Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 26

[บทที ่ 7 การด ลแล ะโ มเ มนตัม ]

โมเ มน ตัม (Mo mentum)


2

v v
v dv d v
 F  ma  m dt  dt  mv 
จากแรงสุทธิ มีค่าเท่ากับมวลคูณความเร่ง และความเร่งคืออนุพน
ั ธ์ของความเร็ว
แรงสุทธิทกี่ ระทำาต่ออนุภาคมีค่าเท่ากับอัตราการเปลีย่ นแปลงของปริมาณ mv
เทียบกับเวลา
เรียกปริมาณนี้ว่า “โมเมนตัม (momentum) หรือ โมเมนตัมเชิงเส้นของอนุภาค”
กฎ ของนิ วตัน ในร ูป โมเม นต ั ม
3

v v
เขียนสมการโมเมนตัมได้เป็น p  mv มีหน่วยเป็น kg.m/s

กฎข้อที่สองของนิวตันในรูปของโมเมนตัม

v dp v
 F  dt
แรงสุทธิทกี่ ระทำาต่ออนุภาคมีค่าเท่ากับอัตราการเปลีย่ นแปลงโมเมนตัม
ของอนุภาคเทียบกับเวลา
การ ดล (Imp uls e)
4

นิยาม การดล(Impulse) ของแรงสุทธิว่าเป็นผลคูณของแรงสุทธิกบ


ั ช่วงเวลา
v v
J   F t

จากกฎข้อที่ 2 ของนิวตันในรูปโมเมนตัม

v pv2  pv1
F  t t
2 1
v v v
 F  t2  t1   p2  p1
แรงดล
5

แรงทีก่ ่อให้เกิดการดล เรียกว่า


“แรงดล”
การดลคือพืน้ ที่ใต้กราฟระหว่าง
แรงกับเวลา
v t2 v
J   F  t  dt
t1

v v
J  Fav  t2  t1 
ทฤษฎี การ ดล -โมเ มน ตัม
6

การเปลีย่ นแปลงโมเมนตัมของอนุภาคระหว่างช่วงเวลาหนึ่งมีค่าเท่ากับการดลของ
แรงสุทธิทที่ ำาต่ออนุภาคในระหว่างช่วงเวลานั้น
v v v
J  p2  p1
ตั วอ ย่า งที่ 7-1 ปาลูกบอลมวล 0.40 kg ใส่กำาแพงอิฐ
ลูกบอลชนกำาแพงขณะที่กำาลังเคลือ่ นที่ไปทางซ้ายในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว 30 m/s
และกระดอนไปทางขวาในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว 20 m/s
b)จงหาการดลของแรงสุทธิที่ทำาต่อลูกบอลในระหว่างการชนของลูกบอลกับกำาแพง
c)ถ้าลูกบอลสัมผัสกำาแพงอยู่นาน 0.010 วินาที
จงหาแรงในแนวระดับทีก่ ำาแพงกระทำาต่อลูกบอลในระหว่างการชนนั้น
v v v
u = -30 m/s a) การดลหาได้จาก J  p2  p1
เมื่อ p1 คือโมเมนตัมของลูกบอลก่อนชนกำาแพง
+x p2 คือโมเมนตัมของลูกบอลหลังชนกำาแพง
v = 20 m/s p1  mu   0.40   30   12 kg m/s
p2  mv   0.40   20   8.0 kg m/s
J  8.0   12   20 kg m/s
7
b) แรงเฉลีย่ ที่ลกู บอลกระทำากับกำาแพง
J  Fav  t 

J
Fav 
t

20
Fav   2000 N
0.010

8
กฎ การ คงตั ว ของโมเ มน ตั ม
9

จากกฎของนิวตัน
v dpv
 F  dt
เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทำา
v
dp
0
dt
ถ้าไม่มีแรงสุทธิภายนอกไปกระทำาที่วัตถุ โมเมนตัมของวัตถุจะมีค่าคงที่
v v
p  mv  constant
พิจารณาการชนของอนุภาค 2 ตัว ขณะที่ชนกันจะมีแรง F1 และ F2
ที่กระทำาต่ออนุภาคตั ว ที ่ 1 และตั
ว ที ่ 2 ในช่ ว งเวลาสั น
้ ๆ เมื อ
่ แรง F 1 และ
t
F 2
v v
t
เป็นpฟังก์ชันของเวลา
f
v v v
f
v
1f p1i   F1 dt และ p2 f  p2i   F2 dt
ti ti

