลาวได
วา สะทอนพระราชดําริของในหลวงไดอยางใกลเคียงมากแลว, การที่ทรงพระราชนิพนธ "เราสู" เปนภาษาอังกฤษ
และพระราชทานการดนี้ในพระนามพระองคเองเทากับทรงยืนยันวา "เราสู" เปนพระราชดําริของพระองคโดย
สมบูรณ;

สาม มีความเปนไปไดอยางยิ่งที่การดนี้จะเปนการด ส.ค.ส. ฉบับแรกที่ในหลวงทรงประดิษฐขึ้น และดูเหมือนวาจะ


ไมมีใครรูเรื่องการดนี้มากอน

ประวัติที่เปนทางการเกี่ยวกับเรื่องนี้ ("พระราชอัจฉริยภาพดานคอมพิว-เตอร" ใน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ


พระเจาอยูหัว 72 พรรษามหาราชา, จัดพิมพโดยคณะกรรมการจัดงานวันสื่อสารแหงชาติ, 2542, หนา 72) กลาว
วา

ผลงานที่พระองคทรงประดิษฐดวยเครื่องคอมพิวเตอรอีกอยางหนึ่งก็คือ ส.ค.ส. ที่พระองคทรงใชเครื่อง


คอมพิวเตอร "ปรุง" อวยพรในวันปใหม ซึ่งพระองคทรงพระราชทานถึงขาราชบริพารและหนวยงานตางๆอยูเปน
ประจําทุกป แมจะทรงมีพระราชกรณียกิจมากมาย ซึ่งแตเดิมพระองคทรงใชวิธี "ปรุ" แถบเทเล็กซพระราชทานพร
ปใหม โดยในบัตร ส.ค.ส. ฉบับแรก ป พ.ศ. 2528 มีความวา "ในโอกาสขึ้นปใหม 2529 นี้ ขอขอบใจที่ทุกคนได
ชวยงานในดานตางๆมาดวยดี..."

ทายบัตร ส.ค.ส. ฉบับแรกระบุวา "ก.ส. 9 ปรุ" อันเปนหลักฐานแสดง ถึงการใชเครื่องเทเล็กซหรือโทรพิมพ


จนกระทั่งในป พ.ศ. 2530 พระองคทรงประดิษฐ ส.ค.ส. ใหมีลวดลายมากขึ้น ทายบัตร ส.ค.ส. ระบุวา "ก.ส. 9
ปรุง" จนถึงปจจุบัน แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสื่อสารที่พระองคทรงใชในการประดิษฐบัตร ส.ค.ส. จาก
เดิมที่เคยทรง "ปรุ" พระราชทานผานเครื่องเทเล็กซ มาทรง "ปรุง" ใหมโดยทรงใชเครื่องคอมพิวเตอรแทน...

นับตั้งแตป พ.ศ. 2530 เปนตนมา พระองคไดทรงประดิษฐบัตร ส.ค.ส.ดวยเครื่องคอมพิวเตอรพระราชทานพรแก


พสกนิกรชาวไทยทุกหมูเหลาผานสื่อมวลชนทุกป เหลาพสกนิกรทั้งหลายตางพากันตั้งใจรอคอยผลงานของ
พระองคที่จะทรงพระกรุณาพระราชทานให...

ขณะที่ ส.ค.ส. ที่ทรงประดิษฐดวยคอมพิวเตอรฉบับแรกนาจะเปนฉบับที่ทรงประดิษฐในเดือนธันวาคม 2530 - คือ


ส.ค.ส. ป 2531 - จริง เพราะเพิ่งทรงมี คอมพิวเตอรสวนพระองคเครื่องแรกในเดือนธันวาคมปกอนหนานั้น (เลม
เดียวกัน, หนา 67; ดูภาพถาย ส.ค.ส. ที่ทรงประดิษฐดวยคอมพิวเตอรทุกฉบับตั้งแตป 2530/31 ถึงป 2541/42
ในหนา 70, 73, 74 และ 79), ประวัติทางการนี้ผิดแนๆ ที่กลาววา ส.ค.ส. ที่ทรงประดิษฐขึ้นฉบับแรก (ดวยเท
เล็กซ) คือ ส.ค.ส. ป 2529 (ธันวาคม 2528) เพราะตอใหเราไมนับ การด ส.ค.ส. 2519 "เราสู" ขางตน, ใน
หนังสือรวมพระราชดํารัส 4 ธันวาคม เลมเดียวกับที่มีรูปการด "เราสู", ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหตีพิมพ, ใน
หนา 80, "ส.ค.ส. 2521 (Telex)" ซึ่งขึ้นตนวา "รอ. 1 จิตรลดา จาก จิตรลดา... รอ. 3. ถึง เจาหนาที่ ทุกเหลา
ทุกหนวย" และลงทายวา "ก.ส. 9 ปรุ/สง 310130 ธ.ค. 2520" อยางชัดเจน

ผมคิดวา การมีอยูของ ส.ค.ส. ป 2521 นี้ยิ่งยืนยันวารูปถายที่เห็นเปน ส.ค.ส. ป 2519 "เราสู" ขางตนนั้น นาจะ
เปน ส.ค.ส.ป 2519 ที่ทรง "ปรุ/สง" จริงๆ และดวยเหตุนี้จึงตองถือเปน ส.ค.ส. ที่ทรงประดิษฐดวยพระองคเอง
ฉบับแรกเทาที่เรามีหลักฐานอยูในขณะนี้ ที่นาสังเกตคือ ตรงขามกับ

กับปจจุบันที่หนังสือพิมพจะรายงานขาว ส.ค.ส.ของพระองคโดยพรอมเพรียง ในป 2519 ไมมี ฉบับใดที่กลาวถึง


ส.ค.ส. นี้เลย ที่เปนขอยกเวนบางสวน คือกรณี บานเมือง ฉบับวันที่ 8 มกราคม 2519 ซึ่งอุทิศสวนบนสุดหนึ่งในสี่
ของหนา 13 ใหกับกลอน "เราสู" โดยตีกรอบสี่เหลี่ยมลอมรอบ มีพระบรมฉายาลักษณรูปพระพักตรอยูดานซายมือ
และรูปถายอาสาสมัครในเครื่องแบบยืนเรียงแถวเปนแบ็คกราวน ภายใตหัววา:

พิเศษ - วันนี้ "บานเมือง" อัญเชิญกระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกเหลาขา


ราชบริพาร ทหาร ตํารวจ และอาสาสมัคร ในวันสงทายปเกาตอนรับปใหม

หลังจากนั้นเปนกลอน "เราสู" ทั้งสี่บท จะเห็นวาคําบรรยายหัวนี้ผิดความจริงแบบงายๆ เพราะเห็นไดชัดวา นี่ไมใช


"กระแสพระราชดํารัส" แนๆ (ถาใชคําวา "พระราชนิพนธกลอน" ยังจะใกลเคียง) และอันที่จริงในวันสงทายปเกา
ตอนรับปใหม 2518-19 นั้น ในหลวงทรงมีพระราชดํารัสอื่นซึ่งหนังสือพิมพทุกฉบับ รวมทั้ง บานเมือง เองได
รายงานไปแลว แตเปนไปไดวาบางคนใน บานเมือง (เชน อาจจะเปน "สีน้ํา" นักเขียนฝายขวาผูเปนศัตรูอยาง
รุนแรงกับขบวนการนักศึกษาสมัยนั้น) ไดรับการด ส.ค.ส. "เราสู" เองหรือไปไดมาจากผูอื่น จึงนํามาตีพิมพ โดย
เขียนคําบรรยายเอาเอง เนื่องจากเห็นเปน ส.ค.ส.ของในหลวง จึงเขียนไปเชนนั้น การตีพิมพ "เราสู" ใน
บานเมือง นี้นาจะเปนการเผยแพรกลอนนี้ตอสาธารณะเปนครั้งแรก แมวาคงมีนอยคนที่สังเกตเห็นในขณะนั้น
ขณะเดียวกัน, ดังที่เราไดเห็นแลว, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัยโดยฉับพลัน
ระหวางที่ทรงประทับในงานเลี้ยงวันปใหมที่พระราชวังบางปะอิน โดยมีวงดนตรี อ.ส.วันศุกร กําลังบรรเลงเพลง
(ซึ่งตองเปนป 2519 อยางแนนอน ไมใช 2517 ตามประวัติทางการ) "ทรงหยิบซองจดหมายใกลพระหัตถมาตี
บรรทัด 5 เสน เพื่อทรงพระราชนิพนธทํานอง" ใหกับกลอน "เราสู" เมื่อเสร็จแลวก็พระราชทานใหวง อ.ส.วันศุกร
ทดลองบรรเลงเดี๋ยวนั้น นายแมนรัตน ศรีกรานนท ผูเลา "เกร็ด" เรื่องนี้กลาววา "ทรงเปนเสมือนนักประพันธเพลง
หรือปราชญของโลก คือทรงแตงสดๆ" อยางไรก็ตาม ผมคิดวา จากการที่เราไดเรียงลําดับความเปนมาของเพลง
ขางตน ทําใหเราอาจจะเขาใจภูมิหลังของ "แรงบันดาลพระราชหฤทัย" อยางฉับพลันในวัน ปใหมนั้นไดงายยิ่งขึ้น
กลาวคือ เห็นไดชัดวาขณะนั้นนาจะเพิ่งทรงพระราชนิพนธแปล กลอน "เราสู" เปนภาษาอังกฤษไดไมนาน และ
เพิ่งทรง "ปรุ/สง" ทั้งภาษาไทยและอังกฤษในพระนามของพระองคเปน ส.ค.ส.ไปยังหนวยงานราชการโดยเฉพาะ
ทหารและ ตชด. พูดอีกอยางหนึ่งก็คือ "เราสู" นาจะกําลังอยูในพระราชหฤทัยตลอดเวลาในระยะนั้น ทําใหใน
ระหวางงานปใหมที่มีวงดนตรีบรรเลง ทรง "เกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย" โดยฉับพลันขึ้นได

เราไมมีขอมูลวาในหลวงทรงใชเวลาทั้งหมดในการแกไขปรับปรุงทํานองเพลง "เราสู" ที่ทรงพระราชนิพนธในวันป


ใหมนานเพียงใดจนพอพระราชหฤทัย หรือรายละเอียดของการ "ปลอย" (release) เพลงออกสูสาธารณะเปน
อยางไร เชน ใครผลิต (กรมประชาสัมพันธ? กองทัพ?), วงดนตรีและนักรองคือใคร, สถานีวิทยุอะไรเริ่มเลนกอน
หรือพรอมๆกัน? เมื่อไร? แตดังที่กลาวในตอนตนบทความ, เพลงนี้ไดกลายเปนที่นิยมของกลุมพลังฝายขวาที่ตอสู
กับขบวนการนักศึกษาในขณะนั้น ผมไมทราบแนนอนวาเมื่อใด หลักฐานแรกสุดที่ผมหาไดคือ การที่ ดาวสยาม
ฉบับวันที่ 11 กรกฎาคม 2519 เอาบางตอนของเพลงมาพิมพ (โดยแปลงบางคํา) เพื่อตอบโตทาทายการที่
นักศึกษาธรรมศาสตรกลุมหนึ่งเดินขบวนไปวางหรีดหนาสํานักงาน แมวาโดยสวนตัวผมคิดวา "เราสู" นาจะเปนที่
รูจักกันแลวกอนหนานั้นเล็กนอย

จาก "เราสู" ถึง 6 ตุลา


เพลงปลุกใจโดยทั่วไปและ "เราสู" โดยเฉพาะ มีบทบาทอยางไรในการตอสูทางการเมืองในชวงกอน 6 ตุลา? ผม
ขอเสนอวาเพลงปลุกใจ (หรือเพลงปฏิวัติ/เพื่อชีวิต) มีบทบาทเชนนั้นเอง - "ปลุกใจ" ผมหมายความวา เพลง
เหลานี้ไมไดมีบทบาทในการ "ใหการศึกษา" หรือ "ทําใหคนเชื่อ" ในสาระทางการเมืองที่มีอยูในเพลง พูดอีก
อยางหนึ่งก็คือ เพลงเหลานี้เปนเพลงเพื่อคนที่เชื่ออยูแลว ไมใชสําหรับทําใหคนที่ยังไมเชื่อหันมาเชื่อ สําหรับคน
พวกหลัง เนื้อหาของเพลงที่มีลักษณะการเมืองอยางสูงเชนนี้ เปนสิ่งที่ยากจะ "ซาบซึ้ง" ได แตสําหรับพวกที่เชื่อ
ในอุดมการณที่เพลงเหลานี้สะทอนอยูแลว เพลงชวยทําใหเกิดกําลังใจ, มีความสุข ("บันเทิง"), ใหความรูสึกที่
เปน "ชุมชน" รวมกับผูอื่นที่คิดอยางเดียวกัน และเพิ่มความเชื่อมั่นในสิ่งที่กําลังคิดและทํา, ทําใหอยากคิดแบบนั้น
และทําแบบนั้นใหมากขึ้นไปอีกดีขึ้นไปอีก - พูดอยางสั้นๆ ก็คือ "ปลุกใจ" นั่นเอง

กรณี ดาวสยาม ที่เพิ่งกลาวถึงเปนตัวอยางที่ดี หนังสือพิมพรูสึกวากําลังถูกโจมตีจากศัตรู (ขบวนการนักศึกษา)


ถึงกับมีการ "ยกกําลัง" มาที่สํานักงาน (ความจริงผูเดินขบวนไปวางหรีดวันนั้นนาจะมีไมกี่รอยคน) "เราสู" ถูกอาง
ขึ้นเพื่อยืนยันความถูกตองของตัวเอง โดยเฉพาะในสวนของเนื้อเพลงที่พูดถึงการปกหลักสู ในที่ที่ตัวเองอยู ("สู
ที่นี่ สูตรงนี้")

แนนอนวา การที่ "เราสู" เปนเพลงพระราชนิพนธยอมมีความหมายมากกวาเพลงปลุกใจทั่วไป สําหรับ ดาวสยาม


และกลุมพลังฝายขวาอื่นๆ (กระทิงแดง, ลูกเสือชาวบาน, นวพล) ทุกครั้งที่ไดยิน, รอง หรือเพียงแตนึกถึงเพลงนี้
ในใจ ยอมสามารถรูสึกไดวาสิ่งที่พวกเขากําลังทํานั้นไมเพียงแตถูกตอง แตเปนพระราชประสงค - พระราชบัญชา
- โดยตรง และแมในหลวงจะทรงมีพระราชดํารัสที่เปนตนกําเนิดของเพลงมาตั้งแตวันที่ 4 ธันวาคม 2518 หรือ
กระทั่งทรง "ปรุ" กลอนที่เขียนจากพระราชดํารัสเปน ส.ค.ส. ออกพระราชทาน ในวงจํากัด แตการคงอยูในใจ,
การพรอมใช (ready-to-use) ของเพลงยอมสูงกวา - และดวยเหตุนี้จึง "มีพลัง" กวา – พระราชดํารัสรอยแกวหรือ
กลอนธรรมดามาก

ชนวน: ภาพละครแขวนคอที่นําไปสูกรณี 6 ตุลา

ชนวน: ภาพละครแขวนคอที่นําไปสูกรณี 6 ตุลา

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

เมื่อวันที่ 6 ตุลาคมที่ผานมา (2543) ในระหวางงานรําลึก 6 ตุลาที่ธรรมศาสตร ใจ อึ๊งภากรณ อาจารย


คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดออกใบปลิวโจมตีหนังสือพิมพ บางกอกโพสต โดยมี
ขอความตอนหนึ่งวา

ในวันที่ 5 ตุลาคม 2519 หนังสือพิมพบางกอกโพสต และหนังสือพิมพ ดาวสยาม ไดตีพิมพรูปภาพของ


การเลนละครที่ธรรมศาสตร โดยเสนอขาวในทํานองวานักศึกษาจงใจดูหมิ่นเจาฟาชาย หลายคน เชน
อดีตนายกรัฐมนตรีเสนีย และ ดร. ปวย มีความเห็นวามีการแตงภาพและปนน้ําเปนตัว ในเรื่องนี้ อยางไรก็
ตาม สิ่งที่เปนความจริงคือนักศึกษาไมไดเลนละครดูหมิ่นแตอยางใด ไมวาจะมีการแตงภาพหรือไม และ
ที่สําคัญคือการประโคมขาวดังกลาวของสื่อมวลชนบางกลุมนําไปสูเหตุการณนองเลือดและการทําทารุณ
กรรมในเชาวันที่ 6 ตุลาคม หนังสือพิมพ บางกอกโพสต ไมเคยขอโทษ เรื่องนี้แตอยางใดตอผูถูกกระทํา
ในวันนั้น.... ฝายบริหารของหนังสือพิมพมิไดพัฒนาตนเองจาก 24 ปกอนแตอยางใด

ในคําสัมภาษณของใจตอสํานักขาวไทยและในแถลงขาวของคณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยาน
เหตุการณ 6 ตุลาที่เขาเปนเลขานุการ ที่ออกเผยแพรในวันนั้น ก็มีขอความพาดพิงถึง บางกอกโพสต ใน
ลักษณะเดียวกัน

วันตอมา บางกอกโพสต ไดออกแถลงการณในหนาหนึ่ง ยืนยันอยางหนักแนนวาไมไดมีสวนรวมใน


แผนการยั่วยุใหเกิดกรณีนองเลือด 6 ตุลา และโจมตีใจวากลาวหา โพสต อยางไมมีหลักฐาน อันที่จริง สี่
ปกอนหนานี้ ในวาระครบรอบ 20 ปของเหตุการณ 6 ตุลา โพสต ไดออกแถลงการณหนาหนึ่งชี้แจงความ
เปนมาของภาพที่ตีพิมพในฉบับวันที่ 5 ตุลาคม 2519 อยางละเอียด แตคําชี้แจงไมเปนผล เปนที่ทราบ
กันดีวา ความเชื่อที่ใจแสดงออกไมใชของใจคนเดียว

เห็นไดชัดวา เรื่องนี้ไมใชความขัดแยงสวนตัวระหวางใจ อึ๊งภากรณกับ บางกอกโพสต แตเกี่ยวพันถึง


ความจริงทางประวัติศาสตรที่สําคัญ ผมเห็นวาหลังจาก 24 ป นาจะถึงเวลาที่เรื่องนี้มีขอยุติ ยิ่งกวานั้น
ผมยังเชื่อวาแมหลักฐานชิ้นสําคัญบางอันจะยังขาดหายไปดังจะไดอธิบายตอไป เราก็สามารถรูแลววา
ความจริงขั้นพื้นฐานของเรื่องนี้คืออะไร

สําหรับผูที่ไมตองการอานบทความนี้ตอหรือตองการจะทราบขอสรุปทันที (ผมขอเตือนวารายละเอียด
ของเรื่องที่จะเลาขางลางคอนขางจะซับซอน) นี่คือสิ่งที่ผมพบจากการตรวจสอบหลักฐานที่เกี่ยวของ:

(1) บางกอกโพสต ไมเคย "เสนอขาวในทํานองวานักศึกษาจงใจดูหมิ่นเจาฟาชาย" ดวยเหตุนี้ จึงไมมี


ความจําเปนตอง "ขอโทษ" ในเรื่องนี้แตอยางใด

(2) แมวาภาพถายละครที่ตีพิมพใน ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม 2519 จะถูกกลุมพลังฝายขวายกขึ้นมาอางและ


แจงความตอตํารวจ กลาวหาวานักศึกษาหมิ่นองครัชทายาท แตภาพดังกลาวไมใชภาพที่ถูกนํามา
รณรงคโจมตีนักศึกษาและระดมกําลังฝายขวาในบายวันนั้น อยางนอยก็ไมใชภาพที่ถูกใชเปน หลัก ภาพ
ที่ทําหนาที่นั้นคือภาพที่ตีพิมพใน ดาวสยาม ซึ่งเปนคนละภาพกับที่ตีพิมพใน โพสต และ ดาวสยาม ก็
เปนเพียงฉบับเดียว (โดยการรวมมือของ วิทยุยานเกราะ) ที่ "เสนอขาวในทํานองวานักศึกษาจงใจดูหมิ่น
เจาฟาชาย" คือสรางสถานการณในบายวันที่ 5 อันนําไปสูการนองเลือดในวันรุงขึ้น

(3) มีความเปนไปไดวา กลุมฝายขวาจะ "ไดไอเดีย" สรางสถานการณ โจมตีนักศึกษาครั้งแรกจากการ


เห็นภาพที่ตีพิมพใน บางกอกโพสต แตความเปนไปไดนี้ (และขอเท็จจริงในขอ 2 ที่วา โพสต ถูกพวก
เขานํามาอาง) ไมควร ถูกนํามาใชโจมตีวาเปนความผิดของ โพสต เพราะถาเชนนั้น ผูที่เลนละครก็
สามารถถูกกลาวหาวามีความผิดไดเพราะเลนละครที่ทําใหฝายขวา "ไดไอเดีย" ขึ้น ความจริงคือ ทั้งผู
เลนละครและ โพสต เพียงแตทําหนาที่ของตนไปตามปกติ คือสะทอนเหตุการณออกมาเปนละครและ
เสนอภาพขาวที่นาสนใจ

(4) ในความเห็นของผม ภาพที่ตีพิมพใน บางกอกโพสต เปนภาพจริง ไมไดรับการแตง ยิ่งกวานั้น แมแต


ภาพใน ดาวสยาม ก็เปนภาพที่ไมไดรับการแตง การสรางสถานการณในบายวันที่ 5 ไมจําเปนตองอาศัย
ความ "เหมือน" หรือ "ไมเหมือน" ของผูแสดงละครในภาพ

ละครกลางแจงที่ลานโพธิ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแสดงระหวางพักเที่ยงวันที่ 4 ตุลาคม 2519 จาก


เวลานั้นถึงเชาวันที่ 6 ตุลา มีหนังสือพิมพภาษาไทยออกวางจําหนาย 3 ครั้ง (หรือ 3 "กรอบ" ตามที่เรียก
กันในวงการ) คือ บายวันที่ 4 (แตพิมพหัวเปนวันที่ 5), เชาวันที่ 5 และบายวันที่ 5 (แตพิมพหัวเปนวันที่
6) ถานับรวมฉบับที่ออกเชาวันที่ 6 ดวยก็จะเปน 4 ฉบับ

ปกติ ดาวสยาม จะตางจากหนังสือพิมพภาษาไทยฉบับอื่น (ไทยรัฐ, เดลินิวส) แตเหมือนกับ สยามรัฐ


คือออกเฉพาะตอนบายของแตละวัน (และพิมพหัววันที่วันนั้นเหมือน สยามรัฐ) แตในชวงเหตุการณ 6
ตุลานั้น ดาวสยาม ออกวันละ 2 กรอบ นี่เปนขอเท็จจริงสําคัญที่คนรุนผมหลายคนไมเห็นดวย แตผม
สามารถพิสูจนได อยางไรก็ตามจะเปนเรื่องยาวเกินไปที่จะอธิบายขอพิสูจนในที่นี้

จากการแสดงละครถึงการนองเลือด ดาวสยาม ออกวางตลาด 3 ครั้ง คือ บายวันที่ 4 (ลงหัววันที่ 5), เชา


วันที่ 5 และบายวันที่ 5 (ลงหัววันที่ 6) ถานับเชาวันที่ 6 ดวย ก็จะเปน 4 ฉบับดวยกัน

ปญหาแรกที่เกิดขึ้นสําหรับผูที่ตองการสืบคนความจริงกรณี 6 ตุลาในปจจุบันคือ ดาวสยาม ที่มีเก็บอยูใน


หอสมุดแหงชาติขณะนี้และที่ทุกฝายมีอยูในมือ (เทาที่ผมทราบ) เปน ดาวสยาม ฉบับที่ออกในตอนเชา
ทั้งวันที่ 5 และ 6 ยกตัวอยางเชน ฉบับวันที่ 6 ตุลาที่มีการถายภาพมาแสดงในนิทรรศการ 6 ตุลา เมื่อสี่ป
กอน ก็เปนฉบับที่ออกในเชาวันนั้นจริงๆ ไมใชที่ออกในตอนบายวันที่ 5 เพราะฉะนั้น รูปถายละครแขวน
คอที่ปรากฏ จึงไมใชรูปที่ใชในการปลุกระดมมวลชนฝายขวาในบายและค่ําวันที่ 5

ที่สําคัญ มีหลักฐานวา ดาวสยาม ตีพิมพภาพที่ถายจากการแสดงละครครั้งแรกตั้งแตฉบับที่ออกในบาย


วันที่ 4 (ลงหัววันที่ 5) แต ดาวสยาม กรอบนี้ปจจุบันหาไมไดแลว ภาพนี้จะมีลักษณะอยางไรไมสามารถ
บอกได แตจากคําของ ดาวสยาม เองที่พูดถึงเมื่อเกิดการกลาวหาวานักศึกษาแสดงละครหมิ่นองครัช
ทายาทแลว "ภาพนั้นเล็กและดูไมชัดเจน" สรุปแลวในชวงบายและเย็นวันที่ 4 ดาวสยาม และกลุมฝาย
ขวายังไมรูสึกวามีอะไรผิดปกติเกี่ยวกับละครหรือภาพจากละครที่ลงใน ดาวสยาม ครั้งแรกเอง

คงเพราะเหตุนี้ หนังสือพิมพ ดาวสยาม กรอบตอมาคือที่ออกในเชาวันที่ 5 จึงไมมีภาพเกี่ยวกับการแสดง


ละครเลย ในทางกลับกัน ในเชาวันนั้น หนังสือพิมพ 3 ฉบับที่พิมพภาพที่ถายจากการแสดงละครไมใช
หนังสือพิมพฝายขวา คือ ประชาธิปไตย, เนชั่น และ บางกอกโพสต (มีหลักฐานวา อธิปตยของศูนยนิสิต
ฯ เองก็พิมพภาพจากละคร แตผมหาดูไมไดในขณะนี้) แต โพสต เปนฉบับเดียวที่เห็นหนาดานตรงของผู
แสดงที่ถูกแขวน (หมายถึงอภินันท บัวหภักดี ประชาธิปไตย เปนภาพดานตรงของวิโรจน ตั้งวาณิชย ผู
แสดงอีกคนหนึ่ง ทั้งยังเปนภาพเล็กและมัวมาก สวน เนชั่น เปนภาพดานขางของอภินันท) คําบรรยายใต
ภาพของ โพสต บอกอยางชัดเจนวาเปนการแสดง "ฉาก...การฆาแขวนคออยางทารุณของแอคติวิสต
สองคนหลังการกลับมาของอดีตผูเผด็จการ ถนอม กิตติขจร"

ผมเห็นวาขอเท็จจริงนี้เปนจุดสําคัญที่ยืนยันวาการพิมพภาพละครในเชาวันที่ 5 ของ บางกอกโพสต ไม


เกี่ยวกับพวกฝายขวา เพราะถาพวกฝายขวาตองการเผยแพรภาพโดยมีแผนลวงหนาที่จะจุดชนวนระดม
คน พวกเขานาจะเอาไปพิมพใน ดาวสยาม ในเชาวันนั้นมากกวา

ตามแถลงการณเมื่อสี่ปกอนของบางกอกโพสต ตั้งแตเชาวันนั้น มีผูโทรศัพทมาที่สํานักงานขมขูกลาวหา


ที่ตีพิมพภาพนั้น แตตามบันทึกของพลเอก วัลลภ โรจนวิสุทธิ์ ในหนังสือ ยังเตอรกของไทย (2521)
"กลุมผูรักชาติและชมรมแมบานจํานวนประมาณ 300 คน" ที่ชุมนุมกันหนาทําเนียบรัฐบาลตั้งแต เชาวัน
นั้นเพื่อเรียกรองใหเสนีย รับสมัคร สุนทรเวช และสมบุญ ศิริธร กลับเปนรัฐมนตรี เมื่อใกลจะสลายตัวตอน
บายสามโมง "ก็เกิดเหตุการณที่คาดไมถึงขึ้นมาและมีผลสะทอนรายแรงยิ่งนัก กลาวคือผูที่มาชุมนุมอยู
นั้นไดหนังสือพิมพบางกอกโพสตประจําวันที่ 5 ตุลาคม 2519 มาสามสี่ฉบับ มีภาพ ผูถูกแขวนคอเหมือน
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช...."

ผมคิดวาปญหาเรื่องเวลาวาฝายขวา "เกิดไอเดีย" เกี่ยวกับรูปใน บางกอกโพสต เมื่อไร คงยากจะยืนยัน


ลงไปใหแนนอนแลวในปจจุบัน แตคิดวานาจะเปนประมาณบายตนๆ เมื่อนางนงเยาว สุวรรณสมบูรณ
สมาชิกชมรม แมบาน เขาแจงความที่สน.ชนะสงครามในค่ํานั้น วาศูนยนิสิตฯ เลนละครหมิ่น องครัช
ทายาทก็เลาวา "14.00 น. ตนไดเห็นภาพในหนา นสพ. บางกอกโพสต...." หนังสือพิมพทุกฉบับที่
รายงานขาวการชุมนุมของพวกนี้จนถึงประมาณเที่ยงวันหรือหลังเที่ยงวันเล็กนอย ก็ยังไมมีการกลาวถึง
เรื่องภาพการแสดงละคร

แตหลังจากนั้น เรื่องนี้ไดแพรกระจายไปในหมูกลุมพลังฝายขวาในขณะนั้นอยางรวดเร็ว ดาวสยาม เอง


ไดรายงานเรื่องนี้ไวอยางนาสนใจดังนี้

เมื่อวันที่ 5 เดือนนี้เวลา 17.00 น. ไดมีบุคคลหลายอาชีพไดนัดประชุมโดย ยกรูปภาพในหนาของ นสพ.


ดาวสยาม ฉบับวันที่ 5 ต.ค. (กรอบแรก) [คือฉบับที่ออกในบายวันที่ 4 - สมศักดิ์] และไดนํามาวิเคราะห
ถึงภาพและการกระทําของศูนยกลางนิสิตนักศึกษาที่เลนละครการเมืองในบริเวณลานโพธิ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยไดวิเคราะหวารูปภาพนั้นเหมือนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช แตเนื่องจาก
ภาพนั้นเล็กและดูไมชัดเจน จึงไดติดตอขอมาที่ นสพ.ดาวสยาม และทาง นสพ. ดาวสยาม ก็ไดใหความ
รวมมือ โดยขยายภาพใหชัดเจนและไมไดมีการตบแตงภาพแตอยางไร สงไปใหยังตัวแทนของบุคคล
กลุมนี้ที่มาขอรับ ที่ประชุมของบุคคลกลุมนี้ ไดมีมติเห็นพองตองกันเปนเอกฉันทวาภาพนี้เปนภาพที่สอ
เจตนาดูหมิ่นราชวงศจักรี....
ที่นาสนใจไมแพกันคือ ไทยรัฐ ซึ่งกลาววา "ทางดานกลุมตอตานนักศึกษาเปดประชุมกันเครียดตั้งแต
บายวันที่ 5 นี้ ณ ที่แหงหนึ่ง..." แลวรายงานเรื่องที่พวกนี้ประชุมกันราวกับมีนักขาวเขารวมฟงอยูดวย

ผมเขาใจวา ในชวงบายวันที่ 5 นั้นเอง ดาวสยาม กรอบบาย (ลงวันที่ 6 ตุลาคม) ไดตีพิมพภาพจากการ


แสดงละครอีกครั้ง และภาพนี้แหละที่ถูกใชในการระดมพลของฝายขวาตลอดเย็นและค่ําวันนั้น นา
เสียดายที่ ดาวสยามกรอบนี้ปจจุบันหาไมไดเชนกัน (ดังที่กลาวในตอนตนวาฉบับวันที่ 6 ที่ทุกคนเห็น
จากหอสมุดแหงชาติในขณะนี้เปนคนละกรอบกัน)

ผมเชื่อวาตัวเองเคยเห็นภาพละครแขวนคอใน ดาวสยาม ที่ถูกใชรณรงคกลาวหานักศึกษาในบายวันที่ 5


นั้น ในความจําของผม เปนภาพแบบ "โคลสอัพ" ขนาดใหญ เห็นตัวละครที่ถูกแขวนเพียงครึ่งตัว เปนไป
ไดวานี่คือ ภาพที่ ดาวสยาม เองกลาวถึงวาได "ขยายภาพใหชัดเจนและ...สงไปใหยังตัวแทน" ของกลุม
ฝายขวาในเย็นนั้น (และอาจจะมาจากเปนภาพที่ทั้ง ดาวสยาม และ บานเมือง พิมพในกรอบเชาวันที่ 6
แตอันหลังซึ่งไมมีผลตอการรณรงคแลว จะเปนระยะไกลขึ้น แสดงตัวผูเลนเกือบทั้งตัว) ที่แนๆคือเปนคน
ละภาพกับที่พิมพใน บางกอกโพสต

ทําไมผมจึงพูดในตอนตนวาแมแตภาพใน ดาวสยาม ตอนบายวันที่ 5 นี้ก็ไมนาจะเปนภาพแตง? ผมไมได


ตองการเสนอวาเพราะหนาคนเลนละคร "เหมือน" อยูแลวจึงไมตองแตงภาพ แตตองการจะเสนอวา
ความรูสึกที่วา "เหมือน" นั้นที่สําคัญไมใชมาจากหนาคนเลนละครแตมาจากความรับรู (perception) ที่
แพรหลายไมเพียงแตในหมูฝายขวา แตในหมูคนจํานวนไมนอยในขณะนั้นวา ขบวนการนักศึกษา "แอนตี้
สถาบัน" ดวยเหตุนี้ ขอเพียงแตใหองคประกอบบางอยางของภาพมีสวนคลายคลึงเทานั้น ก็ทําใหคิดไป
ในทางนั้นไดทันที ในแงนี้ เสื้อชุดทหารที่ตัวละครใสอาจจะมีผลตอความรูสึกของคนดูภาพ มากกวา
ใบหนาตัวละครเสียอีก

เมื่อถึงเชาวันที่ 6 ตุลาคม หนังสือพิมพแทบทุกฉบับก็ลงขาวเรื่องนักศึกษาถูกกลาวหาวาเลนละครหมิ่น


องครัชทายาทแลวราวกับวานักศึกษาผิดจริงๆ และที่เหมือนกับจะเปนการเยาะเยย (irony) ของ
ประวัติศาสตรก็คือ บางกอกโพสต อาจเปนฉบับที่ลงขาวเขาขางนักศึกษาที่สุดในสถานการณเชนนั้น
แมแต ไทยรัฐ หรือ ประชาชาติ ที่เคยเขาขางนักศึกษามาตลอดก็พาดหัววา "จับนักศึกษาหมิ่นฟาชาย"
และ "สั่งสอบแขวนคอลานโพธิ์ ระบุภาพหมิ่นองครัชทายาท" ตามลําดับ โพสต เกือบเปนฉบับเดียวที่ไม
ยอมระบุตรงๆเชนนั้น แตกลับพาดหัวเพียงวา "สั่งสอบละครแขวนคอ ศูนยนิสิตปฏิเสธผูแสดงหนาเหมือน
ใครทั้งสิ้น"

คืนที่ยาวนาน: การไมตัดสินใจสลายการชุมนุมในธรรมศาสตรคืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519

คืนที่ยาวนาน: การไมตัดสินใจสลายการชุมนุมในธรรมศาสตรคืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

ชวงบายและเย็นวันอังคารที่ 5 ตุลาคม 2519 หนังสือพิมพบางฉบับไดนําเอาภาพที่ถายจากการแสดง


ละครกลางแจงในระหวางการชุมนุมประทวงการกลับมาของจอมพลถนอม กิตติขจรของนักศึกษาที่ลาน
โพธิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในวันกอนหนานั้นมาตีพิมพในลักษณะโจมตีวา นักศึกษาแสดงละครหมิ่น
องครัชทายาท กลุมการเมืองฝายขวาตางๆในขณะนั้นไดอาศัยเรื่องนี้ระดมกําลังขึ้นอยางรวดเร็วโดยมี
สถานีวิทยุยานเกราะเปนศูนยกลาง มีการเรียกรองใหประชาชนผูจงรักภักดีไปชุมนุมกันในเชาวันรุงขึ้นทั้ง
ที่สนามหลวงและลานพระบรมรูปทรงมา เพื่อจัดการกับนักศึกษาที่กําลังชุมนุมอยูในธรรมศาสตรอยาง
เด็ดขาด

ประมาณสามทุมเศษของคืนนั้น สุธรรม แสงประทุมและกรรมการศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศ


ไทยไดนําผูแสดงละครออกแถลงขาวตอสื่อมวลชนที่ตึกองคการนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ
ติดตอขอเขาพบนายกรัฐมนตรีเพื่อชี้แจงทําความเขาใจในเชาวันรุงขึ้น อยางไรก็ตาม ยังไมทัน ที่ฟาจะ
สาง กําลังตํารวจและกลุมอันธพาลการเมืองฝายขวาที่ทําการปดลอมมหาวิทยาลัยอยูก็ไดลงมือโจมตี
การชุมนุมดวยอาวุธอยางขนานใหญ มีการจับผูชุมนุมมาทําทารุณกรรมตางๆ เชน แขวนคอ เผาทั้งเปน
ทํารายศพ ขมขืนทําอนาจาร ฯลฯ ผูชุมนุมเสียชีวิตหลายสิบคน ที่เหลืออีกกวาสามพันคน ถูกทําราย
รางกายและกวาดตอนไปขัง
ขณะที่การกระทําของตํารวจและกลุมอันธพาลการเมืองฝายขวาในเชาวันนั้นเปนสิ่งที่ผิดกฎหมายและ
ศีลธรรมอยางไมมีขอสงสัย คําถามหนึ่งที่เกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมไดคือ เหตุใดนักศึกษาจึงไมยุติการ
ชุมนุมตั้งแตคืนวันที่ 5 ตุลาคม เมื่อมีการกอกระแสเรื่องหมิ่นองครัชทายาท? และถาทําเชนนั้นจะสามารถ
หลีกเลี่ยงความสูญเสียในเชาวันที่ 6 ตุลาคมไดหรือไม?

ในชวงที่เกิดเหตุการณ 6 ตุลา ผมเปนผูหนึ่งที่มีหนาที่ในการตัดสินใจกําหนดจังหวะกาวการเคลื่อนไหว


ของขบวนการนักศึกษา ตลอดยี่สิบกวาปที่ผานมา ผมถูกถามและถามตัวเองถึงคําถามในลักษณะนี้
บอยครั้ง ตนป 2521 คือหลังจากรัฐบาลธานินทร กรัยวิเชียรที่มีอํานาจจากเหตุการณ 6 ตุลาและที่มี
นโยบายปดกั้นการแสดงออกทางการเมืองอยางเบ็ดเสร็จถูกรัฐประหารโคนไป และเริ่มมีเสรีภาพของการ
แสดงออกขึ้นอีก ก็เริ่มมีผูตั้งคําถามทํานองนี้ในที่สาธารณะเปนครั้งแรก ขณะนั้นผมกับเพื่อนอีก 18 คน
กําลังติดคุกและถูกสงขึ้นศาลในคดี 6 ตุลา เราไดคุยตกลงกันวาจะทําการชี้แจงและตอบโตการโจมตีใน
เรื่องนี้และเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวกับ 6 ตุลา เราไดจัดสัมมนากันเองในคุกแลวเขียนเปนขอสรุปออกมา โดยมี
ผมเปนผูราง แลวสงออกมาเผยแพรขางนอก ทั้งแบบ "ใตดิน" (ในฉบับเต็ม) และ "บนดิน" (ในฉบับ
ดัดแปลงแกไขถอยคํา ซึ่งคนขางนอกคุกทําเอง)

ในสวนที่เกี่ยวกับทาทีของเราในค่ําวันที่ 5 ตุลาคมนั้น พวกเราซึ่งหลายคน มีสวนรวมในการตัดสินใจได


สรุปออกมาวา

คืนวันที่ 5 ตุลาคม... ฝายเราไดตกลงใหดําเนินการดังตอไปนี้ (1) แถลงขาวเปดเผยขอเท็จจริงแก


สื่อมวลชน (2) ติดตอกับรัฐบาลขอเขาพบเพื่อชี้แจงขอเท็จจริงซึ่งรัฐบาลตกลงใหเขาพบไดในวันรุงขึ้น
.... (3) เคลื่อนยายผูปฏิบัติงานสวนหนึ่งออกจากธรรมศาสตรเพื่อรับมือกับการสรางสถานการณ (4) ตก
ลงใหสลายการชุมนุมในวันรุงขึ้น เหตุที่ตองสลายการชุมนุมในวันรุงขึ้นก็เพราะเห็นวาสถานการณอาจจะ
รุนแรงขึ้นได การสลายไมอาจทําไดในตอนกลางคืน เพราะเราไมสามารถประกันความปลอดภัยแกผูรวม
ชุมนุมได

ในความทรงจําของผม ขณะนั้น (คือป 2521) เราคิดวากําลังตอสูทางการเมืองกับผูที่ตองการบิดเบือนวา


กรณี 6 ตุลาเปนความผิดของนักศึกษาเอง การสัมมนาและขอสรุปที่เขียนขึ้นถูกชี้นําดวยความคิดนี้ ผมจํา
ไดวาขณะที่เขียนถึงการตัดสินใจในคืนวันที่ 5 ผมมีความลําบากที่ดานหนึ่งตองพยายามไมเขียนใหผิด
ขอเท็จจริง แตอีกดานหนึ่งก็ตองระวังไมสรางความชอบธรรมใหกับผูที่โจมตีเรา ในความเปนจริงผม
ตระหนักดีวามาตรการที่ 1 และ 2 นั้น ไมเกี่ยวกับประเด็นวาจะสลายการชุมนุมหรือไม (ซึ่งเปนประเด็น
สําคัญที่สุดที่เราถูกโจมตี) ยิ่งกวานั้น ถาจําไมผิด จากการสัมมนาพบวาในคืนวันที่ 5 นั้น แมเราจะมีการ
พูดถึงการสลายการชุมนุมในวันรุงขึ้น แตความจริงไมไดมีการพิจารณาถกเถียงถึงเรื่องนี้อยางจริงจังหรือ
ตกลงอยางเปนมติทางการ การคุยเรื่องนี้ออกมาในลักษณะที่วา มีคนถามกอนแยกยายเลิกประชุมในราว
สามสี่ทุมวา ถาสถานการณรุนแรงขึ้นจะทําอยางไร ก็มีบางคนตอบวาใหเลิก ชุมนุม แตไมมีการอภิปราย
อะไรเพิ่มเติมในที่ประชุม เพราะความสนใจของผูรวมประชุมไมไดอยูที่ประเด็นนั้น สวนที่วาการสลาย
ชุมนุมในตอนกลางคืนทําไมไดนั้น ก็ไมใชเปนผลจากการถกเถียงอภิปรายอยางจริงจังกวางขวาง แตเปน
ความเขาใจรวมกันของพวกเราในสมัยนั้นมากกวา ที่สําคัญ เนื่องจากเราไมไดมีการพิจารณาประเด็น
สลายการชุมนุมอยางจริงจัง ประเด็นเรื่องจะสลายคืนนั้นไดหรือไมจึงไมไดถูกหยิบยกขึ้นมา

นับตั้งแตการสัมมนาในคุกครั้งนั้น ทุกครั้งที่มีการพูดถึงเรื่องนี้ในที่สาธารณะ ผมและเพื่อนก็จะเสนอใน


แนวเดียวกันวา คืนวันที่ 5 ตุลาคม เราไดตัดสินใจในทางหลักการใหสลายการชุมนุมแลว แตเห็นวาทํา
ไมไดในตอนกลางคืนเพราะไมปลอดภัยตอผูรวมชุมนุม ตองรอถึงเชา ซึ่งเมื่อถึงเวลาก็ถูกโจมตีกอน...

ผมอยากจะย้ําวาที่พูดนี้ไมไดแปลวาพวกเราจงใจโกหก แตผมเชื่อวาเราไดขยายความใหน้ําหนักเพิ่มเติม
กับสิ่งที่เปนเพียงความเขาใจแบบหลวมๆ ("ถาพรุงนี้สถานการณรุนแรงก็สลาย") ใหเปนมติอยางเปน
ทางการ ("ตกลงจะสลายตอนเชา") และภายใตการกดดันของการตอสูทางการเมืองเพื่อยืนยันวาฝายเรา
ไมใชผูผิดในกรณี 6 ตุลา ทําใหสิ่งนี้กลายเปนความทรงจํารวมของพวกเราไป (แบบเดียวกับความทรงจํา
เรื่องการตัดสินใจใหเคลื่อนขบวนไปหนาสวนจิตรลดาในคืนวันที่ 13 ตุลาคม 2516 ซึ่งในความเปนจริง
นาจะมาจากเหตุผลบางอยาง แตความจําเปนของการตอสูกับผูโจมตีการตัดสินใจนั้น ทําใหผูนํา
เดินขบวนตองชูเหตุผลอื่นแทน เมื่อเวลาผานไปก็เลยกลายเปนความเชื่อของเขาเองวาเขาไดตัดสินใจ
ไปเพราะเหตุผลที่ชูขึ้นทีหลังนี้จริงๆ)

เพื่อนบางคนที่เขารวมทั้งการตัดสินใจในคืนวันที่ 5 ตุลาและการสัมมนา ทบทวนเรื่องนี้ในคุกอาจจะแยง


วาความจําในเรื่องนี้ทั้งหมดของผมผิดพลาด เพื่อใหไมเปนการเขาใจผิดในสิ่งที่ผมตองการเสนอใน
บทความนี้ ผมขอใหสมมุติวาความจําของผมที่กลาวมาขางตนผิดจริง ใหสมมุติวาในคืนวันที่ 5 มีการ
อภิปรายตัดสินใจอยางจริงจังวาจะสลายการชุมนุม แตตกลงกันวาทําไมไดในคืนนั้นเพราะไมปลอดภัย
จะทําในวันรุงขึ้น -- ตอใหสมมุติเชนนี้ ผมก็ยังเห็นวา การไมสลายการชุมนุมในคืนนั้นเปนความผิดพลาด
สิ่งที่เปนกุญแจในเรื่องนี้ทั้งหมดมี 2 อยางคือเวลาและความเปนไปไดของการคาดการณลวงหนา

เหตุผลที่วาไมสามารถสลายการชุมนุมตอนกลางคืนไดเพราะไมสามารถประกันความปลอดภัยแกผูชุมนุม
ที่สลายตัวนั้นอาจจะจริง ถาเราพูดถึงหลังเที่ยงคืนไปแลว แตผมคิดวาแมแตผูที่คิดเชนนี้ก็นาจะยอมรับวา
มีความเปนไปไดอยางสูงที่จะสลายการชุมนุมอยางปลอดภัยในเวลาสามหรือสี่ทุม (ซึ่งเปนเวลาปกติ
สําหรับการชุมนุมที่ไมขามคืน) หรืออาจจะดึกกวานั้นถึงหาทุมหรือเที่ยงคืนได กําลังตํารวจที่ทําการปด
ลอมมหาวิทยาลัยในคืนนั้นและเขาโจมตีในตอนเชายังไมเขาประจําที่จนเลยเที่ยงคืนไปมากแลว (ตํารวจ
พลรมมาถึงราวตีหา) ในสวนกลุมอันธพาลการเมืองที่มีอยูบาง (ผมเชื่อวาพวกนี้สวนใหญก็อาจจะมาถึง
กอนเชาไมนาน) ก็ไมไดมีทีทาวาจะลงมือกอนหนานั้น และลําพังพวกนี้ซึ่งมีอยูกับการชุมนุมไมวาเวลาใด
ก็ไมนาจะเปนปจจัยใหไมสามารถสลายการชุมนุมได

ชวงเวลาประมาณสามถึงสี่ทุมเปนชวงที่เราประชุมพิจารณามาตรการที่จะตอบโตขอกลาวหา หมิ่นองครัช
ทายาทและติดตอรัฐบาลขอเขาพบ มีการเปดแถลงขาวตอสื่อมวลชนในชวงนั้น หากเราใหความสําคัญ
เปนอันดับแรกกับการสลายการชุมนุม เราก็สามารถตัดสินใจสลายไดในตอนนั้น กอนหรือพรอมๆไปกับ
การเปดแถลงขาวและติดตอรัฐบาล ปญหาอยูที่วาในชวงเวลานั้น มีความเปนไปไดหรือไมที่เราจะ
ตัดสินใจเชนนั้น ผมหมายถึงวาเราจะสามารถคาดการณลวงหนาไดเพียงใดวาวันรุงขึ้นจะเกิดอะไรขึ้น?

ผมเห็นวาที่ผานมา ผูที่คิดหรือโจมตีวาขบวนการนักศึกษานาจะสลายการชุมนุมในคืนวันที่ 5 นั้นอาศัย


เหตุผลที่ผิดมาสนับสนุนความคิดของตน คืออาศัยความรูหลังเหตุการณที่วาเกิดอะไรขึ้นจริงในเชาวันที่
6 มาตัดสินการตัดสินใจในคืนวันที่ 5 เขาทํานอง "ถาสลายการชุมนุมก็จะไมถูกฆาหมูทารุณกรรม" ผมยัง
ยืนยันวาขอเสนอเชนนี้ผิด เพราะไมมีใครแมแตผูที่ลงมือฆาหมูและทําทารุณกรรมในเชาวันที่ 6 เอง
สามารถรูลวงหนาตั้งแตคืนวันที่ 5 วาจะ เกิดการฆาหมูทารุณกรรมในลักษณะที่เกิดขึ้นจริง ผม
หมายความวา ในความเห็นของผม พวกเขาไมไดวางแผนมาวาจะทําแบบที่ไดทําจริงๆ สิ่งที่พวกเขา
ตั้งใจไวมากที่สุดคือจะ "จัดการ" นักศึกษาในธรรมศาสตรดวยความรุนแรง แตเมื่อพวกเขาปลอยความ
รุนแรงออกมาแลว รูปแบบการคลี่คลายของมันเปนเรื่องเปนไปเอง

ดวยเหตุนี้ ผมจึงยังยืนยันวาขบวนการนักศึกษาไมสามารถตัดสินใจไดตั้งแตคืนวันที่ 5 วาควรยุติการ


ชุมนุมเพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งที่เกิดขึ้นในเชาวันที่ 6 เพราะไมมีใครแมแตคนเดียวที่สามารถรูหรือคาดการณได
วาจะเกิดเหตุการณอยางที่เกิดขึ้นจริงในเชาวันที่ 6

แตผมขอเสนอในที่นี้วา เราสามารถและควรจะตัดสินใจสลายการชุมนุมในคืนวันที่ 5 ตุลาคม ดวยเหตุผล


ที่ "งาย" กวานั้น "เล็ก" กวานั้นได

เราไมรูวาจะเกิดอะไรขึ้น "ไมรูพวกมันจะเอายังไง" แตที่แนๆ ครั้งนี้ "ประเด็นที่พวกมันใชกอกระแสโจมตี


เราเปนประเด็นที่ผิดปกติอยางมาก ถาใหดีเรานาจะกลับไปตั้งหลักใหมรอดูสถานการณ เลิกชุมนุม
ชั่วคราวคืนนี้ ถาไมมีอะไร วันหลังคอยเรียกชุมนุมใหม" ผมเชื่อวาเราสามารถที่จะคิดทํานองนี้ไดในคืน
นั้น และสลายการชุมนุมไปในชวงสามหรือสี่ทุม

อยางไรก็ตาม ผมขอเสนอตอไปดวยวา ตอใหเราสลายการชุมนุมในคืนนั้น ความรุนแรงในเชาวันที่ 6


ตุลาคม เปนสิ่งที่ไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตจะเปนความรุนแรงในรูปแบบที่ตางจากที่เกิดขึ้นจริง ผมคิด
วาในขั้นต่ําที่สุดและเปนไปไดอยางมากที่สุดคือ จะเกิดการเผาทําลายธรรมศาสตรอยางที่ไดเกิดขึ้นใน
วันที่ 20 สิงหาคม 2518 แตนอกเหนือจากอาคารสถานที่แลวเราจะสูญเสียอะไรอีกหรือไม? คงไม
สามารถบอกไดโดยแนนอน ถาเราโชคราย สุธรรมและเพื่อนที่เดินทางไปพบนายกรัฐมนตรีในเชาวันนั้น
อาจจะถูกรุมประชาทัณฑ สมาชิกครอบครัวและที่อยูอาศัยของนักกิจกรรมบางคนอาจถูกทําอันตราย
ทารุณกรรม "ขนาดยอย" เชน การจับบางคนมาแขวนคอ ฯลฯ ยังคงอาจเกิดขึ้นได ที่แนนอนคือ เปนไป
ไมไดที่จะหลีกเลี่ยงความรุนแรงในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งในวันที่ 6 ตุลาคม 2519

เพราะสถานการณที่พวกฝายขวากอขึ้นมาในบายวันที่ 5 ตุลาคม 2519 นั้นเหมือนกับผีดูดเลือดที่เมื่อถูก


ปลุกขึ้นมาแลวไมมีใครสามารถควบคุมได ไมมีใครสามารถทําใหมันสงบลงไดจนกวามันจะไดดื่มเลือด
คนจริงๆ

ใครเปนใครในกรณี 6 ตุลา
ใครเปนใครในกรณี 6 ตุลา

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

สงัด ชลออยู, ธานินทร กรัยวิเชียร และแผนรัฐประหารป 2519


ในหนังสือ บันทึกการปฏิวัติ 1-3 เมษายน 2524 กับขาพเจา (2525), บุญชนะ อัตถากร ไดตีพิมพเปน
หนึ่งในภาคผนวก บันทึกชวยจําที่เขาเขียนขึ้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2520 เกี่ยวกับการสนทนาระหวาง
เขากับ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู ระหวางงานศพ พล.อ.แสวง เสนาณรงค ที่มีขึ้นในคืนกอนหนานั้น เนื้อหา
ของบันทึกดังกลาว (หนา 186-187) มีดังนี้:

ระหวางสวดพระอภิธรรม ขาพเจาไดคุยกับพลเรือเอกสงัด เกี่ยวกับเหตุการณบานเมืองในปจจุบัน คําบอก


เลาตางๆของคุณสงัดในฐานะเปนหัวหนาคณะปฏิรูป 6 ตุลาคม 2519 และในฐานะรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงกลาโหม เปนความรูซึ่งคงไมคอยมีคนทราบ ขาพเจาจึงขอบันทึกไวดังตอไปนี้....

คุณสงัดเลาใหฟงวา ในเดือนกุมภาพันธ 2519 มีขาวลืออยูทั่วไปวา จะมีทหารคิดกอการปฏิวัติ เหตุการณ


บานเมืองในขณะนั้น ฝายซายกําลังฮึกเหิมและรบกวนความสงบอยูทั่วไป จึงไดกราบบังคมทูลขึ้นไปยัง
ในหลวงที่เชียงใหมซึ่งประทับอยูภูพิงคราชนิเวศนในขณะนั้นวา จะขอใหคุณสงัดซึ่งเปนผูบัญชาการ
ทหารสูงสุด (กับพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน ผูชวยผูบัญชาการฯ) กับพลเอกบุญชัย บํารุงพงศ ผู
บัญชาการทหารบก พลอากาศเอกกมล เดชะตุงคะ ผูบัญชาการทหารอากาศขึ้นไปเฝา แตในหลวงโปรด
เกลาฯใหคุณสงัดเขาเฝาคนเดียว ทั้งๆที่ตั้งใจวาถาเขาเฝาทั้ง 3 คนก็จะไดชวยกันฟงนํามาคิดและปฏิบัติ
โดยถือวาเปนพรสวรรค

เมื่อคุณสงัดไปเฝาในหลวงที่ภูพิงคราชนิเวศนนั้นไดไปโดยเครื่องบิน เขาเฝาคนเดียวอยูราว 2 ชั่วโมง


ครึ่งในตอนบาย ไปวันนั้นและกลับในวันเดียวกัน คุณสงัดบอกวาไมเคยเขาเฝาในหลวงโดยลําพังมากอน
เลย คราวนี้เปนครั้งแรก ไดกราบบังคมทูลใหทรงทราบถึงสถานการณบานเมืองวาเปนที่นาวิตก ถาปลอย
ไปบานเมืองอาจจะตองตกอยูในสถานะอยางเดียวกับลาวและเขมร จึงควรดําเนินการปฏิวัติ

คุณสงัดเลาตอไปวา อยากจะไดพรจากพระโอษฐใหทางทหารดําเนินการไดตามที่คิดไว แตในหลวงก็


มิไดทรงรับสั่งตรงๆ คงรับสั่งแตวาใหคิดเอาเองวาจะควรทําอยางไรตอไป

คุณสงัดเห็นวา เมื่อไมรับสั่งตรงๆก็คงดําเนินการไมได จึงกราบบังคมทูลวา ถาทางทหารยึดอํานาจการ


ปกครองไดแลวก็มิไดประสงคจะมีอํานาจเปนใหญตอไป จึงอยากจะใหฝายพลเรือนเขามาบริหารประเทศ
สมมุติวาถายึดไดแลวใครจะควรเปนนายกรัฐมนตรีตอจากนั้น เสร็จแลวคุณสงัดก็ไดกราบบังคมทูลรายชื่อ
บุคคลที่นาจะไดเปนนายกรัฐมนตรีทีละชื่อ เพื่อจะไดพระราชทานความเห็น

คุณสงัดเลาวา ไดกราบบังคมทูลชื่อไปประมาณ 15 ชื่อ รวมทั้งคุณประกอบ หุตะสิงห หลวงอรรถสิทธิ


สุนทร คุณประภาศน อวยชัย คุณเชาว ณ ศีลวันต ดวย แตก็ไมทรงรับสั่งสนับสนุนผูใด

เมื่อไมไดชื่อบุคคลที่นาจะเปนนายกไดและเวลาก็ลวงไปมากแลว คุณสงัดก็เตรียมตัวจะกราบบังคมทูล
ลากลับ แตกอนจะออกจากที่เฝา ในหลวงไดรับสั่งวา จะทําอะไรลงไปก็ควรจะปรึกษานักกฎหมาย คือ
คุณธานินทร กรัยวิเชียร ผูพิพากษาศาลฎีกาเสียดวย คุณสงัดบอกวาไมเคยรูจักคุณธานินทรมากอนเลย
พอมาถึงกรุงเทพฯก็ไดบอกพรรคพวกทางทหารใหทราบแลวเชิญคุณธานินทรมาพบ

คุณสงัดบอกวาไดถามคุณธานินทรวา ไดคุนเคยกับในหลวงมานานตั้งแตเมื่อใด คุณธานินทรบอกวาไม


เคยเขาเฝาในหลวงใกลชิดเลย แตอยางไรก็ดีคุณสงัดก็ไดเริ่มใชใหคุณธานินทรเตรียมคําแถลงการณ
ตางๆและเอกสารตางๆใหพรอม พิจารณาแลวก็เก็บไวในตูนิรภัยอยางเอกสารลับ เพื่อจะนําไปใชหลังจาก
การปฏิวัติแลว

คุณสงัดบอกตอไปวา ไดรอคอยโอกาสที่จะยึดอํานาจการปกครองอยูเรื่อยๆ แตก็ไมไดจังหวะ จนในที่สุด


ก็เกษียณอายุตองออกจากราชการ เมื่อ 1 ตุลาคม 2519 เพื่อนฝูงนายทหารผูใหญก็หาวาคุณสงัดเตะถวง
ซึ่งความจริงจะวาจริงก็ได เพราะยังไมมีเหตุผลหรือเหตุการณจะใหทําเชนนั้นไดงายๆ และในหลวงก็
ไมไดรับสั่งสนับสนุน

โดยที่คุณธานินทรไดรวมงานกอการมาดวยกันดังกลาว คุณสงัดบอกวา จึงไมมีเหตุผลอยางใดที่จะไม


กราบบังคมทูลใหในหลวงตั้งคุณธานินทรเปนนายกรัฐมนตรี สวนขาวลือที่วาคุณสงัดเสนอ 3 ชื่อ คือ คุณ
ประกอบ คุณประภาศน และคุณธานินทร และในหลวงเลือกคุณธานินทรนั้น ก็เปนเรื่องเลาๆกันไปอยาง
นั้นเอง
ธานินทร กรัยวิเชียร ไดยืนยันตอ ยศ สันตสมบัติ (ในหนังสือ อํานาจ บุคลิกภาพ และผูนําการเมืองไทย,
2533, หนา 136) วา "ผมไมเคยเขาเฝาหรือไดรับพระราชกระแสจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวใน
เรื่องนี้มากอนเลย แตผมก็ไดรับทราบจากคุณสงัด ชลออยูตามนั้น" คําถามที่นาสนใจคือ เหตุใดจึงทรง
แนะนําใหพล.ร.อ.สงัดไปปรึกษากับธานินทร ทั้งๆที่ฝายหลัง "ไมเคยเขาเฝาใกลชิดเลย"?

ธานินทรเกิดป 2470 (ปเดียวกับปพระราชสมภพ) สําเร็จการศึกษาวิชากฎหมายจากประเทศอังกฤษ แลว


เริ่มรับราชการในกระทรวงยุติธรรมตําแหนงผูชวยผูพิพากษาศาลอุทธรณในป 2499 แลวยายมาเปน
หัวหนากองการคดี ตามคําบอกเลาของเขา (ยศ, อํานาจ, หนา 130):

ผมเองมีความสนใจในปญหาเกี่ยวกับคอมมิวนิสตเปนอยางมากมาตั้งแตป 2501 ตั้งแตตอนที่คุณพระ


ดุลยพากยสุวมันต รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม มีบัญชาใหผมคนควาและวิจัยเกี่ยวกับลัทธิ
คอมมิวนิสตและผลของการใชกฎหมายวาดวยการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต ทั้งตอมาในป 2504
กระทรวงยุติธรรมไดสงผมไปเรียนวิชาสงครามจิตวิทยาอันเปนเรื่องเกี่ยวกับการปองกันภัยทางการเมือง
จากการคุกคามของคอมมิวนิสตที่กระทรวงกลาโหม และจากนั้นมาทางราชการกระทรวงกลาโหมก็ได
มอบหมายใหผมเปนผูบรรยายในเรื่องของลัทธิและวิธีการของคอมมิวนิสตและการใชกฎหมายปองกัน
คอมมิวนิสตในสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติหลายแหงเปนเวลา 10 ปเศษ ผมไดเรียบ
เรียงคําบรรยายประกอบการสอนเรื่องเกี่ยวกับคอมมิวนิสตและระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
หลายเลมดวยกัน....

นับตั้งแตป 2504 เปนตนมา ธานินทร (ตามคําสรุปของยศ สันตสมบัติ) "ไดเริ่มเปนที่รูจักกันดีในแวดวง


ของผูที่ทํางานดานความมั่นคงและกลุมอนุรักษนิยมในฐานะที่เปนผูเชี่ยวชาญและนักตอตานคอมมิวนิสต
คนสําคัญ" ธานินทรเริ่มตนแสดงบทบาททางการเมืองในชวงหลัง 14 ตุลา โดยออกมาตอตานสิ่งที่เขา
มองวาเปนการเคลื่อนไหวของคอมมิวนิสตทั้งนอกรัฐสภาและในรัฐสภา (ซึ่งเขายืนยันวาการเคลื่อนไหว
ของคอมมิวนิสตดังกลาว "เปนประวัติศาสตรที่ไมมีผูใดจะบิดผันใหเปนอื่นไปได รายงานการประชุมของ
รัฐสภาขณะนั้น ระบุชัดเจนวาใครทําอะไรหรือไมทําอะไรบาง") เขาไดรวมกับดุสิต ศิริวรรณ ออกอากาศ
รายการโทรทัศน "สนทนาประชาธิปไตย" เรื่อง "ความมั่นคงของชาติและความผาสุกของประชาชน"
เพื่อให "สังคมไทยอยูรอดและคงความเปนไทยไวโดยปลอดจากภัยคอมมิวนิสต" แตรายการดังกลาวถูก
รัฐบาลคึกฤทธิ์สั่งระงับในเดือนมกราคม 2519 หลังจากออกอากาศทางสถานีโทรทัศนชอง 4 ของรัฐบาล
ไดเพียง 4 ครั้ง อยางไรก็ตาม พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน เสนาธิการทหาร "ตระหนักในภัยจากการ
คุกคามของคอมมิวนิสต" จึงจัดใหไปออกอากาศตอทางชอง 5 ของกองทัพบกอีก 6 ครั้ง รวมเปน 10
ครั้ง

จากขอมูลเหลานี้ นาจะมีเหตุผลเพียงพอที่จะตั้งสมมุติฐานวา ในหลวงทรงสามารถแนะนําให พล.ร.อ.


สงัดไปปรึกษาธานินทรไดทั้งๆที่ธานินทร "ไมเคยเขาเฝาใกลชิด" มากอน เพราะไดทรงติดตามผลงาน
ดานหนังสือและ/หรือรายการโทรทัศนตอตานคอมมิวนิสตของธานินทรดังกลาวนั่นเอง

ธานินทรเลาวา เมื่อไดรับพระราชกระแสแลว "ทางทหารจึงไดมาติดตอกับผม แลวเขาถึงไดใหผมชวย


วางแผนใหวา ถาเผื่อมีการปฏิวัติจะจัดอยางไร ในแงของกฎหมายจะมีการประกาศของคณะปฏิวัติ
อยางไร และแผนการที่จะเปนรัฐบาลควรจะเปนในรูปใด" แผนการดังกลาวซึ่งธานินทรกับอีกบางคน
รวมกันรางขึ้นนําเสนอตอฝายทหารและไดรับการเห็นชอบจากฝายหลัง ถูกธานินทรเรียกวา "แผนแมบท"
หรือ Master Plan "คือหลักการปฏิรูปการปกครองแผนดิน เราจัดทํากัน 3-4 คน....ไมตองรูก็แลวกันวามี
ใครบาง คําวา การปฏิรูปการปกครองแผนดิน ก็เริ่มจากตรงนี้ เริ่มจากหลักการปฏิรูปอันนี้"

ธานินทรเลาวา แผนแมบท หรือ Master Plan นี้ ประกอบดวยหลักการสําคัญ 8 ประการ (ดูรายละเอียด


ใน ยศ, อํานาจ, หนา 279-286) ในจํานวนนี้สวนใหญ เราอาจกลาวไดวามีลักษณะเปนหลักการทั่วไป
แบบนามธรรม เชน "ดําเนินงานทุกสิ่งทุกอยางใหเปนไปตามวิถีทางของระบอบประชาธิปไตย", "สราง
รากฐานประชาธิปไตย โดยสงเสริมคนดี", "ทุกคนในคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินซึ่งเปนฝายทหาร
ตองมีอุดมการณแนวแน กระทําการเพื่อความอยูรอดของชาติและความผาสุกของประชาชน ไมปรารถนา
สิ่งตอบแทนเปนการสวนตัว", ฯลฯ

สวนที่มีลักษณะเปนแผนปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมไดแก ตั้งรัฐบาลชั่วคราวเพื่อรับมอบภาระการบริหาร
ราชการจากคณะปฏิรูปโดยสิ้นเชิง คณะปฏิรูปใหคงอยูดูแลดานความมั่นคง แตจะดําเนินการใดๆก็ตอเมื่อ
รัฐบาลชั่วคราวรองขอเทานั้น หมายความวาฝายทหารยึดอํานาจแลว ไมเขาบริหารเอง ยกใหคนอื่นที่
ทาบทามมาเปนนายกรัฐมนตรี ซึ่ง "ควรจะเปนพลเรือน" และตองเปนคนที่ "เลื่อมใสตอระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข, มีประวัติและการทํางานดีเดน ไมเห็นแกตัว
เปนที่ตั้ง มีความรูความสามารถสูงและเปนที่ไววางพระราชหฤทัย"; ใหยกเลิกรัฐธรรมนูญป 2517
ประกาศใชรัฐธรรมนูญชั่วคราวที่ใหอํานาจฝายบริหารมากขึ้น; ยุบสภาที่มีอยู ตั้ง "สภาปฏิรูป" จากบุคคล
สาขาอาชีพตางๆ; รัฐบาลชั่วคราวและสภาปฏิรูปอยูในตําแหนง 4 ป จึงใหมีการเลือกตั้งสภา
ผูแทนราษฎร แตยังใหมีวุฒิสภาที่มาจากการแตงตั้งและมีอํานาจเทากันดํารงอยูอีกอยางนอย 4 ป (ใน
ที่สุด รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2519 ซึ่งธานินทรเปนผูรวมรางและประกาศใชหลังการรัฐประหาร กําหนดใหมี
"แผนพัฒนาประชาธิปไตย" 12 ป โดยในระยะสี่ปที่สามให "ขยายอํานาจของสภาผูแทนราษฎรใหมาก
ขึ้นและลดอํานาจของวุฒิสภาลงเทาที่จะทําได")

ยศ สันตสมบัติเขียนวา ในการพูดถึงแผนแมบทนี้ "ประเด็นที่อาจารยธานินทรเนนย้ําอยูเสมอๆก็คือ


แผนการดังกลาวไดรับการเห็นชอบจากฝายทหารหรือคณะปฏิรูปฯทั้งหมด พูดงายๆก็คือ แผนการ
ดังกลาวเปนขอตกลงรวมกันของทุกฝายและเปนหลักการในการที่จะดําเนินงานตอไปภายหลังจากการ
รัฐประหารโคนลมรัฐบาลอาจารยเสนียเรียบรอยแลว และรัฐบาลของอาจารยธานินทรก็ไดทําตาม
แผนการที่ไดตกลงรวมกันไวทุกอยาง ไมมีอะไรที่เบี่ยงเบนไปจากขอตกลงหรือ Master Plan นี้"

อยางไรก็ตาม ไมเปนที่ชัดเจนวาฝายทหารที่มาติดตอขอใหธานินทรชวยเตรียมการรัฐประหาร ให


ความสําคัญกับสิ่งที่เรียกวา "แผนแมบท" ของธานินทร มากเพียงใด ในคําบอกเลาตอบุญชนะ อัตถากร,
พล.ร.อ.สงัด ชลออยู กลาวแตเพียงวาเขา "ไดเริ่มใชใหคุณธานินทรเตรียมคําแถลงการณตางๆและ
เอกสารตางๆใหพรอมพิจารณาแลวก็เก็บไวในตูนิรภัยอยางเอกสารลับ เพื่อจะนําไปใชหลังจากการปฏิวัติ
แลว" และเปนเรื่องที่ยังถกเถียงไดวาสงัดซึ่ง "ไมเคยรูจักคุณธานินทรมากอนเลย" ใหการ "เห็นชอบ"
กับแผนแมบทของธานินทรเพราะเห็นชอบดวยจริงๆหรือเพราะ "ในหลวงทรงรับสั่งวาจะทําอะไรลงไปก็
ควรจะปรึกษานักกฎหมายคือคุณธานินทร กรัยวิเชียรเสียดวย"

แนนอนวามาตรการรูปธรรมที่ธานินทรวางไวไดรับการปฏิบัติตามหลังการยึดอํานาจ: ยกเลิกรัฐธรรมนูญที่
มีอยูและประกาศใชรัฐธรรมฉบับใหมที่ใหอํานาจฝายบริหารมากเปนพิเศษ, ตั้งรัฐบาลชั่วคราวที่มี
นายกรัฐมนตรีเปนพลเรือน (คือตัวธานินทรเอง) และแตงตั้งสภานิติบัญญัติใหมที่มีสมาชิกจาก "ทุกสาขา
อาชีพ" (ในความเปนจริง สมาชิกสภาปฏิรูป 190 คนจาก 340 คนเปนทหารตํารวจทั้งในและนอก
ราชการ). แตมาตรการเหลานี้ก็เปนมาตรการในลักษณะที่การรัฐประหารแทบทุกครั้งตองทําอยูแลว อาจ
กลาวไดวา สิ่งสําคัญที่สุดที่ธานินทร มอบใหกับการเตรียมรัฐประหารป 2519 คือคิดชื่อใหมใหกับการ
รัฐประหารและคณะรัฐประหาร: "คณะ/การปฏิรูปการปกครองแผนดิน" แทนที่จะเปน "คณะ/การปฏิวัติ"
การที่ธานินทรใหความสําคัญกับสิ่งที่เรียกวา "แผนแมบท" ของตน ซึ่งอันที่จริงถาตัดเนื้อหาสวนใหญที่มี
ลักษณะนามธรรมลอยๆดังกลาวขางตนออกแลว ก็เหลือเพียงมาตรการรูปธรรมที่ไมตางจากการ
รัฐประหารอื่นๆนั้น นาจะสะทอนใหเห็นลักษณะพาซื่อและออนประสบการณของธานินทรเองมากกวา
อยางอื่น

การประเมินสถานการณของขบวนการนักศึกษาในป 2519: ประเมินจากปจจุบัน


ผมจําไดแนๆวาในชวงป 2519 กอน 6 ตุลา ไดรับการบอกเลาวา มีผูวางแผนจะทํารัฐประหารโดยจะใช
ชื่อวาเปน "การปฏิรูป" นาเสียดายที่จําไมไดเสียแลววาใครเปนผูบอก แตที่จําไดวามีการบอกแบบนี้
เพราะ หนึ่ง ชื่อ "การปฏิรูป" เปนชื่อที่แปลกและสะดุดใจที่จะใชสําหรับการรัฐประหาร และ สอง เมื่อผม
ไดยินขาว "การปฏิรูปการปกครองแผนดิน" ในคืนวันที่ 6 ตุลาคม ระหวางที่ถูกขังอยูในคุกโรงเรียนพล
ตํารวจบางเขน ผมนึกขึ้นไดทันทีวาเปนสิ่งที่ตรงกับที่เคยถูกบอกไว ผมยังจําไดดวยวาผูที่บอกวาจะมีการ
ใชชื่อ "การปฏิรูป" สําหรับการรัฐประหารครั้งตอไป อธิบายวาเนื่องจากชื่อ "การปฏิวัติ" เสียเครดิตไป
แลว ชื่อใหมมีขึ้นเพื่อ "หลอกลวงประชาชน"

ในชวงป 2519 นั้น ภายในขบวนการนักศึกษาเรา มีการพูดถึงการรัฐประหารตลอดเวลา เปนที่เขาใจกัน


ทั่วไปในขบวนการวา รัฐประหารเปนสิ่งที่ตองเกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะ "ชนชั้นปกครอง" ไมมี
ทางที่จะปลอยใหบรรยากาศประชาธิปไตยเชนนั้นดํารงอยูตอไปอีกนานนัก ผมไมคิดวาขาวเรื่องจะมีการ
ทํารัฐประหารภายใตชื่อ "การปฏิรูป" สรางความตื่นเตนหรือมีผลกระทบตอขบวนการเปนพิเศษอะไร
แนนอนวา ปจจุบันเราไดทราบจากคําใหการของสงัด ชลออยู และธานินทร กรัยวิเชียรขางตนแลววา
ตั้งแตเดือนกุมภาพันธปนั้นเปนตนมา มีการวางแผนจะยึดอํานาจโดยใชชื่อ "การปฏิรูป" จริงๆ ซึ่งแสดงวา
แมแผนแมบทของธานินทรจะถูกสงัด "เก็บไวในตูนิรภัยอยางเอกสารลับ" แตเรื่องดังกลาวก็ไมไดเปน
ความลับทั้งหมด (อยางไรก็ตามเหตุการณตอมาก็พิสูจนวาการไดรูลวงหนาเชนนั้นไมไดชวยอะไรพวก
เราเลย)

คําใหการของสงัดและธานินทรยังไดทําใหเกิดปญหาที่นาสนใจขอหนึ่งคือ ในป 2519 ขบวนการ


นักศึกษาคาดการณกลุมปกครองที่จะทํารัฐประหารผิดกลุมหรือไม?
ตามการประเมินของพวกเราในขณะนั้น, "ชนชั้นปกครองไทย" แบงออกเปนกลุมสําคัญใหญๆ 4 กลุม คือ
กลุมกฤษณ สีวะราเกา (หรือกลุมสี่เสาเทเวศน), กลุมพรรคชาติไทย (หรือกลุมซอยราชครู), กลุมถนอม-
ประภาสเกา, และ กลุมที่เราเรียกวา "ศักดินา" ซึ่งไดแกสวนใหญของพรรคประชาธิปตยและแวดวงอื่นๆที่
พรรคนี้มีสายสัมพันธทางประวัติศาสตรดวย.

เรามองวาสืบเนื่องมาจาก 14 ตุลา, กลุมกฤษณเกา เปนกลุมที่กุมอํานาจรัฐ โดยมีกลุมศักดินาเปน


พันธมิตร พูดอยางเปนรูปธรรมคือ หลัง 14 ตุลา พรรคของศักดินาอยางกิจสังคมและประชาธิปตย เลน
การเมืองเปนรัฐบาลอยูหนาฉาก ขณะที่กฤษณ สีวะรากับพวก กุมกองทัพสนับสนุนอยูหลังฉาก เรามอง
วาที่สองกลุมนี้ไดครองอํานาจก็เพราะรวมกัน "หักหลัง" ถนอม-ประภาส ในระหวางที่เกิด 14 ตุลา กลุม
กฤษณนั้นถัดจากตัวกฤษณลงมาไดแก บุญชัย บํารุงพงศ ซึ่งกฤษณตั้งใหสืบตําแหนง ผบ.ทบ.เมื่อ 1
ตุลาคม 2518, กมล เดชะตุงคะ, เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน และสงัด ชลออยู เสริม ณ นคร และเปรม ติณสู
ลานนทที่เปนผบ.ทบ.ตอจากบุญชัยตามลําดับ ก็จัดอยูในกลุมนี้. ที่เรียกวากลุมกฤษณเกา ก็เพราะ
ตัวกฤษณเองตายอยางลึกลับเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2519 เพียงไมกี่วันหลังจากรับตําแหนงรมต.กลาโหม
ใหรัฐบาลเสนียที่เพิ่งตั้งใหมหลังการเลือกตั้ง 4 เมษายน

กลุมถนอม-ประภาสหรือกลุม "ทรราช" เกา คือนายทหารกุมกําลังสวนนอยที่เรามองวายังใหการ


สนับสนุนถนอม-ประภาสอยู ที่สําคัญคือ ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา แมทัพกองทัพภาคที่ 1 ในป 2519
และเทพ กรานเลิศ กลุมนี้ซึ่งสูญเสียอํานาจใหกับกลุมกฤษณไดรวมมือเปนพันธมิตรกับกลุม
พรรคชาติไทยซึ่งเปนกลุมการเมือง (ไมไดกุมกําลังทหาร) ที่ฟนคืนชีพขึ้นหลัง 14 ตุลาภายใตการนํา
ของประมาณ อดิเรกสาร และ ชาติชาย ชุณหะวัณ

เรามองตอไปวา ในความขัดแยงระหวางกลุมกฤษณ-ศักดินาฝายหนึ่ง กับกลุมราชครู-ทรราชเกาอีกฝาย


หนึ่งนั้น ฝายหลังเปน "ดานรองของความขัดแยง" คือไมไดเปนฝายกุมอํานาจรัฐ ทําใหมีลักษณะที่
กาวราวเปนฝายรุก, เปน "ขวา" มากกวาฝายแรก (ขอใหนึกถึงคําขวัญ "ขวาพิฆาตซาย" ของประมาณ
อดิเรกสาร) โดยเฉพาะกลุมพรรคชาติไทยนั้น อาศัยอํานาจทางการเมืองที่เติบโตเขมแขงขึ้นอยาง
รวดเร็ว พยายามเขาไปสรางฐานอํานาจในกองทัพ เราวิเคราะหวานายทหารระดับสูงอยางพลเอกฉลาด
หิรัญศิริ เปนคนที่ชาติไทยดึงเปนพวกได แมแตภายในพรรคประชาธิปตยของกลุมศักดินาเอง พวกที่เรา
เรียกวาประชาธิปตยปกขวา คือธรรมนูญ เทียนเงิน, สมัคร สุนทรเวช และสงสุข ภัคเกษม ก็จัดเปน
พันธมิตรที่ใกลชิดของชาติไทย

ตลอดป 2519 ขบวนการนักศึกษาเรามองวาฝายกฤษณเกา-ศักดินาเปนฝายที่ไมตองการทํารัฐประหาร


เพราะครองอํานาจอยูแลว ขณะที่ฝายชาติไทย-ทรราชเกาพยายามสรางสถานการณเพื่อการรัฐประหาร
อยูเสมอ ที่สําคัญที่สุดคือ การนําเอาประภาสกลับเขาประเทศในเดือนสิงหาคม และถนอมในเดือน
กันยายน

คําใหการของสงัด ชลออยูและธานินทร กรัยวิเชียรขางตน ขณะที่ยืนยัน "ขาวกรอง" และความเชื่อของ


ขบวนการนักศึกษาที่วามีการวางแผนจะทํารัฐประหารจริงๆในป 2519 ก็ดูเหมือนจะชี้ใหเห็นวา เรามอง
ความเปนไปไดที่รัฐประหารจะมาจากกลุมกฤษณเกา (สงัด-บุญชัย) นอยไป (ถาผมจําไมผิดเราเกือบจะ
ไมไดมองเลย) แนนอนวาการที่กลุมกฤษณเกาเตรียมทํารัฐประหารไมไดแปลวาฝายชาติไทย-ทรราชเกา
จะไมไดเตรียมทําเหมือนกัน และการเขามาของถนอมและ 6 ตุลาจะไมใชการกระทําของกลุมนี้ สงัดได
บอกทั้งธานินทรและเสนีย ปราโมชเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 วาสองหรือสี่ทุมของคืนวันนั้นจะมี "อีกฝาย
หนึ่ง" ทํารัฐประหาร จึงตองชิงลงมือทําเสียเองกอนตอนหกโมงเย็น เพื่อทําความกระจางในเรื่องนี้ เรา
จําเปนตองหันไปพิจารณาหลักฐานอื่นที่มีอยู

อยางไรก็ตาม กอนที่จะทําเชนนั้น ยังมีสองประเด็นที่ผมจําไดวาการวิเคราะหของเราในสมัยนั้น มีความ


ไมลงตัวนัก ซึ่งควรกลาวถึงในที่นี้

ประเด็นแรก ปญหาเกี่ยวกับกลุมที่เราเรียกวา "ศักดินา" ซึ่งผมอธิบาย ขางตนวาหมายถึง "สวนใหญของ


พรรคประชาธิปตยและแวดวงอื่นๆที่พรรคนี้มีสายสัมพันธทางประวัติศาสตรดวย" ปญหาอยูตรงที่สวนหลัง
ของคํานิยามนี้ กลาวคือ ขณะที่ดานหนึ่งเรามองวากลุมศักดินาโดยรวมเปนกลุมที่ไดประโยชนจาก
เหตุการณ 14 ตุลา ตั้งแตการขึ้นสูอํานาจของรัฐบาลสัญญา ธรรมศักดิ์ และ "สภาสนามมา" จนถึงรัฐบาล
คึกฤทธิ์ ในป 2518 และเสนียในป 2519 เรามองวา การที่กลุมนี้เปนฝายไดครองอํานาจ และโดยที่
ตัวเองไมมีกองทัพในมือโดยตรง แตอาศัยการสนับสนุนจากกลุมสี่เสาเทเวศน (กฤษณ-บุญชัย) ที่ขึ้นมา
คุมกองทัพไดจากเหตุการณเดียวกัน ทําใหพวกเขาไมนาจะเปนพวกที่ทํารัฐประหาร (รัฐประหารเกิดจาก
พวกที่ยังไมมีอํานาจ) มิหนําซ้ํายังมีแนวโนมจะ "พึ่งพากําลังประชาชน" คือเอาประชาชนเปนฐาน
สนับสนุนในการตอสูกับกลุมอื่นๆดวย ซึ่งแสดงออกที่ทาทีของรัฐบาลโดยเฉพาะตัวคึกฤทธิ์ที่มีนโยบาย
"กาวหนา", "เอียงขางประชาชน" บางอยาง (กรณีใหอเมริกาถอนฐานทัพ, การเปดสัมพันธกับจีน, การให
เสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง)

อยางไรก็ตาม อีกดานหนึ่งในชวงป 2518-2519 ดูเหมือนวา บางสวนของกลุมศักดินา โดยเฉพาะพวกที่


อยูนอกพรรคการเมืองกิจสังคม-ประชาธิปตย จะมีแนวโนมไปทางขวามากขึ้นทุกที คือไปในทางเดียวกับ
พรรคชาติไทย และกลุมทรราชเกา ซึ่งอันที่จริงเปนกลุมที่พวกเขา "หักหลัง" โคนอํานาจไปเองเมื่อ 14
ตุลา ตัวอยางเชน บทบาทของลูกเสือชาวบาน และการเกิดขึ้นของกลุมนวพล (แปลวา "กําลังที่เกา":
"เกากําลังไมรนกาวเวลา" เปนชื่อบทกวีป 2518 เกี่ยวกับนวพลของชัชรินทร ไชยวัฒน)

ประเด็นที่สอง ปญหา "ปกซายประชาธิปตย" คือกลุมของสุรินทร มาศดิตถ, ดํารง ลัทธพิพัฒน, ชวน


หลีกภัย และวีระ มุสิกพงศ เทาที่ผมจําได เราไมเคยอธิบายพฤติกรรมของกลุมนี้ไดอยางนาพอใจ คือไม
สามารถจัดพวกเขาใหอยูใน

ในกรอบทางทฤษฎีของเราในขณะนั้นไดอยางแทจริง ดูเหมือนจะมีการพูดๆกันวา พวกเขาเปน "นายทุน


ชาติ" ซึ่งตามทฤษฎีวิเคราะหสังคมไทยแบบกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินาของเราในขณะนั้น จัดเปนพวกที่มีทั้ง
ลักษณะกาวหนาและปฏิกิริยาอยูในตัวพรอมๆกัน แตหลายคนก็รูสึกวา ไมนาจะจัดเชนนั้นได เพราะพวก
เขาไมไดร่ํารวยเปนเจาของกิจการอุตสาหกรรมแบบนายทุน และดูเหมือนพวกเขาจะมีความ "กาวหนา"
มากกวาภาพลักษณนายทุนชาติที่เรามีอยู ผมคิดวาปญหาของขบวนการนักศึกษาในขณะนั้นคือ ในทาง
ทฤษฎีเรามองวาทุกคนในรัฐบาลเปน "ชนชั้นปกครอง" ซึ่งเปน "ศัตรูประชาชน" ที่เราตองโคนลม แต
ในทางเปนจริงหลายคนรูสึกวา กลุมปกซายประชาธิปตยมีการกระทําที่เปน "ฝายประชาชน"

ผิน บัวออน เคยเขียนวิพากษขบวนการนักศึกษาในบทความชิ้นหนึ่งทํานองวา ที่เกิดการนองเลือดฆาหมู


เมื่อ 6 ตุลาเพราะเราตัดสินใจชุมนุมยืดเยื้อตามการ "ผลักดันอยางสําคัญ "ของปกซายประชาธิปตย" การ
ยอมใหแนวรวมนําและไมยืนหยัดนําแนวรวมในปญหาสําคัญครั้งนี้ ทําใหการเคลื่อนไหวกาวเขาสูประตู
แพ" ผมเปนคนหนึ่งที่รวมประชุมตัดสินใจในครั้งนั้นดวย ขอยืนยันวาไมเปนความจริงเลย ไมมีการผลักดัน
อะไรจากใครภายนอกขบวนการและเราก็ไมเคยเอาความตองการของใครภายนอกมาเปนเหตุแหงการ
ตัดสินใจของเราดวย แตเรื่องที่เรามีปญหาวาควรจะมองปกซายประชาธิปตยอยางไรนั้น ผมจําไดวามีอยู
จริงๆ

จดหมายสองฉบับของ สุรินทร มาศดิตถ


เราไดเห็นขางตนวา การที่สงัด ชลออยูและบรรดาผูบัญชาการเหลาทัพ ซึ่งเราจัดเปนกลุมสี่เสาเทเวศน
วางแผนจะทํารัฐประหาร ถึงขั้นเขาเฝาขอพระราชทาน "พรสวรรค" (คําของสงัด) ใหดําเนินการได แตใน
หลวงทรงเพียงแตแนะนําใหไปปรึกษาธานินทร กรัยวิเชียร และทั้งสองฝายรวมกันรางแผนดําเนินการ
หลังการยึดอํานาจนั้น แสดงวาขบวนการนักศึกษาในป 2519 อาจจะประเมินภัยรัฐประหารจากกลุมสี่เสาฯ
ต่ําเกินไป อยางไรก็ตาม สงัดเองกลาววา "รอคอยโอกาสที่จะยึดอํานาจการปกครองอยูเรื่อยๆแตก็ไมได
จังหวะ จนในที่สุดก็เกษียณอายุตองออกจากราชการเมื่อ 1 ตุลาคม 2519 เพื่อนฝูงนายทหารผูใหญก็หา
วา...เตะถวง ซึ่งความจริงจะวาจริงก็ได" จนกระทั่ง 6 ตุลา จึงลงมือเพราะมี "อีกฝายหนึ่ง" กําลังจะทํา
ตอนสองทุมคืนนั้น ซึ่งแสดงวาการวิเคราะหของเราในป 2519 ที่วากระแสรัฐประหารครั้งตางๆ
โดยเฉพาะการนําเอาประภาสกลับในเดือนสิงหาคมและถนอมในเดือนกันยายน (อันนําไปสู 6 ตุลา) เปน
การกระทําของฝายพรรคชาติไทยไมใชของกลุมสี่เสาฯนั้น อาจจะไมผิดก็ได เพื่อความชัดเจนในเรื่องนี้
ขอใหเรามาพิจารณาหลักฐานสําคัญอีกชิ้นหนึ่งซึ่งเปนที่รูจักกันดี: จดหมายเกี่ยวกับ 6 ตุลา ของสุรินทร
มาศดิตถ

สุรินทรเขียนจดหมาย 2 ฉบับ ถึง "เพื่อนอดีต ส.ส. และสมาชิกพรรค ประชาธิปตย" ในเดือนตุลาคม


2520 ฉบับแรกยาว 2 หนากระดาษลงวันที่ 3 ฉบับที่สองยาว 3 หนาลงวันที่ 24. ขณะที่เขียนเขายังบวช
เปนพระอยูที่วัดในนครศรีธรรมราช (เขาอธิบายในจดหมายฉบับแรกวา ที่บวชเพราะเมื่อเกิด 6 ตุลา แม
เขาบนพระไววา "ขอใหลูกสุรินทรกลับบานโดยความปลอดภัย แลวจะใหบวช") เขาตองการ "เปดเผย
ความจริง...เทาที่คิดวาพอเปดเผยได" เกี่ยวกับ 6 ตุลาแกเพื่อนรวมพรรค ซึ่งหลายคนยังไมรูความจริงจน
ทําให "เขาใจผิดตอตัวอาตมาก็มี"

สุรินทรเลาในจดหมายฉบับแรกวาเมื่อมีการปลุกระดมโจมตีรัฐบาลของสถานีวิทยุยานเกราะและสถานี
วิทยุทหารอื่นๆบางสถานี โดยเฉพาะในชวงการกลับมาของประภาส เขาไดเสนอใหม.ร.ว.เสนีย
ดําเนินการ ซึ่งเสนียก็ไดออกคําสั่งไป "แตไมถึง 3 ช.ม. พลตรีประมาณ อดิเรกสาร รองนายกรัฐมนตรี
นายสมัคร สุนทรเวช รัฐมนตรีชวยวาการมหาดไทยมาขอใหนายกรัฐมนตรีแกคําสั่งนั้น การปลุกระดมดวย
ความเท็จก็ถูกดําเนินตอไปจนถึง...วันที่ 6 ตุลาคม 2519"

สุรินทรเขียนวา :
“แผนการที่เขาจะปฏิวัติและการยายนายทหารผูใหญที่สั่งในเดือนกันยายนและมีผลในวันที่ 1 ตุลาคม
2519 เปนแผนที่อยูในแผนปฏิวัติ อาตมาไดใหเลขานุการรัฐมนตรี (นายสัมพันธ ทองสมัคร) กราบเรียน
นายกรัฐมนตรีแลวเพื่อแกไข ที่ไมกลากราบเรียนเองกลัววาจะถูกเขาใจผิดวากลัวถูกออกจากรัฐมนตรีจึง
คิดมากไปวาจะมีการปฏิวัติ แตเมื่อใหนายสัมพันธกราบเรียนแลวยังไมมีอะไรแกไข อาตมาจึงกราบเรียน
นายกรัฐมนตรีเองในวันที่ 28 กันยายน 2519 วาจะมีการปฏิวัติยึดอํานาจรัฐบาลของประชาชน พรอมกับ
เสนอแนะทางแกไขใหแกนายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการแตงตั้งทหาร 2-3 คนเพื่อปองกันการถูกยึดอํานาจ
ของประชาชน คือการปฏิวัติ จากขอเสนอของอาตมาในวันนั้น นายกรัฐมนตรียังคิดแลวพูดวา "ทําไมได
สุรินทร ทหารจะแตกแยก เพราะการยายทหารนั้น 3 เหลาทัพเขาประชุมกันมาแลว" แสดงวา
นายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เชื่อในความสุจริต เจตนาดีของนายทหารชั้นผูใหญ อาตมาก็พูดวา
"ก็ตามใจทานหัวหนา เรามานั่งรอวันถูกยึดอํานาจกันเทานั้น และจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้" แลวอาตมาก็ออก
จากหองนายกรัฐมนตรีไปทํางานตามปกติ

“วันที่ 1 ตุลาคม 2519 มีหนังสือดวนที่สุดจากสํานักราชเลขาธิการใหรัฐมนตรีทุกคนไปรับเสด็จองครัช


ทายาทเสด็จฯกลับจากประเทศออสเตรเลีย นายกรัฐมนตรีเรียกอาตมาไปพบและไดพูดถึงเคาของการ
ปฏิวัติวามีขึ้นแลว นายสมัคร สุนทรเวช นายสมบุญ ศศิธร รูขาววาไมไดรับความเห็นชอบจากกรรมการ
พรรคใหดํารงตําแหนง รมช.มหาดไทย จะถูกยายกระทรวง 2 คนนี้ไดทําหนังสือยื่นถึงนายกรัฐมนตรีวา
อยากราบทูลแตงตั้งเปนรัฐมนตรี หากวาไมไดอยูกระทรวงมหาดไทย หากแตงตั้งก็จะลาออก โดยยื่น
หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีที่หองรับรองของกองทัพอากาศขณะไปรอรับเสด็จฯ ในตอนที่นายกรัฐมนตรีพูด
ถึงเคาการปฏิวัติวามาจากฝายไหนกับอาตมานั้น อาตมาไดกลาววา "ตามใจ ใครจะปฏิวัติละ หากมีการ
ปฏิวัติเกิดขึ้นอีก เราจะแพคอมมิวนิสต นิสิตนักศึกษาปญญาชนจะขึ้นเขารวมกับพวกบนเขามากขึ้น เปน
เรื่องนาเสียดายที่จะถูกทําลายประชาธิปไตย" ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรีพูดวา "ผมทํางานเพื่อ
ประชาธิปไตยและราชบัลลังกมา 30 ปแลว ทําอยางดีที่สุดแลว”

นาเสียดายที่สุรินทรไมไดขยายความวา "เคาการปฏิวัติ" ที่เขาพูดถึงในปลายเดือนกันยายนตอตนเดือน


ตุลาคมนั้นมาจากฝายไหนกันแน ขอมูลของเขาที่วาประมาณและสมัครขัดขวางการเลนงานวิทยุยาน
เกราะดูเหมือนจะเปนการยืนยันการวิเคราะหของขบวนการนักศึกษาในชวงนั้นที่วา การเคลื่อนไหวของ
กลุมพลังฝายขวาที่มียานเกราะเปนหัวหอกมีที่มาหรือไดรับแรงหนุนจากพรรคชาติไทยและปกขวา
ประชาธิปตยซึ่งเปนพันธมิตรชาติไทย อยางไรก็ตาม ขอมูลที่วา "แผนปฏิวัติ" เกี่ยวของกับการโยกยาย
ทหารในปนั้นและที่สุรินทรเสนอใหแกรายชื่อการโยกยายใหม กลับชี้ไปที่กลุมสี่เสาฯที่ครองอํานาจใน
กองทัพ แนนอนวา มีความเปนไปไดที่วา ในชวงป 2519 โดยเฉพาะในเดือนทายๆกอน 6 ตุลา ชนชั้น
ปกครองทุกกลุมตางจองหาจังหวะทํารัฐประหารดวยกันทั้งนั้น

ถาผมเขาใจไมผิด จดหมายเกี่ยวกับกรณี 6 ตุลาถึงสมาชิกพรรคประชาธิปตยของสุรินทร มาศดิตถ ฉบับ


แรกลงวันที่ 3 ตุลาคม 2520 ไมเคยไดรับการตีพิมพเผยแพรในวงกวางในที่ใดมากอน ในทางตรงกันขาม
ฉบับที่สองลงวันที่ 24 ตุลาคม 2520 ตองนับวาเปนเอกสารการเมืองไทยสมัยใหมที่รูจักกันดีมากที่สุดชิ้น
หนึ่ง และถาผมเขาใจไมผิดอีกเชนกัน จดหมายฉบับนี้ถูกตีพิมพครั้งแรกในนิตยสารรายสัปดาห ขาวไทย
นิกร ฉบับวันที่ 12 มิถุนายน2521 ในยุคที่มีคํา

นูณ สิทธิสมาน เปนเสมือนบรรณาธิการหลังฉาก (ชื่อคํานูณ ไมเคยปรากฏในนิตยสารเลย) หลังจากนั้น


ไดมีผูนํามาตีพิมพซ้ําอีกไมต่ํากวา 2-3 ครั้ง โดยเฉพาะในป 2531 เมื่อเกิดการโตแยงทางการเมืองครั้ง
ใหญหลังจากมีการเปดเผยวาจําลอง ศรีเมืองมีสวนรวมในการชุมนุมของกลุมพลังฝายขวาหนาทําเนียบ
รัฐบาลในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 (เชนใน มติชนสุดสัปดาหและในหนังสือ คดีประวัติศาสตร 6 ตุลา
ใครคือฆาตกร? ซึ่งสมยศ เชื้อไทย เปนบรรณาธิการ) ผมเขาใจวา ในการตีพิมพครั้งหลังๆ ไดใชฉบับที่
ตีพิมพใน ขาวไทยนิกร เปนตนแบบ เนื่องจากในฉบับนั้นมีขอความตกหลนอยู 2 แหง ยาวรวมกัน 2
บรรทัด ซึ่งไมสําคัญมากนัก และฉบับที่ตีพิมพครั้งหลังๆก็มีขอความตกหลนนั้นตามไปดวย

ผมขออนุญาตยกเอาสวนสําคัญของจดหมายสุรินทรฉบับดังกลาวมาพิมพซ้ําในที่นี้ หลังจากนั้นจะเปน
การวิเคราะห ผมมีความรูสึกเมื่อไดกลับไปอานจดหมายนี้ใหมเมื่อเร็วๆนี้วา มีประเด็นนาสนใจบางประเด็น
ที่กอนหนานี้เราอาจจะมีแนวโนมมองขามไป

สุรินทรเขียนวา :
“วันที่ 6 ตุลาคม 2519 อาตมาถึงตึกบัญชาการ สํานักนายกรัฐมนตรี เวลาประมาณ 7.00 น.เศษ มี
นักหนังสือพิมพมาคอยอยูที่บันไดและลานกอนเขาลิฟทหลายคน ตางก็ถามถึงการที่มีภาพแขวนคอหนา
คลายเจาฟาชาย อาตมาตอบวาไมมีปญหาอะไรแลว นายกรัฐมนตรีสั่งดําเนินคดีและกรรมการศูนยนิสิต
นักศึกษาบางคนเขามอบตัวแลว ตองดําเนินคดีไปตามกฎหมาย แลวอาตมารีบขึ้นไปชั้น 4 ที่หองทํางาน
นายกรัฐมนตรี พบ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรีไดดูภาพในหนังสือพิมพ ดาวสยาม และ
บานเมือง จึงเสนอความเห็นตอนายกรัฐมนตรีวา ใหรีบประกาศภาวะฉุกเฉินหามชุมนุมทั่วประเทศ เพื่อ
รักษาความสงบเรียบรอย ฯพณฯ นายกฯ เห็นดวย และวาเดี๋ยว 9 โมงเชา ประชุมคณะรัฐมนตรีจะเสนอที่
ประชุมคณะรัฐมนตรี อาตมาจึงลงไปหองทํางานชั้น 3 เห็นหนังสือที่ดวนไมกี่ฉบับ เวลา 9 น.เศษ จึงรีบ
ลงไปประชุมคณะรัฐมนตรีที่ตึกไทยคูฟา ไปถึงคณะรัฐมนตรีเปดประชุมไปแลว นายกรัฐมนตรีกลาวกับ
อาตมาวากําลังพิจารณาเรื่องประกาศภาวะฉุกเฉิน อาตมาวาก็ไมมีปญหาอะไรเปนอํานาจของ
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมหาดไทย และจําเปนตองประกาศภาวะฉุกเฉิน เพื่อรักษาความสงบเรียบรอย
และปองกันเหตุรายในบานเมือง ปรากฏวา พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง
อุตสาหกรรม และรัฐมนตรีอื่นฝายพรรคชาติไทยคัดคานไมใหประกาศภาวะฉุกเฉิน ไมใหหามการชุมนุม
โดยอางเหตุผลวา หากหามการชุมนุม ลูกเสือชาวบานจํานวนมากที่นัดมาชุมนุมที่อนุสาวรียพระบรม
รูปทรงมาเดินทางเขามาชุมนุมมากแลวและกําลังเดินทางมา ก็จะเดือดรอนชุมนุมไมได แลวจะหันมาเปน
ปฏิปกษกับรัฐบาล

“เหตุผลการคัดคานของพลตรีชาติชายออน รัฐมนตรีสวนมากนั่งเฉยแสดงวาเห็นดวยในการประกาศภาวะ
ฉุกเฉิน พลตรีชาติชายจึงไดไปนําเอาพล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน ผูเปนหัวหนาลูกเสือชาวบานคน
หนึ่งของฝาย ตชด. เขามาในคณะรัฐมนตรี มาคัดคานการประกาศภาวะฉุกเฉิน และกลาววาจะตองปราบ
นักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหสิ้นซาก นายกรัฐมนตรีพูดวาไมได คุณจะเอาลูกเสือชาวบานเอา
ประชาชนไปฆานักศึกษาประชาชนไมได หากเกิดจลาจลเปนหนาที่ของตํารวจทหาร บานเมืองมีขื่อแป
คุณจะเอาประชาชนไปฆาประชาชนไมได พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ บังอาจโตนายกรัฐมนตรีตอไปวา ลูกเสือ
ชาวบานก็มีวินัยรวมกับตํารวจทหารได ดูเหตุการณจากการกระทําของรัฐมนตรีฝายพรรคชาติไทย และที่
ไปนําพล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ เขามาโตเถียงกับนายกรัฐมนตรีแลว อาตมาเขาใจไดทันทีวาพวกนี้ตองวาง
แผนการปฏิวัติไวแลว และเชื่อแนของพวกเขาแลววาตองสําเร็จแน ตํารวจยศพลตํารวจตรียังกลาเถียง
นายกรัฐมนตรีถึงในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร หัวหนาพรรคชาติไทย รมต.เกษตร
ฯแสดงความเห็นในคณะรัฐมนตรีวา เปนจังหวะและโอกาสดีที่สุดแลวที่จะปราบปรามใหศูนยกลางนิสิต
นักศึกษาแหงประเทศไทยใหถูกลบชื่อหายไปจากประเทศ

“กอนเที่ยงที่กําลังโตกันเรื่องจะประกาศภาวะฉุกเฉินหรือไม โดยรัฐมนตรีฝายประชาธิปตยใหประกาศ
รัฐมนตรีฝายพรรคชาติไทยไมยอมใหประกาศ ทั้งๆที่เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีการางประกาศไวแลว
ยังไมเปนที่ยุตินั้น พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ รองอธิบดีกรมตํารวจไดเขามารายงานในคณะรัฐมนตรี
พรอมกับรองไหโฮๆวา ฝายนักศึกษามีอาวุธปนสงครามรายแรงระดมยิงตํารวจบาดเจ็บและตายจํานวน
มาก ฝายนักศึกษาก็ตายเยอะ พูดพลางรองไหพลาง ตํารวจนครบาลสูไมไดจึงสงตํารวจพลรมและตชด.
เขาไปปราบปราม ตอมา พล.ต.อ.ศรีสุข มหินทรเทพ อธิบดีกรมตํารวจเขาไปรายงานเหตุการณวา
ควบคุมสถานการณในธรรมศาสตรไวไดแลว มีความสงบเรียบรอยแลว นายกรัฐมนตรีถามวา "ตํารวจตาย
กี่คนทานอธิบดี" อธิบดีกรมตํารวจตอบวา "ตํารวจไมตาย แตบาดเจ็บไมกี่คน" รัฐมนตรีจึงแสดงสีหนา
สงสัย อธิบดีกรมตํารวจหันไปมองพล.ต.ท.ชุมพล กําลังนั่งเช็ดน้ําตา จึงไมรูวากอนนั้นเขารายงานกันวา
อยางไร อธิบดีกรมตํารวจจึงเดินออกจากที่ประชุมไป ตอมา พล.ต.ต.กระจาง ซึ่งเปนหัวหนานําตชด.เขา
ไปทําการควบคุมนักศึกษา 3,000 คนเศษไวแลวนั้น เขารายงานเหตุการณในคณะรัฐมนตรี ทานผูนี้
อาตมาไมทราบนามสกุล แตอาตมายกยองเขาอยูจนบัดนี้วา เปนตํารวจอาชีพ ผูบังคับบัญชาสั่งไป
ทํางานก็ไปทํา แลวมารายงานคณะรัฐมนตรีตามความเปนจริง แตสังเกตดูไมเปนที่พอใจของรัฐมนตรี
ฝายที่ไมใชประชาธิปตย พล.ต.ต.กระจาง รายงานวา "ปนที่ยึดไดจากนักศึกษาเปนปนพกเพียง 3
กระบอก" คุณเสวตร เปยมพงศสานต รองนายกรัฐมนตรีถามวาปนอะไรที่เสียงดังมาก ดังปุดๆปงๆ ใครยิง
ฝายเรายิงหรือฝายนักศึกษายิง พล.ต.ต.กระจาง ตอบวา ปนอยางนั้นนักศึกษาจะเอามาจากไหน ตํารวจ
ยิงทั้งนั้น จนกระทั่งเที่ยง ปญหาจะประกาศภาวะฉุกเฉินหรือไมยังตกลงกันไมได อาตมาจึงตัดบทดวย
การเสนอวา มอบอํานาจนายกรัฐมนตรีก็แลวกัน ทานจะประกาศภาวะฉุกเฉินเวลาใด แลวพักรับประทาน
อาหาร อาตมาถามพล.ต.ต.กระจาง เปนการสวนตัวนอกที่ประชุมวา ยึดอาวุธจากนักศึกษาไดเพิ่มหรือไม
พล.ต.ต.กระจางวิทยุถามไปยังที่ควบคุมนักศึกษา บางเขน ซึ่งเปนศูนยฯ ไดรับตอบมาทางวิทยุวา ไดปน
จากนักศึกษาในธรรมศาสตรเพียง 3 กระบอก เปนปนพกขนาด .22

“ตอนบายประชุมคณะรัฐมนตรีตอ มีการพิจารณารางแถลงการณ ไดมีการแถลงการณบางตอนไมตรง


ความจริง อาตมาเปนผูคัดคานไมใหออกแถลงการณเท็จ ตอมา พล.ต.ชาติชาย รมต.อุตสาหกรรม
ออกไปนอกหองประชุมแลว พูดวา ลูกเสือชาวบานที่ชุมนุม ณ ลานพระบรมรูปทรงมาเริ่มอึดอัดแลว
เพราะไมไดรับคําตอบจากรัฐบาล
นายกรัฐมนตรีถามวาเหตุการณสงบแลวยังไมกลับบานกันอีกหรือ พล.ต.ชาติชาย ตอบวายังไมกลับ และ
เตรียมเดินขบวนมาทําเนียบรัฐบาลเพื่อขอทราบคําตอบจากรัฐบาลตามขอเรียกรอง จึงมีรัฐมนตรีคนหนึ่ง
จําไมไดวาใคร ถามวาลูกเสือชาวบานเรียกรองอะไร นายกรัฐมนตรีตอบวา กลุมแมบานไดยื่นขอเรียกรอง
มาเมื่อวันกอน พรอมกับลวงซองขาวออกจากเสื้อแลวอานใหฟงถึงขอเรียกรองของกลุมแมบาน จําไดวา
มีขอเรียกรองใหนาย สุรินทร มาศดิตถ นายชวน หลีกภัย นายดํารง ลัทธพิพัฒน ออกจากรัฐมนตรี ใหจับ
ดร.ปวย อึ๊งภากรณ นายแคลว นรปติ และกรรมการพรรคสังคมนิยมทุกคน ใหใชกฎหมายปองกัน
ปราบปรามคอมมิวนิสตโดยเด็ดขาด เมื่ออานขอเรียกรองจบ นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน รอง
นายกรัฐมนตรีกลาววา ขอเรียกรองใหรัฐมนตรีออกจากตําแหนงเปนสิ่งที่มากไป นายกรัฐมนตรีไดรับพระ
กรุณาแตงตั้งจากพระมหากษัตริย การออกจากตําแหนงมีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ หากเห็นวาไม
เหมาะสม ส.ส.ก็อาจลงมติไมไววางใจได การแถลงนโยบายในวันมะรืนนี้ (8 ตุลาคม 2519) เพื่อรับความ
ไววางใจจากสภาผูแทนราษฎร ก็มีสิทธิที่จะลงมติไมไววางใจได ประชาชนเพียงบางสวนจะมาเรียกรอง
แบบนี้เห็นวาไมถูกตอง

“อาตมาประชุมคณะรัฐมนตรีดวยความอดทน สิ่งที่จะพูดหลายครั้งแตไมพูด แตเฉพาะเรื่องขอเรียกรอง


ของแมบานกลุมหนึ่งนั้น อาตมาเห็นวาจะตองพูด เพราะมีรัฐมนตรีบางคนในพรรคชาติไทยเปนผูรวมกอ
เรื่องขึ้นดวย อาตมาจึงพูดวา..... อาตมาไมไดหวงตําแหนงรัฐมนตรี ยอมทําตามมติพรรค คําสั่งพรรค
และดําเนินแนวนโยบายของพรรคอยางเครงครัดทุกประการ "แตเมื่อมาบีบบังคับกันดวยเลหการเมืองที่
สกปรกแบบนี้ผมไมลาออก ผมจะสู สูเพื่อศักดิ์ศรีของผม" เปนคําพูดของอาตมาในวันนั้น หลังจากนั้น
พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร พูดขึ้นวา การใสรายปายสีกันก็มีทั้งนั้นละ นี่ก็มีขาววาคุณดํารงไปพูดที่
ขอนแกนวา ไมใหพรรคชาติไทยรวมรัฐบาลอีก อาจารยดํารงพูดวา ผมไมเคยไปที่สถานีวิทยุขอนแกน

“หลังจากนั้น พล.ต.ชาติชาย ชุณหะวัณ ก็ออกจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ไมนานลูกเสือชาวบาน และ


พวกเขาที่เตรียมไวที่ลานพระบรมรูปทรงมา โดยมีนายธรรมนูญ เทียนเงิน นายสมัคร สุนทรเวช นายสง
สุข ภัคเกษม และพวก ไดไปรวมอยูที่นั้นดวย ก็เคลื่อนขบวนมาทั้งรถยนต และเดินมาลอมทําเนียบ
รัฐบาลขณะฝนกําลังตกหนัก การประชุมคณะรัฐมนตรีเลิกประมาณ15 น.เศษ อาตมานั่งรถยนตจากตึก
ไทยคูฟาไปตึกบัญชาการ ตั้งใจวาจะทํางานอยูตามปกติ เพราะถือวาตนไมไดทําผิดอะไร แตนายตํารวจ
คนหนึ่งยืนกรําฝนรออยูและเตือนวา "ทานรัฐมนตรีรีบออกจากทําเนียบรัฐบาลเร็วที่สุด มิเชนนั้นเปน
อันตรายถึงชีวิต" อาตมาก็ไดคิดและสั่งคนขับรถออกจากทําเนียบไปไดอยางปลอดภัย....”

