Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 32

[ บทที่ 3 การเคลือ่ นที่ในระนาบ ]

ในการอธิบายการเคลื่อนที่ในวิถีโค้ง เช่น การโคจรของดาวเทียม


การเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งของลูกบอล
เราต้องบรรยายการเคลื่อนที่ในสองหรือสามมิติ
โดยใช้เวกเตอร์การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง
แต่ปริมาณเหล่านี้มีองค์ประกอบสองหรือสามองค์ประกอบ
และไม่ได้มีทิศอยู่ในแนวเส้นตรงเดียว

2
ใช้เวกเตอร์ในการบอกตำาแหน่งของอนุภาค การเขียนเวกเตอร์บอกตำาแหน่ง
ต้องเขียนบอกองค์ประกอบของเวกเตอร์ในแต่ละแกน

v ˆ ˆ ˆ
r  xi  yj  zk
z r

y

x θ

3
y
จากนิยามความเร็วเฉลีย่
P1 ∆r P2
“อัตราส่วนระหว่างการกระจัดที่เปลีย่ นไ
ปกับช่วงเวลาการเปลี่ยนการกระจัด”
r1
จากรูปเส้นทางการเคลื่อนทีข่ องอนุภาค
ในระนาบ xy เมื่อเวลา t1 r2 เส้นทางการเคลื่อนที่
อนุภาคอยู่ที่ตำาแหน่ง P1
ซึ่งมีการกระจัดเป็น r 1 x
O
และเมื่อเวลา t2 อนุภาคนี้อยู่ทตี่ ำาแหน่ง
∆r r2 − r1
P2 ซึ่งมีการกระจัดเป็น r 2 v av = =
∆t t 2 − t1
ความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในช่วงเวลา
t1 และ t2 4
ถ้าให้เวกเตอร์ทั้งสองมีองค์ประกอบเวกเตอร์ดังต่อไปนี้

r1 = x1iˆ + y1 ˆj
r2 = x2iˆ + y2 ˆj
จะได้ความเร็วเฉลี่ย

∆r ( x2 − x1 ) iˆ + ( y2 − y1 ) ˆj
vav = =
∆t t 2 − t1

5
จากนิยามความเร็วขณะหนึ่ง คือ “ความเร็วของวัตถุขณะเวลาใดๆ
ซึ่งหาได้จากการเปลี่ยนตำาแหน่งของวัตถุในช่วงเวลาที่สั้นมากๆ จนเข้าสู่ศูนย์”
ความเร็วขณะหนึ่งคือ

∆r dr  dx  ˆ  dy  ˆ  dz  ˆ
v = lim = =  i +   j +  k
∆t → 0 ∆t dt  dt   dt   dt 

เขียนเป็นเวกเตอร์ความเร็วได้ดังนี้

v = vxiˆ + v y ˆj + vz kˆ
6
องค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วหาได้จาก
dx dy dz
vx = vy = vz =
dt dt dt
ขนาดของเวกเตอร์ความเร็ว หรืออัตราเร็วหาได้จาก

2 2 2
v = vx + v y + vz

7
จากนิยามความเร่งเฉลี่ย คือ y v1
“อัตราส่วนระหว่างการเปลีย่ นแปลงควา P1 v1
v ∆v
มเร็ว P2 2

กับช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลีย่ นความเร็ว” v2
จากรูปแสดงเส้นทางการเคลือ่ นที่ในระ r1
นาบ xy ของอนุภาคหนึ่ง ซึ่งเมื่อเวลา t1 r2
อนุภาคอยู่ที่ตำาแหน่ง P1 เส้นทางการเคลื่อนที่
และมีความเร็วเป็น v 1 x
และเมื่อเวลา t2 อนุภาคอยู่ที่ตำาแหน่ง O
P2 และมีความเร็วเป็น v 2
∆v v2 − v1
ความเร่งเฉลี่ยของอนุภาคในช่วงเวลา aav = =
t1 และ t2 คือ ∆t t 2 − t1
8
จากนิยามความเร่งขณะหนึ่ง คือ “การเปลี่ยนแปลงความเร็วทีข่ ณะเวลาใด ๆ
หรือในช่วงเวลาสั้นๆ จนเข้าสู่ศูนย์”