เมื่อบวกสมการทั้ง 2 เข้าด้วยกันจะได้
tf
v v v v v v
p1 f  p1i  p2 f  p2i    F1  F2  dt
ti
v v
จากกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน F1   F2
v v
F1  F2  0
v v v v
p1 f  p2 f  p1i  p2i ผลรวมของโมเมนตัมหลังชนเท่ากับผ
ลรวมของโมเมนตัมก่อนชน
10
ตั วอ ย่า งที่ 7-2 นักแม่นปืนถือปืนยาวมวล M = 3.00 kg อย่างหลวมๆ
ในมือของเขาในลักษณะทีท่ ำาให้ปืนยาวกระดอนถอยหลังได้อย่างอิสระเมื่อถูกยิง
เขายิงลูกปืนมวล m = 5.00 g ไปในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว vb = 300 m/s
ความเร็วของการกระดอนของปืนยาว vR มีค่าเท่าใด
จงหาโมเมนตัมและพลังงานสุดท้ายของลูกปืนและของปืนยาวว่ามีค่าเท่าใด
จากกฎการคงตัวของโมเมนตัม ได้โมเมนตัมของระบบตามแนวแกน x
ก่อนยิงปืนเท่ากับหลังยิงปืน
ก่อนยิงโมเมนตัมของปืนยาว และลูกปืนเป็นศูนย์
หลังยิงโมเมนตัมของปืนยาว pR  MvR
หลังยิงโมเมนตัมของลูกปืน pb  mvb
จากกฎการคงตัวของโมเมนตัม 0  MvR  mvb
m  0.00500 
vR   vb     300   0.500 m/s
M  3.00 
11
โมเมนตัมและพลังงานจลน์ของลูกปืนหลังยิง
pb  mvb   0.00500   300   1.50 kg m/s
1 2 1
K b  mvb   0.00500   300   225 J
2

2 2
โมเมนตัมและพลังงานจลน์ของปืนยาวหลังยิง
pR  MvR   3.00   0.500   1.50 kg m/s
1 2 1
K R  mvR   3.00   0.500   0.375 J
2

2 2

12
การ ชน
13

ถ้าในการชนมีแต่แรงภายในระหว่างอนุภาคเท่านั้น
การชนจะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม คือ
โมเมนตัมก่อนชนเท่ากับโมเมนตัมหลังชน
พลังงานจลน์กอ่ นการชนและภายหลังการชนคือ
1 1 1 1
K i  m1u1  m2u2
2 2
K f  m1v1  m2 v2
2 2

2 2 2 2
2
p1i 2
p2i p12f p22 f
   
2m1 2m2 2m1 2m2
การ ชนแ บบไม ่ย ื ดห ยุ่ น
14

การชนที่พลังงานจลน์ทั้งหมดไม่คงที่ เรียกการชนแบบนีว้ ่า “การชนแบบไม่ยืดหยุ่น


(inelastic collision)

m1u1  m2u2   m1  m2  v
ตั วอ ย่า งที่ 7-3 ballistic pendulum ใช้ในการหาความเร็วของลูกปืน เมือ่ เป้ามวล m2
= 5.4 kg และกระสุนมวล m1 = 9.5 g ถ้ายิงกระสุนด้วยความเร็ว u กระสุนฝังในเป้ามวล
m2 ทำาให้เคลื่อนที่ไปได้ความสูง h = 6.3 cm จงหาความเร็วก่อนชน u
จากการคงตัวของโมเมนตัม
โมเมนตัมของระบบก่อนชน = โมเมนตัมของระบบหลังชน
โมเมนตัมก่อนชน pi  m1u  0
โมเมนตัมหลังชน p f   m1  m2  v
m1u   m1  m2  v

u
 m1  m2 
v
m1
15
ช่วงที่สองหลังการชน เป้าและลูกปืนเคลือ่ นที่ไปด้วยกัน
แรงที่กระทำาต่อระบบคือนำ้าหนัก (แรงอนุรักษ์) ส่วนแรงตึงเชือกไม่ได้ทำางาน
พลังงานกลรวมของระบบมี 1 ค่าคงตัว
 1 2    m1  m2  gh
m  m v 2