เชนเดียวกันกับคนอื่นๆในขบวนการนักศึกษาที่เคยผานเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 มา ผมไดอาน


จดหมายของสุรินทร มาศดิตถ ที่เลาการประชุมคณะรัฐมนตรีในเชาวันนั้น ดวยความรูสึกชื่นชมที่สุรินทร
นําความจริงมาเปดเผย จนกระทั่งเมื่อเร็วๆนี้ เมื่อกลับไปอานอีกครั้งอยางตั้งใจวิเคราะหและวิจารณมาก
ขึ้น ผมเริ่มมองเห็นวาบางอยางที่สุรินทรเลาชวนใหตั้งคําถามกับบทบาทของสุรินทรและพรรค
ประชาธิปตยเองได

ประการแรก ผมคิดวาที่ผานมาเรามีแนวโนมจะมองขามความจริงที่วา การถกเถียงในที่ประชุมครม.ครั้งนั้น


โดยเฉพาะมาตรการที่สุรินทรและพรรคประชาธิปตยเสนอเพื่อแกวิกฤติ คือใหประกาศภาวะฉุกเฉินนั้น ไม
มีความหมายใดๆเลยตอชะตากรรมของผูชุมนุมที่ธรรมศาสตร สุรินทรเลาวา เขาเดินทางถึงทําเนียบ
รัฐบาล "เวลาประมาณ 7 น.เศษ" และคณะรัฐมนตรีเริ่มประชุม เวลา 9 นาฬิกา เมื่อถึงเวลาทั้งสองนั้น
การโจมตีธรรมศาสตรโดยกําลังตํารวจและม็อบฝายขวาไดดําเนินไปแลว ตอใหมีการประกาศภาวะ
ฉุกเฉินทันทีที่เริ่มประชุมครม.ก็จะไมมีผลอะไรตอการฆาหมูที่ทาพระจันทร สุรินทรเขียนวา "อาตมารีบขึ้น
ไปชั้น 4 ที่หองทํางานนายกรัฐมนตรี พบ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรี ไดดูภาพในหนังสือพิมพ
ดาวสยาม และบานเมือง จึงเสนอ ความเห็นตอนายกรัฐมนตรีวาใหรีบประกาศภาวะฉุกเฉินหามชุมนุมทั่ว
ประเทศ เพื่อรักษาความสงบเรียบรอย" เห็นไดชัดวา ความคิดใหประกาศภาวะฉุกเฉินของสุรินทร มาจาก
ความตองการปองกันการชุมนุมประทวงรัฐบาลของฝายขวาที่กําลังจะมีขึ้น ไมใชจากความตองการจะ
ปกปองคุมครองการชุมนุมที่ธรรมศาสตรแตอยางใด

ประการที่สอง ตอเนื่องจากประการแรก สิ่งที่ชวนใหสะดุดใจที่สุดเมื่อกลับไปอานจดหมายสุรินทร คือ


สุรินทรและฝายประชาธิปตยเองไมไดแสดงใหเห็นวาหวงใยตอการบุกโจมตีธรรมศาสตรของตํารวจมาก
นัก ในความเปนจริง เสนียไดสั่งการใหอธิบดีตํารวจดําเนินการสอบสวนและจับกุมผูกระทําความผิด
"หมิ่นองครัชทายาท" เทานั้นและตัวแทนศูนยนิสิตฯก็ไดติดตอเขามอบตัวแลว ดวยเหตุนี้จึงไมมีเหตุผล
ใดๆที่ตํารวจจะตองใชกําลังเขาทําลายการชุมนุมที่ธรรมศาสตร สุรินทรเลาถึงการที่ชุมพล โลหะชาละ
"เขามารายงานในคณะรัฐมนตรีพรอมกับรองไหโฮๆ" แตเขาไมไดเลาวาเขาหรือใครในประชาธิปตยเอง
ตั้งคําถามวา เหตุใดจึงตองมีการบุกยึดธรรมศาสตร จับผูชุมนุมถึงกวา 3 พันคน? ใครเปนคนออกคําสั่งให
ทําเชนนั้น?

ประเด็นนี้มีความสําคัญและเปนสิ่งชอบธรรมที่จะยกขึ้นมาเพียงใด ดูไดจากเหตุการณเล็กๆหนึ่งที่เกิดขึ้น
ไมหางจากการเขียนจดหมายของสุรินทรเทาไรนัก คือในวันที่ 7 กันยายน 2520 รัฐบาลธานินทร กรัย
วิเชียร ไดออก "แถลงการณเรื่องกรณีผูถูกจับกุมเนื่องจากเหตุการณในวันที่ 6 ตุลาคม 2519" ฉบับหนึ่ง
เพื่อ "ชี้แจงขอเท็จจริง" ในกรณีดังกลาว (ที่รัฐบาลออกแถลงการณก็เพราะกอนหนานั้น 2 วัน คดี 6 ตุลา
ไดถูกนําขึ้นสูศาลเปนครั้งแรก ผูตองหา 19 คน - สุธรรม แสงประทุมและอีกบางคนในชุดนักโทษ
เด็ดขาดพรอมตรวนที่ขา - ถูกนําตัวไปที่ศาลทหารในกระทรวงกลาโหม และโดยที่ไมมีใครคาดคิด มา
กอน ผูคนหลายพันคน รวมทั้งชางภาพสื่อมวลชน และผูแทนองคกรสิทธิมนุษยชนตางประเทศ พรอมใจ
กันไปฟงการพิจารณาคดีและใหกําลังใจผูตองหา จนเบียดเสียดกันแนนศาลและกระทรวงกลาโหม -
ในทางปฏิบัติเปนการชุมนุมทางการเมืองครั้งแรกหลังรัฐประหาร - สรางความตกใจแกรัฐบาลไมนอย)
สวนหนึ่งของแถลงการณกลาววา:

ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 รัฐบาลชุดกอน (ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี) ไดจับกุมบุคคลที่ใช


กําลังและใชอาวุธตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งปฏิบัติตามหนาที่ เพื่อกอความวุนวายและเปลี่ยนแปลง
รัฐบาล รวมทั้งรวมกันฆาและพยายามฆาเจาพนักงานและผูอื่น และในขอหาอื่นๆซึ่งเปนความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายอื่น เปนจํานวนทั้งสิ้น 3,154 คน

ทันทีที่รัฐบาลธานินทรออกแถลงการณฉบับนี้ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ไดออก "คําชี้แจง" ออกมาตอบโต


ฉบับหนึ่ง ดังนี้:
ขาพเจาขอชี้แจงวา ในวันที่ 5 ตุลาคม 2519 กอนมีการปฏิรูปการปกครองแผนดิน ขาพเจาในตําแหนง
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ไดสั่งใหตํารวจดําเนินการสอบสวนและจับกุม
เฉพาะแตผูตองหาวากระทําความผิดฐานดูหมิ่นหรือแสดงความอาฆาตมาดรายตอองครัชทายาท อันเปน
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 แตฐานเดียวเทานั้น ดังที่ขาพเจาไดชี้แจงแถลงให
ทราบทั้งทางวิทยุและโทรทัศนตอนค่ําวันที่ 5 ตุลาคม 2519 สวนความผิดฐานอื่นไมไดสั่ง

แตในการประชุมครม.ในเชาวันที่ 6 ตุลาคม นั้นเอง - ถาเราเชื่อตามจดหมายของสุรินทร มาศดิตถ - ไม


วาตัวเสนีย, หรือสุรินทร, หรือพรรคประชาธิปตย ไมมีใครถามชุมพล โลหะชาละหรือศรีสุข มหินทรเทพ
(อธิบดีกรมตํารวจ) วาเหตุใดจึงใชกําลังเขาปราบปรามการชุมนุมในธรรมศาสตรในเมื่อ "ผูตองหาวา
กระทําความผิดฐานดูหมิ่นองครัชทายาท" ติดตอเขามอบตัวแลว? ใครสั่งใหทํา? ที่ผานมาผมคิดวาเรา
อานจดหมายสุรินทรในแงที่เปนการเปดโปง การเขาไป "เลนบทโศก" ในที่ประชุมครม.ของชุมพล โดย
มองขามความจริงไปวาฝายประชาธิปตยเอง (รวมทั้งตัวสุรินทร) ไมไดตั้งขอสงสัยหรือคัดคานการที่
ตํารวจใชกําลังเขาสลายการชุมนุมของนักศึกษาโดยตรง อันที่จริง เสนียและสุรินทรควรจะทําอยางที่
เสนียเพิ่งมาทําใน "คําชี้แจง" ในตนเดือนกันยายน 2520 คือยืนยันวา "ความผิดฐานอื่นไมไดสั่ง" อาจจะ
แยงไดวา จดหมายสุรินทรฉบับดังกลาวมีถึงสมาชิกพรรคประชาธิปตย จึงไมตองการเลาวาตัวเองออกมา
ปกปองการชุมนุมของนักศึกษาในที่ประชุมครม.ในเชาวันนั้น แตในจดหมายที่สุรินทรเขียนถึง สุธรรม
แสงประทุม ที่คุกบางขวางในเวลาไลเลี่ยกัน (ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2520) ก็กลาวแตเพียงวา "อาตมาไม
พอใจเลยในการที่นิสิตนักศึกษาประชาชนไมไดรับความเปนธรรมและถูกกลาวรายโดยปราศจากความ
จริง เรื่องภายในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีวันนั้น อาตมาพยายามที่จะใหทุกอยางเปนไปตามความจริง แต
รัฐมนตรีพวกพรรคชาติไทยไดตอตานคัดคานอาตมาและรวมแผนการปฏิวัติของพวกเขาอยางชัดเจน"
ซึ่งนาจะหมายถึงการถกเถียงกันเรื่องจะประกาศใชภาวะฉุกเฉินหรือไมมากกวา (หรือมิเชนนั้น ก็อาจจะ
หมายถึง แถลงการณที่ดูเหมือนจะมีการพยายามรางกันขึ้น ในจดหมายถึงสมาชิกพรรค สุรินทรกลาววา
"ตอนบายประชุมคณะรัฐมนตรีตอ มีการพิจารณารางแถลงการณ ไดมีการแถลงการณบางตอนไมตรง
ความจริง อาตมาเปนผูคัดคานไมใหออกแถลงการณเท็จ" ผมไมแนใจวา สุดทายมีการออกแถลงการณนี้
หรือไม เพราะไมเคยเห็น)

ในจดหมายถึงพรรคฉบับที่สองของสุรินทร มีตอนหนึ่งที่กลาววา "พล.ต. ชาติชาย จึงไดไปนําเอา


พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน ผูเปนหัวหนาลูกเสือชาวบานคนหนึ่งของฝายตชด.เขามาใน
คณะรัฐมนตรี มาคัดคานการประกาศภาวะฉุกเฉินและกลาววาจะตองปราบนักศึกษาใน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหสิ้นซาก นายกรัฐมนตรีพูดวาไมได คุณจะเอาลูกเสือชาวบาน เอาประชาชน
ไปฆาประชาชนไมได" และ "พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร หัวหนาพรรคชาติไทย รมต.เกษตรฯแสดง
ความเห็นในคณะรัฐมนตรีวา เปนจังหวะและโอกาสที่ดีที่สุดที่จะปราบปรามใหศูนยกลางนิสิตนักศึกษา
แหงประเทศไทยใหถูกลบชื่อหายไปจากประเทศ" ซึ่งนาจะเปนเหตุการณเดียวกับที่จดหมายถึงพรรค
ฉบับแรกกลาวอยางสั้นๆวา "วันนั้นไดมีผูเสนอใหฆานักศึกษา นายกรัฐมนตรีเปนผูคัดคานไมใหกระทํา"
แตทั้งสองกรณีเปนการคัดคานการใชลูกเสือชาวบานมากกวา ไมปรากฏวามีการตั้งขอสงสัยหรือคัดคาน
การกระทําของตํารวจ ซึ่งอาจจะเปนการแสดงใหเห็นลักษณะพาซื่อของเสนียและสุรินทรก็ได อยางไรก็
ตาม ผมยังคงเห็นวาทั้งคูนาจะไดยืนยันในวันนั้น อยางที่เสนียมายืนยันในภายหลัง วา "ความผิดฐานอื่น
ไมไดสั่ง"

ความจริงก็คือ ในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 นั้น กําลังตํารวจประเภทตางๆไดบุกเขาโจมตีการชุมนุมที่


ธรรมศาสตรโดยไมไดรับคําสั่งใดๆจากรัฐบาล ปญหาที่เราตองพิจารณาตอไปคือ ใครเปนผูสั่ง? และสั่ง
เพื่อผลประโยชนของใคร? กลาวอีกอยางหนึ่งคือ ใครเปนผูบงการ?

ใครสั่ง/ใครบงการ บุกธรรมศาสตร?
กําลังที่บุกเขาโจมตีผูชุมนุมในธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ถาจะแบงแบบกวางที่สุด
ประกอบดวย 2 พวก คือ มีเครื่องแบบกับไมมีเครื่องแบบ พวกไมมีเครื่องแบบอยางนอยไดแกลูกเสือ
ชาวบาน (สังเกตจาก "ผาพันคอพระราชทาน") และนาจะกระทิงแดง (สังเกตจากบุคลิกทาทาง)
นอกจากนี้มีผูตั้งขอสังเกตวาหลายคนอาจจะเปนเจาหนาที่หรืออดีตเจาหนาที่ทหารตํารวจนอก
เครื่องแบบ เชน มีเพื่อนผมบางคนแสดงความเห็นวา ลักษณะทารุณกรรมที่พวกนี้กระทําเชนตอกลิ่ม เผา
ทั้งเปน แขวนคอแลวประทุษรายศพ คลายกับวิธีการที่ทหารอเมริกันหรือคนพื้นเมืองที่ทหารอเมริกันฝก
กระทําในสงครามเวียดนาม ถาเปนชาวบานธรรมดาไมนาจะมีจิตใจเหี้ยมเกรียมพอจะทําเชนนั้นได ใน
ความเปนจริง ทารุณกรรมตางๆที่นิยาม 6 ตุลาในความทรงจําของคนทั่วไป เปนฝมือของพวกไมมี
เครื่องแบบนี้มากกวาพวกมีเครื่องแบบ อยางไรก็ตาม ลําพังพวกไมมีเครื่องแบบที่มีอาวุธไมมาก ไม
สามารถจะสลายการชุมนุมในวันนั้นได พวกมีเครื่องแบบเปนผูโจมตีสังหารหมูดวยอาวุธหนักเบาครบ
เครื่องกอน เปดทางใหพวกไมมีเครื่องแบบทําทารุณกรรม

ลักษณะเดนที่สุดของกําลังติดอาวุธในเครื่องแบบที่ลงมือปราบปรามการชุมนุมของนักศึกษาประชาชนใน
กรณี 6 ตุลา ซึ่งตรงขามกับกรณี 14 ตุลาและ 17 พฤษภา คือ มีแตตํารวจไมมีทหาร ถาดูจากหลักฐาน
ตางๆที่มีอยู รวมทั้งคําใหการของพยานที่เปนตํารวจในคดี 6 ตุลา จะพบวากําลังตํารวจแทบทุกหนวยถูก
ระดมมาใชในการโจมตีธรรมศาสตร ทั้งนครบาล (ตั้งแตจาก สน. ถึงแผนกอาวุธพิเศษ หรือ "สวาท"),
สันติบาล, กองปราบปราม โดยเฉพาะตํารวจแผนกปราบจลาจล ("คอมมานโด") 200 คนภายใตสลาง
บุนนาค และตํารวจพลรมตระเวนชายแดน จากคายนเรศวร หัวหิน สองหนวยหลังนี้ผมเขาใจวานาจะเปน
กําลังหลักในการโจมตี ขอใหเรามาพิจารณาอยางใกลชิดยิ่งขึ้น

ตํารวจปราบจลาจลและสลาง บุนนาค
ตํารวจปราบจลาจลเปนแผนกหนึ่ง (แผนก 5) ของกองกํากับการ 2 กองปราบปราม พ.ต.ท.สลาง
บุนนาค เปนรองผูกํากับการ 2 คนหนึ่ง เขาใหการแกศาลทหารวา ไดรับคําสั่งจากพล.ต.ต.สุวิทย โสตถิ
ทัต ผูบังคับการกองปราบปราม เมื่อเวลาตีหนึ่งของคืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519 ใหนํากําลังตํารวจปราบ
จลาจลไป "รักษาความสงบที่บริเวณทองสนามหลวงและหนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร" เขาจัดกําลังได
ประมาณ 200 คน นําไปถึงธรรมศาสตรเมื่อเวลาตีสาม ตอมาเวลาประมาณ 8 นาฬิกา ก็ไดรับคําสั่งจาก
อธิบดีกรมตํารวจ "ใหเขาไปทําการตรวจคนจับกุมและใหใชอาวุธปนไดตามสมควร" (อยางไรก็ตาม "ที่
ขาฯไดรับคําสั่งใหใชอาวุธไดจากอธิบดีตํารวจนั้น ไดรับคําสั่งโดยมีนายตํารวจมาบอกดวยวาจา จํา
นายตํารวจนั้นไมไดวามียศเปนอะไร...มาบอกกันหลายคน")

ขณะที่สลาง ทั้งในคําใหการตอศาลทหารและในบันทึกความทรงจําเกี่ยวกับ 6 ตุลาที่เขาเผยแพรหลัง


จากนั้น (เชนในสวนที่เกี่ยวกับปวย อึ๊งภากรณเมื่อเร็วๆนี้) พยายามเสนอภาพตัวเองวาเปนเพียงเจา
พนักงานที่ปฏิบัติหนาที่โดยปกติตามกฎหมายและตามคําสั่งของผูบังคับบัญชา คําใหการและบันทึก
ความจําของเขาเองมีชองโหวและจุดที่ขัดแยงกันเอง ซึ่งชวนใหสงสัยไดวาพฤติกรรมของเขาในวันนั้นมี
เบื้องหลังทางการเมือง คือ มีความเปนไปไดที่เขาจะเปนสวนหนึ่งของกลุมพลังฝายขวาที่มุงกวาดลาง
ทําลายขบวนการนักศึกษาเพื่อปูทางไปสูการรัฐประหาร

สลางอางวาในคืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519 เวลาประมาณหาทุมครึ่ง เขาเดินทางไปสังเกตการณบริเวณ


สนามหลวงหนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรดวยตัวเอง โดยแตงกายนอกเครื่องแบบ แลวจูๆในระหวางที่
เดินอยูบริเวณหนาประตูมหาวิทยาลัยดานวัดมหาธาตุ ก็มี "ผูหญิง 3 คนซึ่งขาฯไมเคยรูจักมากอนมาพบ
ขาฯ...บอกขาฯวาเขาเปนอาจารยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร...บอกวาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมีการ
แสดงละครการเมืองดังกลาวซึ่งนาจะทําใหเกิดเหตุรายขึ้นได ทางตํารวจไมดําเนินการอยางไรบางหรือ"
เขาจึงพาทั้งสามไปรายงานพล.ต.ต.สุวิทย โสตถิทัต เพื่อใหปากคําที่กองปราบ แลวจึงเดินทางไปแผนก
5 "เพื่อเตรียมกําลังตามคําสั่งพล.ต.ต.สุวิทย" จัดกําลังได 200 คนนํากลับมาที่ธรรมศาสตร

นี่เปนความบังเอิญอันเหลือเชื่อ อยาลืมวานั่นเปนเวลาใกลเที่ยงคืน สลางไมไดแตงเครื่องแบบ "อาจารย


ธรรมศาสตร" ทั้งสามจะรูไดอยางไรวาเขาเปนใคร? (สลางอางวา "เชื่อวาคงมีอาจารยคนใดคนหนึ่งรูจัก
หนาขาฯ") อยาวาแต "อาจารย" ทั้งสามไปทําอะไรดึกดื่นเที่ยงคืนขนาดนั้นในบริเวณนั้น? ยิ่งถาไมพอใจ
การแสดงละครของนักศึกษาทําไมไมไปแจงความที่ สน.สักแหงตั้งแตกลางวัน หรือตั้งแตวันที่ 4 ซึ่งเปน
วันแสดงละคร กลับมาเดินทอมๆในยาม วิกาลใหเจอสลางโดยบังเอิญเพื่อรองเรียนไดเชนนั้น?

เรื่องประหลาดของสลางในวันที่ 5 ตุลาคม ยังมีอีก: ในระหวางตอบคําถามโจทกในศาลทหาร เขาไม


ยอมเลาถึงการกระทําอยางหนึ่งของตัวเอง จนกระทั่งเมื่อทนายจําเลยซักคาน จึงไดยอมรับวา หลังจาก
พา "อาจารยธรรมศาสตร" ทั้งสามไปใหปากคําที่กองปราบ แต "กอนที่ขาฯจะนําเอากําลังตํารวจ 200
คนออกไปปฏิบัติการนั้น ขาฯไดไปพบหมอมราชวงศเสนีย ปราโมชที่บานในซอยเอกมัยกอน ขาฯไปเอง
ไมมีใครสั่งใหไป ขาฯไปดูความเรียบรอยของผูใตบังคับบัญชาของขาฯ"

อยาลืมวาขณะนั้น (ตี 1-2) ตามคําใหการของเขาเอง สลางอยูภายใต "คําสั่งพล.ต.ต.สุวิทย" ใหนํากําลัง


ไปที่ธรรมศาสตร แตแทนที่จะรีบไปปฏิบัติตามคําสั่งผูบังคับบัญชา กลับเถลไถลแวะไปบานเสนียโดย
"ไมมีใครสั่งใหไป" เพียงเพื่อ "ดูความเรียบรอยของผูใตบังคับบัญชา" ทนายจําเลยเสนอเปนนัยยะวา
แทจริงสลางไปเพื่ออาสานํากําลังไปปราบนักศึกษา (ในฐานะของความเปนฝายขวา แบบเดียวกับที่
จําลอง ศรีเมืองและพวก "ยังเตอรก" เคยแอบเขาพบเสนียที่บานเพื่อเรียกรองทางการเมืองในปนั้น) แต
สลางปฏิเสธ "โดยสวนตัว ขาฯไมไดขออนุญาตตอทานนายกรัฐมนตรีนํากําลังออกปฏิบัติการ" อยางไรก็
ตาม เขากลาววา "ไดพบกับนายกรัฐมนตรีและเลาเหตุการณที่เกิดขึ้นใหฟงดวย เมื่อขาฯไดเลาเหตุการณ
ใหทานนายกรัฐมนตรีฟงแลว ทานไดบอกกับขาฯวา เรื่องนี้สั่งการไปทางอธิบดีกรมตํารวจแลว ม.ร.ว.
เสนีย ปราโมชไมไดสั่งอะไรเปนพิเศษแกขาฯในขณะนั้น" ซึ่งชวนใหสงสัยวาคนระดับนายกรัฐมนตรี
จะตองมาชี้แจงใหนายตํารวจระดับรองผูกํากับที่แวะมาหาตอนตีสองโดยไมบอกลวงหนาและเปนการ
สวนตัวทําไม?

ในบันทึก "กรณีเหตุการณ 6 ตุลาคมที่เกี่ยวของกับดร.ปวย" ที่สลางเผยแพรในโอกาสการถึงแกกรรม


ของปวย อึ๊งภากรณเมื่อเร็วๆนี้ เขาเลาวาในวันที่ 6 ตุลา หลังจากนักศึกษาในธรรมศาสตร "มอบตัว" ตอ
ตํารวจแลว เขา "ไดรับวิทยุจากผูบังคับการกองปราบฯ...สั่งการใหผมเดินทางไปที่ทําเนียบรัฐบาลโดย
ดวน เนื่องจากประชาชนที่ไมพอใจรัฐบาลในขณะนั้นบุกเขาไปในทําเนียบ โดยมีคําสั่งใหรักษาความ
ปลอดภัยหรือหาทางพาทานนายกฯม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ออกจากทําเนียบรัฐบาลใหได" เมื่อไปถึง
ทําเนียบ "ทราบวา ฯพณฯนายกฯมีความประสงคจะลาออก เพื่อใหเกิดความสงบสุข มีส.ส.สวนหนึ่งเห็น
ดวย อีกสวนหนึ่งไมเห็นดวย ตัวคุณสราวุธ นิยมทรัพย (เลขาธิการนายกรัฐมนตรี) ก็ถูกคุมเชิงอยู ไมกลา
นําใบลาออกที่พิมพเสร็จแลวไปเสนอนายกฯ"

สลางอางตอไปวา :
“หลังจากหารือกับคุณสราวุธ, ม.ล.เสรี ปราโมช กับพวก ส.ส. เห็นดวยกับการคลี่คลายสถานการณ โดย
ใหทานนายกฯลาออก ไดขอยุติดังนี้
1.มอบหมายใหผมเปนผูนําใบลาออกไปใหนายกฯลงนาม
2.จัดรถปราบจลาจลมาจอดหนาทําเนียบเพื่อใหทานนายกฯประกาศลาออกตอหนาประชาชนที่บุกเขามา
ในทําเนียบ
3.จัดกําลังคุมกันนายกรัฐมนตรีไปที่บก.รวมซึ่งตั้งอยูในบก.สูงสุด (เสือปา) ปจจุบันนี้ เพื่อรวมกัน
พิจารณาคลี่คลายสถานการณ

“เมื่อไดรับการขอความรวมมือและเห็นวาเปนทางเดียวที่ดีที่สุด คือใหผูนํา ทั้ง 2 ฝาย คือทานนายกฯและ


ฝายทหารไดเจรจาหรือแกไขรวมกันก็คงจะเปนประโยชน ผมจึงไดปฏิบัติ

“ผลการปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบหมาย ดําเนินการไปไดดวยความเรียบรอย....”

เปนเรื่องประหลาดที่นายตํารวจระดับรองผูกํากับการจะมีบทบาทมากมายเพียงนี้ ถึงขนาดที่ทั้งทําเนียบ
รัฐบาลไมมีใครเหมาะสมพอจะ "เอาใบลาออกไปใหนายกฯลงนาม" และ "นํานายกฯไปพบกับคณะ
ทหาร" ตองพึ่งพาใหเขาทํา ตั้งแตไปพบอาจารยธรรมศาสตรที่เห็นเหตุการณละคร "แขวนคอ" โดย
บังเอิญกลางดึกที่สนามหลวง, นําไปใหปากคําที่กองปราบฯ, แลวไดรับคําสั่งใหไปจัดกําลังไป "รักษา
ความสงบ" ที่ธรรมศาสตร, แวะไปบานนายกรัฐมนตรีในซอยเอกมัยตอนตีสอง, ปฏิบัติการที่ธรรมศาสตร,
เดินทางไปทําเนียบ จัดการใหนายกฯเซ็นใบลาออกแลวพาไปพบผูนําทหาร - บทบาทของสลาง บุนนาค
ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 มีมากมายอยางนาอัศจรรยใจ แนนอนวาบทบาทของเขาในวันนั้นยังไมหมด
เทานี้ กอนจะหมดวัน เขายัง "ไดรับคําสั่ง" ใหไปปฏิบัติการที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง ซึ่งทําใหเขามีชื่อเสียง
ที่ไมอาจลบลางไดจนทุกวันนี้:

“ประมาณ 2 ทุม (ของวันที่ 6 ตุลาคม 2519) ไดขออนุญาตกลับบานถนนแจงวัฒนะ เพื่ออาบน้ําและ


เปลี่ยนเครื่องแตงกาย เนื่องจากไมไดกลับบานมา 3-4 วันแลว ระหวางที่เดินทางมาถึงสี่แยกบางเขน
ไดรับวิทยุสั่งการโดยตรงจาก พล.ต.ต.สงวน คลองใจ ผูบังคับการกองปราบฯใหรีบเดินทางไปที่สนามบิน
ดอนเมืองโดยดวนที่สุดเพื่อปองกันชวยเหลือ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ใหรอดพนจากการทํารายจากกลุม
ประชาชน พวกนวพลและกระทิงแดงใหได จึงไดรีบเดินทางไปปฏิบัติหนาที่ตามคําสั่ง....

“กระผมจึงไดรีบเดินไปที่ดร.ปวยที่กําลังโทรศัพทอยู โดยบอกวา อาจารยครับเขาไปโทรขางใน พูด 2


ครั้ง ทานก็ยังพยายามตอโทรศัพทอยู ผมจึงปดโทรศัพทจากมือทานและกระชากทานเพื่อนําเขาไปใน
หองของทาอากาศยาน เมื่อเขาไปในหองและเห็นวาปลอดภัยแลว จึงกราบทานและแนะนําตัววาผมเปน
ลูกศิษยทานที่ธรรมศาสตร ที่ไดแสดงกิริยารุนแรงกับอาจารยก็เพื่อแสดงใหกลุมพลังขางนอกเขาใจวา
ผมไมใชพวกเดียวกับอาจารย ดร.ปวยไดบอกกับพวกผมและเจาหนาที่ทาอากาศยาน ศุลกากร ตม. วาที่
ตองโทรก็เพราะไมมีเงินติดตัวมาเลย....เจาหนาที่หลายนายไดบอกวาผมเปนลูกศิษยและมีหลายคน
รวบรวมเงินมอบใหอาจารย ทานก็รับไป...”

บันทึกดังกลาวของสลางไดรับการตอบโตจากนักวิชาการบางคน รวมทั้งผมดวย (สลางเริ่มเผยแพร


เหตุการณที่ดอนเมืองเวอรชั่นนี้ในป 2534) ทุกคนใชวิธีอางความทรงจําของอาจารยปวยเองทั้งที่อยูใน
บทความ "ความรุนแรงและรัฐประหาร 6 ตุลาคม 2519" และที่อาจารยเลาใหลูกชายฟง ซึ่งมีแตกลาวถึง
การที่สลาง "ตรงเขามาจับผูเขียน [ปวย] โดยที่กําลังพูดโทรศัพทอยู ไดใชกิริยาหยาบคายตบ
หูโทรศัพทรวงไป แลวบริภาษผูเขียนตางๆนานา บอกวาจะจับไปหาอธิบดีกรมตํารวจ ผูเขียนก็ไมได
โตตอบประการใด" ไมมีตอนใดที่บอกวาสลางไดกราบขอโทษ "ที่ไดแสดงกิริยารุนแรงกับอาจารยก็เพื่อ
แสดงใหกลุมพลังขางนอกเขาใจวาผมไมใชพวกเดียวกับอาจารย" เลย

อยางไรก็ตาม การตอบโตแบบนี้ ถึงที่สุดแลว เปนการใชความทรงจําของคนหนึ่งไปหักลางกับความทรง


จําของอีกคนหนึ่ง และแมวาคนทั่วไปอาจจะเลือกที่จะเชื่อปวยมากกวา (ดังที่ผมเขียนวา "ถาจะใหเลือก
ระหวางอาจารยปวยกับสลาง บุนนาค วาใครพูดความจริงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นที่ดอนเมือง ผมเลือก อาจารย
ปวยโดยไมลังเล") แตหากสลางยืนกรานใน "ความทรงจํา" ของตัวเอง แมวาจะฟงดูเหลือเชื่อเพียงใด
ในระยะยาวก็ยากจะพิสูจนไดวาอะไรคือความ จริง จนกระทั่งเมื่อไมกี่วันมานี้ ผมพบวาเรามี "บุคคลที่
สาม" ที่สามารถเปน "พยาน" พิสูจนไดวา "ความทรงจํา" ของสลางเกี่ยวกับ 6 ตุลา รวมทั้งที่เกี่ยวกับ
อาจารยปวยที่ดอนเมือง เปนสิ่งที่เชื่อถือไมไดเลย

"บุคคลที่สาม" ที่วานี้ก็คือ ตัวสลาง บุนนาค เอง!

เพื่อที่จะเขียนบทความชุดนี้ ผมไดกลับไปอานคําใหการตอศาลทหารของพยานโจทกทุกคนในคดี 6
ตุลา (ซึ่งผมเปนจําเลยคนหนึ่ง) อยางละเอียด รวมทั้งของสลาง บุนนาคดวย ผมพบวาสลางไดใหการ
เกี่ยวกับเหตุการณที่ดอนเมืองแตกตางกับที่เขานํามาเขียนถึงในระยะไมกี่ปนี้อยางมาก ดังนี้:

“เย็นวันที่ 6 ต.ค. 19 ขาฯไมไดไปหามสายการบินสิงคโปรแอรไลนไมใหทําการบิน หรือเลื่อนเวลาทํา


การบินออกไป ขาฯไปเพราะไดรับทราบขาวจากสถานีวิทยุยานเกราะออกขาววาด็อกเตอรปวย อึ๊งภากรณ
จะเดินทางออกนอกประเทศไทยโดยทางเครื่องบินที่ดอนเมือง และมีประชาชนจํานวนมากไดติดตามไป
ที่สนามบินดอนเมืองเพื่อเขาทําการแยงตัวเพื่อจะทําราย ขาฯ จึงไปและกันใหด็อกเตอรปวยไปอยูเสียที่
ชั้นลางของทาอากาศยานกรุงเทพ เพื่อใหหางจากฝูงคนที่จะเขาไปทําราย จนทําใหด็อกเตอรปวยรอด
ชีวิตอยูไดจนถึงบัดนี้...ในวันนั้นขาฯไปเพียงคนเดียว ไมมีกําลังตํารวจไปดวย ในวันนั้นขาฯยังพูดกับด็อก
เตอรปวยวา มหาวิทยาลัยกําลังยุงอยูทําไมทานจึงหนีออกนอกประเทศเอาตัวรอดแตเพียงคนเดียว
ขณะที่พูดมีคนอื่นไดยินกันหลายคน เพราะขาฯมีความเห็นวาขณะนั้นด็อกเตอรปวยควรจะอยูอยางยิ่งถามี
ความรับผิดชอบในฐานะที่เปนผูใหญ ด็อกเตอรปวยไมไดขอพูดโทรศัพทกับนายตํารวจชั้นผูใหญและขา
ฯก็ไมไดกระชากโทรศัพทมาเสียจากด็อกเตอรปวย”

ยกเวนเรื่องที่สลางอางวาชวยไมใหปวยถูกฝูงชนทํารายแลว จะเห็นวาคําใหการป 2521 กับบันทึกป


2542 มีสาระและน้ําเสียงที่ตรงขามกันโดยสิ้นเชิงที่สําคัญที่สุดคือการที่สลางปฏิเสธอยางชัดถอยชัดคํา
ในศาลเมื่อป 2521 วา "ไมไดกระชากโทรศัพทมาเสียจากด็อกเตอรปวย" แตมายอมรับในป 2542
(2534) วา "ปดโทรศัพทจากมือทานและกระชากทานเพื่อนําเขาไปในหอง"

แสดงวาสลางใหการเท็จตอศาลทหาร (ซึ่งเปนความผิดทางอาญา นาเสียดายที่อายุความสิ้นสุดเสีย


แลว)

ขณะเดียวกันทัศนะของสลางตอปวยที่แสดงออกในคําใหการป 2521 นาจะใกลเคียงกับความรูสึกของ


เขาสมัย 6 ตุลามากกวา ("ทําไมทานจึงหนีออกนอกประเทศเอาตัวรอดแตเพียงคนเดียว..." ฯลฯ) ซึ่ง
แสดงวา ขออางในปหลังที่วาเขา "กราบ" ปวยก็ดี ชวยเหลือในการเรี่ยไรเงินใหก็ดี เปนเรื่องโกหก และ
สุดทาย การที่สลางมาอางเมื่อเร็วๆนี้วา ไปดอนเมืองเพราะ "ไดรับวิทยุสั่งการโดยตรงจาก...ผูบังคับการ
กองปราบฯ" ก็นาจะไมจริงอีกเชนกัน เพราะในป 2521 เขาเองบอกวา "ไปเพราะไดรับทราบขาวจาก
สถานีวิทยุยานเกราะออกขาววาด็อกเตอรปวย อึ๊งภากรณ จะเดินทางออกนอกประเทศไทย"

การที่สลางยอมรับออกมาเองในป 2521 วา เขาไดพูดจากลาวหาใสหนาปวยวา "หนีออกนอกประเทศ


เอาตัวรอดแตเพียงคนเดียว" ไมสมกับ "ฐานะที่เปนผูใหญ" เชนนี้ มีความสําคัญอยางมาก อยาลืมวา
ขณะนั้นสลางเปนเพียงรองผูกํากับการยศพันตํารวจโทอายุ 40 ป ถึงกับกลาตอวาปวยซึ่งอายุ 60 ปและมี
ฐานะระดับอธิบดีกรม (ความจริงสูงกวาเพราะอธิการบดีเปนตําแหนงโปรดเกลาฯแตงตั้ง) ในระบบราชการ
ตองนับวาเปนการบังอาจเสียมารยาทอยางรายแรงเขาขายผิดวินัย ในลักษณะเดียวกับที่ สุรินทร มาศ
ดิตถ กลาวถึงพฤติกรรมของ พล.ต.ต. เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน ในที่ประชุมครม.ในเชาวันนั้น ("บังอาจโต
นายกรัฐมนตรี...ตํารวจยศพลตํารวจตรียังกลาเถียงนายกรัฐมนตรีถึงในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี") ความ
"กลา" แสดงออกของสลางขนาดนี้ชี้ใหเห็นอยางไมเปนที่ตองสงสัยเลยวา ที่เขารีบไปดอนเมืองเพราะ
ไดฟงการ "ออกขาว" (ชี้นํา?) จากยานเกราะนั้น จะตองมีจุดมุงหมายเพื่อหวังจะยับยั้งการลี้ภัยของปวย
อยางแนนอน เมื่อบวกกับความจริง ซึ่งเขาใหการเท็จตอศาลแตเพิ่งมายอมรับในป 2534 ที่วาเขาได "ปด
โทรศัพทออกจากมือ" และ "กระชาก" ตัวปวย ซึ่งเปนเรื่องผิดทั้งทางวินัยและทางอาญา เราก็นาจะสรุป
ได (เชนเดียวกับที่สุรินทรสรุปไดเมื่อเห็นพฤติกรรมของเจริญฤทธิ์: "พวกนี้ตองวางแผนการปฏิวัติไวแลว
และเชื่อแนของพวกเขาแลววาตองสําเร็จแน") วาในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 สลางไมไดเปนเพียงเจา
พนักงานที่ทําตามคําสั่งของผูบังคับบัญชา แตเปนหนึ่งในการระดมกําลังของฝายขวาเพื่อทําลาย
ขบวนการนักศึกษาและทํารัฐประหาร

ขอสรุปเชนนี้ ทําใหเราสามารถอธิบายไดวาทําไมในวันนั้นสลาง บุนนาคจึงมีบทบาทอยางมากมายใน


ลักษณะ "วิ่งรอก" ทั่วกรุงเทพฯ - จากการไปพบ "อาจารยธรรมศาสตร" 3 คนที่สนามหลวงอยาง
"บังเอิญ" ตอนใกลเที่ยงคืน, นํามาใหปากคําที่กองปราบปราม, แลวไปจัดเตรียมกําลังตํารวจปราบ
จลาจล, ไปบานเสนียซอยเอกมัยตอนตีสอง โดย "ไมมีใครสั่งใหไป", กลับมานํากําลังตํารวจปราบ
จลาจลไปธรรมศาสตร, ทําการปราบปรามผูชุมนุม, ไปทําเนียบรัฐบาล, เอาใบลาออกไปใหเสนียลงนาม
แลวพาไปพบผูนําทหารที่สนามเสือปา, จนถึงการไปสะกัดกั้นปวยที่ดอนเมืองเมื่อไดขาวจากยานเกราะ
ในที่สุด. ขณะนั้น เฉพาะกองกํากับการ 2 กองปราบปราม ก็มีรองผูกํากับถึง 6 คน และเฉพาะแผนก 3
(รถวิทยุศูนยรวมขาว) และแผนก 5 (ปราบจลาจล) ที่สลางคุมอยู ก็มีรองผูกํากับอื่นชวยดูแลดวยอีก 2
คน ทุกคนแมแตตัวผูกํากับการ (พ.ต.อ.จิระ ครือสุวรรณ) ก็ดูจะไมมีบทบาทในวันนั้นมากเทาสลาง

ผมไดเสนอความเห็นขางตนวา สลางและตํารวจปราบจลาจล 200 คนที่เขาคุมเปนหนึ่งในสองกําลังหลัก


ที่บุกเขาโจมตีธรรมศาสตร ขอใหเรามาพิจารณากําลังหลักอีกกลุมหนึ่ง

ตํารวจพลรมตระเวนชายแดน
"ตํารวจพลรม" หรือชื่อที่เปนทางการวา กองกํากับการสนับสนุนทางอากาศตํารวจตระเวนชายแดน
ขึ้นอยูกับกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ตามคําใหการของ ส.ต.อ.อากาศ ชมภูจักร พยานโจทก
คดี 6 ตุลา เขาและตํารวจพลรมอยางนอย 50-60 คนจากคายตํารวจพลรมนเรศวรมหาราช หัวหิน ไดรับ
คําสั่งเมื่อเวลาตี 2 ของวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ใหเดินทางมากรุงเทพฯ โดยที่ "ขณะนั้นขาฯยังไมทราบวา
ที่ไดรับคําสั่งใหเดินทางไปครั้งนี้เพื่อจุดประสงค อะไร" พวกเขาขึ้นรถบรรทุก 2 คัน รถจี๊ปเล็ก 1 คัน
เดินทางถึงกองบัญชาการ ตชด.ถนนพหลโยธินเวลา 6 นาฬิกา รับประทานขาวหอ 15 นาที แลวเดินทาง
ตอมายังโรงแรมรอยัล รองผูกํากับการที่ควบคุมการเดินทางมาจากหัวหินจึงได "แจงสถานการณพรอมวิธี
ที่จะปฏิบัติใหทราบ โดยแจงวาที่ใหมาที่นี้ก็เพื่อมารักษาสถานการณภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร"
เขากลาววา "ที่นํากําลังมา 50-60 คนเปนเฉพาะตํารวจในหนวยที่ขาฯประจําอยูเทานั้น....ขาฯไมทราบวา
จะมีตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นไปปฏิบัติการดวยหรือไม"

ภาพถายเหตุการณ 6 ตุลาหลายภาพที่แสดงใหเห็นคนในเครื่องแบบคลายทหารถืออาวุธปนขนาดใหญ
(ปนไรแรงสะทอนถอยหลัง หรือ ปรส.) และปนครก กําลังทําทาโจมตีเขาไปในมหาวิทยาลัย คือภาพ
ของตํารวจตระเวนชายแดนนั่นเอง ("อาวุธปนในภาพที่มีคนแบกอยูกับอาวุธปนที่ติดกลองเล็งขนาดใหญ
นั้น เปนอาวุธปน ปรส. ภาพตํารวจที่แบกอาวุธปน ปรส.นั้นเปนตํารวจตระเวนชายแดน", ส.ต.อ.อากาศ
ใหการ)

ถานับจํานวนตํารวจหนวยพลรมเฉพาะในสังกัดเดียวกับ ส.ต.อ.อากาศ ที่เขารวมปฏิบัติการ 50-60 คน


รวมกับตํารวจปราบจลาจล 200 คนที่สลาง บุนนาคนํามา และตํารวจแผนกอาวุธพิเศษ หรือหนวย
"สวาท" ทั้งแผนกอีก 45 คน (ตามคําใหการในคดี 6 ตุลาของ พ.ต.ต.สพรั่ง จุลปาธรณ สารวัตร ประจํา
แผนก ซึ่งขึ้นตอกองกํากับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตํารวจนครบาล) ก็เทากับวา
ในเชาวันนั้นเฉพาะกําลังสวนที่ติดอาวุธหนักและรายแรงที่สุดของกรมตํารวจ 3 หนวยนี้ที่ถูกใชในการ
โจมตีก็มีถึง 300 คน ถามีตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นนอกจากหนวยพลรมเขารวมดวย ตัวเลขนี้ก็จะ
สูงขึ้นและ "อํานาจการยิง" (fire power) ก็ยอมเพิ่มขึ้นอีกมาก นอกจากนี้ยังมีตํารวจจาก สน.และ
หนวยงานอื่นๆอีกไมทราบจํานวนแตนาจะเปนไปไดที่มีตั้งแต 50 ถึง 100 คน (ผมคิดวานี่เปนการประเมิน
แบบต่ําที่สุดแลว) รวมแลวแสดงวามีตํารวจอยางต่ํา 400 คน

เมื่อเปรียบเทียบกับผูชุมนุม ที่ถูกจับได 3,000 คน และที่หนีไปไดซึ่งนาจะไมเกิน 1,000-2,000 คน


(ประเมินแบบสูง) ก็หมายความวา สัดสวนของตํารวจตอผูชุมนุมอยูในระดับที่สูงมากในฝายตํารวจ คือ
ตํารวจ 1 คนพรอมอาวุธครบครันสําหรับผูชุมนุมเพียง 10-12 คน โดยที่สวนใหญที่สุดของผูชุมนุมเปน
เพียงนักศึกษา และแทบทุกคนไมมีอาวุธ และนี่ยังไมนับรวมพวกไมใสเครื่องแบบ (ลูกเสือชาวบาน,
กระทิงแดง, ฯลฯ) ที่เขารวม "ปฏิบัติการ" กับตํารวจดวย
เฉพาะการเปรียบเทียบตัวเลขงายๆแบบนี้ก็เห็นไดชัดวากรณี 6 ตุลา เปนการ "ลอมปราบ" หรือ "รุมทํา
ราย" อยางแทจริง

ขอใหเรากลับมาพิจารณาตํารวจพลรมตระเวนชายแดนกันตอ ตํารวจพลรมเปนหนวยงานระดับกองกํากับ
การ (sub-division) ของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน มีชื่อทางการวา "กองกํากับการสนับสนุน
ทางอากาศ" เราไมมีหลักฐานวาตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นไดถูกระดมเขารวมในการโจมตีดวย
หรือไม (หนวยงานหลักที่เหลืออีก 7 หนวยของ บช.ตชด. เปนระดับกองบังคับการ (division) ไดแกกอง
บังคับการ ตชด.ภาคตางๆ เชน ภาค 1 คุมพื้นที่ภาคกลาง 25 จังหวัด) ส.ต.อ.อากาศ ชมภูจักรยอมรับใน
คําใหการของตนวาตํารวจในรูปถายที่แบกปน ปรส.เล็งยิงเขาไปในธรรมศาสตรในเชาวันนั้นเปน ตชด.
แตก็ไมไดกลาววาเปนหนวยของตน จึงมีเหตุผลที่เราจะตั้งสมมุติฐานไดวาคงมีหนวยตชด.อื่นเขารวม
ดวย

ในบันทึกความทรงจําเกี่ยวกับเหตุการณ 6 ตุลาที่ตีพิมพเมื่อไมกี่ปกอน (มติชนสุดสัปดาห, 7 ตุลาคม


2537) มนัส สัตยารักษ นายตํารวจนักเขียนที่รูจักกันดี ไดเลาถึงพฤติกรรมของ ตชด. ที่เขาเห็นในเชาวัน
นั้นไวอยางนาสนใจ ขณะเกิดเหตุ มนัสเปนสารวัตรคนหนึ่งของกองกํากับการ 2 กองปราบปราม นั่นคือ
อยูภายใตสลาง บุนนาค ซึ่งเปนรองผูกํากับการ 2 โดยตรง สลางเองกลาวไวในคําใหการของตนวา
"ผูใตบังคับบัญชาของขาฯที่วางกําลังไวที่สนามหลวง มีนายตํารวจชั้นสัญญาบัตรกวา 10 คน [เชน]....
รอยตํารวจเอกมนัส สัตยารักษ" แตมนัสไมเพียงแตไมไดเอยถึงขอมูลนี้หรือชื่อสลางไวในบันทึกของเขา
เลยเทานั้น ยังเขียนทํานองวาเขาไปที่นั่นเอง ไมมีใครสั่ง ซึ่งนาจะสะทอนอะไรบางอยาง มนัสเขียนวา:

“ผมพบ พล.ต.ต.วิเชียร แสงแกว ผูบังคับการกองปราบปราม กับกําลังตํารวจจํานวนหนึ่งที่ระเบียง


ดานหนาหอประชุม เมื่อเสียงปน ค. ของ ตชด. คํารามขึ้นทีไร กระจกหอประชุมจะแตกหลนกราวลงมาใส
ทานทีนั้น ผมภูมิใจมากที่มีโอกาสไดนอนทับตัวทานเพื่อบังเศษกระจกไว

“ผมขอใหทานสั่งหยุดยิง

“"ผมสั่งแลว!" ทานตอบทันที "มนัส คุณวิ่งไปบอกดวยตัวเองอีกที"

“ผมวิ่งไปยังกลุมตํารวจชายแดน 4-5 นายที่ดูเหมือนจะบันเทิงอยูกับอาวุธปน ค. ซึ่งปลายลํากลองชี้ไป


ทางอาคารฝงแมน้ําเจาพระยา ผมบอกวาผูบังคับการกองปราบปรามสั่งใหหยุดยิง

“"กระสุนดัมมี่ครับ ไมใชกระสุนจริง" พวกเขาไมฟงเสียงหันไปทางปนและเสียงปนก็คํารามขึ้นอีก

“ผมย้ําอีกครั้ง "ผูการสั่งใหหยุดยิง!"

“สิ้นเสียงผมเสียงปนสนั่นในทันที! เราตอปากตอคํากันไมนานผมก็ถอย พวกเขาเปนตํารวจชั้นผูนอย อาง


วาผูบังคับบัญชาของเขาสั่งใหยิง ยศ พ.ต.ต. ของผมกับคําสั่งของพล.ต.ต.นอกหนวยไมมีความหมาย
สําหรับพวกเขา

“ผมวิ่งกลับมาที่ระเบียงหอประชุม ถึงไมรายงานทานผูการก็รูวาสภาพของเหตุการณมันถึงขั้นอยูเหนือ
การควบคุมไปแลว การปฏิบัติการตางๆกลายเปนเรื่องสวนตัวไปเสียแลว....”

การระดมเอาตํารวจพลรมและ(อาจจะ)ตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นๆมาชวยในการโจมตีธรรมศาสตรนี้
ตองถือวาเปนเรื่องผิดปรกติอยางยิ่ง และนาจะเปนการผิดระเบียบปฏิบัติของราชการดวย เพราะหนาที่
ของหนวยพลรมคือการทําสงครามนอกแบบในชนบท อยางไรก็ตาม ถาเราพิจารณาประวัติความเปนมา
ของทั้งตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนโดยทั่วไป ก็จะพบวานี่เปนหนวยงานตํารวจที่อาจจะกลาว
ไดวามีลักษณะการเมืองมากที่สุด

ทั้งตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนเปนหนวยงานที่ถูกสรางขึ้นในระยะพรอมๆกันในชวงที่
พล.ต.อ.เผา ศรียานนท เปนอธิบดีตํารวจในทศวรรษ 2490 ในทางยุทธการ ตํารวจพลรมจะขึ้นตอ บช.
ตชด. แตในทางปฏิบัติ มีความเปนเอกเทศสูง อันที่จริง พลรมเปน (ตามคําของ พิมพไทย สมัย 2500)
"กําลังตํารวจสําคัญที่สุดในยุคจอมอัศวินเผา" ถูกสรางขึ้นดวยคําแนะนําและการชวยเหลือดานเงิน, การ
ฝกและอาวุธจากองคการซีไอเอ โดยผานบริษัทบังหนา "ซีซับพลาย" (SEA Supply) ที่ซีไอเอตั้งขึ้น ทํา
ใหมีอาวุธยุทโธปกรณ ทันสมัยยิ่งกวาทหารบกภายใตสฤษดิ์คูปรับของเผาในสมัยนั้น เผาสรางหนวยงาน
"ตํารวจ" ที่เปนมากกวาตํารวจในลักษณะนี้อีกหลายหนวย เชน "ตํารวจยานยนต" (ซึ่งมีรถถังใช!),
ตํารวจรักษาดินแดน (ร.ด.) และกองบัญชาการตํารวจรักษาชายแดน (บช.รช.) สองหนวยหลังนี้ถูก
รวมเขาเปนกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ในป 2498
เมื่อสฤษดิ์รัฐประหารในป 2500 ก็ทําการแยกสลายและยุบกําลังเหลานี้ บช.ตชด.ถูกยกเลิกแลวจัดตั้ง
เปน "กองบัญชาการชายแดน" แทน ตอมาก็ยายตํารวจชายแดนไปขึ้นตอกองบัญชาการตํารวจภูธร ใน
สวนตํารวจพลรมในสัปดาหแรกหลังรัฐประหารเกือบจะเกิดการปะทะกับทหารบกของสฤษดิ์ที่พยายามไป
ปลดอาวุธ "กองพันตํารวจเสือดํา (ฉายาที่นสพ.ตั้งใหพลรม) ตั้งปอมฝงระเบิดเวลารอบคายเตรียมรับ
ทหาร ยกกองหนีเขาปา ทหารไมกลาตาม" เปนพาดหัวขาวของ พิมพไทย สมัยนั้น แตในที่สุด กําลัง
ของหนวยพลรมก็ถูกโยกยายกระจายกันไปตามหนวยงานอื่นๆ (ไมแนชัดวาหนวยงานพลรมถูกเลิกไป
เลยหรือลดฐานะไปขึ้นกับหนวยอื่น)

เมื่อคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ประกาศรื้อฟนจัดตั้ง กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน


ขึ้นใหมในป 2515 สถานการณไดเปลี่ยนไป เกิดองคประกอบใหมหลายอยางขึ้นในการเมืองไทย เชน
การตอสูดวยอาวุธของพคท. แตที่สําคัญที่สุดคือการที่สฤษดิ์ในระหวางครองอํานาจไดรื้อฟนและขยาย
สถานะและบทบาทของสถาบันกษัตริยอยางใหญหลวง (ดูรายละเอียดในหนังสือ การเมืองระบบพอขุน
อุปถัมภแบบเผด็จการ ของทักษ เฉลิมเตียรณ)บทบาทสําคัญอยางหนึ่งของสถาบันกษัตริยที่เริ่มในสมัย
นั้นคือการเขาไปมีสวนรวมในการพัฒนาชนบทและการตอตานการกอการราย เชน ทรงเปนองคอุปถัมภ
ชาวเขาในเขตยุทธศาสตรดวยพระองคเอง ในป 2509 เริ่มมีการบริจาคเงินทูลเกลาฯถวายเพื่อตอตาน
คอมมิวนิสตเปนครั้งแรก เขาใจวาบทบาทของสถาบันกษัตริยในดานนี้เปนจุดเริ่มตนที่ทําใหไดเขาไป
ใกลชิดกับตํารวจตระเวนชายแดน

สมัยนี้เองที่มีการพยายามสรางภาพ "โรแมนติก" ใหกับตชด. เชน ดวยเพลง "โอชีวิตเรา อยูตามเขา


ลําเนาปา ตระเวนชายแดน เหมือนดังพรานลองพนา ตองนอนกลางดิน ตองกินลวนอาหารมีในปา..." (ใน
ลักษณะเดียวกับที่ภายหลังมีการพยายามสรางภาพ "โรแมนติก" ใหเปรม ติณสูลานนท ดวยเพลง "จาก
ยอดดอยแดนไกลใครจะเห็น ยากลําเค็ญเพียงใดใจยังมั่น จะปกปองผองไทยชั่วนิรันดร สิ้นชีวันก็ยังหวง
หวงแผนดิน...")

ความสัมพันธอันใกลชิดระหวางสถาบันกษัตริยกับตชด. แสดงออกอยางรวมศูนยที่สุดที่การจัดตั้งลูกเสือ
ชาวบานในป 2514 ในฐานะกิจกรรมในพระบรมราชานุเคราะหที่ดําเนินงานโดย ตชด. เมื่อถึงป 2519 รอง
ผูบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดนที่ทําหนาที่ดูแลกิจการลูกเสือชาวบานก็คือ พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัส
โรมรัน ผูเขาไปประกาศในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 (ตามคําใหการของสุรินทร
มาศดิตถ) วา "จะตองปราบนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหสิ้นซาก" นั่นเอง

ผมขอทบทวนสิ่งที่ไดเสนอไปแลว ดังนี้ กําลังติดอาวุธที่บุกเขาโจมตีธรรมศาสตร ในเชาวันที่ 6 ตุลาคม


2519 มีทั้งสวนที่มีเครื่องแบบและไมมีเครื่องแบบ ในขณะที่พวกไมมีเครื่องแบบ (ซึ่งอาจเปนเพียงอยู
นอกเครื่องแบบหรือเปนอดีตทหารตํารวจ) เปนผูรับผิดชอบตอทารุณกรรมตางๆที่นิยาม 6 ตุลา ในความ
ทรงจําของคนทั่วไป, พวกมีเครื่องแบบคือกําลังหลักที่แทจริงที่เปดฉากการฆาหมูนองเลือด ผมได
ชี้ใหเห็นวา ตางกับกรณี 14 ตุลาและ 17 พฤษภา พวกมีเครื่องแบบในเชาวันนั้นลวนแตเปนตํารวจทั้งสิ้น
ไมใชทหาร เปนที่ชัดเจนดวยวา ตํารวจเกือบทุกหนวยถูกระดมมารวมรุมทํารายผูชุมนุมในเชาวันนั้น
อยางไรก็ตาม ผมเสนอวากําลังที่สําคัญที่สุดคือตํารวจแผนกปราบจลาจล 200 คนที่นําโดยสลาง
บุนนาค, ตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นๆอีกไมต่ํากวา 50-60 คน ซึ่งใชอาวุธหนัก เชน
ปนไรแรงสะทอนถอยหลังและปนครก และตํารวจหนวย "สวาท" ทั้งแผนกอีก 45 คน
ผมไดพยายามแสดงใหเห็นวาบทบาทของสลางในวันที่ 6 ตุลาไมใชบทบาทของเจาพนักงานระดับลางที่
ทําตามคําสั่งแตเปนบทบาทของนักเคลื่อนไหวฝายขวาที่มุงทําลายขบวนการนักศึกษา (แบบเดียวกับ
จําลอง ศรีเมืองในชวงนั้น) เชนเดียวกัน การระดมตํารวจพลรมจากคายนเรศวรหัวหินซึ่งมีหนาที่ในการทํา
สงครามนอกแบบในชนบทเขามาปราบนักศึกษาในกรุงเทพฯเปนเรื่องที่ผิดปกติและผิดวิธีปฏิบัติราชการ
อยางเห็นไดชัด แตเปนเรื่องที่เขาใจไดถา ดูจากวิวัฒนาการของตํารวจตระเวนชายแดนที่มีลักษณะ
การเมืองสูง (highly politicized) จากการเปนกําลังที่เผา ศรียานนทตั้งขึ้นเปนฐานอํานาจตัวเอง จน
กลายมาเปนหนวยงานที่ดูแลรับผิดชอบกิจการลูกเสือชาวบานในพระบรมราชานุเคราะห

เหนืออื่นใดเราตองไมลืมวาการโจมตีธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ไมไดเปนคําสั่งของรัฐบาล


เสนีย ปราโมช เปนความจริงที่วา ในค่ําวันที่ 5 ตุลาคม รัฐบาลเสนียได "สั่งกําชับใหเจาหนาที่ตํารวจ
สืบสวนสอบสวน" การแสดงที่ธรรมศาสตรที่ "มีลักษณะไปในทางดูหมิ่นอาฆาตมาดรายตอองครัช
ทายาท...อันเปนการกระทบกระเทือนตอจิตใจของประชาชนชาวไทย....เพื่อนําเอาผูกระทําผิดมา
ลงโทษใหได" (คําแถลงของเสนียทางสถานีโทรทัศนเวลา 22.15 น. นาสังเกตวาประกาศสํานัก
นายกรัฐมนตรีเมื่อเวลา 21.40 น. กลาวเพียงวา "ใหกรมตํารวจดําเนินการสืบสวนและสอบสวนกรณีนี้โดย
ดวน" ไมมี "อันเปนการกระทบกระเทือนจิตใจ..." และ "เพื่อนําเอาผูกระทําผิดมาลงโทษใหได")

แตหาก "เจาหนาที่ตํารวจ" ปฏิบัติหนาที่ "สืบสวนสอบสวน" ตามระเบียบวิธีปฏิบัติราชการ ก็ยอมไมเกิด


กรณีนองเลือด 6 ตุลาคม เพราะผูที่อยูในขายเปน "ผูตองหา" คือกรรมการศูนยนิสิตและผูจัดการแสดง
ละครก็ไดแสดงความจํานงยินดีเขาพบกับรัฐบาลเพื่อใหดําเนินการ "สืบสวนสอบสวน" ไดตั้งแตคืนวันที่
5 แลว ไมเฉพาะแตบทบาทอันนาสงสัยของสลางและการสั่งเคลื่อนกําลัง ตชด.เขากรุงเทพฯเทานั

ลําดับเหตุการณกรณี 6 ตุลาคม 2519


สังคมและการเมือง

โพสต: วิถีไท

ID#51297 | เมื่อ: 2550-03-09 19:11:40

ลําดับเหตุการณกรณี 6 ตุลาคม 2519

มิถุนายน 2519

สุธรรม แสงประทุม ไดรับเลือกตั้งเปนเลขาธิการศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศ


ไทย (ศนท.) ในชวงนั้นไดมีการประเมินสถานการณวากําลังกาวเดินไปสูความเลวราย
ทุกขณะ โดยมีการทําลายลางทั้งการโฆษณาและวิธีการรุนแรง แตกลับทําใหขบวนการ
นักศึกษาเติบใหญอยางไมเคยปรากฏมากอน ดูจากผลการเลือกตั้งกรรมการนักศึกษาใน
มหาวิทยาลัยตางๆ ประจําป 2519 นักศึกษาฝายกาวหนาไดรับชัยชนะเกือบทุกสถาบัน

27 มิถุนายน 2519
กิตติวุฒโฑภิกขุ ใหสัมภาษณ น.ส.พ.จัตุรัส วา “การฆาคนเพื่อชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย ถือเปนบุญกุศลเหมือนฆาปลาแกงใสบาตรพระ”

2 กรกฎาคม 2519

กรรมการ ศนท. นัดพบประชาชนที่สนามหลวง การชุมนุมครั้งนี้มีคนถูกปาดวยเหล็ก


แหลมและกอนหินจนบาดเจ็บหลายคน สุธรรมกลาวในการชุมนุมวากรรมการ ศนท.ชุดนี้
อาจจะเปนชุดสุดทาย แตก็พรอมยืนตายคาเวทีตอสู

ในชวงนั้น ที่ทําการ ศนท. ในตึก ก.ต.ป. ถูกลอมและขวางปาหลายครั้ง และยังเคยมีคน


มาติดตอกับกรรมการ ศนท.เสนอใหเดินทางออกนอกประเทศ พรอมกับจะสนับสนุนเงิน
ทองและทีอ ่ ยูให โดยบอกวาจะมีรัฐประหารแนนอน แตไมอยากใหนักศึกษาลุกขึ้น
ตอตาน แตกรรมการ ศนท.ตอบปฏิเสธ

27 กรกฎาคม 2519

หนังสือพิมพฉบับหนึ่งพาดหัวขนาดใหญวา “วางแผนยุบสภาผูแทน ตั้งสภาปฏิรูปสวม


รอย” เนื้อขาวกลาววา บุคคลกลุมหนึ่งประกอบดวยทหาร ตํารวจชั้นผูใหญ พอคา
ขาราชการ กําลังวางโครงการตั้ง “สภาปฏิรูปแหงชาติ” เตรียมตัวเพื่อขึ้นมาบริหารงาน
แทนรัฐบาลเสนีย

6 สิงหาคม 2519

คณะรัฐมนตรีประชุมนัดพิเศษเพื่อพิจารณาคําขอของจอมพลถนอม (ที่จะเดินทางเขา
ประเทศ) ปรากฏวาความเห็นแบงออกเปน 2 ฝาย ฝายหนึ่งเห็นวาไมควรอนุมัติเพราะจะ
เปนเงื่อนไขใหเกิดการชุมนุมขับไล อีกฝายหนึ่งเห็นวาควรอนุมัติเพราะจอมพลถนอมมี
สิทธิตามรัฐธรรมนูญ

10 สิงหาคม 2519

มีขาวลือวาจอมพลถนอมเดินทางเขามาในประเทศไทย แตวันรุงขึ้นก็มีขาววาจอมพล
ถนอมทําบุญเลี้ยงพระที่วด
ั ไทยในสิงคโปร

16 สิงหาคม 2519

มีขาวแจงวาจอมพลประภาส จารุเสถียร หนึ่งในสามทรราชที่ถก


ู นักศึกษาประชาชนขับ
ไล และหลบหนีออกนอกประเทศไปเมื่อเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 เดินทางกลับเขา
ประเทศแลว

19 สิงหาคม 2519

นักศึกษาจํานวนหนึ่งจัดขบวนแหรูปวีรชน 14 ตุลา ไปที่สน.ชนะสงคราม แจงขอหาให


ตํารวจดําเนินคดีกับจอมพลประภาส
15.00 น. นักศึกษาชุมนุมที่ลานโพธิ์ แมวามหาวิทยาลัยจะมีคําสั่งหามแลว
17.00 น. ศนท.จัดชุมนุมที่สนามหลวง
22.00 น. นักศึกษาประชาชนประมาณหมื่นคน เคลือ ่ นขบวนจากสนามหลวงเขามายัง
สนามฟุตบอลธรรมศาสตร และมีการชุมนุมกันตลอดคืน
20 สิงหาคม 2519

กรรมการองคการนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (อมธ.) เปดอภิปรายที่ลานโพธิ์


ชี้แจงเหตุผลทีต
่ องยายการชุมนุมเขามาในธรรมศาสตร การชุมนุมที่สนามฟุตบอลยัง
ดําเนินไปตลอดคืน

21 สิงหาคม 2519

กลุมกระทิงแดงเริ่มปดลอมมหาวิทยาลัย
14.00 น. นักศึกษารามคําแหง 3,000 คน เดินขบวนเขามาทางประตูมหาวิทยาลัยดาน
พิพิธภัณฑ กระทิงแดงปาระเบิดและยิงปนเขาใสทายขบวน มีผูเสียชีวิต 1 คน แตการ
ชุมนุมยังดําเนินตอไป
20.30 น. ฝนตกหนัก กลุม  ผูชุมนุมยังคงยืนหยัดอยูใ นสนามฟุตบอล จนฝนหยุด จึง
เคลื่อนเขาไปในหอประชุมใหญ และอยูขางในตลอดคืน

22 สิงหาคม 2519

จอมพลประภาสเดินทางออกนอกประเทศ นักศึกษาประชาชนสลายตัว

26 สิงหาคม 2519

มีขาวลือวาจอมพลถนอมลอบเขามาทางจังหวัดสงขลา แตไมเปนความจริง นายสุธรรม


แสงประทุม เลขาศูนยนิสิตฯ แถลงวาจอมพลถนอมตองการกลับมามีอํานาจอีกครั้ง

27 สิงหาคม 2519

อธิบดีกรมตํารวจมีคําสั่งใหหนวยงานทุกฝายที่เกี่ยวของระมัดระวังมิใหจอมพลถนอมเดิน
ทางเขาประเทศไทย

28 สิงหาคม 2519

ทานผูหญิงจงกล กิตติขจร เดินทางเขาประเทศไทย โดยแถลงวาเขามาเพื่อปรนนิบัติ


บิดาของจอมพลถนอม และมารดาของทานผูหญิง รวมทั้งเปนเจาภาพงานแตงงานเพื่อน
ของบุตรชายดวย

29 สิงหาคม 2519

บุตรสาวจอมพลถนอม 3 คนเขาพบนายกรัฐมนตรีทบ
ี่ านพักซอยเอกมัย เพื่อเจรจาขอให
จอมพลถนอมเขามาบวชและรักษาบิดา นายกฯ ขอนําเรื่องเขาปรึกษา ครม.

30 สิงหาคม 2519

น.ท.ยุทธพงษ กิตติขจร ยื่นหนังสือตอนายกรัฐมนตรี ชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงคและ


เหตุผลที่จอมพลถนอมขอเดินทางเขาประเทศไทย

31 สิงหาคม 2519
ครม.พิจารณาแลวเห็นวาไมสมควรอนุมัติใหจอมพลถนอมเดินทางกลับเขามา และ รมช.
ตางประเทศสั่งสถานทูตไทยในสิงคโปรแจงผลการประชุม ครม.ใหจอมพลถนอมทราบ

1 กันยายน 2519

นายกรัฐมนตรีเรียกอธิบดีกรมตํารวจและรองอธิบดีกรมตํารวจฝายกิจการพิเศษเขาพบ
เพื่อเตรียมการปองกันการเดินทางเขาประเทศของจอมพลถนอม และใหนําเอกสารจาก
กระทรวงมหาดไทยและกลาโหมเกี่ยวกับการพิจารณาความผิดจอมพลถนอมในกรณี 14
ตุลาคม 2516 มาตรวจสอบ

2 กันยายน 2519

แนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติติดใบปลิวตอตานการเดินทางกลับไทยของจอมพล
ถนอมตามทีส ่ าธารณะ นายสุธรรม แสงประทุม เลขาศูนยนิสิตฯ พรอมดวยตัวแทน อมธ.
สโมสรนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล
และแนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติ รวมกันแถลงวาจะคัดคานการกลับมาของจอมพล
ถนอมจนถึงที่สุด

3 กันยายน 2519

อธิบดีกรมตํารวจชี้แจงวาไดเตรียมการปองกันจอมพลถนอมเดินทางกลับเขามาไว
เรียบรอยแลว ถาเขามาจะควบคุมตัวทันที

นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน รมต.ยุติธรรม ซึ่งเดินทางกลับจากสิงคโปร แถลงวาหลังจาก


ไดพบและชี้แจงถึงความจําเปนของรัฐบาลตอจอมพลถนอมแลว จอมพลถนอมบอกวา
จะยังไมเขามาในระยะนี้

นายสมัคร สุนทรเวช รมช.มหาดไทย กลาวโดยสรุปวาขณะนี้มีมือที่สามจะสวมรอยเอา


การกลับมาของจอมพลถนอมเปนเครื่องมือกอเหตุราย

4 กันยายน 2519

พระภิกษุสงคราม ปยะธรรมโม ประธานแนวรวมยุวสงฆแหงประเทศไทย แถลงวาถาจอม


พลถนอมบวช แนวรวมยุวสงฆจะถวายหนังสือคัดคานตอสมเด็จพระสังฆราชทันที และ
พระสงฆทั่วประเทศก็จะเคลื่อนไหวคัดคานดวย

สภาแรงงานแหงประเทศไทยออกแถลงการณคัดคานการกลับเขามาของจอมพลถนอม

5 กันยายน 2519

ในการประชุมตัวแทนของศูนยนิสิตฯ และของกลุมนักเรียน นิสิตนักศึกษา และกรรมกร


รวม 67 กลุม ทีต
่ ึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อเตรียมงาน 14 ตุลา ไดออก
แถลงการณรวม สรุปวาจะตอตานคัดคานการกลับมาของจอมพลถนอมจนถึงที่สุ

19 กันยายน 2519

จอมพลถนอมบวชเณรจากสิงคโปร แลวเดินทางถึงประเทศไทยเวลาประมาณ 10.00 น.


แลวเดินทางไปวัดบวรนิเวศฯ มีผูไปรอตอนรับเณรถนอมที่ดอนเมือง เชน พล.อ.ยศ เทพ
หัสดิน ณ อยุธยา พล.อ.ต.สุรยุทธ นิวาสบุตร เจากรมการบินพลเรือน พล.อ.ต.นิยม
กาญจนวัฒน ผูบังคับการกองตรวจคนเขาเมือง

11.15 น. จอมพลถนอมอุปสมบทเปนพระภิกษุ แลวเดินทางไปเยี่ยมอาการปวยของบิดา

12.00 น. ขาวการกลับมาของจอมพลถนอมแพรออกไปโดยประกาศของสถานี
วิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ซึ่งระบุวาจอมพลถนอมบวชเณรเขาไทยและบวช
เปนพระเรียบรอยแลวที่วัดบวรนิเวศฯ ทางดานสถานีวิทยุยานเกราะออกอากาศคํา
ปราศรัยของจอมพลถนอม ซึ่งยืนยันเจตนารมณวามิไดมีความมุงหมายทางการเมือง
พรอมกันนั้นยานเกราะยังเรียกรองใหระงับการตอตานพระถนอมไวชั่วคราวจนกวาพระ
ถนอมจะสึก เพื่อมิใหสะเทือนตอพระศาสนา

สุธรรม แสงประทุม เลขาศูนยนิสิตฯ แถลงวาที่ประชุมกลุมพลัง 165 กลุม มีมติคัดคาน


การกลับมาของจอมพลถนอมและมีทาทีตอสถานการณดังกลาว ดังนี้

- จะคัดคานการกลับมาของพระถนอมทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด

- โฆษณาเปดโปงความผิดของพระถนอม

- สืบทอดเจตนารมณวีรชน 14 ตุลา

- ตั้งตัวแทนเขาพบรัฐบาลเพื่อยื่นขอเสนอ

ตอกรณีการเคลื่อนไหว ทาง ศนท.เห็นวาการเคลื่อนไหวครั้งนี้จําเปนตองมีความสุขุม


เพราะมีความละเอียดซับซอน ประกอบกับมีการนําเอาศาสนาประจําชาติขึ้นมาบังหนา
ฉะนั้น ศนท.จึงจะรอดูทาทีของรัฐบาลและใหโอกาสรัฐบาลตัดสินใจและดําเนินการกอน
อยางไรก็ดี ในที่ประชุมมีการตั้งขอสังเกตกันมากวา

1. การเขามาครั้งนี้เปนแผนการของกลุมบุคคลทีต
่ อ
 งการทํารัฐประหาร

2. กอนเขามามีการเตรียมตัวกันอยางพรอมเพรียง มีบุคคลบางคนในรัฐบาลไปรับถึง
สนามบิน และใหทําการบวชไดที่วัดบวรนิเวศฯ

3. การเขามาของเณรถนอม อาศัยศาสนามาเปนเครื่องบังหนา ทําใหศาสนาตองมัว


หมอง

ขณะที่ทาง ศนท.กําลังรอดูทาทีของฝายรัฐบาล ไดเกิดกระแสโจมตีการเคลื่อนไหวของ


ศนท.อยางรวดเร็ว โดยเฉพาะสถานีวิทยุยานเกราะ ถึงกับมีการเรียกรองใหรัฐบาลฆา
ประชาชนสัก 30,000 คนเพื่อคนจํานวนสี่สิบสามลานคน

วันเดียวกันนี้ ตํารวจไดจับนักศึกษารามคําแหง ชื่อ นายวิชาญ เพชรจํานง ซึ่งเขาไปใน


วัดบวรฯ พรอมแผนที่กุฏิในวัด น.ส.พ.ดาวสยามพาดหัวขาวหนาหนึ่งในตอนเย็นวา “จับ
นศ.วางแผนฆาถนอม” แตหลังจากนั้นตํารวจไดปลอยตัวนายวิชาญไปเพราะนายวิชาญ
เปนสมาชิกคนหนึ่งในกลุม  กระทิงแดง

20 กันยายน 2519
โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรีแถลงวา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรี ไดเชิญ
หัวหนาพรรคชาติไทย ธรรมสังคม สังคมชาตินิยม และนายเสวต เปยมพงศสานต เขา
พบเพื่อปรึกษาหารือ และมีขอสรุปวา 1.จอมพลถนอมเขามาบวชตามที่ขอรัฐบาลไวแลว
2.ในฐานะที่จอมพลถนอมเปนทั้งจอมพลและภิกษุจงึ นาจะพิจารณาตัวเองไดหากมีความ
ไมสงบเกิดขึ้น

มีปฏิกิริยาและความเคลื่อนไหวจากหลายฝายตลอดวันนี้ เชน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช


เสนอใหออกกฎหมายพิเศษขับพระถนอมออกนอกประเทศ นายดํารง ลัทธพิพัฒน เสนอ
ใหพระถนอมออกไปจําวัดที่ตางแดน ทหารออกมาประกาศวาจะไมเขาไปยุงและจะไม
ปฏิวัติ พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร กลาววาถาพระถนอมเขามาถูกตองตามรัฐธรรมนูญ จะ
ผิดไดอยางไร ก็นักศึกษาสูเพื่อรัฐธรรมนูญไมใชหรือ พระกิตติวุฒโฑ กลาววานักศึกษา
ตองการขับไลพระ มีแตคอมมิวนิสตเทานั้นที่ไลพระ สถานีวิทยุยานเกราะและ น.ส.พ.
ดาวสยาม ออกขาวโจมตี ศนท. ไมใหประชาชนไปรวมชุมนุม ฯลฯ

ศนท.ใชวิธีเคาะประตูบานแทนการชุมนุม โดยใหนิสิตนักศึกษาออกไปตามบาน
ประชาชนในเขต กทม. เพื่อสอบถามความรูสึกถึงเรื่องพระถนอม ปรากฏวาสามารถสราง
ความเขาใจและความตื่นตัวไดอยางดียิ่ง

21 กันยายน 2519

เกิดเหตุปาระเบิดบริษัททัวร ที เอส ที ซึ่งบริษัทนี้ถูกสถานีวิทยุยานเกราะออกขาววาเปน


ของ ศนท. แตปฏิบัติการดังกลาวพลาดไปถูกรานตัดเสื้อขางเคียง มีผูบาดเจ็บ 5 คน

นักเรียนอาชีวะยกพวกตีกน ั ระหวางชางกลสยาม (ซึ่งมีนายวีรศักดิ์ ทองประเสริฐ


เลขาธิการศูนยนักเรียนอาชีวะฯ ในขณะนั้นเรียนอยู) กับชางกลอุตสาหกรรม มีการ
ปรากฏตัวของกลุมกระทิงแดงในที่เกิดเหตุ และมีการปาระเบิดสังหารชนิด เอ็ม 26
สงผลใหนักเรียนชางกลสยามตาย 5 ศพ บาดเจ็บจํานวนมาก และถูกจับอีกประมาณ
200 คน ในขณะที่ชางกลอุตสาหกรรมไมโดนจับเลย เพียงแตสอบสวนแลวปลอยตัวไป
กรณีนี้มีผูตั้งขอสังเกตวาทําไมตํารวจทองที่กับอาจารยในโรงเรียนจึงไมยับยั้งนักเรียน
ชางกลสยาม และการจับนักเรียนชางกลสยามไปเทากับตัดกําลังหนวยรักษาความ
ปลอดภัยของแนวรวมอาชีวศึกษาเพื่อประชาธิปไตย ที่ประกาศตอสูเคียงบาเคียงไหล
รวมกับ ศนท. ออกไปสวนหนึ่ง

นายอํานวย สุวรรณคีรี แถลงวา ครม.มีมติแตงตั้งกรรมการ 2 ชุด ชุดที่ 1 ไปเจรจากับ


พระถนอม ชุดที่ 2 ออกแถลงการณกรณีพระถนอมเขามาในประเทศไทย

นายสุรินทร มาศดิตถ แถลงวา ครม.มีมติจะใหพระถนอมออกไปนอกประเทศโดยเร็ว

รัฐบาลออกแถลงการณขอความรวมมือประชาชนในการรักษาความสงบของบานเมือง

22 กันยายน 2519

แนวรวมยุวสงฆแหงประทศไทย และสหพันธพุทธศาสนิกแหงประเทศไทย มีหนังสือ


มาถึงมหาเถรสมาคมใหพิจารณาการบวชของพระถนอมวาผิดวินัยหรือไม

พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ จัดกําลังตํารวจเขาอารักขาวัดบวรนิเวศฯ เนื่องจากทางวัด


เกรงวากลุมตอตานพระถนอมจะเผาวัด
คณะอาจารยรามคําแหงยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี ขอใหรัฐบาลนําพระถนอมออกนอก
ประเทศ

ศนท. แนวรวมตอตานเผด็จการฯ สภาแรงงานฯ ศูนยกลางนักเรียนฯ ศูนยนักศึกษาครูฯ


องคการนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 8 แหง แถลงวา ไมพอใจทีแ่ ถลงการณ
ของรัฐบาลไมชัดเจน ดังนั้นทุกองคกรจะรวมมือกันคัดคานพระถนอมตอไป

แนวรวมนักเรียน นักศึกษา ประชาชน จังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ สหพันธ


นักศึกษาอีสาน แนวรวมตอตานเผด็จการฯ ออกติดโปสเตอรตอ ตานพระถนอมตาม
สถานที่ตางๆ

ตัวแทนนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมีมติใหสงนักศึกษาออกชี้แจงประชาชน
วาการกลับมาของพระถนอมทําใหศาสนาเสื่อม

23 กันยายน 2519

ส.ส. 4 ราย คือ นายชุมพล มณีเนตร นายแคลว นรปติ นายมานะ พิทยาภรณ และนาย
ไพฑูรย วงศวานิช ยื่นกระทูดวนเรื่องการกลับมาของจอมพลถนอม ผลการอภิปรายทํา
ให ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ประกาศลาออกกลางสภาผูแทน เนื่องจากไมอาจเสนอ
พระราชบัญญัติจํากัดถิ่นทีอ
่ ยูของบุคคลบางประเภท ซึ่งขัดตอรัฐธรรมนูญมาตรา 47 อีก
ทั้งยังไมสามารถควบคุมสถานการณบานเมืองได ลูกพรรคก็ขัดแยงโตเถียงในสภาฯ
แบงเปนซายเปนขวา ส.ส.บางคนก็อภิปรายในลักษณะไมไววางใจรัฐบาล

กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ มีคําสั่งเตรียมพรอม


ในที่ตั้งเต็มอัตราศึก

สถานีวิทยุยานเกราะออกอากาศใหตํารวจจับกุมนักศึกษาที่ออกติดโปสเตอร

24 กันยายน 2519

01.00 น. รถจี๊ปและรถสองแถวบรรทุกคนประมาณ 20 คน ไปที่ประตู


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ดานทาพระจันทร ทําลายปายที่ปดประกาศขับไลถนอม

นายเสถียร สุนทรจําเนียร นิสิตจุฬาฯ ถูกตีที่ศีรษะและถูกแทงลําตัว ในขณะที่ออกติด


โปสเตอรพรอมกับเพือ
่ นอีก 2 คน ซึ่งถูกทํารายและถูกรูดทรัพยไปโดยฝมือชายฉกรรจ
20 คนในรถกระบะสีเขียว

นายวิชัย เกษศรีพงษา และนายชุมพร ทุมไมย พนักงานการไฟฟานครปฐม และเปน


สมาชิกแนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติ ถูกซอมตายระหวางออกติดโปสเตอรประทวง
ตอตานพระถนอม และถูกนําศพไปแขวนคอที่ประตูทางเขาที่จัดสรรบริเวณหมูบานแหง
หนึ่งที่ ต.พระประโทน อ.เมือง จ.นครปฐม พบมีรอยมัดมือและรอยถูกรัดคอดวยเชือกไน
ลอน ตํารวจสืบสวนบิดเบือนสาเหตุวามาจากการผิดใจกับคนในที่ทํางานและติดสินบน
นักขาวทองถิ่นใหเงียบ แตมีผูรักความเปนธรรมนํารูปประมาณ 20 กวารูปพรอมเอกสาร
การฆาตกรรมมาให ศนท. ในวันที่ 25 กันยายนตอนเชา

(ในวันที่ 6 ตุลาคม มีตํารวจ 5 คนถูกจับในขอหาสมคบฆาแขวนคอสองพนักงานการ


ไฟฟา ไดแก ส.ต.อ. ชลิต ใจอารีย ส.ต.ท.ยุทธ ตุมพระเนียร ส.ต.ท.ธเนศ ลัดดากล
ส.ต.ท.แสงหมึก แสงประเสริฐ พลฯ สมศักดิ์ แสงขํา แตทั้งหมดถูกปลอยตัวอยางเงียบๆ
หลังจากนั้น)

25 กันยายน 2519

มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี (อีกครั้ง


หลังจากลาออกไปเมื่อ 2 วันกอน)

ศนท.โดยสุธรรม แสงประทุม และชัชวาลย ปทุมวิทย ผูประสานงานแนวรวมตอตาน


เผด็จการแหงชาติ ชี้แจงกับสื่อมวลชนกรณีฆาแขวนคอที่นครปฐม มีการชุมนุมที่จุฬาฯ
และตั้งตัวแทนยื่นหนังสือเรียกรองตอรัฐบาลให 1.จัดการใหพระถนอมออกจากประเทศ
ไทยโดยเร็วที่สุด 2.ใหเรงจับกุมฆาตกรฆาแขวนคอที่นครปฐม

สภาแรงงานฯ โดยนายไพศาล ธวัชชัยนันท ขอเขาเฝาสมเด็จพระสังฆราชเพื่อยื่น


หนังสือ แตไมไดรับอนุญาตใหเขาเฝา

ดร.คลุม วัชโรบล นําลูกเสือชาวบานประมาณ 200 คน ไปวัดบวรนิเวศฯ เพื่ออาสา


ปองกันการเผาวัด

26 กันยายน 2519

กิตติวุฒโฑภิกขุ และนายวัฒนา เขียววิมล แกนนํากลุมนวพล ไปเยี่ยมพระถนอมที่วัด


บวรฯ เวลา 22.30 น. อางวามาสนทนาธรรม และวาการเขามาบวชของพระถนอมนั้น
บริสุทธิ์

27 กันยายน 2519

ศนท. สภาแรงงานแหงประเทศไทย แนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติ และตัวแทนจาก


กลุมพลังตางๆ ประชุมกันและมีมติใหรัฐบาลขับพระถนอมออกนอกประเทศ และให
จัดการจับฆาตกรสังหารโหดฆาแขวนคอที่นครปฐม

ชวงวันที่ 26-27 กันยายน มีการเคลื่อนไหวยายกําลังพลในเขตกรุงเทพฯ ดวยคําอางวา


จะมีการเดินสวนสนามเพื่อสาบานตนตอธงชัยเฉลิมพล (ปกติจะกระทําในวันที่ 25
มกราคมของทุกป)

28 กันยายน 2519

ศนท.แถลงวาจะจัดชุมนุมที่สนามหลวงในวันที่ 29 กันยายน เพื่อเรงรัฐบาลให


ดําเนินการตามที่ยื่นหนังสือเรียกรอง
29 กันยายน 2519

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรประกาศเลื่อนพิธีรับพระราชทานปริญญาบัตรออกไปโดยไมมี
กําหนด

ศนท. และกลุมพลังตางๆ นัดชุมนุมประทวงพระถนอมที่สนามหลวง โดยเปนการชุมนุม


อยางสงบตามสิทธิแหงรัฐธรรมนูญ สุธรรม แสงประทุม กลาวกับประชาชนวา การชุมนุม
ครั้งนี้ไดแจงใหนายกฯ ทราบแลว และนายกฯ รับปากวาจะใหกําลังตํารวจคุมครองผู
ชุมนุม มีประชาชนมารวมชุมนุมประมาณสองหมื่นคน

ระหวางการชุมนุม มีผูอางตัววารักชาติมาตั้งเครื่องขยายเสียงกลาวโจมตี ศนท.อยาง


หยาบคาย จนตํารวจตองไปขอรองใหเลิกและกลับไปเสีย กลุมรักชาติพวกนี้จึงยอม
กลับไป นอกจากนั้นยังมีการปลอยงูพิษกลางที่ชุมนุมที่หาดใหญและมีการยิงปนใสที่
ชุมนุมกอนสลายตัว (การชุมนุมจัดโดยมหาวิทยาลัยสงขลาฯ นายจเร ดิษฐแกว ถูกยิงที่
กกหูบาดเจ็บ นายสมชัย เกตุอําพรชัย นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคภาคใตถูกตีศีรษะและ
ถูกยิงที่มอ
ื ซาย)

ศนท.ไดสงคนเขาพบนายกฯ เพื่อขอฟงผลตามขอเรียกรองที่เคยยื่นหนังสือไว แต


เลขานุการนายกฯ ไมใหเขาพบ กระทั่งเวลาสามทุมเศษ นายสุธรรมและคณะจึงกลับมา
ที่ชุมนุมพรอมกับกลาววาไดรับความผิดหวังมาก แตยืนยันวาจะสูตอไป และจะใหเวลา
รัฐบาลถึงเที่ยงวันเสารที่ 2 ตุลาคม ถารัฐบาลยังไมตัดสินใจแกปญหานี้ ก็จะเคลื่อนไหว
ทั้งใน กทม.และตางจังหวัดพรอมกัน ทีช ่ ุมนุมประกาศสลายตัวเมื่อเวลา 21.45 น.

กลุมกระทิงแดงและลูกเสือชาวบานจํานวนหนึ่งอางตัวเขาอารักขาพระถนอมที่วัดบวรฯ

ในชวงนี้ นักศึกษาสถาบันตางๆ เริ่มเคลื่อนไหวโดยรับมติของ ศนท.ไปปฏิบัติ

30 กันยายน 2519

รัฐบาลสงนายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน ดร.นิพนธ ศศิธร และนายดํารง ลัทธพิพัฒน เปน


ตัวแทนไปนิมนตพระถนอมออกนอกประเทศ แตพระถนอมปฏิเสธ

สมเด็จพระญาณสังวร และคณะสงฆผูใหญ แจงใหตัวแทนรัฐบาลทราบวา พระบวชใหม


จะไปไหนตามลําพังระหวางพรรษาไมได และกําหนดพรรษาจะสิ้นสุดลงในวันที่ 8
ตุลาคม 2519

ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ยืนยันวา ขอเรียกรองใหพระถนอมออกนอกประเทศนั้น รัฐบาลทํา


ไมได เพราะขัดตอรัฐธรรมนูญ

1 ตุลาคม 2519

มีการชุมนุมที่สนามหลวง แตเปนการชุมนุมที่ไมยืดเยื้อ เพียงสามทุมกวาๆ ก็เลิกและ


ประกาศใหประชาชนมาฟงคําตอบรัฐบาลในวันที่ 4 ตุลาคม เวลา 15.30 น.

ตัวแทนญาติวีรชน 14 ตุลา จํานวน 5 คน อดอาหารประทวงที่หนาทําเนียบรัฐบาล


จนกวารัฐบาลจะใหคําตอบแนชัดวาจะใหพระถนอมออกจากประเทศไทย

นายสมศักดิ์ ขวัญมงคล หัวหนากลุมกระทิงแดง กลาววา หากมีการเดินขบวนไปวัดบวร


นิเวศฯ กระทิงแดงจะอารักขาวัดบวรฯ และขอให ศนท.ยุติการเคลือ
่ นไหว

ขบวนการปฏิรูปแหงชาติ และกลุมพลัง 12 กลุม รวมกันออกแถลงการณวา ศนท.ถือเอา


กรณีพระถนอมเปนเครื่องมือกอความไมสงบ

2 ตุลาคม 2519

สมาชิกกลุม นวพลทั่วประเทศเดินทางเขามาที่วัดพระแกว และปฏิญาณตนตอหนาพระ


แกวมรกตเพื่อปกปองชาติ ศาสน กษัตริย แลวไปชุมนุมกันที่บริเวณสนามไชย นาย
วัฒนา เขียววิมล ไดนํากลุมนวพลไปวัดบวรฯ อวยพรวันเกิดสมเด็จพระญาณสังวร แลว
กลับไปชุมนุมทีส
่ นามไชยอีกครั้ง เนื้อหาการอภิปรายมุงตอตานคอมมิวนิสต จากนั้นก็
เลิกราเดินทางกลับภูมิลําเนา

กลางดึกคืนวันนี้มีคนรายยิงปน เอ็ม 79 เขาไปยังสํานักงานหนังสือพิมพไทยรัฐ โดย


ไทยรัฐฉบับวันที่ 3 ตุลาคม หนา 4 คอลัมน “ไตฝุน” เขียนวา “หากเมืองไทยจะมี
นายกรัฐมนตรีใหมอก ี ทํานายทายทักกันไดวาจะไมใชคนในสกุลปราโมชอีกแลว อาจจะ
เปนหนึ่งในสามของคนวัย 52 เล็งกันไวจากสภาปฏิรูป ดร.เชาวน ณ ศีลวันต เกษม
จาติกวณิช หรือประภาศน อวยชัย คนนี้ซินแสดูโหงวเฮงแลวบอกวาฮอ”

ทางดานธรรมศาสตร นักศึกษาคณะรัฐศาสตรเปนคณะแรกที่หยุดสอบประทวง สวน


นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม ออกแถลงการณใหรัฐบาลแกไขกรณีพระถนอมโดย
ดวน

ศนท.พรอมดวยตัวแทนกลุมพลังอื่นๆ จํานวน 10 คนเขาพบนายกรัฐมนตรีเพือ ่ ขอ


คําตอบตามที่ยื่นขอเรียกรองไว จากนั้นนายสุธรรม แสงประทุม แถลงวา ไดรับคําตอบไม
ชัดเจน จึงประกาศเคลื่อนไหวคัดคานตอไป โดยจะนัดชุมนุมประชาชนทั่วประเทศที่
สนามหลวงในวันที่ 4 ตุลาคม

3 ตุลาคม 2519

ญาติวีรชนที่อดขาวประทวงอยูหนาทําเนียบรัฐบาล ยายมาประทวงตอที่ลานโพธิ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เนื่องจากสถานการณไมอํานวย ตกเย็นกลุมประชาชนรักชาติ
นําเครื่องขยายเสียงมาโจมตี ศนท.วาเปนคอมมิวนิสต

นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ชุมนุมคัดคานพระถนอม


ขณะที่ตัวแทนกลุมนวพลจากจังหวัดตางๆ ชุมนุมกันที่สนามไชย

4 ตุลาคม 2519

ม.ร.ว.เสนียใหสัมภาษณหนังสือพิมพยอมรับวามีตาํ รวจกลุมหนึ่งเปนผูลงมือฆาโหดที่
นครปฐม ขณะที่พล.อ.อ.กมล เดชะตุงคะ ใหสัมภาษณหนังสือพิมพวาไมมีมูลเพียง
พอที่จะฟองสามทรราช กรณี 14 ตุลา

ตอนเที่ยงมีการชุมนุมที่ลานโพธิ์ นักศึกษาธรรมศาสตรสวนใหญไมเขาสอบ ดร.ปวยให


นักศึกษาเลิกชุมนุมและเขาหองสอบแตนักศึกษาไมยอม มีการอภิปรายและการแสดง
ละครเกี่ยวกับกรณีฆาแขวนคอพนักงานการไฟฟานครปฐม จัดโดยชุมนุมนาฏศิลปและ
การละคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
สถานีวิทยุยานเกราะออกขาววานักศึกษาที่แสดงละครมีใบหนาคลายเจาฟาชายถูก
แขวนคอ

15.30 น. ศนท. และแนวรวมตอตานเผด็จการฯ ชุมนุมประชาชนอีกครั้งที่สนามหลวง

17.30 น. มีการกอกวนจากกลุมกระทิงแดง นักเรียนอาชีวะ และกลุมประชาชนรักชาติ


ประมาณ 50 คน ติดเครือ ่ งขยายเสียงพูดโจมตี ศนท.โดยนายสมศักดิ์ มาลาดี จนกระทั่ง
ถูกตํารวจจับ (หลัง 6 ตุลา นายสมศักดิ์ไดไปออกรายการที่สถานีวิทยุยานเกราะ) กระทิง
แดงสลายตัวเมื่อเวลาประมาณ 20.15 น.