∆v dv
a = lim =
∆t →0 ∆t dt
จากเวกเตอร์ความเร็วจะได้ความเร่งขณะหนึ่งคือ

dv dvx ˆ dv y ˆ dvz ˆ
a= = i+ j+ k
dt dt dt dt

9
เวกเตอร์ความเร่ง

a = a x iˆ + a y ˆj + a z kˆ
องค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร่ง

dv x d 2 x dv y
d2y dv z d 2 z
ax = = 2 , ay = = 2 , az = = 2
dt dt dt dt dt dt
ขนาดของเวกเตอร์ความเร่ง

a = a +a +a2
x
2
y
2
z

10
ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 1
วัตถุเคลื่อนที่ตามเส้นทางโดยมีค่าตามแนวแกนทั้ง
สองคือ
x = 5t2 และ y = 2 sin 2t เมื่อ t แทนเวลา ณ ขณะใด ๆ
จากโจทย์ ให้องค์ประกอบเวกเตอร์บว
จงคำานวณหาความเร็ อกตำาแหน่งของวัตถุที่เวลา t ใดๆ
ดังนั้นองค์ประกอบเวกเตอร์ขณะหนึง่ หาได้โดย
และความเร่งชั่วขณะของอนุภาค
vx =
dx d
=
dt dt
( )
5t 2 = 10t

dy d
และ vy = = ( 2 sin 2t ) = 4 cos 2t
dt dt

เขียนเป็นเวกเตอร์ความเร็วได้ดังนี้ v = 10t iˆ + 4 cos 2t ˆj


11
จากองค์ประกอบเวกเตอร์ความเร็ว นำามาหาองค์ประกอบเวกเตอร์ขณะหนึ่งได้โดย
dv x d
ax = = (10t ) = 10
dt dt

dv y
d
และ ay = = ( 4 cos 2t ) = −8 sin 2t
dt dt

เขียนเป็นเวกเตอร์ความเร่งได้ดงั นี้

a = 10 iˆ − 8 sin 2t ˆj

12
โปรเจกไตล์ (Projectile Motion)
เป็นการเคลื่อนที่ในสองมิติ
ภายใต้ความเร่งโน้มถ่วง (Gravitational
Force) ของโลก
โดยมีเงื่อนไข คือ
ความเร็วในแนวระดับมีค่าคงที่
หรือความเร่งในแนวระดับมีค่าเป็นศูนย์
ไม่คำานึงถึงแรงเสียดทาน ความโค้ง
และการหมุนของโลก
ดังนั้นจึงเหลือแค่ความเร่งในแนวดิ่งซึ่ง
ก็คือค่า g
ซึ่งเป็นแบบจำาลองโปรเจกไตล์ในอุดมค
ติ 13
14
y
จากรูปแสดงการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคห
นึ่งในระนาบ xy
v = vx = u x โดยให้อนุภาคนี้มีความเร็วต้นเท่ากับ u
vy v
θ
vx = u x มีทิศทำามุม 0 กับแนวระดับ
vy v
v = u vx = u x
uy เขียนองค์ประกอบความเร็วต้นได้เป็น
vx = u x
u x = u cos θ 0
θ0

x u y = u sin θ 0
ux θ = −θ 0
v y = −u y v

15
y

v = vx = u x
จากเงือ่ นไขการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์จะได้ว่
vy v า ax = 0 และ ay = -g
θ
vx = u x
vy
v = u vx = u x v หาตำาแหน่งและความเร็วที่เวลาใดๆ
uy ของอนุภาคได้จากสมการการเคลือ่ นทีด่ ้วย
θ0
v x = u x ความเร่งคงที่
x โดยสามารถแยกคิดในแต่ละองค์ประกอบ
ux θ = −θ 0
v y = −u y v

พิจารณาความเร็วและตำาแหน่งในแนวระดับ (แกน x)
เนื่องจากความเร่งมีค่าเป็นศูนย์ดังนั้นความเร็วของวัตถุในแนวนี้ไม่เปลีย่ นแปลง
v x = u x = u cos θ 0

และ x = v x t = ( u cos θ 0 ) t
16
พิจารณาความเร็วและตำาแหน่งในแนวดิง่
เนื่องจากความเร่งในแนวนี้มีขนาดเท่ากับความเร่งโน้มถ่วง
แต่มีเครื่องหมายเป็vนลบ= จะได้
u − gt = u sin θ − gt
y y 0

ตำาแหน่งในแนวดิง่ ที่เวลา t ใดๆ


1 2 1 2
y = u y t − gt = ( u sin θ 0 ) t − gt
2 2
สมการแสดงเส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องโพรเจกไทล์ ได้จากการแทนค่า t ซึ่ง
x
t=
u cos θ 0
2
x 1  x 
y = ( u sin θ 0 ) − g  
u cos θ 0 2  u cos θ 0 
17
g
จะได้ y = ( tan θ 0 ) x − 2 x 2

2u cos θ 0
2

เทียบกับสมการทัว่ ไปของเส้นโค้งพาราโบลาร์
y = bx − cx 2

เมื่อ b และ c เป็นค่าคงที่


ดังนั้นเส้นทางการเคลือ่ นที่ของโปรเจกไตล์เป็นโค้งแบบพาราโบลาร์

18
ความสูงทีส่ ุดที่วัตถุสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้หาได้จากสมการ
v y = u sin θ 0 − gt

เมื่อวัตถุเคลือ่ นที่ไปถึงจุดสูงสุดจะหยุดนิ่งขณะหนึ่งก่อนจะเคลือ่ นที่กลับลงมา


ดังนั้นความเร็วในแนวดิ่ง ณ ตำาแหน่งนี้จะมีค่าเป็นศูนย์
u sin θ 0 = gt
x
แต่ t=
u cos θ 0

u 2 sin θ 0 cos θ 0 u 2 sin 2θ 0


จะได้ x= =
g 2g
19
g
จากสมการ y = ( tan θ 0 ) x − 2 x 2

2u cos 2 θ 0

เมื่อแทนด้วยค่า x จะได้

u 2 sin 2 θ 0
ymax =
2g

ระยะทางทีไ่ กลที่สุดที่วัตถุสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้คือ

u 2 sin 2θ 0
R=
g
20
ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 2
นักกรีฑาขว้างค้อนมีความสามารถเหวี่ยงค้อนได้ใน
อัตราเร็วสูงสุด 5 เมตร / วินาที
เขาจะสามารถขว้างค้อนไปได้ไกลที่สุดห่างจากจุดที่
เขายืนอยูก ่ ี่เมตร u 2 sin 2θ 0
จากสมการ R=
ถ้าไม่คิดแรงเสียดทานอากาศและความสู g งของนักก
รีฑาจะได้ระยะไกลที่สุดเมื่อขว้างทำามุม 45๐ กับแนวระดับซึง่ จะได้
u2
R=
g
R=
( 5)
2
= 2.5
จากโจทย์ u = 5 เมตร/วินาที เมตร
9.8
21
ตั วอ ย่า งที่ 3-3
ชายคนหนึง่ ขว้างก้อนหินออกไปจาก
ดาดฟ้าตึกสูง
ก้อนหินพุง่ ออกจากมือด้วยทิศทำามุม
20๐ กับแนวระดับ
และมีอตั ราเร็วเริ่มต้น 20 m/s
ดังแสดงในรูป ถ้าตึกนี้สูง 45 m จงหา
1)
ต้องใช้เวลานานเท่าใดหลังจากที่ขว้าง
ออกไป ที่ก้อนหินนี้จะตกถึงพืน้ ดิน
2)
อัตราเร็วสุดท้ายของก้อนหินทีก่ ระทบ
พืน้ 22
1) พิจารณาการเคลือ่ นที่ในแนวระดับ x และ แนวดิ่ง y
( )
u x = u cos θ 0 = ( 20.0 ) cos 30.0 = 17.3 m/s

u y = u sin θ 0 = ( 20.0 ) ( sin 30.0 ) = 10.0



m/s
หาค่า t ได้จากสมการ
1 2
y = y0 + u y t − gt
2
เมื่อ y = -45 m
1
− 45 = 0 + (10.0 ) t − ( 9.8) t 2
2
t = 4.22 วินาที
23
2) จากสมการ v y = u y − gt