18.30 น. ฝนตกหนัก แตทองสนามหลวงยังมีคนชุมนุมอยูนับหมื่น

19.30 น. เพื่อความปลอดภัยจึงยายการชุมนุมเขาธรรมศาสตรอยางสงบ พรอมกับ


ประกาศวาจะไมสลายตัวจนกวาพระถนอมจะออกจากประเทศไทย

21.00 น. ดร.ปวย อึ๊งภากรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยความเห็นชอบ


ของนายกสภามหาวิทยาลัยฯ (ดร.ประกอบ หุตะสิงห) ออกแถลงการณสั่งปด
มหาวิทยาลัย

นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม ประมาณ 700 คน เดินขบวนตอตานพระถนอม แลวไป


ชุมนุมที่สนามหนาศาลากลางจังหวัด สวนที่อนุสาวรียทาวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา มี
นักศึกษาเปดอภิปรายตอตานพระถนอม ทีจ่ ังหวัดขอนแกน นักศึกษาเปดอภิปราย
ตอตานพระถนอมและมีการเผาหุนพระถนอม

5 ตุลาคม 2519

มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งคณะรัฐมนตรี ชุดใหม โดยมี ม.ร.ว.เสนีย


ปราโมช เปนนายกฯ

นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยตางๆ เริ่มเคลื่อนขบวนมุงสูธรรมศาสตร มีการประกาศงดสอบ


ทุกสถาบัน ซึ่งเปนการเคลื่อนไหวใหญที่ทําพรอมกันทั่วประเทศ ตกเย็น จํานวนผูรวม
ชุมนุมเพิ่มมากขึ้นนับหมื่นคน จึงยายการชุมนุมจากบริเวณลานโพธิ์มายังสนามฟุตบอล

มหาวิทยาลัยรามคําแหงประกาศงดการสอบไลโดยไมมีกําหนด
ในตอนเชา หนังสือพิมพดาวสยาม และบางกอกโพสต เผยแพรภาพการแสดงลอการ
แขวนคอของนักศึกษาที่ลานโพธิ์ โดยพาดหัวขาวเปนเชิงวาการแสดงดังกลาวเปนการ
“หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ”

นางนงเยาว สุวรรณสมบูรณ เขาแจงความตอนายรอยเวรสถานีตํารวจนครบาลชนะ


สงคราม ใหจับกุมผูแสดงละครหมิ่นพระบรมเดชานุภาพองคสยามมกุฎราชกุมาร

9.30 น. ที่ประชุมสหภาพแรงงาน 43 แหง มีมติจะเขาพบ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เพื่อยื่น


ขอเสนอใหพระถนอมออกนอกประเทศ และสภาแรงงานจะนัดหยุดงานทั่วประเทศ
ภายในวันที่ 11 ตุลาคม

10.00 น. สถานีวิทยุยานเกราะเปดรายการพิเศษ เสียงของ พ.ท.อุทาร สนิทวงศ กลาว


เนนเปนระยะวา “เดี๋ยวนี้การชุมนุมที่ธรรมศาสตรไมใชเปนเรื่องตอตานพระถนอมแลว
หากแตเปนเรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ”
13.30 น. นักศึกษารามคําแหงเตรียมออกเดินทางไปสมทบที่ธรรมศาสตร 25 คันรถ

15.30 น. นักศึกษารามคําแหงที่ไมเห็นดวยกับการชุมนุมคัดคานพระถนอม ยื่นหนังสือ


ถึงรองอธิการบดีใหมีการสอบไลตอ
 ไป

17.30 น. พ.อ.อุทาร ออกประกาศใหคณะกรรมการชมรมวิทยุเสรี และผูรวมกอตั้งไปรวม


ประชุมที่สถานีวิทยุยานเกราะเปนการดวน

19.00 น. ประธานรุนลูกเสือชาวบาน เขตกรุงเทพฯ ไดประชุมทีก่ องบัญชาการตํารวจ


ตระเวนชายแดน โดยมี พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน และอาคม มกรานนท เปนผู
กลาวในที่ประชุมวา จะตอตาน ศนท. และบุคคลที่อยูในธรรมศาสตร

20.35 น. ชมรมวิทยุเสรี ออกแถลงการณฉบับหนึ่งวา “ขณะนี้มีกลุมคนกอความไมสงบ


ไดดําเนินการไปในทางที่จะทําลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ในกรณีตางๆ
ดังตอไปนี้ มีการนําธงชาติคลุมตัวละครแสดงเปนคนตายที่ขางถนนหนารัฐสภา มีการใช
สื่อมวลชนที่มีแนวโนมเอียงเชนเดียวกับผูกอความไมสงบ ลงบทความ หรือเขียนขาวไป
ในทํานองที่จะทําใหเกิดชองวางในบวรพุทธศาสนา มีนักศึกษาผูหนึ่งทําเปนผูถูกแขวน
คอ โดยผูกอความไมสงบที่มีใบหนาคลายกับพระราชวงศชั้นสูงองคหนึ่ง พยายามแตง
ใบหนาเพิ่มเติมใหเหมือน” ทั้งนี้พยายามจะแสดงใหเห็นวา กรณีพระถนอมและผูที่ถก ู
แขวนคอเปนเพียงขออางในการชุมนุมกอความไมสงบเทานั้น แตความจริงตองการ
ทําลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

นับเปนครั้งแรกที่สถานีวิทยุยานเกราะ และชมรมวิทยุเสรี เรียกกลุมนักศึกษาประชาชนที่


ธรรมศาสตรวา “ผูกอความไมสงบ” ซึ่งแถลงการณไดกลาวตอไปอีกวา “ชมรมวิทยุเสรี
คัดคานการกระทําดังกลาวในทุกๆ กรณี ขอใหรัฐบาลจัดการกับผูท  รยศเหลานี้โดยเร็ว
ที่สุด เพื่อปองกันการนองเลือดอันอาจจะเกิดขึ้น หากใหประชาชนชุมนุมกันแลวอาจมี
การนองเลือดขึ้นก็ได” นับเปนครั้งแรกอีกเชนกันทีส
่ ถานีวิทยุยานเกราะและชมรมวิทยุ
เสรีกลาวคําวา “อาจมีการนองเลือดขึ้น”

21.00 น. พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ สั่งใหประธานลูกเสือชาวบาน (ลส.ชบ.) แจงแกบรรดา


ลส.ชบ.ที่ชุมนุมกันอยู ณ บริเวณพระบรมรูปทรงมาวา ใหฟงสถานีวิทยุยานเกราะและ
ชมรมวิทยุเสรีกอ นการเคลื่อนไหว

21.30 น. นายประยูร อัครบวร รองเลขาธิการฝายการเมืองของ ศนท.ไดแถลงที่ อมธ.


พรอมกับนํา นายอภินันท บัวหภักดี นักศึกษาปที่ 2 คณะรัฐศาสตร และนายวิโรจน ตั้ง
วาณิชย นักศึกษาปที่ 4 คณะศิลปศาสตร สมาชิกชุมนุมนาฏศิลปและการละคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มาแสดงความบริสุทธิ์ใจ และกลาววาการแสดงดังกลาวก็เพื่อ
แสดงใหเห็นความทารุณโหดรายอันเนื่องมาจากการฆาแขวนคอที่นครปฐม โดยมีการ
แตงหนาใหเหมือนสภาพศพ และการที่เลือกเอาบุคคลทั้งสองก็เพราะเปนนักแสดงใน
มหาวิทยาลัย อีกทั้งตัวเล็กมีน้ําหนักเบา ไมทําใหกิ่งไมหักงาย การแสดงแขวนคอใชวิธี
ผูกผาขาวมารัดรอบอกและผูกเชือกดานหลังหอยกับกิ่งไม จึงตองใสเสื้อทหารซึ่งมีตัว
ใหญเพื่อบังรองรอยผาขาวมาใหดูสมจริง นายประยูรกลาววา “ทางนักศึกษาไมเขาใจ
เหมือนกันวาทําไมสถานีวิทยุยานเกราะและหนังสือพิมพดาวสยามจึงใหรายปายสี
บิดเบือนใหเปนอยางอื่นโดยดึงเอาสถาบันที่เคารพมาเกี่ยวของ…”

21.40 น. รัฐบาลเสนียออกแถลงการณทางสถานีโทรทัศนชอ  ง 9 แจงวา “ตามที่ไดมี


การแสดงละครที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ศกนี้ มีลักษณะเปนการ
หมิ่นหรือแสดงความอาฆาตมาดรายตอองครช
ั ทายาท รัฐบาลไดสั่งใหกรมตํารวจ
ดําเนินการสอบสวนกรณีนี้โดยดวนแลว”

สถานีวิทยุยานเกราะและชมรมวิทยุเสรีออกอากาศตลอดคืนเรียกรองใหประชาชนและ
ลูกเสือชาวบานไปชุมนุมที่ลานพระบรมรูปทรงมา เพื่อเรียกรองใหรัฐบาลเรงดําเนินการ
จับกุมผูกระทําการหมิ่นองคสยามมกุฎราชกุมารมาลงโทษ

24.00 น. กรมตํารวจประชุมเจาหนาที่ตํารวจชั้นผูใหญ ประกอบดวย พล.ต.อ.ศรีสุข มหิ


นทรเทพ พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ พล.ต.ท.มนตชัย พันธุคงชื่น พล.ต.ท.ณรงค มหา
นนท และเจาหนาที่ตํารวจชั้นผูใหญอีกหลายนาย

6 ตุลาคม 2519

สถานีวิทยุยานเกราะออกอากาศวา พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร รองนายกรัฐมนตรี ไดยื่น


คําขาดตอ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรี ขอใหรัฐบาลดําเนินการตามกฎหมายตอ
ศนท. ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพอยางเด็ดขาด หากมีรัฐมนตรีหรือนักการเมืองคนใด
เกี่ยวของกับเรื่องดังกลาว ก็ใหจับกุมและลงโทษตามกฎหมายทันที

สุธรรม แสงประทุม กับกรรมการ ศนท. และตัวแทนชุมนุมนาฏศิลปฯ เดินทางไปขอพบ


นายกรัฐมนตรี เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ

01.40 น. กลุมคนประมาณ 100 คนไดบก ุ เขาไปเผาแผนโปสเตอรหนาประตู


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ดานสนามหลวง กลุมคนที่อออยูหนาประตูพยายามจะบุกปน
รั้วเขาไป มีเสียงปนนัดแรกดังขึ้นและมีการยิงตอบโตประปรายแตไมมีใครบาดเจ็บ
02.00 น. กลุมนวพลในนาม “ศูนยประสานงานเยาวชน” มีแถลงการณความวา “ขอให
รัฐบาลจับกุมกรรมการ ศนท. ภายใน 72 ชั่วโมง หากรัฐบาลไมสามารถปฏิบัตไ
ิ ด นวพล
จะดําเนินการขั้นเด็ดขาด”

03.00 น. สถานีวิทยุยานเกราะยังคงออกรายการ “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” ตลอดทั้ง


คืน สวนภายในธรรมศาสตรยังมีการอภิปรายและแสดงดนตรีตอไปแมจะมีผูพยายามบุก
เขามหาวิทยาลัยและมีเสียงปนดังขึ้น โดยเจาหนาที่ของ ศนท. ขึ้นอภิปรายบนเวทีขอให
เจาหนาที่ตํารวจจับกุมผูใชอาวุธ ในเวลาไลเลี่ยกันนั้น เจาหนาที่หนวยปราบจราจลยก
กําลังมากั้นทางออกดานสนามหลวง

05.00 น. กลุมคนที่ยืนอออยูหนาประตูมหาวิทยาลัยพยายามจะบุกปนเขาไปอีกครั้ง
ยังคงมีการยิงตอบโตดวยปนพกประปราย

07.00 น. กลุมคนที่อออยูห
 นาประตูมหาวิทยาลัยตั้งแตตอนตีหนึ่งพยายามบุกเขาไปใน
มหาวิทยาลัยโดยใชรถบัสสองคันขับพุงเขาชนประตู ตอมาก็มีเสียงระเบิดดังขึ้น

07.50 น. ตํารวจหนวยคอมมานโด หนวยปฏิบัติการพิเศษ (นปพ.) และตํารวจทองที่


ลอมอยูโดยรอบมหาวิทยาลัย โดยมี พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ พล.ต.ต.เสนห สิทธิ
พันธ และพล.ต.ต.ยุทธนา วรรณโกวิท มาถึงที่เกิดเหตุและเขารวมบัญชาการ

08.10 น. พล.ต.ต.เสนห สิทธิพันธ บัญชาการใหตํารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) อาวุธ


ครบมือบุกเขาไปในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ตชด.มีอาวุธสงครามใชทุกชนิด ตั้งแต
เครื่องยิงระเบิด ปนตอสูรถถัง ปนเอ็ม 79 ปนเอ็ม 16 ปนเอช.เค. และปนคารบิน ตํารวจ
บางคนมีระเบิดมือหอยอยูค  รบเต็มอัตราศึก เสียงปนดังรุนแรงตลอดเวลา ตํารวจประกาศ
ใหนักศึกษายอมจํานน นักศึกษาหลายคนพยายามวิ่งออกมาขางนอก จึงถูกประชาชนที่
อยูภายนอกรุมประชาทัณฑ นักศึกษาประชาชนที่ชม ุ นุมอยูขางในแตกกระจัดกระจาย
หลบหนีกระสุน

08.18 น. ตชด.เขาประจําการแทนตํารวจทองที่ และมีกําลังใหมเขามาเสริมอีก 2 คันรถ

08.25 น. ตชด.บุกเขาไปในมหาวิทยาลัยหลายจุด พรอมกับยิงกระสุนวิถีโคง และยิง


กราดเขาไปยังกลุมนักศึกษาซึ่งมีอยูจํานวนมาก มีนักศึกษาถูกยิงบาดเจ็บและเสียชีวิต
ทันทีหลายคน (ไทยรัฐ 7 ตุลาคม 2519)

08.30-10.00 น. นักศึกษาและประชาชนที่อยูในมหาวิทยาลัยตลอดคืนตางแตกตื่นวิ่ง
หนีวิถีกระสุนที่ ตชด. และกลุมคนที่เขากอเหตุไดยิงเขาใสฝูงชนอยางไมยั้ง ทั้งๆ ที่
หนวยรักษาความปลอดภัยของนักศึกษามีปนพกเพียงไมกี่กระบอก

นักศึกษาประชาชนที่แตกตื่นวิ่งหนีออกไปทางหนาประตูมหาวิทยาลัยในจํานวนนี้มี
มากกวา 20 คนถูกรุมตีรุมกระทืบ บางคนถูกทํารายบาดเจ็บสาหัส แตยังไมสิ้นใจ ไดถูก
ลากออกไปแขวนคอ และแสดงทาทางเยาะเยยศพตางๆ นานา

นักศึกษาหญิงคนหนึ่งถูกรุมตีจนสิ้นชีวิต แลวถูกเปลือยผาประจาน โดยมีชายคนหนึ่งซึ่ง


เขากอเหตุ รูดซิปกางเกงออกมาแสดงทาเหมือนจะขมขืนหญิงผูเคราะหรายนั้น ใหพวก
พองที่โหรองอยูใกลๆ ดู มีประชาชนบางสวนเมื่อเห็นเหตุการณชวนสังเวช ก็จะเดินเลี่ยง
ไป ดวยน้ําตาคลอ

ประชาชนที่ชุมนุมอยูหนาประตูมหาวิทยาลัย ลากศพนักศึกษาที่ถก
ู ทิ้งอยูเกลือ
่ นกลาด
ขางหอประชุมใหญ 3 คนออกมาเผากลางถนนราชดําเนิน ตรงขามอนุสาวรียพระแมธรณี
บีบมวยผม ใกลๆ กับบริเวณแผงขายหนังสือสนามหลวง โดยเอายางรถยนตทับแลวราด
น้ํามันเบนซิน จุดไฟเผา ศพนักศึกษาอีก 1 ศพถูกนําไปแขวนคอไวกับตนมะขามแลวถูก
ตีจนรางเละ

เหตุการณในและนอกธรรมศาสตรชวงนี้มีรายละเอียดมากมาย ดังปรากฏจากคําพูดของ
ผูประสบเหตุการณคนหนึ่งในวันนั้น ดังตอไปนี้

…ในเชาวันที่ 6 ตุลา ขณะที่ฉันนอนอยูต  รงบันไดตึกวารสารฯ ก็ไดยินเสียงระเบิดดังขึ้น


ฉันและเพื่อน 2 คนเดินออกมาดูเหตุการณยังสนามฟุตบอล จึงทราบวาพวกตํารวจไดยิง
เอ็ม 79 เขามาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทําใหมีคนตายและบาดเจ็บหลายคน เพื่อ
ความปลอดภัย โฆษกบนเวทีประกาศใหประชาชนหลบเขาขางตึก ฉันและเพื่อนยืนฟง
อยูพักหนึ่ง พวกทหารก็เริ่มระดมยิงเขามาในธรรมศาสตรทุกดานเปนเวลานาน ฉันกับ
เพื่อนจึงหมอบอยูบริเวณขางตึกโดมขางๆ เวที ภาพที่เห็นขางหนาคือ บริเวณหนา
หอประชุมใหญมีควันตลบไปหมด พวกมันระดมยิงถลมมายังหนาหอใหญเปนเวลานาน
พวกเราหลายคนถึงกับรองไหดวยความเคียดแคน และเปนหวงเพื่อนๆ ของเราที่รักษา
ความปลอดภัยอยูบริเวณหนาหอประชุมใหญ ซึ่งมีอยูไมกี่คน แตพวกตํารวจระดมยิงเขา
มาเหมือนจะทําลายคนจํานวนพันคน ตํารวจยิงเขามาพักหนึ่ง เมื่อแนใจวาพวกเราที่หนา
หอใหญตายหมดแลว มันจึงกลาเอารถเมลวิ่งพังประตูเขามาในธรรมศาสตร

เมื่อเห็นวาเหตุการณรุนแรงมากขึ้น พวกเราจึงชวยกันพังประตูตึกโดมเขาไป ตอนแรก


คิดวาอยูในตึกคงปลอดภัย แตเมื่อเห็นวาพวกมันยังยิงเขามาไมหยุดและเคลื่อนกําลัง
เขามามากขึ้น จึงตัดสินใจกระโดดลงจากตึกโดมแลววิ่งไปตึกศิลปศาสตรและลงแมน้ํา
เจาพระยา ฉันและเพื่อนๆ ไดขึ้นฝงที่ทาพระจันทร ปรากฏวาพวกตํารวจตรึงกําลังอยู
บริเวณดังกลาว และปดถนนถึงทาชาง ประชาชนบริเวณทาพระจันทรปดประตูหนา
ตางกันหมด พวกเราเดินเลาะไปตามริมน้ํา พอมาระยะหนึ่งไมมีทางไป เพื่อนบางสวนพอ
วิ่งออกไปถนนก็ถูกตํารวจจับ ฉันและเพื่อนจึงตัดสินใจเคาะประตูบานประชาชนบริเวณ
นั้น มีหลายบานเปดใหพวกเราเขาไปหลบดวยความเต็มใจ เนื่องจากจํานวนคนมีมาก
เหลือเกิน เพื่อนของเราบางสวนยอมเสียสละใหผูหญิงและประชาชนเขาไปหลบในบาน
ประชาชน ในบานที่ฉันเขาไปหลบอยูมีคนประมาณ 30 คนอยูด  วย เจาของบานตม
ขาวตมใหพวกเรากิน ฉันนั่งฟงเสียงปนที่พวกมันยิงถลมธรรมศาสตรอยูประมาณชั่วโมง
เศษ มีทหารและตํารวจ 2 คนมาเคาะประตูบาน มันขูวาถาไมเปดจะยิงเขามา เจาของ
บานจึงตองไปเปดใหพวกตํารวจเขามาตรวจคนบานทุกชั้น ทุกหองตามความตองการ

พวกเราถูกตํารวจไลใหมารวมกับคนอื่นๆ ที่ถูกจับอยูกอนแลวที่ถนนขางวัดมหาธาตุ นอน


กันเปนแถวยาวมาก ตํารวจสั่งใหผูชายถอดเสือ ้ ทุกคนตองนอนอยูนิ่งๆ หามเงยหัวขึ้นมา
พวกเราตองนอนอยูเชนนีเ้ ปนเวลาหลายชั่วโมง ตองทนตากแดดอยูกลางถนน และยังมี
กระทิงแดงและลูกเสือชาวบานที่รายกาจหลายคนเดินดาวาพวกเราอยางหยาบคาย ทั้ง
พูดทาทายและขมขูอยูต ลอดเวลา เราตองเผชิญกับการสรางสถานการณขมขูทําลาย
ขวัญของพวกตํารวจ โดยสั่งใหพวกเรานอนคว่ําหนาและไลประชาชนออกจากบริเวณนั้น
แลวยิงปนรัวสนั่นจนพอใจจึงหยุด ฉันนอนอยูริมๆ แถวรูสึกวากระสุนวิ่งไปมาบนถนน ไม
หางไกลจากเทาฉันนัก บางครั้งก็มีเศษหินเศษอิฐกระเด็นมาถูกตามตัวพวกเรา แทนที่
พวกตํารวจจะทําลายขวัญพวกเราสําเร็จ กลับเสริมความเคียดแคนใหกับพวกเราทุกคน
เหมือนฉันไดผานเตาหลอมที่ไดทดสอบความเขมแข็งและจิตใจที่ไมสะทกสะทานตอ
การขมขู บางคนรูสึกกลัว พวกเราก็คอยปลอบใจ ไมใหกลัวการขมขู พวกมันทําเชนนี้อยู
หลายครั้งจนพอใจ จึงสั่งใหพวกเราคลานไป สักพักหนึ่งมันก็ตะคอกสั่งใหหมอบลง
จนถึงรถเมลที่จอดอยูใกลๆ ก็ใหลุกขึ้นเขาแถวทยอยกันขึ้นรถ
พวกเรานั่งกันเต็มรถทั้งทีน่ ั่งและพื้นรถ ตํารวจสั่งใหพวกเราเอามือไวบนหัวและตองกม
หัวลงต่ําๆ พอรถแลนออกมายังสนามหลวงผานราชดําเนินจะมีกระทิงแดงและลูกเสือ
ชาวบานตั้งแถวรออยู พอรถมาถึงมันก็ขวางกอนอิฐกอนหินและโหรองดวยความชอบใจ
พวกเราในรถหลายคนหัวแตก บางคนถูกหนาผากเลือดไหลเต็มหนา พวกตํารวจที่คุมมา
ก็คอยพูดจาเยาะเยยถากถางและตะคอกดาพวกเรามาตลอดทางจนถึงบางเขน พอรถ
เลี้ยวเขามาบางเขนก็มีตํารวจเอาเศษแกวขวางเขามาในรถ แตโชคดีที่ไมถูกใครเขา เมื่อ
รถวิ่งเขามาจอดที่เรือนจําก็มีตํารวจกลุมหนึ่งวิ่งเขามาลอมรถไว บางสวนกรูเขาในรถ ทั้ง
ดา ทั้งเตะ ซอมคนในรถตามชอบใจ คนไหนใสแวนมันยิ่งซอมหนัก บางคนถูกมัน
กระชากเอาแวนไปดวย พวกมันสั่งใหทุกคนถอดนาฬิกาและสรอยคอใหหมด ผูชายตอง
ถอดเข็มขัดออก มันอางวาเดี๋ยวพวกเราจะเอาไปผูกคอตายในคุก คนไหนไมทําตามมันก็
เอาทายปนตี มันทําตัวยิ่งกวาโจร ยิ่งกวาสัตวปาอีกดวย

ฉันและเพื่อนหญิงประมาณ 400 คน ถูกขังอยูช  ั้น 2 ของเรือนจํา มีอยู 2 หอง หองหนึ่งจุ


คน 200 กวาคน สภาพในคุกทั้งสกปรก ทั้งคับแคบ ตองนอนเบียดเสียดกัน น้าํ ก็ไมมีให
ใช ในระยะแรกน้ําก็ไมมีใหกิน พวกเราทุกคนทีอ ่ ยูในคุกไดจด
ั ตั้งกันเปนกลุมๆ ตามแตละ
องคกรเพือ ่ ชวยเหลือกัน จัดใหมีการพูดคุยปรึกษาหารือ เชน เลาแลกเปลี่ยนเหตุการณ
วันที่ 6 ตุลา ที่แตละคนไดพบเห็นความทารุณโหดรายของ ตชด. ตํารวจ กระทิงแดง
และลูกเสือชาวบาน ที่รวมกันเขนฆาเพื่อนๆ และพีน ่ องประชาชนอยางโหดเหี้ยม….

เหตุการณนาสังเวชที่มีรายละเอียดยังมีอีกมาก ดังสวนหนึ่งกระจายเปนขาวไป
ทั่วโลก ดังเชน

นีล ยูลิวิค ผูสื่อขาวตางประเทศทีอ


่ ยูในเหตุการณไดรายงานตีพิมพในหนังสือพิมพ เดอะ
รียิสเตอร วันที่ 8 ตุลาคม 2519 วา “ดวยความชํานาญในการสื่อขาวการรบในอินโดจีน
แลว ขาพเจาสามารถบอกไดวาเสียงปนที่ไดยินนั้น 90% ยิงไปในทิศทางเดียวกัน คือยิง
ใสนักศึกษา บางครั้งจึงจะมีกระสุนปนยิงตอบมาสักนัดหนึ่ง

เลวิส เอ็ม ไซมอนส รายงานขาวในหนังสือพิมพ ซานฟรานซิสโก ครอนิเกิล วันที่ 7


ตุลาคม 2519 วา “หนวยปราบปรามพิเศษตางก็กราดปนกลใสตัวอาคารและสวนอื่นๆ
ของมหาวิทยาลัย พวกแมนปนที่ไดรับการฝกมาเปนพิเศษใชปนไรเฟลแรงสูงยิงเก็บเปน
รายตัว ตํารวจพลรมกลุมหนึ่งสวมหมวกเบเรตดํา เสื้อแจคเก็ตดําคลุมทับชุดพรางตาสี
เขียวไดยิงไปที่อาคารตางๆ ดวยปนไรแรงสะทอนยาว 8 ฟุต ซึ่งปกติเปนอาวุธตอสูรถถัง
สวนตํารวจคนอื่นๆ ก็ยิงลูกระเบิดจากเครื่องยิงประทับไหล ไมมีเวลาใดเลยที่ตํารวจจะ
พยายามใหนักศึกษาออกมาจากที่ซอนดวยแกสน้ําตา หรือเครื่องควบคุมฝูงชนแบบ
มาตรฐานอื่นๆ” ไซมอนสไดอางคําพูดของชางภาพตะวันตกคนหนึ่งที่ชาญสนามมา 4 ป
ในสงครามเวียดนาม ซึ่งกลาววา “พวกตํารวจกระหายเลือด มันเปนการยิงที่เลวรายที่สุด
ที่ขาพเจาเคยเห็นมา”

สํานักขาวเอพี (แอสโซซิเอเต็ด เพรส)รายงานจากผูสื่อขาวประจําประเทศไทยวา


นักศึกษาที่ชุมนุมอยูในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไดถูกลอมยิงและถูกบุกทํารายจากพวก
ฝายขวาประมาณ 10,000 คน ตํารวจระดมยิงดวยปนกลใสนักศึกษาที่ถูกหาวาเปนฝาย
ซาย นักศึกษา2 คนถูกแขวนคอและถูกตีดวยทอนไม ถูกควักลูกตา และถูกเชือดคอ

นายจี แซจู ชางภาพของเอพี กลาววา เขาเห็นนักศึกษา 4 คนถูกลากออกไปจากประตู


ธรรมศาสตรถึงถนนใกลๆ แลวถูกซอม ถูกราดน้ํามันเบนซินแลวเผา

หนังสือพิมพลอสแองเจลิส ไทมส วันที่ 6 ตุลาคม 2519 ตีพิมพรายงานจากผูสื่อขาว


ของตนในกรุงเทพฯ วา กระแสคลื่นตํารวจ 1,500 คนไดใชปนกลระดมยิงนักศึกษาใน
ธรรมศาสตร พวกฝายขวาแขวนคอนักศึกษา 2 คน จุดไฟเผา ตีดวยทอนไม ควักลูกตา
เชือดคอ บางศพนอนกลิ้งกลางสนามโดยไมมีหัว

หนังสือพิมพนิวยอรคไทมส วันที่ 6 ตุลาคม 2519 รายงานวามีนักศึกษาอยางนอย 4


คนพยายามหลบรอดออกมาขางนอกมหาวิทยาลัย แตแลวก็ถูกลอมกรอบดวยพวก
ตํารวจ และพวกสนับสนุนฝายขวาเขากลุมรุมซอมและทุบดวยทอนไมจนถึงแกความตาย
นักศึกษาบางคนมีเลือดไหลโชกศีรษะและแขน เดินโซเซออกมาจากมหาวิทยาลัยแลวก็
ลมฮวบลง

สํานักขาวอินเตอรนิวส ผูพิมพวารสารอินเตอรเนชั่นแนล บุลเลทิน รายงานวา


ตํารวจไดใชปนกล ลูกระเบิดมือ ปนไรแรงสะทอน ระดมยิงนักศึกษาในมหาวิทยาลัย
นักศึกษาหลายคนถูกจับตัวและถูกราดน้ํามันเบนซินแลวจุดไฟเผา คนอื่นๆ บางก็ถูกซอม
บางก็ถูกยิงตาย “ผูอยูในธรรมศาสตรขอรองใหตํารวจหยุดยิง ตํารวจก็ไมหยุด ขอให
หยุดชั่วคราวเพื่อใหผูหญิงที่อยูในมหาวิทยาลัยมีโอกาสหนีออกไป ตํารวจก็ไมฟง”

11.00 น. หลังจากตํารวจบุกยึดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไดแลว นักศึกษาประชาชนถูก


สั่งใหนอนคว่ํา แลวควบคุมตัวไวทยอยลําเลียงขึ้นรถเมลและรถสองแถวสงไปขังตาม
สถานีตํารวจตางๆ (มี 3 แหลงใหญๆ ไดแก นครปฐม ชลบุรี และร.ร.ตํารวจนครบาล
บางเขน) มากกวา 3,000 คน ระหวางที่ถูกควบคุมตัวอยูนั้น นักศึกษาชายและหญิงถูก
บังคับใหถอดเสื้อ นักศึกษาหญิงเหลือแตเสื้อชั้นใน ถูกสั่งใหเอามือกุมหัว นอนคว่ํา
คลานไปตามพื้น ระหวางที่คลานไปตามพื้นก็ถูกเตะถีบจากตํารวจ ระหวางขึ้นรถก็ถก ู ดา
ทออยางหยาบคายและถูกขวางปาเตะถีบจากตํารวจและอันธพาลกระทิงแดง ลส.ชบ.
ระหวางลงจากรถไปยังที่คุมขังก็ถูกตํารวจปลนชิงทรัพยสินและของมีคาไป

กระทรวงมหาดไทยมีคําสัง่ ถึงผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัด ใหกําชับการอยูเวรยาม ให


เจาหนาที่สื่อสารคอยรับฟงขาวจากสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย และสดับ
ตรับฟงขาวในเขตจังหวัด ปองกันการกอวินาศกรรมสถานที่ราชการ และหาทางยับยั้ง
อยาใหนักเรียนนิสิตนักศึกษาเดินทางเขากรุงเทพฯ

กทม.สั่งปดโรงเรียนในสังกัดโดยไมมกี ําหนด กระทรวงศึกษาธิการสั่งปดโรงเรียนใน


สังกัดถึงวันที่ 11 ตุลาคม 2519 กระทรวงยุติธรรมสัง่ หยุดศาลตางๆ 1 วัน

11.50 น. สํานักนายกรัฐมนตรีแถลงวา นายกรัฐมนตรีมีบัญชาใหตั้งกองบัญชาการรักษา


ความสงบเรียบรอยขึ้นที่ทาํ เนียบรัฐบาล

12.00 น. รัฐบาลออกแถลงการณสรุปไดวา
1. เจาหนาที่ตํารวจจับกุมผูที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพสยามมกุฎราชกุมารไดแลว 6 คน
จะดําเนินการสงฟองศาลโดยเร็ว

2. เจาหนาที่ตํารวจไดเขาควบคุมสถานการณการปะทะกันทีม
่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ไดแลว

3. รัฐบาลไดสั่งใหเจาหนาที่ตํารวจปราบปรามผูกระทําผิดกฎหมายโดยเด็ดขาด

12.30 น. กลุมลูกเสือชาวบานและประชาชนจํานวนหลายหมื่นคนชุมนุมอยูทล ี่ านพระ


บรมรูปทรงมา มีการพูดกลางที่ชุมนุม โดยนายอุทศ ิ นาคสวัสดิ์ ใหปลดรัฐมนตรี 4 คน
คือนายสุรินทร มาศดิตถ นายดํารง ลัทธพิพัฒน นายชวน หลีกภัย และนายวีระ มุสิก
พงศ โดยแตงตั้งใหนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมบุญ ศิริธร อยูในตําแหนงเดิมตอไป
ในที่ชุมนุมมีการเรียกรองใหรัฐบาลดําเนินการกับผูทห
ี่ มิ่นพระบรมเดชานุภาพองคสยาม
มกุฎราชกุมาร ซึ่งชุมนุมทีม่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตรอยางเฉียบขาด

นิสิตจุฬาฯ ประมาณ 3,000 คน ชุมนุมกันภายในบริเวณมหาวิทยาลัย นายเอนก เหลา


ธรรมทัศน นายกสโมสรนิสิตจุฬาฯ ชี้แจงถึงเหตุการณจราจลที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
และ 1. เรียกรองใหนิสิตจุฬาฯ ออกชี้แจงกับประชาชนถึงเหตุการณที่เกิดขึ้น 2.
เรียกรองใหรัฐบาลจัดการเรื่องที่เกิดขึ้นโดยเร็วที่สด
ุ 3. ยืนยันวาหากเกิดรัฐประหาร พวก
ตนจะตอสูถึงที่สุด 4. ยืนหยัดในการขับพระถนอมออกนอกประเทศ

บายวันนั้นมีการประชุม ครม.นัดพิเศษ พล.ต.อ.ศรีสข


ุ มหินทรเทพ และพล.ต.ท.ชุมพล
โลหะชาละ รองอธิบดีกรมตํารวจ เขาชี้แจงเหตุการณตอที่ประชุม ครม.

14.20 น. ประชาชนและลูกเสือชาวบานที่ชุมนุมอยู ณ ลานพระบรมรูปทรงมาสวนหนึ่ง


ประมาณ 4,000 คน เคลือ ่ นขบวนไปทําเนียบรัฐบาล และสงตัวแทน 5 คนเขาพบ
นายกรัฐมนตรี เรียกรองใหปรับปรุง ครม. และดําเนินคดีกับผูเกี่ยวของกับการแสดงละคร
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ นายกรัฐมนตรีรับปากวาจะพิจารณาดําเนินการ

17.00 น. ประชาชนและลูกเสือชาวบานที่ชุมนุมอยูส
 ลายตัว

18.00 น. พล.ร.อ.สงัด ชลออยู หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ประกาศยึด


อํานาจ ความวา “ขณะนี้ คณะปฏิรูปการปกครองแผนดินไดเขายึดอํานาจการปกครอง
ประเทศตั้งแตเวลา 18.00 น. ของวันที่ 6 ตุลาคม เปนตนไป และสถานการณทั้งหลาย
ตกอยูภายใตการควบคุมของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน…” โดยมีเหตุผลในการยึด
อํานาจการปกครอง คือ “…คณะปฏิรูปการปกครองแผนดินไดประจักษแจงถึงภัยที่ได
เกิดขึ้นอยูในขณะนี้ กลาวคือ ไดมกี ลุมบุคคลซึ่งประกอบดวยนิสต ิ นักศึกษาบางกลุม ได
กระทําการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ โดยมีเจตจํานงทําลายสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่ง
เปนสวนหนึ่งของการวางแผนของคอมมิวนิสตที่จะเขายึดครองประเทศไทย เมื่อ
เจาหนาที่ทําการเขาจับกุมก็ไดตอ
 สูด
 วยอาวุธรายแรงที่ใชในราชการสงคราม โดยรวมมือ
กับผูกอการรายคอมมิวนิสตชาวเวียดนามตอสูกับเจาหนาที่ตํารวจเสียชีวิตและบาดเจ็บ
จํานวนมาก”

สรุปความเสียหายจากเหตุการณ 6 ตุลา ตามตัวเลขทางการระบุวามีผูเสียชีวิต 39 คน


บาดเจ็บ 145 คน (ในจํานวนนี้เปนตํารวจเสียชีวิต 2 คน บาดเจ็บ 23 คน) นักศึกษา
ประชาชนถูกจับกุม 3,094 คน เปนชาย 2,432 คน หญิง 662 คน ขณะที่แหลงขาว
อางอิงจากการเก็บศพของเจาหนาที่มูลนิธิรวมกตัญู ประมาณวามีนักศึกษาประชาชน
เสียชีวิต 530 คน สวนทรัพยสิน (จากการสํารวจของคณะกรรมการของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) มีครุภัณฑและวัสดุของคณะตางๆ เสียหายเปนมูลคา 50 กวา
ลานบาท รานสหกรณมีสินคาและทรัพยสินเสียหาย 1 ลาน 3 แสนบาท สิ่งของมีคาหาย
สาบสูญ อาทิ โทรทัศน เครื่องพิมพดีด กลองถายรูป เทปบันทึกเสียง เครื่องเย็บ
กระดาษ เสื้อผา เงินสด รายงานแจงวา “หนาตางถูกทุบและโดนลูกกระสุนเสียหาย โตะ
เกาอี้พัง หองพักอาจารยถูกรือ
้ คนกระจัดกระจาย”

24 สิงหาคม 2520

อัยการศาลทหารกรุงเทพฯ พิจารณาสํานวนสอบสวนแลว มีคําสั่งฟองนักศึกษาและ


ประชาชนเปนผูตองหาจํานวน 18 คน

16 กันยายน 2521

ผูตองหาคดี 6 ตุลา ทั้ง 18 คน ไดรับการนิรโทษกรรม พรอมกับผูตอ


 งหาในศาลอาญา
อีก 1 คน คือนายบุญชาติ เสถียรธรรมมณี ทั้งหมดไดรับการปลอยตัวเปนอิสระ

18 กันยายน 2521

สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (สมธ.) รวมกับสโมสรนักศึกษา 8 แหง จัด


งานรับขวัญ “ผูบริสุทธิ์ 6 ตุลา” ที่ลานโพธิ์

ที่มา :
(1) คัดลอกและเรียบเรียงจาก จุลสาร “พิสุทธ” เนื่องในงานรําลึกวีรชนเดือนตุลา
จัดพิมพโดยสหพันธนิสิตนักศึกษาแหงประเทศ
ไทย

.(2) จุลสาร “ตุลา สานตอเจตนาวีรชน” จัดพิมพโดย พรรคสัจจธรรม มหาวิทยาลัย


รามคําแหง

(3) หนังสือ “รอยยิ้มในวันนี้” คณะกรรมการบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประจําป


2522

ที่มา : http://somsakwork.blogspot.com/

“เราสู” หลัง 6 ตุลา

คําชี้แจง: คารวะนอบนอม แดสหายผูอุทิศชีพถวาย ตอสู *


ขอเขียนขางลางนี้ ผมทําขึ้นเปน "ภาคผนวก" สําหรับบทความของผมเรื่อง "เราสู:
เพลงพระราชนิพนธการเมืองกับการเมืองป 2518-2519" ฉบับปรับปรุงใหม (ฉบับพิมพ
ครั้งแรกใน ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง, 2545, หนา 115-148) ตัวบทความผมไดแกไข
เพียงเล็กนอย แตสวน "ภาคผนวก" นี้เปนการเขียนใหมเกือบทั้งหมด ทั้งบทความฉบับ
ปรับปรุงและ "ภาคผนวก" ผมทําเสร็จในเดือนกุมภาพันธ 2548 ยกเวนขอความบางสวน
ของเชิงอรรถที่ 5 ขางลาง ที่เพิ่งเขียนเพิ่มเติมเมื่อเร็วๆนี้ ในที่สุด งานชิ้นนี้จะปรากฏอยู
ในหนังสือเลมใหมของผมชื่อ "เพราะทรงธรรมรัชยชัชวาลย" : รวมบทความเกี่ยวกับ
พระมหากษัตริยและการเมืองไทยสมัยใหม ซึ่งอยูในระหวางเตรียมตนฉบับ

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
6 ตุลาคม 2549

***************************************************************

* นี่คือ 2 บาทแรกในโคลงสี่สุภาพ 2 บทที่ โยธิน มหายุทธนา (ประวุฒิ ศรีมันตระ)


เขียนสดุดี จิตร ภูมิศก
ั ดิ์ ตีพิมพครั้งแรกใน กวีการเมือง (แนวรวมนักศึกษาเชียงใหม,
2517)

ไมเปนที่สงสัยเลยวา บรรดาตํารวจและกลุมพลังฝายขวาที่บุกโจมตี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลา มีความเชื่อมั่นวาปฏิบัติการของพวกเขาเปน
การกระทําเพื่อปกปองราชบัลลังกและเปนการสนองพระราชดําริ ถาเพลง “เราสู” ที่ทรง
พระราชทานไวกอนหนานั้น ยังไมสรางความมั่นใจเพียงพอ พระราชกรณียกิจของพระ
ราชวงศบางพระองคในวันที่ 6 และชวงใกลเคียง นาจะทําใหหายสงสัยได

ตอนเย็นวันที่ 6 หลังจากลูกเสือชาวบานซึ่งไดชุมนุมบริเวณพระบรมรูปทรงมาตั้งแตเชา
เพื่อประนามนักศึกษาและผูที่พวกเขามองวาสนับสนุนนักศึกษาในการหมิ่นพระบรมเด
ชานุภาพ (ปวย อึ๊งภากรณ พรรคสังคมนิยม และรัฐมนตรีพรรคประชาธิปตยบางคน) พา
กันเคลื่อนขบวนบุกเขาไปยังทําเนียบรัฐบาลแลว(1) ในหลวงทรงรับสั่งให ธรรมนูญ
เทียนเงิน ผูวาราชการกรุงเทพและผูนําประชาธิปตยปกขวาเขาเฝา ทรงแสดงความ
หวงใยที่ลูกเสือชาวบานเหลานั้นจะไดรับความลําบากเรื่องที่พักและอาหาร หลังจากนั้น
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชไดทรงเสด็จพระราชดําเนินมาพบลูกเสือเชาวบานที่ทําเนียบ
รัฐบาล ดังที่ ดาวสยาม รายงาน ดังนี้

เมื่อเวลา 17.00 น.ของ


วันที่ 6 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดรับสั่งเรียกนายธรรมนูญ เทียนเงิน ผูวาการ
กรุงเทพมหานครเขาเฝาฯ ทรงรับสั่งเกี่ยวกับการที่ไดมีลูกเสือชาวบานจากตางจังหวัด
นับเปนหมื่นๆคนไดมาชุมนุมนั้นอาจจะประสบปญหาเกี่ยวกับอาหารและที่พัก ทรงรับสั่ง
ใหนายธรรมนูญชี้แจงใหลูกเสือชาวบานสลายตัว ในขณะนั้นเองสมเด็จพระบรมโอรสาธิ
ราชสยามมงกุฏราชกุมาร ไดเสด็จพรอมกับนายธรรมนูญ เทียนเงิน มาที่ทําเนียบรัฐบาล
และที่ชุมนุมลูกเสือชาวบานดวย ไดทรงมีพระราชดํารัสกับกลุมลูกเสือชาวบานที่มา
ชุมนุม

ดาวสยาม ไดนําพระราชดํารัสดังกลาวมาตีพิมพวา
ขาพเจาขอใหทุกคนยิ้มแยมและใจเย็นๆ ไมมีอะไรที่แกไขไมได แตตอ
 งคอยแกคอยไป
บานเมืองตอนนี้กําลังตองการความสามัคคีและกําลังอยูในสถานการณที่สําคัญ ฉะนั้น
ขอใหทุกคนสลายตัวเสีย ถือวาใหของขวัญกับขาพเจา ทานเหนื่อยกันมามากแลว ขอให
กลับไปหลับนอนเสียใหสบาย ทุกคนโปรดทราบวา สองลนเกลาฯทรงเปนหวง ไมมีอะไร
ที่สองลนเกลาฯจะเสียใจเทากับพวกเราฆากันเอง ขอใหทุกคนโชคดี(2)
นาสังเกตวา ขณะนั้น เหตุการณที่ธรรมศาสตรสิ้นสุดลงแลวหลายชั่วโมง และความ
รุนแรงที่ตํารวจ ลูกเสือชาวบาน และกลุมพลังฝายขวาอื่นๆกระทําตอนักศึกษาที่นั่น ได
เปนที่รูกันแลว (หนังสือพิมพฉบับบายทุกฉบับไดพาดหัว และรายงานขาวแลว) ไม
ปรากฏวาทรงมีพระราชดํารัสถึงเหตุการณดังกลาวแตอยางใด(3)

วันตอมา คือวันที่ 7 ตุลาคม 2519, ตามบันทึกของวสิษฐ เดชกุญชร, “เวลาประมาณ


15.30 นาฬิกา ทูลกระหมอมนอยและทูลกระหมอมเล็กเสด็จไปยังโรงพยาบาลตํารวจ
และโรงพยาบาลวชิระ เพื่อทรงเยี่ยมผูไดรับบาดเจ็บจากการจลาจลที่กําลังพักรับการ
รักษาพยาบาลอยูที่โรงพยาบาลทั้งสองแหง”(4) ถาวสิษฐเขียนแบบกํากวมใหสงสัยได
วา พระเจาลูกเธอ 2 พระองคทรงเยี่ยมเฉพาะฝายที่บุกเขาไปในธรรมศาสตรเทานั้น
ไมใชฝายนักศึกษาและผูชุมนุมในมหาวิทยาลัย (ซึ่ง “ไดรับบาดเจ็บจากการจลาจล”
เชนกัน) ใชหรือไม เสียงปวงชน ฉบับวันที่ 9 ตุลาคม 2519 ไดตีพิมพภาพถายที่ทั้ง 2
พระองคทรงกําลังกมลงสอบถามอาการผูบาดเจ็บทีก ่ ําลังนอนอยูบนเตียงผูหนึ่งดวยพระ
พักตรหวงใย พรอมคําบรรยายภาพวา “ทูลกระหมอมทั้งสองพระองคเสด็จเยี่ยมตํารวจที่
ไดรับบาดเจ็บจากการกวาดลางที่ธรรมศาสตร ที่โรงพยาบาลตํารวจ เมื่อ 15.00 น. วันที่
7 เดือนนี้ และพระราชทานเงินของมูลนิธิสายใจไทยใหตํารวจที่ไดรับบาดเจ็บทุกคน”(5)

สองสัปดาหตอ  มา คือในวันที่ 20 ตุลาคม ไดมีพิธีบาํ เพ็ญกุศลและบรรจุศพนายเสมอ อน


จรูญ ลูกเสือชาวบานคนหนึ่งที่บุกเขาไปในมหาวิทยาลัยในเชาวันที่ 6 และเสียชีวิต
(จากกระสุนของฝายนักศึกษา?) โดยสมเด็จพระเจาลูกเธอ 2 พระองค เสด็จพระดําเนิน
ทรงรวมงานดวย วันตอมา ไทยรัฐ ตีพิมพบนหนา 1 พระฉายาลักษณทั้งสองพระองคใน
ฉลองพระองคไวทุกขดํา กําลังทรงนั่งยอพระวรกายลงสนทนากับครอบครัวของนาย
เสมออยางใกลชด ิ พรอมคําบรรยายภาพสั้นๆ (ในลักษณะที่หนังสือพิมพเรียกวา “ภาพ
เปนขาว”) วันที่ 22 ตุลา ไทยรัฐ และ ไทยเดลี่ ตีพม ิ พพระฉายาลักษณของ 2 พระองค
ในพระอริยาบทเดียวกันระหวางทรงสนทนากับลูกเสือชาวบานที่มารวมงานและเฝารับ
เสด็จในวันบรรจุศพนายเสมอ แตอยูในหนา 4 มีเพียง เดลินิวส ฉบับวันนั้น ทีน
่ อกจาก
ตีพิมพพระฉายาลักษณในหนา 1 แลว ยังรายงานขาวในหนาเดียวกัน ดังนี้:

ฟาหญิงฯ สดุดีศพลูกเสือชาวบาน

สมเด็จพระเจาลูกเธอทั้งสองเสด็จทรงบําเพ็ญพระกุศลและบรรจุศพ “นายเสมอ อน


จรูญ” ลูกเสือชาวบานที่เสียชีวิตจากการชวยเหลือเจาหนาที่ จากเหตุการณจลาจล “6
ต.ค.” ที่วัดพระศรีมหาธาตุ ทามกลางลูกเสือชาวบานรวมพิธีกวา 5 พันคน ทรงสดุดี
วีรกรรมวาสมควรแกการเชิดชูเปนแบบอยาง

เมื่อเวลา 15.00 น. (ที่ ๒๐) สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา และสมเด็จ


พระเจาลูกเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ เสด็จทรงบําเพ็ญพระกุศลและบรรจุศพ นาย
เสมอ อนจรูญ ลูกเสือชาวบานรุนที่ 5 คายวังสราญรมย 206/3 กทม. 70 ณ ศาลา
ทักษิณาประดิษฐ วัดพระศรีมหาธาตุ เมื่อเสด็จมาถึง สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาสิรินธร
เทพรัตนสุดา ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ พระสงฆ 39 รูป สวดมาติกาจบแลว เจา
พนักงานลาดภูษาโยง สมเด็จพระเจาลูกเธอฯเสด็จไปทอดผาแลวทรงหลั่งทักษิโณทก

สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา ทรงกลาวสดุดีเกียรติคุณ นายเสมอ อน


จรูญ วา “การปฏิบัติหนาที่ครั้งนี้ [เปนไปตาม] คําสัตยปฏิญาณที่ไดปฏิญาณไวกับ
ลูกเสือชาวบาน สมควรแกการเชิดชู เพื่อเปนตัวอยางแกลูกเสือชาวบานตอไปในดานมี
ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย” แลวเสด็จไปที่หนาหีบศพ ทรง
หยิบดินหอผาขาวดําวางบนพานที่ตั้งหนาหีบศพ ทรงวางพวงมาลา

ในโอกาสนี้ ทั้งสองพระองค เสด็จเยี่ยมลูกเสือชาวบานกวา 5,000 คน ซึ่งเดินทางมา


จากจังหวัดใกลเคียง ที่มาเฝารับเสด็จอยางคับคั่งตามพระอัธยาศัยดวย

สําหรับวีรกรรมของนายเสมอ ที่ไดปฏิบัตจ ิ นถึงแกเสียชีวิต คือ เมื่อวันที่ 6 ต.ค.นี้ เวลา


08.00 น. นายเสมอไดตด ิ ตามตํารวจเขาไปในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อชวยเหลือ
ประชาชนที่ไดรับบาดเจ็บจากการตอสู ถูกฝายผูกอการไมสงบระดมยิงมาจากดานขาง
หอประชุมใหญ ไดรับบาดเจ็บสาหัสและสียชีวิตในเวลาตอมา
แมมิไดทรงอางอิงถึงเพลง “เราสู” แตการที่เจาฟาสิรินธรทรงสดุดีพฤฒิการณของนาย
เสมอ (และโดยนัยคือลูกเสือชาวบานคนอื่น) ที่ธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลา วาเปน
“การปฏิบัติหนาที่” ที่ “สมควรแกการเชิดชูเพือ่ เปนตัวอยาง” นับวาสอดคลองกับเนื้อหา
ของเพลงอยางมาก (เปรียบเทียบคําที่ทรงใช “ปฏิบัติหนาที่” กับ “หนาที่เรา” ในเพลง)
(6)

ไมกี่เดือนตอมา การเชื่อมโยงระหวางเพลงพระราชนิพนธ “เราสู” กับ “การปฏิบัติหนาที่”


ในลักษณะเดียวกัน (ตอตานภัยของราชบัลลังก) จะแสดงออกใหเห็นโดยตรง คือในงาน
พระราชทานเพลิงศพเจาหนาที่ผูเสียชีวิตจากการตอสูกับคอมมิวนิสต ซึ่งในสมัยที่ยังมี
การตอสูด  วยอาวุธในชนบทของ พคท. เปนหนึ่งในงานประจําปที่ทางราชการให
ความสําคัญมากที่สุด ในหลวงและพระราชินีทรงเสด็จพระราชดําเนินดวยพระองคเองทุก
ครั้งตั้งแตครั้งแรกในป 2512 สําหรับป 2520 ซึ่งเปนปแรกหลังเหตุการณ 6 ตุลา และมี
ขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม ทางกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ได
จัดพิมพหนังสือที่ระลึกของงานเชนทุกป โดยแยกเปน 2 เลม เลมหนึ่งเปนรายชื่อและรูป
ถายผูเสียชีวิต, หมายกําหนดการงานพระราชทานเพลิงศพ, และคําไวอาลัยตางๆ อีก
เลมหนึ่ง เปนบทความตอตานคอมมิวนิสมลวนๆ มี 3 เรื่อง คือ “’ยิ่งปราบยิ่งมาก จริง
หรือ?” (โจมตีพรรคคอมมิวนิสตไทย), “รอบบาน เมืองเรา” (โจมตีประเทศคอมมิวนิสต
อินโดจีน) และ “เนื่องจาก…6 ตุลาคม 2519” ซึ่งแกตางใหกับการฆาหมูและปราบปราม
ขบวนการนักศึกษาในวันนั้น

ที่นาสนใจคือ ปกหนาของหนังสือเลมหลังนี้ นอกจากมีชื่อหนังสือซึ่งเหมือนกับเลมแรก


วา
ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพเจาหนาที่
ผูเสียชีวิตเนื่องจากปฏิบัติหนาที่ราชการในการรักษาความมั่นคงภายใน แลว ยัง
มีรูปวาดแผนที่ประเทศไทย มีทหารตํารวจในเครื่องแบบ 3 คนถือปนในทาคลายกับ
กําลังเผชิญหนาศัตรู (รูปทหารตํารวจเปนรูปถาย แปะทับลงบนรูปวาด) ดานบนสุดของ
รูป (เหนือรูปทหารตํารวจและแผนที่) เปนตัวหนังสือขนาดใหญ ซึ่งมีสีแบบธงชาติ (3 สี
5 แถบ) วา “เราสู” ในหนาแรกสุดของหนังสือ เปนเนื้อเพลงพระราชนิพนธ “เราสู” โดย
มีกระดาษใสบางๆ พิมพพระปรมาภิไธยยอ “ภปร” ปดทับ ขางลางเนื้อเพลงมีคําบรรยาย
วา “ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานแกบรรดาผูที่ปฏิบัติหนาที่เพื่อประเทศชาติ”
หลังจากนั้นเปนเวลาหลายป หนังสือที่ระลึกงานนี้ (เลมบทความ) จะมีเนื้อเพลง “เราสู”
ในหนาแรกเสมอ

ความเชื่อมโยงระหวางเพลง “เราสู”-สถาบันกษัตริย-การตอตานคอมมิวนิสม (หรือ


ตอตานสิ่งทีด
่ ูเปนการ “คุกคาม” ตอสถาบันกษัตริยเ หมือนคอมมิวนิสม) จะแสดงออกให
เห็นอีกอยางนาสนใจยิ่งในเหตุการณสําคัญในปลายเดือนกันยายน 2520 นั่นคือ กรณี
ระเบิดหนาที่ประทับทีจ ่ ังหวะยะลา(8)

ประมาณ 4 โมงเย็น วันที่ 22 กันยายน 2520 ขณะที่ในหลวง พรอมดวยพระราชินี และ


พระเจาลูกเธอ 2 พระองค กําลังทรงเปนองคประธานในพิธีพระราชทานรางวัลแก
โรงเรียนปอเนอะ และพระราชทานธงประจํารุนลูกเสือชาวบาน ที่สนามโรงพิธีชางเผือก
อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ระหวางที่ผูวาราชการจังหวัดกําลังอานรายงานถวาย ไดเกิด
การระเบิดขึ้น 2 ครั้งติดตอกันในบริเวณที่ลูกเสือชาวบานซึ่งมารวมพิธีประมาณ 3 หมื่น
คน กําลังชุมนุมเขาเฝาอยู (ภายหลังรัฐบาลแถลงวา ระเบิดลูกแรกหางจากปะรําพิธีที่
ทรงประทับ 55 เมตร ลูกที่สอง 110 เมตร มีผูไดรับบาดเจ็บ 47 คน) หลังจากเกิดความ
ชุลมุนบริเวณนั้นและพระราชพิธีชะงักลงชั่วครู โดยที่ดูเหมือนวาตลอดเวลาในหลวงทรง
ประทับยืนอยูก ับที่ โดยมีเจาหนาที่เขายืนลอมรอบใหการอารักขา(9) ในหลวงไดทรง
งานตอไป โดยมีพระราชดํารัสกับผูมารวมในพิธี เดลินิวส เปนหนังสือพิมพฉบับเดียวที่
รายงานวาเกิดอะไรขึ้นจากที่เกิดเหตุ ไมใชจากการถอยคําในแถลงการณของรัฐบาล (ดู
เหมือนเพราะเปนฉบับเดียวที่เมินเฉยตอการขอรองของตํารวจ)(10) ดังนี้

ในหลวงทรงมีพระราชดํารัสถึงพสกนิกรทีอ ่ ยูในเหตุการณที่จังหวัดยะลา ขอใหทุกคนมี


จิตใจเขมแข็งไมตื่นเตนตอสถานการณ เปดหูเปดตาใหดี ก็สามารถขจัดอันตราย
เหลานั้นได คนไทยไมวาอยูภาคไหนมีจิตใจอยางเดียวกัน คือรักษาความสงบ ใครกอ
ความไมสงบเราก็ตองปองกัน และทรงชมเชยลูกเสือชาวบาน ที่ปฏิบัติตนไดอยางดี
ตามที่ฝกไว ขอใหทุกคนมีความเขมแข็ง ปลอดภัย และมีความสําเร็จทุกประการ . . . .
(11)

เมื่อจบคําพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวแลว สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจา


ฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา และสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ ซึ่งประทับ
อยูในโรงพิธี ทรงรองเพลง “เราสู” นํา จากนั้น เสียงเพลง “เราสู” ก็กระหึ่มขึน
้ มาจาก
เสียงของประชาชน ลูกเสือชาวบาน ทหาร ตํารวจ ทุกคนสงบนิ่งรองเพลง ดวยความ
ตั้งใจ ลืมเหตุการณที่เกิดขึ้น เมื่อจบจากเพลง “เราสู” เสียงเพลง “ศึกบางระจัน” ก็
ติดตามมาอีกอยางพรอมเพรียง จากนั้นสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ
พระบรมราชินีนาถ ฟาหญิงทั้งสองพระองค เสด็จลงจากโรงพิธีทรงเยี่ยมเยียนพสกนิกร
ที่เขาเฝาอยางใกลชิด จากนั้นเสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่งไปทรงเยี่ยม
ผูบาดเจ็บที่โรงพยาบาลจังหวัดยะลา เมื่อเวลา 18.55 น. ทรงเยี่ยมเยียนผูบาดเจ็บ ที่รับ
การรักษาตัวอยูในโรงพยาบาลดังกลาว และทรงมีพระราชปฏิสันถานกับนายแพทย
ไพบูลย เวชสาน ผูอํานวยการโรงพยาบาลเปนเวลานานพอสมควร กอนที่จะเสด็จพระ
ราชดําเนินกลับที่ประทับ

สิ่งที่ชวนสะดุดใจที่สด ุ คือ ในยาม “หนาสิ่วหนาขวาน” อยางยิ่งเชนนั้น พระเจาลูก


เธอ 2 พระองคทรงระลึกถึงเพลง “เราสู” กอนอื่นใด และทรงรองนําเพลงนี้ขึ้น ผมคิดวา
เราสามารถพูดไดวา เมื่อเกิดระเบิดขึ้น คงไมมีใครนึกทันทีวาเปนฝมือของ “มุสลิมแยก
ดินแดน” ดังที่จะถูกสรุปในเดือนตอมา (เมื่อมีการจับผูตองหามุสลิม 4 คน) และพระเจา
ลูกเธอทั้ง 2 พระองค ตลอดจนในหลวง พระราชินี ไมตองพูดถึงคนอื่นๆในทีน ่ ั้น อาจจะ
นึกถึงศัตรูที่เพลง “เราสู” ถูกสรางขึ้นมาใหเปนเสมือนอาวุธในการตอสู คือพวก
คอมมิวนิสตก็ได (อยางนอย เหตุการณรายในภาคใตที่เกี่ยวกับพระราชวงศ ซึ่งเพิ่ง
เกิดขึ้นเมื่อตนปนั้น คือกรณีหมอมเจาวิภาวดี รังสิต ถูกยิงสิ้นชีพตักษัยในวันที่ 16
กุมภาพันธ ขณะทรงประทับเฮลิคอปเตอรบินอยูเหนือบานเหนือคลอง อําเภอเวียงสระ สุ
ราษฎรธานี ก็เปนฝมือของพวกคอมมิวนิสต)(12)

แตไมวาจะทรงนึกถึงใครหรือไม ผมคิดวา เหตุการณนี้แสดงใหเห็นวาเพลง “เราสู” มี


ลักษณะที่เรียกวา “กินใจ” ตอพระเจาลูกเธอทั้ง 2 พระองค (และนาจะตอในหลวงพระ
ราชินีและคนอื่นๆในที่นั้น) ทําไม? ผมคิดวา “เราสู” ถายทอดความรูสึกของการกําลังถูก
คุกคามอยางหนัก ระเบิดที่ดังขึ้นติดกัน 2 ครั้ง เหมือนกับการ “ขูฆาลางโคตร” อยางเปน
รูปธรรม ขณะเดียวกัน แมเพลงจะกลาววา “ก็ไมหวั่น” แตผมคิดวา เราสามารถตั้งคําถาม
ไดวา “เราสู” นอกจากสะทอนความรูสึกถูกคุกคามแลว ยังสะทอนความรูสึกตกใจกลัว
ดวยหรือไม? คงจําไดวา เมื่อทรงเผยแพรกลอน “เราสู” ครั้งแรกในชวงวันปใหม 2519
นั้น ทรงมีพระราชดํารัสเตือนพรอมๆกันวา “ไมควร. . .ตื่นตกใจจนเกินไป”(13) อาจ
กลาวไดวา “เราสู” เปนการพยายามชวยใหไม “ตื่นตกใจ” หรืออยางนอยก็ไม “ตื่นตกใจ
จนเกินไป” นั่นเอง ผมคิดวานี่เปนความจริงไมเฉพาะแตในเหตุการณระเบิดทีย ่ ะลา
เทานั้น แตรวมถึงตั้งแตป 2518 ซึ่งเปนชวงเวลาที่เพลง “เราสู” ถือกําเนิดขึ้น (ในรูปพระ
ราชดํารัส) ภูมิหลังของเพลงนี้คือคลื่นความตระหนกในหมูชนชั้นนําไทย อันเนื่องมาจาก
กระแสสูงในประเทศไทยและชัยชนะในประเทศเพือ ่ นบานของขบวนการฝายซาย

“ไมตองกลัว” เปนประเด็นที่ทรงย้ําอีกในพระราชดํารัสที่เปนผลสืบเนื่องโดยตรงมาจาก
เหตุการณระเบิดที่ยะลา กลาวคือ ในวันที่ 31 ตุลาคม 2520 ไดพระราชทานพระบรมราช
วโรกาสใหนายอารมย รัตนพันธุ ครูชวยราชการสวนการศึกษาองคการบริหารสวนจังหวัด
ยะลา เขาเฝาที่ศาลาดุสิตาลัย เพื่อรับพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ โดยมีลูกเสือ
ชาวบาน “หลายรอยคน” (เขาใจวาจากจังหวัดเดียวกัน) รวมเขาเฝาดวย โอกาสนี้ได
ทรงมีพระราชดํารัสซึ่งทําใหเราไดทราบเรื่องของ “ครูอารมย” วาเปนผูมีบทบาทชวยทํา
ใหผูมารวมพิธีพระราชทานธงในขณะที่เกิดระเบิด อยูในความสงบ หายจากการแตกตื่น
ตกใจ (จึงไดรับพระราชทานเหรียญดังกลาว) ซึ่งเรื่องนี้ไมมีการรายงานในหนังสือพิมพ
เมื่อเกิดเหตุเลย (ไมมีแมแตชื่อ อารมย รัตนพันธุ) ในหลวงทรงมีพระราชดํารัสนี้เปน
เวลาถึงเกือบ 1 ชั่วโมง ไมเพียงแตทรงเลาเหตุการณระเบิดเทานั้น ยังทรงใหคําอธิบาย
ความหมายบางตอนของเพลง “เราสู” เปนครั้งแรก (และครั้งเดียว) ดวย(14)

กอนอื่นขอแสดงความยินดี ตอครูอารมย รัตนพันธุ ที่สามารถมารถมารับเหรียญรัตนา


ภรณ ตอหนาพี่นองลูกเสือชาวบานจํานวนหลายรอยคนในวันนี้ และขอเพิ่มเติม
พฤติการณตางๆที่ไดเกิดขึ้นเปนลําดับในวันนั้น ที่ยะลา

ตอนแรก ไดมีพิธม ี อบรางวัลแกโรงเรียนราษฎรสอนศาสนา ซึ่งถือกันวาเปนพิธีการที่ทํา


ประจําป สําหรับใหรางวัลแกโรงเรียนที่ปฏิบัติที่ทําการสอนดีทท
ี่ างกระทรวงศึกษาได
สนับสนุน . . . . นอกจากนั้น ตอไป ก็มีพิธีเกี่ยวของกับการมอบเข็มแกกรรมการอิสลาม
ซึ่งเปนประเพณีวา ผูที่ปฏิบัติในฐานะเปนหัวหนาของชาวอิสลามก็ไดรับเข็มเพื่อเปน
เครื่องหมาย . . . . .

งานที่สามในวันนั้น ก็คืองานมอบธงประจํารุนของลูกเสือชาวบาน ซึ่งทานทั้งหลายที่เปน


ลูกเสือชาวบานก็ทราบดีวา ทํากันอยางไร มีการมอบธงตามปกติ เสร็จแลวก็มีการ
ปฏิญาณตนตามความมุงหมายของลูกเสือชาวบานที่จะทําประโยชน ความสําคัญของ
ลูกเสือชาวบานคือการกระทําตนใหมีประโยชนแกสว นรวม เพื่อความสงบสุข เพื่อความ
สามัคคี ปรองดอง เขาใจกันดี ก็เกิดความกาวหนา ความปลอดภัยไดแนนอน หลังจาก
มอบธงแลว เปนธงที่ 9 ผูที่ถือธงก็กําลังกลับไปเขาที่ ก็เกิดเสียงระเบิดขึ้นมา(15) เสียง
ระเบิดนั้น ในจิตใจของคนไมไดเห็นระเบิดก็เกิดการฉงนขึ้นมา ตอนแรกก็นึกวาเปนการ
จุดพลุ เพราะวาบางทีก็นึกวาถือวา อาจจะถือวา การไดรับมอบแลว เสร็จสรรพเรียบรอย
ก็ถือวาตองมีการยิงสลุด ในที่นี้ก็อาจถือวาเปนการยิงพลุ ซึ่งที่วาฉงนก็เพราะวาไมมีอยู
ในกําหนดการ แตตอมาไมชาไมนานก็เห็นคนที่อยูทางซายมือ วิ่งจากปะรําที่เปนที่เยี่ยม
ราษฎร ซึ่งเต็มไปดวยคนนับแลวเปนคนหลายหมื่นคน ก็วิ่งมาถึงกลางสนามหลังแถว
ของลูกเสือชาวบานที่ตั้งอยู นอกจาก 9 รุนนั้น ก็มีรน
ุ พี่อีกประมาณ 20 รุน ทั้งหมด ก็เห็น
คนที่วิ่งมาแลวมานอนราบ ก็เห็นวามีอะไรผิดปกติแนนอน และผูที่อยูทางปะรําทาง
ซายมือของเรานี้ ก็ลงหมอบเหมือนกัน ในเวลานั้น ทําใหทุกคนก็คงตองตระหนกตกใจ
อยูไมมากก็นอย ทําใหงานชงักไปสักครูหนึ่ง แตนายอารมย รัตนพันธุ ในฐานะวิทยากรก็
ไดสั่งทางไมโครโฟนใหตรง และใหแสดงรหัส ลูกเสือในแถวที่เริ่มจะอลเวงเล็กนอย
ตองบอกความจริงวาไมใชวาลูกเสือชาวบานอยูโดยไมไดตกใจ ก็ตกใจเหมือนกัน แต
โดยที่มีคําสั่งใหยืนตรง และใหแสดงรหัส ทําสัตยปฏิญาณ แถวนั้นก็ตรง และเขา
ระเบียบขึ้นโดยทันใด และการเปลงเสียงปฏิญาณตนก็หนักแนนเปนพิเศษ ทําใหจิตใจ
ของลูกเสือชาวบานทุกคนมีความกลา มีความมั่นใจ ฉะนั้น ขอนี้เปนขอสําคัญ เพราะวา
ไมไดเสียเวลา ปฏิบัติตามสิ่งที่ควรปฏิบัติ ตามที่สมควรที่จะปฏิบัติ และใหผล หลังจาก
ปฏิญาณตนก็ไดมีการรองเพลงใหจิตใจเขมแข็ง และไมใชเพื่อปลุกใจเทานั้นเอง แต
เพื่อที่จะใหเจาหนาที่ทหารตํารวจรวมทั้งเจาหนาที่ลูกเสือชาวบานอื่นๆ ออกไป
ปฏิบัติการไปชวยใหประชาชนที่กําลังแตกตื่นกลับคืนไปสูที่ ทหารออกไปทันที ไป
ตรวจดูที่เกิดระเบิด ทางเจาหนาที่โรงพยาบาลก็ไดนําผูปวยบาดเจ็บจํานวนหลายสิบคน
ไปโรงพยาบาลโดยเร็ว เขาใจวา การปฏิบัติโดยฉับพลันโดยเร็ว และตั้งใจจริง ทําใหผูที่
บาดเจ็บสาหัสที่สุดไมเสียชีวิต หลังจากที่รอ  งเพลงแลว ก็มีเวลาใหเจาหนาที่ที่จะทํา
ความเรียบรอยขึ้นปลอบใจประชาชน ความจริง ประชาชนทั้งหลายนั้นเขาแตกตื่นเปน
ธรรมดา แตเมื่อเขาเห็นลูกเสือชาวบานและเจาหนาที่เขมแข็ง ก็ทําใหมีความไววางใจ
และมีความสงบขึ้น
ตอจากนั้น ขาพเจาก็ไดพด ู กับลูกเสือชาวบานในทํานองวา พวกเราไดฝกมาดี . . . วัน
นั้นไดบอกกับลูกเสือชาวบานที่อยูในที่นั้นวา วันนี้เราเจอของจริง ไมใชของเลนๆ ไมใช
การฝก โดยมากเขาวากัน ลูกเสือชาวบานชอบเลน ขี้เลน เอะอะก็รําวง เอะอะก็มีการ
แสดง ลอกันไปลอกันมา วันนี้เปนของจริง คือมีเหตุการณ แตเหตุการณนั้นเราตอง
พิจารณาใหดี พิจารณาโดยเฉียบพลัน ไมใชโอเอๆ ตองพิจารณาวา เมื่อกี้มีอะไร ก็บอก
เขาวามีระเบิดเกิดขึ้น ก็ไดยินกันทุกคน มีความอลเวง ก็เห็นกันทุกคน แตเรายังไมทราบ
วา เหตุจากอะไร หรือมีความเสียหายอะไรมากนอยแคไหน วิธีที่ดีที่แนนอนทีจ ่ ะทําใหไม
เกิดเสียงคือผลเสียยิ่งกวาควรจะเปนได ก็คอ ื จะตอง มีความเขมแข็ง มีการเปดหูเปดตา
อยางใหเห็นอะไรๆแจงชัด ถาเกิดตกใจก็ตาม กลัวก็ตาม โกรธก็ตาม ก็ทําใหไมสามารถ
ที่จะมีตาสวาง ไมสามารถที่จะคิดอะไรอยางแจมแจง เมื่อคิดอะไรไมออก เมื่อคิดอะไร
ไมแจมแจง อันตรายมาสูเราทันที ถาเรามีความเขมแข็งจริงๆ เราจะเห็นทุกอยาง เราจะ
เหมือนเปนคนที่เหมือนมีกําลังมากกวาปกติ ถาเราพยายามที่จะมีความใจเย็น

เพราะฉะนั้น ตอนนั้นที่รองเพลงวาเราสู ในที่นั้นก็เลยรองเพลงวาเราสู แลวตอไปเมื่อลง


ไปเยี่ยมลูกเสือชาวบาน เขาก็บอกวาเราสู แตขอชี้แจงคําวาเราสูวาคืออะไร เพราะ
โดยมากเขาใจผิด ในเพลงมีวา เราสู เราสูทีนี่ ไมถอย คือสูท  ี่นี่ แตวาเราไมไดถอย แต
เราไมไดรุกรานไปที่ไหน เราสู ในทางกายเราสูอยูตรงนี้ หมายความวา เราไมถอยไป
ทางไหน ใครจะมาไลเราไมได เปนสิทธิของเราที่อยูที่นี่ แตในทางใจนั้นสําคัญกวา
ในทางใจนั้น เราสูที่นี่ สูตรงนี้ ไมไดหมายความวา เราจะไปควาเอาปนหรือลูกระเบิดมา
ขวางใสคนอื่น สูดวยใจนี้สําคัญ คือสูดวยความใจเย็น ใจที่หนักแนน สูที่นี่ สูตรงนี้ ถามี
อะไรอันตรายเขามาถึงเรา เราจะตัดสินใจไดถูก ก็ไมนึกวาครูอารมยนี่ สูที่นี่ สูตรงนี้จริงๆ
เพราะวาเห็นอะไรชัดเจน ถาเห็นอะไรที่ควรจะทํา ไมใชทําอะไรโดยหัวเสีย อันนี้เปนสิ่ง
ที่สําคัญ ที่อยากจะอธิบายมานานแลววา คําวาสูที่นี่ สูตรงนี้ แปลวาอะไร รวมทั้งคําวาสู
จนตาย คําวาสูจนตายนี่ ดูทาทางแลวมันไมคอยจะดี คลายๆวาเราสูแลว ถาใครมาตีเรา
เราก็ตาย ขอใหไดชื่อวาสูจนตาย ความจริง สูที่นี่ สูตรงนี้ ทั้งทางกาย ทั้งทางใจ เราไม
ตองถามจุดมุงหมายของการสู คือสูท  ี่นี่ สูตรงนี้ ตามสิทธิของเรา ทั้งทางกาย ทั้งทางใจ
สูจนเราตายเอง ไมใชใครมาฆาเรา เพราะเราเหนียว เราจะเหนียวไดก็ดวยใจสู เราใจสู
จริงๆ ใจสูที่มั่นคง ใจสูที่มนั่ คงนี้ก็คือสูทางใจนี้ หมายความวามีกําลังใจที่เขมแข็ง . . . .
ตอนทีล ่ งไปเยี่ยมลูกเสือ ก็ไดทําการปฏิบัตต ิ ามที่ไดปฏิบัติมาทุกครั้ง คือ ไปปลายแถว
แลวเดินมาทักทายปราศัยผูที่เปนประธานรุนหรือผูที่ถือธง ผูที่นั่งอยู ทักทั้งผูใหญทั้ง
เด็กวาเปนยังไงบาง สบายดีหรือเปลา ก็ไปเจอ ไปถามคุณยายวา ยายนะกลัวไหม เขา
บอกดิฉันไมกลัว ดิฉันไมกลัว แลวก็พวกเราสูทั้งนั้น ก็ตองบอกเขาวาสูนี่อยางที่สูตะกี้นะ
ถูกตอง แลวก็มีคนหนึ่งเขาถาม แลวคุณละกลัวหรือเปลา ก็เปนคําถามที่ดีเหมือนกัน
เพราะวาเปนของธรรมดา กลัวกันได เราถามเขาวากลัวไหม เขาก็ถามเราวากลัวไหม
เปนสิ่งที่นารัก เปนสิ่งที่เขาเปนหวงเปนไยวาเราจะกลัว จะตกใจ ก็ไมทราบวาจะตอบเขา
อยางไร ก็บอกวา ก็ดูเอาเอง เมื่อตะกีก ้ ็ยืนอยูขางบน เราก็เห็นทุกคน ทุกคนก็เห็นเรา
หมายความวา เราใหกําลังใจซึ่งกันและกัน ก็ไมตองกลัว ไมตองกลัวเลย . . .

ในทัศนะของผม ประเด็นสําคัญของพระราชาธิบายเพลง “เราสู” ขางตนก็คือเรื่อง “ไม


ตองกลัว” นี่เอง (ขอใหสังเกตที่ทรงใชคําวา “ไมกลัว” หรือ “ใจที่เขมแข็ง” หลายครั้ง)
ที่ทรงแนะให “สูดวยใจ” ไมใช “ไปควาเอาปนหรือลูกระเบิดมาขวางใสคนอื่น” นั้น ไมได
หมายความวาจะทรงปฏิเสธสิ่งเหลานี้ “สูที่นี่ สูตรงนี้ ทั้งทางกาย ทั้งทางใจ” นั่นคือ
ไมไดทรงปฏิเสธการสู “ทางกาย” หรือสูดวยกําลังและอาวุธ กับฝายที่ “ขูฆาลางโคตร”
มิเชนนั้น คงไม “ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯพระราชทาน [เพลง “เราสู”] แกบรรดาผู
ปฏิบัติหนาที่เพื่อประเทศชาติ” ซึ่งกอนอื่นก็หมายถึงทหารตํารวจที่ตอสูด  วยอาวุธกับ
คอมมิวนิสต (ประโยคที่เพิ่งอางไดรับการตีพิมพควบคูกันเสมอกับบทเพลง “เราสู” ที่
ทางราชการพิมพออกเผยแพรอยางกวางขวางในสมัยนั้น) และมิเชนนั้น เราคงไม
สามารถเขาใจทาทีของราชสํานักตอเหตุการณ 6 ตุลาดังกลาวขางตน

เพลง “เราสู” ไดรับการ “ใชงาน” อยางแพรหลายในชวงไมกี่ปแรกของทศวรรษ 2520


แตพรอมๆกับการเสื่อมถอยและสิ้นสุดของขบวนการปฏิวัติฝายซายในประเทศและ
ตางประเทศในกลางทศวรรษนั้น การ “ใชงาน” ดังกลาว ก็เริ่มลดนอยและสิน ้ สุดลงตาม
ไปดวย (เชนเดียวกับเพลงปลุกใจของฝายขวาอื่นๆ เชน หนักแผนดิน) หนังสือ ที่ระลึก
งานพระราชทานเพลิงศพเจาหนาที่ผูเสียชีวิตเนื่องจากปฏิบัติหนาที่ราชการในการรักษา
ความมั่นคงภายใน เลิกตีพิมพบทเพลงนี้ไปในป 2529(16) ทุกวันนี้ กลาวไดวา แมจะ
เปนเพลงพระราชนิพนธ แต “เราสู” ก็ไมถก
ู นํามาแสดงหรือกระจายเสียงอีก (นาสังเกต
วา แมแตในวิกฤตการณภาคใตปจจุบัน ก็ไมมีความพยายามจะรื้อฟนเพลงนี้ขึ้นมา ใน
โอกาสที่ทรงพระราชทานพระราชเสาวณียเกี่ยวกับวิกฤตการณนี้เมื่อวันที่ 16
พฤศจิกายน 2547 สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ไดทรงโปรดเกลาใหพิมพการด
ที่มีเนื้อเพลง “ความฝนอันสูงสุด” แจกแกผูมาเขาเฝาทุกคน)(17) อยางไรก็ตาม ดวย
ความบังเอิญ จังหวัดหนึ่งทางภาคอีสานไดชวยทําให “เราสู” ไมถึงกับสูญหายไปจาก
ชีวิตสาธารณะอยางสิ้นเชิง อยางนอยก็ในมุมเล็กๆมุมหนึ่งของประเทศ ดวยการทําให
“เราสู” ที่เคยเปนเพลง กลายเปน “ถาวรวัตถุ” ขนาดใหญที่เคลือ่ นยายไมไดขึ้นมา

กลางป 2522 ถนนยุทธศาสตรสายละหานทราย-ตาพระยา ที่รัฐบาลดําเนินการสรางเปน


เวลาเกือบ 6 ปภายใตการโจมตีขัดขวางอยางดุเดือดของฝายคอมมิวนิสต ไดสําเร็จลง
กองอํานาวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดบุรีรัมย (กอ.รมน.จว.บร.) จึงตกลงให
สรางอนุสาวรียเพื่อเปนที่ระลึกแกทหารตํารวจและพลเรือนฝายรัฐบาลที่เสียชีวิตในการ
ตอสูก ับฝายคอมมิวนิสตระหวางการสรางทาง ที่ริมถนนสายดังกลาว บริเวณบานโนนดิน
แดง ดําบลโนนดินแดง อําเภอละหานทราย (ปจจุบน ั อยูในเขตอําเภอโนนดินแดง) มีพิธี
วางศิลาฤกษอนุสาวรียเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2522 ใชเวลาสราง 1 ป ทําพิธีเปดเมื่อ
วันที่ 26 สิงหาคม 2523 (ทั้ง 2 พิธี มีเปรม ติณสูลานนท เปนประธาน วันที่ 26 สิงหาคม
เปนวันเกิดเปรม) ในระหวางนั้น กอ.รมน.จว.บร. ไดดําเนินการเพื่อตั้งชื่ออนุสาวรีย ดังที่
บรรยายไวในหนังสือที่ระลึกพิธีเปด ดังนี้

เราสู : ชื่ออนุสาวรียพระราชทาน

***************************************************************
*********

ชื่อพระราชทาน

การที่ประชาชนและเจาหนาที่ของทางราชการทั้งฝายพลเรือน ตํารวจและทหารผนึก
กําลังกันเขารวมตอสูผูกอการรายคอมมิวนิสต ซึ่งขัดขวางการกอสรางเสนทาง
ยุทธศาสตรสายสําคัญดวยความรักสามัคคีเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน ดวยความหาวหาญ
และเสียสละ จนสามารถสรางทางไดสําเร็จ และเปดการสัญจรไปมาได เปนการรวมพลัง
กันเขาตอสูเพื่อรักษาแผนดินไทย และเกียรติศก ั ดิ์ของชาวไทยไวดวยชีวิต เปน
ปรากฏการณทํานองเดียวกับเนื้อเพลงพระราชนิพนธ “เราสู” ซึ่งทรงพระกรุณาโปรด
เกลาฯพระราชทานแกบรรดาผูปฏิบัติหนาที่เพื่อประเทศชาติ ทั้งเปนเพลงพระราชนิพนธ
ที่รูจักและนิยมกันอยางแพรหลายในหมูพสกนิกร กอ.รมน.จว.บร. ไดติดตอราช
เลขาธิการ เพื่อนําความกราบบังคมทูลใหทรงทราบ และขอพระราชทานพระบรมรา
ชานุญาตใชชื่อ “เราสู” เปนชื่อของอนุสาวรียที่สรางขึ้นใหม กอ.รมน.จว.บร. ไดรับแจง
จากราชเลขาธิการวา ไดนําความกราบบังคมทูลทรงทราบฝาละอองธุลีพระบาทแลว มี
พระบรมราชานุญาตใหใชชื่อ “เราสู” เปนชื่อของอนุสาวรียที่สรางขึ้นใหม ณ บานโนนดิน
แดง อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมยไดตามที่ขอไป การที่ทรงมีพระบรมราชาณุญาต
ใหใชชื่อ “เราสู” เปนชื่ออนุสาวรีย นับเปนพระมหากรุณาธิคุณลนเกลาฯแก กอ.
รมน.จว.บร. และชาวบุรีรัมย(18)
จนทุกวันนี้ “เราสู” เปนเพียงอนุสาวรียเดียวที่เกิดจากสงครามสมัยใหมของไทยไมวาจะ
เปนสมรภูมิในประเทศหรือนอกประเทศ ที่มี “ชื่อพระราชทาน”(19)

เมื่อ ถวัติ ฤทธิเดช เขาเฝาขอขมา พระปกเกลา

เหตุการณที่ ถวัติ ฤทธิเดช ผูไดชื่อวา “ผูนํากรรมกรรถราง”(๑) สมัย ๒๔๗๕ ทําการ


ฟองรองพระปกเกลาตอศาลในขอหาหมิ่นประมาท ไดกลายเปนเรื่องเลาในเชิง
“ตํานาน” ในหมูผูสนใจการเมืองไทยมานาน อันที่จริง “ตํานาน” เรื่องนี้ ถึงกับมีการถูก
นําไปอางกันในบทความของนักวิชาการดานกฎหมายผูมีชื่อเสียง วาเปนสาเหตุใหเกิด
การกําหนดขอความมาตรฐานในรัฐธรรมนูญฉบับตางๆที่วา “ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรอง
พระมหากษัตริยในทางใดๆมิได”(๒) (ซึ่งไมจริง ทั้งในแงที่วาการ “ฟอง” นั้นเปนสาเหตุ
ของขอความดังกลาว และในแงตัว “ตํานาน” เอง) ในงานเกี่ยวกับถวัติ ฤทธิเดช ของศิ
โรตม คลามไพบูลย เมื่อเร็วๆนี้ ไดมีการเลาซ้ํา “ตํานาน” นี้อีก(๓) ซึ่งผมไดเขียน
บทความชี้ใหเห็นวามี “ความไมจริง” และ “ความตกหลน” ในเรื่องที่เลาตอๆกันมา
(และศิโรตมนํามาเลาซ้ํา) ที่สําคัญบางประการ ดานที่ไมจริงคือ ถวัติไมเคยฟอง
พระปกเกลาตอศาลในขอหาหมิ่นประมาท เขาเพียงแตใหขาวหนังสือพิมพวา ไดเตรียม
จะ “ฟอง” พระปกเกลาตอสภาผูแทนราษฎร โดยขอใหนายมังกร สามเสน สมาชิกสภา
เปนผู “ฟอง” แทน (คือเสนอญัตติตอ  สภา ถวัติเสนอเองไมไดเพราะไมใชสมาชิก) แต
มังกรไมยอมทําให และยังไมทันที่ถวัติจะดําเนินการอยางไร ขาวที่เขาใหกับ
หนังสือพิมพกก ็ ระตุนใหรฐ
ั บาลสั่งกรมอัยการดําเนินการฟองรองเขาตอศาลในขอหา
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ สวนดานที่ตกหลนของเรือ ่ งที่เลากันตอๆมาคือ กรณีนี้ในที่สุด
“ลงเอย” ดวยการที่ถวัติ ไดเขาเฝาขอขมาตอพระปกเกลา และไดทําฎีกาขอ
พระราชทานอภัยโทษอยางเปนทางการ ซึ่งพระปกเกลาทรง “รับขมา” และ
“พระราชทานอภัยโทษ” ให รัฐบาลจึงตกลงถอนฟองถวัติ(๔)

เมื่อผมเขียนบทความดังกลาว ผมยังคนไมพบขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดการเขาเฝาขอ
ขมาพระปกเกลา ของถวัติ นอกจากทราบวา เกิดขึ้นประมาณวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน
๒๔๗๖ ที่สงขลา (พระปกเกลาเสด็จไปที่นั่นเมื่อเกิดกบฏบวรเดชในเดือนตุลาคม) ซึ่ง
เปนชวงเวลาเดียวกับที่รัฐบาลเองไดเสนอญัตติใหสภาตีความรัฐธรรมนูญมาตรา ๓
(“องคพระมหากษัตริยดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการ ผูใดจะละเมิดมิได”) โดย
รัฐบาลไดสง ม.จ.วรรณไวทยากร และพระยานิติศาสตรไพศาลไปเขาเฝาที่สงขลาในวัน
เดียวกับที่มีการตีความของสภา คือ ๒๓ พฤศจิกายน เพื่อขอใหทรงรับรองรางญัตติ
ตีความที่รัฐบาลทําขึ้นกอน แลวรายงานผลการเขาเฝาโดยทางโทรเลขมายังรัฐบาล เพื่อ
เสนอสภาวาทรงรับรองรางญัตติแลว ในบทความ ผมเขียนวา “ถวัตินาจะไดเขาเฝาใน
เวลาที่ใกลเคียงอยางมากกับตัวแทนรัฐบาล ‘ทานวรรณ’ และพระยานิตศ ิ าสตรไพศาล”
แต “วันที่ [ถวัติ] เขาเฝาแนนอน ไมเปนที่ทราบ”

บัดนี้ ผมไดพบขอมูลรายละเอียดการเขาเฝาขอขมาพระปกเกลาของถวัติเพิม ่ เติม โดย


ผมเพิ่งทราบวาหนังสือพิมพประชาชาติรายวันในชวงนั้น ไดตีพิมพรายงานการเขาเฝา
ครั้งนั้น ติดตอกันถึง ๓ ฉบับคือ จากฉบับวันจันทรที่ ๒๗ ถึงฉบับวันพุธที่ ๒๙
พฤศจิกายน ๒๔๗๖ รายงานดังกลาวสวนใหญมาจากการสัมภาษณถวัติเอง แตบางสวน
อาจจะเปนการเลาเสริมโดย “ทานวรรณ” ผูทรงเปนเจาของประชาชาติและทรงอยูในการ
เขาเฝาของถวัติดวย ทั้งนี้จากรายงานของประชาชาติ ทําใหเราไดทราบแนนอนแลววา
การเขาเฝาของถวัติเกิดขึ้นพรอมกับการเขาเฝาของผูแทนรัฐบาล (“ทานวรรณ” และพระ
ยานิติศาสตรไพศาล) คือเดินทางไปดวยกัน แตถาดูจากรายงานแลว คงจะแยกกันเขา
เฝาเปน ๒ รอบ คือผูแทนรัฐบาลเขาเฝาตามลําพังกอน เพื่อปรึกษาเรื่องญัตติตีความตอ
สภา (สวนนี้ไมมีในรายงาน) แลว “ทานวรรณ” จึงนําถวัติเขาเฝาอีกรอบหนึ่ง ในลักษณะ
เปนการทํา “พิธีกลาวคําขอขมาโทษ”

ผมเห็นวา รายงานการเขาเฝาขอขมาพระปกเกลาของถวัติ ฤทธิเดช ของประชาชาตินี้


เปนเอกสารชั้นตนที่นาสนใจอยางยิ่ง ทั้งยังหาอานไดยากและ (ถาผมเขาใจไมผิด) ไม
เคยมีการเผยแพรในที่ใดมากอนหลังการพิมพครั้งแรกเมื่อ ๗๓ ปกอน จึงขอคัดลอกมา
เผยแพรในที่นี้ อยางไรก็ตาม ในฐานะนักประวัติศาสตร ผมควรกลาวดวยวา ทั้งพระราช
ดํารัสของพระปกเกลาและคํากราบบังคมทูลของถวัติ เราจะตองถือเปนเพียงถอยคําใน
เชิง “การสรางความชอบธรรมใหตนเอง” (self-justification) ซึ่งเปนธรรมดาของทุกคน
และไมจําเปนตองตรงกับความจริงเสมอไป

โดยเฉพาะอยางยิ่งในปญหาซึ่งเปนหัวใจของกรณีนี้ คือ ในระบอบรัฐธรรมนูญ


(ประชาธิปไตย) ราษฎรสามารถ “ฟอง” กษัตริยไดหรือไม และฟองตอใคร พระราชดํารัส
ของพระปกเกลาที่ทรงอธิบายเรื่องนี้ตอถวัติ (ดูขางลาง) เชนเดียวกับญัตติตคี วามมาตรา
๓ ของรัฐบาลในขณะนั้น (ซึ่งทรงใหความเห็นชอบ) แทจริงแลว หาไดแกปญ  หานี้ใหตก
ไปแตอยางใดไม ที่ทรงกลาววา ตาม “หลักการแหงลัทธิรัฐธรรมนูญเทาที่เกีย ่ วกับการ
ฟองรองพระมหากษัตริย.....พระมหากษัตริยไมทรงอยูในฐานะที่บุคคลจะพึงฟองรอง
ได” นั้น ตองนับวาไมถูกตองครบถวน เพราะตาม “หลักการแหงลัทธิรฐ ั ธรรมนูญ” การที่
กษัตริยถกู ฟองรองไมได ก็เพราะกษัตริยไมทรงสามารถทําอะไรดวยพระองคเองได แต
ตองทําตามทีค ่ ณะรัฐมนตรีเสนอและเห็นชอบเทานัน ้ (ซึ่งแสดงออกดวยการ “ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการ”) ถาจะฟองรองจึงใหฟองรองผูเสนอและเห็นชอบนั้น แตใน
กรณี “พระบรมราชวินิจฉัยเคาโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐมนูธรรม” นั้น
พระปกเกลาทรงเผยแพรในพระปรมาภิไธยของพระองคเองผูเดียว หาไดมีการใหความ
เห็นชอบและลงนามรับสนองจากคณะรัฐมนตรีแตอยางใด ในแงนี้ ถาพูดอยางเขมงวด
แลว พระองคทรงทําผิดทัง้ “หลักการแหงลัทธิ” และตัวบทของรัฐธรรมนูญ จึงยอม
สมควรถูกพิจารณา (“ฟองรอง”) ได ซึ่งอาจจะตองใหสภาผูแทนราษฎรดําเนินการ ใน
รางญัตติตีความมาตรา ๓ ของรัฐบาล ก็กลาวอยางกํากวมสับสนวา “ในกรณีอาชญา ซึ่ง
หากจะบังเอิญเกิดขึ้น ก็จะฟองพระมหากษัตริยไมได แตสภามีอํานาจที่จะจัดการตาม
วิถีทางรัฐธรรมนูญ เพื่อใหการเปนไปโดยยุตติธรรมได” แตขณะเดียวกัน ก็กลาวดวยวา
“สภาผูแทนราษฎร มีอํานาจฝายนิติบัญญัติ ไมใชศาล ไมมีอํานาจชําระคดีอาชญา.....
เกี่ยวแกพระมหากษัตริย” โดยไมมีใครคิดจะอธิบายวา “กรณีอาชญา” ที่อาจจะ “บังเอิญ
เกืดขึ้น” ไดนั้น ไดแกกรณีอยางไรบาง? และในเมื่อสภา “ไมมีอํานาจชําระคดีอาชญา...
เกี่ยวแกพระมหากษัตริย” ที่ “บังเอิญเกิดขึ้น” นั้นแลว จะ “จัดการตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ
เพื่อใหการเปนไปโดยยุตธ ิ รรม” ไดอยางไร?

อาจกลาวไดวา กรณีถวัติ (พยายาม / ใหขาววาจะ) “ฟอง” พระปกเกลาตอสภา แตกลับ


ถูกฟองหมิ่นพระบรมเดชานุภาพนี้ ในที่สุดแลว ทั้งรัฐบาล พระปกเกลา และถวัติ เอง
ลวนแตใชวิธี “แกปญหาแบบไทยๆ” คือ “ขอขมาและเลิกแลวตอกันไป” (ซึ่งความจริง
“การขอขมา” ไมไดมีกําหนดอยูในกฎหมายใดๆ) แมจะมีกจ ิ กรรมในเชิง “แกปญหาแบบ
ตะวันตก” คือการเสนอใหสภาตีความรัฐธรรมนูญ แตความจริง เปนเพียงการกระทําเชิง
รูปแบบที่ผิวเผิน ไมมีการอภิปรายญัตติตค
ี วามนั้นอยางแทจริงในสภาเลย ทุกคนลงมติ
เห็นชอบกับรางที่รัฐบาลเสนอและพระปกเกลาทรงรับรองแลวนั้นอยางงายๆรวดเร็ว
ปญหา “พระราชอํานาจ” ในระบอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนเรื่องใหญและใหมมาก จึงถูก
ปลอยไวเปนมรดกปญหาสําหรับประวัติศาสตรยุคตอๆมา

ประเด็นสําคัญอีกประเด็นหนึ่งที่รายงานของประชาชาติขางลางเปนหลักฐานชวยยืนยัน
คือ หลัง ๒๔๗๕ สิ่งที่พระปกเกลาทรงมีความกังวลหวงใยอยางยิ่งเหนืออื่นใด กระทั่ง
เปนเรื่องใหญที่ทรงหยิบยกขึ้นมาถามถวัติ คือ ความเปนไปไดที่จะมีผูคด
ิ หรือกระทําการ
เปลี่ยนการปกครองเปนระบอบมหาชนรัฐ (“ริปบลิค”) คือเลิกลมกษัตริย ควบคูกับความ
กังวลนี้คือ การที่ราชสํานักจะเปนผูนําในการตอตานสังคมนิยม–คอมมิวนิสมอยางแข็ง
ขันที่สุดเรื่อยมาตั้งแตนั้น เพราะ ดังที่ผมเขียนไวในที่อื่นวา

สําหรับราชสํานัก “คอมมิวนิสม” เปนอันตรายไมใชตอรัฐธรรมนูญหรือรัฐสภา (ยิ่งไมตอง


พูดถึงตอ “ประชาธิปไตย”) มากเทากับตอการดํารงอยูของสถาบันกษัตริยเอง อันตราย
ของคอมมิวนิสมเทากับอันตรายของสาธารณรัฐนิยม (Republicanism) เพราะหลัง
๒๔๗๕ เปนที่ชัดเจนวา ไมมีกลุมการเมืองอื่นใดทีจ่ ะเสนอใหเลิกลมสถาบันกษัตริย นับ
จากนี้ ขอกลาวหา “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” กับขอกลาวหาคอมมิวนิสตจะเดินคูไป
ดวยกัน จนบรรลุจดุ สุดยอดในกรณีนองเลือด ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙(๕)
ตอไปนี้ คือรายงานเรื่องถวัติ ฤทธิเดช เขาเฝาขอขมา พระปกเกลา ในประชาชาติ วันที่
๒๗-๒๙ พฤศจิกายน ๒๔๗๖:

เมื่อวันพุธที่ ๒๒ เดือนนี้ นายถวัติ ฤทธิเดช ไดเดินทางออกจากกรุงเทพฯไปยังสงขลา


เพื่อเฝาทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งทรงประทับอยูที่นั้น. ใน
การไปเฝาพระเจาอยูหัวในครั้งนี้ นายถวัติมีความประสงคจะไปขอขมาตอพระองค ใน
ฐานที่นายถวัติไดยื่นฟองพระเจาอยูหัวตอสภาผูแทนราษฎร. นายถวัติไดเดินทางกลับ
มาถึงกรุงเทพฯเมื่อวันเสารที่ ๒๕.

ในวันรุงขึ้น คือเมื่อเชาวันวาน เราไดไปพบนายถวัติ ณะ ที่สํานักสมาคมกรรมกรรถราง


ไดสนทนาซักถามนายถวัติถึงเรื่องที่ไดไปเฝาพระเจาอยูหัวมาแลว. นายถวัติเลาวา พระ
เจาอยูหัวทรงรับคําขอขมาโทษของนายถวัติ และยังไดทรงแสดงพระราชอัธยาศัยไมตรี
เสรีนิยม โดยทรงพระราชทานโอกาสแสดงพระราชปฏิสันฐานดวยนายถวัติเปนเวลานาน
เกือบ ๑ ชั่วโมง. นายถวัติไดเลาถึงเรื่องราวที่พระเจาอยูหัวไดรับสั่งสนทนา และที่นายถ
วัติไดกราบบังคมทูลโตตอบพระราชดํารัสของพระเจาอยูหัว ใหเราฟงโดยละเอียด แต
กอนที่เราจะเขียนถึงเรื่องนี้ตอไป เราขอลําดับเรื่องเกี่ยวโยงถึงกันใหผูอานของเราได
ทราบเสียชั้นหนึ่งกอน.

เมื่อราวกลางเดือนกันยายน นายถวัติ ฤทธิเดช ไดใหนายรอยตํารวจตรีวาศ สุนทรจามร


เปนทนายความเรียบเรียงคําฟองพระเจาอยูหัว เสนอตอสภาผูแทนราษฎร ในกรณีบันทึก
พระบรมราชวินิจฉัยเกี่ยวกับการโภคกิจ. นายถวัติอางวา ขอความบางตอนในเอกสาร
ฉะบับนั้น เปนการกลาวรายถึงตัวเขาโดยที่ไมเปนจริง.

หนังสือพิมพบางฉะบับ ไดนําขาวเรื่องนี้ออกเผยแพรแกมหาชน และหนังสือพิมพหลัก


เมืองไดลงขาวเรื่องนี้โดยพิศดาร จึ่งในเวลาตอมาเจาของและบรรณาธิการหนังสือพิมพ
หลักเมืองไดถูกฟองในฐานรวมมือกับนายถวัติและนายรอยตํารวจตรีวาศ สุนทรจามร
ทนายความดวย. การณตอมาปรากฏวาศาลลางไดรับคําฟองจําเลยทั้ง ๔ ไวแลวและลง
ความเห็นวาคดีมีมูล จึ่งเสนอเรื่องใหศาลสูงดําเนินคดีตอ
 ไป ตามที่ไดปรากฏขาวใน
หนังสือพิมพเมื่อเร็วๆนี้.

ตอมาไดมีผูใหคําแนะนําตักเตือนแกนายถวัติวา การกระทําที่นายถวัติไดแสดงออก
มาแลวนั้น ไมชอบดวยเหตุผลในทางความสงบของบานเมือง ควรที่นายถวัติจะไปเฝา
กราบบังคมทูลขอขมาโทษตอองคพระเจาอยูหัวเสีย. นายถวัติลงความเห็นดวย จึ่งได
ตกลงใจกระทําการดังกลาวแลว.

ในการไปเฝาพระเจาอยูหัวครั้งนี้ ทานวรรณไวทยากร วรวรรณ และเจาคุณนิติศาสตร


ไพศาล เปนผูนําไป. เดิมทีกําหนดกันวาจําเลยทั้ง ๔ คือ นายถวัติ ฤทธิเดช นายรอย
ตํารวจตรีวาศ สุนทรจามร นาย ต. บุญเทียม และนายฉิม สินธุนาวา บรรณาธิการ จะไป
เฝาทูลละอองธุลีพระบาทพรอมกัน แตในที่สด ุ ก็ไดไปเพียง ๒ คน คือ นายถวัติ และนาย
ต. บุญเทียม ซึ่งเห็นวาเปนการเพียงพอแลว.

นายถวัติไปถึงสงขลาในวันที่ ๒๓ เวลาเที่ยงเศษ ไดเขาเฝาพระเจาอยูหัวเวลาราว ๑๖


น.ในวันนั้นเอง พรอมดวยนาย ต. บุญเทียม. ทานวรรณฯทรงนําคนทั้ง ๒ เขาเฝา. เมื่อ
พระเจาอยูหัวเสด็จออกมารับรอง คนทั้ง ๒ ก็คก
ุ เขาลงถวายพานดอกไมธูปเทียน ทาน
วรรณฯทรงขานนามคนทั้ง ๒ และทรงกลาวคําขอขมาโทษ.

ระหวางที่ทรงประทับอยูทส ี่ งขลานั้น พระเจาอยูหัวทรงประทับอยูที่พระตําหนักของกรม


หลวงลพบุรี ณ ที่บริเวณเขานอย เปนตําหนักที่กวางขวางพากพูมพอใช. ขณะที่ทรง
เสด็จออกมาพบนายถวัตน ิ ั้น ทรงฉลองพระองคกางเกงแพรดอกสีสด และทรงเสื้อกุยเฮง
แพรขาว สีพระพักตรในขณะนั้นตามคําบอกเลาที่เราไดรับทราบมาดูก็เปนการแสดงพระ
ราชอัธยาศัยอันราบรื่นดีอยู.

เมื่อเสร็จพิธีกลาวคําขอขมาโทษแลว พระเจาอยูหัวก็เสด็จเขาขางในซึ่งจัดไวเปนที่
รับรองแขก พรอมกับมีพระราชดํารัสใหนายถวัติและนาย ต. บุญเทียม ตามเสด็จพระองค
เขาไป โดยแสดงพระราชประสงควาใครจะรับสั่งสนทนาดวย.
ภายในหองที่ประทับนั้น ตามคําบอกเลาของนายถวัติ ซึ่งมิไดใชความสังเกตอยางถี่ถวน
ปรากฏวามีเกาอี้ ๒ ตัว มีโตะเล็กๆ ๑ ตัว มีพื้นปูลาดดวยพรม เครื่องตกแตงหองมิไดเปน
ไปโดยวิจิตรตระการตา. มองออกไปทางประตู จะแลเห็นพวกขาราชสํานักขวักไขวอยู
บาง. นายถวัติเลาวา เมื่อพระเจาอยูหัวยังมิไดเสด็จออก ไดแลเห็นมีผูแอบมองดูนายถ
วัติตามชองหนาตาง นายถวัติก็นึกครึ้มใจอยู.

พระเจาอยูหัวทรงประทับบนพระเกาอี้ตัวหนึ่ง เกาอี้คงวางอยูตัวหนึ่ง นายถวัติ และนาย


ต. บุญเทียม หมอบเฝาอยู ฉะเพาะพระพักตรตามแบบประเพณีไทยของเรา หางพระองค
พระเจาอยูหัวราวหนึ่งศอกเศษ นอกจากคนทั้ง ๒ นี้แลว มิไดมีผูใดปะปนอีกภายในหอง
ที่ประทับนั้น. ทานวรรณประทับอยูภายนอกหอง แตอยูในระยะที่จะทรงฟงพระราชดํารัส
ของพระเจาอยูหัวไดถนัด.

เรื่องแรกที่พระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสแกนายถวัติก็คือ ทรงชี้แจงถึงหลักการแหง
ลัทธิรัฐธรรมนูญเทาที่เกีย่ วกับการฟองรองพระมหากษัตริย และคําชี้แจงของพระองคนั้น
นายถวัติเลาวาเดินทํานองเดียวกับที่ไดมอ ี ยูในรายงานการประชุมของสภาผูแทนราษฎร
ครั้งสุดทาย ดังที่ไดนําลงพิมพในหนังสือของเราในวันนี้แลว ซึ่งปรากฏวา
พระมหากษัตริยไมทรงอยูใ นฐานะที่บุคคลจะพึงฟองรองได พระเจาอยูหัวยังไดรับสั่งวา
แมในประเทศซึ่งปกครองโดยระบอบมหาชนรัฐ (รีปบ  ลิค) การฟองรองประธานาธิบดีผู
เปนประมุข ก็ไมเปนการทีจ ่ ะพึงกระทําได.

นายถวัติไดกราบบังคมทูลตอบวา ตัวเขาเองจะไดจงใจกระทําการใหออกนอกวิถีทาง
แหงรัฐธรรมนูญนั้นหามิได การที่ไดยื่นฟองพระเจาอยูหัวนั้น ก็โดยที่สําคัญวาเมื่อพระ
เจาอยูหัวทรงอยูภายใตกฎหมายแลว ก็คงทรงอยูในฐานะที่จะพึงฟองรองไดดวย. อนึ่ง
นายถวัติมิไดมีความมุงหมายถึงกับจะเหนี่ยวพระองคใหลงมาเกลือกกลั้วกับความผิด
ทางอาชญา. นายถวัติมีความประสงคเพียงแตจะพิศูจนวา ถาความเขาใจของเขาถูกตอง
แลว ราษฎรจะฟองพระเจาอยูหัวไดหรือไม ในเมื่อมีเหตุเพียงพอ. ความประสงคของ
นายถวัติอันนี้ ไดมีปรากฏอยูในคําใหการของเขาที่ไดใหไวตอคณะกรรมการที่ไดทําการ
ไตสวนปากคําเขาแลว. นายถวัติไดกราบบังคมทูลตอไปวา แลเมื่อไดมารับพระราช
กระแสชี้แจงถึงหลักการแหงลัทธิรัฐธรรมนูญจากพระเจาอยูหัวแลว เขาก็ไดสํานึกวา เขา
เองไดสําคัญผิดไป โดยทีย ่ ังหยอนความรูในหลักการแหงลัทธิรัฐธรรมนูญนั่นเอง แลการ
ที่พระเจาอยูหัวไดทรงรับคําขอขมาโทษของเขาไวนั้น นับวาเปนพระมหากรุณาธิคุณยิ่ง
ลน.

พระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดํารัสสืบตอไปวา พระองคเองไดยินมาวา สมาคมกรรมกร


รถรางที่ตั้งขึ้นนั้น ไดเรี่ยไรเงินจากกรรมกรคนละ ๑ บาท แลวก็เอามาแบงปนกันในหมูผู
คิดการไมกค ี่ น ซึ่งหมายถึงวา มีนายถวัติเปนตน. พระเจาอยูหัวรับสั่งวา วันนี้นายถวัติมา
เฝาขอขมาโทษตอพระองคทานก็เหมาะแลว เพราะวาถาถอยคําที่พระองคไดทรง
รับทราบมา ไมเปนความจริง พระองคกท ็ รงขอโทษตอนายถวัติดวย.

เมื่อเลามาถึงตอนนี้ นายถวัติพูดวา “ผมมีความปลาบปลื้มในน้ําพระทัยของพระเจาอยูหัว


อยางที่สุด. ทานทรงขอโทษราษฎรของทานเชนนั้น แสดงวาทานทรงเปนสปอรตสแมน
เต็มที่ แลวผมไดกมลงกราบที่ฝาพระบาทของพระองคทาน” เราสังเกตกิริยาการของ
นายถวัติเห็นวา ในขณะนั้นนายถวัติเปนผูที่มีความจงรักภักดีตอพระเจาอยูหัวคนหนึ่ง.

ครั้นแลวพระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดํารัสถึงเรือ
่ งที่นายถวัติไดเคยมีหนังสือกราบ
บังคมทูลขอพระราชทานเงินเพื่อเสียรัชชูปการ แตพระเจาอยูหัวมิไดทรงพระราชทานให
ตามความประสงคของนายถวัติ.

รับสั่งวา “ฉันเขาใจวา แกขอเงินฉัน ๖ บาท ก็โดยมีความประสงคจะใหเลิกเก็บเงิน


รัชชูปการ ฉันจะใหแกอยางไรได เพราะถาฉันใหแก ฉันก็จะตองใหแกคนทุกๆคนที่มา
แสดงความขัดของตอฉันวา ไมสามารถจะเสียเงินรัชชูปการได ถาฉันไมใหทวั่ ไป ดูก็ไม
เปนธรรม ฉันจึ่งไดงดเสีย. คนอยางแกนะ ถาขอมาใหเขาลูทางแลว ทําไมฉันจะไมให
อยาวาแต ๖ บาทเลย ขอมา ๑๐๐ บาทฉันก็จะใหแก”

พระเจาอยูหัวไดมีพระราชดํารัสวา พระองคไดทรงวางหลักในเรื่องพระราชทานเงินไว ๒
ขอ ขอ ๑. พระราชทานใหแกพระญาติพระวงศ ขอ ๒. ในเมื่อรัฐบาลของพระองคดําริ
การที่จะชวยเหลือคนยากจน พระองคก็จะทรงพระราชทานทุนทรัพยชวยเหลือตามควร
หรือตามที่รัฐบาลไดเสนอขอมา และขอ ๓. พระราชทานแกผูที่ทําความดีความชอบ
เปนประโยชนใหญยิ่งแกบานเมือง ตามที่พระองคมพ ี ระราชดําริเห็นเปนการสมควร.

ในสวนปญหาเรื่องเงินรัชชชูปการ พระเจาอยูหัวรับสั่งวา ในสมัยราชาธิปตัยอํานาจ


สิทธิ์ขาดนั้น พระองคเองก็ทรงมีพระราชดําริใครจะใหเลิกอยูเหมือนกัน หากติดขัดดวย
ผูบริหารการบานเมืองในเวลานั้นแสดงความขัดของวา ถาเลิกเก็บเงินรัชชูปการเสียแลว
การเงินของรัฐบาล จะไมดําเนิรไปโดยสดวก เพราะวาคนมั่งมี มีจํานวนนอย ฉะนั้น จึ่ง
ตองเก็บเงินรัชชูปการพึ่งคนจนไปกอน.

นายถวัติเห็นวา พระเจาอยูหัวรับสั่งสนทนาดวยพระราชอัธยาศัยไมตรี จึ่งไดกราบทูลวา


การเก็บเงินรัชชูปการนั้น เมื่อเปนการจําเปนแลว นายถวัติก็เห็นสมควร. นายถวัติไมเห็น
ดวยในขอที่วา ทั้งๆที่ปรากฏวาคนบางคนไมมีเงินจะเสีย ยังจะตองถูกปรับและถูกจับกุม.
นายถวัติไดกราบทูลใหพระเจาอยูหัวทรงทราบวา การจับกุมผูไมเสียเงินรัชชูปการไป
ทํางานโยธานั้น ก็เทากับเปนการชวยเลี้ยงดูชาวจีนนั้นเอง เพราะผูที่ถูกจับกุมโดยมาก
เปนจีน และคนจีนเหลานี้พอใจอยางยิ่ง ที่จะทํางานเพื่อแลกอาหารไปวันหนึ่งๆ. ตามที่
นายถวัติทราบมานั้นวา เมื่อพนกําหนดเกณฑทํางานแลว เจาหนาที่ไดออกหนังสือ
รับรองใหแกคนเหลานี้ นายถวัติวาไดพบจีนบางคน นําหนังสือรับรองของเจาหนาที่ไป
ขายใหแกผูที่ยังไมเสียรัชชูปการเปนราคา ๓ บาท แลวจีนผูขายก็เตรียมพรอมสําหรับ
การถูกจับอีก. การณเปนอยูดังนี้ไมนอย นายถวัติจึงเห็นวา ควรงดการจับกุมผูไ มเสียเงิน
รัชชูปการไปทํางานโยธา.

เมื่อนายถวัติเลาเรื่องอันนาขบขันนี้จบลง พระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดํารัสวา “ก็ใน


จดหมายที่แกเขียนถึงฉันนั้น ไมเห็นแกบอกมาโดยละเอียดอยางนี้เลย”

ครั้นแลว ไดทรงมีพระราชดํารัสตอไปวา พระองคมิไดทรงถือพระองควาทรงเปนเทวดา


เลย. พระเจาอยูหัวทรงมีพระราชประสงคทจ ี่ ะรับทราบขาวสารทุกขสุขดิบจากประชา
ราษฎรของพระองคเปนเนืองนิจ และในขณะเดียวกันทรงมีพระทัยใครที่จะชวยเหลือ
ประชาราษฎรของพระองคตามควรแกโอกาศดวย. โดยเหตุฉะนี้ พระเจาอยูหวั จึ่ง
พระราชทานโอกาสแกนายถวัติไววา ถามีกรณีอันจะพึงกราบบังคมทูลแลวไซร ก็ขอใหมี
หนังสือบอกมาโดยละเอียด หรือนายถวัติจะมาเฝาเลาเรื่องราวถวายดวยตัวเอง ก็ทรงมี
ความยินดีตอนรับ.

พระเจาอยูหัวไดทรงปรารภความเปนไปในการเมืองของประเทศสยามที่สําคัญบาง
ประการแกนายถวัติดวย ในวันนี้หนากระดาษและเวลาไดบังคับใหเราเสนอพระราชดํารัส
ของพระเจาอยูหัวไดแตเพียงเทานี้ เพราะฉะนั้นจึ่งขอใหทานคอยอานตอนตอไปในวัน
พรุงนี้อีกครั้งหนึ่ง.
ขอความที่เราไดเรียบเรียงเสนอทานผูอานแตเมื่อวันวานนั้น เราไดทราบวามีผูสนใจใน
พระคารมของพระเจาอยูหวั ไมนอย แตความจริงพระคารมที่เราจะเสนอตอไปในวันนี้ ยัง
มีคุณคานาฟงยิ่งขึ้นไปกวา

เมื่อพระเจาอยูหัวไดมีรับสัง่ วา พระองคมิไดถือหรือเขาพระทัยวาพระองคเปนเทวดาแลว


พระเจาอยูก็ไดทรงมีพระราชดํารัสถามนายถวัติเปนการเปดเผยวา ไดมีขาวแววมาถึงพระ
กรรณของพระองควา ไดมีผูคิดอานจะเปลี่ยนการปกครองของประเทศสยาม จากระบอบ
รัฐธรรมนูญซึ่งมีพระมหากษัตริยอยูใตกฎหมาย เปนระบอบมหาชนรัฐ (ริปบลิค) ตามขาว
นั้นวา นายถวัติก็เปนผูนําในความคิดนี้ดวยผูหนึ่ง ก็แหละความขอนี้ยังจะจริงเท็จประการ
ใด.

นายถวัติไดฟงรับสั่งดังนี้กต
็ กตลึงไป ไดกราบบังคมทูลตอบดวยความสัตยจริงใจวา
“ขาพระพุทธเจามิไดเคยคิดการดั่งเชนที่ไดมีขาวมาถึงพระองคเชนนั้นเลย”

พระเจาอยูหัวมิไดตรัสวากระไรถึงถอยคําของนายถวัติ แตหากไดทรงมีพระราชดํารัส
ตอไปวา “ฉันเองจะไมขัดขวาง ในการที่ประเทศสยามจะเปลี่ยนการปกครองเปนริปบลิค
ถาวาประชาราษฎรนิยมและเห็นวาถึงเวลาอันควรแลว และประชาราษฎรของฉัน
โดยทั่วไป มีความรูพอที่จะดําเนินการไปได”

แตพระเจาอยูหัวทรงเห็นวา ในชั้นนี้เวลายังไมสุกพอ ที่พระราชบัลลังกจะไรเสียซึ่ง


พระมหากษัตริย ประชาราษฎรของพระองคยังไมไดรับการศึกษาเพียงพอที่จะดําเนินการ
ปกครองตามระบอบมหาชนรัฐได. ไดรับสั่งในที่สุดวา “ตามความเห็นของฉัน เห็นวา ใน
เวลานี้ยังเปนไปไมได.”

นายถวัติ ฤทธิเดช ไดกราบบังคมทูลสนองพระราชปรารภวา ไมแตพระองคพระเจาอยูหัว


เทานั้นที่ทรงเห็นวาเปนไปไมได แมคนโดยมากก็มค ี วามคิดเห็นเชนเดียวกับพระองค.
นายถวัติไดกราบทูลย้ําวา เขามิไดเคยดําริการอันปราศจากเหตุผลนี้ และภายใน
ขอบเขตตที่หต ู าของเขาไดสอดสองไปถึง เขาก็มิเคยไดสดับขาวถึงเรื่องที่จะมีผูคิด
เปลี่ยนแปลงการปกครองเปนริปบลิคเลย. นายถวัติยังไดกราบทูลดวยวา “การมีพระ
เจาอยูหัวเปนประมุขของชาติแตเพียงองคหนึ่งเชนนี้ ขาพระพุทธเจาเชื่อวาประชาชน
มิไดรูสึกเปนการหนักหนาอะไรสักนิดเดียว และประชาชนทั่วไปก็เห็นวา เขาควรจะมีพระ
เจาอยูหัวเปนประมุขของชาติ”
โดยเหตุที่นายถวัติไดกราบทูลหนักแนนดวยความมั่นคงทั้งกิริยาการและน้ําเสียงเชนนี้ ดู
เหมือนจะทําใหพระเจาอยูหัวทรงมีความมั่นพระทัยในถอยคําของนายถวัติยงิ่ ขึ้น ดังนั้น
จึ่งไดทรงเลาถึงความรูสึกสวนพระองคใหนายถวัติฟง ตอไป. พระเจาอยูหัวทรงเขา
พระทัยวา คนไทยทั่วไปยังมีความนิยมเลื่อมใสในพระมหากษัตริยอยู เมื่อรับสั่งถึงตอนนี้
ไดทรงอางเหตุการณประกอบ โดยทรงเลาใหนายถวัติฟงถึงเรื่องทีช ่ าวสงขลาไดมา
เฝาทูลละอองธุลีพระบาท. ในขณะที่เขามาเฝานั้น นอกจากชาวเมืองนั้นจะไดกมลง
หมอบกราบแทบฝาพระบาทตามแบบประเพณีไทยแลว ยังไดยกมือทั้งสองของเขาขึ้น
ลูบศีรษะเปนการแสดงความเคารพอยางสูงสุดอีก. พระเจาอยูหัวไดตรัสถึงเรื่องนี้ดวย
พระกิริยาอันแสดงความพอพระราชหฤทัย พลางยกพระหัตถทั้งสองขึ้นลูบพระเกศา เปน
ทาประกอบใหนายถวัติเห็นไดประจักษ.

พระเจาอยูหัวไดรับสั่งถึงเรื่องนี้ในตอนสุดทายวา “ถึงลิเกของเราเดี๋ยวนี้ก็ยังนิยมเรื่องที่มี
พระมหากษัตริยอยู. แกก็คงจะไดยินเขารองกันบางไมใชหรือวา ปางพระองคผูทรงศรี
พระภูมี พระราชา” เมื่อไดทรงอางกลอนลิเกทอนนี้ใหนายถวัติฟงแลว พระเจาอยูหัวก็
ทรงแยมพระสรวล.

นายถวัติไดกราบทูลรับรองอีกครั้งหนึ่งวา ประชาชนมีความเลื่อมใสในพระมหากษัตริย
ทั้งีนี้ไดรวมทั้งตัวเขาเองดวย. นายถวัติไดยอนไปพูดถึงเรื่องที่เขาไดเคยมีหนังสือกราบ
บังคมทูลขอความกรุณาตอพระเจาอยูหัวในเรื่องเงินรัชชูปการและคาเชาหองซึ่งอยูใน
ความดูแลรักษาของพระคลังขางที่. นายถวัติทูลวา ตามที่ไดมีหนังสือรบกวนมานั้นดวย
ความยากจนขัดสนจริงๆ นายถวัติเองไมไดทําการงานที่เปนอาชีพแนนอน ไดกระทํากิจ
โดยมากในทางชวยเหลืออุมชูคนยากจน และในการกระทํากิจดั่งวานั้นก็ไมเคยเรียกรอง
ผลประโยชนตอบแทนจากคนเหลานี้เลย. แมกิจการของสมาคมกรรมกรรถรางที่นายถวัติ
ไดชวยเหลืออุมชูอยูอ  ยางเต็มที่นั้น นายถวัติก็มิไดเคยรับผลประโยชนแมแตนอย ถึง
กระนั้นก็ยังมีผูแตงความวา นายถวัติไดกินเงินเดือนของสมาคมเดือนละ ๘๐ บาท ซึ่ง
ไมเปนความจริง. นายถวัติไดกราบทูลใหพระเจาอยูหัวทรงทราบวา คาอาหารการกิน
ของนายถวัติที่เปนเครื่องหลอเลี้ยงชีวิตอยูในทุกวันนี้ ก็ไดอาศัยพึ่งพาจากเพื่อนฝูง ที่ได
ชวยเหลือเจือจานใหปนตามสมควร.

อยางไรก็ตาม ไดมีขาวอกุศลอันรายแรงวา การกระทําของนายถวัติในบางประการนั้น


ไดรับความสนับสนุนจากบุคคลในคณะรัฐบาลและยังมีเสียงตอไปวา นายถวัติไดรับ
ผลประโยชนจากรัฐบาลอีกดวย. คําเลาลือทํานองนี้แตละลวนเปนขอที่จะนํามาซึ่งความ
แตกราวทั้งสิ้น นายถวัติไดกราบทูลปฏิเสธอยางรุนแรงวา ไมมีมูลความจริงเลยสักนิด
เดียว.

เมื่อนายถวัติเลาถึงความเปนไปในชีวิตของเขาจบลง ดูทีพระเจาอยูหัวก็จะทรงมีความ
เชื่อถือถอยคําของนายถวัติอยู. ไดทรงปรารภวา เมื่อความจริงเปนดั่งที่นายถวัติไดกราบ
ทูลใหทรงทราบแลว พระองคก็มค ี วามพอพระทัย และทรงคาดหมายวา ถากระนั้นขาว
ตางๆที่แววมาเขาพระกรรณของพระองค ก็คงมาจากทางที่มั่นหมายยุแหยจะใหเกิดขึ้น
ซึ่งความปนปวนราวราน ไดรับสั่งแกนายถวัติโดยฉะเพาะวา “ตัวแกก็ดูมีสมัครพรรคพวก
และมีผูเชื่อถืออยูไมนอ
 ย ขอใหชวยชี้แจงพูดจาใหเปนที่เขาใจกันเสีย อยาใหเกิดความ
กินแหนงแคลงใจ หรือเกิดความเกลียดชังกันขึ้นในระหวางคนตางชั้นตางฐานะ จงเอาใจ
สมัครสมานคนจนและคนมั่งมี ใหมีไมตรีจิตตตอกัน”

พระเจาอยูหัวดูทีจะทรงเปนหวงใยในปญหาเรื่องนี้อยูมิใชนอย ไดตรัสย้ําถึงความสมัคร
สมานสามัคคีอยูหลายตอน นายถวัติก็ไดกราบทูลใหพระเจาอยูหัวทรงทราบความตื้นลึก
หนาบางตางๆจนปรากฏวาเปนที่พอพระทัย. พระราชดํารัสของพระเจาอยูหัวและคํากราบ
บังคมทูลของนายถวัติในเรื่องนี้ ลวนเปนสิ่งนํามาซึ่งความเขาใจอันดีตอกันระหวางคนทั้ง
มวล. ขอใหทานคอยอานขอความโดยละเอียดตอไปอีกครั้งหนึ่งในวันพรุงนี้.

นายถวัติ ฤทธิเดช คงจะไดสังเกตเห็นวา พระเจาอยูหัวอยูขางจะมีความเปนหวงใยใน


ปญหาเรื่องความสมัครสมานสามัคคีระหวางคนทุกชัน ้ ทุกเหลาอยูมิใชนอย จึ่งไดกราบ
ทูลถึงความจริงใจในสวนตัวเขาพรอมทั้งความรูสึกของเหลาคนยากคนจนทัว่ ไปใหพระ
เจาอยูหัวไดทรงทราบ. นายถวัติไดกราบทูลวาในการที่เขาไดแสดงตัวเปนผูนําของ
เหลากรรมกรนั้นจะไดเปนไปโดยความมักใหญใฝสูง ใครจะรวบรวมอํานาจมาใสตัวเองก็
หามิได กิจการที่เขาไดกระทํามา เทาที่เกี่ยวกับเหลากรรมกร ก็มีความมุงหมายเพียงแต
จะรับใชหรือโอบอุมคนยากคนจนตามแตจะทําได เขามีความมุงหมายเพียงแตจะใหคน
ยากคนจน สามารถที่ยังชีวิตอยูได ตามเกณฑแหงมนุษยภาพ กลาวคือใหไดมีงานทํา
พอเปนเครื่องแลกเปลี่ยนอุปโภคบริโภค สําหรับประทังชีพ และดวยความมุงหมายอันนี้
ก็ใครจะไดรับความประคับประคองสงเสริมจากคนมั่งมีทั่วไป.

อนึ่งนายถวัติไดกราบทูลใหพระเจาอยูไดทรงทราบวา อันเหลาคนยากจนนั้น แตเพียง


อาหารการกินยังมิทั่วทอง จะอาจเอื้อมไปหมกมุนครุนคิดถึงการใหญ เชนการบานเมือง
กระไรได ตามปรกติคนยากจนยอมจะคารวะนอบนอมคนมั่งมีอยูเปนนิจ แมไดรับการ
แสดงความปราณีอารีอารอบสักเล็กนอย ก็จะชื่นใจไปนาน หากจะไดแสดงความขุนเคือง
บางในบางคราว ก็คงจะเปนโดยไดรับความกดขี่อยางไมเปนธรรม หรือตองถูกทอดทิ้ง
อยางเหลือที่จะทนไดจริงๆ เพราะฉะนั้นถาการณไดเปนไปโดยพอเหมาะพอควรแลว
ก็เปนที่วางใจไดวา คนยากจนจะดํารงชีวิตอยูดวยความสงบเงียบที่สุด. นายถวัติเชื่อแน
วา ความปนปวนราวรานทั้งหลายที่ไดเกิดขึ้นแลวนั้น มิไดมาจากที่ต่ําเลย แตหากไดยุ
กันมาปนกันมาจากที่สูงทัง้ สิ้น เปนเหตุใหเกิดความกระทบกระเทือนมาถึงหมูชนชั้นต่ํา
ซึ่งมิไดเคยมีความคิดเห็นเปนการใหญโดยอะไรเลย.

เมื่อพระเจาอยูหัวทรงเขาพระทัยในความเปนไปเหลานี้แลว ก็ทรงมีความโสมนัสยินดี
และตรัสย้ําถึงความสมัครสมานสามัคคี ซึ่งพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชประสงคเปนอยาง
สําคัญ ที่จะผูกมัดรัดรึงหมูชนทั่วไป.

นายถวัติไดกราบทูลวา ในการที่จะชวยคนจนนั้น ถาไดเพงเล็งถึงเหลากสิกรกอนอื่น ก็


จะเหมาะแกความตองการ. เทาที่เปนมาแลว ชาวนาไดรับความเดือดรอนเพราะเหตุมีคน
กลางมาคอยตัดตอนกินแรงของเขาอยู ถาจัดการใหชาวนาไดติดตอโดยตรงกับทานที่
มั่งมีหรือทานเจาของทุนไดแลว ฐานะของชาวนาก็จะดีขึ้น.

พระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดํารัสตอบนายถวัติวา ในเรื่องชวยชาวนา รัฐบาลก็ได


กระทําอยูเปนนิจแลว โดยไดขยายการจัดตั้งสหกรณตามที่ไดดําริเห็นสมควร ดั่งนี้ก็เปน
การชวยเหลือชาวนา เปนอันดีอยูมิใชหรือ.

นายถวัติถวายความเห็นวา ตามความเปนจริงที่เขาไดทราบมานั้น การจัดตั้งสหกรณ


ตั้งแตตนมา ไมไดทําประโยชนใหแกชาวนาที่ยากจนอยางจริงจังเลย เพราะวาผูที่จะกู
เงินจากสหกรณได ก็จะตองเปนผูที่มีหลักฐาน และผูที่มีหลักฐานนั้นเองไดกูเงินจาก
สหกรณมาใหชาวนาที่ยากจนกูอ  ีกทอดหนึ่ง เปนการหาผลประโยชนและกินแรงคน
ยากจนนั้นเอง ถาไดจัดการอยางใดอยางหนึ่งใหชาวนาไดติดตอโดยตรงกับรัฐบาล เปน
ตน ในเรื่องที่นาไดแลว นั่นแหละนายถวัติจึ่งจะเห็นวา จะเปนผลดีแกชาวนาขึ้นบาง.

ความเห็นของนายถวัติในตอนทายนี้ พระเจาอยูหัวจะทรงเขาพระทัยอยางไรก็ตาม แต


ไดมีรับสั่งวา ถารัฐบาลจะเขาควบคุมจัดการในเรื่องที่นา รัฐบาลก็จะตองไมกระทําโดยวิธี
บังคับซื้อ. ไดทรงปรารภวา ที่นาของพระองคเองทีม ่ ีอยู ก็ไมอยากจะไดไวเหมือนกัน
อยากจะใหมีผูมาซื้อไปเสีย. แตการซื้อขายนั้นก็จะตองเปนไปตามปรกติวิสัยที่นิยมกัน
อยู.

รับสั่งในตอนสุดทายวา “ฉันเองไมใชเปนคนโลภหรือหวงแหนในทรัพยสมบัติอะไร ทอง


ของฉันก็เล็กนิดเดียว คงจะไมตองการอาหารการกินกี่มากนอย”

นายถวัติไดกราบทูลวา เขาเองก็ไมมีความประสงคที่จะใหมีการซือ
้ ขายอันผิดไปจาก
ปรกติวิสัยที่นิยมกันอยู. เขาเพียงแตขอใหไดมีการจัดการโดยทางใดทางหนึ่งเพื่อปลด
เปลื้องเสียซึ่งการกินแรงจากชาวนาที่ยากจน ดั่งที่ไดเปนมาแลว หรือยังไมเปนการดีขึ้น
ในทุกวันนี้.

เมื่อใกลจะไดเวลาอันควรที่จะจบการสนทนา พระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดํารัสแสดง
ความจริงในพระราชหฤทัยใหนายถวัติทราบวา พระองคเองมิไดทรงมีความคิดอาลัยใน
สมบูรณาญาสิทธิราชยที่พระองคไดทรงสละใหแลว เพื่อการปกครองตามระบอบ
รัฐธรรมนูญ แมวาจะมีผูเห็นผิดเปนชอบดําริการที่จะนําสมบูรณาญาสิทธิราชยมาถวาย
กลับคืนใหแดพระองคอีก พระเจาอยูหัวก็จะไมทรงมีความนิยมยินดีดวย และถึงอยางไรก็
จะไมยอมรับไวเปนอันขาด เพราะพระองคเองมีความพอพระราชหฤทัยเปนอยางยิ่งแลว
ในระบอบการปกครองที่ใชดําเนินการอยูในเวลานี้.

อนึ่งพระเจาอยูหัว ยังไดตรัสย้ําถึงความสมัครสมานสามัคคีเปนคํารบสุดทายอีกดวย. ได


ทรงขอใหนายถวัติรําลึกถึงความจําเปนในความขอนี้ และขอใหกระทําการประสานไมตรี
จิตตระหวางคนทั่วไปใหบังเกิดผลอันงดงามอยางดีที่สุดที่จะทําได พลางผินพระพักตร
ไปทางนาย ต. บุญเทียม และมีพระราชดํารัสวา หนังสือพิมพกส ็ ําคัญอยู จงกระทําการ
ดวยความรอบคอบระมัดระวัง จงหลีกเลี่ยงเสียซึ่งการลงขาว ที่จะเปนชองทางใหเกิด
ความปนปวนราวรานขึ้น. จงตั้งใจสมัครสมานสามัคคีไมตรีภาพใหเปนอยูโดยทั่วไป และ
อยางแนนแฟนรัดรึง.

เมื่อรับสั่งจบลง พระเจาอยูหัวทรงลุกขึ้นจากพระเกาอี้ นายถวัติและนาย ต. บุญเทียม ก็


กราบลงแทบฝาพระบาท ครั้นแลวพระเจาอยูหัวก็เสด็จเขาขางใน เปนอันการเฝาพระ
เจาอยูหัวของคนทั้งสองไดเสร็จสิ้นลง.

การที่พระเจาอยูหัวทรงรับคําขอขมาโทษของคนทั้งสองไวนั้น นับวาเปนการสวน
พระองค ไมเกี่ยวกับทางการบานเมือง เพราะฉะนั้นคนทั้งสองจึ่งยังคงเปนจําเลยในคดี
ที่อัยยการไดยื่นฟองอยู และถาอัยยการไมถอนฟอง ศาลก็คงจะดําเนินการพิจารณาคดี
ตอไปเปนปรกติ. แตเมื่อปรากฏวา พระเจาอยูหัวไมทรงถือโทษจําเลยแลว เราก็หวังวา
ทางบานเมืองจะไดกรุณาถอนฟองจําเลยในคดีนี้ทงั้ ๔ คน.

กรณี ถวัติ ฤทธิเดช ฟอง พระปกเกลา

ศิลปวัฒนธรรม ฉบับ “วันกรรมกร” ปที่แลว (พฤษภาคม ๒๕๔๗) ไดตีพิมพบทความ


ประวัติชีวิตถวัดิ ฤทธิเดช ของศิโรตม คลามไพบูลย โดยเขียนโฆษณาบนหนาปกที่เปน
รูปกําปนกรรมกรกําลังชูขึ้นบนพื้นหลังสีแดงอันขึงขังวา “ฟองรัชกาลที่ ๗ ทรง ‘หมิ่น
ประมาท’! ถวัติ ฤทธิเดช ผูนํากรรมกร” ผูที่พอมีความรูประวัติศาสตรการเมืองสยามสมัย
หลัง ๒๔๗๕ ยอมทราบวาขอความโฆษณาบนปกศิลปวัฒนธรรมนี้พาดพิงถึง ๑ ใน
เหตุการณที่สรางชื่อเสียงในลักษณะ “ตํานาน” ใหถวัติ นั่นคือกลาวขานกันวาเขาเปนคน
แรกที่กลาขนาดฟองพระมหากษัตริย เห็นไดชัดวาเรื่องนี้มีความนาสนใจจนบรรณาธิการ
เลือกที่จะนํามาโฆษณาบนหนาปกมากกวาชื่อบทความเองที่เนนความเปน “ผูนํากรรมกร
คนแรก” ของถวัติ(๑) ในบทความและในหนังสือเลม (ซึ่งบทความยอมา) ทีอ ่ อกตามมา
ในเวลาไมนานหลังจากนั้น การฟองพระปกเกลานี้เปนเพียงตอนหนึ่งซึ่งไมยาวนัก(๒)

อยางไรก็ตาม แมวาจะมีประโยชนอยูบาง แตการพูดถึงกรณีนี้ของศิโรตมมีความ


คลาดเคลือ ่ นสําคัญไมนอยและไมมีตอนจบ (คือไมไดเลาวากรณีนี้ลงเอยอยางไร) จริง
อยูเรื่องถวัติฟอ
 งพระปกเกลานี้ ปจจุบันหาหลักฐานชั้นตนในที่สาธารณะแทบไมไดจริงๆ
แตเฉพาะหลักฐานที่มีอยู ถาหากจะใชความระมัดระวังในการวิพากษหลักฐานมากกวานี้
ก็นาจะหลีกเลี่ยงความผิดพลาดเหลานั้นได (ยกตัวอยางเชน ประเด็นสําคัญที่วา ถวัติ
ฟองพระปกเกลาตอศาลอาญา แตศาลไมรับฟอง ตามที่ศิโรตมเขียนนั้น แทจริงถวัติไม
เคยฟองพระปกเกลาตอศาลอาญาแตอยางใด)(๓) ที่สําคัญ โดยสวนตัวผมไมคิดวา การ
บรรยายเรื่องราวของถวัติในลักษณะ “ตํานานคนกลา” (heroic tale) ที่ศิโรตมทํา ตาม
แบบจารีตการเขียน “ประวัติการตอสูของกรรมกรไทย” อันเปนที่นิยมในหมูปญญาชน
“ทวนกระแส” ซึ่งสังศิต พิริยะรังสรรค บุกเบิกไวเมื่อหลายปกอน จะชวยทําใหเขาใจชีวิต
ของถวัติไดอยางแทจริง(๔) ผมเห็นดวยวาชีวิตของถวัติมีความนาสนใจ แตก็มีความ
ประหลาด “ไมลงตัว” หลายประการเกินกวาจะจับลงไวในกรอบการพรรณา (narrative)
เรื่อง “ปญญาชนของชนชั้นกรรมกร” หรือ “ราษฎรผูหาญกลาทาทายสมบูรณาญาสิทธิ์
ไทย” ได (เชนเดียวกับกรณีรวมสมัยของนายนรินทร ภาษิต ซึ่งบังเอิญกําลังเปนขาว
“ฮือฮา” พรอมๆกับกรณีถวัติฟองพระปกเกลาพอดี ดวยการอดอาหารประทวง จนมีขาว
วาใกลเสียชีวิต)

จุดมุงหมายของบทความตอไปนี้คอ ื นําเสนอเอกสารที่เกี่ยวของกับกรณีอันนาสนใจ
“ถวัติ ฤทธิเดช ฟอง พระปกเกลา” นี้ โดยจงใจหลีกเลี่ยงไมสรุปลวงหนาวามีนัยยะ
ความหมายอะไรและจํากัดการแสดงความเห็นและตีความใหอยูในระดับต่ํา ผมควร
ชี้ใหเห็นดวยวา หลักฐานที่เหลืออยูขาดความสมบูรณอยางมาก โดยเฉพาะ เปนที่นา
เสียดายวา บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรีระหวางตนเดือนกันยายนถึงปลายเดือน
ธันวาคม ๒๔๗๖ ซึ่งเปนชวงเริ่มตนของกรณีนี้ ปจจุบันไมมีเหลือเก็บอยูท
 ี่สํานัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) แลว เหลือเพียงจดหมายโตตอบเกี่ยวกับกรณีนี้ซึ่งไม
สมบูรณ แตก็ยังใหขอมูลที่หาไมไดในหลักฐานสาธารณะที่มีอยู(๕)

***************************************************************
***

เหตุการณที่จะเลาตอไปนี้ ผมเรียงตามลําดับเวลาการเกิดกอนหลัง

จุดเริ่มตน: ขาวถวัติจะฟองพระปกเกลาตอสภา กลางกันยายน ๒๔๗๖


กลางเดือนกันยายน ๒๔๗๖ ระหวางวันที่ ๑๖ ถึง ๑๘ หนังสือพิมพหลายฉบับไดรายงาน
ขาววาถวัติ ฤทธิเดช ที่รูจก
ั กันในฐานะผูนํากรรมกรรถราง (เขากอตั้งสมาคมรถราง) จะ
ยื่นฟองพระปกเกลาตอสภาผูแทนราษฎร อางวาพระปกเกลาหมิ่นประมาทตน(๖) เพราะ
ในบันทึก “พระบรมราชวินิจฉัยเคาโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐมนูธรรม” ที่มี
การแจกจายระหวางเกิดวิกฤตการณเรื่องเคาโครงการเศรษฐกิจเมื่อเดือนมีนาคม-
เมษายน ๒๔๗๕ (ปฏิทินเกา เทียบปจจุบันคือ ๒๔๗๖ คือปเดียวกับที่เรากําลังพูดถึง) มี
ขอความตอนหนึ่งพาดพิงถึงผูนํากรรมกรรถรางวา “การที่กรรมกรรถรางหยุดงานนั้น หา
ใชเกิดการหยุดเพราะความเดือดรอนจริงจังอันใดไม ที่เกิดเปนดังนี้นั้นก็เพราะมีคนยุให
เกิดการหยุดงานขึ้น เพื่อจะไดเปนโอกาสใหตั้งสมาคมคนงาน และตนจะไดเปนหัวหนา
และไดรับเงินเดือนกินสบายไปเทานั้น”

ดังที่ถวัตจิ ะเลาเองในภายหลัง (ดูขางลาง) เขาไดยื่นฟองพระปกเกลาตอสภา


ผูแทนราษฎรโดยผานทางมังกร สามเสน สมาชิกสภาผูหนึ่ง แตมังกรไมยอมรับ อางวา
ทําไมไดเพราะขัดกับรัฐธรรมนูญฉบับ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ที่กําลังใชอยู มาตรา ๓
“องคพระมหากษัตริยด  ํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการ ผูใดจะละเมิดมิได” ไม
ชัดเจนวาเหตุใดถวัติจึงพยายามฟองตอสภาไมใชตอ  ศาล เขาใจวา เขาถือโดยอนุโลม
ตามรัฐธรรมนูญฉบับแรก ๒๗ มิถุนายน ๒๔๗๕ ที่มีบัญญัติในมาตรา ๖ วา “กษัตริยจะ
ถูกฟองรองคดีอาชญายังโรงศาลไมได เปนหนาที่ของสภาผูแทนราษฎรจะวินิจฉัย”
รัฐธรรมนูญ ๑๐ ธันวาไมมีบทบัญญัติเรื่องฟองกษัตริยในคดีอาญาไมได หรือเรื่องใหสภา
วินิจฉัยกษัตริยแลว แตในระหวางการพิจารณามาตรา ๓ ของรัฐธรรมนูญนี้เอง กรรมการ
รางรัฐธรรมนูญไดอธิบายนัยยะของการที่ “ผูใดจะละเมิดมิได” คลายกับมาตรา ๖ เดิม
คือฟองกษัตริยในคดีอาญาไมได แตไมไดพูดชัดเจนเรื่องใหสภาวินิจฉัย (เราจะกลับมา
ที่ประเด็นนี้ขางหนา) เรื่องมังกร สามเสน ไมรับเปนผูเสนอฟองของถวัติตอ  สภานี้ เขาใจ
วารูกันระหวางถวัติกับมังกร ไมไดเปนขาวดวย เพราะคงเกิดภายหลังจากถวัตใิ หขาว
เรื่องจะฟองตอหนังสือพิมพไปแลว

ผูที่รอนใจตอขาว (๑): รัฐมนตรีมหาดไทย ๑๘ กันยายน ๒๔๗๖


ปรากฏวา ขาวถวัติจะฟองพระปกเกลาตอสภาสรางความรอนใจใหกับบางคนอยางมาก
คนแรกคือรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย พระยาอุดมพงศเพ็ญสวัสดิ์ วันที่ ๑๘
กันยายน เขาเขียนจดหมายถึงพระยาพหล นายกรัฐมนตรีฉบับหนึ่ง ดังนี้
ที่ ๔๑๑/๘๐๕๐

ศาลาวาการกระทรวงมหาดไทย

วันที่ ๑๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๖

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เรียน นายกรัฐมนตรี


ดวยมีหนังสือพิมพหลายฉะบับ ลงขาวเรื่องนายถวัติ ฤทธิเดช ฟองพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวตอสภาผูแทนราษฎร ขาพเจาเห็นวา เปนเรื่องสําคัญที่เกิดขึ้นในบัดนี้ นาจะ
เปนทางเพาะภัยใหแกพระองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตลอดจนบานเมืองไดอยาง
ไมเคยพบเห็น ระวางนี้ ไดใหกรมอัยยการตรวจอยูแ  ลว ขาพเจาขอโอกาสทีจ ่ ะไดนํามา
กราบเรียนในวันนี้เวลาบาย

ควรมิควรแลวแตจะโปรด
พระยาอุดมพงศเพ็ญสวัสดิ์

สําหรับจดหมายราชการแลว จดหมายของพระยาอุดมพงศฉบับนี้ตอ  งนับวาใชถอยคํา


น้ําเสียงที่รุนแรงไมนอย (“เรื่องสําคัญที่เกิดขึ้นในบัดนี้”, “เพาะภัย...อยางไมเคยพบ
เห็น”) แตดูเหมือนพระยาพหลเองไมไดตื่นเตนรอนใจไปดวย เมื่อรับจดหมายแลว เขา
เพียงแตเขียนลงในตอนทายวา “ทราบ [ลงชื่อ] พระยาพหลฯ ๑๘/ก.ย./๗๖” เทานั้น
ไมแนชัดวา ที่พระยาอุดมพงศขอเขาพบในบายวันนั้น พระยาพหลไดใหเขาพบหรือไม
(๗)

ผูที่รอนใจตอขาว (๒): พระปกเกลา ๒๘ กันยายน ๒๔๗๖

พระยาพหลอาจจะเพิกเฉยตอพระยาอุดมพงศได แตไมสามารถเพิกเฉยตอผูที่รอนใจตอ
ขาวนี้อีกคนหนึ่งได ชวงกอนวันที่ ๒๘ กันยายน นาจะไมเกิน ๑-๒ วัน เขาไดเขาเฝา
พระปกเกลาที่วังไกลกังวลหัวหิน (เราทราบวามีการเขาเฝาจากจดหมายวันที่ ๑๐
ตุลาคม ของราชเลขานุการที่จะอางถึงขางลาง สวนวันที่เขาเฝา เดาจากวันที่ของ
จดหมายพระยาพหลถึงประธานสภาที่กําลังจะอาง) ในระหวางการเขาเฝานี้ พระปกเกลา
ไดมีพระราชกระแสเรือ ่ งการฟองพระองคของถวัติ และทรงแสดงพระราชประสงคใหสภา
ทําการตีความรัฐธรรมนูญมาตรา ๓ พระยาพหลจึงตองนําเรื่องเขาปรึกษา ครม.แลวมี
หนังสือถึงประธานสภาผูแทนราษฎร ดังนี้

ที่ ส.๔๐๓๗/๒๔๗๖

ที่ทําการคณะรัฐมนตรี วังปารุสกวัน

วันที่ ๒๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๖

นายกรัฐมนตรี เรียน ประธานสภาผูแทนราษฎร

ดวยคณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษาลงมติใหเสนอญัตติเรื่องพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
มีพระราชกระแสโปรดเกลาฯวา เรื่องนายถวัติ ฤทธิเดช จะฟองพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวนั้น มีพระราชประสงคจะใหสภาผูแทนราษฎร ตีความมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญ

จึ่งเรียนมาเพื่อทานไดโปรดนําขึ้นปรึกษาในที่ประชุมสภาผูแทนราษฎรโดยดวนดวย.
ควรมิควรแลวแตจะกรุณา
(ลงนาม) พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา
นายกรัฐมนตรี

คําขอของพระปกเกลาผานรัฐบาลเขาสูสภาครั้งที่ ๑ (๒๘ กันยายน ๒๔๗๖)


เย็นวันเดียวกันนั้น มีการประชุมสภา ญัตติดวนของรัฐบาล “เรื่องใหสภาผูแทนราษฎร
ตีความในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญ เนื่องจากนายถวัติ ฤทธิเดช จะฟองพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัว” จึงถูกบรรจุเขาวาระโดยอยูทายสุด เมื่อถึงเวลา ผูทําการแทน
ประธานสภาเสนอวากอนจะตีความมาตรา ๓ อยางไร จะขออานคําอธิบายมาตรานี้ของ
พระยามโนประธานกรรมการรางรัฐธรรมนุญใหฟง แตยังไมทันไดอานก็มีผูเสนอใหเลื่อน
ประชุมออกไป เพราะเปนญัตติสําคัญแตเพิ่งไดรับบายวันนั้น ยังไมมีเวลาพิจารณา
เพียงพอ ซึ่งที่ประชุมเห็นดวย โดยตกลงวาจะพิมพคําอธิบายมาตรา ๓ ของพระยามโน
แจกใหไปอานกันกอน(๘)

คําอธิบายของพระยามโนดังกลาว ใหไวเมื่อนําเสนอรางรัฐธรรมนูญตอสภา เมื่อ


วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๔๗๕

คําวาผูใดจะละเมิดมิไดนี้ เราหมายวา ใครจะไปละเมิดฟองรองวากลาวไมได ถาอาจจะมี


ใครสงสัยวาถาฟองรองทานไมไดแลวจะทําอยางไรเมื่อมีใครไดรับความเสียหาย
ประการหนึ่งเราตองนึกวาที่วาเปนประมุขนั้น ตามแบบเรียกวา รัฐบาลของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ศาลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พิจารณาตัดสิน
ความในนามของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพราะฉะนั้นถาจะพูดถึงหลักกฎหมายใน
บางประเทศแลว ฟองรองทานไมไดทั้งทางอาชญาและประทุษฐรายสวนแพง แตมีวาถา
ทานตองทรงรับผิดชอบในเรื่องเงินแลว ก็ฟองรองไดทางพระคลังขางที่ และที่เขียนมานี้
ไมกะทบกระเทือนสิทธิและความเสียหายของราษฎรใดๆเลย(๙)

จะเห็นวา ขณะที่ยืนยันเหมือนมาตรา ๖ ในรัฐธรรมนูญชั่วคราวที่ใชอยู วาฟองรอง


กษัตริยในทางอาญาไมได พระยามโนไมไดพูดถึงการใหสภาเปนผูวินิจฉัยหากมีปญหา
ทางอาญาเกี่ยวกับกษัตริยเหมือนในมาตรานั้น (พูดเฉพาะกรณีแพง ใหฟองพระคลังขาง
ที่แทน) ผมเดาวา คงเปนเพราะ สําหรับพระยามโนผูโนมเอียงไปทางรัชกาลที่ ๗ ไม
นอย การมีเรื่องทางอาญากับพระมหากษัตริยเปนสิ่งที่ไมไดอยูในใจเทาไรนัก

รัฐมนตรีมหาดไทยเสนอเรื่องเขา ครม. ๒๙ กันยายน ๒๔๗๖ ตกลงใหฟองถวัติ


ในเวลาเดียวกันกับที่กระบวนการขอใหสภาตีความมาตรา ๓ ซึ่งรัฐบาลทําตามพระ
ประสงคของพระปกเกลาดําเนินไปนี้ พระยาอุดมพงศรัฐมนตรีมหาดไทยก็ไดมีหนังสือถึง
พระยาพหลเสนอวาอัยการมีความเห็นใหฟองถวัติได (ขณะนั้นกรมอัยการสังกัด
กระทรวงมหาดไทย) อันที่จริง เขาเสนอเรื่องนี้กอนที่รัฐบาลจะขอใหสภาตีความมาตรา
๓ ดวยซ้ํา ดังนี้
ลับที่ ๔๓๕/๘๔๗๙

ศาลาวาการกระทรวงมหาดไทย

วันที่ ๒๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๖

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เรียน นายกรัฐมนตรี

ตามที่หนังสือพิมพลงขาวเรื่องนายถวัติ ฤทธิเดช ฟองพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่ง


ขาพเจาไดมาเรียนชี้แจงแลวนั้น ไดใหเจาหนาที่ไตสวนตอมาแลว อัยยการเห็นวา ควร
ฟองได ไดเสนอสํานวนในเรื่องนี้มาดวย เพื่อไดรับความวินิจฉัยโดยดวน

ควรมิควรแลวแตจะโปรด
พระยาอุดมพงศเพ็ญสวัสดิ์

ครั้งนี้พระยาพหลเขียนสั่งทายจดหมายวา “ใหเจาหนาที่ทําเรื่องเขาที่ประชุม
คณะรัฐมนตรีเพือ ่ วินิจฉัย [ลงชื่อ] พระยาพหลฯ ๒๗ ก.ย. ๗๖” แตกวาเรื่องจะถูกนําเขา
ครม.ก็เปนการประชุมวันที่ ๒๙ กันยายน คือหลังการประชุมทีล ่ งมติขอใหสภาตีความ
มาตรา ๓ แลว (เพราะเรื่องนั้นมีมติไมเกินวันที่ ๒๘) เรารูวา ครม.ตัดสินใจเรื่องฟอง ถวัติ
เมื่อวันที่ ๒๙ ก็เพราะมีจดหมายยืนยัน ดังนี้

ที่ ข. ๔๐๙๑/๒๔๗๖

กรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

วันที่ ๓๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๖

เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เรียน รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

หนังสือเรียนนายกรัฐมนตรี ที่ ๔๓๕/๘๔๗๙ ลงวันที่ ๒๖ เดือนนี้ เสนอสํานวนการไต


สวน หนังสือพิมพลงขาวเรื่อง นายถวัติ ฤทธิเดช ฟองพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่ง
อัยยการเห็นวาควรฟองไดมานั้น คณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษาลงมติเมื่อวันที่ ๒๙
เดือนนี้ ใหอัยยการจัดการฟองรองตอไป

จึ่งเรียนยืนยันวา

สํานวนการไตสวนนั้น ทานไดรับคืนไปแลว แตวันที่ ๒๖ เดือนนี้

ควรมิควรแลวแตจะโปรด
ธํารง
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ตามคําบอกเลาของถวัติเอง เขาถูกอัยการฟองในขอหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพและ
กบฏ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน เรื่องนี้คงเปนขาวหนังสือพิมพดวย เพราะพระปกเกลาทรง
ทราบ ดังจะเห็นตอไป นาเสียดายวา ขณะนี้ผมยังหาเอกสารเกี่ยวกับการฟองรองนี้ไมได
(๑๐)

คําขอของพระปกเกลาผานรัฐบาลเขาสูสภาครั้งที่ ๒ (๕ ตุลาคม ๒๔๗๖)

ในการประชุมสภาครั้งตอมาในเย็นวันที่ ๕ ตุลาคม ญัตติขอตีความมาตรา ๓ ซึ่งถูกเลือ ่ น


การพิจารณามาจากครั้งกอนไดถก ู กําหนดใหอยูในวาระการประชุมอีก แตพระยาพหลได
ลุกขึ้นพูดเสนอตั้งแตเริ่มประชุมวา “ขาพเจาขอใหพิจารณา คือเอาเรื่องที่บอกใหสภา
ผูแทนราษฎรตีความในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญเปนเรื่องสุดทาย เพราะมีญัตติอื่นๆที่
จะตองพิจารณากอน คือพระราชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑและเรื่องการภาษี” ผมคิดวานี่
เปนหลักฐานอีกอันหนึ่ง (นอกจากทาทีตอจดหมายพระยาอุดมพงศฉบับแรก) ที่
สนับสนุนวาพระยาพหลเอง ไมถึงกับกระตือรือรนตอเรื่อง “ถวัติฟองพระปกเกลา-ตีความ
มาตรา ๓” ทั้งหมดนี้นัก ยิง่ กวานั้น หลังจากที่ประชุมอภิปรายพระราชบัญญัติ ๒-๓ ฉบับ
กอนจนหมดวาระตามที่เขาเสนอเอง เขาก็สนับสนุนใหเลื่อนการตีความมาตรา ๓ ออกไป
โดยไมมีกําหนด(๑๑)

แตกอนทีส
่ ภาจะไดเขาสูวาระประชุมปรกติตามขอเสนอของพระยาพหล ประธานสภาได
หยิบเอาจดหมายของถวัติ ฤทธิเดช ลงวันที่ ๔ ตุลาคม มาปรึกษาที่ประชุม ดังนี้

ประธานสภาฯ กลาววา ตามที่ทานนายกรัฐมนตรีขอรองเรื่องญัตติดวนใหพิจารณากอน


[หมายถึงพระราชบัญญัติ ๒-๓ ฉบับ – สมศักดิ์] สวนเรื่องตีความในมาตรา ๓ ขอรอ
เอาไวเปนเรื่องสุดทาย แตกอนที่จะลงมติอนุญาต ขาพเจาอยากเสนอใหสมาชิกทราบวา
ขาพเจาไดรับหนังสือจากนายถวัติ ฤทธิเดช วันนี้เวลา ๑๒ นาฬิกาเรื่องหนึ่ง มีใจความวา

สมาคมกรรมกรรถรางแหงสยาม
วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖
กราบเรียน ทานเจาพระยาพิชัยญาติ ประธานสภาผูแทนราษฎร

เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงบริภาษใสความเปนการหมิ่นประมาท
ขาพเจาในหนังสือที่ชื่อ บันทึกพระบรมราชวินิจฉัยเรื่องเคาโครงการเศรษฐกิจของหลวง
ประดิษฐมนูธรรม ขาพเจาจึงเปนโจทกยื่นฟองทางสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพื่อให
นําเสนอสภาผูแทนราษฎรวินิจฉัย แตนายมังกร สามเสน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรสง
ฟองกลับคืนมายังขาพเจา โดยอางเหตุวา ขัดตอมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญ

ครั้นเมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. นี้ กรมอัยยการกลับเปนโจทกฟองหาขาพเจากับพวก


วา หมิ่นพระบรมเดชานุภาพและเปนกบฏตอศาลโปรีสภาที่ ๑ คดีนี้ยังอยูในระหวางไต
สวน

บัดนี้ ขาพเจาทราบวาสภาผูแทนราษฎร จะไดประชุมวินิจฉัยตีความในมาตรา ๓ แหง


รัฐธรรมนูญ ขาพเจาจึงขอเสนอคําแถลงการณเปดคดี ซึ่งขาพเจาใหทนายของขาพเจา
เตรียมทําไวเพื่อยื่นฟองตอสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้ง ๗๐ ทาน แตตองระงับไวกอน
เพราะอัยยการกลับเปนโจทก ฟองขาพเจากับพวกดังกราบเรียนมาแลว

ขาพเจาขอใหถือวาคําแถลงการณเปดคดีนี้เปนคําแถลงของขาพเจาในการที่โตแยง
คัดคานความในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญซึ่งไมคุมครองพระมหากษัตริย ในเมื่อ
พระมหากษัตริยทรงทําผิดและผูถก
ู ประทุษฐรายหรือเสียหายมีอํานาจฟองรอง
พระมหากษัตริยได

ขาพเจาขอความกรุณาพระเดชพระคุณ ไดโปรดนําคําแถลงการณของขาพเจาซึ่งสงมา
พรอมกับเรือ
่ งราวฉะบับนี้ แจกจายแดทานสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้ง ๗๐ ทานเพื่อ
พิจารณาดวย จักไดสิ้นวิมุติกังขาในเรื่องพระมหากษัตริยอยูใตกฎหมายกันเสียที

ควรมิควรแลวแตจะโปรด
(ลงนาม) นายถวัติ ฤทธิเดช

***************************************************************
*********

บันทึกพระบรมราชวินิจฉัยเรื่องนี้จะใหแจกไดหรือไม

นายกรัฐมนตรี กลาววา เรื่องนี้ใหแจกแกสมาชิกทั้งหลายได แลวเอาไวพิจารณาคราว


หนา
ผมไมแนใจวา “บันทึกพระบรมราชวินิจฉัยเรื่องนี้” ที่ประธานสภาพาดพิงถึงตอนทาย
หมายถึงอะไร? พระราชบันทึกของพระปกเกลาเกี่ยวกับมาตรา ๓ ซึ่งทรงพระนิพนธขึ้น
ใหม? เราไมมีหลักฐานเรื่องนี้เหลืออยู

ผมอยากตั้งขอสังเกตในทีน ่ ี้เกี่ยวกับจดหมายถึงประธานสภาของถวัติขางตน จะเห็นวา


ในจดหมายนี้ ถวัติไดยืนยันขอเท็จจริง ๒ ประการคือ (๑) เขาตั้งใจจะฟองวา
พระปกเกลาหมิ่นประมาทเขาตอสภาไมใชตอศาล และ (๒) เขาเห็นวามาตรา ๓ ไมได
คุมครองใหกษัตริยถกู ฟองไมได ผมคิดวา ๒ ประเด็นนี้ ความจริงขัดแยงกันเอง คือ ถาถ
วัติเชื่อวามาตรา ๓ ไมคุมครองกษัตริยจ  ากการถูกฟองจริงๆ ทําไมเขาไมยื่นเรื่องฟองตอ
ศาลเลย ทําไมจึงพยายามยื่นตอสภา? ถาจะอธิบายวาเขาพยายามยื่นตอสภาตามที่
รัฐธรรมนูญเกากําหนดไว (มาตรา ๖) รัฐธรรมนูญนั้นเองก็บอกวา กษัตริยไดรับการ
คุมครอง ถูกฟองไมได ถาเขาเชื่อวารัฐธรรมนูญใหมที่ใชอยู กษัตริยไมไดรับการ
คุมครอง ถูกฟองไดจริง ก็ไมนาจะตองมายื่นตอสภาตามรัฐธรรมนูญเกา (ที่บอกวาฟอง
ไมได) อีก สรุปแลว ในความรูสึกของผม เรื่องถวัติพยายามจะฟองพระปกเกลาตอสภา
นั้น ออกจะไมมีเหตุผลหรือหลักการรองรับเทาใดนักตั้งแตตน

ในที่ประชุมสภาวันที่ ๕ ตุลาคม หลังจากประธานอานจดหมายของถวัติแลว ที่ประชุมก็


ใชเวลาถกเถียงกันอยูนานวา ควรจะอนุญาตใหแจก “คําแถลงการณเปดคดี” ของถวัติ
หรือไม (คือ “คําฟอง” พระปกเกลาที่เขาเตรียมไวตอนแรก แตมังกรไมรับ นาเสียดายวา
เอกสารนี้ก็หาไมไดแลวเชนกัน) ในที่สุด ตกลงรวมกันวา การเสนอเรื่องเขามาในสภา
ตองเสนอผานสมาชิก (เสนอแลวยังตองใหที่ประชุมโหวตวาจะรับหรือไม) “แถลงการณ
เปดคดี” ของถวัติที่พยายามเสนอเขามา ไมมีใครยอมเปนผูเสนอให รวมทั้งตัว
ประธานสภาดวย จึงเขามาไมไดเลย (ยังไมตองถึงขั้นโหวตวาที่ประชุมจะรับหรือไม)
(๑๒)

เมื่อผานเรื่องความพยายามเสนอของถวัติทจ ี่ ะเสนอเอกสารฟองพระปกเกลาของเขาไป
แลว ที่ประชุมสภาครั้งนั้นก็หันเขาสูวาระพิจารณารางพระราชบัญญัติ ๒-๓ ฉบับ แตดังที่
กลาวแลว หลังจากนั้นแทนที่จะกลับมาพิจารณาตีความมาตรา ๓ ตามที่รัฐบาลยื่นเปน
“ญัตติดวน” และคางไวตั้งแตสัปดาหกอน รัฐบาลเองก็ขอเลือ ่ นออกไปโดยไมมีกําหนด

จดหมายจากพระปกเกลาถึงพระยาพหล ทวงถามเรื่องการตีความรัฐธรรมนูญ ๑๐
ตุลาคม ๒๔๗๖
ผมคิดวา ในสวนของรัฐบาล (หรืออยางนอยคือตัวพระยาพหล) คงอยากจะลืมเรื่องการ
ตีความมาตรา ๓ ไปเลย สําหรับกรณีถวัติ ก็ถอ ื วาไดยื่นฟองหมิ่นพระบรมเดชานุภาพไป
แลว ก็คงอยากปลอยใหเปนเรื่องในศาลไปเรื่อยๆ แตเรื่องไมยอมหายไปงายๆ อยาง
นอยพระปกเกลาไมทรงถือวาเปนเรื่องที่ควร “เลื่อน” ออกไปอยางไมมีกําหนดแบบ
รัฐบาล วันที่ ๑๐ ตุลาคม จึงทรงใหราชเลขานุการในพระองคมีจดหมายถึงพระยาพหล
ฉบับหนึ่ง ดังนี้

ที่ ๓๔๙/๑๖๖๕

กรมราชเลขานุการในพระองค
หัวหิน

วันที่ ๑๐ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๖

เรียน พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี

มีพระราชดํารัสเหนือเกลาฯวา ตามที่ไดมีพระราชดํารัสแกทานเมื่อมา
เฝาทูลละอองธุลีพระบาทที่สวนไกลกังวลครั้งสุดทาย ขอใหคณะรัฐมนตรีเสนอญัตติใน
สภาผูแทนราษฎร ใหลงมติแปลความหมายของความในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญ เพื่อ
จะปองกันการที่มีบุคคลบังอาจฟองรองใหเปนที่เสือ่ มเสียพระบรมเดชานุภาพ ทานไดรับ
สนองพระราชกระแสวา จะรีบจัดการเปนการดวนนั้น เวลาก็ลวงเลยมาหลายวันแลว ยัง
มิไดทรงทราบผลวาสภาผูแทนราษฎรไดลงมติประการใด การที่รัฐบาลไดใหอย ั ยการ
ฟองนายถวัติ ฤทธิเดชกับพวก ฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพและกบฏนั้น ก็เปนแต
แกปญหาปจจุบันฉะเพาะเรื่องเทานั้น ตราบใดสภาผูแทนราษฎรยังมิไดแปลความหมาย
ในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญใหเด็ดขาดไปวา บุคคลจะฟองพระมหากษัตริยไดหรือไม ก็
ยังอาจมีเรื่องเชนนี้ไดเสมอ ทรงพระราชดําริวา ปญหาเรื่องนี้เปนปญหาสําคัญที่สุด
สําหรับพระเกียรติยศ ทรงหวังพระราชหฤทัยวาสภาผูแทนราษฎรจะถวายความเคารพ
โดยลงมติวา ผูใดจะบังอาจฟองรองพระมหากษัตริยม  ิไดเปนอันขาด แตถาหากสภา
ผูแทนราษฎร ลงมติเปดโอกาสใหบุคคลฟองพระมหากษัตริยไดแลว ก็จะเปนการยากที่
จะทรงรักษาพระเกียรติยศใหสมควรแกประมุขแหงชาติ และจะนาเสียใจอยางยิ่ง

บัดนี้ ใกลถึงกําหนดเสด็จพระราชดําเนินกลับกรุงเทพฯ เพื่อพระราชทานพระกฐินตามที่


กําหนดไววาวันที่ ๑๑ เดือนนี้แลว ยังมิไดทรงรับรายงานจากทานเลย เพียงแตไดทรง
ทราบจากหนังสือพิมพขาววาคณะรัฐมนตรีไดเสนอญัตตินี้แลว แตสภาผูแทนราษฎรลง
มติใหเลื่อนไปพิจารณาคราวหลัง ซึ่งดูเหมือนหนึ่งวาการพิจารณาพระราชบัญญัติตางๆ
ในวันนั้น สําคัญยิ่งกวาพระเกียรติยศพระมหากษัตริย ยังไมมีกําหนดวาสภาจะลงมติ
เด็ดขาดเมื่อไร การที่จะเสด็จพระราชดําเนินกลับกรุงเทพฯในเวลาที่ยังมิไดทรงทราบ
ฐานะของพระองคโดยแนชัดเชนนี้ ยอมไมพึงปรารถนา จึงโปรดเกลาฯใหงดการเสด็จ
พระราชดําเนินกลับไวกอน จนกวาจะไดรับรายงานเปนทางราชการวาสภาผูแทนราษฎร
ไดลงมติแปลความในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญ ใหเปนที่พอพระราชหฤทัยสมพระ
เกียรติยศแลว

วิบูลสวัสดิ์วงศ
ราชเลขานุการในพระองค

เห็นไดชัดวาทรงใหความสําคัญกับประเด็นนี้มากกวาที่รัฐบาลใหอยางมาก ถึงกับทรงใช
เปนขออางไมเสด็จกลับมาพระราชทานกฐิน อยางไรก็ตาม จดหมายฉบับนี้ถึงกรม
เลขาธิการคณะรัฐมนตรีในเย็นวันที่ ๑๑ ตุลาคม นอกจากเจาหนาที่ในกรมแลว ยังไมทัน
ที่คนในรัฐบาลจะมีโอกาสรับรู ก็เกิดเหตุการณใหญชนิดคอขาดบาดตายขึ้นกอน กบฏ
บวรเดชเริ่มขึ้นในเวลาเดียวกับที่จดหมายฉบับนี้มาถึงพอดี(๑๓)

กบฏบวรเดชอางกรณีถวัติฟองพระปกเกลา ๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖

เมื่อกบฏบวรเดชยกกําลังเขาประชิดกรุงเทพที่บางเขนเมื่อเย็นวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖


นั้น ไดหยิบเอากรณีถวัติฟองพระปกเกลา (ซึ่งความจริงเปนเพียงขาว) มาเปนขออาง
อธิบายการกระทําของพวกเขาอยางหนึ่งดวย (อีกขอหนึ่งคือการทีร่ ัฐบาลเอาปรีดีกลับมา
เปนรัฐมนตรี) รัฐบาลตัดสินใจสูกับกบฏ พรอมกันนัน
้ ก็ไดสงโทรเลขฉบับหนึ่งลงวันที่
๑๒ ตุลาคม ถึงพระปกเกลาที่หัวหิน
ขอเดชะ ฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลาปกกระหมอม

ดวยเมื่อเย็นวานนี้ ทหารชางอยุธยาเคลื่อนมาถึงบางเขน และนครราชสีมาเคลื่อนมาถึง


ดอนเมือง เมื่อ ๑๔ นาฬิกาเศษวันนี้ พระแสงสิทธิการ นําหนังสือนายพันเอก พระยาศรี
สิทธิสงคราม มายื่น มีใจความวา คณะรัฐบาลนี้ปลอยใหคนลบหลูหมิ่นพระบรมเดชานุ
ภาพ และเอาหลวงประดิษฐมนูธรรมกลับเขามาเพื่อดําเนินการปกครองแบบคอมมิวนิสต
ตอไป จึงขอใหกราบถวายบังคมลาออกจากตําแหนงภายใน ๑ ชั่วโมง ถามิฉะนั้นจะใช
กําลังบังคับ และจะเขายึดการปกครองชั่วคราว จนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
ตั้งคณะรัฐมนตรีใหม ซึ่งไมมีนายทหารเขาเกี่ยวของดวย

โดยที่ขอหาสองขอนี้ไมมค
ี วามจริง รัฐบาลไดรีบสั่งฟองผูลบหลูหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
และไดวางหลักประกันไวแลววา หลวงประดิษฐมนูธรรมจะไมเปนคอมมิวนิสตดังทีท ่ ราบ
ใตฝาละอองธุลีพระบาทอยูแลว.....(๑๔)

คําขอของพระปกเกลาผานรัฐบาลเขาสูสภาครั้งที่ ๓ (๒๓ พฤศจิกายน ๒๔๗๖)


หลังการกบฏสิ้นสุดลง เจาหนาที่ในกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดตรวจพบจดหมายของ
ราชเลขานุการในพระองคขางตน และไดเสนอใหเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (หลวงธํารง)
รับรู ไมมีหลักฐานแนชัดวา จดหมายฉบับดังกลาว ไดนําไปสูการตัดสินใจของ
คณะรัฐมนตรีอยางไรหรือไม มีเพียงลายมือของเจาหนาที่บันทึกไววา “เสนอเลขาธิการ
หนังสือฉะบับนี้รับไวตั้งแตวันที่ ๑๑ ตอนเย็น ตั้งใจไววาจะเสนอวันที่ ๑๒ แตพอเกิดเรือ
่ ง
จึงมิไดเสนอ เพิ่งไดตรวจดูวันนี้ [ลงชื่อ] ชํานาญอักษร ๑๘/๗/๗๖” และ “เลขาธิการมี
บัญชาใหรวมเรื่องไว [ลงชื่อ] ชํานาญอักษร ๑๘/๗/๗๖” (เดือน ๗ ตามปฏิทินเกา คือ
ตุลาคม)
ประมาณ ๑ เดือนตอมา ในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๔๗๖ รัฐบาลไดเสนอญัตติขอให
ตีความรัฐธรรมนูญมาตรา ๓ เขาสูสภาอีกเปนครั้งที่ ๓ ครั้งนี้ รัฐบาลไดเตรียมรางการ
ตีความที่ตองการใหสภาลงมติรับรองไวลวงหนา:

ญัตติตคี วามมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม


สภาผูแทนราษฎร มีอํานาจฝายนิติบัญญัติ ไมใชศาล ไมมีอํานาจชําระคดีอาชญา หรือ
แพง เกี่ยวแกพระมหากษัตริย

ในกรณีแพง การฟองรองในโรงศาล ใหฟองรัฐมนตรีวาการกระทรวงวัง

สวนในกรณีอาชญา ซึ่งหากจะบังเอิญเกิดขึ้น ก็จะฟองพระมหากษัตริยไมได แตสภามี


อํานาจที่จะจัดการตามวิถท ี างรัฐธรรมนูญ เพื่อใหการเปนไปโดยยุตติธรรมได
กอนจะนําเสนอตอสภา รัฐบาลยังไดใหพระยานิติศาสตรไพศาล กับหมอมเจาวรรณไว
ทยากร ไปเขาเฝาพระปกเกลาที่สงขลา (ทรงยายที่ประทับไประหวางเกิดกบฏ) กราบ
บังคมทูลเสนอรางการตีความนี้ใหทรงรับรองกอน พระยานิติศาสตรกับ “ทานวรรณ” ได
โทรเลขผลของการเขาเฝามายังรัฐบาลในวันที่ ๒๓ นั้นเองวา “รางญัตติตีความมาตรา ๓
นั้นโปรดแลว [ลงชื่อ] นิติศาสตร วรรณไวทยากร” (๑๕)

เมื่อถึงเวลาประชุมสภา หนาที่การนําเสนอญัตติในนามรัฐบาลครั้งนี้ตกเปนของปรีดี พนม


ยงค (เขาเพิ่งกลับจากการถูกบังคับใหออกนอกประเทศระหวางวิกฤติเคาโครงการ
เศรษฐกิจ ถึงสยามเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๔๗๖ และไดรับแตงตั้งเปนรัฐมนตรีวันที่ ๑
ตุลาคม จึงไมมีสวนเกี่ยวของกับกรณีถวัติฟอ  งพระปกเกลา-ตีความมาตรา ๓ ในตอนตน)
เขาเริ่มตนอยางนาสนใจ ดังนี้
มีเรื่องที่จะเสนออีกเรือ ่ งหนึ่งซึ่งขาพเจาไดรับฉันทะจากคณะรัฐมนตรีใหมาแถลงใหที่
ประชุมทราบ คือเรือ ่ งความบาดหมางและความมัวหมองตางๆอันเกี่ยวกับเรื่องกบฏ
เกิดขึ้นครั้งนี้ เปนเรื่องเราใจใหขาพเจาอยากแถลงความจริงตอที่ประชุม เรื่องนี้พวกเรา
เองตองการจะสมานสามัคคีปรองดองใหมีขึ้นในระหวางราษฎรและถึงแมใน
พระมหากษัตริยก็เหมือนกัน เราพยายามปองกันจนสุดความสามารถ และใหเกียรติยศ
อันสูงเพื่อมิใหพระองคไดทรงรับความมัวหมองไปดวย ฉะนั้นจึงเห็นวาสภาฯนี้ควรจะ
ตีความในมาตรา ๓ แหงรัฐธรรมนูญ(๑๖)
ผมคิดวา นี่คือคําอธิบายวาเหตุใดครั้งนี้รัฐบาลจึงมีความจริงจังที่จะใหมีการตีความ
ออกมา ตางจาก ๒ ครั้งกอนหนานั้น พูดงายๆคือ กบฏบวรเดชทําใหรัฐบาลรูสึกจําเปน
มากขึ้นที่จะตองพยายามมีสัมพันธอันดีกับกษัตริย จึงหวังวาการตีความนี้จะเปนสวนหนึ่ง
ที่ชวยสรางความสัมพันธนั้น แมปรีดีไมไดพด ู ออกมา แตเราอาจกลาวไดวา รัฐบาลรูสึก
สั่นคลอน (vulnerable) จากการกบฏ (หรืออยางนอยก็ตัวปรีดีเอง สังเกตคําของเขาที่วา
“กบฏเกิดขึ้นครั้งนี้ เปนเรื่องเราใจใหขาพเจาอยากแถลงความจริงตอที่ประชุม”)

หลังจากนั้น ปรีดีไดอธิบายการตีความมาตรา ๓ ดวยถอยคําที่ไมตางกับรางญัตติที่


เตรียมไวนัก ที่นาสังเกตคือ แทบไมมีการอภิปรายจากสมาชิกสภาเลย ความจริง
ขอเสนอของรัฐบาลถาอภิปรายซักถามกันจริงๆ นาจะเห็นชองวางและปญหาได
โดยเฉพาะอยางยิ่งประเด็นที่วา “ในกรณีอาชญา ซึ่งหากจะบังเอิญเกิดขึ้น ก็จะฟอง
พระมหากษัตริยไมได แตสภามีอํานาจที่จะจัดการตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ เพื่อใหการ
เปนไปโดยยุตติธรรมได” นั้น หมายความวาอยางไร? คดีอาญาประเภทไหนบางที่อาจจะ
“บังเอิญเกิดขึ้น” ได? ในลักษณะใด? ถา “สภาไมใชศาล ไมมีอํานาจชําระคดี” แลวจะ
“จัดการ...โดยยุตติธรรม” ดวยวิธีใด? “ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ” ในที่นี้ คืออยางไร? ดู
เหมือนวาในสถานการณขณะนั้น แทบทุกคนอยากจะชวยรัฐบาล “สมานสามัคคี
ปรองดอง” กับพระมหากษัตริย และไมตองการเพิม ่ ปญหาดวยการพิจารณาญัตตินี้อยาง
ละเอียดเขมงวด ในความเปนจริง ขอเสนอตีความของรัฐบาลครั้งนี้ แทบไมมอ ี ะไรใหม
เลย ถาไมนับเรื่องคดีแพงที่เพิ่มขึ้นมาวาใหฟองกระทรวงวัง สวนใหญก็คือมาตรา ๖ ใน
รัฐธรรมนูญฉบับแรกนั่นเอง และไมตางอะไรกับคําอธิบายของพระยามโนเมื่อเสนอราง
รัฐธรรมนูญฉบับ ๑๐ ธันวาเอง (ยกเวนเรื่องใหสภา “จัดการ” ซึ่งกลับไปหามาตรา ๖
และเปลี่ยนจากพระคลังขางที่เปนกระทรวงวังในคดีแพง)

ในที่สุด ที่ประชุมลงมติเปนเอกฉันทตค ี วามมาตรา ๓ ตามที่รัฐบาลเสนอ แตกอนลงมติ


มีผูพาดพิงถึงกรณีถวัติ ฤทธิเดช ดังนี้

พระยาปรีดานฤเบศร ถามวา มีความจําเปนอยางไรที่จะตองตีความในที่นี้ เดี๋ยวนี้


นายถวัติฟองในหลวงแลวหรือยัง ถายังจะไปตีความทําไม

หลวงธํารงนาวาสวัสดิ์ ตอบวา เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระราช


ประสงคจะใหตีความ

นายกรัฐมนตรี กลาววา เรื่องนี้อยากพูดถึงญัตติเดิม

พระยาปรีดานฤเบศร กลาววา เรื่องฟองนายถวัติ ฤทธิเดช รัฐบาลไดสงฟอง

หลวงประดิษฐมนูธรรม กลาววา นี่เปนอีกปญหาหนึ่ง ไมเกี่ยวกับเรื่องที่สภาฯกําลังจะ


พิจารณาอยูนี้

นายกรัฐมนตรี กลาววา ผูใดอยากจะทราบเรื่องนี้ เมื่อเลิกประชุมแลว ขอใหมาถาม


ขาพเจาไดโดยสวนตัว เพราะไมตองการจะแถลงในที่น

ถวัติเขาเฝาขอพระราชทานอภัยโทษ ๒๕ (?) พฤศจิกายน ๒๔๗๖

ผมไมทราบวาการพูดแบบปริศนาของพระยาพหลเรื่องถวัติถก ู รัฐบาลฟอง ในที่ประชุม


สภาวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน หมายความวาอะไร แตเมื่อไมนานมานี้ ผมเพิ่งพบหลักฐานวา
แทบจะในเวลาเดียวกับที่รัฐบาลกําลังเสนอใหสภาตีความมาตรา ๓ เพื่อ “สมานสามัคคี
ปรองดอง” กับพระปกเกลาหลังกบฏบวรเดชนี้ ถวัติเองไดไปเขาเฝาพระปกเกลาถึง
สงขลาเพื่อขอพระราชทานอภัยโทษ วันที่เขาเฝาแนนอนไมเปนที่ทราบ แตคงประมาณ
วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน หรือกอนวันนั้นไมกี่วัน เพราะมีจดหมายลงวันที่นั้นของราช
เลขานุการในพระองคยืนยันเรื่องการเขาเฝา

ที่ ส.ข. ๖๕/๒๔๗๖

กรมราชเลขานุการในพระองค
สงขลา
วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๖

ราชเลขานุการในพระองค เรียน นายกรัฐมนตรี

ดวยนายถวัติ ฤทธิเดช กับ นาย ต. บุญเทียม ไดมาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ขอ


พระราชทานอภัยโทษ ในการที่ไดหมิ่นพระบรมเดชนุภาพนั้น ทรงพระราชดําริวา นายถ
วัติ ฤทธิเดช เขาใจผิดในเรื่องรัฐธรรมนูญ เพราะเปนของใหม และนาย ต. บุญเทียม
มิไดมีเจตนาราย เพราะฉะนั้นไมมีพระราชประสงคทจ ี่ ะเอาโทษแกนายถวัติ ฤทธิเดช กับ
พวก และไดทรงรับการขมาแลว คณะรัฐบาลจะจัดการใหมีพระราชหัตถเลขา
พระราชทานอภัยโทษโดยทันทีเมื่อศาลวินิจฉัยความเรื่องนี้แลว หรือจะจัดการโดยวิธีใด
ก็แลวแตจะเห็นสมควร วิธีที่จะจัดการอยางใดนั้น ขอใหอยูในความรับผิดชอบของ
รัฐบาลโดยแนชัด และอยาอางวา โปรดเกลาฯใหจด ั ดังนั้น และถาใหหนังสือพิมพลง
ขอความใหถูกตองชัดเจนดวยจะเปนการดีมาก

พระพิจิตรราชสาสน [?]
ลงนามแทน ราชเลขานุการในพระองค

ผมไมแนใจวาควรอธิบายจังหวะกาวนี้ของถวัติอยางไร เพราะไมมีหลักฐานนอกจากนี้
เหลืออยู (กรณี ต.บุญเทียม ผมก็ไมมีขอมูลวาไดไปทําอะไรไว ทําใหตองมาขออภัย
โทษดวย) นาสังเกตดวยวา ถวัตินาจะไดเขาเฝาในเวลาที่ใกลเคียงอยางมากกับตัวแทน
รัฐบาล “ทานวรรณ” และพระยานิติศาสตรไพศาล

รัฐบาลไมยอมถอนฟองถวัติ ปลายธันวาคม-ตนมกราคม ๒๔๗๖

อยางไรก็ตาม แมถวัติจะประสบความสําเร็จในการไดรับอภัยโทษจากรัชกาลที่ ๗ แต


รัฐบาลเองกลับไมยอมเลิกลมการฟองเขาในขอหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ดังที่บันทึก
ไวในรายงานการประชุมคณะรัฐมนตรีปลายเดือนตอมา:
๑๙. เรื่องนายถวัติ ฤทธิเดช ขอทราบวารัฐบาลจะถอนฟองคดีเรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุ
ภาพหรือไม (เนื่องจากรายงานประชุมครั้งที่ ๔๙/๒๔๗๖ ขอ ๑๕)

ปรึกษาเรื่องนายถวัติ ฤทธิเดช ยื่นหนังสือขอทราบวารัฐบาลจะถอนฟองคดีเรื่องหมิ่นพระ


บรมเดชานุภาพหรือไม เพราะไดไปเฝาทูลฯพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ขอ
พระราชทานอภัยโทษ และไดทรงรับขมาแลว

ที่ประชุมตกลงวาใหคงดําเนินคดีในศาลตอไป เพราะถาถอนฟองจะเปนตัวอยางที่ไมดี
และอาจเกิดความไมสงบได เมื่อศาลพิพากษาลงโทษแลวพระราชทานอภัยโทษใหก็ได
ใหเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเรียกตัวนายถวัติ ฤทธิเดชมาเจรจาเพื่อฟงคารมดูกอ
 น(๑๗)

ปรากฏวาเลขาธิการคณะรัฐมนตรี หลวงธํารงนาวาสวัสดิ์ ไดเรียกถวัติมาเจรจา “ฟงคารม


ดูกอน” ซึ่งหลวงธํารงไดรายงานกลับใหที่ประชุมทราบในสัปดาหตอมา

***************************************************************
***********

๑๓. เรื่องนายถวัติ ฤทธิเดช ขอทราบวารัฐบาลจะถอนฟองคดีเรื่องหมิ่นพระบรม


เดชานุภาพหรือไม (เนื่องจากรายงานประชุมครั้งที่ ๓/๒๔๗๖ สมัยที่ ๒ ขอ
๑๙)

นายเรือเอกหลวงธํารงนาวาสวัสดิ์ เสนอวา ตามที่ทป ี่ ระชุมนี้ตกลงใหเจรจากับนายถวัติ


ฤทธิเดช ในเรื่องที่ขอทราบวารัฐบาลจะถอนฟองคดีเรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพหรือไม
ซึ่งที่ประชุมเห็นวาใหคงดําเนินคดีในศาลตอไปนั้น ไดเรียกนายถวัติ ฤทธิเดชมาเจรจา
แลว นายถวัติวา ถาแมรัฐบาลจะใหดําเนินคดีตอ
 ไปแลว นายถวัติไมตองการ เพราะวิธีนี้
ไมเปนการชอบธรรม และถาแมรัฐบาลจะใชวิธีนี้ตอนายถวัติแลว นายถวัติก็จะขอเปน
จําเลยทางศาลและจะเปนโจทกฟอ  งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทางสภาตอไป

หมอมเจาวรรณไวทยากร วรวรรณ ทรงขอรับเรื่องนี้ไปพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง

ที่ประชุมตกลงอนุมัติ(๑๘)

รัฐบาลยอมยุติเรื่องโดยใหถวัติทําฏีกาขออภัยโทษอยางเปนทางการ ตนมกราคม
๒๔๗๖
ผมคิดวาในทางปฏิบัติ ตอใหถวัติทําตามคําขูที่วา ถารัฐบาลไมถอนฟอง เขา “จะเปน
โจทกฟอ  งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทางสภาตอไป” จริง ก็คงไมไดผลอะไรนัก
เพราะยากจะเปนไปไดวาสภาจะเปลี่ยนใจมารับฟงเรื่องของเขา ในแงนี้ คําขูของเขาคง
ไมทําใหรัฐบาลวิตกอะไร แตรัฐบาลคงตองการใหเรื่องนี้จบๆไปมากกวา จึงไดเปลี่ยนใจ
เรื่องถอนฟอง ควรกลาวดวยวา ถวัติเอง ขณะที่ขูวาจะฟองพระปกเกลาอีก อันที่จริง ได
ทําการติดตอกับพระปกเกลา ทํานองทวงถามวา ในเมื่อทรงใหอภัยโทษเขาแลว จะ
ไมใหอภัยโทษเรื่องคดีที่เขากําลังถูกฟองศาลดวยหรือ (ซึ่งความจริงถวัติยอมทราบวา
คดีเปนเรื่องของรัฐบาลไมใชของพระปกเกลา) ทําใหพระปกเกลาตองสั่งกระทรวงวังให
สอบถามมายังรัฐบาล

ที่ ๘๗/๑๗๙๒

วันที่ ๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๖


รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัง เรียน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ดวยนายถวัติ ฤทธิเดช ทูลเกลาฯถวายหนังสือวา เรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพและกบฏ


ตามที่ขอพระราชทานอภัยโทษแลว สวนคดีจะยังมีพระราชประสงคใหศาลดําเนินการ
ตอไปหรือจะพระราชทานอภัยโทษ มีความพิศดารดังสําเนาที่สงมาดวยแลว โปรดเกลา
ฯใหขาพเจานําขึ้นปรึกษาคณะรัฐมนตรีวา จะควรตอบอยางไร และมีพระราชกระแสวา
ความจริง การที่ถอนฟองคดีหรือดําเนินการไปอยางไรนั้น เปนหนาที่ของรัฐบาลจะ
จัดการ ไมใชพระราชธุระ

ฉะนั้นจึ่งเรียนมา เพื่อนําเขาปรึกษาในการประชุมคณะรัฐมนตรีตอ
 ไป

ขอแสดงความนับถือ
เจาพระยาวรพงศ(๑๙)
ในที่สุด เรื่องถวัตถ
ิ ูกนําเขาสูที่ประชุมคณะรัฐมนตรีอีกครั้งในวันที่ ๙ มกราคม ๒๔๗๖
โดยรัฐบาลตัดสินใจยุติเรือ ่ งดวยการใหถวัติทําฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษอยางเปน
ทางการ (การเขาเฝาขอและรับพระราชทานอภัยโทษที่สงขลาของถวัติไมเปนทางการ)
เพื่อจะไดใหลงพระปรมาภิไธยประกาศใหอภัยโทษกอนคดีสิ้นสุด

๑๐. เรื่อง การอภัยโทษนายถวัติ ฤทธิเดช

ปรึกษาเรื่องราชเลขานุการในพระองค เชิญพระราชกระแสมาวา นายถวัติ ฤทธิเดช กับ


นาย ต. บุญเทียม ไดไปเฝาทูลละอองธุลีพระบาทขอพระราชทานอภัยโทษในการที่ได
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ทรงพระราชดําริวา นายถวัติ ฤทธิเดช เขาใจผิดในเรื่อง
รัฐธรรมนูญ เพราะเปนของใหม และนาย ต. บุญเทียม มิไดมีเจตนาราย จึ่งไมมีพระราช
ประสงคทจ ี่ ะเอาโทษแกนายถวัติ ฤทธิเดช กับพวก และไดทรงรับการขมาแลว คณะ
รัฐบาลจะจัดการตอไปอยางไรก็แลวแตจะเห็นสมควร แตตอ  งเปนไปในความรับผิดชอบ
ของรัฐบาลโดยแนชัด

ที่ประชุมตกลงวา คดีทนี่ ายถวัติ ฤทธิเดชกับพวกเปนจําเลย ตองหาวาหมิ่นพระบรมเด


ชานุภาพนี้ เปนคดีความผิดสภาพมหาชน ซึ่งกรมอัยยการเปนโจทก มิไดเกี่ยวดวย
เอกชนใดๆเลย จึ่งเปนคดีซึ่งถาจะเทียบกับกฎหมายอังกฤษแลวก็อยูในเกณฑที่จะ
พระราชทานอภัยโทษได และการพระราชทานอภัยโทษนั้น ถาเทียบกับกฎหมาย
อังกฤษแลว จะพระราชทานกอนศาลพิพากษาลงโทษก็ได

เมื่อความปรากฏวาไมมีพระราชประสงคทจ
ี่ ะเอาโทษแกนายถวัติ ฤทธิเดช กับพวก และ
ไดทรงรับการขมาแลว ประการหนึ่ง และบัดนี้นายถวัติ ฤทธิเดช กับพวก ก็ไดทูลเกลาฯ
ถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษตามทางการแลวอีกประการหนึ่ง จึ่งเห็นดวยวา
สมควรจะไดรับพระราชทานอภัยโทษได ใหนําความกราบบังคมทูลพระกรุณาเพื่อทราบ
ฝาละอองธุลีพระบาทตอไป(๒๐)

เฉพาะประเด็นที่รายงานการประชุมกลาววา ถวัติ “ไดทูลเกลาถวายฎีกา...ตามทางการ


แลว” นั้น ผมเขาใจวาเปนการเขียนแบบลวงหนา (ตัวรายงานการประชุมทําขึ้นจริงหลัง
วันประชุม) เพราะผมพบหลักฐานการทําฎีกาดังกลาวหลังวันประชุมนี้ คือในวันตอมา
(๑๐ มกราคม) ดูเหมือนวา หลังประชุมคณะรัฐมนตรีเรื่องนี้แลว เลขาธิการ ครม.ได
จัดการนัดแนะใหถวัติไปพบ ม.จ.วรรณไวทยากร เพื่อใหทรงชวยทําฎีกาอยางเปน
ทางการ ดังที่ “ทานวรรณ” ทรงเลาในจดหมายถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี:

ดวน

กระทรวงการตางประเทศ
วังสราญรมย, กรุงเทพฯ

วันที่ ๑๐ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๖


เรียน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

หนังสือที่ น.๗๔๘๕/๒๔๗๖ ลงวันที่ ๙ เดือนนี้ วาไดนัดใหนายถวัติ ฤทธิเดช กับนาย


รอยตํารวจตรี วาศ สุนทรจามร ไปพบกับขาพเจาในวันที่ ๑๑ เดือนนี้นั้น ไดรับทราบแลว
เรื่องนี้ ขาพเจาเห็นวา ถาจัดการใหเสร็จไดกอนเสด็จไปในวันที่ ๑๒ จะเปนการการสดวก
เพราะวาถาจะตกไปอยูในพระวินิจฉัยของผูสําเร็จราชการแทนพระองคแลว อาจจะเนิ่น
ชาไปได ขาพเจาจึงไดเชิญนายถวัติ ฤทธิเดช กับนายรอยตํารวจตรี วาศ สุนทรจามร มา
พบขาพเจาในวันนี้ และไดทําความตกลงกันแลว คือใหนายถวัติ ฤทธิเดช ทําฎีกาขอ
พระราชทานอภัยโทษ ซึ่งนายถวัติ ไดทําขึ้น และขาพเจาตรวจดู เห็นวาเปนอันใชได
แลว จึงไดสงมาในที่นี้พรอมกับรางหนังสือเจาคุณนายก เพื่อกราบบังคมทูลในเรื่องนี้
ดวย ขอคุณหลวงไดเตรียมพระราชหัตถเลขาพระกรุณา จะไดทรงมีเวลาพระราชทาน
พระราชวินิจฉัยกอนวันที่ ๑๒

ขอแสดงความนับถืออยางสูง
วรรณไวทยากร วรวรรณ

วันตอมา พระยาพหลไดมห ี นังสือถึงพระปกเกลา (คงจะเปน “รางหนังสือเจาคุณนายก”


ที่ “ทานวรรณ” กลาวถึงในจดหมายขางตน) ทูลเกลาถวายฎีกาของถวัติ พรอมรางพระ
ราชหัตถเลขาพระราชทานอภัยโทษที่เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเตรียมไว หลังจากไดรับ
พระปกเกลาทรงลงพระปรมาภิไธยในรางนั้น แลวสงกลับมาใหรัฐบาล พรอมขอเสนอ
ใหมบางอยาง:

ที่ ๖๔๐/๒๔๕๔

กรมราชเลขานุการในพระองค

วันที่ ๑๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๖


เรียน พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี

ตามหนังสือที่ ก.๗๖๐๕/๒๔๗๖ ลงวันที่ ๑๑ เดือนนี้วา คดีนายถวัติ ฤทธิเดช กับพวก


หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งไมมีพระราชประสงคจะเอาโทษ ไดทรงรับการขมาแลว
บัดนี้นายถวัติ ฤทธิเดช กับพวกไดทูลเกลาฯ ถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษตาม
ทางการดวยแลว คณะรัฐมนตรีเห็นควรพระราชทานอภัยโทษ แมศาลยังมิไดพิพากษาก็
ดี ทานจะเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการ ดังในรางพระราชหัตถเลขาอภัยโทษนั้น
ความทราบฝาละอองธุลีพระบาทแลว

โปรดเกลาฯวา ในเรื่องนี้ ไดพระราชทานพระราชกระแสแลววา ไมมีพระราชประสงคจะ


เอาโทษ ฉะนั้น จะจัดการอยางไร ก็สุดแลวแตรัฐบาลจะเห็นควร ไมทรงขัดของ และได
ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชหัตถเลขาพระราชทานอภัยโทษในวันนี้ดวยแลว ดัง
เชิญมาพรอมหนังสือนี้

อนึ่งมีพระราชกระแสวา ทรงพระราชดําริเห็นควรเสนอตอรัฐบาลดวยวา คดี ม.ร.ว.อักษร


ศิลป สิงหรา ออกจะคลายกันกับเรื่องนี้ ม.ร.ว.อักษรศิลป สิงหรา ไดขอพระราชทานอภัย
โทษแลว แตไดโปรดเกลาฯใหตอบวา คดียังอยูในศาลจึงใหรอไวกอน ทรงเห็นวา ม.
ร.ว.อักษรศิลป สิงหรา ควรไดรับพระราชทานอภัยโทษดวย มิฉะนั้น คณะรัฐบาลจะถูกติ
เตียนวาเลือกที่รักมักทีช
่ ักและขาดความยุตติธรรม ไมมีพระราชประสงคจะเอาโทษแก
ม.ร.ว.อักษรศิลป สิงหรา แตก็ตอ  งถูกลงโทษจําคุกมานานพอใชแลว ทรงเห็นเปนการ
สมควรอยางยิ่ง ที่จะใหไดรับพระราชทานอภัยโทษเสียดวย พรอมกับนายถวัติ ฤทธิเดช
กับพวกนี้

อาทิตย
ลงนามแทน ราชเลขานุการในพระองค

เมื่อรับจดหมายนี้ เจาหนาที่กรมเลขาธิการ ครม.ไดบันทึกวา “มีพระราชกระแสเรื่อง ม.


ร.ว.อักษรศิลป ดวย เสนอนายกรัฐมนตรี [ลงชื่อ] ชํานาญอักษร ๑๒/๑๐/๗๖” ซึ่งเมื่อ
พระยาพหลไดรับ ก็มีคําสัง่ วา “ใหทําขึ้นเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณากอน จึงจะลงนาม
สนองพระบรมราชโองการ [ลงชื่อ] พระยาพหลฯ ๑๒ ม.ค. ๗๖”

ไมมีประกาศอภัยโทษ เรื่องลงเอยดวยการถอนฟองนั่นเอง ปลายมกราคม


๒๔๗๖

อยางไรก็ตาม ผมไมพบวามีการนําเรื่องนี้เขาสูที่ประชุมคณะรัฐมนตรีแตอยางใด
(รายงานการประชุมครม.ชวงนี้ยังมีอยูครบ) ยิ่งกวานั้น ผมไมพบวาไดมีการประกาศพระ
บรมราชโองการใหอภัยโทษแกถวัติซึ่งพระปกเกลาทรงลงพระปรมาภิไธยแลวนั้นในราช
กิจจานุเบกษาดวย ผมอยากจะเดาวา ประเด็นเรื่องอภัยโทษ ม.ร.ว.อักษรศิลป ที่
พระปกเกลาทรงเสนอขึ้นใหม อาจทําใหพระยาพหลหรือผูนํารัฐบาลบางคน (ไมใช ครม.
เพราะไมมีการนําเสนอ) เปลี่ยนใจเรื่องประกาศเปนพระบรมราชโองการใหอภัยโทษถวัติ
แลวหันมาใชวิธีสั่งใหอัยการถอนฟองแทน พวกเขาอาจจะถือไดวา พระปกเกลาเองทรง
มีพระราชกระแสวา “จะจัดการอยางไร ก็สุดแลวแตรัฐบาลจะเห็นควร ไมทรงขัดของ”
(หรือมิเชนนั้น พวกเขาก็อาจจะมีความเห็นภายหลังวา การอภัยโทษขณะคดีไมสิ้นสุดไม
ควรทําหรือทําไมได) ดังจดหมายตอไปนี้ จากเลขาธิการ ครม.ถึงรัฐมนตรีมหาดไทย

ที่ ข.๘๐๘๔/๒๔๗๖

กรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
วันที่ ๒๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๖

เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เรียน รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

ดวยนายถวัติ ฤทธิเดช กับพวก ไดทูลเกลาฯถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ ในคดี


ที่อัยยการเปนโจทก ฟองหาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
ใหอัยยการจัดการระงับคดีเรื่องนี้แลว ดั่งพระราชหัตถเลขาสั่งทายฎีกา ซึ่งไดเชิญมา
พรอมกับหนังสือนี้ เพื่อทานจักไดดําเนินการตอไป

ควรมิควรแลวแตจะโปรด
หลวงธํารงนาวาสวัสดิ์
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ความจริงที่หลวงธํารงเขียนวา “โปรดเกลาฯใหอัยยการจัดการระงับคดีเรื่องนีแ
้ ลว” นั้น
ไมตรงนัก ดังที่เห็นแลว ทรงลงพระปรมาภิไธยใหอภัยโทษตางหาก เนื่องจากเราไมมี
ฎีกาที่ถวัติทําถวาย (โดยความชวยเหลือของ “ทานวรรณ”) เราจึงไมทราบวา
พระปกเกลาเขียนทายฎีกานั้นวาอยางไร แตเดาจากจดหมายราชเลขานุการในพระองค
วันที่ ๑๑ มกราคม นาจะเพียงทรงเขียนทํานองวา “ไมมีพระราชประสงคจะเอาโทษ”
เทานั้น ไมถึงกับเจาะจงวาใหอัยยการถอนฟอง (เพราะทรงเห็นวา “จะจัดการอยางไร ก็
สุดแลวแตรัฐบาล” มากกวา)

ผมไมมีหลักฐานเกี่ยวกับกรณีนี้อีก แตเขาใจวา อัยการก็คงถอนฟองไปในปลายเดือน


มกราคม ๒๔๗๖ และเรื่องคงยุติเชนนั้น

ขอสังเกตบางประการจากกรณี ถวัติ ฤทธิเดช ฟอง พระปกเกลา

โดยสวนตัว ผมไมมีคําอธิบายกรณี ถวัติ ฤทธิเดช ฟอง พระปกเกลา นี้ ผมรูสึกวา


หลักฐานที่มอี ยูไมเพียงพอจะบอกวาไดวา ถวัติทําเพราะอะไร? (ไมใชฟองศาลอยางที่
เปนตํานาน เพียงพยายามยื่นฟองตอสภาแตยื่นไมสําเร็จ ในที่สุด เรื่องนี้เปนเพียงขาวจะ
ยื่นฟองตอสภาเทานั้น) แลวทําไมเขาจึงไปขอพระราชทานอภัยโทษ? ความสนใจของ
ผมอยูที่ปญหาเชิงกฎหมายและเชิงหลักการเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตยที่กษัตริยเปนประมุข” ซึ่งกรณีนี้เสนอขึ้นมามากกวา แตดังที่เห็นแลว
วา แมในขณะที่เกิดเหตุการณ ปญหานี้ไมไดรับความสนใจหรือถกเถียงกันจริงจังเทาใด
นัก ภายหลังตอมา เมื่อนักวิชาการเขียนเรื่องนี้หรือเขียนเกี่ยวกับถวัติ ก็สนใจที่จะ
นําเสนอในเชิงตํานานผูกลา (heroic tale) เปนสําคัญ ตอไปนี้ ผมจะขออภิปรายเพื่อ
แสดงใหเห็นประเด็นทางกฎหมายและทางหลักการที่ผมสนใจอยางสั้นๆ

ผมคิดวา รัฐบาลในขณะนั้นพูดถูกวา โดยหลักการ รัฐที่มีกษัตริยเปนประมุข และทําใน


นามกษัตริย (“รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว”, “ศาลของ...”) กษัตริยถก ู ฟอง
ไมได แตหลักการนี้วางอยูบน (หรือตองถูกกํากับโดย) หลักการอีกขอหนึ่งคือ กษัตริย
ไมสามารถทําอะไรไดเอง คือทําอะไรโดยไมมี “ผูรับสนองพระบรมราชโองการ” ไมได
ผมคิดวา คําอธิบายเรื่องนี้ของรัฐบาลไดบดบังประเด็นสําคัญนี้ไป เพราะไปเนนเรื่อง
“รัฐบาล-ศาลของพระเจาอยูหัว” และเรื่องความแตกตางระหวางคดีแพงกับคดีอาญา
ความจริงทั้งคดีแพงและอาญา ฟองกษัตริยไมไดทั้งคู ประเด็นไมเกี่ยวกับวาเปนแพง
หรืออาญา ที่ฟองไมไดเพราะ “กษัตริยไมสามารถทําผิดได” เนื่องจากไมสามารถทํา
อะไรไดเองหรือตามอําเภอใจตัวเอง และดังนั้น ก็ไมจําเปนตองรับผิดชอบหรือถูกฟอง
ได (แมแตเรื่องการพูดตอสาธารณะ พระราชดํารัสตางๆตองผานการเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี นี่คือสิ่งที่ปฏิบัติจริงในสมัยนั้น) คือจะทําอะไรตองมีผูรับสนอง และผูรับ
สนองนี้ แทจริง คือผูอนุญาตใหทํา ดังนั้น ถาการกระทํานั้นผิด ผูนั้นจึงควรเปนผูถูกฟอง
แมจะทําในนามกษัตริยกต ็ าม

แตถาในกรณีที่กษัตริยท ําอะไรเอง โดยไมมีผูรับสนองหรือผูอนุญาต แลวการกระทํานั้น


ผิด ไมวาจะอาญาหรือแพงก็ตาม ก็ตองถือวากษัตริยทําผิดตั้งแตตน ในแงทําอะไรเอง
(ล้ําเกินขอบเขตที่จะทําไดในฐานะกษัตริยใตรัฐธรรมนูญ) อาญาหรือแพงไมมี
ความสําคัญตอเรื่องนี้ คือ ถาการกระทํานั้นมีผลกระทบในทางอาญา แตถามีผูรับสนอง
การฟอง ความจริงก็ไมจําเปนตองฟองสภา ฟองศาลอาญาก็ได แตฟองผูรับสนอง ไมใช
ฟองกษัตริย ในทางกลับกัน ถึงเปนความผิดทางแพง ถาไมมีผูรับสนอง ก็ไมใชตองฟอง
กระทรวงวัง เพราะความผิดเปนเรื่องอื่นตั้งแตตน (คือการไมมีผูรับสนอง) จะฟอง
กระทรวงวังก็ไมสามารถทําได ผมพูดเชนนี้ ไมใชพูดลอยๆ แตมีกรณีที่เกิดขึน้ จริง คือใน
ป ๒๔๘๒ รัฐบาลมาคนพบยอนหลังวา ในชวงป ๒๔๗๕-๒๔๗๗ ที่พระปกเกลายังเปน
กษัตริยนั้น ทรงแอบโยกยายทรัพยสินในกรมพระคลังขางที่จํานวนหนึ่งไปไวในบัญชี
ธนาคารสวนพระองคในตางประเทศ โดยไมมีผูรับสนอง (คือทรงทําเอง ไมมีใคร
อนุญาต) รัฐบาลจึงไดดําเนินการฟองรองทางศาลแพง (ฟองในฐานะเปนเอกชน เพราะ
สละราชยแลว) แตสมมุตวิ า การคนพบนี้เกิดขึ้นในระหวางที่ยังทรงเปนกษัตริยละ?
ความผิดในลักษณะแพงของพระปกเกลาที่เปนกษัตริยนี้ จะใหฟองพระคลังขางที่หรือ
กระทรวงวังหรือ? ฟองพระคลังขางที่วากษัตริยยักยอกเงินพระคลังขางที่โดยพระคลัง
ขางที่ไมรู? จะเห็นวา ถึงเปนความผิดทางแพง ถาความผิดนั้น เกิดขึ้นโดยไมมีผูรับ
สนอง คือเกิดขึ้นเพราะกษัตริยทําอะไรไปเอง เรื่องก็ไมเกี่ยวกับวาตองฟองพระคลังขาง
ที่หรือกระทรวงวังตอศาลแพง แตจะตองพิจารณากอนวา ควรจะปฏิบัตอ ิ ยางไรกับการที่
กษัตริยทําผิดดวยการทําอะไรไปเองเชนนี้ ใครจะพิจารณา? ผมคิดวา ในกรณีเชนนี้ (ซึ่ง
แมจะมีตนตอมาจากคดีลก ั ษณะแพง) คงตองใหสภาพิจารณา

สรุปแลว ในความเห็นของผม ถามีผูรับสนอง ไมวาจะแพงหรืออาญาก็ฟองไมได และ


ไมจําเปนที่จะตองแยกระหวางฟองศาลในคดีแพงกับฟองสภาในคดีอาญา (แบบที่
รัฐบาลสมัยนั้นอธิบาย) ฟองศาลไดทั้งคู แตฟองผูรบ ั สนองไมใชกษัตริย ในทางกลับกัน
ถาไมมีผูรับสนอง ก็ควรใหฟองสภา ไมวาคดีนั้นเปนลักษณะใด เพราะตองใหวินิจฉัยวา
กษัตริยทําผิดหรือไม ที่ละเมิดขอบขายอํานาจของตนในฐานะกษัตริยใตรัฐธรรมนูญ เมื่อ
มองเชนนี้ จะเห็นวา สิ่งที่เปนจุดเริ่มตนของกรณีถวัติฟองพระปกเกลาคือ “พระบรมราช
วินิจฉัยเคาโครงการเศรษฐกิจ” นั้น พระปกเกลาทําไปโดยไมไดผานการเห็นชอบจาก
ใคร ไมมีใครลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในเอกสารนั้น (ถามีผูลงนามรับสนอง
ถวัติก็ไมมีสทิ ธิ์ฟองพระปกเกลา แตตอ  งฟองพระยา มโนหรือใครก็ตามที่ลงนามรับสนอง
นั้นแทน) ในแงนี้ ทรงทําผิดหรือทําเกินขอบเขตอํานาจในฐานะกษัตริยใตรัฐธรรมนูญ
(ตองไมลืมวา เรากําลังพูดถึงเอกสารที่โฆษณาเผยแพรสูสาธารณะในนามกษัตริย ไมใช
การแลกเปลี่ยนความเห็นกันภายใน ระหวางกษัตริยกับรัฐบาล ถาเปนเพียงการ
แลกเปลี่ยนความเห็นภายใน คือพระปกเกลาเขียนวิจารณปรีดี แลวอภิปรายกันภายใน ก็
ยอมทรงทําได ไมเกินขอบเขต) มองในแงนี้ ตองกลาววาเปนความ irony ทีว่ า ความผิด
ฐาน “หมิ่นประมาท” ซึ่งถวัติคิดจะฟองพระปกเกลาตอสภานั้น แทจริง เปนความผิดที่
เล็กกวาความผิดจริงๆ ที่พระปกเกลาทรงทํา (คือทําอะไรดวยพระองคเอง) ความผิดหลัง
นี้ เปนความผิดในเชิงหลักการใหญของระบอบการปกครองหลังการปฏิวัติ ๒๔๗๕(๒๑)

สมัชชาแหงชาติ ๒๕๑๖ หรือ วิธีทํารัฐประหารโดยไมใหคนรูตัว

วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๑๖ ไดมีประกาศทางราชการฉบับหนึ่ง ดังนี้

ประกาศ
แตงตั้งสมาชิกสมัชชาแหงชาติ
ภูมิพลอดุลยเดช ปร.

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหดิลธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร


สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร

มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหประกาศวา โดยที่สถานการณปจจุบัน
ยังไมเปนที่นาไววางใจ และรากฐานการปกครองราชอาณาจักรกอนที่จะไดประกาศใช
รัฐธรรมนูญนั้นก็ยังไมมั่นคงพอทีจ
่ ะทรงวางพระราชหฤทัยได นอกจากนั้น ยังมีพระราช
ประสงคทจี่ ะใหประชาราษฎรไดเขามามีสวนในการวางรากฐานแหงการปกครองเสียแต
ตนมือ ในการนี้จะตองแตงตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติขึ้นใหเหมาะสมกับ
สถานการณปจจุบัน และโดยที่มีพระราชดําริวา สภานิติบัญญัติแหงชาตินั้น ควรจะ
ประกอบดวยบุคคลผูเปนตัวแทนกลุมผลประโยชน อาชีพ วิชาความรู ตลอดจนทรรศนะ
และแนวความคิดทางการเมืองใหมาก และกวางขวางที่สุด

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหตั้งสมัชชาแหงชาติขึ้น ประกอบดวยบุคคล
ผูมีรายนามทายประกาศพระบรมราชโองการนี้ และใหสมัชชาแหงชาติประชุมกันเลือก
บุคคลที่เหมาะสม จากสมาชิกสมัชชาแหงชาติขึ้นจํานวนหนึ่งแลวนํารายชื่อขึ้นกราบ
บังคมทูลพระกรุณาเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯแตงตั้งบุคคลเหลานั้นเปนสมาชิกสภา
นิติบัญญัติแหงชาติตอไป

ประกาศมา ณ วันที่ ๑๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ เปนปที่ ๒๘ ในรัชกาลปจจุบัน

ผูรับสนองพระบรมบรมราชโองการ
สัญญา ธรรมศักดิ์
นายกรัฐมนตรี

ตามดวยรายชื่อสมาชิกสมัชชาแหงชาติที่ไดรับแตงตั้งตามประกาศนี้จํานวน ๒๓๔๖
รายชื่อ(๑)

ดูอยางผิวเผิน ประกาศฉบับนี้ไมแตกตางจากประกาศทางราชการจํานวนมาก คือทํา


ภายใตพระปรมาภิไธย และมีผูรับสนองพระบรมราชโองการตอนทาย ซึ่งในทางเปนจริง
ตามประเพณีการปกครองของไทยตั้งแตหลัง ๒๔๗๕ เปนตนมา ก็หมายความวา เปน
การกระทําหรือตัดสินใจของรัฐบาล (โดยรูปธรรมคือคณะรัฐมนตรี) อยางไรก็ตาม ถา
อานเนื้อความของประกาศอยางละเอียด จะพบวา มีบางตอนที่ชวนใหประหลาดใจได
เชน ที่กลาววา “สถานการณปจจุบัน . . . ยังไมมั่นคงพอทีจ
่ ะทรงวางพระราชหฤทัยได”
หรือ “มีพระราชประสงคทจ ี่ ะใหประชาราษฎร . . .” เปนตน ราวกับวา นี่เปนประกาศแบบ
เดียวกับสมัยกอน ๒๔๗๕ ที่เกิดจากพระราชดําริของกษัตริย ไมใชเกิดจากรัฐบาลที่
เพียงทําในนามกษัตริย

ที่สําคัญยิ่งกวานั้น ตามประเพณีหลัง ๒๔๗๕ ประกาศซึ่งทําในนามกษัตริย เนื่องจาก


เปนกษัตริยภายใตกฏหมาย โดยเฉพาะคือภายใตรฐ ั ธรรมนูญ ประกาศนั้นจึงตองมีการ
อางขอกฎหมายดวย (สมัยสมบูรณาสิทธิราชไมตองอางเพราะพระราชดําริกษัตริยคือ
กฎหมาย) แตจะเห็นวาประกาศฉบับนี้ทั้งฉบับ ไมมีตอนใดเลยที่อางวา “อาศัยอํานาจ
ตาม . . .” หรือ “โดยคําแนะนําและยินยอมของ . . .” แตกลาววา “จึงทรงพระกรุณา
โปรดเกลาโปรดกระหมอม . . .” โดยตรงเลย

อยางไรก็ตาม ในสมัยนั้น (ธันวาคม ๒๕๑๖) ความประหลาดของเนื้อความของประกาศ


ดังกลาว ไมไดถูกตั้งเปนขอสังเกตโดยทั่วไป มีการพูดถึงความประหลาดของการแตงตั้ง
สมัชชาแหงชาตินี้ในแงของรัฐบาลอยูบาง – คือตีความวานี่เปนเรื่องของรัฐบาล – ดังจะ
ไดเห็นตอไป แตไมมีใครพูดถึงความประหลาดในสวนที่พาดพิงถึงพระมหากษัตริยนี้ ใน
ความเปนจริง การแตงตั้งสมัชชาแหงชาติป ๒๕๑๖ เปนเหตุการณสําคัญอยางยิ่งครั้ง
หนึ่งในประวัติศาสตรของระบอบการเมืองไทยหลัง ๒๔๗๕ โดยเฉพาะในประเด็นที่
เกี่ยวกับสถานะและบทบาทของสถาบันกษัตริยในระบอบการเมืองนั้น
การเปลี่ยนรัฐบาลเมื่อ ๑๔ ตุลา: ปญหาในแงกฎหมาย

หลังการปะทะระหวางนักศึกษาประชาชนกับทหารตํารวจบนทองถนนในหลายจุดของ
กรุงเทพในวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ในตอนค่ําวันนั้น ก็มีประกาศวาจอมพลถนอม กิตติ
ขจร ไดลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี และมีการตั้งสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนแทน ดังนี้

ประกาศ
แตงตั้งนายกรัฐมนตรี
ภูมิพลอดุลยเดช ปร.

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให


ประกาศวา

ตามที่ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯแตงตั้ง จอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี


ตามประกาศลงวันที่ ๑๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ แลวนั้น

บัดนี้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ไดกราบถวายบังคมลาออกจากตําแหนง เมื่อวันที่ ๑๔


ตุลาคม ๒๕๑๖ และทรงพระราชดําริวา นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนผูที่สมควรไววางพระ
ราชหฤทัยที่จะใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๔ แหงธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร
พุทธศักราช ๒๕๑๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯแตงตั้ง นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เปน
นายกรัฐมนตรีบริหารราชการแผนดินตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ เปนปที่ ๒๘ ในรัชกาลปจจุบัน

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
ทวี แรงขํา
รองประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติ
ปฏิบัติหนาที่แทนประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติ(๒)

ขณะเกิตเหตุการณ ๑๔ ตุลานั้น รัฐธรรมนูญป ๒๕๑๕ (ที่เรียกวา “ธรรมนูญการ


ปกครองราชอาณาจักร”) ซึ่งออกโดยคณะรัฐประหาร ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๔ ยังใช
บังคับอยู มาตรา ๑๔ ของรัฐธรรมนูญฉบับนั้นระบุวา “พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง
นายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคําแนะนํา และมีจํานวน
ตามสมควรประกอบเปนคณะรัฐมนตรี มีหนาที่บริหารราชการแผนดิน” ขณะที่มาตรา ๑๘
วรรคสอง ระบุวา “การแตงตั้งนายกรัฐมนตรี ใหประธานสภาเปนผูลงนามรับสนองพระ
บรมราชโองการ”

การลาออกของถนอม และการแตงตั้งสัญญา เปนนายกแทน เปนไปตามรัฐธรรมนูญ


เพียงใด? เนื่องจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๑๕ เขียนโดยคณะรัฐประหารในลักษณะที่ใหเปนการ
“ชั่วคราว” คือมีระบุใหคณะรัฐมนตรีเสนอรางรัฐธรรมนูญใหมแกสภานิติบัญญัติ ดังนั้นจึง
ไมมีบทกําหนดเกี่ยวกับการพนตําแหนงของตัวนายกรัฐมนตรี (ซึ่งเทากับไมมีกําหนด
เกี่ยวกับการเปลี่ยนรัฐบาล) พูดงายๆคือ คาดหวังวาคนที่เปนอยู (ถนอม) จะอยูไปจนมี
รัฐธรรมนูญใหม มีแตบทกําหนดเกี่ยวกับการพนตําแหนงของรัฐมนตรีเปนรายบุคคล
(มาตรา ๑๔ วรรคสอง “พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจที่จะใหรัฐมนตรีพนจาก
ตําแหนงตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคําแนะนําให”)

การลาออกของถนอมในวันที่ ๑๔ ตุลาจึงไมใชสิ่งที่รัฐธรรมนูญ ๒๕๑๕ คาดการณไว


อยางไรก็ตาม ไมอาจกลาววาเปนสิ่งที่ “ผิด” รัฐธรรมนูญแตอยางใด ดังนั้น การที่ทรง
แตงตั้งสัญญาเปนแทน ก็สามารถกลาวไดวา เปนไปตามมาตรา ๑๔ จริง (รัฐธรรมนูญ
ไมไดระบุวา ตองทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของสภาหรือของใคร แมวาการระบุให
ประธานสภาเปนผูรับสนองฯ ตามประเพณีควรหมายถึงตามคําแนะนําของสภา แต
เนื่องจากสภาเองเปนสภาแตงตั้งโดยคณะรัฐประหาร จึงเปนที่เขาใจกันโดยปริยายวา ถึง
ที่สุดแลว คณะรัฐประหารเปนผู “แนะนํา” ใหทรงแตงตั้ง เมื่อหัวหนาคณะรัฐประหารคือ
ถนอม-ประภาสตองเสียตําแหนงไป พระราชอํานาจในการจะทรงตั้งนายกรัฐมนตรีโดยไม
ตองทําตามคําแนะนําของใครตามรัฐธรรมนูญนี้ ที่เคยเปนเพียงอํานาจในนาม จึง
กลายเปนอํานาจจริงไป) แตนาสังเกตวา การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการของทวี
แรงขํา นาจะผิดรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๘ วรรคสอง ที่ระบุใหประธานสภาเทานั้นเปนผูรับ
สนองพระบรมราชโองการ เหตุใดจึงไมสามารถให พลตรีศิริ ศิริโยธิน ประธานสภาเปนผู
ลงนามได? ดูเหมือนวาเขากําลังอยูในตางประเทศ ซึ่งถาเปนสถานการณปรกติ ถนอม
แมจะลาออกยอมสามารถรักษาการณในตําแหนงนายกตอไป จนกวาศิริจะกลับมาลง
นามรับสนองพระบรมราชโองการตั้งสัญญาโดยถูกตองตามรัฐธรรมนูญ เห็นไดชัดวา ไม
มีพระราชประสงคจะรอเชนนั้น(๓)

แนนอน ในสถานการณตอนนั้น การที่ทรงแตงตั้งสัญญาเปนนายก ไดรับการตอนรับ


อยางยินดีจากนักศึกษาประชาชนผูรวมคัดคานถนอม-ประภาสเปนสวนใหญ และไมมีใคร
สนใจเกี่ยวกับปญหาเชิงกฎหมายแบบนี้ (รัฐธรรมนูญ ๒๕๑๕ เปนสิ่งที่พวกเขาไมยอมรับ
ตั้งแตแรกอยูแลว) เรื่องนี้รวมไปถึงกรณีแตงตั้งสมัชชาแหงชาติ (และสภานิติบัญญัติ
ใหมที่ไดมาจากสมัชชาแหงชาติ) ที่ผมจะพูดถึงตอไปดวย แมวาในกรณีหลังนี้ การ “ผิด
รัฐธรรมนูญ” จะมีลักษณะรุนแรง ยิ่งกวากรณีแตงตั้งสัญญา (ที่ใหทวีลงนาม แทนที่จะ
เปนศิริ) การที่ผมยกเรื่องนี้ขึ้นมาพูด ประเด็นไมใชอยูที่วาเปนเรื่องการ “ผิดรัฐธรรมนูญ”
คือไมใชปญหาในแงกฎหมาย แมวาผมจะคิดวาปญหานี้มีความนาสนใจอยูมาก แตที่
สําคัญคือ ลักษณะ “ซอนเรน” ของการ “ผิดรัฐธรรมนูญ” นั้น หรือถาจะพูดอีกอยางหนึ่ง
คือ ลักษณะซอนเรนของการ “รัฐประหาร” นั้น เพราะถาเรานิยามวารัฐประหารหมายถึง
การยึดหรือเปลี่ยนอํานาจสูงสุดของรัฐ (รัฐบาลหรือรัฐสภา) ดวยวิธีการนอกบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญที่ใชอยูในขณะนั้น กรณีสมัชชาแหงชาติก็เปนการ “รัฐประหาร” ที่คนไม
รูตัว ยิ่งกวานั้นการ “รัฐประหาร” ครั้งนี้ไมใชการผิดรัฐธรรมนูญที่ใชอยูในขณะนั้นเทานั้น
(เหมือนการรัฐประหารครัง้ อื่นๆกอนและหลังจากนัน ้ สวนใหญ) แตเปนการผิดระบอบการ
ปกครองแบบกษัตริยใตรฐ ั ธรรมนูญที่การปฏิวัติ ๒๔๗๕ พยายามสรางขึ้น(๔)

รัฐบาลพระราชทานกับรัฐสภาคณะรัฐประหารแตงตั้ง

หลังจากคณะทหารของผิน-เผาและจอมพล ป. ทํารัฐประหาร ๘ พฤศจิกายน ๒๔๙๐


ชวงแรกไดใหพรรคประชาธิปตยซึ่งเปนพวกนิยมเจา (Royalists) จัดตั้งรัฐบาลโดยควง
อภัยวงศเปนนายก จนถึงวันที่ ๖ เมษายน ๒๔๙๑ จึงบังคับ (ที่เรียกกันวา “จี้”) ใหควง
กับพวกลาออก แลวตั้งรัฐบาลของคณะทหารเองใหจอมพล ป เปนนายก อยางไรก็ตาม
ในระหวาง ๕ เดือนนั้น รัฐบาลควงไดดําเนินการบางอยางที่เปนการสรางอํานาจทาง
การเมืองของพวกนิยมเจา ซึ่งไดกลายเปนเหมือน “หอกขางแคร” ตกทอดใหกับรัฐบาล
ของคณะทหารที่เขามาแทน ไดแก แตงตั้งวุฒิสมาชิก จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎร (ทําใหประชาธิปตยไดเสียงขางมาก) และรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึ่งแมจะ
ประกาศใชหลังจากรัฐบาลนิยมเจาถูก “จี้” ออกไปแลว (คือประกาศใชในป ๒๔๙๒) แต
เนื่องจากบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญนั้นกําหนดใหวุฒิสภาและสภาผูแทนที่เลือกตั้ง
ไปแลวสมัยรัฐบาลควง อยูในตําแหนงตอไปจนครบวาระ (๖ และ ๔ ป) รัฐบาลของจอม
พล ป และคณะรัฐประหารที่เขามารับตําแหนงจึงตองเผชิญกับรัฐสภาที่พวกนิยมเจามี
บทบาทนํา รัฐธรรมนูญ ๒๔๙๒ ยังหามขาราชการประจําซึ่งเปนฐานอํานาจของคณะ
รัฐประหาร ดํารงตําแหนงทางการเมืองดวย สรางความลําบากในการครองอํานาจ
โดยตรงของคณะรัฐประหาร

อาจกลาวไดวา สถานการณทางการเมืองหลัง ๑๔ ตุลา มีสวนคลายกับสถานการณหลัง


ป ๒๔๙๑ แตสลับกัน คือในหลวงทรงแตงตั้งสัญญาเปนนายก จัดตั้ง “รัฐบาล
พระราชทาน” ประกอบดวยผูที่ทรงไววางพระราชหฤทัยหรือมีความใกลชิดกับแวดวงราช
สํานัก แตขณะเดียวกัน สภานิติบัญญัติซึ่งตั้งขึ้นจากรัฐธรรมนูญป ๒๕๑๕ ของกลุม
ถนอม-ประภาส ยังคงอยู ที่สําคัญ รัฐธรรมนูญ ๒๕๑๕ ไมมีบทบัญญัติใหยุบสภาเลย มี
เพียงขอกําหนดใหพระมหากษัตริยทรงตั้งสมาชิกสภาไดทั้งชุดเมื่อครบตามวาระ ๓ ป
หรือเปนรายบุคคลถามีผูพนสภาพกอนวาระ(๕) (เราจะกลับมาที่ประเด็นสําคัญนี้อีกครั้ง
เมื่อพิจารณาถึงขออางในการตั้ง “สมัชชาแหงชาติ”)

ความแตกตางสําคัญระหวางหลังป ๒๔๙๑ กับหลัง ๑๔ ตุลาคือ พวกนิยมเจาที่มีบทบาท


นําในสภาป ๒๔๙๑ ยังเปนกลุมการเมืองที่เอาการเอางาน แตถนอม-ประภาสซึ่งเปนผูตั้ง
สภาที่ตกทอดมาถึงหลัง ๑๔ ตุลาเปนกลุมที่สูญเสียอํานาจทางการเมือง ผูนําตองหนีไป
ตางประเทศ และอํานาจนําในกองทัพก็เปลี่ยนไปอยูในมือของกลุมกฤษณ สีวะราแลว
(สมาชิกสภาของถนอม-ประภาสสวนใหญเปนทหารที่ยังตองขึ้นกับระบบบังคับบัญชา)
กลาวไดวาแมเปนสภาที่กลุมถนอม-ประภาสตั้งไว ก็ไมไดมีทาทีจะเปน “หอกขางแคร”
ใหกับ “รัฐบาลพระราชทาน” แตอยางใด

ในความเปนจริง ตลอดระยะ ๑ เดือนเต็มๆหลังเหตุการณ ๑๔ ตุลาเกือบไมมีใครพูดถึง


สภานี้ เพราะทุกคนคาดวารัฐบาลสัญญาจะเรงรางรัฐธรรมนูญใหมใหเสร็จและเสนอให
สภารับรองบังคับใชโดยเร็ว จะไดมกี ารเลือกตั้งสภาใหมตามรัฐธรรมนูญใหม ในระยะ
ดังกลาวสภาก็ประชุมกันไปเชนเคย ทั้งยังไดผานรางพระราชบัญญัติที่รัฐบาลสัญญา
เสนอเชน พ.ร.บ.นิรโทษกรรมนักเรียนนักศึกษาในเหตุการณ ๑๔ ตุลา โดยไมมีปญหา
อะไร (ผมพูดเชนนี้ ไมใชตองการบอกวาสภานี้ดี แตตองการชี้ใหเห็นขอเท็จจริงเทานั้น)

การสรางกระแสลมสภา

แตแลวในวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๑๖ หนังสือพิมพประชาธิปไตยไดรายงานขาวใน


หนา ๑ (ไมใชขาวใหญสุด) วามี “ชมรมบัณฑิต” ทําจดหมายเปดผนึกถึงสมาชิกสภานิติ
บัญญัติผานประชาธิปไตย ขอใหพิจารณาตัวเองลาออกจากตําแหนง โดยใหเหตุผล ๔
ขอ คือ

(๑) เทาที่ผานมา สภานิติบัญญัติไมเคยมีทีทาวาสามารถปฏิบัติงานเพื่อชาติและ


ประชาชนอยางแทจริง เพราะมีสมาชิกกลุมใหญยืนอยูขางฝายทรราชยอยางแข็งขัน

(๒) เมื่อผูแตงตั้งสมาชิกสภาฯเปนบุคคลที่ประชาชนไมพึงปรารถนา จึงเปนเหตุให


ประชาชนไมไววางใจ แมวาสมาชิกบางคนอาจเปนคนดี แตเมื่อทํางานเปนกลุมก็พลอย
ทําใหประชาชนมีความของใจอยูตลอดไป
(๓) เพื่อแสดงวาเปนผูสํานึกในมารยาทของนักการเมืองที่มีอด ุ มการเพื่อประชาธิปไตย
และรับผิดชอบตอการกระทําที่มีสวนเกี่ยวของกับงานที่เคยทําประโยชนใหบุคคลที่
ประชาชนไมพึงปรารถนา จึงควรพรอมใจกันลาออก เพื่อเปดโอกาสใหรัฐบาลชุดนี้
แตงตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติชุดใหม ผูที่มีคุณสมบัติครบถวนยอมจะไดรับ
เลือกเขามาอีก

(๔) ในสายตาของประชาชน สมาชิกสภานิติบัญญัติเปนหุนใหกลุมผูเปนศัตรูของ


ประชาชนอยูตลอดเวลา แมบุคคลเหลานั้นออกจากเมืองไทยไปแลว แตก็ยากที่จะ
ประชาชนจะเชื่อถือได(๖)
ไมมีหนังสือพิมพฉบับอื่นรายงานเรื่องนี้ ในความเปนจริง นี่คงเปนเพียง “จดหมายจาก
ผูอาน” ของใครบางคนเพียงคนเดียวถึงหนังสือพิมพฉบับเดียว ซึ่งเปนเรื่องปรกติ ที่นา
ประหลาดคือการที่ประชาธิปไตยเลือกทํา “จดหมายจากผูอาน” ฉบับเดียวนี้ใหเปนขาว
โดยที่เจาของจดหมายนั้น ผูใชชื่อวา “ชมรมบัณฑิต” คือใครก็ไมมก ี ารอธิบายหรือระบุ
ตัวตนเลยทั้งในรายงานขาวครั้งแรกนี้หรือครั้งตอๆมา (ในรายงานครั้งแรก ประชาธิปไตย
ขึ้นตนในลักษณะบอกสถานที่เกิดขาววา “ธรรมศาสตร – ๒๔ พฤศจิกายน / กรรมการ
ชมรมบัณฑิต . . .” แตคําวา “ธรรมศาสตร” ในที่นี้ คงจะเปนเพียง “ที่อยู” ทีผ
่ ูเขียน
จดหมายเปดผนึกดังกลาวใสไวเทานั้น (วันที่คือวันที่ขึ้นตนจดหมาย) จนถึงทุกวันนี้ผมก็
ยังหาขอมูลไมไดวา “ชมรม” ดังกลาวคือใคร

วันตอมา ไมมีหนังสือพิมพฉบับใดหยิบ “ขาว” นี้มารายงาน แตประชาธิปไตยติดตาม


เรื่องดวยการไปสัมภาษณ มารุต บุนนาค ซึ่งเปนนายกสมาคมทนายความและ ๑ ใน
สมาชิกสภานิติบัญญัติชุดที่กําลังอยูในตําแหนงดวย มารุตกลาววาจะทําหนังสือถึง
ประธานสภาขอใหมีการเรียกประชุมสมาชิกสภาเปนกรณีพิเศษเพื่อพิจารณาขอเรียกรอง
ของ “ชมรมบัณฑิต” เขากลาววา “ถาจะมีการลาออกก็จะตองลาออกกันทั้งหมด แลวให
รัฐบาลชุดปจจุบันแตงตั้งของตนขึ้นใหม ถาลาออกเพียงคนหรือสองคนก็ไมมีประโยชน”
เพื่อสนับสนุนเรื่องนี้เขาเองจะหยุดรับเงินเดือนสมาชิกสภา ประชาธิปไตยยังได
สัมภาษณคึกฤทธิ์ ปราโมช ซึ่งกลาววา “ไมมีความเห็น ถาประธานสภาจะนําเรื่องนี้เขา
ประชุมพิจารณา ก็จะไมออกความเห็น”(๗) ในวันนั้น (๒๖) มารุตไดทําหนังสือถึง
ประธานสภาตามที่พูดจริงๆ ครั้งนี้หนังสือพิมพทก ุ ฉบับรายงานขาว(๘)

เมื่อถึงวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ซึ่งจะมีการประชุมสภาประจําสัปดาหตามปรกติ


ประชาธิปไตยฉบับเชาวันนั้นไดรายงานจากแหลงขาวที่ไมเปดเผยวา สมาชิกสภาสวน
ใหญไดมีการประชุมตกลงกันแลววาจะลาออก และจะลงมติเชนนั้นในการประชุมปรึกษา
เรื่องนี้ในบายวันนั้น(๙) แตสิ่งที่เกิดขึ้นไมตรงกับการรายงานลวงหนานี้ กลาวคือหลังการ
ประชุมตามวาระปรกติแลว

พระมหากษัตริยในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข

ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช พระมหากษัตริยมีอํานาจตัดสินใจทําอะไรเกี่ยวกับการเมือง
การปกครองไดเอง เพราะทรงเปนรัฐและกฎหมายเอง การยึดอํานาจเมื่อ ๒๔ มิถุนายน
๒๔๗๕ มีจุดมุงหมายทีจ ่ ะดึงเอาอํานาจดังกลาวมาไวกับรัฐบาลที่ ในทางทฤษฎี มาจาก
ประชาชน พระมหากษัตริยซึ่งผูกอการตกลงใหมีอยูตอไป จึงทรงเหลือเพียง (ในทาง
ทฤษฎีเชนกัน) บทบาทใหคําปรึกษาและทักทวงรัฐบาลอยางจํากัด ไมทรงทําอะไรได
ดวยพระองคเองอีกตอไป กลไกสําคัญในเรื่องนี้อยางหนึ่งคือการ “รับสนองพระบรมราช
โองการ” ซึ่งเปนเครื่องบอกวา ไมไดทรงทําเอง แตเปนการกระทําของรัฐบาลหรือ
รัฐสภา เพียงแตทําในนามพระมหากษัตริยเทานั้น (หรือพูดในทางกลับกันคือเปนการ
กระทําของพระมหากษัตริยเพียงในนามเทานั้น) หรือในกรณีที่เปนเรื่องซึ่งทรงริเริ่มทํา ก็
เปนสิ่งที่รัฐบาล (ของประชาชน) รับรองอนุญาตใหทําได นี่คือความหมายทางหลักการ
แทจริงดั้งเดิมของการ “รับสนองพระรบรมราชโองการ” ดังที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญปฏิวัติ
ฉบับแรก (๒๗ มิถุนายน ๒๔๗๕)

***************************************************************
*

กรณี หยุด แสงอุทัย ถูกกลาวหาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ๒๔๙๙

คืนวันที่ ๗ กุมภาพันธ ๒๔๙๙ สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย กรม


ประชาสัมพันธ ไดออกอากาศคําบรรยายของ ดร.หยุด แสงอุทัย เลขาธิการ
คณะกรรมการกฤษฎีกาในขณะนั้น เรื่อง “อํานาจและความรับผิดชอบในระบอบ
ประชาธิปไตย” ๓ วันตอมา สมาชิกสภาผูแทนราษฎรคนหนึ่งไดยื่นหนังสือถึงอธิบดีกรม
ตํารวจกลาวหาวา ขอความบางตอนในคําบรรยายนั้นมีลักษณะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ขอใหดําเนินการกับหยุด วันตอๆมา บทนําและคอลัมภประจําในหนังสือพิมพบางฉบับได
เขารวมการประณามหยุดและจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีที่ออกมาแสดงทาทีปกปองหยุด
วิวาทะสาธารณะครั้งนี้ดําเนินตอเนื่องกันประมาณ ๒ สัปดาห ก็เงียบหายไปหลังจาก
ตํารวจออกมายืนยันวาการกระทําของหยุดไมเขาขายผิดกฎหมาย

ผมเห็นวา กรณีหยุด แสงอุทัย ถูกกลาววาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพตอนตนป ๒๔๙๙


นี้ ไมเพียงแตนาสนใจในตัวเองเทานั้น ยังมีความสําคัญในแงที่เปน “หลักบอก”
(milestone) วิวัฒนาการของระบอบการเมืองหลัง ๒๔๗๕ ที่เรียกกันวา “ประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข” ในประเด็นเกี่ยวกับสถานะและบทบาทของ
พระมหากษัตริยในระบอบนี้ กรณีดังกลาวสะทอนใหเห็นวา ๒๔ ปหลังการปฏิวัติ ๒๔
มิถุนา หลักการพื้นฐานของการปฏิวัติในประเด็นนี้ (พระมหากษัตริยทรงทําอะไรแตโดย
ความเห็นชอบของรัฐบาลหรือรัฐสภาเทานั้น) ไดออ  นกําลังลง จนนักเขียนจํานวนไมนอย
สามารถนําเสนอสิ่งที่ตรงขามกับหลักการนั้นตอสาธารณะในลักษณะราวกับวาสิ่งที่เสนอ
นั้นเปนบรรทัดฐานเสียเอง ขณะเดียวกัน ถาเปรียบเทียบกับประวัตศ ิ าสตรทจ
ี่ ะตามมา
และกับปจจุบัน กรณีดังกลาวสะทอนวาขณะนั้นประเด็นสถานะและบทบาทของ
พระมหากษัตริยในระบอบประชาธิปไตย ยังเปนสิ่งซึ่งสามารถจะอภิปรายและถกเถียงใน
ที่สาธารณะอยางตรงไปตรงมาไดบาง ยังไมใช “สิ่งตองหาม” และหลักการพื้นฐานที่เกิด
จากการปฏิวัติ ๒๔๗๕ แมจะอยูในสภาพออนแรงแตก็ยังไมถึงกับถูกยกเลิกไปในบาง
พื้นที่สําคัญ พูดอีกอยางหนึ่งคือ ในกระแสของเวลาทางประวัติศาสตร กรณีหยุดถูก
กลาวหาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในป ๒๔๙๙ เปนเสมือน “จุดกึ่งกลาง” ระหวาง
๒๔๗๕ กับเรา(๑)

จุดเริ่มตน: พระราชดํารัสวันกองทัพบก ๒๕ มกราคม ๒๔๙๙

จุดเริ่มตนของกรณีหยุดถูกกลาวหาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพมาจากเหตุการณกอนหนา
นั้น ๒ สัปดาห คือในวันที่ ๒๕ มกราคม ซึ่งเปนวันกองทัพบก (วันกองทัพไทยปจจุบัน)
ในหลวงไดพระราชทานพระราชดํารัสเนื่องในโอกาสดังกลาว ซึ่งไดรับการอาน
ออกอากาศทางสถานีวิทยุ มีขอความทั้งหมด ดังนี้
ทหารทั้งหลาย

วันนี้เปนวันกองทัพบก ซึ่งไดเวียนรอบมาครบหนึ่งปอีกครั้งหนึ่ง ทานทั้งหลายจึงได


รวมกันกระทําพิธีที่ระลึกเปนอนุสรณแหงความสามัคคี ในโอกาสอันสําคัญยิ่งนี้ ก็เปน
ประเพณีและเปนธรรมดาอยูเองที่ทานจะพิจารณาถึงกิจการที่ไดกระทํามาในขวบปที่
สิ้นสุดลง และกิจการทีต ่ องดําเนินไปในภายหนา การพิจารณาดังกลาวนี้ยอมตองอาศัย
หลักปฏิบัติและหลักการของพลรบ ผูบังคับบัญชาของทหารยอมทราบดีถึงหลักการและ
หลักปฏิบัติของทหาร ฉะนั้นในที่นี้ขาพเจาเพียงแตจะขอย้ําหลักการและหลักปฏิบัติ
ใหญๆที่ทหารหรือกําลังรบใดๆจะตองยึดถือในการปฏิบัติตามหนาที่ของตน หลักสําคัญ
อันแรกที่ทหารทุกคนตองระลึกถึงอยูเสมอ คือความหมายและหนาที่ของทหาร ประเทศ
เราเปนประเทศที่รักความสงบ ไมชอบการรุกราน แมกระนั้นก็ดี การมีกําลังรบยอมเปน
สิ่งจําเปน ทั้งนี้เพื่อรักษาความสงบ ไมชอบการรุกราน แมกระนั้นก็ดี การมีกําลังรบยอม
เปนสิ่งจําเปน ทั้งนี้เพื่อรักษาความสงบ และอิสรภาพของประเทศ เมื่อทหารมีไวสําหรับ
ประเทศชาติ ทหารตองเปนของประเทศชาติ หาใชเปนของบุคคลหรือคณะบุคคลใดๆ
โดยเฉพาะไม เมื่อทหารเปนหนวยสําคัญสําหรับรักษาความสงบและอิสรภาพของ
ประเทศ ทหารจึงตองมีความเขมแข็งและมีสมรรถภาพเปนอยางดี สมรรถภาพของทหาร
อยูที่วินัย ตองเชื่อฟงคําสัง่ โดยชอบของผูบังคับบัญชา ผูบังคับบัญชามีหนาที่ตอง
ปกครองทหารในทางที่ชอบควร โดยระลึกถึงความเที่ยงธรรมและหนาที่อันมีเกียรติของ
ทหาร ทั้งนี้เพราะทหารไดรับเกียรติและเอกสิทธิ์เปนผูกุมอาวุธ และกําลังรบของประเทศ
เปนที่เคารพและเกรงขามในหมูชนทั่วไป ทหารจึงตองปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับที่ตน
ไดรับความไววางใจ ไมควรไปทําหรือเกี่ยวของในกิจการที่ไมอยูในหนาที่โดยเฉพาะ
ของตน เชนไปเลนการเมืองดังนี้เปนตน การกระทําเชนนั้นจะทําใหบุคคลเสือ ่ มความ
เชื่อถือในทหารโดยเขาใจวาเอาอิทธิพลไปใชเพื่อประโยชนสวนตัว เวลานี้สถานการณ
ทั่วโลกยังไมอยูในระดับปกติ ความจําเปนและความสําคัญของทหารยอมมีมากขึ้น
ทหารจึงควรรักษาวินัยโดยเครงครัด ประพฤติตนใหเที่ยงธรรม ปฏิบัติหนาที่ใหอยูภายใน
ขอบเขตของตนโดยเฉพาะ เพื่อเปนที่พึ่งที่เคารพของประชาชนโดยทั่วไป

ที่ขาพเจาไดย้ําหลักสําคัญดังกลาวแลว ก็เพื่อทานทั้งหลายจะไดนําไปประกอบการ
พิจารณาของทานถึงผลปฏิบัติที่ไดรับในขวบปที่แลวมา และถึงการปฏิบัติหนาที่ของ
ทานในกาลตอไป ในที่สุดนี้ ขาพเจาขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย จงดลบรรดาลให
ทหารทั้งหลายประสบแตความสุขความเจริญ ปฏิบัติหนาที่ของตนใหเปนประโยชนแก
สวนรวมเหมาะสมกับเปนผูไดรับมอบหมายใหรักษาความสงบและอิสรภาพของ
ประเทศชาติอันเปนที่รักของเรา.(๒)
หนังสือพิมพฉบับหนึ่งรายงานวา พระราชดํารัสนี้ “ไดกอใหเกิดความสนใจและ
วิพากษวิจารณอยางกวางขวาง”(๓) โดยเฉพาะขอความที่วา “ทหารจึงตองปฏิบัติตนให
เหมาะสมกับที่ตนไดรับความไววางใจ ไมควรไปทําหรือเกี่ยวของในกิจการทีไ ่ มอยูใน
หนาที่โดยเฉพาะของตน เชนไปเลนการเมืองดังนี้เปนตน การกระทําเชนนั้นจะทําให
บุคคลเสือ ่ มความเชื่อถือในทหารโดยเขาใจวาเอาอิทธิพลไปใชเพื่อประโยชนสวนตัว”
ซึ่งมองกันวาเปนการวิจารณรัฐบาลที่มีกําเนิดมาจากคณะรัฐประหาร ๒๔๙๐ โดยตรง

จอมพล ป.ไดใหสัมภาษณหนังสือพิมพในวันตอมาวา ปญหาทหารควรเลนการเมือง


หรือไมนั้นมองได ๒ แง “ถาหากทหารเกี่ยวของกับการเมืองโดยปฏิบัติถกู ตองตาม
กฎหมายเชนเปน ส.ส.ประเภท ๒ โดยพระบรมบราชโองการแตงตั้ง ที่รัฐบาลรับรอง ก็
ควรถือวาเปนการสมควร แตถาการกุมอํานาจใชกําลังโคนลมรัฐบาล ก็ตองถือวาผิด
กฎหมาย” เห็นไดชัดวาเหตุผลของจอมพลออน (ทหารเลนการเมืองได รัฐธรรมนูญ
อนุญาต) เพราะประเด็นที่ทรงวิจารณนั้น ตั้งพระทัยใหคลุมถึงกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญที่
อนุญาตใหทหารเลนการเมือง ซึ่งคณะรัฐประหารเปนผูประกาศใชเองนั้น อยางไมตอง
สงสัย ขณะเดียวกัน นาสังเกตวา ตามรายงานหนังสือพิมพ สฤษดิ์ซึ่งเริ่มแสดงทาทีออก
หางจากรัฐบาลที่มีจอมพลและเผาเปนแกนนํา และผูซึ่งประมาณ ๑ ปหลังจากนั้น จะเขา
ยึดอํานาจและครอบครองตอไปอีก ๖ ปโดยไดรับการสนับสนุนจากราชสํานัก ได “ขอ
สงวนไมยอมวิจารณพระกระแสรรับสั่ง แตไดแสดงความรูสึกสวนตัวภายหลังไดอานพระ
กระแสรรับสั่งแลววาไมเกิดความรูสึกอะไรเลย เพราะวาผมก็อยากจะเลิกการเมืองอยู
แลวเหมือนกัน ที่ยังเกี่ยวของอยูในขณะนี้ก็เพราะเลิกไมไดตางหาก” โดยไมตั้งใจ พาด
หัวของหนังสือพิมพฉบับดังกลาว ใหภาพความสัมพันธและความขัดแยงระหวาง ๓ กลุม
(ราชสํานัก–พิบูล–สฤษดิ์) ไดเปนอยางดี:

[ในหลวง] เตือนทัพบก ‘ทหารที่ดีตองไมยุงการเมือง’

สฤษดิ์ไมยอมวิจารณ – จอมพลวา ‘ไมผิดกฎหมาย’

ควรกลาวดวยวา ประเด็นที่ทรงวิจารณในพระราชดํารัส – ทหารไมควรยุงการเมือง –


เปนประเด็นที่มีความเปนมายาวนาน คือนับตั้งแตทพ ี่ ระยามโนผูใกลชิดราชสํานักถูก
ผูกอการ (สวนใหญคือทหาร) ยึดอํานาจคืนเมื่อเดือนมิถุนายน ๒๔๗๖ เปนตนมา ราช
สํานักและกลุมการเมืองนิยมเจาทั้งหลายไดชูประเด็นนี้เปนคําขวัญหรือขอเรียกรองทาง
การเมืองสําคัญของกลุมตน บางครั้งออกมาในลักษณะที่กวางออกไป คือเรียกรองไม
เพียงแตทหาร แตขาราชประจําทั้งหมดไมมีตําแหนงการเมือง (เปน ๑ ใน “คําขาด” ๖
ขอของกบฏบวรเดช) ในตนทศวรรษ ๒๔๙๐ เมื่อพวกนิยมเจาสามารถจัดตัง้ รัฐบาลได
เปนเวลาสั้นๆ (รัฐบาลควงระหวางตนพฤศจิกายน ๒๔๙๐–ตนเมษายน ๒๔๙๑) ได
ผลักดันใหประเด็นนี้ถก
ู กําหนดไวในรัฐธรรมนูญฉบับป ๒๔๙๒ ซึ่งถูกคณะรัฐประหารของ
พิบูล–เผาเลิกไปในป ๒๔๙๕ แลวเอารัฐธรรมนูญ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ที่ไมหามเรื่องนี้
ทั้งยังกําหนดใหมี ส.ส.ประเภท ๒ ที่รัฐบาลแตงตั้งครึ่งหนึ่งของสภา มาใชแทน ทําให
รัฐบาลสามารถมีทั้งรัฐมนตรีและ ส.ส.ประเภท ๒ ของตนที่เปนทหารและขาราชการ
ประจําเปนสวนใหญ เมื่อใกลจะถึงวาระการเลือกตั้งใหมในป ๒๕๐๐ คือในชวงเดียวกับที่
ทรงมีพระราชดํารัสวันกองทัพบก ก็เริ่มมีเสียงเรียกรองใหเลิกส.ส.ประเภท ๒ หรือใหเลิก
การที่ทหารและขาราชการประจํามีตําแหนงการเมือง

ขอที่ควรย้ําในที่นี้คือ คําขวัญหรือขอเรียกรองทางการเมืองของกลุมนิยมเจาประเภทนี้
ไมเกี่ยวกับหลักการประชาธิปไตย (อยางที่ปญญาชนรุนที่ปรากฏตัวในชวงตนทศวรรษ
๒๕๑๐ เขาใจ) คือ ไมใชเรียกรองใหทหารเลิกเลนการเมืองเพราะเห็นวาไมเปน
ประชาธิปไตย แตเพราะวาทหารที่เลนการเมืองเหลานั้นเปนฐานใหกับรัฐบาลที่ไมเปน
มิตรกับราชสํานักและพวกนิยมเจา พูดงายๆคือ เปนการตอสูเพือ่ อํานาจการเมืองของ
พวกนิยมเจาเอง (ดวยการบั่นทอนฐานอํานาจของคูแขง) จะเห็นวาไมกี่ปตอมา เมื่อ
สฤษดิ์ยึดอํานาจและใชนโยบายฟนฟูสถานะของสถาบันกษัตริยอยางรอบดาน ก็ไมมี
เสียงเรียกรองแบบนี้จากราชสํานักและพวกนิยมเจา (ในกรณี ส.ส.ประเภท ๒ ขณะนั้น
พรรคประชาธิปตยที่เปนพวกนิยมเจาเสนอใหเลิก แตใหมีสภาสูงแทนแบบรัฐธรรมนูญ
๒๔๙๒ โดยที่สมาชิกสภาสูงนั้นไมใชมาจากการเลือกตั้งของประชาชน แตให “มอบ
อํานาจในการเลือกตั้งสมาชิกสภาสูงใหแกพระมหากษัตริยโดยเด็ดขาด โดยไมตองมี
นายกรัฐมนตรีเปนผูเลือกเสนอใหทรงแตงตั้ง”)(๔)

วาดวยขอความ “องคพระมหากษัตริยดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ
ผูใดจะละเมิดมิได”
ผมขอเสนอวา ลักษณะสําคัญมากอยางหนึ่งของหมวดวาดวย “กษัตริย” (หมวด ๒) ใน
รัฐธรรมนูญป ๒๔๗๕ ฉบับแรกที่ปรีดี พนมยงค เปนผูราง คือ การไมมีขอกําหนดหรือ
ขอบังคับวา พลเมืองของประเทศสยามจะตองมีความคิดเห็นหรือความรูสึกตอกษัตริยซึ่ง
เปน “ประมุขสูงสุดของประเทศ” อยางไร (ขอใหสังเกตดวยวาไมมีคําวา
“ราชอาณาจักร” ในรัฐธรรมนูญฉบับนั้น) มาตรา ๖ ที่กําหนดวา “กษัตริยจะถูกฟองรอง
อาชญายังโรงศาลไมได เปนหนาที่ของสภาผูแทนราษฎรจะวินิจฉัย” มาจากเหตุผลของ
ตรรกะทางกฎหมาย คือการที่ “คําวินิจฉัยของศาล...จะตองกระทําในนามของกษัตริย”
(มาตรา ๓) ศาลจึงไมสามารถวินิจฉัยกษัตริยได (เพราะจะเหมือนวินิจฉัยตัวเอง) ตองให
สภาวินิจฉัย ยิ่งกวานั้น นัยยะของมาตรานี้คือ กษัตริยถูกวินิจฉัยทางอาญาได เพียงแต
โดยสภาไมใชโดยศาล(๑)

ในแงนี้ การเพิ่มเติมขอกําหนดวา “องคพระมหากษัตริยดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพ


สักการะ ผูใดจะละเมิดมิได” เขามาในรัฐธรรมนูญฉบับ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ มาตรา ๓
จึงเปนเรื่องใหม และเนื่องจากประเทศสยามไมเคยมีรัฐธรรมนูญ นี่จึงเปนครั้งแรกใน
ประวัติศาสตรสยามที่มก ี ารกําหนดอยางเปนทางการครอบคลุมทั้งระบบกฎหมายวา
พระมหากษัตริยเปนผูซึ่งตองไดรับการเคารพสักการะ ในความเห็นของผม นี่เปน
ลักษณะกลับตาลปตร (paradoxical) อยางหนึ่งของเหตุการณที่เรียกวา “การปฏิวัติ
๒๔๗๕” ซึ่งดานหนึ่งเปนการลดทอนอํานาจกษัตริย แตในบางดานกลับสรางความ
เขมแข็งในสถานภาพทางกฎหมายใหกับกษัตริยอยางไมเคยปรากฏมากอน(๒)

มาตรา ๓ ของรัฐธรรมนูญ ๑๐ ธันวา

การปรากฏตัวขึ้นของขอบังคับอยางมาตรา ๓ ในรัฐธรรมนูญ ๑๐ ธันวา จึงมีความสําคัญ


ยิ่งถาเราพิจารณาวา นี่เปนขอความที่ถูกเขียนลงในรัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครอง
ทุกฉบับตอมาไมเคยยกเวนเลย กลาวไดวา เปน ๑ ในขอความของรัฐธรรมนูญที่คนไทย
รูจักดีที่สุด

ขอความซึ่งจะมีนัยยะกวางไกลมหาศาลในประวัติศาสตรไทยสมัยใหมนี้ถก ู นําเสนอใน
ลักษณะราวกับวาเปนเรื่องธรรมดาที่ตองมี ไมใชเรื่องใหญโต โดยพระยามโนปกรณนิติ
ธาดาในฐานะประธานอนุกรรมการรางรัฐธรรมนูญ ตอสภาผูแทนราษฎรเมื่อวันที่ ๒๕
พฤศจิกายน ๒๔๗๕ โดยแทบจะไมมีการอภิปรายของสมาชิก (ตางกันมากกับประเด็น
อยางชื่อฝายบริหารวาควรใชคําวา “คณะกรรมการราษฎร” หรือ “คณะรัฐมนตรี”):
ประธานอนุกรรมการรางรัฐธรรมนูญ กลาววา ในมาตรา ๓ นี้ อานวา “พระองค
พระมหากษัตริยดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพผูใดจะละเมิดมิได ซึ่งไดแสดง
ความหมายของมาตรานี้โดยยอๆแลววา พระมหากษัตริยเปนประมุขแหงชาติและปวงชน
ทั้งปวง และดํารงอยูในฐานะอันพึงพนจากความถูกติเตียนในทางใดๆ เพราะฉะนั้น
รัฐธรรมนูญของบานเมืองใดที่ปกครองโดยกษัตริยแ  ละมีรัฐธรรมนูญ เขาก็วางหลักการไว
เชนเดียวกันนื้ทุกแหง และในรัฐธรรมนูญญี่ปุน คําวา (Sacred) ซึ่งทานนักแปลคนหนึ่ง
ไดแปลวา เคารพ ก็ถูกอยู แตถาจะใหถูกดีแลวก็ควรมีคําวา สักการะ ดวย ซึ่ง
อนุกรรมการไดเห็นชอบดวยแลว คําวาผูใดจะละเมิดมิไดนี้ เราหมายวา ใครจะไปละเมิด
ฟองรองวากลาวไมได ถาอาจจะมีใครสงสัยวาถาฟองรองทานไมไดแลวจะทําอยางไร
เมื่อมีใครไดรับความเสียหาย ประการหนึ่งเราตองนึกวาที่วาเปนประมุขนั้น ตามแบบ
เรียกวา “รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ศาลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
พิจารณาตัดสินความในนามของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพราะฉะนั้นถาจะพูดถึง
หลักกฎหมายในบางประเทศแลว ฟองรองทานไมไดทั้งทางอาชญาและประทุษฐราย
สวนแพง แตมีวาถาทานตองทรงรับผิดชอบในเรื่องเงินแลวก็ฟองรองไดทางพระคลัง
ขางที่ และที่เขียนมานี้ไมกะทบกระเทือนสิทธิและความเสียหายของราษฎรใดๆเลย จึ่ง
ขอเติมคําวา “สักการะ” ตอคําวา “เคารพ”

นายสงวน ตุลารักษ วาที่กลาววา “พระองค” แคบเกินไป อยากจะขอเสนอใหตัดออก


เสีย เพราะเรามิไดเคารพแตฉะเพาะพระองคเทานัน้ เราเคารพถึงพระบรมรูป พระ
เกียรติยศ ฯลฯ อีกดวย

หลวงประดิษฐมนูธรรม รับรอง

ประธานอนุกรรมการรางรัฐธรรมนูญ กลาววา ตามหลักนั้น หมายถึง person of the King


คือตัวทาน แตในภาษาไทยจะใชคําวา “พระมหากษัตริย” เฉยๆ จะไดความหรือไมนั้น
ขอเชิญเจาพระยาธรรมศักดิ์โปรดอธิบาย

เจาพระยาธรรมศักดิ์ กลาววา ถาความหมายอยางที่วา person ที่เขียนก็ไดความแลว


แตถาจะหมายถึงเปน body แลว ก็จะเปนจริงอยางที่นายสงวนวา จึงคิดวาเอาคําวา
“พระ” ออก คงเหลือแต “องคพระมหากษัตริย” ก็จะได

ประธานอนุกรรมการรางรัฐธรรมนูญ รับรอง

นายสงวน ตุลารักษ เห็นชอบ

ประธานสภาฯ กลาววา ในมาตรา ๓ นี้ มีแกไข ๒ แหง คือ เติมคําวา “สักการะ” ตอทาย
คําวา เคารพ และ ตัดคําวา “พระ” ออก คงอานไดในมาตรา ๓ วา “องคพระมหากษัตริย
ดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได” เมื่อไมมีผูใดคัดคาน ก็
ขอใหลงคะแนน สมาชิกทั้งหมดลงมติเห็นชอบ เปนอันวามาตรา ๓ นั้น ใชไดตามแกไข
มานั้น(๓)

กอนอื่น ขอใหสังเกตวา ตามคําแถลงของพระยามโน รัฐธรรมนูญฉบับรางที่เสนอตอสภา


มาตรา ๓ มีขอความวา “พระองคพระมหากษัตริยดาํ รงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพ ผูใด
จะละเมิดมิได” คือเพียง “เคารพ” เทานั้น ไมใช “เคารพสักการะ” คําวา “เคารพ”
สามารถใชกับความสัมพันธระหวางคนที่มีฐานะเทาเทียมกัน แต “เคารพสักการะ”
หมายถึงตอง “บูชาไหวกราบ” ดวย เพราะมีความศักดิ์สท ิ ธิ์หรือมีฐานะสูงกวาเหมือน
บุพการี (ตามความเชื่อแบบพุทธ) นั่นคือ กลับไปยืนยันทัศนะตอกษัตริยก  อน ๒๔ มิถุนา

ที่นาสังเกตและสําคัญยิ่งกวานั้น คือทาทีของสงวน ตุลารักษ โดยการสนับสนุนของปรีดี


ที่วา ไมเห็นดวยกับการมีมาตรานี้ ไมใชเพราะจะเปนการยกยองสถานะของกษัตริยมาก
เกินไป แตเพราะเห็นวา เปนการจํากัดการยกยองใหแคบเกินไป นี่เปนทาทีแบบเดียวกัน
กับที่ปรีดี ในไมกี่วันหลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ แสดงความเห็นคัดคานการ
ถวายพระเกียรติยศพระปกเกลาเปน “มหาราช” ไมใชเพราะเปนการถวายพระเกียรติยศ
มากเกินไป แต (อางวา) เพราะจะเปนการลดพระเกียรติยศ(๔)

เมื่อมองจากภาพลักษณทแ ี่ พรหลายของสงวนหรือปรีดี (โดยเฉพาะในขณะนั้น) วาเปน


“ซาย” (“ปกซายคณะราษฎร”) หรือมีลก ั ษณะ “แอนตี้เจา” แลว อาจตั้งขอสงสัยในความ
จริงใจ (sincerity) ของลักษณะการใหเหตุผลดังกลาวไดวาเปนเพียง “ยุทธวิธีทาง
การเมือง” หรือไม ในการคัดคานการยกยองเจามากเกินไป ดวยการอางวาการยกยองนั้น
จะเปนการจํากัดหรือนอยเกินไป แตประเด็นที่สําคัญยิ่งกวา ในทัศนะของผม คือ
“ยุทธวิธี” (ถาเรายอมรับกันจริงๆวาเปน “ยุทธวิธี”) แบบนี้ สะทอนลักษณะสําคัญยิ่ง
อยางหนึ่งของปญญาชนที่มีลักษณะ “ซาย” หรือ “เสรีนิยม” ของไทย นั่นคือ ความ
ออนแอทางการเมือง ที่ไมสามารถหรือไมกลา คัดคานเจาตรงๆ แต “คัดคาน” ดวยการ
ใหเหตุผลแบบยกยองเชิดชู แบบเดียวกับพวกนิยมเจา (royalists) ซึ่งทําใหเกิดเปน
ประเพณีหรือวัฒนธรรม (หรือ, ถาจะใชภาษาสมัยนี้, “วาทกรรม”) ทางการเมืองในการ
พูดถึงกษัตริยในหมูปญญาชน “เสรีนิยม” ของไทยมาจนถึงปจจุบัน

ความพยายามเขาเฝาสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระราชชนนีที่
สวิตเซอรแลนดเพื่อสืบพยานคดีสวรรคต ๒๔๙๒

เปนเวลาหลายเดือนในป ๒๔๙๒ กรมอัยการ ซึ่งขณะนั้นสังกัดกระทรวงมหาดไทยใน


รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ไดใชความพยายามที่จะจัดการใหศาล อัยการ และ
จําเลยในคดีสวรรคต เดินทางไปเขาเฝาสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระราชชนนีที่
สวิตเซอรแลนด เพื่อขอพระราชทานคําใหการในฐานะพยานฝายโจทก ความพยายามนี้
ในที่สุด หมดความจําเปนในกรณีสมเด็จพระเจาอยูห  ัว เนื่องจากพระองคไดเสด็จพระราช
ดําเนินกลับประเทศไทยเปนระยะเวลาสั้นๆในตนปตอมา เพื่อทรงประกอบพระราชพิธี
สําคัญ คือ ถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงอานันท, อภิเษกสมรส และฉัตรมงคล
และในระหวางที่ทรงอยูในประเทศไทย ไดทรงใหศาลและคูค  วามเขาเฝา และ
พระราชทานคําใหการในฐานะพยานโจทกเมื่อวันที่ ๑๒ และ ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓
สวนกรณีพระราชชนนี รัฐบาลไดดําเนินการตอไป จนในที่สุด มีการเขาเฝารับ
พระราชทานคําใหการที่สวิตเซอรแลนดในเดือนสิงหาคมปเดียวกัน โดยมีเพียงศาลและ
ฝายอัยการโจทกเทานั้นทีไ
่ ดเดินทางไปเขาเฝา(๑)

ในระยะแรกที่รัฐบาลติดตอขอเดินทางไปเขาเฝาเพื่อสืบพยานสมเด็จพระเจาอยูหัวที่
สวิตเซอรแลนดนั้น ทางราชสํานักโดยคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค ไดแสดงความ
ไมเห็นดวย โดยใหเหตุผลทั้งเรื่องปญหาอํานาจของศาลไทยที่จะทําการสืบพยานนอก
ประเทศ และเหตุผลเกี่ยวกับสถานะของพระมหากษัตริย ผมเห็นวา จดหมายโตตอบ
ระหวางรัฐบาลกับคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคในกรณีดังกลาวมีความนาสนใจ จึง
ขอนํามาเสนอในที่นี้

ภูมิหลัง : ความพยายามอัญเชิญเสด็จกลับประเทศไทยในป ๒๔๙๑

แตกอนอื่น เพื่อที่จะเขาใจความเปนมาของการที่รัฐบาลหรือกรมอัยการขณะนั้นตอง
พยายามใหมีการไปเขาเฝาที่สวิตเซอรแลนดในป ๒๔๙๒ เราควรมองยอนหลังไปที่ป
กอนหนานั้น ซึ่งมีความพยายามอีกอยางหนึ่งของรัฐบาลที่จะอัญเชิญสมเด็จพระ
เจาอยูหัวเสด็จกลับประเทศไทย เพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก (ฉัตรมงคล)
โดยมีการวางหมายกําหนดการไววาจะใหมีขึ้นในตนเดือนมีนาคม ๒๔๙๒ แตในที่สุด
สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงแสดงพระราชประสงคที่จะไมเสด็จกลับในชวงนั้น

พระราชดํารัสใหการตอศาลคดีสวรรคต ๒๔๙๓ : ตัวบทและปญหาบางประการ


ผมกําลังเขียนบทความเรื่องหนึ่ง ซึ่งตองอางอิงถึงพระราชดํารัสที่ในหลวงองคปจจุบัน
ทรงพระราชทานตอศาลอาญาในคดีลอบประทุษรายในหลวงอานันท เมื่อป ๒๔๙๓(๑)
ทําใหผมเกิดความคิดวา นาจะเปนประโยชนตอการศึกษาทั้งกรณีสวรรคตและเรื่องอื่นๆ
เกี่ยวกับสถาบันกษัตริยไทยและประวัตศ ิ าสตรการเมืองไทยสมัยใหม หากนําตัวบท
(text) ของพระราชดํารัสดังกลาว มาเผยแพรอีกครัง้ โดยชี้ใหเห็นปญหาบางประการที่
สําคัญในการตีพิมพครั้งกอนๆควบคูกันไปดวย อันที่จริง เมื่อพิจารณาถึงความสําคัญและ
ความนาสนใจของพระราชดํารัสนี้แลว เปนเรื่องนาแปลกใจดวยซ้ําที่ ที่ผานมา มีการ
ตีพิมพเผยแพรตัวบทพระราชดํารัสทั้งหมดนอยมาก (ดูขางลาง)

ในการเผยแพรครั้งนี้ ผมไดใสตัวเลขลําดับยอหนาไวดวย [1], [2], [3] .... เพื่อสะดวก


แกการอางอิง โดยนับเฉพาะตัวบทสวนที่เปนพระราชดํารัสใหการจริงๆ (คือ ไมนับ “ยอ
หนา” ประเภท “วันที่ .... ทรงตอบโจทก” และยอหนาแรกสุด ที่ทรงใหพระนามตาม
แบบฉบับคําใหการ) ในบทแนะนําขางลางนี้ ผมจะใชตัวเลขลําดับยอหนานี้เปนตัวอางอิง

ภูมิหลัง : พระราชดํารัสใหการตอ “ศาลกลางเมือง” ๒๔๘๙

ในหลวงองคปจจุบัน ทรงใหการในฐานะพยานโจทกในคดีสวรรคต เมื่อวันที่ ๑๒ และ


๑๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ตอหนา คณะผูพิพากษา, คณะอัยการโจทก, จําเลยทั้ง ๓ คน
และทนายจําเลยในคดีดังกลาว ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน นั่นคือ ผูพิพากษาและ
คูความมารับพระราชทานคําใหการในลักษณะ “เผชิญสืบ” (พิจารณาคดีนอกสถานที่ตั้ง
ศาล) ไมใชพระองคทรงเสด็จไปใหการ ณ ที่ตั้งศาล การพระราชทานคําใหการดังกลาว
กระทําขึ้นในระหวางที่ทรงเสด็จนิวัตรพระนครเปนการชั่วคราว เพื่อประกอบ ๓ พระราช
พิธีสําคัญ (ถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงอานันท, ราชาภิเษกสมรส และ ฉัตร
มงคล)

นี่ไมใชครั้งแรกหรือครั้งเดียวที่ทรงพระราชทานเลาเหตุการณที่แวดลอมกรณีสวรรคต
แตเปนครั้งเดียวที่ทรงใหการในศาล (และเปนครั้งเดียวในประวัติศาสตรไทยสมัยใหมที่
พระมหากษัตริยทรงใหการในศาล) ๔ ปกอนหนานั้น ในป ๒๔๘๙ หลังการสวรรคตของ
ในหลวงอานันทไมกี่วัน เพื่อยุตก ิ ระแสขาวลือที่เริ่มจะแพรสะพัดเกี่ยวกับสาเหตุของการ
สวรรคตและวิกฤตทางการเมืองที่เริ่มกอตัวขึ้นตามมา รัฐบาลปรีดี พนมยงค ในขณะนั้น
ไดประกาศตั้ง “กรรมการสอบสวนพฤติการณการสวรรคตของสมเด็จพระเจาอยูหัว
อานันทมหิดล” ขึ้นคณะหนึ่ง มีหัวหนาผูพิพากษาทั้ง ๓ ศาลและเจานายชั้นสูงบาง
พระองคเปนกรรมการ คณะกรรมการฯไดดําเนินการไตสวนโดยเปดเผยตอสาธารณะใน
ลักษณะคลายการดําเนินคดีของศาล (แตไมมีโจทกหรือจําเลย) ทําใหเปนที่รูจักกัน
ทั่วไปในนาม “ศาลกลางเมือง”

เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๔๘๙ คณะกรรมการฯไดเขาเฝาในหลวงองคปจจุบันและ


สมเด็จพระราชชนนีที่พระที่นั่งบรมพิมาน (สถานที่เกิดเหตุ) ในหลวงองคปจจุบันทรงมี
พระราชดํารัสใหการแกคณะกรรมการฯเปนเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง ระหวาง ๑๑ โมงครึ่ง
ถึงประมาณเที่ยงครึ่ง และสมเด็จพระราชชนนีทรงใหการจากเวลา ๑๕.๒๐ นาฬิกา ถึง
ประมาณ ๑๕.๔๐ นาฬิกา ตัวบทของพระราชดํารัสใหการตอ “ศาลกลางเมือง” นี้ ไดรับ
การตีพิมพทั้งในขณะนั้นและตอๆมาอีกหลายครั้ง ครั้งหลังสุด ในฐานะสวนหนึ่งของ
หนังสือรวบรวมบันทึกการสอบสวนของ “ศาลกลางเมือง” ที่ตีพิมพในโครงการฉลอง
๑๐๐ ปปรีดี พนมยงค (๒)
การพระราชทานคําใหการตอคณะกรรมการฯเริ่มตนกระทํากันในหองบรรทมทีเ่ กิดเหตุ
เอง โดยกรรมการไดสอบถามในหลวงองคปจจุบันเกี่ยวกับตําแหนงที่พบปลอกกระสุน
และลักษณะพระวิสูตร แลวกรรมการไดใหนายตํารวจลองทําทาทางเพื่อหาตําแหนงและ
ลักษณะที่คนรายจะถือปนยิง ในกรณีที่เปนการลอบปลงพระชนม ประกอบกับการขอให
ทรงแสดงความเห็น (ซึ่งไมไดทรงแสดงแสดงความเห็นอะไรมากนัก ตัวบทสวนนี้ เปน
คําพูดของกรรมการที่พยายามจะคาดเดาตําแหนงการยิงของคนรายเปนสวนใหญ)
หลังจากนั้น จึงพากันลงมาที่หองรับแขกชั้นลาง และทรงพระราชทานคําใหการตอ โดย
คณะกรรมการฯขอใหทรงเลาเหตุการณในเชาวันสวรรคตว่ําพระองคทรงพบเห็นอะไรบาง
หลังจากนั้น จึงถามถึงพระอุปนิสัยของในหลวงอานันทในสวนที่เกี่ยวกับการทรงปน

ในทางการเมือง คําถามของคณะกรรมการฯและพระราชดํารัสตอบ สวนที่อาจจะมีนัยยะ


ทางการเมืองมากที่สุด คือสวนที่เกี่ยวกับความไมทรงพอพระราชหฤทัยของในหลวง
อานันทตอผูอื่น หรือความไมพอใจของผูอื่นที่มต
ี อในหลวงอานันท ขอที่นาสังเกตคือ
พระราชดํารัสตอบของในหลวงองคปจจุบัน ไมมีเนื้อหาที่พาดพิงในเชิงกลาวโทษผูใด
ทั้งสิ้น ดังนี้

ประธานกรรมการฯ นายชิตกับนายบุศย รับใชเปนทีส


่ บพระราชหฤทัย หรือนัยหนึ่งเปนที่
ถูกพระราชอัธยาศัยของสมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศหรือไม

พระราชกระแสฯ ในหลวงไมเคยวามหาดเล็กคนหนึ่งคนใด ไมวานายบุศยหรือนายชิต


ใครๆก็ไมเคยวาเลย
ประธานกรรมการฯ สมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศเคยทรงกริ้ว หรือแสดงไมพอพระ
ราชหฤทัย แมเพียงเล็กนอย แกบุคคลทั้งสองนี้หรือไม

พระราชกระแสฯ ไมทราบ อาจจะกริ้วนิดหนอย เหมือนอยางใหเอาโตะมาวางขางๆ แลว


ไปวางเสียอีกขางหนึ่ง แตไมใชกริ้วจริงๆ

ประธานกรรมการฯ พวกชาวที่ก็ดี ยามก็ดี และคนอืน


่ ๆก็ดี นอกจากนายชิตและนายบุศย
สมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศเคยแสดงไมพอพระราชหฤทัย หรือกริ้วผูใดบาง
พระราชกระแสฯ ก็บอกแลววา ไมเคยกริ้ว

ประธานกรรมการฯ ไดทรงสังเกตเห็นวา พวกเหลานี้ มีใครบางที่แสดงวาไมพอใจหรือ


แสดงกิริยากระดางกระเดือ
่ งไมพอใจในสมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศ

พระราชกระแสฯ ก็ไมเคยไดยิน เขาอาจจะพูด แตเขาไมใหเราฟง

ประธานกรรมการฯ ทรงรูสกึ หรือสังเกตเห็นสมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศไมทรง


พอพระราชหฤทัย หรือทรงแสดงความลําบากพระราชหฤทัยอยางหนักในการที่ตองทรง
ปฏิบัติราชกิจบางอยางบางประการบางหรือเปลา

พระราชกระแสฯ ไมเคยเลยอยางหนัก มีแตวาวันนี้เหนื่อยไมอยากไป แตไมเคยอยาง


หนักจริงๆและไมพอพระทัยจริงๆก็ไมเคย

ประธานกรรมการฯ สมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศไดเคยทรงนําการบานการเมือง
มารับสั่งหรือทรงปรึกษาใตฝาละอองธุลพ
ี ระบาทบางหรือเปลา
พระราชกระแสฯ ไมเคย เพราะฉันเปนเด็ก

ประธานกรรมการฯ ไดเคยทรงพระราชปรารภหรือทรงแสดงพระราชอากัปกิริยาวา ทรง


คับแคนพระราชหฤทัยอยางรุนแรงดวยเหตุอันใดบางหรือเปลา

พระราชกระแสฯ ไมเคย

ดังที่จะเห็นขางลาง ดูเหมือนจะมีความเปลี่ยนแปลงอยางสําคัญในเรื่องนี้ ในพระราช


ดํารัสใหการตอศาลอาญาใน ๔ ปตอมา

พระราชดํารัสใหการตอตํารวจ ๒๔๘๙ และตอพระพินิจชนคดี ๒๔๙๑

พระราชดํารัสใหการตอ “ศาลกลางเมือง” เปนพระราชดํารัสเกี่ยวกับกรณีสวรรคตทีร่ ูจัก


กันดีที่สด
ุ เพราะมีการตีพิมพซ้ําคอนขางแพรหลาย อยางไรก็ตาม นอกเหนือจากพระ
ราชดํารัสใหการตอ “ศาลกลางเมือง” และพระราชดํารัสใหการตอศาลอาญาในป ๒๔๙๓
ที่ผมนําตัวบทมาเผยแพรขางลางแลว ยังมีหลักฐานวา ในหลวงองคปจจุบัน ไดทรงให
การเกี่ยวกับกรณีสวรรคตอีกอยางนอย ๒ ครั้ง ซึ่งไมเปนที่รูจักหรือกลาวถึงกันนัก

ครั้งแรก ทรงใหการตอตํารวจ ผมเขาใจวา นาจะในวันเกิดเหตุหรือไมกี่วันหลังจากนั้น


แตตองกอนทีจ
่ ะทรงใหการตอ “ศาลกลางเมือง” เทาที่ผมทราบ ดูเหมือนจะไมเคยมีใคร
กลาวถึงการใหการนี้ และไมเคยปรากฏวามีการเผยแพรบันทึกพระราชดํารัสใหการนี้ดวย
(ผมเขาใจวานาจะมีการบันทึกตามระเบียบราชการ) แตเรามีหลักฐานวา มีการ
พระราชทานคําใหการนี้ จากบันทึกคําถามของคณะกรรมการฯ “ศาลกลางเมือง” และ
พระราชดํารัสตอบ ตอไปนี้ (การเนนคําของผม)

ประธานกรรมการฯ ใตฝาละอองธุลีพระบาทไดพระราชทานคําตอบแกเจาหนาที่ตํารวจ
มาบางแลว ในคําถามอันนี้ ดูเหมือนวายังมีที่สงสัยอยู จึงขอกราบบังคมทูลถามเพื่อ
ความชัดเจนในเรื่องสาเหตุแหงการสวรรคตนี้ ใตฝาละอองธุลีพระบาทไดเคย
พระราชทานพระราชกระแสแกหลวงนิตยฯ หรือแกบค ุ คลอื่นเปนประการใด บางหรือไม

พระราชกระแสฯ ก็เคยบอกวา อาจจะเปนนี่จะเปนนั่น เพราะไมทราบแน และก็ไมได


บอกวาเปนนี่แน เปนอุปทวเหตุหรือเปนอะไรแน ฉันบอกวาอาจจะเปนอุปท
 วเหตุ เพราะ
เห็นตํารวจเขาอาจจะเห็นวาอุปทวเหตุจริงๆแลว ฉันนึกวา เขาพิสูจนไปตรวจไดเต็มที่
แลวก็อาจจะเปนได แตไมไดบอกวาเปนแน

อีกครั้งหนึ่ง ทรงใหการตอพระพินิจชนคดี ซึ่งรัฐบาลหลังการรัฐประหาร ๒๔๙๐ ตั้ง


ใหเปนนายตํารวจผูรับผิดชอบคดี เราไดทราบวามีการพระราชทานคําใหการครั้งนี้ จาก
บทความเรื่อง “เมื่อขาพเจาบินไปสืบกรณีสวรรคต ที่สวิตเซอรแลนด” ซึ่งเปนบันทึกคํา
สัมภาษณพระพินิจชนคดี (โดยผูใชนามวา “แหลมสน”) ตีพิมพใน เกียรติศักดิ์ ฉบับวันที่
๒๔ มิถุนายน ๒๔๙๑(๓) พระพินิจชนคดีไดเลาวา หลังจากพิจารณาบันทึกคําใหการ
ตางๆใน “ศาลกลางเมือง” แลว เขาและคณะผูรับผิดชอบคดีลงความเห็นวา “ยากที่จะ
คลําหาเงื่อนงําคลี่คลายออกไปได...จําเปนจะตอง...ขอพระราชทานการสอบสวนพระ
ราชกระแสรเพิ่มเติมจากสมเด็จพระเจาอยูหัวและพระราชชนนี ผูทรงใกลชิดกับ
เหตุการณ และบุคคลอื่นๆอีกหลายคนซึ่งลวนแตอยูใ นตางประเทศทั้งนั้น” เขาจึงขอและ
ไดรับอนุมัตจ
ิ ากรัฐบาลใหเดินทางไปยุโรป และไดเขาเฝารับพระราชทานคําใหการจาก
ทั้ง ๒ พระองคที่พระตําหนัก “วิลลาวัฒนา” พระพินิจชนคดีไดบรรยายการเขาเฝารับ
พระราชทานคําใหการดวยภาษาที่คอนขาง melodramatic ดังนี้

ขาพเจาและคณะใชเวลาขอพระราชทานการสอบสวนสมเด็จพระเจาอยูหัวในครั้งแรก
ประมาณสองชั่วโมงเศษ ฉลองพระองคดวยสักหลาดสีเกรยทั้งชุด ฉลองพระเนตรและ
พระเกษาซึ่งไมคอยจะทรงพิถีพิถัน อยางที่เคยประทับเคียงขางกับในพระบรมโกษฐ ที่
กรุงเทพฯทุกครั้งคราว อยางไรก็อยางนั้น แตแววพระเนตรนั้นตางหากที่ทําใหขาพเจา
รูสึกวาทรงเศราสลดอยูไมวาย และโดยเฉพาะก็บอยครั้ง เมื่อขาพเจาขอพระราชทาน
กระแสรรับสั่งถึงภาพเมื่อวันสวรรคต พระอสุชลคลออยูในพระเนตรตลอดเวลา ดํารัสตอบ
กับขาพเจาทุกครั้งดวยคําวา “พี่นันท- -“ อยางนั้น และ “พี่นันท- -“ อยางนี้ แลวก็บางที
ดํารัสเพียงคําวา “พี่” คําเดียว ก็ทรงสดุดหยุดลงคลายกับจะทรงรําลึกถึงภาพในอดีต
เมื่อชําเลืองพระเนตรไปพบกับภาพในเรือบตลํานอยในวังบางปะอิน ในพระบรมโกษฐ
ทรงกรรเชียงอยูเอื่อยๆ สิ่งนี้แหละที่ทําใหขาพเจาทวีความลําบากใจยิ่งขึ้น มันเปนการ
รบกวนตอความรูสึกในพระราชหฤทัยเหลือเกิน ขาพเจาไดขอรับพระราชทานอภัยในเหตุ
นี้ ทรงยิ้มระรื่น แตเต็มไปดวยความเยือกเย็น รับสั่งวา

“อดคิดถึงพี่ไมไดเลยแมแตขณะเดียว ฉันเคยคิดวา ฉันจะไมหางจากพี่ตลอด


ชีวิต แตมันเปนเคราะหกรรม ไมไดคิดเลยวาจะเปนกษัตริย คิดแตจะเปนนอง
ของพี่เทานั้น”

ขาพเจาไดกราบถวายบังคมทูลซักไซรตอไปในหลายประเด็น ทรงตอบคําถามขาพเจา
อยางเปดเผยในทุกประเด็นเชนเดียวกัน การขอพระราชทานสอบสวนในวันแรกนี้
ขาพเจาไดผอนในประเด็นซึ่งไมรุนแรง และกะทบพระราชหฤทัยนัก เพราะถาจะรวบรัด
ใหเสร็จสิ้นภายในวันเดียวก็จะเปนการกะทบกระเทือนตอพระองคมากไป ความเศราสลด
ตอพี่ผูรวมสายโลหิต แมจะหางไกลผานพนมาเกือบสองปเต็มแลวก็ยังเปนความเศราที่
ขาพเจาเองก็พลอยสั่นสะเทือนไปดวย ขาพเจากราบถวายบังคมลากลับโฮเต็ลในวันนี้
เมื่อไดเวลาพอสมควร รับสั่งถามถึงความสดวกสบายแกขาพเจาและคณะ ขาพเจากราบ
ทูลวาสดวกเรียบรอยทุกประการ .................

ขาพเจาใชเวลาเวียนถวายการสอบสวนสมเด็จพระเจาอยูหัวและพระราชชนนีประมาณ ๔
ครั้ง จึงเสร็จสิ้น การสอบสวนซึ่งนับวาครบทุกประเด็นที่คณะกรรมการตองการ นับเปน
การคลี่คลายมูลเหตุสวรรคตอันมหึมา

จากประวัติการทําคดีสวรรคตของพระพินิจชนคดีซึ่งมีทั้งการขมขูพยาน และการสราง
พยานเท็จ ทําใหเราควรตองอานทุกอยางที่เขาเขียนเกี่ยวกับคดีนี้ รวมทั้งรายละเอียด
เรื่องการเขาเฝานี้ อยางไมนาเชื่อถือเสมอ จนกวาจะมีหลักฐานอื่นมายืนยัน นาเสียดาย
วา หลักฐานเกี่ยวกับการสอบปากคําในหลวงในป ๒๔๙๑ นี้ เชนเดียวกับการสอบปากคํา
โดยตํารวจในป ๒๔๘๙ ขางตน นาจะสูญหายไปหมดแลว อยางไรก็ตาม นาสังเกตวาแม
สิ่งที่พระพินิจฯเขียนขางตน จะไมควรเชื่อถือนัก แตเฉพาะขอความที่พระพินิจฯอางวาใน
หลวงองคปจจุบันทรงรับสั่ง (“อดคิดถึงพี่ไมไดเลยแมแตขณะเดียว...ไมไดคิดเลยวาจะ
เปนกษัตริย คิดแตจะเปนนองของพี่เทานั้น”) ดูเหมือนจะมีการนํามาอางอิงกันตอๆมา ใน
ลักษณะที่เปนพระราชดํารัสที่แทจริง (authentic)
พระราชดํารัสใหการตอศาล ๒๔๙๓

ดังกลาวขางตนวา ทรงใหการเปนพยายนโจทกใน ๒ วัน คือวันศุกรที่ ๑๒ และวันจันทร


ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ สยามนิกรวันอาทิตย ฉบับวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ได
รายงานการทรงใหการในวันแรก ดังนี้

บันทึกเสียงเผชิญสืบ
ในหลวงทรงใหการอยางชาๆ
องคมนตรีนั่งฟงในหลวงครบชุด
--------------------

เมื่อวันที่ ๑๒ เดือนนี้ คณะผูพิพากษาอันมีพระนิติธานพิเศษอธิบดีศาลอาญา นายวิจิตร


อัครวิจิตรไกรฤกษ นายทวี เจริญพิทักษ หลวงกําจรนิติศาสตร หลวงการุณยนราทร
พรอมดวยอัยยการ มีหลวงอรรถปรีชาชนูปการ หลวงอรรถโกวิทวที และนายเล็ก จุนนา
นนท สําหรับฝายจําเลยมี นายฟก ณ สงขลา น.ส.เครือวัลย ปทุมรส ทนายจําเลย และ
นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี นายบุศย ปทมศิรินทร จําเลย ซึ่งอยูในความ
ควบคุมของเจาหนาที่ตํารวจ ไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ณ
ตําหนักสวนจิตลดาระโหฐาน เพื่อเผชิญสืบในกรณีสวรรคต

กอนเวลาที่ในหลวงจะเสด็จออกสูท องพระโรง เจาหนาที่สํานักพระราชวังไดจัดใหผูไป


เผชิญสืบพักในหองรับแขก ครั้นไดเวลาเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดเสด็จ
ออกสูทอ
 งพระโรง ดวยฉลองพระองคชด ุ สีเทา ผูกเน็คไทสีมวง และฉลองพระเนตรสีดํา
พรอมองคมนตรีครบชุด
การเผชิญสืบครั้งนี้ ทางสํานักพระราชวังไดทําการอัดเสนลวด ครั้นแลวฝายอัยยการได
ทูลซักพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงตอบดวยพระอิริยาบถชาๆสําหรับทางดานผู
พิพากษา หลวงการุณยนราทร ไดเปนผูจดการบรรทึก ครั้นแลวกอนที่พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวจะทรงลงพระปรมาภิไธย พระองคไดทอดพระเนตรสํานวนพระราชกระแส
เสร็จแลว จึงพระราชทานใหพระพิจิตราชสารอานถวาย มีบางตอนที่พระองคทรงสั่งให
พระจิตแกไข ในหลวงไดพระราชทานพระราชกระแสรับสั่ง สําหรับในตอนนั้นเสร็จสิ้น
เมื่อ ๑๒.๓๐ น. และพระองคจะพระราชทานพระกระแสรับสั่งแกผูไปเผชิญสืบอีกครั้ง
หนึ่ง ในวันที่ ๑๕ เดือนนี้

๔ วันตอมา (๑๘ พฤษภาคม) สยามนิกร ไดตีพิมพตัวบทพระราชดํารัสคําใหการ


ทั้งในวันที่ ๑๒ และ ๑๕ ฉบับเต็ม โดยมีพาดหัวนํา ดังนี้

“ร.๘ พระราชชนนีและฉัน ไมมีอะไรหมองใจกัน”


ในหลวงรับสั่งกับศาล
ถึงเหตุการณวันสวรรคต
------------------

ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานกระแสพระราชดํารัส ในกรณี


สวรรคตรวม ๒ คราว คือเมื่อวันที่ ๑๒ และ ๑๕ เดือนนี้นั้น เมื่อวันที่ ๑๖ เดือนนี้ ศาลก็
อนุญาตใหหนังสือพิมพคด
ั พระราชดํารัสมาลงพิมพได

สยามนิกร ไมไดอธิบายวาการ “คัดพระราชดํารัสมาลงพิมพ” นั้น ทําอยางไร แต พิมพ


ไทย ฉบับวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ซึ่งตีพิมพตัวบทพระราชดํารัสคําใหการเชนกัน (แตไม
สมบูรณและลําดับยอหนาผิดพลาดสับสน) ไดอธิบายวา “ศาลไดยินยอมใหหนังสือพิมพ
นําพระราชกระแสรรับสั่งของพระองคเปดเผยได โดยผูพิพากษานายหนึ่งเปนคนบอกให
นักหนังสือพิมพจดเมื่อบายวันวานนี้”

การตีพิมพซ้ํา

เทาที่ผมคนควาไดขณะนี้ นอกจาก สยามนิกร ฉบับวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ที่


ตีพิมพตัวบทพระราชดํารัสใหการฉบับเต็มแลว มีการตีพิมพซ้ําอีกเพียง ๓ แหง คือ

แหงแรก ในหนังสือโปรเจาแอนตี้ปรีดีของ ดําริห ปทมะศิริ ในหลวงอานันทฯกับปรีดี ใน


ป ๒๔๙๓ (สํานักพิมพรัชดารมภ, หนา ๓๙๖-๔๐๙) หนังสือเลมนี้ดูเหมือนไมเคยมีการ
ตีพิมพซ้ํา

แหงที่ ๒ ในหนังสือโปรเจาแอนตี้ปรีดีอกี เลมหนึ่ง ในหลวงอานันทกับคดีลอบปลงพระ


ชนม ของ ชาลี เอี่ยมกระสินธ โดยสํานักพิมพพีจี ของ พจนาถ เกสจินดา หนังสือเลมนี้
ตีพิมพครั้งแรก ในชวงเดียวกับที่มีกระแสการตีพิมพหนังสือเกี่ยวกับกรณีสวรรคตอยาง
ขนานใหญในป ๒๕๑๗ โดยพิมพถึง ๒ ครั้งในปนั้น แลวตีพิมพซ้ําอีกในป ๒๕๒๐ ปรีดี
ไดฟองหมิ่นประมาทหนังสือเลมนี้และชนะคดี แลวไดนําคําฟอง (ที่เขาเขียนเอง) และ
คําตัดสินยอมความของศาลมาตีพิมพเปนหนังสือเลมในป ๒๕๒๓ ในชื่อ คําตัดสินใหม
กรณีสวรรคต ร.๘ ตัวบทพระราชดํารัสใหการที่ชาลี นํามาตีพิมพในหนังสือของเขานี้
นาจะเอามาจากตัวบทที่ตพ ี ิมพในหนังสือของดําริห เพราะมีที่ผิดพลาดสําคัญเหมือนกัน
(ดูขางหนา)

แหงที่ ๓ ในป ๒๕๓๑ บุญรวม เทียมจันทร อัยการพิเศษ ผูอํานวยการศูนยวิชาการ กรม


อัยการ ไดนําพระราชดํารัสคําใหการ มาตีพิมพในหนังสือของเขาชื่อ คดีพยายามลอบ
ปลงพระชนมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช (ร.๙) เขาไมระบุแหลงที่มา
ของตัวบท แตนาเชื่อวา คงมาจากหนังสือของชาลี หรือดําริห เพราะมีที่ผิดซ้าํ
เหมือนๆกัน ชื่อหนังสือของบุญรวม พาดพิงถึงกรณีที่มีการวางระเบิดหนาที่ประทับใน
หลวงองคปจจุบันขณะทรงเสด็จยะลาในป ๒๕๒๐

ปญหาบางประการเกี่ยวกับพระราชดํารัสใหการ ๒๔๙๓

ในที่นี้ ผมขอตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับพระราชดํารัสใหการ ๒๔๙๓ ใน ๒ ลักษณะ คือ ใน


ประเด็นที่เกี่ยวกับเนื้อหาของพระราชดํารัส และ ในประเด็นที่เกี่ยวกับการตีพิมพซ้ํา ซึ่ง
ทําใหเกิดปญหาในการตีความบางประการ

ในสวนเนื้อหาของพระราชดํารัสนั้น ผมคิดวา ผูใดทีอานพระราชดํารัสใหการ ๒๔๙๓


เปรียบเทียบกับคําใหการที่ทรงพระราชทานตอ “ศาลกลางเมือง” ยอมอดสะดุดใจไมได
วาพระราชดํารัสใหการ ๒๔๙๓ มีเนื้อหาในเชิงเปนผลรายตอปรีดี พนมยงค และตอ
จําเลยคดีสวรรคต โดยเฉพาะเฉลียว ปทุมรส ซึ่งถูกกลาวหาวาเปนผูสนับสนุน (บริวาร)
ใกลชิดของปรีดี(๕) หากลองเปรียบเทียบขอความในพระราชดํารัสคําใหการตอ “ศาล
กลางเมือง” ที่ยกตัวอยางขางตน กับขอความในยอหนา ถึง และยอหนา ของ
พระราชดํารัสใหการ ๒๔๙๓ ดังนี้

ฉันเคยทราบวานายเฉลียว ไดนั่งรถยนตรเขาไปถึงหนาพระที่นั่งบรมพิมาน ในหลวง


รัชชกาลที่ ๘ จะทรงพอพระราชหฤทัยในการกระทําเชนนั้นหรือไม ฉันไมรู เคยมีครั้ง
หนึ่งที่สมเด็จพระราชชนนีรับสั่งเรียกรถยนตรไมไดมา เหตุที่ไมไดมา เพราะคันหนึ่งไป
ซอม อีกคันหนึ่งเอาไปใหนายปรีดี เขาวากันวา นายเฉลียว เปนผูจัดสงรถไปใหนายปรีดี
แลวนายควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรี ไดสงรถมาถวายใหทรงใชแทน

ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ ไมเคยรับสั่งอะไรกับฉันถึงการเขาเฝาของนายเฉลียววามี
คารวะหรือไม การที่นายเฉลียวพนตําแหนงราชเลขานุการในพระองคนั้น นาจะเปนดวย
ในหลวงไมพอพระราชหฤทัย เหตุที่ไมพอพระราชหฤทัย เพราะอะไรไมไดรับสั่งแกฉัน
ใหทราบ

ในคราวเสด็จประพาสหัวหิน นายปรีดีโดยเสด็จดวย ในคราวนั้นนายปรีดีไดสั่งเอา


รถจี๊ปไปใช โดยไมไดขออนุญาต และนายปรีดีไดเคยจัดใหมีงานเลี้ยงขึ้นที่นั่น เลี้ยง
พวกใตดิน จัดเลี้ยงโดยไมไดขอพระบรมราชานุญาต ในการเลี้ยงนั้นมีเสียงเอะอะ

นายปรีดีเคยวา จะสั่งใหเอาเปยนโนมาถวาย จะสั่งมาจากไหนไมไดบอก ขณะนํามา


ถวายฉันไมไดอยูดวย ในขั้นตนฉันเขาใจวา เปยนโนนั้นเปนของนายปรีดี ตอมาพระยา
ชาติฯบอกวาเปนของสํานักพระราชวัง

เกี่ยวกับการตั้งผูสําเร็จราชการแทนพระองค ในการที่ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ จะเสด็จ


ตางประเทศนั้น ฉันไดรูบาง ความเห็นของนายปรีดีในการจะตั้งผูสําเร็จราชการ จะตรง
กับพระราชดําริหหรือไม ฉันไมทราบ

เกี่ยวกับการตั้งราชเลขานุการแทนนายเฉลียวที่พนตําแหนง ฉันรูบาง ในหลวงมีพระ


ราชประสงคจะทรงตั้งทานนิกรเทวัญ เทวกุล นายปรีดีปฏิบัติการสนองพระราชประสงค
นั้นชักชา

ในการที่ในหลวงจะเสด็จกลับสวิสเซอรแลนด โดยผานไปทางประเทศอเมริกาและ
ยุโรปนั้น เปนพระราชประสงคของพระองคทาน และทรงพระประสงคจะไดเสด็จไป
โดยเร็ว พระราชประสงคนี้จนใกลจะสวรรคตก็มิไดเปลี่ยนแปลง รัฐบาลจัดการเรื่องเสด็จ
นั้นเร็วชาประการใดไมทราบ ในที่สุด ไดกําหนดเสด็จกลับสวิตเซอรแลนดในวันที่ ๑๓
มิถุนายน ๒๔๘๙

รถจี๊ปที่นายปรีดีเอาไปใชนั้น เปนรถสวนพระองค

ควรเขาใจวา ลักษณะการบันทึกคําใหการของพยานในศาลไทย ดังเชนในกรณีพระราช


ดํารัสใหการ ๒๔๙๓ นี้ ใชวิธีที่ผูพิพากษาจดเฉพาะคําตอบของพยานเทานั้น ไมจด
คําถามของอัยการหรือทนายจําเลย เมื่อสิ้นสุดการใหการในวันนั้นแลว ผูพิพากษาก็เรียบ
เรียงคําตอบที่เขาจดไวเหลานั้น ออกมาเปนขอความที่ตอเนือ ่ งกันในลักษณะราวกับวา
พยานกําลังใหการดวยการพูดออกมาเองคนเดียว (monologue) ไมใชการพูดโตตอบ
กับคําถามที่อย ั การหรือทนายจําเลยตั้งขึ้น ในแงหลักฐานทางประวัติศาสตร สําหรับ
วิเคราะหความคิดของบุคคลใด บันทึกคําใหการของพยานลักษณะนี้ อาจทําใหให
ตีความไขวเขวคลาดเคลือ ่ นได เพราะความจริง ตัวบทบันทึกคําใหการไมไดแสดงให
เห็นวา สิ่งที่พยานพูดตามที่บันทึกนั้น เปนการพูดออกมาเอง หรือเปนการตอบสนองตอ
คําถามที่มีลักษณะเชิงชี้นาํ กอน มากนอยเพียงใด (ใครที่ศกึ ษาเรื่องการสัมภาษณทาง
สื่อมวลชนสมัยใหมอยางจริงจัง ควรทราบดีวา “คําตอบ” เปนอยางไร ที่สําคัญไมนอย
ขึ้นอยูกับการตั้ง “คําถาม” ดวย)

การที่ผูพิพากษาเรียบเรียงใหม ซึ่งทําใหเกิดการเพิ่มหรือตัด “คําเล็กๆ” ประเภทคําสรอย


หรือบุพบทสันธาน เขามาหรือออกไป ในแงของวิเคราะหตัวบท (textual analyses) ถือ
วามีความสําคัญ เพราะ “คําเล็กๆ” เหลานั้น สามารถทําใหน้ําหนักของประโยคเปลี่ยนไป
ได ในบางกรณีการเพิ่มหรือตัด อาจจะไมใชเพียง “คําเล็กๆ” เพราะผุพิพากษาตองเรียบ
เรียงคําใหการใหมใหอานไดตอเนื่อง ดังนั้น ยกตัวอยางเชน ในกรณีที่พยานเพียงตอบ
สั้นๆ ตอคําถามบางคําถาม โดยไมไดทวนคําถามนั้นซ้ํา (คือตอบเพียง “ใช”, “ไมใช”
หรือ “ไมทราบ”) เมื่อผูพพ
ิ ากษาเรียบเรียงใหม ยอมตองเขียนคําถามของผุถาม เขาไป
ในลักษณะเปนสวนหนึ่งของ “คําพูด” ของพยานดวย ทั้งๆที่ในความเปนจริง ขอความ
หรือการเลือกใชคํา (phrasing) ตอนนั้นเปนของผุถาม ไมใชของผูตอบ

ยิ่งกวานั้น หลังจากผูพิพากษาเรียบเรียงบันทึกคําใหการของพยานเสร็จแลว จะอานทวน


ใหพยานฟง พยานเองยังอาจขอแกไขบางคําได คําบางคําในบันทึกคําใหการจึงอาจจะ
ไมใชคําที่พยานใชจริงๆในระหวางใหการ แตเปนผลจากการแกไขนี้ (ดูรายงานขาวใน
สยามนิกร ที่ยกมาขางตนที่วา “สําหรับทางดานผูพิพากษา หลวงการุณยนราทร ไดเปน
ผูจดการบรรทึก ครั้นแลวกอนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงลงพระปรมาภิไธย
พระองคไดทอดพระเนตรสํานวนพระราชกระแสเสร็จแลว จึงพระราชทานใหพระพิจิตราช
สารอานถวาย มีบางตอนที่พระองคทรงสั่งใหพระจิตแกไข”)

สรุปแลว บันทึกคําใหการพยาน เปนหลักฐานที่เสี่ยงตอการคลาดเคลือ่ นจากความจริง


ไมนอย โดยเฉพาะคือ สวนที่เปนความละเอียดออน (subtleties) ตางๆที่มีความสําคัญ
ตอการวิเคราะหในแงความคิดหรือทาทีของบุคคลผูเปนพยาน

อยางไรก็ตาม ในกรณีนี้ แมวาเราควรตระหนักถึงขอจํากัดตางๆ (qualifications) ที่เกิด


จากลักษณะของการบันทึกคําใหการพยานในศาลดังกลาวแลวก็ตาม ดานที่พระราช
ดํารัสใหการตอศาลในคดีสวรรคตของในหลวงองคปจจุบันในป ๒๔๙๓ มีเนื้อหาเชิงลบ
ตอปรีดี ก็ยังเปนสิ่งที่ชวนสะดุดใจสังเกตเปนอยางยิง่

ปญหาที่เกิดจากการตีพิมพซ้ํา

เทาที่ผมมองเห็นในตอนนี้ มีปญหาเกี่ยวกับตัวบทพระราชดํารัสคําใหการคดีสวรรคต
๒๔๙๓ ที่ถูกตีพิมพซ้ําตอๆกันมา อยู ๓ จุด จุดแรก เปนปญหาตั้งแตการตีพิมพครั้งแรก
ในหนังสือพิมพสมัยนั้นอยาง สยามนิกร และ พิมพไทย สวนอีก ๒ จุด เปนปญหาที่เกิด
จากความผิดพลาดในการตีพิมพ ในหนังสือของ ดําริห ปทมะศิริ แลวถูกผลิตซ้ําใน
หนังสือของ ชาลี เอี่ยมกระสินธ และ บุญรวม เทียมจันทร ที่เอาฉบับของดําริห เปน
ตนแบบ ผมขออธิบายปญหาแตละจุดตามลําดับ

(๑) ตั้งแตฉบับที่ตีพิมพในสยามนิกร และ พิมพไทย ไมกี่วันหลังจากทรงพระราชทาน


คําใหการ ไปจนถึงฉบับที่พิมพในหนังสือของดําริหและคนอื่นๆ มีขอความอยูตอนหนึ่ง
ในตัวบทพระราชดํารัสใหการ ที่ไมตรงกับทีอ่ ัยการโจทกนํามาอางในคําแถลงปดคดีของ
ตน คือขอความตอไปนี้ในยอหนา
ในคราวเสด็จประพาสหัวหิน นายปรีดีโดยเสด็จดวย ในคราวนั้นนายปรีดีไดสั่งเอา
รถจี๊ปไปใช โดยไมไดขออนุญาต และนายปรีดีไดเคยจัดใหมีงานเลี้ยงขึ้นที่นั่น เลี้ยง
พวกใตดิน จัดเลี้ยงโดยไมไดขอพระบรมราชานุญาต ในการเลี้ยงนั้นมีเสียงเอะอะ

ในคําแถลงปดคดี (ลงวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๔๙๔) อัยการโจทกไดอางพระราชดํารัส


ตอนนี้ และมีประโยคหนึ่งเพิ่มเขามา ซึ่งยิ่งมีเนื้อหาเชิงลบตอปรีดีมากขึ้นไปอีก
ดังตอไปนี้ (การเนนคําของผม)

ในคราวเสด็จประพาสหัวหิน นายปรีดี พนมยงค ไดโดยเสด็จพักอยูดวย สมเด็จพระ


เจาอยูหัวองคปจจุบันไดพระราชทานพระราชกระแสรับสั่งตอศาลวา “นายปรีดีฯ
ปฏิบัติการไมพอพระราชหฤทัยมีหลายอยาง นายปรีดีฯ ไดสั่งเอารถจี๊ปไปใช โดยไมได
ขออนุญาต นายปรีดีฯ ไดเคยจัดใหมก ี ารเลี้ยงขึ้นที่นั่น โดยไมไดขอพระราชทานพระ
บรมราชานุญาต ในการเลี้ยงนี้มีเสียงเอะอะ”(๖)

ประโยค “นายปรีดีฯปฏิบัติการไมพอพระราชหฤทัยหลายอยาง” เปนประโยคที่ในหลวง


องคปจจุบันรับสั่งจริงๆ หรืออัยการจดมาผิด? (นาสังเกตดวยวา ประโยคที่ตามมาก็มีบาง
คําไมตรงกับในฉบับที่ตีพม ิ พในหนังสือพิมพ คือไมมี “เลี้ยงพวกใตดิน” แตจด
ุ นี้อัยการ
เองอาจจะอางมาแบบไมครบ) โดยทั่วไปอัยการนาจะมีคําใหการของพยานฉบับทางการ
คือฉบับที่ผูพพ
ิ ากษาจดและเรียบเรียงอานใหพยานลงนาม และนาจะอางอิงจากฉบับ
ทางการนั้น ซึ่งถาเชนนั้น ในกรณีนี้ ก็แปลวา ฉบับที่พิมพในหนังสือพิมพมีความ
คลาดเคลือ ่ น (เปนไปไดหรือไมวา ในการที่ “ผูพิพากษานายหนึ่งเปนคนบอกให
นักหนังสือพิมพจด” ได “บอกจด” ผิดพลาด ขามประโยคนี้ไป?)

แนนอน สมมุตวา ฉบับที่อย ั การอางในคําแถลงปดคดีเปนฉบับทางการที่ถูกตอง และมี


ประโยคดังกลาวในบันทึกพระราชดํารัสใหการจริงๆ เราก็ยังไมสามารถบอกไดเด็ดขาด
ลงไปวา ในหลวงองคปจจุบันมีรับสั่งเชนไรแน อันเนื่องมาจากลักษณะวิธีการจดบันทึก
คําใหการพยานที่ผมอธิบายขางตน เชน ในการถาม-ตอบจริงๆ อัยการอาจจะถามวา “ได
ยินวา นายปรีดีฯปฏิบัติการไมพอพระราชหฤทัยหลายอยาง ทรงยกตัวอยางไดไหมพะยะ
คะ?” แลวในหลวงองคปจจุบันทรงตอบวา “นายปรีดีฯ ไดสั่งเอารถจี๊ปไปใช โดยไมได
ขออนุญาต...” แตเมื่อผูพพ ิ ากษาเรียบเรียงใหม ไดรวมทั้งประโยคที่อัยการถาม และที่
ทรงตอบเขาดวยกัน เปนพระราชดํารัสใหการ แตตอ  งไมลืมวา ในหลวงองคปจจุบันตอง
ทรงอานทวนคําใหการที่ผุพิพากษาเรียบเรียงใหมนี้ แลวลงพระปรมาภิไธยรับรองวาเปน
ของพระองค ที่แนนอนคือ การมีประโยคนี้ ทําใหขอความในยอหนา ที่มีลักษณะในเชิง
ลบตอปรีดีอยูแลว มีน้ําหนักเชิงลบตอปรีดีเพิ่มขึ้นอยางมาก

(๒) ตัวบทพระราชดํารัสใหการที่ตีพิมพในหนังสือของ ดําริห ปทมะศิริ (และในหนังสือ


ของชาลี และบุญรวม ที่เอาดําริหเปนตนแบบ) มีที่ผิดพลาด คือ ในระหวางยอหนา

กับยอหนา ควรจะมีขอความหรือหัวขอใหมวา “(ทรงตอบทนายจําเลย)” (เขียน

ในวงเล็บแบบนี้) นั่นคือ ขอความจากยอหนา เปนตนไป ถึงยอหนา เปน


ขอความที่ทรงตอบคําถามของทนายจําเลย ไมใชของโจทก การพิมพตกหลนนี้ มีสวน
สําคัญที่ทําให ปรีดีตีความผิดวา การเผชิญสืบในหลวงองคปจจุบันครั้งนี้ กระทํากันที่
สวิตเซอรแลนด โดยไมมฝ ี ายจําเลยเขารวมดวย ซึ่งปรีดีเสนอวา (เมื่อรวมกับการเผชิญ
สืบพระราชชนนีที่สวิตเซอรแลนด โดยไมมีฝายจําเลยเขารวมดวยจริงๆ) ทําใหการ
ดําเนินคดีทั้งหมด ควรถูกถือเปนโมฆะ(๗)

(๓) นอกจากนี้ ดําริหยังไดตีพิมพขอ ความในยอหนา [2] ของพระราชดํารัสใหการ


ผิดพลาด ดังนี้ (การเนนคําของผม)
[2] ในเชาวันที่ ๙ มิถุนายนนั้น ฉันกินอาหารเชาเวลาใดบอกไมใครถูก แตประมาณราว
๘.๓๐ น. กินที่มุขพระที่นงั่ ชั้นบนดานหนา (โจทกขอใหทรงชี้หุนจําลองพระที่นั่ง ได
นํามาจากศาลดวย ฃ ทรงชี้ตรงที่แสดงไวในหุน) กินอาหารแลวฉันไดเดินไปทางหอง
บรรทมในหลวงรัชชกาลที่ ๘ ซึ่งเปนเวลา ๙.๐๐ น.ไดพบนายชิตกับนายบุศย อยูที่หนา
หองแตงพระองค เห็นนั่งอยู (ทรงชี้หุนจําลอง ตรงกับจุด ๒ จุด ทีจ
่ ุดไวในแผนผัง
หมายเลข ๑) นายชิต นายบุศย นั่งอยูเฉยๆ ฉันไดถามเขาวา ในหลวงพระอาการเปน
อยางไร ไดรับตอบวาพระอาการดีขึ้น ใครเปนผูตอบจําไมได เขาตอบไปวาทรงสบายดี
ขึ้น ไดเสด็จหองสรงแลว ตอจากนั้น ฉันไดเดินไปยังหองของฉัน เดินไปตามเฉลียง
ดานหลัง ตรงเขาไปในหองนอนของฉัน แลวก็เขาไปในหองเครื่องเลน เดินเขาๆออกๆ
อยูที่สองหองนี้ ระหวางนั้นซึ่งเปนเวลาประมาณ ๙.๒๕ น. ไดยินเสียงคนรอง ไดยินใน
ขณะที่อยูในหองเครื่องเลน กอนไดยินเสียงรองไดเห็นคนวิ่งผานประตูหองบรรไดซึ่งอยู
ติดกับหองเครื่องเลน (ทรงชี้หุนจําลองและแผนผังหมายเลข ๑ และศาลไดขีดเสนดวย
ดินสอสีแดงเปนลูกศรแสดงทางที่เห็นคนวิ่งไปในแผนผัง) เสียงคนรองเปนเสียงใครจํา
ไมได ไดยินเสียงรองแลว ฉันไดออกจากหองเครือ ่ งเลนไปยังเฉลียงดานหนาโดยผาน
ทางหองบรรได (ทรงขีดเสนดินสอแดงไวในแผนผังหมายเลข ๑ แสดงทางที่พระองค
เสด็จ) ไดพบน.ส.จรูญ ทีห ่ นาหองขาหลวง ถาม น.ส.จรูญ วามีอะไรเกิดเรื่องอะไร ไดรับ
ตอบวาในหลวงยิงพระองค ฉันไดยินดังนั้นก็ตรงไปยังหองพระบรรทมในหลวงรัชชกาลที่
๘ (ทรงขีดเสนหมึกในแผนผังหมายเลข ๑ แสดงเสนทางที่เสด็จตรงไปยังหองพระ
บรรทม)

ขอความตอนนี้ที่ถก
ู ตองคือ “ฉันไดเดินไปยังหองของฉัน เดินไปตามเฉลียง
ดานหลัง ตรงเขาไปในหองนอนของฉัน แลวก็เขาไปในหองเครื่องเลน เดินเขาๆ
ออกๆอยูที่สองหองนี้ ระหวางนั้นซึ่งเปนเวลาประมาณ ๙.๒๕ น. ไดยินเสียงคน
รอง....”