แทนค่า t จากข้อ 1) จะได้


v y = (10.0 ) − ( 9.8)( 4.22 ) = −31.4 เมตร/วินาที

แต่ความเร็วในแนวระดับ (ตามแกน x) มีค่าคงทีห่ รือ


v x = u x = 17.3 เมตร/วินาที
อัตราเร็วของก้อนหินคือขนาดของเวกเตอร์ความเร็วหาได้จาก

v = v x2 + v y2 = 17.32 + ( − 31.4 ) = 35.9


2
เมตร/วินาที

24
25
v
v s v v1
 or v  s
v1 R R

ดังนั้นขนาดความเร่งเฉลีย่ ในช่วงเวลาใดๆ มีค่า

v
vv1 s
aav  
t R t

26
ขนาดความเร่ง a ทีจ่ ุด P ใดๆ จะได้

v1 s v1 s
a  lim  lim
t 0 R t R t 0 t

s
และจาก v  lim
t 0 t

แต่จาก v1 คืออัตราเร็วที่ P1 ซึ่งเป็นจุดใดๆ ก็ได้เพราะอัตราเร็วมีค่าเท่ากัน จึงได้


และความเร่งทีไ่ ด้นี้มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง

2
v
a 
R 27
ในเวลา T วัตถุเคลือ่ นที่ได้ระยะทางเท่ากับเส้นรอบวงของวงกลม
2 R
v
T
ดังนั้นเราสามารถหาความเร่งได้อีกรูปแบบหนึ่งคือ

4 R 2
a  2
T

28
ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 4 ดวงจันทร์หมุนรอบโลกครบรอบใช้เวลา 27.3 วัน
สมมุติให้วงโคจรเป็นวงกลมมีรัศมีความโค้ง 3.82 x 108 เมตร
จงคำานวณหาขนาดของความเร่งของดวงจันทร์เข้าสู่โลก

คาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก T = 27.3 วัน เปลี่ยนให้เป็นหน่วยวินาทีได้เป็น


 hour   min   s 
T   27.3 day   24  60  60 
 day   hour   min 
 2.36  106 วินาที

ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง
4 R
2 4 2  3.82 108 m 
a    2.71 103 m/s 2
 2.36 10 s 
2
T2 6

29
จากนิยามของความเร็วสัมพัทธ์ของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เราหาความเร็วสัมพัทธ์ของการเคลื่อนที่ในระนาบได้จากนิยามเดียวกัน
ด้วยการบวกเวกเตอร์
ความเร็วเรือสัมพัท
ธ์กับพื้น v ความเร็วกระแสนำ้าสัม
พัทธ์กับพื้น V

ความเร็วเรือสัมพัทธ์
กับกระแสนำ้า v’
v v v
v  v  V
30
ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 5 เครื่องบินลำาหนึ่งบินไปทางทิศเหนือ
เข็มชี้ความเร็วอยู่ที่ 240 km/hr ลมพัดด้วยความเร็ว 100 km/hr
ไปทางทิศตะวันออก
ความเร็วของเครื
V = 100 ่อkm/hr
งบินสัมพัทธ์กับโลกจะมีค่าเป็นเท่าไร v v v
จาก v  v  V
v
v’ = 240 km/hr v =? ซึ่งจากรูป 
v  v V
2 2

θ
 240  100
2 2

 260 km/hr
100
โดยมีทิศทำามุม กับทิศเหนือ หาค่ามุม   tan 1
 22.6
240 31
32

You might also like