ขอความที่พิมพผิด ตกหลนไปประมาณ ๑ บรรทัดนี้ ทําใหอานไมไดความหมายใดๆ

แนนอน ตอมาในยอหนา ทรงใชคําใกลเคียงกันอีก (และดําริหพิมพไดถก


ู ตอง)
วา “ระหวางที่ฉันเดินไปๆมาๆอยูในหองนอนและหองเครื่องเลนนั้น จะมีใครอยูในสอง
หองนั้นบางไหม ไมไดสังเกต” แตถาอานขอความในยอหนา [2] ไมรูเรื่องแลว ก็ยากจะ

เขาใจนัยยะของขอความในยอหนา ได และจากการพิมพตกหลน คําวา “ทรง

ตอบทนายจําเลย” กอนยอหนา ทําใหไมสามารถเขาใจวา ขอความสวนนี้ เปน


การทรงตอบการซักคานของทนายจําเลย ตอคําตอบที่ทรงใหโจทก (และถูกพิมพผิด)
ในยอหนา [2] (ประเด็นพระองคทรงอยูที่ใดขณะเกิดเสียงปน)

ยิ่งกวานั้น ประโยคที่ดําริหพิมพผิดนี้ อาจจะมีนัยยะสําคัญตอการเขาใจเหตุการณ


แวดลอมการสวรรคตได อยางนอย นี่คือประเด็นที่ สุพจน ดานตระกูล พยายามนําเสนอ
ในหนังสือที่มีความสําคัญขั้นขี้ขาดของเขาเรื่อง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคต สุพจน
ไดตีพิมพพระราชดํารัสใหการยอหนานี้ และเนนคําประโยคนี้ (ที่ดําริหและคนอื่นๆพิมพ
ผิด) โดยเปรียบเทียบกับบางสวนของคําใหการของพยานโจทกอีกคนหนึ่ง คือพระพี่
เลี้ยงเนื่อง จินตดุลย เมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๔๙๑ ตอไปนี้ (การเนนคําเปนของสุ
พจน)
ขาพเจาอยูในหองสมเด็จพระราชชนนีเปนเวลาราว ๒๐ นาที จึงออกจากหองสมเด็จพระ
ราชชนนีไปทางหองในหลวงองคปจจุบันโดยเขาไปจัดฟลมหนัง เมื่อเขาไปในหอง
ขาพเจาไมพบใครแมแตในหลวงองคปจจุบัน ซึ่งพระองคจะเสด็จไปประทับอยูที่ไหนใน
ขณะนั้นก็หาทราบไม ขณะที่ขาพเจากําลังจัดฟลมหนังอยูนั้น ก็ไดยินเสียงดังมาก เปน
เสียงปน ดังทีเดียวเทานั้น ขาพเจานึกสงสัยวาอะไรจึงดังเชนนั้น จึงรีบออกมาทาง
ระเบียงดานหลัง ผานหองเครื่องเลนของในหลวงองคปจจุบัน หองบันได พอมาถึงหอง
พระภูษาก็ไดยินเสียงวิ่ง (พยานชี้ใหดูแผนผัง) ตามระเบียงดานหนา ขณะนั้นคะเนวา
ไมใชคนเดียว และวิ่งไปทางทิศตะวันออกคืไปทางหองในหลวงในพระบรมโกษฐ เมื่อ
ไดยินเชนนั้น ขาพเจาจึงออกวิ่งบาง วิ่งไปทางระเบียงดานหลัง มุงตรงไปหองในหลวง
ในพระบรมโกษฐ ระหวางทางนั้นจะมีใครอยูแถวที่ผา นไปบางหรือไม ไมไดสังเกต และ
พระฉากที่ประตูหองของพระองคจะเปดหรือยัง ไมไดสังเกตทั้งนั้น(๘)

ตัวบท

ตัวบทพระราชดํารัสใหการในศาลคดีสวรรคตป ๒๔๙๓ ที่ผมนํามาเผยแพรขางลางนี้ ผม


ถือเอาฉบับทีต ่ ีพิมพใน สยามนิกร วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๘๙ เปนหลัก โดย
เปรียบเทียบกับฉบับที่พิมพไมสมบูรณใน พิมพไทย วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๘๙ และ
ฉบับเต็มที่ ดําริห พิมพในหนังสือของเขา (แลวชาลี และ บุญรวม เอามาพิมพตอ) ผม
ตัดแบงยอหนาเพิ่มเติมบางแหงจากฉบับที่พิมพใน สยามนิกร

คําใหการพะยานโจทก
คดีหมายเลขดําที่ ๑๘๙๘/๒๔๙๑

ศาลอาญา

วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓


ความอาญาระหวาง อัยการ โจทก
นายเฉลียว ปทุมรส กับพวก จําเลย

ขาพเจาขอใหการวา ขาพเจาชื่อ พระบาทสมเด็จพระปริมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ


ขอใหการตอไป (ทรงตอบโจทก)

[1 ในวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ ฉันไปในงานพระราชทานเพลิงพระศพ พระองคเจา


อาทิตยแทนรัชชกาลที่ ๘ และในคืนเดียวกันนั้น ไปในกรมทหารมหาดเล็ก แตมิใชไป
แทนพระองค เหตุที่รัชชกาลที่ ๘ ไมไดเสด็จในงานพระศพพระองคเจาอาทิตย ก็เพราะ
ไมทรงสบาย อาการไมทรงสบายนั้น ไมถึงขนาดตองบรรทมอยูกับพระแทน ยังทรงพระ
ราชดําเนินไปมาบนพระที่นั่งได ไมทรงสบายดวยพระโรคอะไรฉันไมใชหมอ ไดยินแต
รับสั่งเพียงวาไมสบาย

[2 ในเชาวันที่ ๙ มิถุนายนนั้น ฉันกินอาหารเชาเวลาใดบอกไมใครถูก แตประมาณราว


๘.๓๐ น. กินที่มุขพระที่นงั่ ชั้นบนดานหนา (โจทกขอใหทรงชี้หุนจําลองพระที่นั่ง ได
นํามาจากศาลดวย ฃ ทรงชี้ตรงที่แสดงไวในหุน) กินอาหารแลวฉันไดเดินไปทางหอง
บรรทมในหลวงรัชชกาลที่ ๘ ซึ่งเปนเวลา ๙.๐๐ น.ไดพบนายชิตกับนายบุศย อยูที่หนา
หองแตงพระองค เห็นนั่งอยู (ทรงชี้หุนจําลอง ตรงกับจุด ๒ จุด ทีจ
่ ุดไวในแผนผัง
หมายเลข ๑) นายชิต นายบุศย นั่งอยูเฉยๆ ฉันไดถามเขาวา ในหลวงพระอาการเปน
อยางไร ไดรับตอบวาพระอาการดีขึ้น ใครเปนผูตอบจําไมได เขาตอบไปวาทรงสบายดี
ขึ้น ไดเสด็จหองสรงแลว ตอจากนั้น ฉันไดเดินไปยังหองของฉัน เดินไปตามเฉลียง
ดานหลัง ตรงเขาไปในหองนอนของฉัน แลวก็เขาไปในหองเครื่องเลน เดินเขาๆออกๆ
อยูที่สองหองนี้ ระหวางนั้นซึ่งเปนเวลาประมาณ ๙.๒๕ น. ไดยินเสียงคนรอง ไดยินใน
ขณะที่อยูในหองเครื่องเลน กอนไดยินเสียงรองไดเห็นคนวิ่งผานประตูหองบรรไดซึ่งอยู
ติดกับหองเครื่องเลน (ทรงชี้หุนจําลองและแผนผังหมายเลข ๑ และศาลไดขีดเสนดวย
ดินสอสีแดงเปนลูกศรแสดงทางที่เห็นคนวิ่งไปในแผนผัง) เสียงคนรองเปนเสียงใครจํา
ไมได ไดยินเสียงรองแลว ฉันไดออกจากหองเครือ ่ งเลนไปยังเฉลียงดานหนาโดยผาน
ทางหองบรรได (ทรงขีดเสนดินสอแดงไวในแผนผังหมายเลข ๑ แสดงทางที่พระองค
เสด็จ) ไดพบน.ส.จรูญ ทีห ่ นาหองขาหลวง ถาม น.ส.จรูญ วามีอะไรเกิดเรื่องอะไร ไดรับ
ตอบวาในหลวงยิงพระองค ฉันไดยินดังนั้นก็ตรงไปยังหองพระบรรทมในหลวงรัชชกาลที่
๘ (ทรงขีดเสนหมึกในแผนผังหมายเลข ๑ แสดงเสนทางที่เสด็จตรงไปยังหองพระ
บรรทม)

[3 เมื่อเขาไปถึงหองพระบรรรทมแลว เห็นสมเด็จพระราชชนนีและพระพี่เลีย ้ งเนื่องอยู


บนพระแทนบรรทม สมเด็จพระราชชนนี ประทับอยูเบื้องปลายพระบาทในหลวง โดย
พระองคอยูบนพระแทนครึ่งพระองค สวนพระพี่เลี้ยงเนื่องอยูบนพระแทนบรรทม และอยู
ตอนไปทางดานพระเศียร เห็นในหลวงบรรทมอยูบนพระแทนในทาหงายอยางปรกติ
เห็นที่พระนลาตมีรอยโลหิต พระเนตรหลับ สังเกตเห็นพระกรยืดอยูขางพระวรกาย อยู
ทาคนนอนธรรมดา พระกรแนบพระวรกาย หางจากพระวรกายตรงขอบพระหัตถดานใน
ประมาณ ๕ ซ.ม. ที่วานี้หมายถึงพระกรซาย สวนพระกรขางขวาเปนอยางไรไมเห็น
สังเกตเห็นพระหัตถอยูในทาธรรมดา นิ้วพระหัตถไมงอแตพระหัตถงอบางอยางธรรมดา
คืองดนิดหนอย มีผาคลุมพระบรรทมคลุมอยูดวย พระกรอยูภายนอกผานั้น เห็นแตขาง
ซาย ขางขวาไมไดเห็น ผาคลุมพระองคขึ้นมาเสมอพระอุระ

[4 เมื่อฉันเห็นเชนนั้นก็บอกกับคนที่อยูท
 ี่นั่นใหไปตามหมอมา แลวฉันไดเขาไปประคอง
สมเด็จพระราชชนนีมาประทับที่พระเกาอี้ปลายพระแทนบรรทม ตอจากนั้น หลวงนิตยฯ
ไดมาถึง จะมาถึงภายหลังที่ฉันเขาไปในหองพระบรรทมแลวนานเทาใด กะไมถูก หลวง
นิตยฯเขาไปดูแลวกก็ไมไดพูดวากะไร แตฉันเห็นหนาหลวงนิตยฯก็รูไดวาไมมีหวังแลว
สมเด็จพระราชชนนีไดเสด็จไปประทับในหองทรงพระอักษรตอไป

[5 เมื่อทราบวาหมดหวังแลว ตอมาไดเรียกพระยาชาติฯขึ้นมาถามวาจะทําอยางไรตอไป
พระยาชาติฯบอกถึงพระราชพิธีเกี่ยวกับพระบรมศพแลว ฉันก็สั่งใหเขาจัดการไปตาม
ระเบียบ

[6 ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ เคยทรงปนในงานแฟร (งานออกราน) ในตางประเทศบาง


หรือไม ก็เปนปนของเลน ปนที่ทรงในงานแฟรเปนปนที่เขามีกัน ปนพกเคยทรงแตที่เปน
ปนของเลน เมื่อเสด็จนิวัตพระนครแลวใหมๆ คือ ในระหวางเดือนธันวาคม มกราคม
กุมภาพันธ นั้น ไดเคยทรงพระแสงปนเหมือนกัน เปนปนที่มีผูทูลเกลาฯถวาย โดยถวาย
ที่เมืองชล เสด็จเมืองชลในราวเดือนธันวาคม โดยหลวงประดิษฐฯเปนผูถวายบังคมทูล
เชิญเสด็จไปดูพวกใตดินของหลวงประดิษฐฯ ปนที่ทูลเกลาฯถวายนั้นมีทั้งปนสั้นและปน
ยาว เมื่อเสด็จกลับมาประทับที่นั่งบรมพิมานแลว ก็ไดทรงปนนั้นเหมือนกัน โดยมีคนมา
ชี้แจงการใชปนถวาย ผูมาชี้แจงมี ร.อ.วัชรชัย ซึ่งขณะนั้นเปนราชองครักษ พวกที่ใหปน
มานั้นเปนผูแนะนําให ร.อ.วัชรชัยเปนผูชี้แจงถวาย การที่ทรงปนเปนพระราชประสงบค
ของในหลวงเอง ทรงปนที่ในสวนหลังพระที่นั่งบรมพิมาน ฉันก็ไปยิงปนอยูดวย
เหมือนกัน ทรงทั้งปนสั้นและปนยาวทั้งสองอยาง

[7 ปนที่มีผูทูลเกลาฯถวายมานั้นเปนปน U.S. Army ๑๑ ม.ม.นี้ ไดทรงในสวนดวย


เหมือนกัน (โจทกขอใหทรงทอดพระเนตรปนของกลาง แลวกราบบังคมทูลถามวา ปน
U.S. Army ที่มีผูทูลเกลาฯถวายมานั้น ลักษณะเปนอยางเดียวกับปนของกลางหรือไม
ทรงตอบวาอยางเดียวกัน) เมื่อทรงปน U.S. Army แลว มีพวกมหาดเล็กที่อยูใ นที่นั้น
เก็บเอาปลอกกระสุนไปบาง นายชิตนายบุศยก็เคยเก็บปลอกกระสุนไปเหมือนกัน และ
เห็นจะเก็บไปทั้งสองคน ปนนั้นเมื่อทรงแลวก็มอบใหราชองครักษเก็บไป (โจทกขอให
ทรงทอดพระเนตรบัญชีปน  ตามที่อางไว และศาลหมายเลข ๑๔๓ และโจทกไดอาน
รายการในบัญชีนั้นถวาย แลวกราบบังคมทูลถามวา ลูกระเบิดมือตามบัญชีนั้น ใคร
ทูลเกลาฯถวายมา ทรงรับสั่งตอบวา จําไมได)

[8 ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ ตองทรงฉลองพระเนตร โดยสายพระเนตรสั้น เวลาทรงปนจะ


ไดทรงฉลองพระเนตรทุกคราวหรือไม จําไมได แตโดยมากเห็นทรง

[9 ดูเหมือนในวันสวรรคตนั้นเอง แตจําไมไดแน นายชิตไดบอกวา เก็บปลอกกระสุนปน


ไดในหองบรรทม โดยบอกวา เก็บไดใกลพระแทน จะไดบอกละเอียดวาเก็บตรงไหน
อยางไรจําไมได นายชิตจะชี้ที่ที่เก็บไดใหดูหรือเปลาก็จําไมได แมตัวนายชิตเองก็ไม
แนใจวา ตนเก็บไดที่ไหน

วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ (ทรงตอบโจทก) ตอจากวันที่ ๑๒ พฤษภาคม


๒๔๙๓

[10 ฉันเคยทราบวานายเฉลียว ไดนั่งรถยนตรเขาไปถึงหนาพระที่นั่งบรมพิมาน ในหลวง


รัชชกาลที่ ๘ จะทรงพอพระราชหฤทัยในการกระทําเชนนั้นหรือไม ฉันไมรู เคยมีครั้ง
หนึ่งที่สมเด็จพระราชชนนีรับสั่งเรียกรถยนตรไมไดมา เหตุที่ไมไดมา เพราะคันหนึ่งไป
ซอม อีกคันหนึ่งเอาไปใหนายปรีดี เขาวากันวา นายเฉลียว เปนผูจัดสงรถไปใหนายปรีดี
แลวนายควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรี ไดสงรถมาถวายใหทรงใชแทน

[11 ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ ไมเคยรับสั่งอะไรกับฉันถึงการเขาเฝาของนายเฉลียววามี


คารวะหรือไม การที่นายเฉลียวพนตําแหนงราชเลขานุการในพระองคนั้น นาจะเปนดวย
ในหลวงไมพอพระราชหฤทัย เหตุที่ไมพอพระราชหฤทัย เพราะอะไรไมไดรับสั่งแกฉัน
ใหทราบ

[12 ในคราวเสด็จประพาสหัวหิน นายปรีดีโดยเสด็จดวย ในคราวนั้นนายปรีดีไดสั่งเอา


รถจี๊ปไปใช โดยไมไดขออนุญาต และนายปรีดีไดเคยจัดใหมีงานเลี้ยงขึ้นที่นั่น เลี้ยง
พวกใตดิน จัดเลี้ยงโดยไมไดขอพระบรมราชานุญาต ในการเลี้ยงนั้นมีเสียงเอะอะ

[13 นายปรีดีเคยวา จะสั่งใหเอาเปยนโนมาถวาย จะสั่งมาจากไหนไมไดบอก ขณะนํามา


ถวายฉันไมไดอยูดวย ในขั้นตนฉันเขาใจวา เปยนโนนั้นเปนของนายปรีดี ตอมาพระยา
ชาติฯบอกวาเปนของสํานักพระราชวัง

[14 เกี่ยวกับการตั้งผูสําเร็จราชการแทนพระองค ในการที่ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ จะเสด็จ


ตางประเทศนั้น ฉันไดรูบาง ความเห็นของนายปรีดีในการจะตั้งผูสําเร็จราชการ จะตรง
กับพระราชดําริหหรือไม ฉันไมทราบ

[15 เกี่ยวกับการตั้งราชเลขานุการแทนนายเฉลียวที่พนตําแหนง ฉันรูบาง ในหลวงมีพระ


ราชประสงคจะทรงตั้งทานนิกรเทวัญ เทวกุล นายปรีดีปฏิบัติการสนองพระราชประสงค
นั้นชักชา

[16 ในการที่ในหลวงจะเสด็จกลับสวิสเซอรแลนด โดยผานไปทางประเทศอเมริกาและ


ยุโรปนั้น เปนพระราชประสงคของพระองคทาน และทรงพระประสงคจะไดเสด็จไป
โดยเร็ว พระราชประสงคนี้จนใกลจะสวรรคตก็มิไดเปลี่ยนแปลง รัฐบาลจัดการเรื่องเสด็จ
นั้นเร็วชาประการใดไมทราบ ในที่สุด ไดกําหนดเสด็จกลับสวิตเซอรแลนดในวันที่ ๑๓
มิถุนายน ๒๔๘๙

[17 นายมี พาผล เคยบอกฉันวา วันที่ ๑๓ จะเสด็จกลับไมได บอกเมื่อในหลวงเสด็จ


สวรรคตแลวราว ๒-๓ อาทิตย วานายชิตเปนผูพูดวาในหลวงจะไมไดเสด็จกลับวันที่ ๑๓

[18 ตามที่ตอบไวเมื่อวันกอนวา เห็นคนวิ่งผานหองบรรไดไปนั้น ตอมาฉันไดสอบสวนดู


ฉันเคยถามนายชิตเขาบอกวา เขาวิ่งมาทางหนาพระที่นั่ง และบอกอีกครั้งหนึ่งวาวิ่งมา
ทางหลังพระที่นั่งแลวออกไปทางหนา เขาไมแนใจ นายชิตบอกและชี้ทางดวย แตก็เปน
เรื่องไมแนนอน

[19 นายวงศ เชาวนกวี เคยสอนหนังสือฉันในวันที่ ๘ กอนสวรรคตนั้น นายวงศไดไป


เฝาในวันที่ ๙ หลังจากในหลวงสวรรคตแลว นายวงศไดมาตามคําสั่งของฉัน หลังจาก
นั้น นายวงศยังไดมาอีกหลายครั้ง

[20 ในระหวางในหลวงรัชชกาลที่ ๘ สมเด็จพระราชชนนี และฉัน ไมมีอะไรขุนของ


หมองใจกัน ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ ไมเคยรับสั่งกับฉันวามีความคับแคนพระราชหฤทัย
อยางใด เคยรับสั่งแตวา อากาศรอน

[21 เกี่ยวกับราชการ ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ จะทรงมีอะไรคับแคนพระราชหฤทัยบางไหม


ฉันไมรู สวนที่เกี่ยวกับสวนพระองค ก็ไมมีเรื่องคับแคนที่รุนแรง

[22 ในหลวงรัชชกาลที่ ๘ พระทัยเย็น และเวลาทรงปน ทรงระมัดระวังทุกทาง ยังเคย


ทรงเตือนฉันเวลายิง หรือเลนปนพก ใหดูเสียกอนวามีลูกอยูในลํากลองหรือเปลา

[23 ในหลวงไมเคยพูดเรื่องการเมืองกับฉัน และฉันไมเคยทราบเรื่องในหลวงทรงอยาก


พบ จอมพล ป. พิบูลสงคราม

[24 นายฉันท หุมแพร เปนคนจงรักภักดี และเปนหวงในความสุขสบายของเรา เกี่ยวกับ


การปลอดภัย เขาเปนหวงเหมือนกัน นายฉันทฯไมเคยพูดกับฉันมาก เปนแตเคยบอกกับ
ฉันวา ตองระวัง ที่วาตองระวังนั้น เขาใจวาระวังคน บอกตั้งแตฉันมาถึงเมืองไทย

[25 รถจี๊ปที่นายปรีดีเอาไปใชนั้น เปนรถสวนพระองค


(ทรงตอบทนายจําเลย)

[26 คนที่ฉันเห็นวิ่งผานประตูหองบรรไดไปนั้น เขาผานโดยเร็ว ฉันไมรูวาเปนใคร กอน


นั้นฉันไมไดยินเสียงอะไรดังผิดปรกติ ระหวางที่ฉันเดินไปๆมาๆอยูในหองนอน และหอง
เครื่องเลนนั้น จะมีใครอยูใ นสองหองนั้นบางไหม ไมไดสังเกต ในที่สด
ุ ฉันก็ไมทราบวา
คนที่เห็นวิ่งไปนั้นเปนใคร ขณะเห็นไมทันไดคิดวาอยางไร

[27 เสียงคนรองที่ไดยินนั้น เปนเสียงทั้งตกใจทั้งรองไห และเปนเสียงของคนๆ


นอกจากเห็น น.ส.จรูญ ที่เฉลียงแลว ไมเห็นมีใครอีก ตอนนั้นจะมีเสียงรองทางหนาพระ
ที่นั่งบางไหม ไมรู ฉันถาม น.ส.จรูญ แลว ก็ไดเดินตอไปโดยเร็ว จะมีเสียงคนวิ่งไหม
ไมไดสังเกต เวลานั้นประตูหองทรงพระอักษรทางดานที่เปดออกสูเฉลียงดานหนาจะปด
หรือเปดอยู ไมไดสังเกต ประตูนั้นตามธรรมดาเมื่อยังไมตื่นบรรทมก็ปด และตามธรรมดา
ฉันไปหองพระบรรทม ก็เขาทางหองแตงพระองค ฉันเขาไปถึงหองพระบรรทมแลว ก็
เลยตรงเขาไปที่สมเด็จพระราชชนนี ขณะนั้นจะไดมีการเช็ดพระโลหิตที่พระพักตรใน
หลวงรัชชกาลที่ ๘ แลวบางไหม ฉันไมทราบ ฉันเขาใจวาพระพี่เลี้ยงเนื่องกําลังทําการ
เช็ดพระพักตรในหลวงอยู ฉันเขาไปถึง สมเด็จพระราชชนนีแลวนานสัก ๑ นาที หรือ ๒
นาที ก็ประคองพระองคทา นออกมา ขณะนี้พระพี่เลี้ยงจะคงเช็ดพระพักตรอยูห  รือเปลา
ฉันไมไดดู จะมีคนอื่นเขาไปในพระวิสูตรหรือเปลา ฉันไมไดสังเกต ฉันไมไดแหวกพระวิ
สูตรเขาไป นาจะมี คนแหวกไว แหวกขางเดียวหรือทั้งสองขาง ไมไดสังเกต ฉันออก
จากพระวิสูตรมาแลว ก็มาอยูกับสมเด็จพระราชชนนีที่ปลายพระแทน ไมไดเขาไปอีก

[28 ฉันสังเกตทาทางของพระบรมศพ ตั้งแตกอนเขาไปในพระวิสูตรแลว จะมีอะไรอยู


ใกลพระกรเบื้องซายบาง ไมไดสังเกต พระเศียรหนุนพระเขนยอยูในทาปรกติ สังเกตเห็น
ตั้งแตแรกเขาไป

[29 สมเด็จพระราชชนนีเสด็จออกไปประทับอยูที่หอ  งทรงพระอักษรกอนฉัน ฉันออกจาก


หองพระบรรทมไปแลว ก็ไดกลับเขาไปอีก กีค
่ รั้งไมไดนับ

[30 ฉันไดเห็นปน เมื่อนายชิตนํามาใหดูที่เฉลียง ขณะนั้นเวลาสักเทาใดจําไมได ปนที่


นายชิตนํามาใหดู เปนปนที่นายฉันท หุมแพร ถวายรัชชกาลที่ ๘ ถวายตั้งแตตอนเสด็จ
มาถึงประเทศไทย

[31 ในวันสวรรคตนั้น นายวงศไดมาหาฉัน ที่หองทรงพระอักษรในตอนแรก ตอมาอีก


ตอนหนึ่ง มาหาที่ใกลหองของฉัน

[32 เคยยิงปนจากเฉลียงชั้นบนลงไปในสวน บางคราวก็ลงไปยิงในสวน ในหลวงรัช


ชกาลที่ ๘ ไดเวนทรงปนอยูกอ
 นเสด็จสวรรคตหลายวัน อาจจะมีคนอื่นมาแนะนําวิธีทรง
ปนอีกบาง

[33 การที่นายปรีดีโดยเสด็จไปหัวหินดวยนั้น นายปรีดีไมมีหนาที่โดยเสด็จ แตจะเปน


พระราชประสงคหรือเปลา ฉันไมรู

[34 เรื่องสมเด็จพระราชชนนี ทรงเรียกรถใชไมไดนน ั้ จะกอนหรือหลังกลับจากหัวหินจํา


ไมได ไดยินเขาพูดกันวา รถนั้นนายปรีดีเอาไปใช โดยนายเฉลียวสงไปให
(ทรงตอบโจทกติง)

[35 เวลานายชิตนําปนมาใหฉันดูนั้น จะพูดอยางไร จําไมได

ลงพระปรมาภิไธย

บันทึกเรื่องพระราชพินัยกรรมรัชกาลที่ ๖ "ฉบับเต็ม"

ในบทความของผมเรื่อง "ในหลวงอานันทขึ้นครองราชยตามลําดับขั้นของกฎมณเฑียร
บาลหรือเพราะปรีดีสนับสนุน?" (ฉบับพิมพใน ฟาเดียวกัน ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒, เมษายน-
มิถุนายน ๒๕๔๙ หรือฉบับ weblog เชิงอรรถที่ ๔๑ ผมไดอธิบายกระบวนการที่ผม
พยายาม "ตามลา" หา "พระราชพินัยกรรมรัชกาลที่ ๖" ซึ่งเคยมีการตีพิมพใน
ศิลปวัฒนธรรม ในป ๒๕๒๘ อยางไมครบสมบูรณ และทั้งผูตีพิมพคือ คุณบุญยก ตาม
ไท และ ศิลปวัฒนธรรมเอง ไมสามารถนึกไดวาไดตนฉบับมาจากที่ใดแลวในขณะนี้ ผม
จึงไดประกาศหาเอกสารดังกลาวในเว็บไซต "วิชาการดอทคอม" ซึ่งมีผูสนใจเรื่องเจา
(ในระดับที่อาจเรียกไดวาเปน "อนุวัฒนธรรม" sub-culture) เปนสมาชิกประจําอยูหลาย
คน ในที่สุด คุณวรชาติ มีชูบท กรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกลาเจาอยูหัวในพระบรมราชูปถัมภ ไดกรุณานําขอความในพระราชพินัยกรรม
ฉบับเต็มมาโพสต โดยคุณวรชาติกลาววา “วานพรรคพวกไปคน....เลยคัดมาฝากกัน
สําหรับขอ ๔ ขออนุญาตละพระนามที่ระบุไวในพระราชพินัยกรรม เพราะหลานๆ ทานยัง
มีชีวิตกันอยู”

เมื่อไมกี่วันที่ผานมา คุณเทพมนตรี ลิมปพยอม ผูมีชื่อเสียง ไดแวะมาหาผมที่ที่ทํางาน


ทาพระจันทร เมื่อเจอหนากัน คุณเทพมนตรีก็ยื่นเอกสารถายสําเนา (ซีร็อกซ) ชุดหนึ่ง
ให แลวกลาววา "ไดขาววาอาจารยกําลังมองหาพระราชพินัยกรรมรัชกาลที่ ๖" ผมรับ
เอกสารดังกลาวมาเปดๆดู ดวยความตื่นเตนดีใจ เห็นเปนสําเนาของ "พระราชพินัยกรรม
รัชกาลที่ ๖" จริงๆ คุณเทพมนตรีบอกผมวา ที่นํามาใหนี้เปน "ฉบับสมบูรณ" (คุณเทพ
มนตรีอธิบายการไดมาเหมือนกัน แตผมขอไมเลาตอในที่นี้) ผมตองขอขอบคุณคุณเทพ
มนตรีอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

จากการพิจารณาเอกสารที่คุณเทพมนตรีนํามาให (ดูภาพประกอบ) ทําใหผมไดขอสรุป


เพิ่มเติมเกี่ยวกับ พระราชพินัยกรรม รัชกาลที่ ๖ ดังน

(๑) "พระราชพินัยกรรม" ฉบับที่ ศิลปวัฒนธรรม ตีพิมพ อันที่จริง เปน "สําเนา" ของ


"พระราชพินัยกรรม" ซึ่งรัชกาลที่ ๖ ทรงคัดลอกไวในสมุดจดหมายเหตุรายวัน (ไดอารี่
diary) ของพระองค ไมใชพระราชพินัยกรรมฉบับ "จริง" เสียทีเดียว กลาวคือ หลังจากที่
รัชกาลที่ ๖ ทรงใหเขียนพินัยกรรมฉบับจริงแลว - ใหเจาหนาที่เขียนตามที่ทรงบอก
ไมใชลายพระราชหัตถเลขาของพระองคเอง (ดูขางลาง) - ก็ทรงคัดลอกขอความของ
พินัยกรรมนั้นลงในไดอารี่ ดวยพระราชหัตถเลขาของพระองคเองอีกตอหนึ่ง
ศิลปวัฒนธรรม ไดภาพถายสําเนาไดอารี่ สวนที่ทรงคัดลอกพินัยกรรมไวนี้ แตไดมาไม
ครบ คือ ไดเพียง ๒ หนา "พระราชพินัยกรรม" ที่ทรงคัดลอกไวในไดอารี่นี้ มีความยาว
๓ หนาของไดอารี่ (นับเฉพาะตัวบทพินัยกรรมจริงๆ) ศิลปวัฒนธรรม ไดมาขาดไป ๑
หนา เอกสารซีร็อกซทค ี่ ณ
ุ เทพมนตรีนํามาใหผม คือ สําเนาพินัยกรรมที่ทรงบันทึกไวใน
ไดอารี่ทั้ง ๓ หนา แตมีบน ั ทึกขอความในไดอารี่ทต
ี่ อเนื่องเกี่ยวของกับพินัยกรรมบวก
เขามาดวยอีก ๔ หนา รวมกับหนาแรกสุด ที่เปนซีรอ ็ กซ "ปก" ของไดอารี่ที่มส ี ําเนาพระ
ราชพินัยกรรมนี้แลว เอกสารที่คุณเทพมนตรีนํามาใหผม จึงมีทั้งสิ้น ๘ หนา (ดู
ภาพประกอบ)

(๒) ขอความในพระราชพินัยกรรมที่คุณวรชาติ มีชบ ู ท คัดลอกมาโพสต อาจจะมาจาก


(สําเนา) พระราชพินัยกรรมฉบับจริง (คือฉบับทีท ่ รงใหเจาหนาที่เขียน) ไมใชจากสําเนา
ที่เปนพระราชหัตถเลขาทีอ ่ ยูในไดอารี่ก็เปนได เพราะคุณวรชาติไดคัดลอกมาวา พระ
ราชพินัยกรรมขึ้นตนดวย "พระราชลัญจกรพระบรมราชโองการ" ซึ่งในไดอารี่ไมมี (ใน
บทความที่ตีพิมพใน ฟาเดียวกัน ผมไมไดเอยถึงการมีเครื่องหมาย "พระราชลัญจกร" ใน
ตอนตนของขอความที่คณ ุ วีรชาติโพสต เพราะมองขามเรื่องพินัยกรรมมีทั้งฉบับที่
คัดลอกลงในไดอารี่ กับฉบับจริงทางราชกาาร) ถาเปนไดอารี่ จะขึ้นตนดวย "หนังสือสั่ง
เสนาบดีวัง เรื่องสืบสันตติวงศและตั้งพระอัษฐิ [ดูรายวันนา๑๖๑]" (ดังที่ศิลปวัฒนธรรม
นํามาพิมพ และผมนํามาอางตอ)

(๓) คุณวรชาติ มีชูบท ไดละพระนามของ "เมีย" ผูหนึ่งที่รัชกาลที่ ๖ สั่งวาอยาเอาอัฐิมา


ตั้งคูกับอัฐิของพระองค จากเอกสารที่คุณเทพมนตรีนํามาให ผมจึงไดเห็นวา พระนามที่
ละไวคือ "สมเด็จพระนางเจาอินทรศักดิศ ์ จี" (ประไพ สุจริตกุล) ซึ่งในเดือนมกราคม
๒๔๖๔ (ปฏิทินเกา) รัชกาลที่ ๖ ทรงตั้งใหเปน "พระอินทรามณี พระสนมเอก" ตอมาใน
เดือนมิถุนายน ๒๔๖๕ ยกใหเปน "พระอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา" ในเดือนมกราคม
๒๔๖๕ (ปฏิทินเกา) ยกใหเปน "สมเด็จพระนางเจาอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี" (คือยก
ใหเปน "ควีน") แตแลวในเดือนกันยายน ๒๔๖๘ กลับลดฐานะใหกลับเปนเพียง "สมเด็จ
พระนางเจาอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา" (คือในชวงเดียวกับที่ทรงทําพินัยกรรมนี้เอง
คําสั่งลดฐานะลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๔๖๘ ตีพิมพใน ราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒๘
กันยายน ๒๔๖๘ พินัยกรรมลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๔๖๘) ขอความทั้งหมดในพินัยกรรม
ตอนนี้ มีดังนี้
ขอ ๔ ตอไปภายหนาก็คงจะมีเหตุเรื่องตั้งพระบรมอัษฐิ, คือ จะเอาองคใดขึ้นมาตั้งคู
กับฃาพเจา. ฃาพเจาขอสั่งเด็ดขาดไวเสียแตบัดนี้, หามมิใหเอาพระอัษฐิสมเด็จพระนาง
เจาอินทรศักดิศจีขึ้นมาตั้งเคียงฃาพเจาเปนอันขาด; เพราะตั้งแตไดมาเปนเมียฃาพเจา
ก็ไดบํารุงบําเรอน้ําใจฃาพเจาเพียง ๑ เดือนเทานั้น, ตอแตนั้นมาเอาแตความรอนใจหรือ
รําคาญมาสูฃาพเจาอยูเปนเนืองนิตย. ถาจะเอาผูใดตั้งคูก
 ับฃาพเจา ก็นาจะตั้งอัษฐิสุวัท
นา, ซึ่งถามีลูกชายแลวก็ไมมีปญหา.

(๔) ในไดอารี่ พระราชพินัยกรรมที่ทรงคัดลอกไว เริ่มตนที่หนา ๓๙๔ และจบที่หนา


๓๙๖ (คือ ๓ หนาไดอารี่ดังกลาวขางตน) คุณเทพมนตรีไดนําซีร็อกซขอความในไดอารี่
มาใหอีก ๔ หนา คือหนา ๓๙๗ ถึง ๓๙๙ และอีก ๑ หนา ซึ่งเลขหนาอานไมได และไม
แนใจวา จะเปนหนาที่ตอจากหนา ๓๙๙ เลย (คือหนา ๔๐๐) หรือไม ขอความของ
ไดอารี่ในหนาตางๆ เปนดังนี้ (สวนที่ทําเครื่องหมาย ..... คือขอความที่ผมยัง "แกะ"
ลายพระราชหัตถเลขาไมได สวนที่มีเครื่องหมาย [?] คือขอความที่ผมไมแนใจวา "แกะ"
ถูกหรือไม)
[สมุดจดหมายเหตุรายวัน หนา ๓๙๗]

บําเหน็จผูพยาบาล ฯลฯ

[ตอจากรายวันที่ ๘ ตุลาคม]

อนึ่งในการที่เราไดปวยลงไดมีผูที่มีความในทางพยาบาลและชวยความสดวกตางๆหลาย
คน,จึ่งไดสั่งใหจัดใหหาของบําเหน็จใหเปน ๒ ชั้น; ชั้นที่ ๑ เปนซองบุหรี่(หรือหีบ) ทอง
, มีตราลงยาเปนอักษรยอ ร.ร.๖ กับเครือ ่ งราชกกุธภัณฑประกอบติดที่ซองและมีอก ั ษร
จารึกนามผูรับและความชอบ; ชั้นที่ ๒ เปนซองบุหรีเ่ งิน, มีตราและจารึก.ซองบําเหน็จนี้
ไดแจกเมื่อคืนนี้และวันนี้ มีรายนามผูไดรับดังตอไปนี้:

ชั้นพิเศษ

(ซองทองลงยา มีตราอักษรยอ ร.ร.๖ ประดับเพ็ชร ของอื่นๆลงยา,มีจารึกทีห


่ ลังซอง, มี
สายสรอยทองแบบซองผูหญิง)

เจาจอมสุวัทนา (พยาบาลทุกอยาง)

ซองทอง (.............)
(ซองมีสายสรอยประกอบ)

๑. เกตุมดี. (รับใชเบ็ดเตล็ดตางๆ)
๒. อรุณธดี (อยูงานพัดวี [?] ถูกใจ)
๓. ทาวศรีสุนทรนาฎ (........)

[สมุดจดหมายเหตุรายวัน หนา ๓๙๘]

ชั้นที่ ๑

๑. เจาพระยารามราฆพ (หมอมหลวงเฟอ พึ่งบุญ ณ กรุงเทพ),


รับใชดําเนิรกระแสพระบรมราชโองการในกิจการตางๆ, ติดตอทั้งในและนอก
พระราชสํานัก.
๒. พระยาอนิรุทธเทวา (หมอมหลวงฟน พึ่งบุญ ณ กรุงเทพ), อํานวยการพยาบาล
.........
๓. พระยาแพทยพงศา (สุน สุนทรเวช), และ
๔. พระยาดํารงแพทยาคุณ(ชื่น พุทธิแพทย), นายแพทยผูทําการบําบัดโรค.
๕. พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตนานนท), หัวนาดูแลกํากับผูชายที่ทําการ
พยาบาล.
๖. เจาหมื่นสรรเพชรภักดี (สัน สันติเสวี), พยาบาล.
๗. หลวงฤทธิ์นายเวร (เฉลิม เศวตนันทน), อานหนังสือและอยูงานพัด
๘. นายจา.... (เลื้อน .......), พยาบาล.
๙. นายจายวด (สืบ คงคะรัตน), พยาบาล.
๑๐. นายพลพาห (เวียง สุนทรวายุ), พยาบาล.
๑๑. นายพินัยราชกิจ (ผล ศิวเสน), พยาบาล.
๑๒. นายสมิธ (เฉลิม [?]บุณยรัตนพันธุ), พยาบาล.

[สมุดจดหมายเหตุรายวัน หนา ๓๙๙]

ชั้นที่ ๒
๑. พระยาราชอักษร (ใช อัศวรักษ), รับคําสั่งเขียนหนังสือตางๆ
๒. พระยาสุรินทรเสวี (เถา วัลยเสวี), สมทบชวยพยาบาล.
๓. หลวงศักดิ์นายเวร (เนื่อง สาคริก), อยูงานพัด.
๔. พระทรงพลราบ (บุญมา หิรัณยมาน), สมทบชวยพยาบาล.
๕. พระราชเสวก (สมบุญ จารุตามระ),
๖. พระบริหาร....ลดา (นุด .....),
๗. พระพิบูลยพิริยภาพ (ถม ประถมภัฎ),
สามนายนี้รับใชวิ่งเตนขยันดี

____________

[สมุดจดหมายเหตุรายวัน หนา ?]

เขียนหนังสือสั่งเรื่องสืบสันตติวงศ
[ดูสําเนาที่นา ๓๙๔]

ยังมีไขอยูอีก. นอนอยูก
 ับที่นอนตลอดวัน, นอกจากไปเฃาหองเล็ก.

อนึ่งในการที่เราปวยครั้งนี้ มาเกิดรูสึกอํานาจของวัยธรรม,ไมแนใจเลยวาจะไมถึงแก
ความตาย,ฉนั้นในเมื่อยังมีสติสัมปะชัญญะบริบูรณอยูเชนนี้จึ่งจงใจเรียกพระยาราชอักษร
มาเขียนตามเราบอก, เปนหนังสือถึงเสนาบดีกระทรวงวัง,สั่งถึงเรื่องการสืบราชสันตติ
วงศ และเรื่องตั้งพระอัษฐิ,มีขอความพิสดารดังไดคด ั สําเนาไวในสมุดเลมนี้ นา ๓๙๔.ใน
สวนเรื่องสืบสันตติวงศนั้น เชื่อวาแมใครๆตั้งอยูในความไมลําเอียงไดทราบแลว ก็คง
เห็นชอบ. สวนเรื่องพระอัษฐินั้น, ใครจะคิดอยางไรก็ตาม,แตเราเห็นโดยจริงใจวา สุวัท
นาสมควรที่จะไดตั้งคูกับเรา เพราะประการ ๑จะมีลก ู ซึ่งหวังใจวาจะเปนรัชทายาท และ
อีกประการ ๑ ตั้งแตเราลมเจ็บลง สุวัทนาไดพยาบาลอยางดีที่สุดโดยไมเห็นแกเหนื่อย
ยากลําบากกายตามวิสัยของหญิงที่มีครรภแก อุตสาหมานั่งพยาบาลปอนฃาวหยอดน้ํา
และทํากิจอื่นๆเปน....ประการ วันละหลายชั่วโมง,นับวาเปนเมียดีจริงๆ.

***************************************************************

สรุป

จากพระราชพินัยกรรมของรัชกาลที่ ๖ และขอความในไดอารี่ที่เกี่ยวของโดยเฉพาะใน
หนาสุดทาย ที่เพิ่งแสดงใหดู แสดงใหเห็นอยางไมตองสงสัยวา เจาฟาประชาธิปก ได
ขึ้นครองราชยเปนรัชกาลที่ ๗ อยางเปนไปตามประเพณีของราชสํานักและตามกฎ
มณเฑียรบาล คือ เพราะคําสั่งของรัชกาลที่ ๖ เอง จึงไมมีประเด็นที่ปรีดี และโดยเฉพาะ
สุพจน ดานตระกูล จะเสนอไดวา เปนการขึ้นครองราชยที่ "ขาม" พระองคเจาจุลจักร
พงษ ไปอยางไมชอบดวยประเพณีและกฎมณเฑียรบาล ซึ่งทําให พระองคเจาจุลจักร
พงษ เมื่อรัชกาลที่ ๗ สละราชยในป ๒๔๗๗ นาจะทรงมีสิทธิในการขึ้นครองราชยอีก
(อันที่จริง พระองคเจาจุลฯทรงถูก "ขาม" ไปกอนหนานั้นแลวหลายป ดังที่ผมไดแสดง
รายละเอียดใหดูในบทความ) แนนอน ประเพณีของราชสํานักและกฎมณเฑียรบาลเปน
เรื่องหนึ่ง แตเมื่อรัชกาลที่ ๗ สละราชยในป ๒๔๗๗ นั้น ระบอบการเมืองไดเปลี่ยนไป
จากสมบูรณาญาสิทธิราชยแลว และการตัดสินใจของผูปกครองใหมในการเลือกกษัตริย
รัชกาลที่ ๘ จะถือเอาตามประเพณีและกฎมณเฑียรบาลหรือไม ยอมเปนอีกเรือ ่ งหนึ่ง ซึ่ง
ตองอภิปรายกันตอไป

ใครเปนใครในกรณี 6 ตุลา

โดย สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

สงัด ชลออยู, ธานินทร กรัยวิเชียร และแผนรัฐประหารป 2519

ในหนังสือ บันทึกการปฏิวัติ 1-3 เมษายน 2524 กับขาพเจา (2525), บุญชนะ อัตถากร


ไดตีพิมพเปนหนึ่งในภาคผนวก บันทึกชวยจําที่เขาเขียนขึ้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ
2520 เกี่ยวกับการสนทนาระหวางเขากับ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู ระหวางงานศพ พล.อ.
แสวง เสนาณรงค ที่มีขึ้นในคืนกอนหนานั้น เนื้อหาของบันทึกดังกลาว (หนา 186-187)
มีดังนี้:

ระหวางสวดพระอภิธรรม ขาพเจาไดคุยกับพลเรือเอกสงัด เกี่ยวกับเหตุการณบานเมือง


ในปจจุบัน คําบอกเลาตางๆของคุณสงัดในฐานะเปนหัวหนาคณะปฏิรูป 6 ตุลาคม 2519
และในฐานะรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เปนความรูซึ่งคงไมคอยมีคนทราบ
ขาพเจาจึงขอบันทึกไวดังตอไปนี้....

คุณสงัดเลาใหฟงวา ในเดือนกุมภาพันธ 2519 มีขาวลืออยูทั่วไปวา จะมีทหารคิดกอการ


ปฏิวัติ เหตุการณบานเมืองในขณะนั้น ฝายซายกําลังฮึกเหิมและรบกวนความสงบอยู
ทั่วไป จึงไดกราบบังคมทูลขึ้นไปยังในหลวงที่เชียงใหมซึ่งประทับอยูภูพิงคราชนิเวศน
ในขณะนั้นวา จะขอใหคณ ุ สงัดซึ่งเปนผูบัญชาการทหารสูงสุด (กับพลเอกเกรียงศักดิ์
ชมะนันทน ผูชวยผูบัญชาการฯ) กับพลเอกบุญชัย บํารุงพงศ ผูบัญชาการทหารบก พล
อากาศเอกกมล เดชะตุงคะ ผูบัญชาการทหารอากาศขึ้นไปเฝา แตในหลวงโปรดเกลาฯ
ใหคุณสงัดเขาเฝาคนเดียว ทั้งๆที่ตั้งใจวาถาเขาเฝาทั้ง 3 คนก็จะไดชวยกันฟงนํามาคิด
และปฏิบัติโดยถือวาเปนพรสวรรค

เมื่อคุณสงัดไปเฝาในหลวงที่ภูพิงคราชนิเวศนนั้นไดไปโดยเครื่องบิน เขาเฝาคนเดียวอยู
ราว 2 ชั่วโมงครึ่งในตอนบาย ไปวันนั้นและกลับในวันเดียวกัน คุณสงัดบอกวาไมเคยเขา
เฝาในหลวงโดยลําพังมากอนเลย คราวนี้เปนครั้งแรก ไดกราบบังคมทูลใหทรงทราบถึง
สถานการณบานเมืองวาเปนที่นาวิตก ถาปลอยไปบานเมืองอาจจะตองตกอยูในสถานะ
อยางเดียวกับลาวและเขมร จึงควรดําเนินการปฏิวัติ

คุณสงัดเลาตอไปวา อยากจะไดพรจากพระโอษฐใหทางทหารดําเนินการไดตามที่คิดไว
แตในหลวงก็มิไดทรงรับสัง่ ตรงๆ คงรับสั่งแตวาใหคิดเอาเองวาจะควรทําอยางไรตอไป

คุณสงัดเห็นวา เมื่อไมรับสั่งตรงๆก็คงดําเนินการไมได จึงกราบบังคมทูลวา ถาทางทหาร


ยึดอํานาจการปกครองไดแลวก็มิไดประสงคจะมีอํานาจเปนใหญตอไป จึงอยากจะให
ฝายพลเรือนเขามาบริหารประเทศ สมมุติวาถายึดไดแลวใครจะควรเปนนายกรัฐมนตรี
ตอจากนั้น เสร็จแลวคุณสงัดก็ไดกราบบังคมทูลรายชื่อบุคคลที่นาจะไดเปน
นายกรัฐมนตรีทลี ะชือ
่ เพื่อจะไดพระราชทานความเห็น

คุณสงัดเลาวา ไดกราบบังคมทูลชือ
่ ไปประมาณ 15 ชื่อ รวมทั้งคุณประกอบ หุตะสิงห
หลวงอรรถสิทธิสุนทร คุณประภาศน อวยชัย คุณเชาว ณ ศีลวันต ดวย แตก็ไมทรงรับสั่ง
สนับสนุนผูใด

เมื่อไมไดชื่อบุคคลที่นาจะเปนนายกไดและเวลาก็ลวงไปมากแลว คุณสงัดก็เตรียมตัวจะ
กราบบังคมทูลลากลับ แตกอนจะออกจากที่เฝา ในหลวงไดรับสั่งวา จะทําอะไรลงไปก็
ควรจะปรึกษานักกฎหมาย คือ คุณธานินทร กรัยวิเชียร ผูพิพากษาศาลฎีกาเสียดวย คุณ
สงัดบอกวาไมเคยรูจก ั คุณธานินทรมากอนเลย พอมาถึงกรุงเทพฯก็ไดบอกพรรคพวก
ทางทหารใหทราบแลวเชิญคุณธานินทรมาพบ

คุณสงัดบอกวาไดถามคุณธานินทรวา ไดคุนเคยกับในหลวงมานานตั้งแตเมื่อใด คุณ


ธานินทรบอกวาไมเคยเขาเฝาในหลวงใกลชิดเลย แตอยางไรก็ดค ี ุณสงัดก็ไดเริ่มใชให
คุณธานินทรเตรียมคําแถลงการณตางๆและเอกสารตางๆใหพรอม พิจารณาแลวก็เก็บไว
ในตูนิรภัยอยางเอกสารลับ เพื่อจะนําไปใชหลังจากการปฏิวัติแลว

คุณสงัดบอกตอไปวา ไดรอคอยโอกาสทีจ ่ ะยึดอํานาจการปกครองอยูเรื่อยๆ แตก็ไมได


จังหวะ จนในที่สุดก็เกษียณอายุตองออกจากราชการ เมื่อ 1 ตุลาคม 2519 เพื่อนฝูง
นายทหารผูใหญก็หาวาคุณสงัดเตะถวง ซึ่งความจริงจะวาจริงก็ได เพราะยังไมมีเหตุผล
หรือเหตุการณจะใหทําเชนนั้นไดงายๆ และในหลวงก็ไมไดรับสั่งสนับสนุน

โดยที่คุณธานินทรไดรวมงานกอการมาดวยกันดังกลาว คุณสงัดบอกวา จึงไมมีเหตุผล


อยางใดที่จะไมกราบบังคมทูลใหในหลวงตั้งคุณธานินทรเปนนายกรัฐมนตรี สวนขาวลือ
ที่วาคุณสงัดเสนอ 3 ชื่อ คือ คุณประกอบ คุณประภาศน และคุณธานินทร และในหลวง
เลือกคุณธานินทรนั้น ก็เปนเรื่องเลาๆกันไปอยางนั้นเอง

ธานินทร กรัยวิเชียร ไดยืนยันตอ ยศ สันตสมบัติ (ในหนังสือ อํานาจ บุคลิกภาพ


และผูนําการเมืองไทย, 2533, หนา 136) วา "ผมไมเคยเขาเฝาหรือไดรับพระราช
กระแสจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในเรื่องนี้มากอนเลย แตผมก็ไดรับทราบจากคุณ
สงัด ชลออยูตามนั้น" คําถามที่นาสนใจคือ เหตุใดจึงทรงแนะนําใหพล.ร.อ.สงัดไป
ปรึกษากับธานินทร ทั้งๆที่ฝายหลัง "ไมเคยเขาเฝาใกลชิดเลย"?

ธานินทรเกิดป 2470 (ปเดียวกับปพระราชสมภพ) สําเร็จการศึกษาวิชากฎหมายจาก


ประเทศอังกฤษ แลวเริ่มรับราชการในกระทรวงยุติธรรมตําแหนงผูชวยผูพิพากษาศาล
อุทธรณในป 2499 แลวยายมาเปนหัวหนากองการคดี ตามคําบอกเลาของเขา (ยศ,
อํานาจ, หนา 130):

ผมเองมีความสนใจในปญหาเกี่ยวกับคอมมิวนิสตเปนอยางมากมาตั้งแตป 2501 ตั้งแต


ตอนทีค่ ุณพระดุลยพากยสุวมันต รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม มีบัญชาใหผมคนควา
และวิจัยเกี่ยวกับลัทธิคอมมิวนิสตและผลของการใชกฎหมายวาดวยการกระทําอันเปน
คอมมิวนิสต ทั้งตอมาในป 2504 กระทรวงยุติธรรมไดสงผมไปเรียนวิชาสงคราม
จิตวิทยาอันเปนเรื่องเกี่ยวกับการปองกันภัยทางการเมืองจากการคุกคามของ
คอมมิวนิสตที่กระทรวงกลาโหม และจากนั้นมาทางราชการกระทรวงกลาโหมก็ได
มอบหมายใหผมเปนผูบรรยายในเรื่องของลัทธิและวิธีการของคอมมิวนิสตและการใช
กฎหมายปองกันคอมมิวนิสตในสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติหลาย
แหงเปนเวลา 10 ปเศษ ผมไดเรียบเรียงคําบรรยายประกอบการสอนเรื่องเกี่ยวกับ
คอมมิวนิสตและระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยหลายเลมดวยกัน....

นับตั้งแตป 2504 เปนตนมา ธานินทร (ตามคําสรุปของยศ สันตสมบัติ) "ไดเริ่มเปนที่


รูจักกันดีในแวดวงของผูที่ทํางานดานความมั่นคงและกลุมอนุรักษนิยมในฐานะที่เปน
ผูเชี่ยวชาญและนักตอตานคอมมิวนิสตคนสําคัญ" ธานินทรเริ่มตนแสดงบทบาททาง
การเมืองในชวงหลัง 14 ตุลา โดยออกมาตอตานสิ่งที่เขามองวาเปนการเคลื่อนไหวของ
คอมมิวนิสตทั้งนอกรัฐสภาและในรัฐสภา (ซึ่งเขายืนยันวาการเคลื่อนไหวของ
คอมมิวนิสตดังกลาว "เปนประวัติศาสตรที่ไมมีผูใดจะบิดผันใหเปนอื่นไปได รายงานการ
ประชุมของรัฐสภาขณะนั้น ระบุชัดเจนวาใครทําอะไรหรือไมทําอะไรบาง") เขาไดรวมกับ
ดุสิต ศิริวรรณ ออกอากาศรายการโทรทัศน "สนทนาประชาธิปไตย" เรื่อง "ความมั่นคง
ของชาติและความผาสุกของประชาชน" เพื่อให "สังคมไทยอยูร อดและคงความเปนไทย
ไวโดยปลอดจากภัยคอมมิวนิสต" แตรายการดังกลาวถูกรัฐบาลคึกฤทธิ์สั่งระงับในเดือน
มกราคม 2519 หลังจากออกอากาศทางสถานีโทรทัศนชอง 4 ของรัฐบาลไดเพียง 4
ครั้ง อยางไรก็ตาม พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน เสนาธิการทหาร "ตระหนักในภัยจาก
การคุกคามของคอมมิวนิสต" จึงจัดใหไปออกอากาศตอทางชอง 5 ของกองทัพบกอีก 6
ครั้ง รวมเปน 10 ครั้ง

จากขอมูลเหลานี้ นาจะมีเหตุผลเพียงพอที่จะตั้งสมมุติฐานวา ในหลวงทรง


สามารถแนะนําให พล.ร.อ.สงัดไปปรึกษาธานินทรไดทั้งๆที่ธานินทร "ไมเคยเขา
เฝาใกลชิด" มากอน เพราะไดทรงติดตามผลงานดานหนังสือและ/หรือรายการ
โทรทัศนตอตานคอมมิวนิสตของธานินทรดังกลาวนั่นเอง

ธานินทรเลาวา เมื่อไดรบ
ั พระราชกระแสแลว "ทางทหารจึงไดมาติดตอกับผม แลวเขา
ถึงไดใหผมชวยวางแผนใหวา ถาเผื่อมีการปฏิวัติจะจัดอยางไร ในแงของกฎหมายจะมี
การประกาศของคณะปฏิวัติอยางไร และแผนการที่จะเปนรัฐบาลควรจะเปนในรูปใด"
แผนการดังกลาวซึ่งธานินทรกับอีกบางคนรวมกันรางขึ้นนําเสนอตอฝายทหารและไดรับ
การเห็นชอบจากฝายหลัง ถูกธานินทรเรียกวา "แผนแมบท" หรือ Master Plan "คือ
หลักการปฏิรูปการปกครองแผนดิน เราจัดทํากัน 3-4 คน....ไมตองรูก็แลวกันวามีใคร
บาง คําวา การปฏิรูปการปกครองแผนดิน ก็เริ่มจากตรงนี้ เริ่มจากหลักการปฏิรูปอันนี้"

ธานินทรเลาวา แผนแมบท หรือ Master Plan นี้ ประกอบดวยหลักการสําคัญ 8


ประการ (ดูรายละเอียดใน ยศ, อํานาจ, หนา 279-286) ในจํานวนนี้สวนใหญ เราอาจ
กลาวไดวามีลักษณะเปนหลักการทั่วไปแบบนามธรรม เชน "ดําเนินงานทุกสิ่งทุกอยาง
ใหเปนไปตามวิถีทางของระบอบประชาธิปไตย", "สรางรากฐานประชาธิปไตย โดย
สงเสริมคนดี", "ทุกคนในคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินซึ่งเปนฝายทหารตองมี
อุดมการณแนวแน กระทําการเพื่อความอยูรอดของชาติและความผาสุกของประชาชน
ไมปรารถนาสิ่งตอบแทนเปนการสวนตัว", ฯลฯ

สวนที่มีลักษณะเปนแผนปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมไดแก ตั้งรัฐบาลชั่วคราวเพื่อรับมอบ
ภาระการบริหารราชการจากคณะปฏิรูปโดยสิ้นเชิง คณะปฏิรูปใหคงอยูดูแลดานความ
มั่นคง แตจะดําเนินการใดๆก็ตอ  เมื่อรัฐบาลชั่วคราวรองขอเทานั้น หมายความวาฝาย
ทหารยึดอํานาจแลว ไมเขาบริหารเอง ยกใหคนอื่นที่ทาบทามมาเปนนายกรัฐมนตรี ซึ่ง
"ควรจะเปนพลเรือน" และตองเปนคนที่ "เลื่อมใสตอระบอบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข, มีประวัติและการทํางานดีเดน ไมเห็นแก
ตัวเปนที่ตั้ง มีความรูความสามารถสูงและเปนที่ไววางพระราชหฤทัย"; ใหยกเลิก
รัฐธรรมนูญป 2517 ประกาศใชรัฐธรรมนูญชั่วคราวที่ใหอํานาจฝายบริหารมากขึ้น; ยุบ
สภาที่มีอยู ตั้ง "สภาปฏิรูป" จากบุคคลสาขาอาชีพตางๆ; รัฐบาลชั่วคราวและสภาปฏิรูป
อยูในตําแหนง 4 ป จึงใหมีการเลือกตั้งสภาผูแทนราษฎร แตยังใหมีวุฒิสภาที่มาจาก
การแตงตั้งและมีอํานาจเทากันดํารงอยูอก ี อยางนอย 4 ป (ในที่สุด รัฐธรรมนูญชั่วคราว
2519 ซึ่งธานินทรเปนผูรวมรางและประกาศใชหลังการรัฐประหาร กําหนดใหมี
"แผนพัฒนาประชาธิปไตย" 12 ป โดยในระยะสี่ปท  ี่สามให "ขยายอํานาจของสภา
ผูแทนราษฎรใหมากขึ้นและลดอํานาจของวุฒิสภาลงเทาที่จะทําได")

ยศ สันตสมบัติเขียนวา ในการพูดถึงแผนแมบทนี้ "ประเด็นที่อาจารยธานินทรเนนย้ํา


อยูเสมอๆก็คอื แผนการดังกลาวไดรับการเห็นชอบจากฝายทหารหรือคณะปฏิรูปฯ
ทั้งหมด พูดงายๆก็คือ แผนการดังกลาวเปนขอตกลงรวมกันของทุกฝายและเปน
หลักการในการที่จะดําเนินงานตอไปภายหลังจากการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลอาจารย
เสนียเรียบรอยแลว และรัฐบาลของอาจารยธานินทรก็ไดทําตามแผนการที่ไดตกลง
รวมกันไวทุกอยาง ไมมีอะไรที่เบี่ยงเบนไปจากขอตกลงหรือ Master Plan นี้"

อยางไรก็ตาม ไมเปนที่ชัดเจนวาฝายทหารที่มาติดตอขอใหธานินทรชวยเตรียมการ
รัฐประหาร ใหความสําคัญกับสิ่งที่เรียกวา "แผนแมบท" ของธานินทร มากเพียงใด ใน
คําบอกเลาตอบุญชนะ อัตถากร, พล.ร.อ.สงัด ชลออยู กลาวแตเพียงวาเขา "ไดเริ่มใช
ใหคุณธานินทรเตรียมคําแถลงการณตางๆและเอกสารตางๆใหพรอมพิจารณาแลวก็เก็บ
ไวในตูนิรภัยอยางเอกสารลับ เพื่อจะนําไปใชหลังจากการปฏิวัติแลว" และเปนเรื่องที่ยัง
ถกเถียงไดวาสงัดซึ่ง "ไมเคยรูจักคุณธานินทรมากอนเลย" ใหการ "เห็นชอบ" กับแผน
แมบทของธานินทรเพราะเห็นชอบดวยจริงๆหรือเพราะ "ในหลวงทรงรับสั่งวาจะทําอะไร
ลงไปก็ควรจะปรึกษานักกฎหมายคือคุณธานินทร กรัยวิเชียรเสียดวย"

แนนอนวามาตรการรูปธรรมที่ธานินทรวางไวไดรับการปฏิบัติตามหลังการยึดอํานาจ:
ยกเลิกรัฐธรรมนูญที่มีอยูและประกาศใชรฐ ั ธรรมฉบับใหมที่ใหอํานาจฝายบริหารมากเปน
พิเศษ, ตั้งรัฐบาลชั่วคราวที่มีนายกรัฐมนตรีเปนพลเรือน (คือตัวธานินทรเอง) และ
แตงตั้งสภานิติบัญญัติใหมที่มีสมาชิกจาก "ทุกสาขาอาชีพ" (ในความเปนจริง สมาชิก
สภาปฏิรูป 190 คนจาก 340 คนเปนทหารตํารวจทั้งในและนอกราชการ). แตมาตรการ
เหลานี้ก็เปนมาตรการในลักษณะที่การรัฐประหารแทบทุกครั้งตองทําอยูแลว อาจกลาว
ไดวา สิ่งสําคัญที่สุดที่ธานินทร มอบใหกับการเตรียมรัฐประหารป 2519 คือคิดชือ
่ ใหม
ใหกับการรัฐประหารและคณะรัฐประหาร: "คณะ/การปฏิรูปการปกครองแผนดิน" แทนที่
จะเปน "คณะ/การปฏิวัติ" การที่ธานินทรใหความสําคัญกับสิ่งที่เรียกวา "แผนแมบท"
ของตน ซึ่งอันที่จริงถาตัดเนื้อหาสวนใหญที่มีลักษณะนามธรรมลอยๆดังกลาวขางตน
ออกแลว ก็เหลือเพียงมาตรการรูปธรรมที่ไมตางจากการรัฐประหารอื่นๆนั้น นาจะสะทอน
ใหเห็นลักษณะพาซื่อและออนประสบการณของธานินทรเองมากกวาอยางอื่น

***************************************************************
******

การประเมินสถานการณของขบวนการนักศึกษาในป 2519: ประเมินจากปจจุบัน

ผมจําไดแนๆวาในชวงป 2519 กอน 6 ตุลา ไดรับการบอกเลาวา มีผูวางแผนจะทํา


รัฐประหารโดยจะใชชื่อวาเปน "การปฏิรูป" นาเสียดายที่จําไมไดเสียแลววาใครเปนผู
บอก แตทจ ี่ ําไดวามีการบอกแบบนี้เพราะ หนึ่ง ชื่อ "การปฏิรูป" เปนชื่อที่แปลกและ
สะดุดใจที่จะใชสําหรับการรัฐประหาร และ สอง เมื่อผมไดยินขาว "การปฏิรูปการ
ปกครองแผนดิน" ในคืนวันที่ 6 ตุลาคม ระหวางที่ถูกขังอยูในคุกโรงเรียนพลตํารวจ
บางเขน ผมนึกขึ้นไดทันทีวาเปนสิ่งที่ตรงกับที่เคยถูกบอกไว ผมยังจําไดดวยวาผูที่บอก
วาจะมีการใชชื่อ "การปฏิรูป" สําหรับการรัฐประหารครั้งตอไป อธิบายวาเนื่องจากชื่อ
"การปฏิวัติ" เสียเครดิตไปแลว ชื่อใหมมีขึ้นเพื่อ "หลอกลวงประชาชน"

ในชวงป 2519 นั้น ภายในขบวนการนักศึกษาเรา มีการพูดถึงการรัฐประหารตลอดเวลา


เปนที่เขาใจกันทั่วไปในขบวนการวา รัฐประหารเปนสิ่งที่ตองเกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยง
ไมได เพราะ "ชนชั้นปกครอง" ไมมีทางที่จะปลอยใหบรรยากาศประชาธิปไตยเชนนั้น
ดํารงอยูตอไปอีกนานนัก ผมไมคิดวาขาวเรื่องจะมีการทํารัฐประหารภายใตชื่อ "การ
ปฏิรูป" สรางความตื่นเตนหรือมีผลกระทบตอขบวนการเปนพิเศษอะไร แนนอนวา
ปจจุบันเราไดทราบจากคําใหการของสงัด ชลออยู และธานินทร กรัยวิเชียรขางตนแลว
วา ตั้งแตเดือนกุมภาพันธปนั้นเปนตนมา มีการวางแผนจะยึดอํานาจโดยใชชอ ื่ "การ
ปฏิรูป" จริงๆ ซึ่งแสดงวาแมแผนแมบทของธานินทรจะถูกสงัด "เก็บไวในตูนิรภัยอยาง
เอกสารลับ" แตเรื่องดังกลาวก็ไมไดเปนความลับทั้งหมด (อยางไรก็ตามเหตุการณ
ตอมาก็พิสจู นวาการไดรูลวงหนาเชนนั้นไมไดชวยอะไรพวกเราเลย)

คําใหการของสงัดและธานินทรยังไดทําใหเกิดปญหาที่นาสนใจขอหนึ่งคือ ในป 2519


ขบวนการนักศึกษาคาดการณกลุมปกครองที่จะทํารัฐประหารผิดกลุม  หรือไม?

ตามการประเมินของพวกเราในขณะนั้น, "ชนชั้นปกครองไทย" แบงออกเปนกลุมสําคัญ


ใหญๆ 4 กลุม คือ กลุมกฤษณ สีวะราเกา (หรือกลุมสี่เสาเทเวศน), กลุมพรรคชาติไทย
(หรือกลุมซอยราชครู), กลุมถนอม-ประภาสเกา, และ กลุมที่เราเรียกวา "ศักดินา" ซึ่ง
ไดแกสวนใหญของพรรคประชาธิปตยและแวดวงอืน ่ ๆที่พรรคนี้มีสายสัมพันธทาง
ประวัติศาสตรดวย.

เรามองวาสืบเนื่องมาจาก 14 ตุลา, กลุมกฤษณเกา เปนกลุมที่กม


ุ อํานาจรัฐ โดยมีกลุม 
ศักดินาเปนพันธมิตร พูดอยางเปนรูปธรรมคือ หลัง 14 ตุลา พรรคของศักดินาอยางกิจ
สังคมและประชาธิปตย เลนการเมืองเปนรัฐบาลอยูห  นาฉาก ขณะที่กฤษณ สีวะรากับ
พวก กุมกองทัพสนับสนุนอยูหลังฉาก เรามองวาที่สองกลุมนี้ไดครองอํานาจก็เพราะ
รวมกัน "หักหลัง" ถนอม-ประภาส ในระหวางที่เกิด 14 ตุลา กลุมกฤษณนั้นถัดจาก
ตัวกฤษณลงมาไดแก บุญชัย บํารุงพงศ ซึ่งกฤษณตั้งใหสืบตําแหนง ผบ.ทบ.เมื่อ 1
ตุลาคม 2518, กมล เดชะตุงคะ, เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน และสงัด ชลออยู เสริม ณ นคร
และเปรม ติณสูลานนทที่เปนผบ.ทบ.ตอจากบุญชัยตามลําดับ ก็จด ั อยูในกลุมนี้. ที่
เรียกวากลุมกฤษณเกา ก็เพราะตัวกฤษณเองตายอยางลึกลับเมื่อวันที่ 23 เมษายน
2519 เพียงไมกี่วันหลังจากรับตําแหนงรมต.กลาโหมใหรัฐบาลเสนียที่เพิ่งตั้งใหมหลัง
การเลือกตั้ง 4 เมษายน

กลุมถนอม-ประภาสหรือกลุม "ทรราช" เกา คือนายทหารกุมกําลังสวนนอยที่เรามอง


วายังใหการสนับสนุนถนอม-ประภาสอยู ที่สําคัญคือ ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา แมทัพ
กองทัพภาคที่ 1 ในป 2519 และเทพ กรานเลิศ กลุมนี้ซึ่งสูญเสียอํานาจใหกับกลุม
กฤษณไดรวมมือเปนพันธมิตรกับกลุมพรรคชาติไทยซึ่งเปนกลุมการเมือง (ไมไดกุม
กําลังทหาร) ที่ฟนคืนชีพขึ้นหลัง 14 ตุลาภายใตการนําของประมาณ อดิเรกสาร และ
ชาติชาย ชุณหะวัณ

เรามองตอไปวา ในความขัดแยงระหวางกลุมกฤษณ-ศักดินาฝายหนึ่ง กับกลุมราชครู-


ทรราชเกาอีกฝายหนึ่งนั้น ฝายหลังเปน "ดานรองของความขัดแยง" คือไมไดเปนฝาย
กุมอํานาจรัฐ ทําใหมีลักษณะที่กาวราวเปนฝายรุก, เปน "ขวา" มากกวาฝายแรก (ขอให
นึกถึงคําขวัญ "ขวาพิฆาตซาย" ของประมาณ อดิเรกสาร) โดยเฉพาะกลุมพรรคชาติไทย
นั้น อาศัยอํานาจทางการเมืองที่เติบโตเขมแขงขึ้นอยางรวดเร็ว พยายามเขาไปสรางฐาน
อํานาจในกองทัพ เราวิเคราะหวานายทหารระดับสูงอยางพลเอกฉลาด หิรัญศิริ เปนคนที่
ชาติไทยดึงเปนพวกได แมแตภายในพรรคประชาธิปตยของกลุมศักดินาเอง พวกที่เรา
เรียกวาประชาธิปตยปกขวา คือธรรมนูญ เทียนเงิน, สมัคร สุนทรเวช และสงสุข ภัค
เกษม ก็จัดเปนพันธมิตรทีใ่ กลชิดของชาติไทย

ตลอดป 2519 ขบวนการนักศึกษาเรามองวาฝายกฤษณเกา-ศักดินาเปนฝายที่ไม


ตองการทํารัฐประหารเพราะครองอํานาจอยูแลว ขณะที่ฝายชาติไทย-ทรราชเกา
พยายามสรางสถานการณเพื่อการรัฐประหารอยูเสมอ ที่สําคัญที่สด
ุ คือ การนําเอา
ประภาสกลับเขาประเทศในเดือนสิงหาคม และถนอมในเดือนกันยายน

คําใหการของสงัด ชลออยูและธานินทร กรัยวิเชียรขางตน ขณะที่ยืนยัน "ขาว


กรอง" และความเชื่อของขบวนการนักศึกษาที่วามีการวางแผนจะทํารัฐประหาร
จริงๆในป 2519 ก็ดูเหมือนจะชี้ใหเห็นวา เรามองความเปนไปไดที่รัฐประหารจะมาจาก
กลุมกฤษณเกา (สงัด-บุญชัย) นอยไป (ถาผมจําไมผิดเราเกือบจะไมไดมองเลย)
แนนอนวาการที่กลุมกฤษณเกาเตรียมทํารัฐประหารไมไดแปลวาฝายชาติไทย-ทรราช
เกาจะไมไดเตรียมทําเหมือนกัน และการเขามาของถนอมและ 6 ตุลาจะไมใชการกระทํา
ของกลุมนี้ สงัดไดบอกทัง้ ธานินทรและเสนีย ปราโมชเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 วาสอง
หรือสี่ทุมของคืนวันนั้นจะมี "อีกฝายหนึ่ง" ทํารัฐประหาร จึงตองชิงลงมือทําเสียเองกอน
ตอนหกโมงเย็น เพื่อทําความกระจางในเรื่องนี้ เราจําเปนตองหันไปพิจารณาหลักฐานอื่น
ที่มีอยู

อยางไรก็ตาม กอนทีจ
่ ะทําเชนนั้น ยังมีสองประเด็นที่ผมจําไดวาการวิเคราะหของเราใน
สมัยนั้น มีความไมลงตัวนัก ซึ่งควรกลาวถึงในที่นี้

ประเด็นแรก ปญหาเกี่ยวกับกลุมที่เราเรียกวา "ศักดินา" ซึ่งผมอธิบาย ขางตนวา


หมายถึง "สวนใหญของพรรคประชาธิปตยและแวดวงอื่นๆที่พรรคนี้มีสายสัมพันธทาง
ประวัติศาสตรดวย" ปญหาอยูตรงที่สวนหลังของคํานิยามนี้ กลาวคือ ขณะที่ดานหนึ่งเรา
มองวากลุมศักดินาโดยรวมเปนกลุมที่ไดประโยชนจากเหตุการณ 14 ตุลา ตั้งแตการขึ้น
สูอํานาจของรัฐบาลสัญญา ธรรมศักดิ์ และ "สภาสนามมา" จนถึงรัฐบาลคึกฤทธิ์ ในป
2518 และเสนียในป 2519 เรามองวา การที่กลุมนี้เปนฝายไดครองอํานาจ และโดยที่
ตัวเองไมมีกองทัพในมือโดยตรง แตอาศัยการสนับสนุนจากกลุมสี่เสาเทเวศน (กฤษณ-
บุญชัย) ที่ขึ้นมาคุมกองทัพไดจากเหตุการณเดียวกัน ทําใหพวกเขาไมนาจะเปนพวกที่
ทํารัฐประหาร (รัฐประหารเกิดจากพวกที่ยังไมมีอํานาจ) มิหนําซ้ํายังมีแนวโนมจะ
"พึ่งพากําลังประชาชน" คือเอาประชาชนเปนฐานสนับสนุนในการตอสูกับกลุม  อื่นๆดวย
ซึ่งแสดงออกที่ทาทีของรัฐบาลโดยเฉพาะตัวคึกฤทธิ์ที่มีนโยบาย "กาวหนา", "เอียงขาง
ประชาชน" บางอยาง (กรณีใหอเมริกาถอนฐานทัพ, การเปดสัมพันธกับจีน, การให
เสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง)

อยางไรก็ตาม อีกดานหนึ่งในชวงป 2518-2519 ดูเหมือนวา บางสวนของกลุมศักดินา


โดยเฉพาะพวกที่อยูนอกพรรคการเมืองกิจสังคม-ประชาธิปตย จะมีแนวโนมไปทางขวา
มากขึ้นทุกที คือไปในทางเดียวกับพรรคชาติไทย และกลุมทรราชเกา ซึ่งอันที่จริงเปน
กลุมทีพ
่ วกเขา "หักหลัง" โคนอํานาจไปเองเมื่อ 14 ตุลา ตัวอยางเชน บทบาทของ
ลูกเสือชาวบาน และการเกิดขึ้นของกลุมนวพล (แปลวา "กําลังที่เกา": "เกากําลังไมรน
กาวเวลา" เปนชื่อบทกวีป 2518 เกี่ยวกับนวพลของชัชรินทร ไชยวัฒน)

ประเด็นที่สอง ปญหา "ปกซายประชาธิปตย" คือกลุมของสุรินทร มาศดิตถ, ดํารง ลัทธ


พิพัฒน, ชวน หลีกภัย และวีระ มุสิกพงศ เทาที่ผมจําได เราไมเคยอธิบายพฤติกรรมของ
กลุมนี้ไดอยางนาพอใจ คือไมสามารถจัดพวกเขาใหอยูใน
ในกรอบทางทฤษฎีของเราในขณะนั้นไดอยางแทจริง ดูเหมือนจะมีการพูดๆกันวา พวก
เขาเปน "นายทุนชาติ" ซึ่งตามทฤษฎีวิเคราะหสังคมไทยแบบกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินาของ
เราในขณะนั้น จัดเปนพวกที่มีทั้งลักษณะกาวหนาและปฏิกิริยาอยูในตัวพรอมๆกัน แต
หลายคนก็รูสึกวา ไมนาจะจัดเชนนั้นได เพราะพวกเขาไมไดร่ํารวยเปนเจาของกิจการ
อุตสาหกรรมแบบนายทุน และดูเหมือนพวกเขาจะมีความ "กาวหนา" มากกวา
ภาพลักษณนายทุนชาติที่เรามีอยู ผมคิดวาปญหาของขบวนการนักศึกษาในขณะนั้นคือ
ในทางทฤษฎีเรามองวาทุกคนในรัฐบาลเปน "ชนชั้นปกครอง" ซึ่งเปน "ศัตรูประชาชน"
ที่เราตองโคนลม แตในทางเปนจริงหลายคนรูสึกวา กลุมปกซายประชาธิปตยมีการ
กระทําที่เปน "ฝายประชาชน"

ผิน บัวออน เคยเขียนวิพากษขบวนการนักศึกษาในบทความชิ้นหนึ่งทํานองวา ที่เกิด


การนองเลือดฆาหมูเมื่อ 6 ตุลาเพราะเราตัดสินใจชุมนุมยืดเยื้อตามการ "ผลักดันอยาง
สําคัญ "ของปกซายประชาธิปตย" การยอมใหแนวรวมนําและไมยืนหยัดนําแนวรวมใน
ปญหาสําคัญครั้งนี้ ทําใหการเคลื่อนไหวกาวเขาสูประตูแพ" ผมเปนคนหนึ่งที่รวมประชุม
ตัดสินใจในครั้งนั้นดวย ขอยืนยันวาไมเปนความจริงเลย ไมมีการผลักดันอะไรจากใคร
ภายนอกขบวนการและเราก็ไมเคยเอาความตองการของใครภายนอกมาเปนเหตุแหงการ
ตัดสินใจของเราดวย แตเรื่องที่เรามีปญหาวาควรจะมองปกซายประชาธิปตยอยางไรนั้น
ผมจําไดวามีอยูจริงๆ

***************************************************************
************

จดหมายสองฉบับของ สุรินทร มาศดิตถ

เราไดเห็นขางตนวา การที่สงัด ชลออยูและบรรดาผูบัญชาการเหลาทัพ ซึ่งเราจัดเปน


กลุมสี่เสาเทเวศนวางแผนจะทํารัฐประหาร ถึงขั้นเขาเฝาขอพระราชทาน "พรสวรรค"
(คําของสงัด) ใหดําเนินการได แตในหลวงทรงเพียงแตแนะนําใหไปปรึกษาธานินทร
กรัยวิเชียร และทั้งสองฝายรวมกันรางแผนดําเนินการหลังการยึดอํานาจนั้น แสดงวา
ขบวนการนักศึกษาในป 2519 อาจจะประเมินภัยรัฐประหารจากกลุมสี่เสาฯต่ําเกินไป
อยางไรก็ตาม สงัดเองกลาววา "รอคอยโอกาสที่จะยึดอํานาจการปกครองอยูเ รื่อยๆแตก็
ไมไดจังหวะ จนในที่สุดก็เกษียณอายุตองออกจากราชการเมื่อ 1 ตุลาคม 2519 เพื่อน
ฝูงนายทหารผูใหญก็หาวา...เตะถวง ซึ่งความจริงจะวาจริงก็ได" จนกระทั่ง 6 ตุลา จึงลง
มือเพราะมี "อีกฝายหนึ่ง" กําลังจะทําตอนสองทุมคืนนั้น ซึ่งแสดงวาการวิเคราะหของ
เราในป 2519 ที่วากระแสรัฐประหารครั้งตางๆ โดยเฉพาะการนําเอาประภาสกลับใน
เดือนสิงหาคมและถนอมในเดือนกันยายน (อันนําไปสู 6 ตุลา) เปนการกระทําของฝาย
พรรคชาติไทยไมใชของกลุมสี่เสาฯนั้น อาจจะไมผิดก็ได เพื่อความชัดเจนในเรื่องนี้
ขอใหเรามาพิจารณาหลักฐานสําคัญอีกชิ้นหนึ่งซึ่งเปนที่รูจักกันดี: จดหมายเกี่ยวกับ 6
ตุลา ของสุรินทร มาศดิตถ

สุรินทรเขียนจดหมาย 2 ฉบับ ถึง "เพื่อนอดีต ส.ส. และสมาชิกพรรค ประชาธิปตย" ใน


เดือนตุลาคม 2520 ฉบับแรกยาว 2 หนากระดาษลงวันที่ 3 ฉบับที่สองยาว 3 หนาลง
วันที่ 24. ขณะที่เขียนเขายังบวชเปนพระอยูที่วัดในนครศรีธรรมราช (เขาอธิบายใน
จดหมายฉบับแรกวา ที่บวชเพราะเมื่อเกิด 6 ตุลา แมเขาบนพระไววา "ขอใหลูกสุรินทร
กลับบานโดยความปลอดภัย แลวจะใหบวช") เขาตองการ "เปดเผยความจริง...เทาที่คิด
วาพอเปดเผยได" เกี่ยวกับ 6 ตุลาแกเพื่อนรวมพรรค ซึ่งหลายคนยังไมรูความจริงจนทํา
ให "เขาใจผิดตอตัวอาตมาก็มี"
สุรินทรเลาในจดหมายฉบับแรกวาเมื่อมีการปลุกระดมโจมตีรัฐบาลของสถานีวิทยุยาน
เกราะและสถานีวิทยุทหารอื่นๆบางสถานี โดยเฉพาะในชวงการกลับมาของประภาส เขา
ไดเสนอใหม.ร.ว.เสนีย ดําเนินการ ซึ่งเสนียก็ไดออกคําสั่งไป "แตไมถึง 3 ช.ม. พลตรี
ประมาณ อดิเรกสาร รองนายกรัฐมนตรี นายสมัคร สุนทรเวช รัฐมนตรีชวยวาการ
มหาดไทยมาขอใหนายกรัฐมนตรีแกคําสั่งนั้น การปลุกระดมดวยความเท็จก็ถูกดําเนิน
ตอไปจนถึง...วันที่ 6 ตุลาคม 2519"

สุรินทรเขียนวา :

“แผนการที่เขาจะปฏิวัติและการยายนายทหารผูใหญที่สั่งในเดือนกันยายนและมีผลใน
วันที่ 1 ตุลาคม 2519 เปนแผนที่อยูในแผนปฏิวัติ อาตมาไดใหเลขานุการรัฐมนตรี (นาย
สัมพันธ ทองสมัคร) กราบเรียนนายกรัฐมนตรีแลวเพื่อแกไข ที่ไมกลากราบเรียนเองกลัว
วาจะถูกเขาใจผิดวากลัวถูกออกจากรัฐมนตรีจึงคิดมากไปวาจะมีการปฏิวัติ แตเมื่อให
นายสัมพันธกราบเรียนแลวยังไมมีอะไรแกไข อาตมาจึงกราบเรียนนายกรัฐมนตรีเองใน
วันที่ 28 กันยายน 2519 วาจะมีการปฏิวัติยึดอํานาจรัฐบาลของประชาชน พรอมกับ
เสนอแนะทางแกไขใหแกนายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการแตงตั้งทหาร 2-3 คนเพือ ่ ปองกัน
การถูกยึดอํานาจของประชาชน คือการปฏิวัติ จากขอเสนอของอาตมาในวันนั้น
นายกรัฐมนตรียังคิดแลวพูดวา "ทําไมไดสุรินทร ทหารจะแตกแยก เพราะการยายทหาร
นั้น 3 เหลาทัพเขาประชุมกันมาแลว" แสดงวานายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เชื่อ
ในความสุจริต เจตนาดีของนายทหารชั้นผูใหญ อาตมาก็พูดวา "ก็ตามใจทานหัวหนา
เรามานั่งรอวันถูกยึดอํานาจกันเทานั้น และจะเกิดขึน้ ในเร็วๆนี้" แลวอาตมาก็ออกจาก
หองนายกรัฐมนตรีไปทํางานตามปกติ

“วันที่ 1 ตุลาคม 2519 มีหนังสือดวนที่สุดจากสํานักราชเลขาธิการใหรัฐมนตรีทุกคนไป


รับเสด็จองครัชทายาทเสด็จฯกลับจากประเทศออสเตรเลีย นายกรัฐมนตรีเรียกอาตมาไป
พบและไดพด ู ถึงเคาของการปฏิวัติวามีขึ้นแลว นายสมัคร สุนทรเวช นายสมบุญ ศศิธร รู
ขาววาไมไดรับความเห็นชอบจากกรรมการพรรคใหดํารงตําแหนง รมช.มหาดไทย จะถูก
ยายกระทรวง 2 คนนี้ไดทาํ หนังสือยื่นถึงนายกรัฐมนตรีวาอยากราบทูลแตงตั้งเปน
รัฐมนตรี หากวาไมไดอยูก  ระทรวงมหาดไทย หากแตงตั้งก็จะลาออก โดยยืน ่ หนังสือถึง
นายกรัฐมนตรีที่หอ  งรับรองของกองทัพอากาศขณะไปรอรับเสด็จฯ ในตอนที่
นายกรัฐมนตรีพูดถึงเคาการปฏิวัติวามาจากฝายไหนกับอาตมานั้น อาตมาไดกลาววา
"ตามใจ ใครจะปฏิวัติละ หากมีการปฏิวัติเกิดขึ้นอีก เราจะแพคอมมิวนิสต นิสต ิ นักศึกษา
ปญญาชนจะขึ้นเขารวมกับพวกบนเขามากขึ้น เปนเรื่องนาเสียดายที่จะถูกทําลาย
ประชาธิปไตย" ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรีพูดวา "ผมทํางานเพื่อประชาธิปไตย
และราชบัลลังกมา 30 ปแลว ทําอยางดีที่สุดแลว”

นาเสียดายที่สุรินทรไมไดขยายความวา "เคาการปฏิวัติ" ที่เขาพูดถึงในปลายเดือน


กันยายนตอตนเดือนตุลาคมนั้นมาจากฝายไหนกันแน ขอมูลของเขาที่วาประมาณและ
สมัครขัดขวางการเลนงานวิทยุยานเกราะดูเหมือนจะเปนการยืนยันการวิเคราะหของ
ขบวนการนักศึกษาในชวงนั้นที่วา การเคลื่อนไหวของกลุมพลังฝายขวาที่มียานเกราะ
เปนหัวหอกมีที่มาหรือไดรับแรงหนุนจากพรรคชาติไทยและปกขวาประชาธิปตยซึ่งเปน
พันธมิตรชาติไทย อยางไรก็ตาม ขอมูลที่วา "แผนปฏิวัติ" เกี่ยวของกับการโยกยาย
ทหารในปนั้นและที่สุรินทรเสนอใหแกรายชื่อการโยกยายใหม กลับชี้ไปทีก ่ ลุม
 สี่เสาฯที่
ครองอํานาจในกองทัพ แนนอนวา มีความเปนไปไดที่วา ในชวงป 2519 โดยเฉพาะใน
เดือนทายๆกอน 6 ตุลา ชนชั้นปกครองทุกกลุมตางจองหาจังหวะทํารัฐประหารดวยกัน
ทั้งนั้น
ถาผมเขาใจไมผิด จดหมายเกี่ยวกับกรณี 6 ตุลาถึงสมาชิกพรรคประชาธิปตยของสุรินทร
มาศดิตถ ฉบับแรกลงวันที่ 3 ตุลาคม 2520 ไมเคยไดรับการตีพิมพเผยแพรในวงกวางใน
ที่ใดมากอน ในทางตรงกันขาม ฉบับที่สองลงวันที่ 24 ตุลาคม 2520 ตองนับวาเปน
เอกสารการเมืองไทยสมัยใหมที่รูจักกันดีมากทีส ่ ุดชิน้ หนึ่ง และถาผมเขาใจไมผิดอีก
เชนกัน จดหมายฉบับนี้ถก ู ตีพิมพครั้งแรกในนิตยสารรายสัปดาห ขาวไทยนิกร ฉบับวันที่
12 มิถุนายน2521 ในยุคที่มีคํา
นูณ สิทธิสมาน เปนเสมือนบรรณาธิการหลังฉาก (ชื่อคํานูณ ไมเคยปรากฏในนิตยสาร
เลย) หลังจากนั้นไดมีผูนํามาตีพิมพซ้ําอีกไมต่ํากวา 2-3 ครั้ง โดยเฉพาะในป 2531 เมื่อ
เกิดการโตแยงทางการเมืองครั้งใหญหลังจากมีการเปดเผยวาจําลอง ศรีเมืองมีสวนรวม
ในการชุมนุมของกลุมพลังฝายขวาหนาทําเนียบรัฐบาลในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519
(เชนใน มติชนสุดสัปดาหและในหนังสือ คดีประวัตศ ิ าสตร 6 ตุลา ใครคือฆาตกร? ซึ่งสม
ยศ เชื้อไทย เปนบรรณาธิการ) ผมเขาใจวา ในการตีพิมพครั้งหลังๆ ไดใชฉบับที่ตีพิมพ
ใน ขาวไทยนิกร เปนตนแบบ เนื่องจากในฉบับนั้นมีขอความตกหลนอยู 2 แหง ยาว
รวมกัน 2 บรรทัด ซึ่งไมสําคัญมากนัก และฉบับที่ตพ ี ิมพครั้งหลังๆก็มีขอความตกหลน
นั้นตามไปดวย

ผมขออนุญาตยกเอาสวนสําคัญของจดหมายสุรินทรฉบับดังกลาวมาพิมพซ้ําในที่นี้
หลังจากนั้นจะเปนการวิเคราะห ผมมีความรูสึกเมื่อไดกลับไปอานจดหมายนี้ใหมเมื่อเร็วๆ
นี้วา มีประเด็นนาสนใจบางประเด็นที่กอนหนานี้เราอาจจะมีแนวโนมมองขามไป

สุรินทรเขียนวา :

“วันที่ 6 ตุลาคม 2519 อาตมาถึงตึกบัญชาการ สํานักนายกรัฐมนตรี เวลาประมาณ 7.00


น.เศษ มีนักหนังสือพิมพมาคอยอยูท  ี่บันไดและลานกอนเขาลิฟทหลายคน ตางก็ถามถึง
การที่มีภาพแขวนคอหนาคลายเจาฟาชาย อาตมาตอบวาไมมีปญหาอะไรแลว
นายกรัฐมนตรีสั่งดําเนินคดีและกรรมการศูนยนิสิตนักศึกษาบางคนเขามอบตัวแลว ตอง
ดําเนินคดีไปตามกฎหมาย แลวอาตมารีบขึ้นไปชั้น 4 ที่หองทํางานนายกรัฐมนตรี พบ ม.
ร.ว.เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรีไดดูภาพในหนังสือพิมพ ดาวสยาม และ บานเมือง จึง
เสนอความเห็นตอนายกรัฐมนตรีวา ใหรีบประกาศภาวะฉุกเฉินหามชุมนุมทั่วประเทศ
เพื่อรักษาความสงบเรียบรอย ฯพณฯ นายกฯ เห็นดวย และวาเดี๋ยว 9 โมงเชา ประชุม
คณะรัฐมนตรีจะเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี อาตมาจึงลงไปหองทํางานชั้น 3 เห็น
หนังสือที่ดวนไมกี่ฉบับ เวลา 9 น.เศษ จึงรีบลงไปประชุมคณะรัฐมนตรีทต ี่ ึกไทยคูฟา ไป
ถึงคณะรัฐมนตรีเปดประชุมไปแลว นายกรัฐมนตรีกลาวกับอาตมาวากําลังพิจารณาเรื่อง
ประกาศภาวะฉุกเฉิน อาตมาวาก็ไมมีปญหาอะไรเปนอํานาจของนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีมหาดไทย และจําเปนตองประกาศภาวะฉุกเฉิน เพื่อรักษาความสงบเรียบรอย
และปองกันเหตุรายในบานเมือง ปรากฏวา พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีอื่นฝายพรรคชาติไทยคัดคานไมใหประกาศภาวะ
ฉุกเฉิน ไมใหหามการชุมนุม โดยอางเหตุผลวา หากหามการชุมนุม ลูกเสือชาวบาน
จํานวนมากที่นัดมาชุมนุมที่อนุสาวรียพระบรมรูปทรงมาเดินทางเขามาชุมนุมมากแลว
และกําลังเดินทางมา ก็จะเดือดรอนชุมนุมไมได แลวจะหันมาเปนปฏิปกษกับรัฐบาล

“เหตุผลการคัดคานของพลตรีชาติชายออน รัฐมนตรีสวนมากนั่งเฉยแสดงวาเห็นดวยใน
การประกาศภาวะฉุกเฉิน พลตรีชาติชายจึงไดไปนําเอาพล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน
ผูเปนหัวหนาลูกเสือชาวบานคนหนึ่งของฝาย ตชด. เขามาในคณะรัฐมนตรี มาคัดคาน
การประกาศภาวะฉุกเฉิน และกลาววาจะตองปราบนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ใหสิ้นซาก นายกรัฐมนตรีพูดวาไมได คุณจะเอาลูกเสือชาวบานเอาประชาชนไปฆา
นักศึกษาประชาชนไมได หากเกิดจลาจลเปนหนาที่ของตํารวจทหาร บานเมืองมีขื่อแป
คุณจะเอาประชาชนไปฆาประชาชนไมได พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ บังอาจโตนายกรัฐมนตรี
ตอไปวา ลูกเสือชาวบานก็มีวินัยรวมกับตํารวจทหารได ดูเหตุการณจากการกระทําของ
รัฐมนตรีฝายพรรคชาติไทย และที่ไปนําพล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ เขามาโตเถียงกับ
นายกรัฐมนตรีแลว อาตมาเขาใจไดทันทีวาพวกนี้ตองวางแผนการปฏิวัติไวแลว และเชื่อ
แนของพวกเขาแลววาตองสําเร็จแน ตํารวจยศพลตํารวจตรียังกลาเถียงนายกรัฐมนตรีถึง
ในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร หัวหนาพรรคชาติไทย รมต.เกษตร
ฯแสดงความเห็นในคณะรัฐมนตรีวา เปนจังหวะและโอกาสดีทส ี่ ุดแลวที่จะปราบปรามให
ศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทยใหถก ู ลบชื่อหายไปจากประเทศ

“กอนเที่ยงทีก
่ ําลังโตกันเรื่องจะประกาศภาวะฉุกเฉินหรือไม โดยรัฐมนตรีฝาย
ประชาธิปตยใหประกาศ รัฐมนตรีฝายพรรคชาติไทยไมยอมใหประกาศ ทั้งๆทีเ่ ลขาธิการ
คณะกรรมการกฤษฎีการางประกาศไวแลว ยังไมเปนที่ยุตินั้น พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชา
ละ รองอธิบดีกรมตํารวจไดเขามารายงานในคณะรัฐมนตรีพรอมกับรองไหโฮๆวา ฝาย
นักศึกษามีอาวุธปนสงครามรายแรงระดมยิงตํารวจบาดเจ็บและตายจํานวนมาก ฝาย
นักศึกษาก็ตายเยอะ พูดพลางรองไหพลาง ตํารวจนครบาลสูไมไดจึงสงตํารวจพลรม
และตชด.เขาไปปราบปราม ตอมา พล.ต.อ.ศรีสุข มหินทรเทพ อธิบดีกรมตํารวจเขาไป
รายงานเหตุการณวา ควบคุมสถานการณในธรรมศาสตรไวไดแลว มีความสงบเรียบรอย
แลว นายกรัฐมนตรีถามวา "ตํารวจตายกี่คนทานอธิบดี" อธิบดีกรมตํารวจตอบวา "ตํารวจ
ไมตาย แตบาดเจ็บไมกี่คน" รัฐมนตรีจึงแสดงสีหนาสงสัย อธิบดีกรมตํารวจหันไปมอง
พล.ต.ท.ชุมพล กําลังนั่งเช็ดน้ําตา จึงไมรูวากอนนั้นเขารายงานกันวาอยางไร อธิบดีกรม
ตํารวจจึงเดินออกจากที่ประชุมไป ตอมา พล.ต.ต.กระจาง ซึ่งเปนหัวหนานําตชด.เขาไป
ทําการควบคุมนักศึกษา 3,000 คนเศษไวแลวนั้น เขารายงานเหตุการณในคณะรัฐมนตรี
ทานผูนี้อาตมาไมทราบนามสกุล แตอาตมายกยองเขาอยูจนบัดนี้วา เปนตํารวจอาชีพ
ผูบังคับบัญชาสั่งไปทํางานก็ไปทํา แลวมารายงานคณะรัฐมนตรีตามความเปนจริง แต
สังเกตดูไมเปนที่พอใจของรัฐมนตรีฝายที่ไมใชประชาธิปตย พล.ต.ต.กระจาง รายงาน
วา "ปนที่ยึดไดจากนักศึกษาเปนปนพกเพียง 3 กระบอก" คุณเสวตร เปยมพงศสานต
รองนายกรัฐมนตรีถามวาปนอะไรที่เสียงดังมาก ดังปุดๆปงๆ ใครยิง ฝายเรายิงหรือฝาย
นักศึกษายิง พล.ต.ต.กระจาง ตอบวา ปนอยางนั้นนักศึกษาจะเอามาจากไหน ตํารวจยิง
ทั้งนั้น จนกระทั่งเที่ยง ปญหาจะประกาศภาวะฉุกเฉินหรือไมยังตกลงกันไมได อาตมาจึง
ตัดบทดวยการเสนอวา มอบอํานาจนายกรัฐมนตรีกแ ็ ลวกัน ทานจะประกาศภาวะฉุกเฉิน
เวลาใด แลวพักรับประทานอาหาร อาตมาถามพล.ต.ต.กระจาง เปนการสวนตัวนอกที่
ประชุมวา ยึดอาวุธจากนักศึกษาไดเพิ่มหรือไม พล.ต.ต.กระจางวิทยุถามไปยังที่ควบคุม
นักศึกษา บางเขน ซึ่งเปนศูนยฯ ไดรับตอบมาทางวิทยุวา ไดปนจากนักศึกษาใน
ธรรมศาสตรเพียง 3 กระบอก เปนปนพกขนาด .22

“ตอนบายประชุมคณะรัฐมนตรีตอ มีการพิจารณารางแถลงการณ ไดมีการแถลงการณ


บางตอนไมตรงความจริง อาตมาเปนผูคัดคานไมใหออกแถลงการณเท็จ ตอมา พล.ต.
ชาติชาย รมต.อุตสาหกรรมออกไปนอกหองประชุมแลว พูดวา ลูกเสือชาวบานที่ชุมนุม
ณ ลานพระบรมรูปทรงมาเริ่มอึดอัดแลว เพราะไมไดรับคําตอบจากรัฐบาล
นายกรัฐมนตรีถามวาเหตุการณสงบแลวยังไมกลับบานกันอีกหรือ พล.ต.ชาติชาย ตอบ
วายังไมกลับ และเตรียมเดินขบวนมาทําเนียบรัฐบาลเพื่อขอทราบคําตอบจากรัฐบาล
ตามขอเรียกรอง จึงมีรัฐมนตรีคนหนึ่ง จําไมไดวาใคร ถามวาลูกเสือชาวบานเรียกรอง
อะไร นายกรัฐมนตรีตอบวา กลุมแมบานไดยื่นขอเรียกรองมาเมื่อวันกอน พรอมกับลวง
ซองขาวออกจากเสื้อแลวอานใหฟงถึงขอเรียกรองของกลุมแมบาน จําไดวามีขอ
เรียกรองใหนาย สุรินทร มาศดิตถ นายชวน หลีกภัย นายดํารง ลัทธพิพัฒน ออกจาก
รัฐมนตรี ใหจับ ดร.ปวย อึง๊ ภากรณ นายแคลว นรปติ และกรรมการพรรคสังคมนิยมทุก
คน ใหใชกฎหมายปองกันปราบปรามคอมมิวนิสตโดยเด็ดขาด เมื่ออานขอเรียกรองจบ
นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน รองนายกรัฐมนตรีกลาววา ขอเรียกรองใหรัฐมนตรีออกจาก
ตําแหนงเปนสิ่งที่มากไป นายกรัฐมนตรีไดรับพระกรุณาแตงตั้งจากพระมหากษัตริย การ
ออกจากตําแหนงมีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ หากเห็นวาไมเหมาะสม ส.ส.ก็อาจลงมติไม
ไววางใจได การแถลงนโยบายในวันมะรืนนี้ (8 ตุลาคม 2519) เพื่อรับความไววางใจจาก
สภาผูแทนราษฎร ก็มีสิทธิที่จะลงมติไมไววางใจได ประชาชนเพียงบางสวนจะมา
เรียกรองแบบนี้เห็นวาไมถูกตอง

“อาตมาประชุมคณะรัฐมนตรีดวยความอดทน สิ่งที่จะพูดหลายครั้งแตไมพูด แตเฉพาะ


เรื่องขอเรียกรองของแมบา นกลุมหนึ่งนั้น อาตมาเห็นวาจะตองพูด เพราะมีรัฐมนตรีบาง
คนในพรรคชาติไทยเปนผูร วมกอเรื่องขึ้นดวย อาตมาจึงพูดวา..... อาตมาไมไดหวง
ตําแหนงรัฐมนตรี ยอมทําตามมติพรรค คําสั่งพรรค และดําเนินแนวนโยบายของพรรค
อยางเครงครัดทุกประการ "แตเมื่อมาบีบบังคับกันดวยเลหการเมืองที่สกปรกแบบนี้ผมไม
ลาออก ผมจะสู สูเพื่อศักดิ์ศรีของผม" เปนคําพูดของอาตมาในวันนั้น หลังจากนั้น
พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร พูดขึ้นวา การใสรายปายสีกันก็มท ี ั้งนั้นละ นี่ก็มีขาววาคุณ
ดํารงไปพูดที่ขอนแกนวา ไมใหพรรคชาติไทยรวมรัฐบาลอีก อาจารยดํารงพูดวา ผมไม
เคยไปที่สถานีวิทยุขอนแกน

“หลังจากนั้น พล.ต.ชาติชาย ชุณหะวัณ ก็ออกจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ไมนานลูกเสือ


ชาวบาน และพวกเขาที่เตรียมไวที่ลานพระบรมรูปทรงมา โดยมีนายธรรมนูญ เทียนเงิน
นายสมัคร สุนทรเวช นายสงสุข ภัคเกษม และพวก ไดไปรวมอยูที่นั้นดวย ก็เคลื่อน
ขบวนมาทั้งรถยนต และเดินมาลอมทําเนียบรัฐบาลขณะฝนกําลังตกหนัก การประชุม
คณะรัฐมนตรีเลิกประมาณ15 น.เศษ อาตมานั่งรถยนตจากตึกไทยคูฟ  าไปตึกบัญชาการ
ตั้งใจวาจะทํางานอยูตามปกติ เพราะถือวาตนไมไดทําผิดอะไร แตนายตํารวจคนหนึ่งยืน
กรําฝนรออยูและเตือนวา "ทานรัฐมนตรีรีบออกจากทําเนียบรัฐบาลเร็วที่สุด มิเชนนั้นเปน
อันตรายถึงชีวิต" อาตมาก็ไดคิดและสั่งคนขับรถออกจากทําเนียบไปไดอยางปลอดภัย
....”

เชนเดียวกันกับคนอื่นๆในขบวนการนักศึกษาที่เคยผานเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 มา


ผมไดอานจดหมายของสุรินทร มาศดิตถ ที่เลาการประชุมคณะรัฐมนตรีในเชาวันนั้น ดวย
ความรูสึกชื่นชมที่สรุ ินทรนําความจริงมาเปดเผย จนกระทั่งเมื่อเร็วๆนี้ เมื่อกลับไปอานอีก
ครั้งอยางตั้งใจวิเคราะหและวิจารณมากขึ้น ผมเริ่มมองเห็นวาบางอยางที่สุรินทรเลาชวน
ใหตั้งคําถามกับบทบาทของสุรินทรและพรรคประชาธิปตยเองได

ประการแรก ผมคิดวาทีผ ่ านมาเรามีแนวโนมจะมองขามความจริงที่วา การถกเถียงในที่


ประชุมครม.ครั้งนั้น โดยเฉพาะมาตรการที่สุรินทรและพรรคประชาธิปตยเสนอเพื่อแก
วิกฤติ คือใหประกาศภาวะฉุกเฉินนั้น ไมมีความหมายใดๆเลยตอชะตากรรมของผูชุมนุม
ที่ธรรมศาสตร สุรินทรเลาวา เขาเดินทางถึงทําเนียบรัฐบาล "เวลาประมาณ 7 น.เศษ"
และคณะรัฐมนตรีเริ่มประชุม เวลา 9 นาฬิกา เมื่อถึงเวลาทั้งสองนั้น การโจมตี
ธรรมศาสตรโดยกําลังตํารวจและม็อบฝายขวาไดดําเนินไปแลว ตอใหมีการประกาศภาวะ
ฉุกเฉินทันทีที่เริ่มประชุมครม.ก็จะไมมีผลอะไรตอการฆาหมูที่ทาพระจันทร สุรินทรเขียน
วา "อาตมารีบขึ้นไปชั้น 4 ที่หองทํางานนายกรัฐมนตรี พบ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช
นายกรัฐมนตรี ไดดูภาพในหนังสือพิมพ ดาวสยาม และบานเมือง จึงเสนอ ความเห็นตอ
นายกรัฐมนตรีวาใหรีบประกาศภาวะฉุกเฉินหามชุมนุมทั่วประเทศ เพื่อรักษาความสงบ
เรียบรอย" เห็นไดชัดวา ความคิดใหประกาศภาวะฉุกเฉินของสุรินทร มาจากความ
ตองการปองกันการชุมนุมประทวงรัฐบาลของฝายขวาที่กําลังจะมีขึ้น ไมใชจากความ
ตองการจะปกปองคุมครองการชุมนุมที่ธรรมศาสตรแตอยางใด

ประการที่สอง ตอเนื่องจากประการแรก สิ่งที่ชวนใหสะดุดใจที่สดุ เมื่อกลับไปอาน


จดหมายสุรินทร คือ สุรินทรและฝายประชาธิปตยเองไมไดแสดงใหเห็นวาหวงใยตอการ
บุกโจมตีธรรมศาสตรของตํารวจมากนัก ในความเปนจริง เสนียไดสั่งการใหอธิบดีตํารวจ
ดําเนินการสอบสวนและจับกุมผูกระทําความผิด "หมิ่นองครัชทายาท" เทานั้นและ
ตัวแทนศูนยนิสิตฯก็ไดตดิ ตอเขามอบตัวแลว ดวยเหตุนี้จึงไมมีเหตุผลใดๆทีต่ ํารวจ
จะตองใชกําลังเขาทําลายการชุมนุมที่ธรรมศาสตร สุรินทรเลาถึงการที่ชุมพล โลหะชา
ละ "เขามารายงานในคณะรัฐมนตรีพรอมกับรองไหโฮๆ" แตเขาไมไดเลาวาเขาหรือใคร
ในประชาธิปตยเองตั้งคําถามวา เหตุใดจึงตองมีการบุกยึดธรรมศาสตร จับผูช  ุมนุมถึงกวา
3 พันคน? ใครเปนคนออกคําสั่งใหทําเชนนั้น?

ประเด็นนี้มีความสําคัญและเปนสิ่งชอบธรรมที่จะยกขึ้นมาเพียงใด ดูไดจาก
เหตุการณเล็กๆหนึ่งที่เกิดขึ้นไมหางจากการเขียนจดหมายของสุรินทรเทาไรนัก คือใน
วันที่ 7 กันยายน 2520 รัฐบาลธานินทร กรัยวิเชียร ไดออก "แถลงการณเรื่องกรณีผูถูก
จับกุมเนื่องจากเหตุการณในวันที่ 6 ตุลาคม 2519" ฉบับหนึ่งเพื่อ "ชี้แจงขอเท็จจริง" ใน
กรณีดังกลาว (ที่รัฐบาลออกแถลงการณก็เพราะกอนหนานั้น 2 วัน คดี 6 ตุลาไดถูกนํา
ขึ้นสูศาลเปนครั้งแรก ผูตองหา 19 คน - สุธรรม แสงประทุมและอีกบางคนในชุดนักโทษ
เด็ดขาดพรอมตรวนที่ขา - ถูกนําตัวไปที่ศาลทหารในกระทรวงกลาโหม และโดยที่ไมมี
ใครคาดคิด มากอน ผูคนหลายพันคน รวมทั้งชางภาพสื่อมวลชน และผูแทนองคกรสิทธิ
มนุษยชนตางประเทศ พรอมใจกันไปฟงการพิจารณาคดีและใหกําลังใจผูตอ  งหา จน
เบียดเสียดกันแนนศาลและกระทรวงกลาโหม - ในทางปฏิบัติเปนการชุมนุมทาง
การเมืองครั้งแรกหลังรัฐประหาร - สรางความตกใจแกรัฐบาลไมนอย) สวนหนึ่งของ
แถลงการณกลาววา:

ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 รัฐบาลชุดกอน (ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี) ได


จับกุมบุคคลที่ใชกําลังและใชอาวุธตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งปฏิบัติตามหนาที่ เพื่อ
กอความวุนวายและเปลี่ยนแปลงรัฐบาล รวมทั้งรวมกันฆาและพยายามฆาเจาพนักงาน
และผูอื่น และในขอหาอื่นๆซึ่งเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายอื่น
เปนจํานวนทั้งสิ้น 3,154 คน

ทันทีที่รฐ
ั บาลธานินทรออกแถลงการณฉบับนี้ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ไดออก "คําชี้แจง"
ออกมาตอบโตฉบับหนึ่ง ดังนี้:
ขาพเจาขอชี้แจงวา ในวันที่ 5 ตุลาคม 2519 กอนมีการปฏิรูปการปกครองแผนดิน
ขาพเจาในตําแหนงนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ไดสั่งใหตํารวจ
ดําเนินการสอบสวนและจับกุมเฉพาะแตผูตองหาวากระทําความผิดฐานดูหมิน ่ หรือแสดง
ความอาฆาตมาดรายตอองครัชทายาท อันเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 112 แตฐานเดียวเทานั้น ดังที่ขาพเจาไดชี้แจงแถลงใหทราบทั้งทางวิทยุและ
โทรทัศนตอนค่ําวันที่ 5 ตุลาคม 2519 สวนความผิดฐานอื่นไมไดสั่ง

แตในการประชุมครม.ในเชาวันที่ 6 ตุลาคม นั้นเอง - ถาเราเชื่อตามจดหมายของสุรินทร


มาศดิตถ - ไมวาตัวเสนีย, หรือสุรินทร, หรือพรรคประชาธิปตย ไมมีใครถามชุมพล
โลหะชาละหรือศรีสุข มหินทรเทพ (อธิบดีกรมตํารวจ) วาเหตุใดจึงใชกําลังเขา
ปราบปรามการชุมนุมในธรรมศาสตรในเมื่อ "ผูตองหาวากระทําความผิดฐานดูหมิ่นองค
รัชทายาท" ติดตอเขามอบตัวแลว? ใครสั่งใหทํา? ที่ผานมาผมคิดวาเราอานจดหมาย
สุรินทรในแงที่เปนการเปดโปง การเขาไป "เลนบทโศก" ในที่ประชุมครม.ของชุมพล
โดยมองขามความจริงไปวาฝายประชาธิปตยเอง (รวมทั้งตัวสุรินทร) ไมไดตั้งขอสงสัย
หรือคัดคานการที่ตํารวจใชกําลังเขาสลายการชุมนุมของนักศึกษาโดยตรง อันที่จริง
เสนียและสุรินทรควรจะทําอยางที่เสนียเพิ่งมาทําใน "คําชี้แจง" ในตนเดือนกันยายน
2520 คือยืนยันวา "ความผิดฐานอื่นไมไดสั่ง" อาจจะแยงไดวา จดหมายสุรินทรฉบับ
ดังกลาวมีถึงสมาชิกพรรคประชาธิปตย จึงไมตองการเลาวาตัวเองออกมาปกปองการ
ชุมนุมของนักศึกษาในที่ประชุมครม.ในเชาวันนั้น แตในจดหมายที่สุรินทรเขียนถึง สุ
ธรรม แสงประทุม ที่คก ุ บางขวางในเวลาไลเลี่ยกัน (ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2520) ก็กลาว
แตเพียงวา "อาตมาไมพอใจเลยในการที่นิสิตนักศึกษาประชาชนไมไดรับความเปนธรรม
และถูกกลาวรายโดยปราศจากความจริง เรื่องภายในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีวน ั นั้น อาตมา
พยายามที่จะใหทุกอยางเปนไปตามความจริง แตรฐ ั มนตรีพวกพรรคชาติไทยไดตอตาน
คัดคานอาตมาและรวมแผนการปฏิวัติของพวกเขาอยางชัดเจน" ซึ่งนาจะหมายถึงการ
ถกเถียงกันเรื่องจะประกาศใชภาวะฉุกเฉินหรือไมมากกวา (หรือมิเชนนั้น ก็อาจจะ
หมายถึง แถลงการณที่ดูเหมือนจะมีการพยายามรางกันขึ้น ในจดหมายถึงสมาชิกพรรค
สุรินทรกลาววา "ตอนบายประชุมคณะรัฐมนตรีตอ  มีการพิจารณารางแถลงการณ ไดมี
การแถลงการณบางตอนไมตรงความจริง อาตมาเปนผูคัดคานไมใหออกแถลงการณ
เท็จ" ผมไมแนใจวา สุดทายมีการออกแถลงการณนี้หรือไม เพราะไมเคยเห็น)

ในจดหมายถึงพรรคฉบับที่สองของสุรินทร มีตอนหนึ่งที่กลาววา "พล.ต. ชาติชาย จึงได


ไปนําเอาพล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน ผูเปนหัวหนาลูกเสือชาวบานคนหนึ่งของฝาย
ตชด.เขามาในคณะรัฐมนตรี มาคัดคานการประกาศภาวะฉุกเฉินและกลาววาจะตองปราบ
นักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหสิ้นซาก นายกรัฐมนตรีพด ู วาไมได คุณจะเอา
ลูกเสือชาวบาน เอาประชาชนไปฆาประชาชนไมได" และ "พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร
หัวหนาพรรคชาติไทย รมต.เกษตรฯแสดงความเห็นในคณะรัฐมนตรีวา เปนจังหวะและ
โอกาสที่ดท ี ี่สุดที่จะปราบปรามใหศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทยใหถูกลบชื่อ
หายไปจากประเทศ" ซึ่งนาจะเปนเหตุการณเดียวกับที่จดหมายถึงพรรคฉบับแรกกลาว
อยางสั้นๆวา "วันนั้นไดมีผูเสนอใหฆานักศึกษา นายกรัฐมนตรีเปนผูคด
ั คานไมใหกระทํา"
แตทั้งสองกรณีเปนการคัดคานการใชลูกเสือชาวบานมากกวา ไมปรากฏวามีการตั้งขอ
สงสัยหรือคัดคานการกระทําของตํารวจ ซึ่งอาจจะเปนการแสดงใหเห็นลักษณะพาซื่อ
ของเสนียและสุรินทรก็ได อยางไรก็ตาม ผมยังคงเห็นวาทั้งคูนาจะไดยืนยันในวันนั้น
อยางที่เสนียมายืนยันในภายหลัง วา "ความผิดฐานอื่นไมไดสั่ง"

ความจริงก็คือ ในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 นั้น กําลังตํารวจประเภทตางๆไดบุกเขา


โจมตีการชุมนุมที่ธรรมศาสตรโดยไมไดรับคําสั่งใดๆจากรัฐบาล ปญหาที่เราตอง
พิจารณาตอไปคือ ใครเปนผูสั่ง? และสั่งเพื่อผลประโยชนของใคร? กลาวอีกอยางหนึ่ง
คือ ใครเปนผูบงการ?

***************************************************************
***********

ใครสั่ง/ใครบงการ บุกธรรมศาสตร?

กําลังที่บุกเขาโจมตีผูชุมนุมในธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ถาจะแบงแบบ


กวางที่สุด ประกอบดวย 2 พวก คือ มีเครื่องแบบกับไมมีเครื่องแบบ พวกไมมีเครื่องแบบ
อยางนอยไดแกลก ู เสือชาวบาน (สังเกตจาก "ผาพันคอพระราชทาน") และนาจะกระทิง
แดง (สังเกตจากบุคลิกทาทาง) นอกจากนี้มีผูตั้งขอสังเกตวาหลายคนอาจจะเปน
เจาหนาที่หรืออดีตเจาหนาที่ทหารตํารวจนอกเครื่องแบบ เชน มีเพื่อนผมบางคนแสดง
ความเห็นวา ลักษณะทารุณกรรมที่พวกนี้กระทําเชนตอกลิ่ม เผาทั้งเปน แขวนคอแลว
ประทุษรายศพ คลายกับวิธีการที่ทหารอเมริกันหรือคนพื้นเมืองที่ทหารอเมริกน ั ฝก
กระทําในสงครามเวียดนาม ถาเปนชาวบานธรรมดาไมนาจะมีจิตใจเหี้ยมเกรียมพอจะทํา
เชนนั้นได ในความเปนจริง ทารุณกรรมตางๆที่นิยาม 6 ตุลาในความทรงจําของคนทั่วไป
เปนฝมือของพวกไมมีเครือ ่ งแบบนี้มากกวาพวกมีเครื่องแบบ อยางไรก็ตาม ลําพังพวก
ไมมีเครื่องแบบที่มีอาวุธไมมาก ไมสามารถจะสลายการชุมนุมในวันนั้นได พวกมี
เครื่องแบบเปนผูโจมตีสังหารหมูดวยอาวุธหนักเบาครบเครื่องกอน เปดทางใหพวกไมมี
เครื่องแบบทําทารุณกรรม

ลักษณะเดนที่สุดของกําลังติดอาวุธในเครื่องแบบทีล่ งมือปราบปรามการชุมนุมของ
นักศึกษาประชาชนในกรณี 6 ตุลา ซึ่งตรงขามกับกรณี 14 ตุลาและ 17 พฤษภา คือ มี
แตตํารวจไมมีทหาร ถาดูจากหลักฐานตางๆที่มีอยู รวมทั้งคําใหการของพยานที่เปน
ตํารวจในคดี 6 ตุลา จะพบวากําลังตํารวจแทบทุกหนวยถูกระดมมาใชในการโจมตี
ธรรมศาสตร ทั้งนครบาล (ตั้งแตจาก สน. ถึงแผนกอาวุธพิเศษ หรือ "สวาท"), สันติบาล
, กองปราบปราม โดยเฉพาะตํารวจแผนกปราบจลาจล ("คอมมานโด") 200 คนภายใต
สลาง บุนนาค และตํารวจพลรมตระเวนชายแดน จากคายนเรศวร หัวหิน สองหนวยหลัง
นี้ผมเขาใจวานาจะเปนกําลังหลักในการโจมตี ขอใหเรามาพิจารณาอยางใกลชิดยิ่งขึ้น

ตํารวจปราบจลาจลและสลาง บุนนาค

ตํารวจปราบจลาจลเปนแผนกหนึ่ง (แผนก 5) ของกองกํากับการ 2 กองปราบปราม


พ.ต.ท.สลาง บุนนาค เปนรองผูกํากับการ 2 คนหนึ่ง เขาใหการแกศาลทหารวา ไดรับ
คําสั่งจากพล.ต.ต.สุวิทย โสตถิทต ั ผูบังคับการกองปราบปราม เมื่อเวลาตีหนึ่งของคืน
วันที่ 5 ตุลาคม 2519 ใหนํากําลังตํารวจปราบจลาจลไป "รักษาความสงบที่บริเวณทอง
สนามหลวงและหนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร" เขาจัดกําลังไดประมาณ 200 คน นําไป
ถึงธรรมศาสตรเมือ ่ เวลาตีสาม ตอมาเวลาประมาณ 8 นาฬิกา ก็ไดรับคําสั่งจากอธิบดีกรม
ตํารวจ "ใหเขาไปทําการตรวจคนจับกุมและใหใชอาวุธปนไดตามสมควร" (อยางไรก็ตาม
"ที่ขาฯไดรับคําสั่งใหใชอาวุธไดจากอธิบดีตํารวจนั้น ไดรับคําสั่งโดยมีนายตํารวจมาบอก
ดวยวาจา จํานายตํารวจนั้นไมไดวามียศเปนอะไร...มาบอกกันหลายคน")

ขณะที่สลาง ทั้งในคําใหการตอศาลทหารและในบันทึกความทรงจําเกี่ยวกับ 6 ตุลาที่


เขาเผยแพรหลังจากนั้น (เชนในสวนที่เกี่ยวกับปวย อึ๊งภากรณเมื่อเร็วๆนี้) พยายามเสนอ
ภาพตัวเองวาเปนเพียงเจาพนักงานที่ปฏิบัติหนาที่โดยปกติตามกฎหมายและตามคําสั่ง
ของผูบังคับบัญชา คําใหการและบันทึกความจําของเขาเองมีชองโหวและจุดที่ขัดแยง
กันเอง ซึ่งชวนใหสงสัยไดวาพฤติกรรมของเขาในวันนั้นมีเบื้องหลังทางการเมือง คือ มี
ความเปนไปไดที่เขาจะเปนสวนหนึ่งของกลุมพลังฝายขวาที่มุงกวาดลางทําลาย
ขบวนการนักศึกษาเพื่อปูทางไปสูการรัฐประหาร

สลางอางวาในคืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519 เวลาประมาณหาทุมครึ่ง เขาเดินทางไป


สังเกตการณบริเวณสนามหลวงหนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรดวยตัวเอง โดยแตงกาย
นอกเครือ่ งแบบ แลวจูๆในระหวางที่เดินอยูบริเวณหนาประตูมหาวิทยาลัยดานวัด
มหาธาตุ ก็มี "ผูหญิง 3 คนซึ่งขาฯไมเคยรูจักมากอนมาพบขาฯ...บอกขาฯวาเขาเปน
อาจารยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร...บอกวาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมีการแสดงละคร
การเมืองดังกลาวซึ่งนาจะทําใหเกิดเหตุรายขึ้นได ทางตํารวจไมดําเนินการอยางไรบาง
หรือ" เขาจึงพาทั้งสามไปรายงานพล.ต.ต.สุวิทย โสตถิทัต เพื่อใหปากคําที่กองปราบ
แลวจึงเดินทางไปแผนก 5 "เพื่อเตรียมกําลังตามคําสั่งพล.ต.ต.สุวิทย" จัดกําลังได 200
คนนํากลับมาที่ธรรมศาสตร

นี่เปนความบังเอิญอันเหลือเชื่อ อยาลืมวานั่นเปนเวลาใกลเที่ยงคืน สลางไมไดแตง


เครื่องแบบ "อาจารยธรรมศาสตร" ทั้งสามจะรูไดอยางไรวาเขาเปนใคร? (สลางอางวา
"เชื่อวาคงมีอาจารยคนใดคนหนึ่งรูจักหนาขาฯ") อยาวาแต "อาจารย" ทั้งสามไปทํา
อะไรดึกดื่นเที่ยงคืนขนาดนั้นในบริเวณนั้น? ยิ่งถาไมพอใจการแสดงละครของนักศึกษา
ทําไมไมไปแจงความที่ สน.สักแหงตั้งแตกลางวัน หรือตั้งแตวันที่ 4 ซึ่งเปนวันแสดง
ละคร กลับมาเดินทอมๆในยาม วิกาลใหเจอสลางโดยบังเอิญเพื่อรองเรียนไดเชนนั้น?
เรื่องประหลาดของสลางในวันที่ 5 ตุลาคม ยังมีอีก: ในระหวางตอบคําถามโจทกในศาล
ทหาร เขาไมยอมเลาถึงการกระทําอยางหนึ่งของตัวเอง จนกระทั่งเมื่อทนายจําเลยซัก
คาน จึงไดยอมรับวา หลังจากพา "อาจารยธรรมศาสตร" ทั้งสามไปใหปากคําที่กอง
ปราบ แต "กอนที่ขาฯจะนําเอากําลังตํารวจ 200 คนออกไปปฏิบต ั ิการนั้น ขาฯไดไปพบ
หมอมราชวงศเสนีย ปราโมชที่บานในซอยเอกมัยกอน ขาฯไปเองไมมีใครสั่งใหไป ขาฯ
ไปดูความเรียบรอยของผูใตบังคับบัญชาของขาฯ"

อยาลืมวาขณะนั้น (ตี 1-2) ตามคําใหการของเขาเอง สลางอยูภายใต "คําสั่งพล.ต.ต.สุ


วิทย" ใหนํากําลังไปที่ธรรมศาสตร แตแทนทีจ่ ะรีบไปปฏิบัติตามคําสั่งผูบังคับบัญชา
กลับเถลไถลแวะไปบานเสนียโดย "ไมมีใครสั่งใหไป" เพียงเพื่อ "ดูความเรียบรอยของ
ผูใตบังคับบัญชา" ทนายจําเลยเสนอเปนนัยยะวาแทจริงสลางไปเพื่ออาสานํากําลังไป
ปราบนักศึกษา (ในฐานะของความเปนฝายขวา แบบเดียวกับที่จําลอง ศรีเมืองและพวก
"ยังเตอรก" เคยแอบเขาพบเสนียที่บานเพื่อเรียกรองทางการเมืองในปนั้น) แตสลาง
ปฏิเสธ "โดยสวนตัว ขาฯไมไดขออนุญาตตอทานนายกรัฐมนตรีนํากําลังออกปฏิบัติการ"
อยางไรก็ตาม เขากลาววา "ไดพบกับนายกรัฐมนตรีและเลาเหตุการณที่เกิดขึ้นใหฟง
ดวย เมื่อขาฯไดเลาเหตุการณใหทานนายกรัฐมนตรีฟงแลว ทานไดบอกกับขาฯวา เรื่อง
นี้สั่งการไปทางอธิบดีกรมตํารวจแลว ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไมไดสั่งอะไรเปนพิเศษแกขา
ฯในขณะนั้น" ซึ่งชวนใหสงสัยวาคนระดับนายกรัฐมนตรีจะตองมาชี้แจงใหนายตํารวจ
ระดับรองผูกํากับที่แวะมาหาตอนตีสองโดยไมบอกลวงหนาและเปนการสวนตัวทําไม?

ในบันทึก "กรณีเหตุการณ 6 ตุลาคมที่เกีย ่ วของกับดร.ปวย" ที่สลางเผยแพรในโอกาส


การถึงแกกรรมของปวย อึ๊งภากรณเมื่อเร็วๆนี้ เขาเลาวาในวันที่ 6 ตุลา หลังจาก
นักศึกษาในธรรมศาสตร "มอบตัว" ตอตํารวจแลว เขา "ไดรับวิทยุจากผูบังคับการกอง
ปราบฯ...สั่งการใหผมเดินทางไปที่ทําเนียบรัฐบาลโดยดวน เนื่องจากประชาชนที่ไม
พอใจรัฐบาลในขณะนั้นบุกเขาไปในทําเนียบ โดยมีคําสั่งใหรักษาความปลอดภัยหรือ
หาทางพาทานนายกฯม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ออกจากทําเนียบรัฐบาลใหได" เมื่อไปถึง
ทําเนียบ "ทราบวา ฯพณฯนายกฯมีความประสงคจะลาออก เพือ ่ ใหเกิดความสงบสุข มี
ส.ส.สวนหนึ่งเห็นดวย อีกสวนหนึ่งไมเห็นดวย ตัวคุณสราวุธ นิยมทรัพย (เลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี) ก็ถกู คุมเชิงอยู ไมกลานําใบลาออกที่พิมพเสร็จแลวไปเสนอนายกฯ"

สลางอางตอไปวา :

“หลังจากหารือกับคุณสราวุธ, ม.ล.เสรี ปราโมช กับพวก ส.ส. เห็นดวยกับการคลี่คลาย


สถานการณ โดยใหทานนายกฯลาออก ไดขอยุตด ิ ังนี้

1.มอบหมายใหผมเปนผูนําใบลาออกไปใหนายกฯลงนาม

2.จัดรถปราบจลาจลมาจอดหนาทําเนียบเพื่อใหทา นนายกฯประกาศลาออกตอหนา
ประชาชนที่บุกเขามาในทําเนียบ

3.จัดกําลังคุมกันนายกรัฐมนตรีไปที่บก.รวมซึ่งตั้งอยูในบก.สูงสุด (เสือปา) ปจจุบันนี้


เพื่อรวมกันพิจารณาคลี่คลายสถานการณ

“เมื่อไดรับการขอความรวมมือและเห็นวาเปนทางเดียวที่ดีทส
ี่ ุด คือใหผูนํา ทั้ง 2 ฝาย
คือทานนายกฯและฝายทหารไดเจรจาหรือแกไขรวมกันก็คงจะเปนประโยชน ผมจึงได
ปฏิบัติ
“ผลการปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบหมาย ดําเนินการไปไดดวยความเรียบรอย....”

เปนเรื่องประหลาดที่นายตํารวจระดับรองผูกํากับการจะมีบทบาทมากมายเพียงนี้ ถึง
ขนาดที่ทั้งทําเนียบรัฐบาลไมมีใครเหมาะสมพอจะ "เอาใบลาออกไปใหนายกฯลงนาม"
และ "นํานายกฯไปพบกับคณะทหาร" ตองพึ่งพาใหเขาทํา ตั้งแตไปพบอาจารย
ธรรมศาสตรที่เห็นเหตุการณละคร "แขวนคอ" โดยบังเอิญกลางดึกทีส ่ นามหลวง, นําไป
ใหปากคําที่กองปราบฯ, แลวไดรับคําสั่งใหไปจัดกําลังไป "รักษาความสงบ" ที่
ธรรมศาสตร, แวะไปบานนายกรัฐมนตรีในซอยเอกมัยตอนตีสอง, ปฏิบัติการที่
ธรรมศาสตร, เดินทางไปทําเนียบ จัดการใหนายกฯเซ็นใบลาออกแลวพาไปพบผูนํา
ทหาร - บทบาทของสลาง บุนนาคในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 มีมากมายอยางนาอัศจรรย
ใจ แนนอนวาบทบาทของเขาในวันนั้นยังไมหมดเทานี้ กอนจะหมดวัน เขายัง "ไดรับ
คําสั่ง" ใหไปปฏิบัติการที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง ซึ่งทําใหเขามีชื่อเสียงที่ไมอาจลบลางได
จนทุกวันนี้:

“ประมาณ 2 ทุม (ของวันที่ 6 ตุลาคม 2519) ไดขออนุญาตกลับบานถนนแจงวัฒนะ


เพื่ออาบน้ําและเปลี่ยนเครื่องแตงกาย เนื่องจากไมไดกลับบานมา 3-4 วันแลว ระหวางที่
เดินทางมาถึงสี่แยกบางเขน ไดรับวิทยุสั่งการโดยตรงจาก พล.ต.ต.สงวน คลองใจ ผู
บังคับการกองปราบฯใหรบ ี เดินทางไปที่สนามบินดอนเมืองโดยดวนที่สด ุ เพื่อปองกัน
ชวยเหลือ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ใหรอดพนจากการทํารายจากกลุมประชาชน พวกนวพ
ลและกระทิงแดงใหได จึงไดรีบเดินทางไปปฏิบัติหนาที่ตามคําสั่ง....

“กระผมจึงไดรีบเดินไปทีด ่ ร.ปวยที่กําลังโทรศัพทอยู โดยบอกวา อาจารยครับเขาไป


โทรขางใน พูด 2 ครั้ง ทานก็ยังพยายามตอโทรศัพทอยู ผมจึงปดโทรศัพทจากมือทาน
และกระชากทานเพื่อนําเขาไปในหองของทาอากาศยาน เมื่อเขาไปในหองและเห็นวา
ปลอดภัยแลว จึงกราบทานและแนะนําตัววาผมเปนลูกศิษยทานที่ธรรมศาสตร ที่ได
แสดงกิริยารุนแรงกับอาจารยก็เพื่อแสดงใหกลุมพลังขางนอกเขาใจวาผมไมใชพวก
เดียวกับอาจารย ดร.ปวยไดบอกกับพวกผมและเจาหนาที่ทาอากาศยาน ศุลกากร ตม.
วาที่ตองโทรก็เพราะไมมีเงินติดตัวมาเลย....เจาหนาที่หลายนายไดบอกวาผมเปนลูก
ศิษยและมีหลายคนรวบรวมเงินมอบใหอาจารย ทานก็รับไป...”

บันทึกดังกลาวของสลางไดรับการตอบโตจากนักวิชาการบางคน รวมทั้งผมดวย
(สลางเริ่มเผยแพรเหตุการณที่ดอนเมืองเวอรชั่นนี้ในป 2534) ทุกคนใชวิธีอางความทรง
จําของอาจารยปวยเองทั้งที่อยูในบทความ "ความรุนแรงและรัฐประหาร 6 ตุลาคม
2519" และที่อาจารยเลาใหลูกชายฟง ซึ่งมีแตกลาวถึงการที่สลาง "ตรงเขามาจับ
ผูเขียน [ปวย] โดยที่กําลังพูดโทรศัพทอยู ไดใชกิรย
ิ าหยาบคายตบหูโทรศัพทรวงไป
แลวบริภาษผูเขียนตางๆนานา บอกวาจะจับไปหาอธิบดีกรมตํารวจ ผูเขียนก็ไมได
โตตอบประการใด" ไมมีตอนใดที่บอกวาสลางไดกราบขอโทษ "ที่ไดแสดงกิรย ิ ารุนแรง
กับอาจารยก็เพื่อแสดงใหกลุมพลังขางนอกเขาใจวาผมไมใชพวกเดียวกับอาจารย" เลย

อยางไรก็ตาม การตอบโตแบบนี้ ถึงที่สุดแลว เปนการใชความทรงจําของคนหนึ่งไป


หักลางกับความทรงจําของอีกคนหนึ่ง และแมวาคนทั่วไปอาจจะเลือกทีจ ่ ะเชือ
่ ปวย
มากกวา (ดังที่ผมเขียนวา "ถาจะใหเลือกระหวางอาจารยปวยกับสลาง บุนนาค วาใคร
พูดความจริงถึงสิ่งที่เกิดขึน้ ที่ดอนเมือง ผมเลือก อาจารยปวยโดยไมลังเล") แตหาก
สลางยืนกรานใน "ความทรงจํา" ของตัวเอง แมวาจะฟงดูเหลือเชือ ่ เพียงใด ในระยะยาว
ก็ยากจะพิสจ ู นไดวาอะไรคือความ จริง จนกระทั่งเมื่อไมกี่วันมานี้ ผมพบวาเรามี "บุคคล
ที่สาม" ที่สามารถเปน "พยาน" พิสูจนไดวา "ความทรงจํา" ของสลางเกี่ยวกับ 6 ตุลา
รวมทั้งที่เกี่ยวกับอาจารยปวยที่ดอนเมือง เปนสิ่งที่เชื่อถือไมไดเลย
"บุคคลที่สาม" ที่วานี้ก็คือ ตัวสลาง บุนนาค เอง!

เพื่อที่จะเขียนบทความชุดนี้ ผมไดกลับไปอานคําใหการตอศาลทหารของพยานโจทก
ทุกคนในคดี 6 ตุลา (ซึ่งผมเปนจําเลยคนหนึ่ง) อยางละเอียด รวมทั้งของสลาง บุนนาค
ดวย ผมพบวาสลางไดใหการเกี่ยวกับเหตุการณที่ดอนเมืองแตกตางกับที่เขานํามาเขียน
ถึงในระยะไมกี่ปนี้อยางมาก ดังนี้:

“เย็นวันที่ 6 ต.ค. 19 ขาฯไมไดไปหามสายการบินสิงคโปรแอรไลนไมใหทําการบิน หรือ


เลื่อนเวลาทําการบินออกไป ขาฯไปเพราะไดรับทราบขาวจากสถานีวิทยุยานเกราะออก
ขาววาด็อกเตอรปวย อึ๊งภากรณ จะเดินทางออกนอกประเทศไทยโดยทางเครื่องบินที่
ดอนเมือง และมีประชาชนจํานวนมากไดติดตามไปที่สนามบินดอนเมืองเพือ ่ เขาทําการ
แยงตัวเพื่อจะทําราย ขาฯ จึงไปและกันใหด็อกเตอรปวยไปอยูเสียที่ชั้นลางของทา
อากาศยานกรุงเทพ เพื่อใหหางจากฝูงคนที่จะเขาไปทําราย จนทําใหด็อกเตอรปวยรอด
ชีวิตอยูไดจนถึงบัดนี้...ในวันนั้นขาฯไปเพียงคนเดียว ไมมีกําลังตํารวจไปดวย ในวันนั้น
ขาฯยังพูดกับด็อกเตอรปวยวา มหาวิทยาลัยกําลังยุงอยูทําไมทานจึงหนีออกนอก
ประเทศเอาตัวรอดแตเพียงคนเดียว ขณะที่พูดมีคนอื่นไดยินกันหลายคน เพราะขาฯมี
ความเห็นวาขณะนั้นด็อกเตอรปวยควรจะอยูอยางยิง่ ถามีความรับผิดชอบในฐานะที่เปน
ผูใหญ ด็อกเตอรปวยไมไดขอพูดโทรศัพทกับนายตํารวจชั้นผูใหญและขาฯก็ไมได
กระชากโทรศัพทมาเสียจากด็อกเตอรปวย”

ยกเวนเรื่องที่สลางอางวาชวยไมใหปวยถูกฝูงชนทํารายแลว จะเห็นวาคําใหการป 2521


กับบันทึกป 2542 มีสาระและน้ําเสียงที่ตรงขามกันโดยสิ้นเชิงที่สําคัญที่สดุ คือการที่
สลางปฏิเสธอยางชัดถอยชัดคําในศาลเมื่อป 2521 วา "ไมไดกระชากโทรศัพทมาเสีย
จากด็อกเตอรปวย" แตมายอมรับในป 2542 (2534) วา "ปดโทรศัพทจากมือทานและ
กระชากทานเพื่อนําเขาไปในหอง"

แสดงวาสลางใหการเท็จตอศาลทหาร (ซึ่งเปนความผิดทางอาญา นาเสียดายที่


อายุความสิ้นสุดเสียแลว)

ขณะเดียวกันทัศนะของสลางตอปวยที่แสดงออกในคําใหการป 2521 นาจะใกลเคียงกับ


ความรูสึกของเขาสมัย 6 ตุลามากกวา ("ทําไมทานจึงหนีออกนอกประเทศเอาตัวรอดแต
เพียงคนเดียว..." ฯลฯ) ซึ่งแสดงวา ขออางในปหลังที่วาเขา "กราบ" ปวยก็ดี ชวยเหลือ
ในการเรี่ยไรเงินใหก็ดี เปนเรื่องโกหก และสุดทาย การที่สลางมาอางเมื่อเร็วๆนี้วา ไป
ดอนเมืองเพราะ "ไดรับวิทยุสั่งการโดยตรงจาก...ผูบังคับการกองปราบฯ" ก็นาจะไมจริง
อีกเชนกัน เพราะในป 2521 เขาเองบอกวา "ไปเพราะไดรับทราบขาวจากสถานีวิทยุยาน
เกราะออกขาววาด็อกเตอรปวย อึ๊งภากรณ จะเดินทางออกนอกประเทศไทย"

การที่สลางยอมรับออกมาเองในป 2521 วา เขาไดพูดจากลาวหาใสหนาปวยวา "หนี


ออกนอกประเทศเอาตัวรอดแตเพียงคนเดียว" ไมสมกับ "ฐานะที่เปนผูใหญ" เชนนี้ มี
ความสําคัญอยางมาก อยาลืมวา ขณะนั้นสลางเปนเพียงรองผูกํากับการยศพันตํารวจโท
อายุ 40 ป ถึงกับกลาตอวาปวยซึ่งอายุ 60 ปและมีฐานะระดับอธิบดีกรม (ความจริงสูง
กวาเพราะอธิการบดีเปนตําแหนงโปรดเกลาฯแตงตั้ง) ในระบบราชการตองนับวาเปนการ
บังอาจเสียมารยาทอยางรายแรงเขาขายผิดวินัย ในลักษณะเดียวกับที่ สุรินทร มาศดิตถ
กลาวถึงพฤติกรรมของ พล.ต.ต. เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน ในที่ประชุมครม.ในเชาวันนั้น ("
บังอาจโต นายกรัฐมนตรี...ตํารวจยศพลตํารวจตรียงั กลาเถียงนายกรัฐมนตรีถึงในที่
ประชุมคณะรัฐมนตรี") ความ "กลา" แสดงออกของสลางขนาดนี้ชี้ใหเห็นอยางไมเปนที่
ตองสงสัยเลยวา ที่เขารีบไปดอนเมืองเพราะไดฟงการ "ออกขาว" (ชี้นํา?) จากยาน
เกราะนั้น จะตองมีจด
ุ มุงหมายเพื่อหวังจะยับยั้งการลี้ภัยของปวยอยางแนนอน เมื่อบวก
กับความจริง ซึ่งเขาใหการเท็จตอศาลแตเพิ่งมายอมรับในป 2534 ที่วาเขาได "ปด
โทรศัพทออกจากมือ" และ "กระชาก" ตัวปวย ซึ่งเปนเรื่องผิดทั้งทางวินัยและทางอาญา
เราก็นาจะสรุปได (เชนเดียวกับที่สุรินทรสรุปไดเมื่อเห็นพฤติกรรมของเจริญฤทธิ์: "พวก
นี้ตองวางแผนการปฏิวัติไวแลว และเชื่อแนของพวกเขาแลววาตองสําเร็จแน") วาใน
วันที่ 6 ตุลาคม 2519 สลางไมไดเปนเพียงเจาพนักงานที่ทําตามคําสั่งของ
ผูบังคับบัญชา แตเปนหนึ่งในการระดมกําลังของฝายขวาเพื่อทําลายขบวนการนักศึกษา
และทํารัฐประหาร

ขอสรุปเชนนี้ ทําใหเราสามารถอธิบายไดวาทําไมในวันนั้นสลาง บุนนาคจึงมีบทบาท


อยางมากมายในลักษณะ "วิ่งรอก" ทั่วกรุงเทพฯ - จากการไปพบ "อาจารยธรรมศาสตร"
3 คนที่สนามหลวงอยาง "บังเอิญ" ตอนใกลเที่ยงคืน, นํามาใหปากคําที่กองปราบปราม,
แลวไปจัดเตรียมกําลังตํารวจปราบจลาจล, ไปบานเสนียซอยเอกมัยตอนตีสอง โดย "ไม
มีใครสั่งใหไป", กลับมานํากําลังตํารวจปราบจลาจลไปธรรมศาสตร, ทําการปราบปรามผู
ชุมนุม, ไปทําเนียบรัฐบาล, เอาใบลาออกไปใหเสนียลงนามแลวพาไปพบผูนําทหารที่
สนามเสือปา, จนถึงการไปสะกัดกั้นปวยที่ดอนเมืองเมื่อไดขาวจากยานเกราะในที่สุด.
ขณะนั้น เฉพาะกองกํากับการ 2 กองปราบปราม ก็มีรองผูกํากับถึง 6 คน และเฉพาะ
แผนก 3 (รถวิทยุศูนยรวมขาว) และแผนก 5 (ปราบจลาจล) ที่สลางคุมอยู ก็มีรองผู
กํากับอื่นชวยดูแลดวยอีก 2 คน ทุกคนแมแตตัวผูกํากับการ (พ.ต.อ.จิระ ครือสุวรรณ) ก็
ดูจะไมมีบทบาทในวันนั้นมากเทาสลาง

ผมไดเสนอความเห็นขางตนวา สลางและตํารวจปราบจลาจล 200 คนที่เขาคุมเปนหนึ่ง


ในสองกําลังหลักที่บก
ุ เขาโจมตีธรรมศาสตร ขอใหเรามาพิจารณากําลังหลักอีกกลุมหนึ่ง

ตํารวจพลรมตระเวนชายแดน

"ตํารวจพลรม" หรือชื่อที่เปนทางการวา กองกํากับการสนับสนุนทางอากาศตํารวจ


ตระเวนชายแดน ขึ้นอยูกับกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ตามคําใหการของ
ส.ต.อ.อากาศ ชมภูจก ั ร พยานโจทกคดี 6 ตุลา เขาและตํารวจพลรมอยางนอย 50-60
คนจากคายตํารวจพลรมนเรศวรมหาราช หัวหิน ไดรับคําสั่งเมื่อเวลาตี 2 ของวันที่ 6
ตุลาคม 2519 ใหเดินทางมากรุงเทพฯ โดยที่ "ขณะนั้นขาฯยังไมทราบวาที่ไดรับคําสั่ง
ใหเดินทางไปครั้งนี้เพื่อจุดประสงค อะไร" พวกเขาขึ้นรถบรรทุก 2 คัน รถจี๊ปเล็ก 1 คัน
เดินทางถึงกองบัญชาการ ตชด.ถนนพหลโยธินเวลา 6 นาฬิกา รับประทานขาวหอ 15
นาที แลวเดินทางตอมายังโรงแรมรอยัล รองผูกํากับการที่ควบคุมการเดินทางมาจากหัว
หินจึงได "แจงสถานการณพรอมวิธีที่จะปฏิบัติใหทราบ โดยแจงวาที่ใหมาที่นี้ก็เพื่อมา
รักษาสถานการณภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร" เขากลาววา "ที่นํากําลังมา 50-60
คนเปนเฉพาะตํารวจในหนวยที่ขาฯประจําอยูเทานั้น....ขาฯไมทราบวาจะมีตํารวจตระเวน
ชายแดนหนวยอื่นไปปฏิบัติการดวยหรือไม"

ภาพถายเหตุการณ 6 ตุลาหลายภาพที่แสดงใหเห็นคนในเครื่องแบบคลายทหารถือ
อาวุธปนขนาดใหญ (ปนไรแรงสะทอนถอยหลัง หรือ ปรส.) และปนครก กําลังทําทา
โจมตีเขาไปในมหาวิทยาลัย คือภาพของตํารวจตระเวนชายแดนนั่นเอง ("อาวุธปนใน
ภาพที่มีคนแบกอยูก ับอาวุธปนที่ติดกลองเล็งขนาดใหญนั้น เปนอาวุธปน ปรส. ภาพ
ตํารวจที่แบกอาวุธปน ปรส.นั้นเปนตํารวจตระเวนชายแดน", ส.ต.อ.อากาศ ใหการ)

ถานับจํานวนตํารวจหนวยพลรมเฉพาะในสังกัดเดียวกับ ส.ต.อ.อากาศ ที่เขารวม


ปฏิบัติการ 50-60 คน รวมกับตํารวจปราบจลาจล 200 คนที่สลาง บุนนาคนํามา และ
ตํารวจแผนกอาวุธพิเศษ หรือหนวย "สวาท" ทั้งแผนกอีก 45 คน (ตามคําใหการในคดี
6 ตุลาของ พ.ต.ต.สพรั่ง จุลปาธรณ สารวัตร ประจําแผนก ซึ่งขึ้นตอกองกํากับการสาย
ตรวจและปฏิบัตก ิ ารพิเศษ กองบัญชาการตํารวจนครบาล) ก็เทากับวาในเชาวันนั้น
เฉพาะกําลังสวนที่ติดอาวุธหนักและรายแรงที่สุดของกรมตํารวจ 3 หนวยนี้ที่ถูกใชในการ
โจมตีก็มถ ี ึง 300 คน ถามีตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นนอกจากหนวยพลรมเขารวม
ดวย ตัวเลขนี้ก็จะสูงขึ้นและ "อํานาจการยิง" (fire power) ก็ยอมเพิ่มขึ้นอีกมาก
นอกจากนี้ยังมีตํารวจจาก สน.และหนวยงานอื่นๆอีกไมทราบจํานวนแตนาจะเปนไปไดที่
มีตั้งแต 50 ถึง 100 คน (ผมคิดวานี่เปนการประเมินแบบต่ําที่สุดแลว) รวมแลวแสดงวามี
ตํารวจอยางต่ํา 400 คน

เมื่อเปรียบเทียบกับผูชุมนุม ที่ถูกจับได 3,000 คน และที่หนีไปไดซึ่งนาจะไมเกิน


1,000-2,000 คน (ประเมินแบบสูง) ก็หมายความวา สัดสวนของตํารวจตอผูช  ุมนุมอยูใน
ระดับที่สูงมากในฝายตํารวจ คือ ตํารวจ 1 คนพรอมอาวุธครบครันสําหรับผูชุมนุมเพียง
10-12 คน โดยที่สวนใหญที่สุดของผูชุมนุมเปนเพียงนักศึกษา และแทบทุกคนไมมี
อาวุธ และนี่ยังไมนับรวมพวกไมใสเครื่องแบบ (ลูกเสือชาวบาน, กระทิงแดง, ฯลฯ) ที่
เขารวม "ปฏิบัติการ" กับตํารวจดวย
เฉพาะการเปรียบเทียบตัวเลขงายๆแบบนี้ก็เห็นไดชัดวากรณี 6 ตุลา เปนการ "ลอม
ปราบ" หรือ "รุมทําราย" อยางแทจริง

ขอใหเรากลับมาพิจารณาตํารวจพลรมตระเวนชายแดนกันตอ ตํารวจพลรมเปนหนวยงาน
ระดับกองกํากับการ (sub-division) ของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน มีชื่อ
ทางการวา "กองกํากับการสนับสนุนทางอากาศ" เราไมมีหลักฐานวาตํารวจตระเวน
ชายแดนหนวยอื่นไดถูกระดมเขารวมในการโจมตีดวยหรือไม (หนวยงานหลักที่เหลืออีก
7 หนวยของ บช.ตชด. เปนระดับกองบังคับการ (division) ไดแกกองบังคับการ ตชด.
ภาคตางๆ เชน ภาค 1 คุมพื้นที่ภาคกลาง 25 จังหวัด) ส.ต.อ.อากาศ ชมภูจก ั รยอมรับใน
คําใหการของตนวาตํารวจในรูปถายที่แบกปน ปรส.เล็งยิงเขาไปในธรรมศาสตรในเชาวัน
นั้นเปน ตชด. แตก็ไมไดกลาววาเปนหนวยของตน จึงมีเหตุผลที่เราจะตั้งสมมุติฐานได
วาคงมีหนวยตชด.อื่นเขารวมดวย

ในบันทึกความทรงจําเกี่ยวกับเหตุการณ 6 ตุลาที่ตพ ี ิมพเมื่อไมกี่ปก


 อน (มติชนสุด
สัปดาห, 7 ตุลาคม 2537) มนัส สัตยารักษ นายตํารวจนักเขียนที่รูจักกันดี ไดเลาถึง
พฤติกรรมของ ตชด. ที่เขาเห็นในเชาวันนั้นไวอยางนาสนใจ ขณะเกิดเหตุ มนัสเปน
สารวัตรคนหนึ่งของกองกํากับการ 2 กองปราบปราม นั่นคืออยูภายใตสลาง บุนนาค ซึ่ง
เปนรองผูกํากับการ 2 โดยตรง สลางเองกลาวไวในคําใหการของตนวา
"ผูใตบังคับบัญชาของขาฯที่วางกําลังไวที่สนามหลวง มีนายตํารวจชั้นสัญญาบัตรกวา
10 คน [เชน]....รอยตํารวจเอกมนัส สัตยารักษ" แตมนัสไมเพียงแตไมไดเอยถึงขอมูลนี้
หรือชื่อสลางไวในบันทึกของเขาเลยเทานั้น ยังเขียนทํานองวาเขาไปที่นั่นเอง ไมมีใคร
สั่ง ซึ่งนาจะสะทอนอะไรบางอยาง มนัสเขียนวา:

“ผมพบ พล.ต.ต.วิเชียร แสงแกว ผูบังคับการกองปราบปราม กับกําลังตํารวจจํานวนหนึ่ง


ที่ระเบียงดานหนาหอประชุม เมื่อเสียงปน ค. ของ ตชด. คํารามขึ้นทีไร กระจก
หอประชุมจะแตกหลนกราวลงมาใสทานทีนั้น ผมภูมิใจมากที่มีโอกาสไดนอนทับตัวทาน
เพื่อบังเศษกระจกไว

“ผมขอใหทานสั่งหยุดยิง

“"ผมสั่งแลว!" ทานตอบทันที "มนัส คุณวิ่งไปบอกดวยตัวเองอีกที"


“ผมวิ่งไปยังกลุมตํารวจชายแดน 4-5 นายที่ดูเหมือนจะบันเทิงอยูกับอาวุธปน ค. ซึ่ง
ปลายลํากลองชี้ไปทางอาคารฝงแมน้ําเจาพระยา ผมบอกวาผูบังคับการกองปราบปราม
สั่งใหหยุดยิง

“"กระสุนดัมมีค
่ รับ ไมใชกระสุนจริง" พวกเขาไมฟงเสียงหันไปทางปนและเสียงปนก็
คํารามขึ้นอีก

“ผมย้ําอีกครั้ง "ผูการสั่งใหหยุดยิง!"

“สิ้นเสียงผมเสียงปนสนั่นในทันที! เราตอปากตอคํากันไมนานผมก็ถอย พวกเขาเปน


ตํารวจชั้นผูนอย อางวาผูบังคับบัญชาของเขาสั่งใหยิง ยศ พ.ต.ต. ของผมกับคําสั่งของ
พล.ต.ต.นอกหนวยไมมีความหมายสําหรับพวกเขา

“ผมวิ่งกลับมาที่ระเบียงหอประชุม ถึงไมรายงานทานผูการก็รูวาสภาพของเหตุการณมัน
ถึงขั้นอยูเหนือการควบคุมไปแลว การปฏิบัติการตางๆกลายเปนเรื่องสวนตัวไปเสียแลว
....”

การระดมเอาตํารวจพลรมและ(อาจจะ)ตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นๆมาชวยในการ
โจมตีธรรมศาสตรนี้ ตองถือวาเปนเรื่องผิดปรกติอยางยิ่ง และนาจะเปนการผิดระเบียบ
ปฏิบัติของราชการดวย เพราะหนาที่ของหนวยพลรมคือการทําสงครามนอกแบบใน
ชนบท อยางไรก็ตาม ถาเราพิจารณาประวัติความเปนมาของทั้งตํารวจพลรมและตํารวจ
ตระเวนชายแดนโดยทั่วไป ก็จะพบวานี่เปนหนวยงานตํารวจที่อาจจะกลาวไดวามี
ลักษณะการเมืองมากที่สด ุ

ทั้งตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนเปนหนวยงานที่ถูกสรางขึ้นในระยะพรอมๆกัน
ในชวงที่พล.ต.อ.เผา ศรียานนท เปนอธิบดีตํารวจในทศวรรษ 2490 ในทางยุทธการ
ตํารวจพลรมจะขึ้นตอ บช.ตชด. แตในทางปฏิบัติ มีความเปนเอกเทศสูง อันที่จริง พลรม
เปน (ตามคําของ พิมพไทย สมัย 2500) "กําลังตํารวจสําคัญที่สุดในยุคจอมอัศวินเผา"
ถูกสรางขึ้นดวยคําแนะนําและการชวยเหลือดานเงิน, การฝกและอาวุธจากองคการซีไอ
เอ โดยผานบริษัทบังหนา "ซีซับพลาย" (SEA Supply) ที่ซีไอเอตั้งขึ้น ทําใหมีอาวุธ
ยุทโธปกรณ ทันสมัยยิ่งกวาทหารบกภายใตสฤษดิ์คูปรับของเผาในสมัยนั้น เผาสราง
หนวยงาน "ตํารวจ" ที่เปนมากกวาตํารวจในลักษณะนี้อีกหลายหนวย เชน "ตํารวจยาน
ยนต" (ซึ่งมีรถถังใช!), ตํารวจรักษาดินแดน (ร.ด.) และกองบัญชาการตํารวจรักษา
ชายแดน (บช.รช.) สองหนวยหลังนี้ถูกรวมเขาเปนกองบัญชาการตํารวจตระเวน
ชายแดน ในป 2498

เมื่อสฤษดิ์รัฐประหารในป 2500 ก็ทําการแยกสลายและยุบกําลังเหลานี้ บช.ตชด.ถูก


ยกเลิกแลวจัดตั้งเปน "กองบัญชาการชายแดน" แทน ตอมาก็ยายตํารวจชายแดนไปขึ้น
ตอกองบัญชาการตํารวจภูธร ในสวนตํารวจพลรมในสัปดาหแรกหลังรัฐประหารเกือบจะ
เกิดการปะทะกับทหารบกของสฤษดิ์ที่พยายามไปปลดอาวุธ "กองพันตํารวจเสือดํา
(ฉายาที่นสพ.ตั้งใหพลรม) ตั้งปอมฝงระเบิดเวลารอบคายเตรียมรับทหาร ยกกองหนีเขา
ปา ทหารไมกลาตาม" เปนพาดหัวขาวของ พิมพไทย สมัยนั้น แตในที่สุด กําลังของ
หนวยพลรมก็ถก ู โยกยายกระจายกันไปตามหนวยงานอื่นๆ (ไมแนชัดวาหนวยงานพลรม
ถูกเลิกไปเลยหรือลดฐานะไปขึ้นกับหนวยอื่น)

เมื่อคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ประกาศรื้อฟนจัดตั้ง กองบัญชาการตํารวจ


ตระเวนชายแดนขึ้นใหมในป 2515 สถานการณไดเปลี่ยนไป เกิดองคประกอบใหมหลาย
อยางขึ้นในการเมืองไทย เชน การตอสูดวยอาวุธของพคท. แตที่สําคัญทีส ่ ุดคือการ
ที่สฤษดิ์ในระหวางครองอํานาจไดรื้อฟนและขยายสถานะและบทบาทของสถาบัน
กษัตริยอยางใหญหลวง (ดูรายละเอียดในหนังสือ การเมืองระบบพอขุนอุปถัมภแบบ
เผด็จการ ของทักษ เฉลิมเตียรณ)บทบาทสําคัญอยางหนึ่งของสถาบันกษัตริยที่เริ่มใน
สมัยนั้นคือการเขาไปมีสวนรวมในการพัฒนาชนบทและการตอตานการกอการราย เชน
ทรงเปนองคอุปถัมภชาวเขาในเขตยุทธศาสตรดวยพระองคเอง ในป 2509 เริ่มมีการ
บริจาคเงินทูลเกลาฯถวายเพื่อตอตานคอมมิวนิสตเปนครั้งแรก เขาใจวาบทบาทของ
สถาบันกษัตริยในดานนี้เปนจุดเริ่มตนทีท
่ ําใหไดเขาไปใกลชิดกับตํารวจตระเวนชายแดน

สมัยนี้เองที่มีการพยายามสรางภาพ "โรแมนติก" ใหกับตชด. เชน ดวยเพลง "โอชีวิตเรา


อยูตามเขาลําเนาปา ตระเวนชายแดน เหมือนดังพรานลองพนา ตองนอนกลางดิน ตอง
กินลวนอาหารมีในปา..." (ในลักษณะเดียวกับที่ภายหลังมีการพยายามสรางภาพ "โร
แมนติก" ใหเปรม ติณสูลานนท ดวยเพลง "จากยอดดอยแดนไกลใครจะเห็น ยาก
ลําเค็ญเพียงใดใจยังมั่น จะปกปองผองไทยชั่วนิรันดร สิ้นชีวันก็ยังหวงหวงแผนดิน...")

ความสัมพันธอันใกลชด ิ ระหวางสถาบันกษัตริยกับตชด. แสดงออกอยางรวมศูนยที่สุดที่


การจัดตั้งลูกเสือชาวบานในป 2514 ในฐานะกิจกรรมในพระบรมราชานุเคราะหที่
ดําเนินงานโดย ตชด. เมื่อถึงป 2519 รองผูบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดนที่ทําหนาที่
ดูแลกิจการลูกเสือชาวบานก็คือ พล.ต.ต.เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน ผูเขาไปประกาศในที่
ประชุมคณะรัฐมนตรีในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 (ตามคําใหการของสุรินทร มาศดิตถ)
วา "จะตองปราบนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหสิ้นซาก" นั่นเอง

ผมขอทบทวนสิ่งที่ไดเสนอไปแลว ดังนี้ กําลังติดอาวุธที่บุกเขาโจมตีธรรมศาสตร ในเชา


วันที่ 6 ตุลาคม 2519 มีทั้งสวนที่มีเครื่องแบบและไมมีเครื่องแบบ ในขณะที่พวกไมมี
เครื่องแบบ (ซึ่งอาจเปนเพียงอยูนอกเครื่องแบบหรือเปนอดีตทหารตํารวจ) เปน
ผูรับผิดชอบตอทารุณกรรมตางๆที่นิยาม 6 ตุลา ในความทรงจําของคนทั่วไป, พวกมี
เครื่องแบบคือกําลังหลักที่แทจริงที่เปดฉากการฆาหมูนองเลือด ผมไดชี้ใหเห็นวา ตาง
กับกรณี 14 ตุลาและ 17 พฤษภา พวกมีเครื่องแบบในเชาวันนั้นลวนแตเปนตํารวจทั้งสิ้น
ไมใชทหาร เปนที่ชัดเจนดวยวา ตํารวจเกือบทุกหนวยถูกระดมมารวมรุมทํารายผูชุมนุม
ในเชาวันนั้น อยางไรก็ตาม ผมเสนอวากําลังที่สําคัญที่สุดคือตํารวจแผนกปราบจลาจล
200 คนที่นําโดยสลาง บุนนาค, ตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนหนวยอื่นๆอีก
ไมต่ํากวา 50-60 คน ซึ่งใชอาวุธหนัก เชน ปนไรแรงสะทอนถอยหลังและปนครก และ
ตํารวจหนวย "สวาท" ทั้งแผนกอีก 45 คน
ผมไดพยายามแสดงใหเห็นวาบทบาทของสลางในวันที่ 6 ตุลาไมใชบทบาทของเจา
พนักงานระดับลางที่ทําตามคําสั่งแตเปนบทบาทของนักเคลือ ่ นไหวฝายขวาที่มุงทําลาย
ขบวนการนักศึกษา (แบบเดียวกับจําลอง ศรีเมืองในชวงนั้น) เชนเดียวกัน การระดม
ตํารวจพลรมจากคายนเรศวรหัวหินซึ่งมีหนาที่ในการทําสงครามนอกแบบในชนบทเขา
มาปราบนักศึกษาในกรุงเทพฯเปนเรื่องที่ผิดปกติและผิดวิธีปฏิบัติราชการอยางเห็นไดชัด
แตเปนเรื่องที่เขาใจไดถา ดูจากวิวัฒนาการของตํารวจตระเวนชายแดนที่มีลก ั ษณะ
การเมืองสูง (highly politicized) จากการเปนกําลังที่เผา ศรียานนทตั้งขึ้นเปนฐาน
อํานาจตัวเอง จนกลายมาเปนหนวยงานที่ดูแลรับผิดชอบกิจการลูกเสือชาวบานในพระ
บรมราชานุเคราะห

เหนืออื่นใดเราตองไมลืมวาการโจมตีธรรมศาสตรในเชาวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ไมไดเปน


คําสั่งของรัฐบาลเสนีย ปราโมช เปนความจริงที่วา ในค่ําวันที่ 5 ตุลาคม รัฐบาลเสนียได
"สั่งกําชับใหเจาหนาที่ตํารวจสืบสวนสอบสวน" การแสดงที่ธรรมศาสตรที่ "มีลักษณะไป
ในทางดูหมิ่นอาฆาตมาดรายตอองครช ั ทายาท...อันเปนการกระทบกระเทือนตอจิตใจ
ของประชาชนชาวไทย....เพื่อนําเอาผูกระทําผิดมาลงโทษใหได" (คําแถลงของเสนีย
ทางสถานีโทรทัศนเวลา 22.15 น. นาสังเกตวาประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเมื่อเวลา
21.40 น. กลาวเพียงวา "ใหกรมตํารวจดําเนินการสืบสวนและสอบสวนกรณีนี้โดยดวน"
ไมมี "อันเปนการกระทบกระเทือนจิตใจ..." และ "เพื่อนําเอาผูกระทําผิดมาลงโทษให
ได")

แตหาก "เจาหนาที่ตํารวจ" ปฏิบัติหนาที่ "สืบสวนสอบสวน" ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ


ราชการ ก็ยอมไมเกิดกรณีนองเลือด 6 ตุลาคม เพราะผูที่อยูในขายเปน "ผูตองหา" คือ
กรรมการศูนยนิสต ิ และผูจด
ั การแสดงละครก็ไดแสดงความจํานงยินดีเขาพบกับรัฐบาล
เพื่อใหดําเนินการ "สืบสวนสอบสวน" ไดตั้งแตคืนวันที่ 5 แลว ไมเฉพาะแตบทบาทอัน
นาสงสัยของสลางและการสั่งเคลื่อนกําลัง ตชด.เขากรุงเทพฯเทานั้น

๖๐ ปเสรีไทย วีรกรรมของผูรับใชชาติ

บทนํา

" การที่จะอนุญาตหรือไมนั้นขาพเจาไมมีอํานาจแตอยางใด เพราะทานก็ทราบดี


แลววา ขาพเจาเปนเพียงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ อํานาจสั่ง
ไมใหตอสูนั้นคือนายกรัฐมนตรี ซึ่งดํารงตําแหนงผูบัญชาการทหารสูงสุดอีก
ตําแหนง ... ผูบัญชาการทหารสูงสุด ไดประกาศเปนคําสั่งประจําไวแลววา ไมวา
กองทหารประเทศใด ถาเขามาแผนดินไทย ใหตอตานอยางเต็มที่ ฉะนั้นผูที่จะ
ยกเลิกคําสั่งนี้คือผูบัญชาการทหารสูงสุด"

นายดิเรก ชัยนาม รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศ กลาวภายหลังเอกอัครราชทูต


ญี่ปุน ประจําประเทศไทย ยื่นคําขาดขอใหกองทัพญี่ปุนเดินทางผานประเทศไทย เพื่อ
ไปโจมตีพมาและมลายู ซึ่งเปนพื้นที่ยึดครองของอังกฤษ ในเวลา ๒๒.๓๐ น. ของวันที่
๗ ธันวาคม ๒๔๘๔ โดยขอใหรัฐบาลตอบภายใน ๔ ชั่วโมง

แตขณะนั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและผูบัญชาการทหารสูงสุด กําลัง


ตรวจราชการอยูทช
ี่ ายแดนภาคตะวันออก ซึ่งถาไมมีการเปลี่ยนแปลงคําสั่ง สงครามกับ
มหามิตรที่กลายเปนผูรุกรานเพียงขามคืน ก็มิอาจเลีย
่ งได

ระหวางรอยตอของคืนวันที่ ๗ ถึง ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ ญี่ปุนเริ่มยุทธการสายฟาแลบ


ดวยการโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่เพิรล ฮาเบอร เกาะฮาวาย หลังจากนั้นจอมพล
เคานท ฮิซะอิจิ เทราอูจิ แมทัพใหญภาคใตที่มีกองบัญชาการอยูที่เมืองไซงอน ไดสั่ง
การใหกองทัพญี่ปุนทุกหนวยเคลื่อนเขาประเทศไทยตามจุดตาง ๆ ที่กําหนดไว

การเคลื่อนทัพผานไทยผานมาทางพระตะบอง ไมปรากฏการตอตานจากกองทัพไทย
เนื่องจากไมแนใจวารัฐบาลอาจจะทําความตกลงกับกองทัพญี่ปุนไวแลว เนื่องจากจอม
พล ป. เพิ่งเดินทางออกจากพระตะบองเพียงไมกี่ชวั่ โมงกอนหนา

ขณะที่การยกพลขึ้นบกของญี่ปุนที่สมุทรปราการ ตองพบกับการเตรียมการตอตานญี่ปุน
อยางรัดกุม ทําใหทั้งสองฝายทําไดเพียงการคุมเชิงกัน

แตการยกพลขึ้นบกที่ภาคใตตั้งแตประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช


สงขลา ปตตานี ตองเผชิญกับการตอตานอยางแข็งขันทั้งจากเจาหนาที่ทหาร ตํารวจ
ยุวชนทหาร ตลอดจนประชาชนทั่วไป มีทั้งการตอบโตการโจมตีทางอากาศ การตอสู
ระยะใกล จนถึงการรบที่มล
ี ักษณะประชิดและถึงขั้นเขาตะลุมบอนกันของทั้งสองฝาย

ขณะที่คณะรัฐมนตรีที่มีการประชุมตั้งแต ๒๓.๐๐ น. ของวันที่ ๗ ธันวาคม ทําไดแตเพียง


สงตัวแทนไปเจรจากับญี่ปุนเพื่อยืดระยะเวลาเทานั้น แตก็ไรผล

เชาวันที่ ๘ ธันวาคม เวลา ๐๖.๕๐ น. จอมพล ป. พิบูลสงคราม เขารวมประชุม


คณะรัฐมนตรี เมื่อไดรับฟงการประเมินศักยภาพทางการทหารแลววามิอาจตอตานญี่ปุน
ได ขณะเดียวกันความหวังที่จะไดรับความชวยเหลือจากฝายสัมพันธมิตรก็เปนไปได
อยางยากยิ่ง คําตอบที่ไดจากนายกรัฐมนตรีก็คอ

ไมมีประโยชนอะไรทีจ
่ ะตอตาน เพราะไทยไมมีกําลัง ทางที่ดีที่สุดคือรักษาชีวิตของชาติ
และพลเมืองไวกอน

คณะรัฐมนตรีจึงมีมติในเวลา ๐๗.๓๐ น. ใหยุติการสูรบ และไดมีการลงนามในยินยอมให


ญี่ปุนเดินทัพผานประเทศไทยไดโดยมีเงื่อนไข คือ
๑. ญี่ปุนตองไมปลดอาวุธฝายไทย
๒. ญี่ปุนจะไมพักอยูท
 ี่กรุงเทพฯ
๓. ใหมีขอตกลงเฉพาะทางทหารเทานั้น
๔. ขอตกลงนี้เด็ดขาดจะไมมีการขออะไรมากกวานี้

รัฐบาลไดแถลงตอประชาชนในเวลา ๑๒.๐๐ น. วา

"จําเปนตองพิจารณาขอเสนอของรัฐบาลญี่ปุนและผอนผันใหทางเดินแกกองทัพญี่ปุน
โดยไดรับคํามั่นจากรัฐบาลญี่ปุนเปนลายลักษณอักษรวา จะเคารพเอกราช อธิปไตย
และเกียรติศักดิ์ของไทย ดวยเหตุนี้รัฐบาลจึงไดตกลงใหทางเดินทัพแกญี่ปุน การตอสู
ระหวางไทยกับญี่ปุนก็ไดหยุดลง"

แตความเปนจริงแลวการสูรบหาไดยุติลงเมื่อรัฐบาลแถลง เพราะในเวลานั้นการสื่อสาร
ยังเปนไปดวยความลาชา ประกอบกับในเวลาสงครามขาวสารที่ไดรับนั้นถามีความไม
มั่นใจก็เปนการยากที่จะยอมรับได ความเชื่อที่วารัฐบาลจะสั่งยอมแพอยางงายดายนั้น
ไมเคยมีอยูในความคิดของผูที่เสี่ยงชีวิตเขาแลก เพื่อตอสูกับญี่ปุน

จุดสุดทายทีย
่ ุติการสูรบคือบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ของวันที่ ๙ ธันวาคม

หลังจากนั้นความสัมพันธระหวางไทยกับญี่ปุน ก็ถลําลึกมากขึ้น ๑๑ ธันวาคม ๒๔๘๔ มี


การทําสัญญาพันธมิตรรวมรบ อีก ๑๐ วันตอมาก็ทําสัญญารวมวงศไพบูลย ในสงคราม
มหาเอเชียบูรพากับญี่ปุน

สุดทายก็นํามาสูการประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกาและอังกฤษในวันที่ ๒๕
มกราคม ๒๔๘๕ ซึ่งก็เทากับการเขารวมกับญี่ปุนและฝายอักษะอยางเต็มตัว

กระแสความไมพอใจตอการตัดสินใจของรัฐบาล ไดพุงขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะความ


ไมพอใจที่มต ี อจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่กอนหนานั้นมีทาทีแข็งกราวในอันที่จะ
ตอตานผูรุกราน คณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ผูที่ไมพอใจนโยบายของจอม
พล ป. เปนทุนเดิมอยูแลว กลุมคนไทยในตางประเทศกรรมกร หรือแมกระทัง่ กลุมที่เคย
สนับสนุนนโยบายชาตินิยม เมื่อคราวเรียกรองดินแดนคืน แตละกลุมไดรวมตัวกันทํา
กิจกรรมที่ตอ  ตานนโยบายรัฐบาล และการเขามารุกรานของญี่ปุน แตรัฐบาลถือวาตนเอง
มีความ "ชอบธรรม" อยางยิ่งในการปราบปรามผูที่ไมเห็นดวย โดยใชอํานาจตาม
กฎหมายที่ไดตราไวกอนหนานั้น เชน การกําหนดหนาที่คนไทยในการรบ การจํากัดสิทธิ
คนไทยผูกระทําการอันเปนภัยตอชาติ ฯลฯ โดยมีบทลงโทษมีตั้งแตการจําคุก ไปจนถึง
การประหารชีวิต อีกทั้งกองทัพญี่ปุนที่เขามาประจําการในประเทศ ก็ใชทาทีที่แข็งกราว
ตอผูทต
ี่ องสงสัยวา ดําเนินกิจกรรมตอตานกองทัพญี่ปุน

ดังนั้นปฏิบัติการตอตานรัฐบาลและญี่ปุนผูรุกราน จึงตองเปนงาน "ใตดิน" ที่ปดลับ


แมแตคนใกลชด ิ ก็ใหรับทราบไมได ขณะเดียวกันก็ตองจํากัดวงของผูปฏิบัติงานในแตละ
ฝาย เปนการรักษาความลับในกรณีที่ผูหนึ่งผูใดถูกจับกุม เพื่อไมใหเปนผลเสียตอ
ขบวนการโดยรวม

จากจุดเริ่มตนของแตละกลุม ที่มีความหลากหลายทางความคิด หรือแมกระทั่ง


เคยขัดแยงทางการเมืองกอนหนานั้น แตเมื่ออยูในภาวะวิกฤต และจุดหมาย
เฉพาะหนาคือการรักษาเอกราชอธิปไตยและขับไลผูรุกราน สงผลใหคนเหลานี้
เขามาทํางานรวมกันจนกลายเปนขบวนการเสรีไทย

และเมื่อรําลึกถึงขบวนการเสรีไทย ก็ขอใหเปนอยางที่ "นายฉันทนา" ไดเขียนไวใน


หนังสือ XO GROUP เรื่องภายในขบวนการเสรีไทย วา

"ขอใหเราอยานึกถึงตัวตนของบุคคลซึ่งยอมรวงโรยไปตามกาลเวลา แตขอใหนึกถึงงาน
อันอมตะของเขา บุคคลอาจจะแตกตางดวยกําเนิด ดวยฐานะและการศึกษา แตการ
เสียสละเปนยอดแหงคุณธรรม ที่ยกใหมนุษยอยูในระดับเดียวกัน"

ธันวาคม ๒๕๔๔ ในโอกาสครบรอบ ๖๐ ปการรุกรานของญี่ปุนและการกอตั้ง


ขบวนการเสรีไทย สารคดี ขอยอนอดีตกลับไปรําลึกวีรกรรมของบุคคลที่รวมกัน
เปน ขบวนการเสรีไทย ทั้งในดานความเปนมา ภารกิจ และผลสําเร็จที่ไดสราง
ขึ้น

องคการตอตานญี่ปุน

ปรีดี พนมยงค ไดเลาความรูสึกของคนไทยในวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ เมื่อทราบขาว


การยกพลขึ้นบกของญี่ปุน ผานขอเขียน "การกอตั้งขบวนการตอตานญี่ปุนและเสรีไทย"
วา

" ความรูสึกของราษฎรสวนมาก ที่ไดประสบและเห็นภาพที่กองทัพญี่ปุนที่เปน


ทหารตางดาว เขามารุกรานประเทศไทย และการที่ราษฎรหลั่งน้ําตานั้นมิใชดวย
ความขลาดหรือกลัวตาย หากหลั่งเพราะ 'เจ็บใจ' และ 'แคนใจ' ที่วา 'เจ็บใจ' นั้น
เพราะถูกตางชาติรุกราน ที่วา 'แคนใจ' นั้นเพราะรัฐบาลไมทําตามที่ไดโฆษณา
เรียกรองทั้งทางหนังสือพิมพ และวิทยุกระจายเสียง ใหราษฎรเสียสละและตอสูผู
รุกราน ถาสูดวยอาวุธไมได ก็ใหเผาอาคารบานเรือน ยุงฉาง กอนที่ศัตรูจะเขามา
รุก ใหเหลือแผนดินเทานั้นที่ศัตรูจะยึดเอาไปได ดังที่รัฐบาลไดตั้งคําขวัญวา 'ให
ศัตรูยึดไดแตปฐพี' อีกทั้งโฆษกของรัฐบาลไดโฆษณาใหใชอาวุธทุกชนิดที่
พลเมืองมีอยู เชน ปน, ดาบ, หอก, หลาว รวมทั้งสัตวและพืชที่มีพิษ เชน งู,
ตะขาบ, แมลงปอง, หมามุย

แตเมื่อคราวญี่ปุนรุกรานเขามาจริง ๆ ทหาร ตํารวจ และราษฎรที่ชายแดน ก็ได


พรอมกันเสียสละชีวิตกันตอสู แตรัฐบาลก็ทําตามรัฐบาลญี่ปุน โดยไมทําตามที่
ตนชักชวนเรียกรองใหราษฎรตอสู"

ในฐานะผูที่ยืนยันความเห็นในการรักษาความเปนกลางของประเทศไวใหไดมากที่สุด
และเปนผูที่พอจะมีบารมีทางการเมืองทัดเทียมกับจอมพล ป. ปรีดี พนมยงค จึงเปน
เปาหมายที่ผูมีความตองการกอตั้งขบวนตอตานญี่ปุนยึดถือเปนทีพ
่ ึ่ง

"เมื่อขาพเจากลับถึงบานพัก (ถนนสีลม ตอนค่ํา) แลวพบเพื่อนหลายคนที่มาคอยอยู


อาทิ หลวงบรรณกรโกวิท (เปา จักกะพาก) หลวงเดชาติวงศวราวัฒน (ม.ล. กรี เดชาติ
วงศ) นายสงวน ตุลารักษ นายวิจิตร ลุลติ านนท ... เพื่อนที่มาพบก็ไดชี้แจงถึงความรูสึก
ของตนเอง และความรูสึกของราษฎร

เพื่อนที่รวมปรึกษาหารือในขณะนั้น เห็นวาราษฎรไทยไมอาจหวังพึ่งรัฐบาล วาจะรักษา


เอกราชอธิปไตยของชาติไทยใหสมบูรณอยูได คือตองยอมทําตามขอเรียกรองของ
ญี่ปุนมากยิ่งขึ้น

จนกระทั่งนําประเทศชาติเขาไปผูกพันกับญี่ปุนอยางเต็มตัว

เมื่อไดปรึกษาหารือพอสมควรแลว ผูที่มาประชุมวันนั้นไดตกลงพลีชีพเพือ ่ ชาติ เพื่อกอบ


กูเอกราชสมบูรณของชาติ เพื่อการนั้นจึงตกลงจัดตัง้ 'องคการตอตานญี่ปุน'
ประกอบดวยคนไทยทุกชัน ้ วรรณะ ทั้งที่อยูในประเทศและอยูตางประเทศ ทีป ่ ระชุมได
มอบหมายใหขาพเจาเปนหัวหนาและกําหนดแผนปฏิบัติการตอไป"

ดังนั้นขบวนการเสรีไทยที่เรารับรูกันในปจจุบัน ก็ริเริ่มขึ้นในวันเดียวกันนั้นเอง ในนาม "


องคการตอตานญี่ปุน" ซึ่งมีภารกิจสําคัญคือ

๑. ตอสูญี่ปุนผูรุกราน โดยพลังของคนไทยผูรักชาติและรวมกับฝายสัมพันธมิตร

๒. ปฏิบัติการใหฝายสัมพันธมิตรรับรองวาเจตนารมณที่แทจริงของราษฎรไทย
มิไดเปนศัตรูตอสัมพันธมิตร

ตอมาเมื่อรัฐบาลไดประกาศสงครามกับอังกฤษและอเมริกาแลวไดเพิ่มภารกิจสําคัญอีก
ประการหนึ่งคือ การปฏิบัติการใหสัมพันธมิตรรับรองวา ประเทศไทยไมตกเปนฝายแพ
สงครามรวมกับญี่ปุน

ขบวนการกูชาติ
จํากัด พลางกูร อักษรศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยอ็อกซฟอรดแกนนําคนหนึ่งของ
ขบวนการกูชาติ ไดเลาไวในหนังสือ การกูชาติ วา

" เมื่อขาพเจายังเรียนอยูที่ประเทศอังกฤษขาพเจารวบรวมสมัครพรรคพวกได
เปนอันมาก เพื่อจะมาตั้งคณะตอสูกับจอมพลแปลกเพื่อสงเสริมประชาธิปไตย
อยางแทจริงขึ้นทางลับ ๆ ในประเทศไทยแตครั้นขาพเจาถูกไลออกจากทาง
ราชการ เพราะขาพเจาไมไปประกาศทางวิทยุกระจายเสียง เกี่ยวกับ
ประชาธิปไตยของขาพเจาเพื่อนฝูงก็เริ่มเหินหางออกไป"

แตเมื่อทราบขาวญี่ปุนยกพลขึ้นบกและทาทีของรัฐบาลที่ไมยอมตอตานญี่ปุน ความ
พยายามในการกอตั้งขบวนการกูชาติกก ็ ลับมาอีกครัง้

"ตอนบายวันที่ ๙ ธันวาคม (๒๔๘๔) ...ขาพเจาไดปรึกษานายเตียง หาทางออกไปนอก


อาณาจักรไทยไปยังพมา ทราบวามีทางออกอยูทางแมสอดและกาญจนบุรี แตตอมาอีก
สองวันก็ไดขาววาญี่ปุนไดยึดสองทางนั้นเสียแลว เปนอันวาการเตรียมตัวของเราตอง
ลมเหลวไปขาพเจาจึงรวบรวมเพื่อนพองเพื่อตั้งขบวนการกูชาติ ... หลักการของขาพเจา
มีอยูวา จะรวบรวมพรรคพวกเทาที่จะหาได แบงออกเปน ๓ ชั้น คือ ชั้นที่ ๑ พวกที่รู
แผนการของขาพเจา ชั้นที่ ๒ คือพวกที่รูเลา ๆ วาขาพเจาทําอะไร และชั้นที่ ๓ คือพวก
ที่มีความเลื่อมใสและนิยมในตัวขาพเจา พวกเหลานี้ใหลวงรูอะไรโดยตรงไมได และถึง
เวลาจําเปนก็คงใชบริการได พวกนี้ไดแกศิษยขาพเจาโดยมาก

พวกชั้นที่ ๑ เทาที่รวบรวมไดก็มีนายเตียง ศิริขันธ นายทองอินทร ภูริพัฒน นายถวิล อุ


ดล นายจําลอง ดาวเรือง นายเรือโท โกเมศ เครือตราชู นายยล สมานนท ชั้นที่ ๒
ภรรยา ขาพเจา (นางฉลบชลัยย พลางกูร) ไดไปชวน นางปน บุนนาค (นางราชญาติ
รักษา) และพวก ขาพเจาไดไปชวนนายแพทยเฉลิม บุรณนนท ฯลฯ ชั้น ๓ นั้นมีมากมาย

แตขอที่สําคัญก็คือ แมวาพวกเราจะหนีไปตั้งรัฐบาลได เราก็ไมมีกําลังพอทีจ


่ ะตอสูกับ
กองทัพของจอมพลได ขาพเจาเชื่อมั่นวา ในระหวางผูมีอํานาจคงมีใครบางที่คิดอยาง
เรา แลวรวมคณะเราเขาไป คงทําประโยชนไดบางไมมากก็นอย ขาพเจาสายตาดูก็เห็นมี
แตอาจารยปรีดี พนมยงค ผูเดียวซึ่งจะเปนหัวหนา เปนกําลังสําคัญของคณะกูชาติของ
เราได ขาพเจาจึงตรงไปหาทานที่บานสีลมทันที"

ตอมา ขบวนการกูชาติและองคการตอตานญี่ปุนไดรวมตัวกันในปลายป ๒๔๘๔

กองอาสาตอตานญี่ปุน

ดําริห เรืองสุธรรม ผูมีบทบาทสําคัญในการจัดตั้งกรรมกรในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒


ไดเลาเรื่องการตอตานญี่ปุนของขบวนการแรงงานไทยอยางนาสนใจวา

"๕ วันภายหลังจากกองทัพญี่ปุนไดเขามาตั้งมั่นอยูในกรุงเทพฯ องคกรนํา


ตอตานพรรคใตดินก็ไดมีมติชูธง 'ตอตานญี่ปุน คัดคานเผด็จการจอมพล ป.
พิบูลสงคราม' และดําเนินการจัดตั้ง 'กองอาสาตอตานญี่ปุน' ขึ้น เพื่อเตรียมตัว
ตอสูดวยอาวุธเมื่อเงื่อนไขสุกงอม พลพรรคกองอาสาตอตานญี่ปุนประกอบดวย
นักปฏิวัติรักชาติ รักประชาธิปไตยของชาติตาง ๆ ในประเทศไทย วัตถุประสงค
หลักของขบวนการนี้ก็คือ การ 'ขับไลกองทัพญี่ปุนออกจากประเทศไทย ฟนฟู
เอกราชและอิสระเสรีของชาติไทย' "

ภารกิจแรกของกองอาสาสมัครตอตานญี่ปุนก็คอ ื การออกใบปลิวออกมาในนาม "คณะ


ไทยอิสสระ" ในวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๔๘๔ สงไปยังสื่อมวลชน เรียกรองใหประชาชน
ไทยรวมใจตอตานญี่ปุนผูรุกราน และไดแจกเครือ ่ งหมายรูปตัว "อ" ซึ่งเปนสัญลักษณ
แทนคําวา "อิสสระ" ใหเปนเครื่องหมายไวใชรวมกัน

เนื้อหาในใบปลิว "คณะไทยอิสสระ" มีเนื้อหาโจมตี จอมพล ป. พิบูลสงคราม และสอง


โฆษกประจํากรมโฆษณาการ ที่มีสวนในการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลก็คือ นายมั่น ชู
ชาติ (ชื่อจริงคือสังข พัธโนทัย) นายคง รักไทย (ชื่อจริงคือ คงศักดิ์ ขําศิริ) วา เปน
เครื่องมือของญี่ปุนในการรุกรานเอเชียบูรพา สงผลใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม โกรธ
แคนเปนอยางมาก มีการกวาดจับนักหนังสือพิมพครั้งใหญ กุหลาบ สายประดิษฐ หนึ่งใน
ผูถูกจับในครั้งนั้น ไดบรรยายความรูสึกไวใน ทินกรณของผูตองคุมขังโดยขอหาวาเปน
กบฏ เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๘๕ วา

"เราตองขอหาวาเปนกบฏในราชอาณาจักร เราสะเทือนใจเมื่อทราบขอกลาวหา
แตไมตกใจเทาใดเพราะมั่นใจในความบริสุทธิ์ของตน"

เปนที่รับทราบกันตอมาวา ผูที่จัดทําใบปลิวชิ้นนี้ก็คอ
ื คณะคอมมิวนิสตสยาม โดยผูที่
จัดทําใบปลิวนั้นก็คอ
ื นายเลง โบราณวงศ ซึ่งถูกจับไดที่ตก ึ วรจักร ขณะกําลังจัดทํา
ใบปลิว "คณะไทยอิสสระ" ฉบับที่ ๒

ดังนั้นนอกจากการเคลื่อนไหวตอตานญี่ปุนภายในประเทศโดยมี ปรีดี พนมยงค เปนผูนํา


แลว ในขณะนั้นยังมีคณะคอมมิวนิสตสยาม ซึ่งยังไมมีการการจัดตั้งองคกรทีแ
่ นนอน เขา
รวมดวยในนาม " กองอาสาตอตานญี่ปุน" โดยมีเปาหมายเดียวกันคือการกอบกู
เอกราชอธิปไตยที่สูญเสียไปเมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔

เสรีไทยสายอเมริกา

"ประเทศไทยและคนไทยทุกคนเปนฝายสัมพันธมิตรไมวาจะเกิดอะไรขึ้น และจะขอ
ความรวมมือจากอเมริกาตอตานการบีบบังคับรุกรานจากญี่ปุน"

ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อัครราชทูตไทยประจํากรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ไดเขาพบนาย


คอเดล ฮัลล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐอเมริกา ในฐานะประเทศคู
สงครามกับญี่ปุน

ภายหลังจากทราบขาวการยินยอมใหญี่ปุนยกพลขึน ้ บก เพื่อแจงใหทราบวา ในประเทศ


ไทยมีคนไทยเปนจํานวนมากที่ตอตานญี่ปุน การยินยอมตอญี่ปุนนั้น เปนเพียงการ
ตัดสินใจของรัฐบาลเทานั้น

ตอมา ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช ไดแถลงตอหนังสือพิมพและสงโทรเลขมายังรัฐบาลที่


กรุงเทพฯ วา สถานทูตที่วอชิงตันจะทําตามคําสั่งของรัฐบาลเฉพาะที่เห็นวาไมใชเปน
คําสั่งที่ญี่ปุนสั่งใหทําเทานั้น

สถานการณยิ่งแลวรายลงเรื่อย ๆ เมื่อรัฐบาลประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และอังกฤษเมื่อ


วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๘๕ แต ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช แจงใหสื่อมวลชนในสหรัฐอเมริกา
ไดทราบวา ไดเก็บคําประกาศสงครามไวในกระเปาเสื้อ ขณะเขาพบกับนายคอเดล ฮัลล
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศสหรัฐอเมริกา เพราะเชื่อวาการประกาศสงคราม
ของรัฐบาล มิไดเปนไปตามเจตนาของประชาชนไทย

แมวาในความจริงรัฐบาลไทยจะแจงการประกาศสงครามใหแกกงสุลสวิตเซอรแลนดที่
กรุงเทพฯ ไดรับทราบ ในฐานะผูดูแลผลประโยชนของอังกฤษและอเมริกา ซึ่งในทาง
การทูตถือวาการประกาศสงครามสมบูรณแลว แตรัฐบาลอเมริกาไมรับรูการประกาศ
สงครามของประเทศไทย เนื่องจากถือวาประเทศไทยเปนดินแดนที่ถูกญี่ปุนยึดครอง

รัฐบาลไทยไดประกาศใหขาราชการและนักเรียนไทยในสหรัฐฯ เดินทางกลับระหวาง
แลกเปลี่ยนเชลยกับฝายสัมพันธมิตร แตปรากฏวามีคนไทยเดินทางกลับเพียง ๑๘ คน
ยังเหลือขาราชการสถานทูตและนักเรียนไทยอยูในสหรัฐฯ และแคนาดาจํานวน ๘๒ คน

๔ มีนาคม ๒๔๘๕ สถานทูตไทยในสหรัฐอเมริกาไดออกหนังสือเวียนเรื่องการ


แบงงานของ "คณะไทยอิสระ"

"แผนกที่หนึ่ง หนาที่ของขาราชการสถานทูต ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อัครราชทูต มีหนาที่


เจรจากับกระทรวงการตางประเทศสหรัฐฯ ดานการเมือง ม.ล. ขาบ กุญชร มีหนาที่เจรจา
กับเจาหนาที่ดานการทหาร หลวงดิษฐการภักดี มีหนาที่รับผิดชอบดานการเงิน นายมณี
สาณะเสน รางตรวจแกเอกสารที่จะออกจากสถานทูต นายอนันต จินตกานนท พิมพและ
จเรทั่วไป

แผนกที่สอง ดําเนินงานดานการเมือง เนนหนักในเรื่องสถานทูต จะตองคอยติดตอรักษา


ความเห็นอกเห็นใจจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา

แผนกที่สาม งานสรางชาติใหม เพื่อกอบกูเอกราชใหแกชาติ

แผนกที่สี่ งานชวยเหลือคนไทย จัดทําบัญชีการไดรับความชวยเหลือจากคนไทยเพื่อ


ตอบแทนความดี ความรักชาติ"

กําเนิดชื่อเสรีไทย

แมวาทุกคนจะอยูในสหรัฐอเมริกาจะมีวัตถุประสงคเดียวกัน คือไมเห็นดวยกับการดําเนิน
นโยบายของรัฐบาลไทยและตองการตอตานการรุกรานของญี่ปุน แตดวยพื้นฐานที่
แตกตางกัน ประกอบกับความขัดแยงที่มีกอนหนานั้น ไมวาจะเปนความไมลงรอยกัน
ระหวาง ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อัครราชทูต กับ ม.ล. ขาบ กุญชร ทูตทหารประจํา
สถานทูต หรือการที่คณะนักเรียนไทย ไมยอมรับบทบาทของสถานทูตโดยเด็ดขาดแตผู
เดียว ดังคํากลาวของ จก ณ ระนอง เมื่อทราบภารกิจของนักเรียนไทยในสหรัฐอเมริกา
ที่จะถูกสงไปรบในนามตัวแทนของสถานทูตไทย

"ถาอยางนั้นใหสถานทูตไปรบเอง พวกผมจะยอมตายเพื่อรบใหเมืองไทยเทานั้น"
ดังนั้นจึงมีการประชุมรวมกันบนเรือ Gripholms ในกรุงวอชิงตัน เมื่อเดือนพฤษภาคม
๒๔๘๕ ก็ไดทางออกของภารกิจการกูเอกราชของคนไทยในสหรัฐฯ ก็คอ ื จัดตั้ง
คณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่ง เพื่อเปนตัวแทนของขบวนการ โดยมีขาราชการสถานทูต
และคณะนักเรียนไทยเปนกรรมการ และมอบใหอัครราชทูตเปนประธาน ซึ่งการ
ดําเนินการใด ๆ จะตองไดรับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการเสมอ และใหใชชื่อ
คณะกรรมการดังกลาววา เสรีไทย (Free Thai)

หลังจากนั้นความเกี่ยวของระหวางสถานอัครราชทูตกับคณะนักเรียนไทยก็เปนไปอยาง
จํากัด โดยคณะนักเรียนไทยจะเปนทหารรับคําสั่ง และอยูใตการบังคับบัญชาจากหนวย
กิจการยุทธศาสตร (The Office of Strategic Serviceo : O.S.S.) โดยเฉพาะกองบังคับ
การกองบัญชาการ ๔๐๔ (Detachment 404) ซึ่งตั้งกองบัญชาการอยูที่เมืองแคนดี
เกาะลังกา

เสรีไทยสายอังกฤษ

"การเขาขางผูรุกราน แมเปนฝายชนะก็นาอับอาย เชื่อวาคนไทยทั้งมวลไมเห็นชอบใน


การรวมมือกับผูรุกราน ดังนั้นแมสัมพันธมิตรจะแพ และขบวนการเสรีไทยจะลมเหลว
เพื่อนรวมชาติของเราก็จะเห็นวา “เราทําหนาที่ของคนไทยผูรักชาติรกั ความเปนไทย"

ทศ พันธุมเสน

เชนเดียวกับคนไทยในอเมริกา เมื่อไดรับทราบขาววารัฐบาลยอมใหทหารญี่ปุนเดิน
ทางผานประเทศไทย นักเรียนไทยในประเทศอังกฤษตางไมพอใจการตัดสินใจของ
รัฐบาลเปนอยางมาก และไดประณามการกระทําของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทวา
สถานการณในประเทศอังกฤษตางจากสหรัฐอเมริกา กลาวคือ พระมนูเวทวิมลนาท
(เบี๋ยน สุมาวงศ) อัครราชทูตไทย ไมเพียงแตไมคัดคานการตัดสินใจของรัฐบาล

แตยังไดปรามนักเรียนไมใหเคลื่อนไหว โดยการอานโทรเลขที่ไดรับจากประเทศไทยให
คณะนักเรียนไทยฟงวา

"รัฐบาลเปรียบเหมือนชางเทาหนา พวกเราเปนชางเทาหลัง ฉะนั้นขอวิงวอนใหคนไทย


ทุกคนรวมใจกันสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามคําสั่งของรัฐบาลทุก
ประการ"

ดังนั้นการทํางานรวมกับฝายสัมพันธมิตรจึงเริ่มตนจากปจเจกบุคคลมากกวา

ดังขอความใน บันทึกลับของพันโท อรุณ เสรีไทย ๑๓๖ ของ ม.จ. ศุภสวัสดิ์วงศสนิท


สวัสดิวัตน หรือทานชิ้น ซึ่งเลาไววา
"ขาพเจาไดเขียนจดหมายถึงนายเชอรชิลล นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เพื่อขอรับอาสาเขา
ชวยรวมมือทําการสูรบญี่ปุน นายกรัฐมนตรีอังกฤษไดเขียนจดหมายลงวันที่ ๑ มกราคม
๒๔๘๕ แสดงความขอบใจที่จะเขารวมมือ และขอใหขาพเจาชวยทําการในกรมเสนาธิ
การขาวของอังกฤษ ในการทําแผนที่ในประเทศไทย และรวบรวมขาวคราวเกี่ยวกับ
ประเทศไทย"

สถานการณยิ่งเลวรายลงไปอีกเมื่อรัฐบาลไทยประกาศสงครามกับอังกฤษ วันที่ ๒๕
มกราคม ๒๔๘๕ และรัฐบาลอังกฤษประกาศสงครามตอบในเวลาตอมา สถานภาพของ
คนไทยในตอนนั้นจะอยูในสภาพ คนของชนชาติศัตรู

เมื่อจะตองมีการแลกเปลีย
่ นเชลยศึกสงครามระหวางไทยกับอังกฤษ มีคนไทยเดินทาง
กลับเพียง ๓๓ คนจากทั้งหมด ๙๑ คน สงผลใหรัฐบาลประกาศถอนสัญชาติคนไทยที่
ไมเดินทางกลับประเทศ

มีนาคม ๒๔๘๕ หลังจาก เสนาะ ตันบุญยืน เขาพบ ม.จ. ศุภสวัสดิ์ฯ เพื่อแจงความจํานง


วามีนักเรียนไทยในอังกฤษเปนจํานวนมากตอตานญี่ปุน ม.จ. ศุภสวัสดิ์ฯ ก็ทาํ หนังสือ
เสนอ วินสตัน เชอรชิล นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เพื่อกอตั้งกองทหารสูรบกับญี่ปุนใน
ประเทศไทย

แตเมื่อสรรหาบุคคลทีจ่ ะมารับตําแหนงหัวหนาขบวนการเสรีไทยในอังกฤษ กลับไมมี


บุคคลใดไดรับการยอมรับ เชนเดียวกับ ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช ในสหรัฐอเมริกา เปนเหตุ
ให เสนาะ ตันบุญยืน ตองเขียนจดหมายขอความชวยเหลือจาก ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช
มณี สาณะเสน ในฐานะผูที่เคยทํางานในอังกฤษ ไดรับหนาที่ชวยรวบรวมคณะเสรีไทย
ในอังกฤษ แตก็ใชวาการทํางานจะราบรื่นเนื่องจากเขาไมเปนที่รูจักกันของนักเรียนไทย
ในอังกฤษมากอน

แมสถานทูตไทยประจํากรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ จะไมมีบทบาทนําในการเขา


รวมกับฝายสัมพันธมิตร แตมีคนไทยและนักเรียนไทยสมัครเขารวมเปนอาสาสมัคร
กองทัพอังกฤษจํานวน ๕๐ คน ผานการคัดเลือกเปนทหาร ๓๕ คน ที่เหลือเปน
อาสาสมัครในแนวหลัง รวมทั้งสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ซึ่งขณะนั้นประทับอยูที่
ประเทศอังกฤษดวย

ปวย อึ๊งภากรณ หนึ่งในเสรีไทยไดเขียนถึงความมุงหมายของขบวนการเสรีไทยสาย


อังกฤษไววา

" (คนเหลานี้)อาจจะอาสาสมัครเสรีไทยดวยเหตุตาง ๆ กัน ไดมีการถกเถียงกัน


ถึงเรื่องนี้ในระหวางสมัครเขามาใหม ๆ ... บางคนก็วาสมัครเพื่อกูชาติ บางคน
สมัครเพื่อเสรีภาพและความชอบธรรมแหงชีวิต บางคนก็พูดไมออก นอกจากนี้ก็
เห็นวาเปนหนาที่ อยางไรก็ตามพอพูดไดวา ความมุงหมายรวมกันของพวกเรา
คือ

๑. พวกเราเขาเปนทหารอังกฤษ มิใชเพื่อรับใชชาติอังกฤษ แตตองการรับใช


ชาติไทย โดยอาศัยอังกฤษรวมมือ

๒. คณะของเรามิตองการเกี่ยวของกับการเมืองภายในประเทศ และไมยอมเปน
เครื่องมือในการเมืองของพรรคใด ผูใดเปนเสรีไทยในประเทศเพื่อตอตานญี่ปุน
พวกเราจะรวมมือทั้งนั้น และเมื่อเลิกสงครามแลว คณะเสรีไทยอังกฤษจะ
สลายตัวไป

๓. คณะเสรีไทยจะไมถือโอกาสแอบอางความดีใด ๆ มาเรียกรองแสวงหา
ผลประโยชนสวนตัวในดานลาภ ยศ หรือดานอื่นใด

๔. คณะเสรีไทยสายอังกฤษไดแสดงใหทางอังกฤษเห็นแจงชัดแตเริ่มแรกวา
ขณะของเราตองการกระทําการใด ๆ ในระหวางสงครามในลักษณะทหาร
กลาวคืออยูในเครื่องแบบและยศทหาร แมวาจะเปนทหารก็ยินยอม ทั้ง
หมายความวาไมยอมเปนเครื่องมือในลักษณะจารชน ถาจะตองปฏิบัติราชการ
ลับก็ทําในฐานะทหาร"
นอกจากจะมีกลุมจัดตั้งอยางเปนทางการ ดําเนินการเปนขบวนการแลว ยังมีประชาชน
ชาวไทยอีกเปนจํานวนมาก ที่ไมพอใจการตัดสินใจของรัฐบาล และการที่ญี่ปน ุ รุกล้ํา
อธิปไตยไทย หากไมสามารถแสดงออกมาได แตพรอมที่จะเขารวมกับขบวนการเสรี
ไทย ภายหลังจากมีการรวมตัวเปนขบวนการที่แนนอน

รัฐบาลพลัดถิ่น : เปาหมายแรกของเสรีไทยในประเทศ

รัฐบาลพลัดถิ่นตนแบบคือรัฐบาลพลัดถิ่นที่นายพล ชารลส เดอ โกลล เขาไปจัดตั้งใน


ประเทศอังกฤษ หลังจากที่ฝรั่งเศสถูกเยอรมนีเขายึดครอง หลังการประชุมระหวางนาย
ปรีดีกับมิตรสหายในคืนวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ หลวงกาจสงครามไดเสนอแผนแรกให
นายปรีดี พนมยงค เดินทางออกไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นในตางประเทศ โดยลอบหลบหนี
ออกไปทางกาญจนบุรี เขาทวาย ประเทศพมา และออกไปสูประเทศอินเดีย แตแผนการ
นี้ลมเหลว เพราะญี่ปุนไดใชเสนทางดังกลาวลําเลียงทหารเพื่อเขาไปโจมตีพมา

แผนตอมา ม.ล. กรี เดชาติวงศ ไดเสนอพื้นที่ภาคเหนือที่ตด ิ เนื่องจากมีหลังยันกับพมา


ซึ่งมีอังกฤษอยู เพราะเชื่อวาถาญี่ปุนบุกเขามา อังกฤษและฝายสัมพันธมิตรจะใหความ
สนับสนุนจัดตั้งรัฐบาล ที่ประชุมตกลงกันโดยจะใชนครสวรรคเปนสถานที่ตั้งรัฐบาลอิสระ
โดยมีเปาหมายวาจะตองยึดชุมทางรถไฟที่ปากน้ําโพ นครสวรรค และเสนทางรถยนต
สายเหนือ คือ เสนทางสระบุรีและลพบุรี ใหไดเสียกอน แตปรากฏวาญี่ปุนยึดเสนทาง
ดังกลาวไวหมดแลว ทั้งนี้เพราะวาญี่ปุนจะใชเสนทางดังกลาวในการเดินทางไปยึดพมา
ความพยายามที่จะกอตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นยังมีตอ  ไป เจาวงศ แสนศิริพันธ อดีต
ผูแทนราษฎรจังหวัดแพร ไดสงผูแทนเดินทางไปสํารวจเสนทางไปจุงกิง ประเทศจีน ซึ่ง
เปนที่ตั้งของรัฐบาลเจียงไคเช็ค และฝายสัมพันธมิตร ปรากฏวาผูแทนที่สงไปสํารวจ
เสนทาง ๒ ชุด จํานวน ๑๑ คน เหลือรอดกลับมา ๒ คน เพราะเสนทางเขาสูจุงกิงโดย
ทางภาคเหนือนั้น เปนทางทุรกันดารไมมีใครสามารถผานไปได

แมวาการดําเนินการติดตอกับฝายสัมพันธมิตรจะลมเหลวในชวงตน เพราะญี่ปุนไดเขา
ยึดครองประเทศไทยแทบจะทุกจุดสําคัญทางยุทธศาสตรแลว แตความพยายามที่จะ
ติดตอกับฝายสัมพันธมิตรยังมีตอไป

ตนป ๒๔๘๖ ขบวนการเสรีไทยในประเทศ ก็ไดรับขาวดีเมื่อทราบวา มีเสนทางออกจาก


อีสานผานอินโดจีน สามารถเดินทางเขาสูเมืองจุงกิง ประเทศจีน เพื่อติดตอกับฝาย
สัมพันธมิตรได

จํากัด พลางกูร ไดรับมอบหมายใหไปเจรจากับฝายสัมพันธมิตรใหรับเงื่อนไข ๔


ประการ คือ

๑. การประกาศสงครามของรัฐบาลไทยเปนโมฆะ เพราะขัดกับรัฐธรรมนูญ
๒. เมื่อสถานะสงครามไมเกิดขึ้น สัมพันธไมตรีระหวางไทยกับอังกฤษและอเมริกา ซึ่งมี
อยูกอ
 นวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ เปนอันวายังคงใชไดตามเดิม

๓. ขอใหรัฐบาลอังกฤษใหความเอื้อเฟอและใหเกียรติรัฐบาลพลัดถิ่นของไทยตาม
สมควร เชนเดียวกับรัฐบาลนอรเวย และฮอลแลนด

๔. ขอใหรัฐบาลอังกฤษและอเมริกาปลอยเงิน และทรัพยสินที่ยด
ึ ฝากไวในประเทศ
อังกฤษ และอเมริกาเปนคาใชจายในการกูชาติ

กอนออกเดินทาง จํากัด พลางกูร ไดเขาพบ ปรีดี พนมยงค เปนครั้งสุดทายเมื่อวันที่


๒๗ กุมภาพันธ ๒๔๘๖

" ทานกลาววา 'เพื่อชาติ' เพื่อ Humanity นะคุณ เคราะหดีอีก ๔๕ วันก็คงไดพบ


กัน เคราะหไมดีนักอยางชา ๒ ปไดพบกันและถาเคราะหรายที่สุด ก็ไดชื่อวาสละ
ชีวิตเพื่อชาติไป...

จุงกิง นครแหงความหวัง ?

การออกเดินทางไปจุงกิงของ จํากัด พลางกูร พรอมกับ ไพศาล ตระกูลลี้ ผูทําหนาที่


เปนลามในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๔๘๖ แมวาจะไปถึงจุงกิงเมื่อเดือนเมษายน แตจาก
การที่ไมเคยมีการติดตอกัน ระหวางขบวนการเสรีไทยในประเทศกับฝายสัมพันธมิตร
หรือแมแตขบวนการเสรีไทยนอกประเทศ ทําใหจํากัดตองถูกทางการจีนควบคุมตัวไว
และเมื่อทางการจีนสอบถามไปยัง ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช ก็ไมไดรับคํายืนยันสถานภาพ
ของจํากัด ทําใหการเดินทางไปถึงจุงกิงของจํากัดยังไมประสบผลในเบื้องตน และไม
สามารถติดตอกลับเมืองไทยไดอก ี ดวย

ขณะที่เสรีไทยสายอังกฤษ คือ ม.จ. ศุภสวัสดิ์ฯ กับเสรีไทยสายอเมริกา ม.ล.


ขาบ กุญชร แมวาจะอยูที่จุงกิงแลว แตก็ยังไมไดพบกับนายจํากัด ทั้งนี้เนื่องมาจาก
การเมืองภายในของประเทศไทยเอง ทําใหการประสานงานของเสรีไทยสายตาง ๆ ตอง
ลาชาออกไป

กรกฎาคม ๒๔๘๖ ปรีดี พนมยงค ไดสง สงวน ตุลารักษ ซึ่งขณะนั้นดํารงตําแหนงผู


อํานายการโรงงานยาสูบ พรอมครอบครัว และ แดง คุณะดิลก เจาหนาที่สถานทูต
เดินทางไปจุงกิง โดยอางวาจะเดินทางไปซื้อเครื่องจักรที่ประเทศญี่ปุน คณะของสงวน
แกปญหาการที่ไมมีผูรับรองสถานภาพของตน ดวยการติดตอไปยังหมอลวน วองวานิช
เจาของหางขายยาอังกฤษตรางู ซึ่งขณะนั้นไดมาจัดตั้งหนวยพยาบาล ของชาวจีนโพน
ทะเลของประเทศสยาม ชวยเหลือทหารจีนในการรบกับญี่ปุน ในที่สุดคณะของนาย
สงวน ก็เดินทางไปถึงจุงกิงเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๔๘๖ ไดรับการตอบรับเปนอยางดี
จากรัฐบาลเจียงไคเช็ค พรอมกับที่ ม.ล. ขาบ กุญชร เขาหารือกับนาวาเอก มิลตัน ไมล
แหง O.S.S. คณะของนายสงวนไดพบกับ จํากัด พลางกูร แตหลังจากนั้นไมนานจํากัด
ก็ปวยเปนโรคมะเร็งในลําไสและเสียชีวิตในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๔๘๖

หลังจากนั้นนายสงวนและนายแดงไดเดินทางตอไปยังกรุงวอชิงตัน เพื่อนําขอเสนอทั้ง
๔ ขอที่จํากัดไดรับมอบหมายจากเมืองไทย โดยทีค ่ รอบครัวของนายสงวน คือ นางบุญ
มา ภริยาและบุตรทั้งสองจะตองอยูทจ
ี่ ุงกิงตอ ขณะที่ กระจาง ตุลารักษ ตองเดินทาง
กลับมาเตรียมปฏิบัตก
ิ ารในประเทศไทย

ถานับวาความพยายามที่จะติดตอกับฝายสัมพันธมิตรในตางประเทศเปนความ
ยากลําบากแลว ความพยายามที่จะแสดงใหเห็นวา มีขบวนเสรีไทยเกิดขึ้นจริงใน
ประเทศ ก็นับวาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดยากยิ่งกวา เพราะในสถานการณสงครามนั้นไมมีใคร
สามารถไวใจใครได แมแตคนไทยดวยกันเองก็ยังมีความระแวงกันเปนอยางมาก

ทวาภารกิจที่คณะผูแทนจากในประเทศไดรับมา ถึงแมวาจะไมทําใหฝายสัมพันธมิตร
ยอมรับการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นโดยทันที แตก็เปดชองใหเจรจากันมากขึ้น และเปนครั้ง
แรกที่เสรีไทยในสหรัฐฯ และอังกฤษไดรับทราบวาเมืองไทยมีขบวนการเสรีไทยขึ้น

ลมจอมพล ป. : กอตั้งรัฐบาลเสรีไทย

คุณูปการหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ ก็คือการสรางระบบรัฐสภา


เอาไวเพื่อใหรองรับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ดังนั้นวิถีทางรัฐสภา ซี่งก็คือการใช
วิธีการอภิปรายและลงมติไมไววางใจ จึงเปนวิธีการหนึ่งในการโคนลมรัฐบาลจอมพล ป.
พิบูลสงคราม

แตสถานการณในขณะนั้นจอมพล ป. มีอิทธิพลอยางสูงในรัฐสภา สิ่งแรกที่ขบวนการเสรี


ไทยในประเทศทําก็คือ ขยายแนวรวมไปยังผูแทนราษฎรใหมากที่สุด จากที่เคยมีแต
ผูแทนภาคอีสาน

ชิต เวชประสิทธิ์ ส.ส. จังหวัดภูเก็ต ไดเลาถึงเหตุการณดังกลาวไววา

"กลุมผูนําอีสานและแนวรวมที่เกาะกลุมอยูก
 อนไดตกลงกันวา ตางคนตางดําเนินการหา
สมัครพรรคพวกเปนอิสระ โดยมีหลักการสําคัญขอแรก คือ ตองสามารถมั่นใจวาผูแทน
คนนั้นสามารถรักษาความลับไดเปนอยางดี ขอสองคือมีทศ ั นะโนมเอียงไปทางตอตาน
ญี่ปุน"

ตอมาขยายไปยังกลุมผูแทนราษฎรประเภทที่ ๒ โดยบุคคลสําคัญที่เขารวมขบวนการ
เสรีไทย คือ พล.ต.อ. อดุล อดุลเดชจรัส อธิบดีกรมตํารวจ ซึ่งมีความสําคัญมาก
นอกจาก พล.ต.อ. อดุลจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประเภทที่ ๒ แลว ยังสามารถใช
กลไกของตํารวจที่มีอยูท
 วั่ ประเทศเปนสวนหนึ่งในการตอตานญี่ปุนอีกดวย

ผลจากการที่ญี่ปุนเขามาใชประเทศไทยเปนกองบัญชาการ กอใหเกิดความเดือดรอนแก
ประชาชนโดยทั่วไป ไมวาจะเปนทาทีของทหารญี่ปุนที่กาวราวและขมเหงคนไทย คา
ครองชีพสูงขึ้น ขณะที่การโจมตีทางอากาศของฝายสัมพันธมิตรก็ถี่ขึ้นเปนลําดับ
กรุงเทพมหานครในชวงป ๒๔๘๖-๒๔๘๗ ถูกโจมตีทางอากาศถึง ๔,๐๐๐ ครั้ง ทําให
สูญเสียชีวิตผูคนและทรัพยสินเปนจํานวนมาก สงผลใหคะแนนนิยามในตัวรัฐบาลลด
นอยลงทุกขณะ โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลมีนโยบายยายเมืองหลวง ไปยังจังหวัดเพชรบูรณ
ซึ่งเปนดินแดนทุรกันดารเนื่องจากมีไขปาชุกชุม จากรายงานของสภาผูแทนราษฎรแจง
วา ในป ๒๔๘๗ มีราษฎรที่ถูกเกณฑจํานวน ๑๒๗,๒๘๑ คน มีผูบาดเจ็บ ๑๔,๓๑๖ คน
เสียชีวิตดวยไขปา ๔,๐๔๐ คน และเปนการสิ้นเปลืองงบประมาณมหาศาล สงผลใหมี
การใชประเด็นนี้มาเปนเครื่องมือลมรัฐบาล
เมื่อรัฐบาลนําเรื่องเขาสภาผูแทนราษฎร โดยเสนอเปนราง พ.ร.บ. อนุมัติพระราชกําหนด
ระเบียบราชการบริหารนครหลวงเพชรบูรณ เพื่อขออนุมัติในวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๔๘๗
ฝายตอตานรัฐบาลไดหยิบเอาประเด็นนี้มาอภิปราย ผลของการลงคะแนนลับ ปรากฏวา
รัฐบาลพายไปดวยคะแนน ๓๖ : ๔๘

สองวันตอมา เมื่อรัฐบาลเสนอราง พ.ร.บ. อนุมัติพระราชกําหนดจัดสรางพุทธบุรีมณฑล


ฝายตอตานไดหยิบยกประเด็นเรื่องความสิ้นเปลืองงบประมาณมาอภิปราย ผลของการ
ลงคะแนนลับปรากฏวารัฐบาลพายไปดวยคะแนน ๔๑ : ๔๓

จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในฐานะผูนํารัฐบาลยื่นใบลาออกจากตําแหนง


นายกรัฐมนตรี

เมื่อมีการลงคะแนนเสียงเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม ปรากฏวา ควง อภัยวงศ ภายใต


การสนับสนุนของขบวนการตอตานญี่ปุน ไดรับเลือกเปนนายกรัฐมนตรี ตอมาก็ไดมีการ
ลดอํานาจทางการทหารของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ดวยการยุบตําแหนงผูบัญชาการ
ทหารสูงสุด ดวยขออางวาไมมีในทําเนียบราชการทหาร

การที่สามารถโคนอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ลงได นับวามี


ความสําคัญตอขบวนการตอตานญี่ปุนเปนอันมาก เพราะทําใหการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น
เปนสิ่งที่ไมจําเปนอีกตอไป

การจัดตั้งรัฐบาลชุดใหมโดยหนาฉากมี ควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรี เปนผูทําหนาที่


เจรจากับญี่ปุน ขณะที่หลังฉากมี ทวี บุณยเกตุ ตัวแทนขบวนการเสรีไทย รับตําแหนง
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้โดยใหเหตุผลวา

"ที่เลือกระทรวงศึกษาธิการก็เพื่อจะไดทํางานตอตานญี่ปุน ในขบวนการเสรีไทย
ไดเต็มที่ โดยใชกําลังสนับสนุนจากนักเรียน นักศึกษา ครูอาจารยจากโรงเรียน
วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและ
การเมือง"

สุดทาย กลไกรัฐไมวาจะเปนทหาร ตํารวจ ที่เคยขัดขวางการทํางานของเสรีไทย กลับ


สามารถใชเปนเครื่องมืออยางดีในการตอตานญี่ปุน

ปฏิบัติการมวลชน ของเหลากรรมกรไทย

"มติเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๔๘๖ เรียกรองใหแกนนําและสมาชิกลงสูมวลชนไป


สัมพันธอยางใกลชด ิ กับมวลชน... ขยายงานจัดตั้งมวลชนดวยรูปแบบตาง ๆ เริ่มจาก
รูปแบบไรสีสันทางการเมือง คอย ๆ ยกระดับความตื่นตัวทางการเมืองใหสูงขึ้นทีละขั้น"
ดําริห เรืองสุธรรม

ขณะที่เสรีไทยในประเทศโดยการนําของ ปรีดี พนมยงค ประสบความสําเร็จในการขยาย


แนวรวมในหมูชนชั้นนํา ไมวาจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือขาราชการ ทั้งนี้โดย
หวังวาจะใชกลุมคนเหลานี้เปนสะพานเชื่อมตอไปยังมวลชนที่เปนประชาชนในเขต
จังหวัดตาง ๆ ของผูแทนราษฎร หรือขาราชการสังกัดหนวยงานตาง ๆ แตสําหรับกอง
อาสาตอตานญี่ปุน ไดใชรูปแบบเขาถึงมวลชนโดยตรงดวยการเขาไปจัดตั้งกลุม
 ศึกษา
พรอม ๆ กับชวยแกไขปญหาทางเศรษฐกิจในรูปแบบชมรมชวยเหลือกันของกรรมกร
แลวยกระดับเปนความคิดทางการเมือง โดยเปาหมายมุงไปที่กรรมกร ที่ผลิตสินคาอาวุธ
ยุทโธปกรณใหกองทัพญี่ปุน ในขณะที่ญี่ปุนกําลังกอบโกยแรงงานและทรัพยากร เพื่อใช
ในการสงครามอยูนั้น พลพรรคของกองอาสาสมัครตอตานญี่ปุน ก็เริ่มนํากรรมกรตอสู
เพื่อปรับปรุงคาครองชีพ อยางตอเนื่องพรอมกันดวย

สัญลักษณสําคัญของการจัดตั้งมวลชน เพื่อตอสูกับญี่ปุนซึ่งเปนที่กลาวขวัญในขณะนั้น
คือการทีก
่ รรมกรโรงงานตอเรือกัมปะนี หยุดงานและเรียกรองสวัสดิการเพิ่ม ญี่ปุนตอบ
โตดวยการสงทหารพรอมอาวุธครบมือเขามาจับกุมตัวแทนกรรมกร ปรากฏวาเหลา
กรรมกรไดเผชิญหนากับทหารญี่ปุนอยางไมสะทกสะทาน จนในที่สุดทหารญี่ปุนจําตอง
ปลอยตัวแทนกรรมกรออกมา หลังจากนั้นก็มีการหยุดงานตอเนื่องอีก ๒๐ วัน

แมวาการตอสูเพื่อเรียกรองปญหาทางเศรษฐกิจจะไมสําเร็จ แตการที่กรรมกรออกมา
เผชิญหนากับทหารญี่ปุนอยางกลาหาญ นับวาเปนผลสําเร็จในทางการเมือง

หลังจากนั้นไดมีการจัดตั้งเปนสมาคมสหการชางกลกรุงเทพฯ เพื่อเปนที่ประสานงาน
ของกรรมกรที่จะทําการสไตรค เฉื่อยงาน รวมทั้งการทําลายผลิตผลของโรงงานที่จะ
เตรียมสงไปใหกองทัพญี่ปุนโดยเฉพาะอาวุธยุทโธปกรณ

นอกจากนี้ในตางจังหวัดก็มีการจัดตั้งเปนองคกรชวยเหลือกันเชนในกรุงเทพฯ และอาศัย
จังหวะที่ญี่ปุนเขามาปฏิบัติการในพื้นที่ตาง ๆ เชนกรณีญี่ปุนมีแผนการสรางทางรถไป
สายคอคอดกระในเดือนมิถุนายน ๒๔๘๖ พลพรรคกองอาสาสมัครตอตานญี่ปุน ก็เขาไป
จัดตั้งกองกําลังขัดขวางการสรางทางรถไฟสายดังกลาว ที่อําเภอละอุนและอําเภอกระบุรี
ดวยการยุยุงใหกรรมกรจากมลายู โยนรางรถไฟลงขางทางระหวางลําเลียงมาจากมลายู
หรือยุยงกรรมกรไตหวันทีถ ่ ูกเกณฑมาสรางทางรถไฟใหเฉื่อยงาน และรวมแผนทําลาย
การสรางทางโดยการงัดตะปูเหล็กที่ยด ึ รางรถไฟแลวทําลายไมหมอนเหลานั้นเสีย

แมวาการสรางทางรถไฟสายดังกลาวจะเริ่มสรางในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๘๖ และสราง


เสร็จในวันที่ ๒๕ ธันวาคมปเดียวกัน แตกวาจะเริ่มใชจริง ๆ ก็ลวงเขาเดือนมิถุนายน
๒๔๘๗ ญี่ปุนใหเหตุผลวาการกอสรางทําไปดวยความเรงรีบ จึงทําใหเกิดความบกพรอง
มากมาย โดยเลี่ยงที่จะกลาวถึงสาเหตุที่แทจริงวา การกอสรางสะพานลาชาเพราะเหลา
กรรมกรขัดขวางการทํางาน

จนถึงตนป ๒๔๘๘ องคกรของกรรมกรตาง ๆ ไดรวมตัวกันเปนสหสมาคม


ตอตานญี่ปุนแหงประเทศไทย และไดเขารวมงานกับขบวนการเสรีไทย ภายใต
การนําของนายปรีดี พนมยงค

ปฏิบัติการเสรีไทยสายอเมริกา

ปญญาชนชั้นหนึ่งเทาที่ O.S.S. เคยมีมา แตละคนมีปริญญาเอก ปริญญาโท จากฮา


วารด เอ็มไอที และมหาวิทยาลัยชั้นนําอื่น ๆ ในสหรัฐ"
นิคอล สมิธ

คณะนักเรียนไทยไดรับการจัดตั้งเปน "กองทหารเสรีไทย" ซึ่งเปนหนวยทหารไทยที่ใช


เครื่องแบบของไทย มีธงไทยเปนเครื่องหมาย มีฐานะทัดเทียมกับทหารฝายสัมพันธมิตร
โดยมี ม.ล. ขาบ กุญชร เปนผูแทน กองกําลังเสรีไทยสายอเมริกาแบงไดเปนสี่รุน คือ

รุนแรก มี ม.ล. ขาบ กุญชร ทูตทหาร เปนหัวหนาประสานงานรวมกับ พ.ท. นิ


คอล สมิธ ผูเปนตัวแทนหนวย O.S.S. คณะนักเรียนไทยชุดแรกจํานวน ๒๑ คนนี้เขา
ฝกการรบพิเศษในวิชาการตาง ๆ เชน วิชาแผนที่ วิชาเดินเรือ วิชาสื่อสาร โดยกําหนด
หลักสูตรเวลา ๔ เดือน เพื่อเตรียมพรอมสําหรับปฏิบัติการในประเทศไทย เปา ขําอุไร
เลาถึงการฝกไววา

" เราเขาฝกในคายของ U.S. Marrine ซึ่งเปนคายลับอยูในปาใน Maryland


หลายแหงฝกหนักยิ่งกวาทหารธรรมดาหลายเทาในดานการรบ การใชอาวุธการ
ตอสูทุกรูปแบบ ในดานการจารกรรม กอวินาศกรรม ฝกเปน Jame Bond กัน
เลย ทําการฝกหนึ่งปจนจบหลักสูตร ทางสถานทูตก็ทําการประดับยศใหเปนรอย
ตรีทุกคน... พิธีประดับยศนี้เปนการประกาศใหอเมริกันทราบวา เรามิใชเปนเสรี
ไทยแตปากเทานั้น เรามีกําลังรบดวย"

หลังจากนั้นไดแบงเปนสองสาย

-สายที่ ๑ นําโดย ม.ล. ขาบ กุญชร และ พ.ต. เคฟแลน นายทหารอเมริกา ไดเดินทาง
ลวงหนาไปที่เมืองจุงกิง ซึ่งเปนที่ตั้งของรัฐบาลเจียงไคเช็ค และเปนที่ตั้งของหนวย
O.S.S. ประจําประเทศจีน เพื่อจัดตั้งหนวยตอตานในประเทศไทย

-สายที่ ๒ ทหารเสรีไทยที่เหลืออีก ๑๙ คน นําโดย พ.ท. นิคอล สมิธ และนายทหาร


O.S.S. ๓ นาย เดินทางมายังคายฝก ๑๐๑ ของ O.S.S. ที่ตั้งอยูในแควนอัสสัมเพื่อฝก
เพิ่มเติม ภารกิจของหนวยนี้คือการสืบเหตุการณภายในประเทศไทยใหแกหนวย O.S.S.
สงอาวุธและทหารมาชวยฝกแบบกองโจร การบอนทําลายกองทหารญี่ปุน ตลอดจน
แลกเปลี่ยนขาวกรองกับจีนเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของญี่ปุน

รุนที่ ๒ มีจํานวน ๓ คน คือบุญมาก เทศะบุตร วิมล วิริยะวิทย อานนท ศรีวรรธนะ สมัคร


เขาฝกกับหนวย O.S.S. โดยตรง ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่พิเศษในประเทศไทย
เพื่อหาทางติดตอกับขบวนการตอตานญี่ปุนในประเทศไทย วิมล วิริยะวิทย เลาถึงการ
ฝกวา

"เพื่อรับภารกิจเรงดวน... ผมตองฝกการจารกรรมทัง้ หมด การฝกหนักมากเพือ ่


จุดประสงคที่จะใหเขาไปเปนแนวที่ ๕ (Fifth Column) ฝกการใชวิทยุรับสง... การจูโจม
ขาศึก และปองกันตัวเองการฝกเอาตัวรอดหรือใหอยูรอด สอดแนม สะเดาะกุญแจ
โจรกรรม ฯลฯ เปนการฝกที่หนักมาก ตื่นแตเชาตรู จมอยูในน้ําทั้งวัน แทบจะไมรูสึกวา
แดดรอน น้ําจืดหรือวาน้ําเค็ม...รางกายและจิตใจแข็งแกรงขึ้นเปนพิเศษ ซึ่งจําเปนอยาง
ยิ่งสําหรับผูที่จะออกไปทําภารกิจที่แลกดวยชีวิตกับความสําเร็จ"

แมวาเสรีไทยสายอเมริกาจะเดินทางถึงจุงกิง ตั้งแตเดือนพฤษภาคม ๒๔๘๖ แต


เนื่องจากความไมมั่นใจซึ่งกันและกันระหวาง ม.ร.ว. เสนียกับ ม.ล. ขาบ ทําใหการ
ปฏิบัติการในประเทศไทยตองลาชาออกไป หลังจากนั้นเสรีไทยสายอเมริกา ไดมาตั้ง
ฐานปฏิบัติการสําหรับสงทหารเขาปฏิบัติการ ในประเทศที่เมืองซือเหมา โดยชุดแรกออก
เดินทางในวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ๒๔๘๗ ซึ่งประกอบดวย
"ปอล (โผน อินทรทัต) ซึง่ เปนผูอาวุโสอายุกวาเพื่อนจะเดินทางโดยลําพัง เขาเปนคนที่
ไดรับการศึกษาทางวิชาทหารมากที่สุด เปนคนผิวคล้ํา สูงขนาดธรรมดา ...หนาที่ของ
เขาคือหาทางเดินประจําจากชายแดนอินโดจีนไปอุตรดิตถ ศูนยกลางทางรถไฟในภาค
กลางสยาม เขาจะเปนผูติดตอกับผูสื่อขาวอื่น ๆ นําสิ่งของที่ตองการไปให ถือเอกสาร
สําคัญที่สงทางวิทยุไมได

แครี่ (การะเวก ศรีวิจารณ) รูจักชายแดนตะวันออกเฉียงเหนือเปนอยางดี เขาเปนคน


ขรึม กําลังกายปานกลางและรูจักชั่งใจ พ.อ. ขาบถือวาเขาเปนสื่อสารดีที่สุด คูของเขา
คือ ทาซานแซล (สมพงษ ศัลยพงศ) ขี้โกรธและใจเร็ว ไมกลัวใครหรือสิ่งใด ทั้งสอง
ทํางานรวมกันดี แครี่สามารถนํากําลังของแซลใหเปนประโยชน

เอียน (การุณ เกงระดมยิง) เคยอยูล  ําปางหลายป เคน (เอี่ยน ขัมพานนท) และเอียน


จะไปเขาทํางานในเขตนี้ สองคนตรงกันขามทางจิตต เอียนชางคิดและเปนนักทฤษฎีแต
เคนเปนนักปฏิบัติ เอียนเปนสมาชิกไฟบีตาแคปปา ฝนแตในการหาวิธีทําเครื่องวิทยุใหดี
ขึ้น และเคนเปนวิศวกรรมเมคานิกซจะทําใหมันใชได"

ในการเดินทาง ทุกคนแตงตัวเปนชาวพื้นเมือง มีเครื่องวิทยุขนาดเล็ก ซึ่งดัดแปลงให


สามารถสงไดถึง ๕๐๐ ไมลติดตัวไปดวย พรอมทองคําไวสําหรับเปนคาใชจายในการ
เดินทาง แตปรากฏวาคนนําทางชาวจีน พยายามถวงเวลาการเดินทางใหชาลง ทําให
โผน อินทรทัต ตองรายงานกลับไปยัง ม.ล. ขาบ เพื่อใหสงเสรีไทยชุดที่ ๒ ซึง่
ประกอบดวย "บันนี่ (บุญเย็น ศศิรัตน) เพา (เปา ขําอะไร) พีท (พิสุทธ สุทศ
ั น ณ
อยุธยา) แซม (สวัสดิ์ เชี่ยวสกุล) ปลอมตัวเปนคนขายของ" เดินทางเขามาในประเทศ
ไทยเปนชุดตอไป ทางการจีนจึงไมสามารถหนวงเหนี่ยว ไมใหเสรีไทยสายอเมริกาเดิน
ทางเขามาในประเทศไทยไดอีกตอไป

เนื่องจากเปนการเดินทางเขาประเทศไทย เปนครั้งแรกของเสรีไทยสายอเมริกา โดยที่


ยังไมมีการประสานงานมากอน ทําใหคณะของการะเวกและสมพงษ ที่มีนายบุญชวยเปน
ผูนําทาง ถูกตํารวจคุมตัวที่ตําบลบานดาน อําเภอเชียงแมน จังหวัดลานชาง (ซึ่งเปน
ของไทยในขณะนั้น) ในวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๘๗ ระหวางทางทั้งสามถูกเจาหนาที่
ตํารวจยิงเสียชีวิต โดยอางวาบุคคลทั้งสามขัดขืนและตอสูเจาหนาที่ แตจากคําใหการ
ของ โลห โจะทอง ซึ่งเปนนายทายเรือใหเจาหนาที่ตํารวจ ไดใหการตอศาลในเวลา
ตอมาวา เจาหนาที่ตํารวจฆาคนทั้งสามเพื่อชิงทรัพย

แตการเสียชีวิตของการะเวกและสมพงษไมสูญเปลา เพราะการที่ตํารวจไดนํา
หลักฐานเชนวิทยุและเอกสารตาง ๆ รายงานให พล.ต.อ. อดุล อดุลเดชจรัส รับทราบ
จึงรูวามีความพยายามในการติดตอจากตางประเทศเขามา ขณะที่อีกสาม คนถูกตํารวจ
ไทยจับเชนกัน และนํามาคุมตัวไวที่กองสันติบาล กรุงเทพฯ ที่นั่นเอง การุณและนาย
เอียนไดชี้แจงวัตถุประสงคให พล.ต.อ. อดุล อดุลเดชจรัส รับทราบ

๙ กันยายน ๒๔๘๗ วิมล วิริยะวิทย และ บุญมาก เทศะบุตร เสรีไทยสายอเมริกาที่


ไปฝกรุนพิเศษ ไดกระโดดรมลงกลางปาอําเภอรองกวาง จังหวัดแพร วิมลถูกคุมตัวมา
พบ พล.ต.อ. อดุล ภายหลังจากแจงภารกิจใหทราบ ทั้งคูไดเดินทางไปพบ ปรีดี พนม
ยงค วิมลแจงใหทราบวาทางอเมริกา ยินดีใหการสนับสนุนเสรีไทยทุกวิถีทาง ไมวาจะ
เปนทางการทหารหรือในทางการเมือง รวมทั้งรับทราบดวยวามีปฏิบัติการตอตานญี่ปุน
เกิดขึ้นจริงในประเทศไทย

ตอมาเสรีไทยชุดที่ ๒ ก็ถก
ู ตํารวจไทยจับเชนกัน แตถูกคุมตัวมาไวที่กองสันติบาล
กรุงเทพฯ และจุดนี้เองทีท
่ ําใหทหารเสรีไทยสามารถติดตอวิทยุกลับไปยังซือเหมาได
เพราะ พล.ต.อ. อดุลใหความรวมมือ นิคอล สมิธ ไดกลาวถึงความสําคัญของเหตุการณ
ดังกลาวไววา

"ภายในหนึ่งชั่วโมง ขาวถูกสงตอไปยังคุนหมิง เดลลี จุงกิง แคนดี และวอชิงตัน


อาณาจักรไทยสองแสนสองหมื่นตารางไมล ไมเปนจุดมืดสําหรับขาวตอไปแลว ไดมี
โคมไฟจุดขึ้นในเมืองหลวงของสยามกวาหารอยไมลไปทางทิศใต และเรารูวามันจะสอง
แสงสวางขึ้นทุกที"

พฤศจิกายน ๒๔๘๗ เสรีไทยสายอเมริการุนที่ ๓ ประกอบดวย สิทธิ เศวตศิลา อุดมศักดิ์


ภาสวนิช เฉลิม จิตตินันท กระโดดรมลงที่บานสบเปา อําเภอสันปาตอง จังหวัดเชียงใหม
ถูกตํารวจไทยควบคุมตัวมาที่กรุงเทพฯ ตอมาทั้งสามถูกทางญี่ปุนควบคุมตัวไวที่คาย
เชลยศึก สิทธิ เศวตศิลา เลาบรรยากาศชวงนั้นวา

"ขณะที่ญี่ปุนซักถามเราซึ่งอยูในชุดกางเกงขาสั้น เสื้อคอกลม นายทหารญี่ปุนนําดาบ


ซามูไรมาวางที่ตักขณะซักถามเรา ระหวางสัมภาษณเราก็หวังอยางเดียววาญี่ปุนจะไม
บุมบามชักดาบออกมาไลฟนเรา ...เราถูกกักตัวไวที่ตึกเรียนมหาวิทยาลัยศิลปากร

เรารูสึกเสียใจที่ไมสามารถไปชวยกิจกรรมขางนอกคาย แตก็ปลื้มใจที่ไดนํา Crystal


(กอนแรคลื่นวิทยุ) และสมุดรหัสของเรา มาใหฝายเสรีไทยในประเทศ"

ปฏิบัติการของเสรีไทยสายอังกฤษ

"ในขณะที่เราเขาไปนั้น คนไทยในประเทศยังไมเขากับพวกเรา เราตองเขาไปเปนทหาร


หนวยยอม ๆ จึงจะสามารถเกลี้ยกลอมผูคนได และจะสามารถปองกันตัวและรบกวน
ขาศึกได โดยอาศัยความคลองแคลวในการเคลื่อนที่"

ม.จ. ศุภสวัสดิ์ฯ

หลังจากผานการคัดเลือกเขาเปนทหารแลว เสรีไทยทั้ง ๓๕ นายยกเวน ม.จ. ศุภสวัสดิ์ฯ


ตองเขารับการฝกที่ ศูนยฝกพิเศษทหารบกบร็อกฮอลส (Block Hall) ที่นอรทแทมตัน
ประมาณเดือนเศษ

"บร็อกฮอลส เปนศูนยฝกพิเศษของทหารบก สําหรับทดสอบและประเมินความสามารถ


ของของทหาร ที่ถูกคัดเลือกวามีกําลังใจ กําลังกาย และไหวพริบเหมาะสมสําหรับ
ปฏิบัติการพิเศษ ไดแก ปฏิบัติการแบบเล็ดลอดเขาไปยึดจุดยุทธศาสตร กอวินาศกรรม
ทําลายเสนทางคมนาคม

การฝกที่ผมเห็นวาทุลักทุเลสิ้นดี ก็คอ ื การฝกคลานพังพาบอกทาบปฐพี ทําทาคลายวาย


น้ําบนบก ใชมือตะกุยดินและเทาถีบดินทีละขาง สลับมือสลับตีน นัยวาเคลื่อนที่แบบทุกร
กิริยานี้เพื่อกําบังกายเขาจูโจม หรือตีขาศึกโดยไมรูเนื้อรูตัว"

แมวาการฝกจะหนักเพียงใด แตเมื่อ มณี สาณะเสน และนายทหารอังกฤษมาสอบถาม


ความสมัครใจ ของนายทหารเสรีไทยสายอังกฤษวาจะฝกตอหรือไม ทั้งหมดก็ยืนยันวา
จะเปนทหารตามความตั้งใจเดิม ไมมีใครเปลี่ยนใจเลยสักคน

หลังจากนั้นทั้งหมดตองยายมาที่คายเมืองเด็นบี้ ในแควนเวลสตอนเหนือ และที่นี่เองที่ก็


รูวาจะตองสังกัดหนวย Pioneer Corps

"(เมื่อ) รูวาอังกฤษเอาเราเขาสังกัดหนวยการโยธาที่เขาเรียกวา Pioneer Corps ความ


เผยอลําพองของเราเมื่อรับการฝกอบรมพิเศษ ทีค ่ ายบร็อกฮอลสเหือดหายไปหมดสิ้น
ปวยปลอบใจพวกเราวาพวกเราจําตองสังกัด Pioneer Corps (ซึ่งผมเรียกวากองกุลี หรือ
หนวยสวะ) ไปพลางกอน ตามกฎเกณฑปกติของกองทัพอังกฤษที่วา ชนชาติศัตรูจะเปน
ทหารประจําการหนวยอื่นมิได นอกจากหนวยสวะนี้ ... หนาที่หลักของทหารหนวยสวะ
คือดายหญา กวาดถูโรงเรือน ลางสวม ขุดและปอกมันฝรั่ง คุณหลวงทั้งสอง หมอมเจา
ทั้งสี่ ลูกเศรษฐี ลูกคนยากจนลวนตองแสดงบทบาทกุลอ ี ยางกุลีกจ
ุ อดวยกันถวนหนา"

สุดทายของการฝกในอังกฤษ ทั้งหมดไดยายมาฝกที่คายทอรนตัน นอกเมืองแบรด


ฟอรด ซึ่ง ม.จ. จิรีดนัย กิติยากร มารวมเปนพลทหารเพิ่มที่นี่ กองกําลังเสรีไทยกลุมนี้มี
จํานวนรวมกัน ๓๖ คน

การที่เสรีไทยสายอังกฤษทุกคนเขารับการฝก และยินยอมปฏิบัติงานใหแกกองทัพ
อังกฤษโดยไมเลือกงาน ทําใหอังกฤษเริ่มรับรองเสรีไทยสายอังกฤษ โดยระบุไวอยาง
ชัดเจนวา ที่รับรองนี้มิใชเปนการรับรองเปนรัฐบาลนอกประเทศ แตเปนการรับรองทหาร
อาสาสมัครไดทํางานในหนวยโยธา

หลังจากนั้นเสรีไทยสายอังกฤษจํานวน ๓๖ คน (ยกเวนทานชิ้น) ไดเดินทางไปฝก


เพิ่มเติมที่อินเดีย เมือ
่ หนวยกองทหารอาสาเดินทางมาถึงอินเดีย ไดถก
ู แบงออกเปนสอง
กลุม

กลุมแรก จํานวน ๒๒ คน หรือที่เรียกกันวา กลุมชางเผือก (White Elephant) ถูกนําไป


ฝกการรบแบบกองโจรที่เมืองปูนา ประเทศอินเดีย และสังกัดแผนกประเทศไทยของกอง
กําลัง ๑๓๖ แหงหนวยบริการพิเศษ (Specialy Operation Executive - SOE)

ทานผูหญิงพูนศุข พนมยงค

ภรรยานายปรีดี พนมยงค หัวหนาขบวนการเสรีไทย นอกจากนั้นไดมีการคัดเลือกเสรี


ไทยสายอังกฤษไปสังกัดหนวยอื่น ๆ อีกเชน หลวงพิศาลกิจ สวัสดิ์ ศรีศุข พัฒนพงศ ริ
นทกุล สังกัดแผนกประสานงานระหวางหนวย (Interservice Liasion Department) ซึ่ง
เปนหนวยสืบราชการลับ ตอมาสองคนหลังไดถกู สงไปฝกอบรมพิเศษทีก ่ ัลกัตตาเพื่อ
เตรียมตัวเดินทางมาประเทศไทย

๒๖ พฤษภาคม ๒๔๘๖ เสรีไทยสายอังกฤษคณะแรกนําโดย สวัสดิ์ ศรีสุข และ พัฒน


พงศ รินทกุล ไดเดินทางจากเรือดําน้ํามาขึ้นฝงที่บานทายเหมือง จังหวัดพังงา โดยมี
ภารกิจคือการสืบสถานการณทั่วไปในภาคใต ตามกําหนดการทั้งสองตองกลับไป
รายงานใหทางอังกฤษไดรับทราบ แตเนื่องจากมีความผิดพลาดในการนัดหมาย ทั้งสอง
จึงตองอยูเมืองไทยตอ พัฒนพงศตองทํางานเหมืองแร ขณะสวัสดิ์ ไดเดินทางเขา
กรุงเทพฯ ทํางานในโรงรัดแผนยางที่บางปู
ตอมากองกําลัง ๑๓๖ ไดสง ปวย อึ๊งภากรณ และคณะ เดินทางโดยเรือดําน้ําเพื่อมา
ขึ้นบกที่บานทายเหมืองอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้ทานชิ้นซึ่งขณะนั้นอยูประเทศจีน ไดสงใหคน
นําสารลับไปสงใหนายปรีดี เพื่อเตรียมรับเสรีไทยสายอังกฤษชุดนี้ แตการประสานงาน
ผิดพลาด ทําใหทั้งสามตองลอยเรืออยูในนานน้ําทะเลอันดามัน

หลังจากลมเหลวในการติดตอผานทางจีน เสรีไทยสายอังกฤษก็ตด ั สินใจสงกองกําลัง


๑๓๖ เดินทางเขาประเทศไทยโดยตรง โดยแบงเปนสองชุด คือ ชุดแรกนําโดยปวย อึ๊ง
ภากรณ ขณะที่ชุดที่ ๒ นําโดย สําราญ วรรณพฤกษ ภารกิจสําคัญคือการพยายาม
ติดตอกลับกองกําลัง ๑๓๖ ที่ตั้งอยูในกัลกัตตา รอรับคนที่จะกระโดดรมตามมา และ
ติดตอขบวนการเสรีไทยในประเทศ

แตเมื่อเสรีไทยชุดแรกกระโดดรมลงมาในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๔๘๗ กลับหางจาก


จุดหมาย ๒๕-๓๐ กิโลเมตร โดยไปลงที่น้ําขาว จังหวัดชัยนาท และถูกจับในเวลา
ตอมาปวย อึ๊งภากรณ เลาความรูสึกในขณะนั้นวา

" คิดถึงคูรักของขาพเจาที่ลอนดอน คิดถึงคําสุดทายของคุณมณี สาณะเสน ที่


ไดกลาวกับขาพเจาเมื่อกอนเราเดินทางออกจากอังกฤษ คิดถึงเพื่อนขาพเจาที่
ยังอยูในอินเดีย คิดถึงเพื่อน ๒ คนที่อยูพุมไมใกลเคียง คิดถึงญาติมิตรที่อยู
กรุงเทพ คิดถึงสาสนจากกองบัญชาการถึง 'รูธ' ที่ยังอยูในกระเปาของขาพเจา
และคิดถึงยาพิษ ? ยังอยูในกระเปาหนาอกของขาพเจาหรือจะยอมใหจับเปน ให
เขาจับตายเถิดเพราะความลับที่ขาพเจานํามานั้นมีมากเหลือเกิน ...แตเห็นแลว
วาญี่ปุนไมมีอยูในหมูคนที่จะมาจับขาพเจา อยากระนั้นเลยเมื่อปะเสือก็ยอมสู
ตายเลยใหเขาจับเปนดีกวา อยาเพิ่งตายเลย"

ขณะที่ชุดที่ ๒ ที่กระโดดรมลงที่นครสวรรค ในวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๘๗ ก็ถูกควบคุมตัว


ไปไวที่สันติบาลในกรุงเทพฯ เชนกัน

หลังจากนั้นเสรีไทยสายอังกฤษทั้งหกคนก็ถก ู นําตัวมาขังรวมกันไวที่กองตํารวจสันติบาล
กรุงเทพฯ มี ร.ต.อ. โพยม จันทรคะ ซึ่งไดรับมอบหมายจาก พล.ต.อ. อดุล อดุลเดช
จรัส เปนผูดูแลเสรีไทยที่เดินทางมาจากตางประเทศ การติดตอกลับไปยัง
กองบัญชาการ ๑๓๖ จึงเริ่มขึ้นอีกครั้งในตนเดือนกันยายน ๒๔๘๗

ระหวางที่อยูในความควบคุมที่สันติบาลนั้น ปวยซึ่งถือสารลับจากกองบัญชาการ ๑๓๖ ก็


ลอบเดินทางไปพบ ปรีดี พนมยงค หัวหนาขบวนการเสรีไทยในประเทศ ถือไดวาเปน
การติดตอกันเปนทางการครั้งแรก ระหวางขบวนการตอตานญี่ปุนภายในประเทศกับ
ลอรดหลุยส เมานแบตแทน ผูบัญชาการสูงสุด หลังจากนั้นเสรีไทยสายอังกฤษ ที่
เดินทางเขามาปฏิบัติการภายในประเทศไทย หรือเดินทางออกไปติดตอกับฝาย
สัมพันธมิตร ก็ไดรับการอํานวยความสะดวกเปนอยางดีจากเจาหนาที่ไทย

เตรียมพรอมปฏิบัติการวัน D-DAY

ผลจากการทํางานอยางตอเนื่องตามตําแหนงหนาที่ของแตละฝาย "ขบวนการเสรีไทย"
ที่เรารับรูกันในปจจุบันก็รวมตัวกันเปนขบวนการไดตั้งแตปลายป ๒๔๘๗ ถึงตนป
๒๔๘๘ พรอม ๆ กับที่ฝายอักษะเริ่มพายแพในยุโรปไลไปตั้งแตการที่เยอรมนีพายแพตอ
สหภาพโซเวียต ในเดือนพฤษภาคม ๒๔๘๗ ฝายสัมพันธมิตรสามารถยกพลขึ้นบก ที่
บริเวณชายฝงนอรมังดี ประเทศฝรั่งเศส จนสามารถปลดปลอยกรุงปารีสจากการยึดครอง
ของเยอรมนีได ในเดือนสิงหาคม ๒๔๘๗ เยอรมนีเริ่มประสบความพายแพในสมรภูมิ
สําคัญหลายจุด สงผลใหฝายสัมพันธมิตร สามารถเขามาหนุนชวยในภาคพื้นเอเชียได
เต็มที่

แตกระนั้นก็ตาม ญี่ปุนที่ยึดครองภาคพื้นเอเชียบูรพา ก็ไมไดแสดงทาทีที่จะยอมแพแต


อยางใด ดังนั้นปฏิบัติการปลดอาวุธทหารฝรั่งเศสในอินโดจีน ในเดือนมีนาคม ๒๔๘๘
จึงเกิดขึ้น เนื่องจากญี่ปุนสืบทราบวาทหารฝรั่งเศสในอินโดจีน ไดทํางานชวยเหลือฝาย
สัมพันธมิตร

นั่นก็เหมือนเปนสัญญาณเตือนขบวนการเสรีไทยวา การที่ญี่ปุนจะยอมแพมิไดงายดาย
เหมือนอยางที่ใครบางคนคิด เพื่อเตรียมพรอมกับสถานการณดังกลาว จึงไดมีการจัดตั้ง
กองบัญชาการเสรีไทยขึ้นในเดือนมีนาคม ๒๔๘๘ โดยแบงหนาที่รับผิดชอบดังนี้

- นายปรีดี พนมยงค หัวหนา

- พล.ต.อ. อดุล อดุลเดชจรัส รองหัวหนาและหัวหนาฝายตํารวจ

- หลวงสินาด โยธารักษ หัวหนาฝายทหาร

- หลวงสังวรณยุทธกิจ หัวหนาฝายทหารเรือ และใหความคุมครอง

- นายดิเรก ชัยนาม หัวหนากองกลาง

- นายทวี บุณยเกตุ หัวหนาพลพรรคและผูต


 ิดตอกับรัฐบาล

- นายวิจิตร ลุลิตานนท หัวหนากองกลาง หัวหนาการเงิน และพลาธิการ

- นายชาญ บุนนาค หัวหนาสืบราชการลับ วิทยุสื่อสาร การรับสงคนและจายอาวุธ

- นายทวี ตะเวทิกล
ุ หัวหนาเศรษฐกิจและการคลัง

- หลวงบรรณกรโกวิท หัวหนารับสงทางเรือ

- นายสะพรั่ง เทพหัสดิน หัวหนารับสงทางบก

- หลวงศุภชลาศัย หัวหนาอาสาพลเรือน

ตอมาไดมีการประชุมรวมกันระหวาง ปรีดี พนมยงค หัวหนาขบวนการเสรีไทย กับพล


จัตวา วิคเตอร จาค ผูแทนฝายอังกฤษ และรอยเอก โฮเวิต ปาลเมอร และไดมีการแบง
พื้นที่รับผิดชอบดังนี้

พื้นที่ทํางานรวมกับอังกฤษ ไดแก อางทอง อยุธยา อุทัยธานี เพชรบุรี กาญจนบุรี


สุพรรณบุรี สุโขทัย ชัยภูมิ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชุมพร แพร เชียงราย

พื้นที่ทํางานรวมกันอเมริกา ไดแก ระนอง สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ขอนแกน


นครราชสีมา มหาสารคาม หนองคาย นครพนม สกลนคร เลย อุบลราชธานี ตาก ลําปาง
หลังจากนั้นก็ไดมก ี ารเตรียมพรอมสําหรับปฏิบัตก ิ ารขับไลญี่ปุนออกจากประเทศไทย
หรือที่เรียกกันวาวัน D-Day ซึ่งเปนวันที่ฝายสัมพันธมิตรจะโจมตีญี่ปุนพรอมกันทุกจุด
และใหขบวนการเสรีไทยในประเทศ ออกมาปฏิบัติการพรอมกัน โดยมีการดําเนินการ คือ
การรับอาวุธจากฝายสัมพันธมิตร

การที่จะตอสูก ับญี่ปุนไดนั้นจําเปนตองมีอาวุธที่ทันสมัยพอ ซึ่งตองไดรับความชวยเหลือ


จากฝายสัมพันธมิตรโดยมีขอตกลงรวมกันวา ขบวนการเสรีไทยจะไมลก ุ ขึ้นตอตานญี่ปุน
กอนที่ฝายสัมพันธมิตรกําหนด ตั้งแตเดือนเมษายน ๒๔๘๘ อาวุธจากฝายสัมพันธมิตร
เริ่มลําเลียงเขามาในประเทศไทยมากขึ้น

เริ่มตนจากการขนสงทางเรือมาทางทะเลบริเวณอาวไทย มีเรือของกรมศุลกากร ในความ


ดูแลของหลวงบรรณกรโกวิท รองอธิบดีกรมศุลกากร ออกไปรับแลวลําเลียงมาไวที่
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง ซึ่งเปนที่ตั้งกองบัญชาการเสรีไทย เพื่อ
นําไปแจกจายตอไป

ตอมามีการจัดสงทางอากาศโดยการทิ้งรมตามเขตรับผิดชอบของแตละฝาย มีการนัด
หมายกันลวงหนาเพื่อรับอาวุธ ทาวอุน ชนะนิกร ผูลี้ภัยชาวลาวหลบหนีการปกครองของ
ฝรั่งเศสและเขารวมเปนเสรีไทยในภาคอีสานรวมกับ เตียง ศิริขันธ ไดบันทึกเรื่องการ
รับสงอาวุธไววา

" การรับและเก็บอาวุธยุทธภัณฑเขามาทั้งนั้นไมใชของงาย ๆ ทั้งนี้เพราะวาเมื่อ


เขาทิ้งลงนั้น รมจะพาอาวุธยุทธภัณฑ ไปลงที่ไหนก็ไดตามแตกระแสลมจะพัด
พาไป บางรมก็คางอยูบนตนไม ซึ่งพวกเราจําเปนตองรวบรวมเอามันมาใหหมด
แลวขนเก็บซอนไวในถ้ํากอนจะสวาง ความยุงยากอีกประการหนึ่งคือการทําลาย
รมชูชีพ เนื่องจากรมชูชีพไมไหมไฟ พวกเราตองขุดหลุมฝงกันใหเรียบรอย
กอนที่จะนําอาวุธไปเก็บ

...อีกอยางหนึ่งขณะที่พวกเราทํางานอยางเรงรีบนั้น จิตใจของพวกเราก็กลัววา
ญี่ปุนจะเขามาพบเราเขาอีก"

อาวุธที่ฝายสัมพันธมิตรสงใหขบวนการเสรีไทยนั้น ประกอบดวย ปนสั้น (พิสตอล) ปน


ยาวใหญ (ไรเฟล) ปนยาวเล็ก (คาไบน) ลูกระเบิดมือ (แฮนดครีเมต) ปนครกเบา (แอล
มอตาร) ปนครกหนัก (ดับลิว มอตาร) ทุนระเบิด ฯลฯ

นอกจากการสงอาวุธแลว ฝายสัมพันธมิตรยังทําสงครามจิตวิทยากับญี่ปุนโดยกรสง
ฝูงบิน B-24 จํานวน ๑๘ เครื่อง นํารมเวชภัณฑมาทิ้งบริเวณทองสนามหลวง โดยที่
พล.ท. นากามูระ ผูบัญชาการทหารญี่ปุนในประเทศไทย เฝาสังเกตการณอยูที่โรงแรม
รัตนโกสินทรโดยไมสามารถทําอะไรได

การทิ้งรมลดนอยลงในเดือนกรกฎาคม ๒๔๘๘ เนื่องจากเปลี่ยนมาใชการขนสงทาง


เครื่องบิน สูสนามบินลับทีข
่ บวนการเสรีไทยลักลอบสรางขึ้น
การฝกพลพรรคเสรีไทย

"ปฏิบัติการของเราในขณะนั้นเปนหนวยกําลังที่ตองดําเนินการไปตามแผน เราคงเปน
เบี้ยหรือเม็ดทีต
่ องถูกเดินใหเขากิน เพื่อหวังผลไดเปรียบหรือประโยชนสวนรวมในดาน
อื่น ถึงแมจะทราบอยูแกใจพวกเราก็เต็มใจ"

พล.อ.ต. กําธน สินธวานนท

เพื่อเตรียมพรอมสําหรับปฏิบัติการขับไลญี่ปุนจําเปนตองมีกองกําลังเปนของตนเอง
ดังนั้นจึงมีการฝกพลพรรคเสรีไทยซึ่งมีอยูสองขั้นตอน

ขั้นตอนที่ ๑ การจัดเตรียมบุคคล เพื่อที่จะเปนหัวหนาทําการฝกอาวุธ และสอน


ยุทธวิธีการสูรบใหแกพลพรรคเสรีไทย ทีม
่ ีการจัดตั้งกระจายอยูทั่วประเทศ ซึ่งนอกจาก
จะจัดสงตํารวจ ทหาร พลเรือน ในคายของสัมพันธมิตรในอินเดียและเกาะลังกาแลว ยัง
มีการจัดตั้งโรงเรียนนายทหารสารวัตรขึ้นอีกดวย

พล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ เจากรมทหารสารวัตร ไดรับมอบหมายจาก ปรีดี พนมยงค ให


จัดหาผูที่จะเขามาฝกภายใตเงื่อนไขที่หามใชกองกําลังทหารไทยของฝายสัมพันธมิตร
ขณะเดียวกันก็จะตองปฏิบัติการเพื่อพรางไมญี่ปุนไดทราบวามีการฝกกองกําลังเสรีไทย
ภายใตจมูกญี่ปุน ดังนั้นทางออกของ พล.ร.ต. สังวร ก็คือ การใชนิสติ จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย มาทําการฝก (ซึ่งขณะนั้นมหาวิทยาลัยปดทําการสอนเพราะอยูระหวาง
สงคราม) ขณะเดียวกันก็ตองบอกกับญี่ปุนวา การจัดตั้งโรงเรียนนายทหารสารวัตรรุน
พิเศษขึ้นมา ก็เพื่อจัดการรักษาความสงบภายในประเทศ ม.ร.ว. ยงสุข กมลาสน
ผูเขารวมเหตุการณในวันนั้นไดเลาวา

"ทานพูดกับเราอยางชายชาติทหาร ขอใหพวกเราไปชวยงานของชาติ ทานพูดกับเรา


นอยมาก แตไดความชัดเจนดี ไมมีการโฆษณาชวนเชื่อ ไมมีคําพูดหวานลอมเอาสิ่งใด
เปนเครื่องลอใจ พูดอยางลูกผูชายกับลูกผูชาย พูดอยางทหารกับทหาร"

จากนิสิตจุฬาที่เขาประชุมประมาณ ๓๐๐-๔๐๐ คน ไดมีการคัดเลือกใหเหลือ ๒๙๘ คน


หลังจากนั้นก็มีการฝกที่โรงเรียนนายทหารสารวัตร พล.ร.ต.สังวร เลาถึงกองกําลังสวนนี้
วา

"เปดโรงเรียน สห. ซึ่งมีกําลัง ๓ กองรอย ทหารราบ ๑ หมวด หมวดฝกกลหนักไดรับ


อุปการะจากครูทหารบก เรือ เรือตํารวจ ซึ่งทางการจัดมาอบรมสั่งสอน เพื่อกาวไปตาม
หลักสูตร ๑ ป การเปดโรงเรียนทําตอหนา พล.ร.ต. หลวงสินธุสงครามชัย รัฐมนตรี
กลาโหม นายพลโทนากามูระและพันเอกทูโคตะ ...ซึ่งเราตองแสดงกลบเกลือ ่ นวาตั้ง
โรงเรียนนี้ขึ้น ก็เพื่อใหไดจํานวนนายทหารที่ตองจัดกองทหารสารวัตรใหม"

หลังจากนั้นไดมีการเคลือ
่ นยายไปยังคาย "สวนลดาพันธ" อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
โดยพรางญี่ปุนวาไปทําการฝกภาคสนามเพื่อหาความชํานาญพิเศษ แตความจริงที่นั่น
ไดเตรียมการทุกอยางไวพรอมแลว โดยมีอาวุธยุทโธปกรณของทหารอเมริกน ั ที่ทิ้งรม
ไว ณ อําเภอมาบตาพุด จังหวัดระยอง ลําเลียงมาไวเปนระยะ ๆ และมีทหารอเมริกันได
กระโดดรมมาประจําการอยูแลว

ขั้นตอนตอมา คือการจัดฝกพลพรรคใตดินโดยแบงตามพื้นที่รับผิดชอบของ
ผูแทนราษฎรในแตละจังหวัด ประสานกับนายทหารเสรีไทยทั้งอังกฤษและอเมริกาที่
แบงพื้นที่รับผิดชอบกันอยางชัดเจน

ม.จ. การวิก จักรพันธุ เสรีไทยสายอังกฤษทีม ่ ีหนาที่รับผิดชอบการจัดตั้งคายพลพรรค


ใตดินที่จังหวัดตาก เลาถึงการทํางานวา...

ปยะ จักกะพาก นักเรียนเตรียมแพทยจุฬาฯ พลเรือนชุดแรก ที่เดินทางไปฝก


ตางประเทศ "ผมสอนวิชาพื้นฐานทางทหารปา หัดแถวสําหรับระเบียบวินัย พละ ยิงปน
ขวางลูกระเบิด อานแผนที่ สอดแนม วิธีรบแบบเงียบ ๆ โดยไมใชเสียง และที่สําคัญ
ที่สุดคือตองไมสูตาย ตองกลับมารายงานผล ตองอยูเพื่อรบคราวตอไป

คายที่หวยเหลืองมีกําลังไมเกิน ๕๐๐ คน ระเบียบวินัยดีและคลองตัวมาก พรอมรบตั้งแต


เดือนมิถุนายน เราก็รอวาเมื่อไหรคําสั่งโจมตีจะมา "

แปลง คําเมือง ผูที่ไดเดินทางไปฝกรวมกับฝายสัมพันธมิตรทีค


่ ายทหารเกาะลังกา และ
กลับมาปฏิบัติงานที่คายพลพรรคที่จังหวัดแพร เลาถึงบรรยากาศที่นั่นวา

"จํานวนพลพรรคที่รอการฝกนี้มีประมาณ ๔๐๐-๕๐๐ คน สวนพลพรรคที่ตอ  งฝกจริง ๆ มี


ประมาณ ๒,๐๐๐ คน เขาทยอยมารับการฝก ไมใชฝกพรอมกันหมด ไดเทาไหรก็แลวแต
จะหามาได คุณทอง กันทาธรรม (ผูแทนราษฎรจังหวัดแพรและเปนหัวหนาเสรีไทยใน
จังหวัดดวย) มีหนาที่หาพลทหารมารับการฝก ผมมีหนาที่ชวยฝกและรับ-สงวิทยุ"

จากการรวบรวมของนายฉันทนา (มาลัย ชูพินิจ) ใน XO GROUP เรื่องภายในขบวนการ


เสรีไทย แสดงจํานวนพลพรรคที่ผานการฝกแลวดังนี้

๑. เพชรบุรี พลพรรคที่ผานการฝกแลว ๑,๐๐๐ คน ทหารในบังคับบัญชาของ พ.ท. หวัง


ชัย นามสนธิ อีก ๓,๓๐๐ คน

๒. หัวหิน พลพรรคที่ไดรบ
ั การฝกอยางดี มีอาวุธสําหรับจายไดครบตัว ๑,๐๐๐ คน

๓. สกลนคร มีกําลัง ๓,๕๐๐ คน

๔. นครพนม มีกําลัง ๘๐๐ คน

๕. อุดรธานี มีกําลัง ๑,๒๐๐ คน

๖. หนองคาย มีกําลัง ๒๐๐ คน

๗. มหาสารคาม มีกําลัง ๔,๐๐๐ คน

๘. ฉะเชิงเทรา มีกําลัง ๑๓๒ คน

๙. ชลบุรี มีกําลัง ๒,๐๐๐ คน

๑๐. อุบลราชธานี มีกําลัง ๓,๐๐๐ คน

ทั้งนี้ ยังไมนับกําลังทหารและตํารวจสนามในภาคพายัพ ภาคใต และภาคอื่น ๆ ตลอดจน


พลพรรคอีกหลายหนวยในหลายจังหวัด หลายตําบล ซึ่งนายทหารเสรีไทยจาก
ตางประเทศชวยกันฝกหัดอบรมอยูอ
 ยางเรงรัด

การสรางสนามบินลับ

การรับสงอาวุธโดยการทิ้งรมชูชีพมีขอจํากัดวาทําไดเฉพาะคืนเดือนหงาย คือประมาณ
ระหวางขึ้น ๑๒ ค่ํา ถึงแรม ๔ - ๕ ค่ํา และอาวุธที่จะสงมาใหนั้นมีจํานวนจํากัด ดังนั้นจึง
มีการจัดสรางสนามบินลับขึ้น ฝายสัมพันธมิตรมอบหมายใหขบวนการเสรีไทยจัดสราง
ขึ้นในภาคอีสาน เพื่อรับเครื่องบินดาโกตา (C-47) มี เตียง ศิริขันธ ผูแทนจังหวัด
สกลนคร เปนผูควบคุมดูแล โดยจัดสรางขึ้นที่บริเวณอําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และ
อําเภอโนนหัน จังหวัดเลย ตอมาไดมีการขยายเพิ่มอีก รวมทั้งสิ้นจํานวน ๑๔ แหง

แตก็ใชวาการสรางสนามบินลับจะราบรื่น เมื่อญี่ปุนคนพบสนามบินลับที่พลพรรคเสรีไทย
ไดสรางขึ้นในภาคอีสาน เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๘๘ และบอกใหรัฐบาลไทยแกไข
ปญหาดังกลาว ปรีดี พนมยงค ชี้แจงกับฝายญี่ปุนไปวา สนามบินลับที่ญี่ปุนคนพบนั้น
เปนสนามบินที่ไทยสรางขึ้น เพื่อฟนฟูการบินพาณิชยในเขตที่การคมนาคมยังไมสะดวก
แตไทยไมเคยใชสนามบินนั้นมากอน
ทวาญี่ปุนก็ไมไวใจ เมื่อสืบทราบวามีสนามบินลับที่บานตาดภูวง ในจังหวัดสกลนคร จึงมี
กําหนดการที่จะบินไปสํารวจ พลพรรคเสรีไทยที่นั่นเมื่อทราบเรื่องก็แกปญหาโดยการ
พรางสนามบิน วิสุทธิ์ บุษยกุล ซึ่งอยูในเหตุการณคืนนั้นดวยเลาใหฟงวา

" เสรีไทยประมาณ ๕๐๐ คน ตางไปที่สนามบินพรอมกับกลาขาวที่ระดมหามาให


มากเทาที่จะมากได ถึงดินจะแข็งแตเราใชไมตอกลงเปนหลุมเพื่อใหกลาอยูได
และจะตองทําในตอนดึก เพราะรูวากลาอยูไดไมนานก็จะเหี่ยวเนื่องจากไมมีน้ํา
หลอเลี้ยง คนตอกหลุมก็ตอกไป คนปกก็ปกไป จนเสร็จกอนย่ํารุงพอดี โชคดี
ญี่ปุนมาตรวจตอนเชา ทําใหตนกลายังไมเหี่ยวตาย และเครื่องบินก็บินผานไป
โดยไมรูวานาขาวที่เห็นนั้น เปนสนามบินลับที่เราเนรมิตใหเปนนาขาวภายในคืน
เดียว"

ผลจากการสรางสนามบินลับสําเร็จ ทําใหการลําเลียงอาวุธยุทธภัณฑเขามาในประเทศ
ทําไดสะดวกและ การรับสงคนทางเครื่องบินในการติดตอกับฝายพันธมิตรไดงายขึ้นดวย

ไพใบสุดทาย ขบวนการเสรีไทย

ถึงแมความรวมมือทางการทหารระหวางขบวนการเสรีไทยกับฝายสัมพันธมิตรจะคืบหนา
ไปมาก ดวยมีภารกิจรวมกันคือการขับไลญี่ปุนออกจากประเทศไทย แตการดําเนินการ
ทางการเมืองกลับไมมีความคืบหนาเทาที่ควร ดังจะเห็นไดจากการสงนายดิเรก ชัย
นาม ไปที่เมืองแคนดี เกาะลังกา เพื่อเจรจาเรื่องสถานภาพทางการเมืองภายหลัง
สงคราม ปรากฏวารัฐบาลอังกฤษแจงมาในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๔๘๘ วา
" การประชุมปรึกษากัน...จะจํากัดเฉพาะในดานการทหาร จะไมมีการพูดเรื่อง
การเมือง"

หรือเมื่อ กนตธีร ศุภมงคล ไดเจรจากับตัวแทนสหรัฐฯ ที่กรุงวอชิงตัน ในวันที่ ๙


เมษายน ๒๕๘๘ นั้น ก็ไดรับคําตอบเหมือนเชนอังกฤษ คือ ยังคงสถานะเดิมของการ
ติดตอ จะไมมีการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นในดินแดนสัมพันธมิตรแตอยางใด

การรอใหมีการเจรจาสถานภาพทางการเมืองภายหลังสงครามนั้น ไทยจะตกเปนเบี้ยลาง
ฝายสัมพันธมิตรเปนอยางมาก อันเปนผลมาจากการประกาศสงครามของรัฐบาลจอมพล
ป. เมื่อ ๒๕ มกราคม ๒๔๘๕ ทั้งนี้เนื่องจากฝายสัมพันธมิตรไมมั่นใจวา คณะเสรีไทยที่
จัดตั้งขึ้นในประเทศ จะมีความสามารถในการตอตานญี่ปุนจริง

ปรีดี พนมยงค หัวหนาขบวนการเสรีไทย ไดทิ้งไพใบสุดทายโดยการทําหนังสือสงไป


ยังตัวแทนฝายสัมพันธมิตรที่วอชิงตัน ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๔๘๘ แจงใหทราบวา

"ขบวนการตอตานฝายไทยไดยึดมั่นอยูในคําแนะนําของผูแทนอเมริกันตลอดเวลา ใน
การที่จะไมกระทําการกอนเวลาในการปฏิบัติทุก ๆ ประการเพื่อตอตานขาศึก แตใน
ระยะเวลานี้ ขาพเจาเชื่อวาความอยากสูรบของญี่ปุนจะถูกทําใหลดนอยลง หาก
ขบวนการตอตาน (ญี่ปุนในประเทศ) จะไมอยูในลักษณะปกปดอีกตอไป ญี่ปุนจะถูก
บังคับใหยอมแพตอ  ฝายสัมพันธมิตรอยางปราศจากเงื่อนไขเร็วเขา เพราะความกลัวของ
การสิ้นสุดของวงศไพบูลย"

ภายหลังมีจดหมายตอบจากวอชิงตัน ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๔๘๘ วา

"ขอขอบคุณอยางสุดซึ้งในสารที่ทานไดสงใหรัฐมนตรี เราเขาใจความปรารถนาของทาน
ที่จะใหประเทศไทยเขาตอตานศัตรูอยางเขมแข็งที่สุดเทาที่จะทําได อยางไรก็ตาม เรา
เชื่อวาทานคงตระหนักวา การตอตานทั้งหมดตอศัตรูรวมของเรา จะตองประสานกันกับ
แผนยุทธศาสตรทั้งหมดตอญี่ปุน และจะไมเปนการอันดีหากประเทศไทยจะเริ่มตนปฏิบัติ
การณอยางเปดเผยกอนเวลา"

การตอบจดหมายดังกลาวมีผลอยางมากตอการเจรจาสถานภาพทางการเมืองของไทย
ภายหลังสงคราม เพราะจะไมมีเหตุผลใหฝายสัมพันธมิตรอางไดวา ขบวนการตอตาน
ญี่ปุนไมพรอมที่จะลุกขึ้นมาตอสูกับญี่ปุน เพียงแตวาการลุกขึ้นสูกองทัพญี่ปน
ุ ในประเทศ
ไทย ยังไมเกิดขึ้นเนื่องจากฝายสัมพันธมิตรตองการชะลอเวลาใหมีการปฏิบัตก ิ ารพรอม
กัน

ความตึงเครียดครั้งสุดทาย

" อยาไดหลงผิดวาญี่ปุนจะถูกขับไลออกจากประเทศไทยโดยงาย เพราะทหารญี่


ปนจะตอสูจนคนสุดทาย"
พล.ท. นากามูระ
แมไมมีหลักฐานชิ้นใดทีจ ่ ะชี้ชัดไปวา ญี่ปุนรูหรือไมวาวามีขบวนการเสรีไทยเกิดขึ้น และ
ถารู รูเมื่อไหร และรูอยางไร โดยเฉพาะในชวงปลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล
สงคราม มีการตอตานญี่ปน ุ โดยการพยายามติดตอฝายสัมพันธมิตรที่จุงกิง ประเทศจีน
หรือการยายเมืองหลวงไปเพชรบูรณดวยเหตุผลทีใ่ หในภายหลังวา เพื่อใชเปนฐาน
ยุทธศาสตรเตรียมรบกับญี่ปุนในขั้นสุดทาย แตแผนการที่จะยึดประเทศไทยไดถูกวางไว
แลววาเปนวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๔๘๗ ทวาแผนดังกลาวถูกระงับไวเสียกอน

ประจักษพยานของเหตุการณในครั้งนั้นก็คือ การที่ทหารญี่ปุนซึ่งประจําอยูที่วิกตอเรีย
พอยต เขตประเทศพมา ซึ่งไมไดรับคําสั่งยกเลิกปฏิบัติการยึดประเทศไทย ได
ดําเนินการตามแผนการเดิมดวยการเขายึดจังหวัดระนอง เกิดการปะทะกัน สงผลให
จ.ส.อ. สวัสดิ์ ดิษยบุตร เสียชีวิตดวยคมดาบซามูไร กอนที่ทหารญี่ปุนกลุม  นี้จะไดรับ
คําสั่งยกเลิกปฏิบต ั ิการ แตหลังจากนั้น ญี่ปุนก็จับตาความเคลื่อนไหวของรัฐบาลชุดใหม
ที่มี ควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรี ทุกฝกาว จนทําใหนายควงตองยื่นคําขาดกับ
เจาหนาที่ญี่ปุนใหเลิกทําตัวเปนสายลับ โดยขูวาจะลาออก หรือการทีค ่ รั้งหนึ่งเสนาธิการ
กองทัพญี่ปุนที่ยด ึ ครองพมาไดบินมาพบ พล.ท. นากามูระเพื่อขอใหกวาดลางขบวนการ
เสรีไทย ถาไมทํา กองทัพญี่ปุนในพมาจะเขามาทําเสียเอง แต พล.ท. นากามูระไมเห็น
ดวยกับขอเสนอดังกลาว

ปรีดา ดานตระกูล ผูเขียนหนังสือเรื่อง นายควงกับแมทัพญี่ปุน ซึ่งเปนการสัมภาษณ


บุคคลสําคัญหลังสงครามสงบใหม ๆ เลาวา การประชุมนายทหารชั้นผูใหญคราวหนึ่ง
เอยถึง แผนการที่จะจัดการกับประเทศไทยในกรณีที่ไทยเตรียมการจะหักหลังญี่ปุน ดังนี้

แผนที่ ๑ ญี่ปุนจะแจงใหรัฐบาลไทยทราบวา ญี่ปุนทราบแผนการลับของเสรีไทยและ


ขอใหระงับแผนการดังกลาวเสีย

รัฐบาลนอกจากจะปฏิเสธขอกลาวหาของญี่ปุนแลว ยังไดเสนอราง พ.ร.บ. กําหนดวิธี


ปฏิบัติกับบุคคลซึ่งเผยแพรขาว อันเปนการทําใหเสียสัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทย
กับประเทศที่มีสัมพันธไมตรีกับประเทศไทย ในภาวะสงครามออกมาอีกดวย นายควงเลา
บรรยากาศในที่ประชุมสภาผูแทนราษฎรวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๔๘๗ วา เมื่อวันที่ ๒๙
มิถุนายน มีเสียงลือกันไปจนเขาหูญี่ปุนวา ทางไทยจะลุกฮือขับไลญี่ปุน และฝายไทยก็
ไดรับขาววาญี่ปุนจะลุกฮือยึดกรุงเทพฯ วันที่ ๒๙ จึงเปนวันที่อลเวงมาก

ม.จ. การวิก จักรพันธุ

เสรีไทยสายอังกฤษ หัวหนาฝกพลพรรคเสรีไทย ในจังหวัดตาก แผนสุดทายก็คอ ื การ


เชิญนายกรัฐมนตรีไปเยือนญี่ปุน ถานายกรัฐมนตรีไมไป ก็หมายความวามีทาทีที่ไมเปน
มิตรกับญี่ปุน ซึ่งเปนเหตุผลที่จะปลดอาวุธกองทัพไทยได แตนายควงก็ตอบตกลงทันที
ตางจากเมื่อครั้งจอมพล ป. พิบูลสงคราม ปฏิเสธที่จะไปประชุมนานาชาติมหาเอเชีย
บูรพา ณ กรุงโตเกียว ในเดือนพฤศจิกายน ๒๔๘๖ โดยสงพระเจาวรวงศเธอ พระองค
เจาวรรณไวทยากร เปนตัวแทนประเทศไทย

ยิ่งนานวันเขา ก็เกิดความตึงเครียดเพิ่มมากขึ้น เมื่อฝายสัมพันธมิตรทิ้งรมกลาง


สนามหลวงในเดือนกรกฎาคม ๒๔๘๘ ซึ่งทําใหญี่ปุนโกรธมาก ค่ําวันนั้นเองไดเชิญนาย
ควงเขารับประทานอาหารค่ํา และสอบถามกรณีดังกลาว นายควงจึงตองอาศัยไหวพริบ
ในการเอาตัวรอด

"พล.ท. นากามูระเห็นผมก็ทักวา เอ นายกฯ ทําไมหนาตาถึงไมสบายอยางนี้ ผมก็บอก


พุทโธ ปวดศีรษะจะตายไป

สวนเอกอัครราชทูตยามาโมโตก็กระแหนะกระแหนวา ทําไมไมกินยาที่เขาเอามาทิ้งไว
เมื่อเชานี้ละ ผมก็ไหวทัน ตอบไปวาก็ลองกินซี ถาเกิดฉันตายไปแลวทานจะเอานายกฯ
ที่ไหนมาแทนเลา พวกนั้นก็เลยหัวเราะกัน"

แตสถานการณสงครามกลับตึงเครียดขึ้นเปนทวีคูณ เมื่อกองทหารไทยทั่วราชอาณาจักร
ไดรับคําสั่งใหสรางปอม และรังปนกลภายในเมือง และรอบบริเวณหนวยที่ตั้งของทหาร
ทุกหนวย พล.อ. เนตร เขมะโยธิน เลาบรรยากาศชวงนั้นผานงานใตดินของพันเอกโยธิน
ไววา

"เฉพาะอยางยิ่งในกรุงเทพพระมหานคร ตามสี่แยกตาง ๆ มีปอมคายของทหารไทย


ตั้งอยูทั่วไป โดยฝายเราใหเหตุผลวา เราเกรงวาฝายสัมพันธมิตรสงพลรมลงมา
ปฏิบัติการยึดพระนคร จุดที่คายทหารไทยกับญี่ปุนอยูใกลกัน ทําใหตองมีการตั้งปอม
เผชิญหนากันเลยทีเดียว"

ดังนั้นจึงเปนที่แนนอนแลววาญี่ปุนรับรูวามีการเคลื่อนไหวของขบวนการเสรีไทย แตยัง
ไมทราบวาใครบางอยูเบื้องหลัง ขณะเดียวกันญี่ปุนก็เริ่มมีปญหาภายใน เนื่องจากกําลัง
ประสบความพายแพในสมรภูมิอื่น ๆ โดยเฉพาะการที่ตองลาถอยออกจากพมาตั้งแต
เดือนมีนาคม ๒๔๘๘ ทําใหญี่ปุนจําเปนตองรักษาประเทศไทยในฐานะที่มั่นสุดทายทาง
การทหารนอกประเทศไวใหได ทามกลางความตึงเครียดระหวางไทยกับญี่ปน ุ ที่สั่งสมมา
และกําลังขึ้นสูจุดสูงสุดนัน
้ ระเบิดปรมาณูลูกแรกก็ถูกทิ้งที่เมืองฮิโรชิมา อีกสามวันตอมา
ระเบิดปรมาณูลูกที่ ๒ ถูกทิ้งที่เมืองนางาซากิ มีผูเสียชีวิตทันทีรวมกันมากกวา
๒๕๐,๐๐๐ คน ทําใหสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโต ตองมีพระบรมราชโองการยอมจํานน
ตอฝายสัมพันธมิตรอยางไมมีเงื่อนไข ในวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๔๘๘

วันเดียวกันนั้น ลอรดหลุยส เมานแบตแทน ผูบัญชาการสูงสุดสัมพันธมิตรในภาคพื้น


เอเชียอาคเนย ไดสงสารมาถึง ปรีดี พนมยงค แนะนําใหออกประกาศปฏิเสธการประกาศ
สงครามตออังกฤษและอเมริกาที่ไทยไดประกาศในวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๔๘๕ รวมทั้ง
ยกเลิกการเปนพันธมิตรและขอตกลงทั้งปวงกับญี่ปน ุ

ศักดิ์ชัย บํารุงพงศ
ขาราชการ กระทรวงการตางประเทศ ผูคุมกันกองบัญชาการ เสรีไทยสายอังกฤษ ๑๖
สิงหาคม ๒๔๘๘ ปรีดี พนมยงค ในฐานะผูสําเร็จราชการแทนพระองค ไดประกาศวา
การประกาศสงครามตออังกฤษและอเมริกา ในวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๔๘๕ เปน "การ
กระทําอันผิดจากเจตจํานงของประชาชนชาวไทย และฝาฝนขัดตอบทบัญญัติแหง
รัฐธรรมนูญ และกฎหมายบานเมือง" และคนไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศ ได
รวมมือกันทุกวิถท ี าง ในการชวยเหลือฝายสัมพันธมิตร ดังนั้นจึงขอประกาศวา "การ
ประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญเปนโมฆะ ไมผูกพันประชาชนชาวไทย"
และประเทศไทยพรอมทีจ ่ ะใหความรวมมือกับสหประชาชาติ ในการสถาปนาสันติภาพใน
โลกนี้
........................................
แมจะเปนที่รับรูกันโดยทั่วไปวา ประเทศไทยผานเหตุการณสงครามโลกครั้งที่ ๒
มาไดโดยไมตกเปนฝายพายแพสงคราม ทั้ง ๆ ที่กอนหนานั้นไดดําเนินนโยบาย
ตางประเทศ ยืนเคียงขางญี่ปุนตลอดเวลา แตคําอธิบายวาไทยรอดพนจากการ
เปนฝายพายแพสงครามมาได ดวยการดําเนินนโยบาย "ตีสองหนา" โดยดาน
หนึ่งรัฐบาลโดยเฉพาะจอมพล ป. อยูเคียงขางฝายอักษะ ขณะอีกดานขบวนการ
เสรีไทยอยูเคียงขางฝายสัมพันธมิตร ดังนั้นไมวาฝายใดจะชนะ ประเทศไทยก็จะ
ชนะดวยนั้น คําอธิบายเทานี้เห็นจะไมเพียงพอ เพราะแมวาจะดําเนินนโยบาย
ฉลาดเพียงใดก็ตาม ถาไมไดมีปฏิบัติการจริงในการตอตานญี่ปุน และชวยเหลือ
ฝายสัมพันธมิตร ไทยก็ยากที่จะไดรับการรับรอง อีกทั้งการที่ฝายสัมพันธมิตร
โดยเฉพาะอังกฤษ จะรับรองสถานภาพของขบวนการเสรีไทย ก็เปนไปดวยความ
ยากลําบากยิ่ง การเจรจาสถานภาพหลังสงครามแมวาไทยจะไมเปนฝายพายแพ
แตอังกฤษก็มีความพยายามที่จะเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากการที่ไทยเขา
รวมกับญี่ปุนอยูนั่นเอง การที่จะเจรจาผานขั้นตอนดังกลาว ไปไดก็ตองอาศัย
สถานภาพของขบวนการเสรีไทย ที่มีการดําเนินการทางการทหารทั้งในและนอก
ประเทศ มีกองกําลังเปนของตนเอง มีการปฏิบัติจริง พรอม ๆ กับการดําเนินการ
ทางการเมือง ที่แสดงใหเห็นวาเสรีไทยพรอมที่จะสูรวมกับฝายสัมพันธมิตร
ตลอดเวลา

และดวยการกระทํานี้เองที่ทําใหไทยรอดพนจากการตกเปนฝายพายแพสงครามมาได
ดังคํากลาวของ ปรีดี พนมยงค ที่กลาวแกกองกําลังเสรีไทยในวันที่ ๒๕ กันยายน
๒๔๘๘ ที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองวา

" ผูที่ไดรวมงานกับขาพเจาในครั้งนี้ถือวาเปนผูรับใชชาติ มิไดถือวาเปนผูกูชาติ


การกูชาติเปนการกระทําของคนไทยทั้งปวง ซึ่งแมผูไมไดเขารวมองคการนี้
โดยตรง ก็ยังมีอีก ๑๗ ลานคนที่ทําหนาที่โดยอิสระของตนในการตอตานดวย
วิถีทางที่เขาเหลานั้นสามารถทําได ...สวนผูที่คอยขัดขวางการทําหนาที่ของ
ผูรับใชชาติเปนโดยทางกาย ทางวาจา หรือทางใจนั้นก็มีบางเล็กนอยเปน
ธรรมดา แตเขาเหลานั้นโดยพฤตินัยไมใชคนไทย"

ขอมูลจาก นิตยสารคดี โดย : ธนาพล อิ๋วสกุล


ก
  ก  
 
ก  ก Posted : 2006-12-09 16:14:38

ก
  ก  
 
ก
 ก

      "


"  !!"  #
 !"#
 $กก#% $  $ : '( $)   *ก *ก+ ก$ก 
$%
ก&&
' "#ก !!(%")*&ก
++ก,
-.. /0 1 (  " ก& "
 .
 2 ..
-
45 -6. -6)7   "  "

" -  (% &"8&2  "ก#ก" 9:; #
  -.
#8
'9:;
< *) 6
&ก& (
 
#ก, 
ก
&
'
;)

-  9.


ก ก. 2-ก?
& ก&; ก& @
 .กA
& 9:;%ก "

#" 5&5;& )
'55; &5 )?"กB6) 
ก "7)-5 -% 9 & ""  " ." -  & "; "
 &%(ก
'& #ก (*;*&   5;#& -ก  ก )
-ก96ก (! )
!
8!). กB *)# *)
!:ก A 9กC " ." 5&5; D8ก )5 ,;& #ก*;*&
 &   )9
8!). *.. 9Aก2
& #กA - กB6) "2#" 5;  2E)ก*F
 &
CAก (.
&!ก ";(;:&" ) *&ก9กB6) 
";
' "#ก"
( 2 -). Eก
      ) -&
 2
+!)ก
  ก%กB -:9:; ?ก "#;;*).
#ก ... ?

95;&
&  .
  9
ก-:;%ก  &""
 
.ก5 &* *&2ก 5,%
!#
   *&" *;
-:;%ก(9-
;"  &.ก5&,:ก *;9 )5&
-
'-  กB6)
"   " "*..
(;" ก *&:;%ก5&5; A&    92
(%; *).-,%ก. "Gก# " 5;*&5&5;
'ก%กB; $? *&  5;
:& -ก?<:D88   ก
  & 
& 9
- :; ก

9:;.: (ก. )
 ก;";กB ?7)  -6. -6)7

( *.. ก (  H 


  
กB! 
'ก. 5&
* &( )

9:; & 


& *.&ก
(  A2  - (5& "-
ก&(
( 
0II ก&; "


 5;) *&"
- )ก5;
"-?? &
"-9!*)(;.ก!&&A !%  :"& 
& ...;ก
'(
9:;
( 
" *)
"*&-.9#. "7)
'ก#ก senior
  (ก&-
(  "7)  ?*&-6. 7 *)"7)9;
-"
*& authority
)ก
5  "ก& -.9#.
#ก-ก
 กC-
'(-9
:;   A ,; ) "- ก- -;
.9#.; 9( ก";ก. -D .*)

95&
 *)5&;ก )

";ก.ก 6  &)
  
"   9 ) ?กก 6
+!)ก6
  - ก6 H 
"; 0KH -
( 
ก ก.ก6 H  *)..("-
D .   : "
ก6
" H - 0K@M..."
ก6 
!).
C !)
; :&N).ก.(; ?ก5&,*ก;5(D8
ก
5;
#&
ก6 @O N...."

,- #
 intervene ,ก. '  (-ก.
/ก/ # ก-#0 ,
0 1 - 0)? *;*&- !:;ก
5 .; *)2&ก&- กC5&&

( )5*.. ก

 -   ก   :

2
ก;N";:8
GPN


 17.00 .( 6 !).
C !)
; :& 5;.
 ก :8

 
 9:;&กก
!-
(;
GPN .
ก ก.ก 5; :ก
#.;
ก& .
'A-5;# )).D8
ก ก.*)
 !ก ."; :8# * ";:ก
#.; .....

 ก ( - :;ก


*&2&ก&-กC. &) 
C !).2
# 5;
C !.:ก
#.; ?
 .7. (5&"#& !): *&"
?
 .7.  :ก
#.;
& 5;!
(;5*;) *) !)#*.
      

(;!
;(";ก- * ;*)"
CA 5& )5 *ก;5(5&5; *&;-& *ก;-& 5
.;
 ก?;ก--- *)ก? :&",ก6 ?-8 +)
(";ก- 
 ,&";((8ก.(;!
; &
 กก*; (";
ก.5.
 ";. ก-2.& ;
ก;N
'& 5&
)5 ;
ก;N )
 "
&ก.!ก
4&ก
 (";ก-2#-

(&
ก& (6)
ก6 *; #2 *)-
* ? :ก
#.; *)ก&!GQ (Aก)?&ก%กB  5;

' :;ก*; (!!+...& ก+..5;! *) (&*;) 5&


กR& !)#?,%
ก6ก&*& &"  &(!
!!.+..".& : “
 
C..; ..*(--
)ก+ก
+” (5 7), “  *; *(- .
9 5 ! .
(: -
"; 3 .&” (
), “
! )##(  : - .*(-  .
; ” () ) <!,& ก%กB,:ก*(-*),:ก
95;. ก !!ก+..)
& 
C !)
;:ก
 0 !)- 5;
C 5 2! .? *)
2! .#)
!
?  .
C. ก
ก6 
!!
 # ก ก !!!)+ กB6 0 !)-ก?
.,ก? 9:;.
C.-%,%(;
  &&" *; 5;.  &
(
;-?(9) ":ก)&!)-
C
?  5;..
C. กก
ก#
/  2! .?
 15.00 .  7
  *)
!)#
(: " 5 ";?  5;..
C.ก-"

%&  0 !)-5;


C ". !
 ; :8 :ก

#.;9;%
 # (6).ก
(;5"
 H 
  
& FP8N "ก&
ก -6 
 ; :8 & ' ก$3 * -#
/0
0 [
'5] -? R86 5;R865;ก.:ก
#.; -*ก&ก
##:

!
' &*ก&:ก
#.;&5"; - ก<ก &#  *)
!)กB ' ...." (
;-?(9)

ก
(  & -
(  * &ก(%
! 6& " ก %"
- 5;;(;: ก(ก.
ก 6-
!  
ก ก."*)
H  $%"  ก.
ก
( -) &ก. -
(     -
;(;:ก.
ก
ก ก."*) H   
#ก4. ก
5 1**
ก#-6   * *+ $ก$7 8ก-ก
  ก 9:/ 1 ก
0
 - +0 5;
' & ก&-

"; @O0 -


( &

"!).
C !)
; :
& !  ( -*ก* ก< "# *)
 ก;
--- ก#5 " U - !.. 0K@M  0  ก
ก6N
H  !)- !).2# ก) 
 
 ก;-
'%

 ก(#
!
9#8;ก.กV"

-?
#,;& (;:
" "!  ..
 ก;--- "
( ก-*ก* ก"ก6 H )   กก.
ก )2 -(ก.
ก -
 ,%-)2 - 

"Two days after the massacre, the King broke his silence. His
Majesty made a radio broadcast calling for national unity in the
face of the crisis."

*&- " 5& ; !:";


C& $ 8  ก$

 (ก.
ก

( &)5 -)2 - - .


"The message was clear: King Bhumibol had issued 'a strong
endorsement' of the new military junta."
(ก6*ก
)-. *;&-:&ก.)2 -(-(;; ;(; ก
ก.
ก)

?$? )2 -  ก.


ก 
&(; ก%
ก ก.!)# *)
C
!)
;:ก
"ก6 H & (
;-?(9)

"Perhaps to emphasize further the unmistakable stand of the


Throne , Queen Sirikit and the royal Princesses went to visit and
provide food for the Village Scouts who encamped in the campus
of Thammasat University."

$%- *;
#&
 ก. ก6 "กก (;; $;#"
/
!  -"5&
- กก ก& (: (&2 )
 " 5 7
10 - 2519) *)!)# *)!)
;:ก
5&5;
-  "#&
 (*)
'
 irony
!)
ก.
ก
C5; ก
8!).

#&
 ก.-) *& ?-8 ก&  ก(;:
 *; ก.
ก
5;&

"The death of democracy appeared a small prize to pay for the


return of political stability and social status quo."

-  ก"#;-?& democracy (ก.


ก"  
 ก5;&
' euphemism
,;"#;-?& students )
':*)- กก& (*& )?"; )(
&; -  *-"8& ก.
ก-5&ก;! )
( )
*&,% )"#;-?*.. euphemism *..  )
C-)5กC#
ก *)-
$%; กก.
ก %5&    #ก )
 # ก*ก+0
0 .
(
( 5;

!)(;: ()2 -*ก) (ก.
ก :&"..
((;- &;  - -) &ก
 ก.-

"; @O@ -5;. <! ก6 H    (


;-?(9)

"
ก6
ก
(% *";
C,%-;
"กกB <!ก


ก6 @O N *;&7:8 )


2ก";ก&กก ก&กก *)
ก&ก%กB,
(; ..ก
 &
C *&กCก.ก กก&
(;#กก ก? ก
 &+.! &9";
กRก &; ก
ก# ก
/# ก*กก5
 ก+ #,+*0 1ก$3  ..
=>?@ 9  กกก&(;#กก ก *&? กR";


C &#
"
ก6 H N 
' ก*8# ก # ก &ก

 *
ก(% "

2
ก  "
 
Pกก&" (shift the blame)  &*.
  &
"-
'9:;.9#.?-8"ก6 H  $%
'

(;" &ก &ก;("
:&ก#กD . ก ก"$* ก (xxx ?) 5
'-? &
"ก&(;#ก"  "-;
- ก.กก? ก
5;".*&กR
!.. 0O/K" -ก? ,%"-? !กก&?  .? ก
*&-6)BW?

5&;!:,%- & A & ก& .ก


(;54&- "
#;5&"#&
 "; @HH -
( 
& "กกDX";)##
ก #ก?5&
ก;.ก%กB*))## );กก.
(;)
( !
, &. "
#;:&( H - !..0K@M "  
ก&-  &"
ก6)ก.; 5   1 "ก+ *# ก&
ก)* ก " (
;-?(9) ก&กB 
&  &%
' "ก&
(;#ก" *& (*&กC5&"#& "ก&(;#ก" "- 
'ก& "-;
- ก.
กก? ก
5;".*&กR !.. 0O/K"  &
( ) 1
,* *
 $  ก+ 

0-+? 
/"#ก+ 18 ก
 
 กA"#  ก4 -0 กก$; "ก# ก" 1# $;
 ,*#  & : Y
(   ก
' "9:;?" (ก& "!"
(*& "ก?
ก;") 5;ก

9 ก& 5&& *; *; ก&(
(
2 .!
B ก.. 2 ก(  
ก9 *&9:; :*.9#.2 
- !
ก?8 *! ก 9;.ก-& !
ก?8
'"-?
5   1 1 "ก+ *# ,
 ก+ $; ก ?   ก.
"ก+ *#  C+$; "ก # ก"
/ก 50 1 =>?@  D-+?
?
8V ?2, - ก8,  ? 9(ก
<! H
*..  ก&"*&..()!
ก
5  "&*; 
กB6) ก& irony
  ก - ก
'& 9:; .9#.?-8& H  -!ก
.:ก ก##? - (5&"#& ก ) 0O/K!

$1# ,ก. '   *  ,- "


 $ *ก*#5กC
1ก#$E6-ก+ #"  -+? ก  0/ ก

"กF4GH  -**  #" (5 :กF
 J) $- -+?!
-  
& 
C5; ก
( "กB6)
 ก. ก& "ก6 H 
,;9(< ก)
C -;"#;

' ... . &A ก6  
*  ,:กก&& "!).
#<!" "1 0OMM กC,:ก-
&";
  ก
'; 5 "( ) ก&";
กก)*-5&!" "- &ก;(
..." (.KH) A )
C   !:
')
C
ก (;ก.)#5 (
;&
'
)  &?-8  (power and accountibility)  " .
M@-M0 *) .@0Z
#, @/ -  &" "5; &:;
C
"A" ก.ก7)(VB *) 6ก
( &)


#& &
'
ก " -
*..
ก
 *)B7

?
<" " 2 -

5& . ";ก7 *&,;
#& ).  &5 ก   
$%VB
ก";
' กN7)

9 &
( "accepted the honour
only after it was made clear to him by the Palace that the King
wished his appointment to be made , that the Palace 'had been
consulted at every step since the original coup' ." (Kobkua,
Durable Primier , p 30 and 41 note 88 ก.
ก;7 FO
(;" &

'-?.ก
&(! &
;; :กVB -?& since "   ,%)5? %
? *; % "%กBก("  "%กBก(" 0 1 ก %? -
C: ก %? ; ? -  9 ก7 ".ก
&" ก-). "
(" (VB -

()2  $%9
- <B6 !:*..
 ก  ; ... 
*; )
C5&&  )R
 & --ก-.) ก& 9(,
& & 
( &5&" "กC
 
 +ก+/, ก ก ) !).
#2ก2
ก;N *&"; !VB
'9:;กB!)-GQ " 
- ). ก " * 8 ก1 0 " K**0 !"# *
 * 8 ก  &5? ( #ก 
.กB ,
& /O  /H,  @H
ก   0KII, +..!
B ; @) " * 8 ก"
/!"#* %
-   -+ 

*? (5&;!:,%)
CD8 ")#5 "
 "7:8"  & "...!).#2ก
ก ก.#ก*9& ;
7 .!).#2ก"  ).5;"7:8 0O/K *ก;5(
0OMK  MU $%(6)  9.-."#;)

; 9 ?กก 6 !)9:;ก


ก;N
+!)ก6 H  *&(!:
)5ก 0-Z -?
ก ก.ก6 -" $% - 5&& )"#;.7
)5 - ;,
'ก6 ?-8 &   &)
C,.กB ก.ก
5 

'(;;
( กR& - *.5& ก&,%ก6  
 (.
ZH) *)
! 6& 
&  !!" /0 1     !
- ก&(% 2 9:.;  ;#  ";   :& &?
...
'
&
)  &  5&ก;*;*&
! ก&& ก6 - ,:ก ก # "#;
'
)
C
&  ! -  .1 (" .O/ ก&& ก6 - ?"; 
";,:ก2  ก ก 1  [??]
' &ก..."!) *) ?";9:;
'9:.;  Z
- (-9( Z -  (%ก.กก&  ,;  . Z -  &
'9:;
. ; ) ;,:ก)# 5 2  - :.-
ก ก. KI 1ก)# 
(9 - 5& "-- )#& *;*&กก&
#&  (ก"&-  ) กC5&ก; );
-6#ก(9:;
( *)9:;?5;
' &

IP : (210.203.178.137)

H ,-# color !  Posted : 2006-12-09 16:20:01 IP : (210.203.178.137)

ก
  ก  
 
ก
 ก

      "


"  !!"  #
 !"#
 $กก#% $  $ : '( $)   *ก *ก+ ก$ก 
$%
ก&&
' "#ก !!(%")*&ก
++ก,
-.. /0 1 (  " ก& "
 .
 2 ..
-
45 -6. -6)7   "  "

" -  (% &"8&2  "ก#ก" 9:; #
  -.
#8
'9:;
< *) 6
&ก& (
 
#ก, 
ก
&
'
;)

-  9.


ก ก. 2-ก?
& ก&; ก& @
 .กA
& 9:;%ก "

#" 5&5;& )
'55; &5 )?"กB6) 
ก "7)-5 -% 9 & ""  " ." -  & "; "
 &%(ก
'& #ก (*;*&   5;#& -ก  ก )
-ก96ก (! )
!
8!). กB *)# *)
!:ก A 9กC " ." 5&5; D8ก )5 ,;& #ก*;*&
 &   )9
8!). *.. 9Aก2
& #กA - กB6) "2#" 5;  2E)ก*F
 &
CAก (.
&!ก ";(;:&" ) *&ก9กB6) 
";
' "#ก"
( 2 -). Eก
      ) -&
 2
+!)ก
  ก%กB -:9:; ?ก "#;;*).
#ก ... ?

95;&
&  .
  9
ก-:;%ก  &""
 
.ก5 &* *&2ก 5,%
!#
   *&" *;
-:;%ก(9-
;"  &.ก5&,:ก *;9 )5&
-
'-  กB6)
"   " "*..
(;" ก *&:;%ก5&5; A&    92
(%; *).-,%ก. "Gก# " 5;*&5&5;
'ก%กB; $? *&  5;
:& -ก?<:D88   ก
  & 
& 9
- :; ก

9:;.: (ก. )
 ก;";กB ?7)  -6. -6)7

( *.. ก (  H 


  
กB! 
'ก. 5&
* &( )

9:; & 


& *.&ก
(  A2  - (5& "-
ก&(
( 
0II ก&; "


 5;) *&"
- )ก5;
"-?? &
"-9!*)(;.ก!&&A !%  :"& 
& ...;ก
'(
9:;
( 
" *)
"*&-.9#. "7)
'ก#ก
senior   (ก&-
(  "7)  ?*&-6. 7 *)"7)9;

-"*& authority
)ก
5  "ก& -.9#.
#ก-ก
 กC-
'(-9
:;   A ,; ) "- ก- -;
.9#.; 9( ก";ก. -D .*)
95&
 *)5&;ก )

";ก.ก 6  &)
  
"   9 ) ?กก 6
+!)ก6
  - ก6 H 

"; 0KH -


( 
ก ก.ก6 H  *)..("-
D .   : "
ก6
" H - 0K@M..."
ก6 
!).
C !)
; :&N).ก.(; ?ก5&,*ก;5(D8
ก
5;
#&
ก6 @O N...."

,- #
 intervene ,ก. '  (-ก.
/ก/ # ก-#0 ,
0 1 - 0)? *;*&- !:;ก
5 .; *)2&ก&- กC5&&

( )5*.. ก

 -   ก   :

2
ก;N";:8
GPN


 17.00 .( 6 !).
C !)
; :& 5;.
 ก :8

 
 9:;&กก
!-
(;
GPN .
ก ก.ก 5; :ก
#.;
ก& .
'A-5;# )).D8
ก ก.*)
 !ก ."; :8# * ";:ก
#.; .....

 ก ( - :;ก


*&2&ก&-กC. &) 
C !).
2# 5;
C !.:ก
#.; ?
 .7. (5&"#& !): *&"
?
 .7.  :ก
#.;
& 5;!
(;5*;) *) !)#*
.       

(;!
;(";ก- * ;*)"
CA 5& )5 *ก;5(5&5; *&;-& *ก;-& 5
.;
 ก?;ก--- *)ก? :&",ก6 ?-8 +)
(";ก- 
 ,&";((8ก.(;!
; &
 กก*; (";
ก.5.
 ";. ก-2.& ;
ก;N
'& 5&
)5 ;
ก;N )
 "
&ก.!ก
4&ก
 (";ก-2#-

(&
ก& (6)
ก6 *; #2 *)-
* ? :ก
#.; *)ก&!GQ (Aก)?&ก%กB  5;

' :;ก*; (!!+...& ก+..5;! *) (&*;) 5&


กR& !)#?,%
ก6ก&*& &"  &(!
!!.+..".& : “
 
C..; ..*(--
)ก+ก
+” (5 7), “  *; *(- .
9 5 ! .
(: -
"; 3 .&” (
), “
! )##(  : - .*(-  .
; ” () ) <!,& ก%กB,:ก*(-*),:ก
95;. ก !!ก+..)

& 
C !)
;:ก
 0 !)- 5;
C 5 2! .? *)
2! .#)
!
?  .
C. ก
ก6 
!!
 # ก ก !!!)+ กB6 0 !)-ก?
.,ก? 9:;.
C.-%,%(;
  &&" *; 5;.  &
(
;-?(9) ":ก)&!)-
C
?  5;..
C. กก
ก#
/  2! .?
 15.00 .  7
  *)
!)#
(: " 5 ";?  5;..
C.ก-"

%&  0 !)-5;


C ". !
 ; :8 :ก

#.;9;%
 # (6).ก
(;5"
 H 
  
& FP8N "ก&
ก -6 
 ; :8 & ' ก$3 * -#
/
0 0 [
'5] -? R86 5;R865;ก.:ก
#.; -*ก&ก

##:
!
' &*ก&:ก
#.;&5"; - ก<ก &# 
*)!)กB ' ...." (
;-?(9)

ก
(  & -
(  * &ก(%
! 6& " ก %"
- 5;;(;: ก(ก.
ก 6-
!  
ก ก."*)
H  $%"  ก.
ก
( -) &ก. -
(     -
;(;:ก.
ก
ก ก."*) H   
#ก4. ก
5 1**
ก#-6   * *+ $ก$7 8ก-ก
  ก 9:/ 1 ก
0
 - +0 5;
' & ก&-

"; @O0 -


( &

"!).
C !)
; :
& !  ( -*ก* ก< "# *)
 ก;
--- ก#5 " U - !.. 0K@M  0  ก
ก6
N H  !)- !).2# ก) 
 
 ก;-
'%

 ก(#
!
9#8;ก.กV"

-?
#,;& (;:
" "!  ..
 ก;--- "
( ก-*ก* ก"ก6 H )   กก.
ก )2 -(ก.
ก -
 ,%-)2 - 

"Two days after the massacre, the King broke his silence. His
Majesty made a radio broadcast calling for national unity in the
face of the crisis."

*&- " 5& ; !:";


C& $ 8  ก$

 (ก.
ก

( &)5 -)2 - - .

"The message was clear: King Bhumibol had issued 'a strong
endorsement' of the new military junta."
(ก6*ก
)-. *;&-:&ก.)2 -(-(;; ;(; ก
ก.
ก)

?$? )2 -  ก.


ก 
&(; ก%
ก ก.!)# *)
C
!)
;:ก
"ก6 H & (
;-?(9)

"Perhaps to emphasize further the unmistakable stand of the


Throne , Queen Sirikit and the royal Princesses went to visit and
provide food for the Village Scouts who encamped in the campus
of Thammasat University."

$%- *;
#&
 ก. ก6 "กก (;; $;#"
/
!  -"5&
- กก ก& (: (&2 )
 " 5 7
10 - 2519) *)!)# *)!)
;:ก
5&5;
-  "#&
 (*)
'
 irony
!)
ก.
ก
C5; ก
8!).

#&
 ก.-) *& ?-8 ก&  ก(;:
 *; ก.
ก
5;&

"The death of democracy appeared a small prize to pay for the


return of political stability and social status quo."

-  ก"#;-?& democracy (ก.


ก"  
 ก5;&
' euphemism
,;"#;-?& students )
':*)- กก& (*& )?"; )(
&; -  *-"8& ก.
ก-5&ก;! )
( )
*&,% )"#;-?*.. euphemism *..  )
C-)5กC#
ก *)-
$%; กก.
ก %5&    #ก )
 # ก*ก+0
0 .
(
( 5;

!)(;: ()2 -*ก) (ก.
ก :&"..
((;- &;  - -) &ก
 ก.-

"; @O@ -5;. <! ก6 H    (


;-?(9)

"
ก6
ก
(% *";
C,%-;
"กกB <!ก


ก6 @O N *;&7:8 )


2ก";ก&กก ก&กก *)
ก&ก%กB,
(; ..ก
 &
C *&กCก.ก กก&
(;#กก ก? ก
 &+.! &9";
กRก &; ก
ก# ก
/# ก*กก5
 ก+ #,+*0 1ก$3  ..
=>?@ 9  กกก&(;#กก ก *&? กR";


C &#
"
ก6 H N 
' ก*8# ก # ก &ก

 *
ก(% "

2
ก  "
 
Pกก&" (shift the blame)  &*.
  &
"-
'9:;.9#.?-8"ก6 H  $%
'

(;" &ก &ก;("
:&ก#กD . ก ก"$* ก (xxx ?) 5
'-? &
"ก&(;#ก"  "-;
- ก.กก? ก
5;".*&กR
!.. 0O/K" -ก? ,%"-? !กก&?  .? ก
*&-6)BW?

5&;!:,%- & A & ก& .ก


(;54&- "
#;5&"#&
 "; @HH -
( 
& "กกDX";)##
ก #ก?5&
ก;.ก%กB*))## );กก.
(;)
( !
, &. "
#;:&( H - !..0K@M "  
ก&-  &"
ก6)ก.; 5   1 "ก+ *# ก&
ก)* ก " (
;-?(9) ก&กB 
&  &%
' "ก&
(;#ก" *& (*&กC5&"#& "ก&(;#ก" "- 
'ก& "-;
-
ก.กก? ก
5;".*&กR !.. 0O/K"  &
( )
1,* *
 $  ก+ 

0-+? 
/"#ก+ 18 ก
 
 กA"#  ก4 -0 กก$; "ก# ก" 1# $;
 ,*#  & : Y
(   ก
' "9:;?" (ก& "!"
(*& "ก?
ก;") 5;ก

9 ก& 5&& *; *; ก&(
(
2 .!
B ก.. 2 ก(  
ก9 *&9:; :*.9#.2 
- !
ก?8 *! ก 9;.ก-& !
ก?8
'"-?
5   1 1 "ก+ *# ,
 ก+ $; ก ?  
ก."ก+ *#  C+$; "ก# ก"
/ก50 1 =>?@  D
-+? ?
8V ?2, - ก8,  ? 9(ก

<! H *..  ก&"*&..()!
ก
5  "&
*;  กB6) ก& irony
  ก - ก
'& 9:; .9#.?-8& H  -
!ก .:ก ก##? - (5&"#& ก ) 0O/K!

$1# ,ก. '   *  ,- "


 $ *ก*#5กC
1ก#$E6-ก+ #"  -+? ก  0/ ก

"กF4GH  -**  #" (5 :กF
 J) $- -+?!

-  


& 
C5; ก
( "กB6)
 ก. ก& "ก6 H 
,;9(< ก)
C -;"#;

' ... . &A ก6  
*  ,:กก&& "!).
#<!" "1 0OMM กC,:ก-
&";
  ก
'; 5 "( ) ก&";
กก)*-5&!" "- &ก;(
..." (.KH) A )
C   !:
')
C
ก (;ก.)#5 (
;&
'
)  &?-8  (power and accountibility)  " .
M@-M0 *) .@0Z
#, @/ -  &" "5; &:;
C
"A" ก.ก7)(VB *) 6ก
( &)


#& &
'
ก " -
*..
ก
 *)B7

?
<" " 2 -

5& . ";ก7 *&,;
#& ).  &5 ก   
$%VB
ก";
' กN7)

9 &
( "accepted the honour
only after it was made clear to him by the Palace that the King
wished his appointment to be made , that the Palace 'had been
consulted at every step since the original coup' ." (Kobkua,
Durable Primier , p 30 and 41 note 88 ก.
ก;7 FO
(;" &

'-?.ก
&(! &
;; :กVB -?& since "   ,%)5? %
? *; % "%กBก("  "%กBก(" 0 1 ก %? -
C: ก %? ; ? -  9 ก7 ".ก
&" ก-). "
(" (VB -

()2  $%9
- <B6 !:*..
 ก  ; ... 
*; )
C5&&  )R
 & --ก-.) ก& 9(,
& & 
( &5&" "กC
 
 +ก+/, ก ก ) !).
#2ก2
ก;N *&"; !VB
'9:;กB!)-GQ " 
- ). ก " * 8 ก1 0 " K**0 !"# *
 * 8 ก  &5? ( #ก 
.กB ,
& /O  /H,  @H
ก   0KII, +..!
B ; @) " * 8 ก"
/!"#* %
-   -+ 

*? (5&;!:,%)
CD8 ")#5 "
 "7:8"  & "...!).#2ก
ก ก.#ก*9& ;
7 .!).#2ก"  ).5;"7:8 0O/K *ก;5(
0OMK  MU $%(6)  9.-."#;)

; 9 ?กก 6 !)9:;ก


ก;N
+!)ก6 H  *&(!:
)5ก 0-Z -?
ก ก.ก6 -" $% - 5&& )"#;.7
)5 - ;,
'ก6 ?-8 &   &)
C,.กB ก.ก
5 

'(;;
( กR& - *.5& ก&,%ก6  
 (.
ZH) *)
! 6& 
&  !!" /0 1    
! - ก&(% 2 9:.;  ;#  ";   :& &?
...
'

&)  &  5&ก;*;*&
! ก&& ก6 - ,:ก ก # "#;

')
C
&  ! -  .1 (" .O/ ก&& ก6 - ?";
  ";,:ก2  ก ก 1  [??]
' &ก..."!) *) ?";9:;
' 9:;
. Z - (-9( Z -  (%ก.กก&  ,;  . Z - 
&
'9:;. ; ) ;,:ก)# 5 2  - :.-
ก ก. KI 1ก
)#  (9 - 5& "-- )#& *;*&กก&
#&  (ก"&-  ) กC5&
ก; );-6#ก(9:
; ( *)9:; ?5;
' &

Comment : 1

You might also like