2
v  2 gh

u
 m1  m2 
2 gh
หาค่า u ได้เป็น m1
 0.0095  5.4 
  2  9.8   0.063
 0.0095 
 633 m/s

16
1
     1900 J
2
พลังงานจลน์ของระบบก่อนชน Ki  0.0095 633
2
พลังงานจลน์ของระบบหลังชน
1
K f   0.0095  5.4   2  9.8  0.063  3.34 J
2

พลังงานงานจลน์หายไปทำาให้ก้อนไม้แยกออก และลูกปืนกับก้อนไม้ร้อนขึน้

17
การ ชนแ บบ ยื ดห ยุ ่ น
18

การชนที่พลังงานจลน์ทั้งหมดคงที่ เราเรียกการชนแบบนี้ว่า “การชนแบบยืดหยุ่น


(elastic collision)”

m1u1  m2u2  m1v1  m2 v2

พลังงานจลน์ก่อนชน = พลังงานจลน์หลังชน
ตั วอ ย่า งที่ 7-4 กล่องสองใบเคลื่อนที่ไปตามพืน้ ที่ไม่มแี รงฝืดดังรูปจงหา
b)ความเร็วของกล่องมวล 1.6 kg หลังการชน
c)การชนนีเ้ ป็นแบบยืดหยุน่ หรือไม่

2.5 m s
5.5 m s
1.6 2.4 ก่อนชน
v 4.9 m s

1.6 2.4 หลังชน

19
a) ความเร็วของกล่องมวล 1.6 kg หลังชน
โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน
m1u1  m2u2  m1v1  m2 v2
 1.6   5.5    2.4   2.5   1.6  v   2.4   4.9 
8.8  6.0  11.76
v  1.9 m/s
1.6
b) การชนนี้เป็นแบบยืดหยุ่นก็ต่อเมื่อพลังงานจลน์กอ่ นชนเท่ากับพลังงานจลน์หลังชน
1 1
พลังงานจลน์กอ่ นชน K i  m1u1  m2u22
2

2 2
1 1
  1.6   5.5    2.4   2.5 
2 2

2 2
 31.7 J
20
1 1
พลังงานจลน์หลังชน K f  m1v1  m2 v22
2

2 2
1 1
  1.9   5.5    2.4   4.9 
2 2

2 2
 31.7 J

พลังงานจลน์กอ่ นชนเท่ากับหลังชน ระบบไม่มีการสูญเสียพลังงานจลน์ดงั นั้น


การชนนีเ้ ป็นแบบยืดหยุ่น

21
การ ชน แบ บยืด หยุ่ นในสอ งมิต ิ
22

โมเมนต์ตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน

ในแนวแกน x m1u1  m1v1 cos 1  m2 v2 cos  2


ตัวอย่างที่ 7-5 ในการเล่นสนุกเกอร์เกมส์หนึง่ ผู้เล่นแทงลูกสีขาวพุ่งเข้าชนลูกสีแดง
ที่มมี วลเท่ากัน หลังชนลูกขาวเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ว 3.50 m/s ทำามุม 22๐ กับแนวเดิม
ลูกสีแดงมีความเร็ว 2.00 m/s จงหา
2)มุมระหว่างทิศการเคลื่อนที่ของลูกสีแดง กับทิศทางเดิมของการเคลื่อนที่ของลูกขาว
3)ความเร็วเริ่มต้นของลูกสีขาว
22๐
θ

แกน x mu  mv1 cos 22o  mv2 cos 

แกน y 0  mv1 sin 22o  mv2 sin 

23
v1 sin 22o  v2 sin 
v1
sin   sin 22o
v2
3.50
 sin 22o
2.00
 0.655
  sin 1 0.655  41o

มุมระหว่างแนวการเคลื่อนที่ของลูกสีแดงหลังชนกับทิศทางเดิมของลูกสีขาวคือ 41๐

24
หาความเร็วก่อนชนของลูกสีขาวได้จาก

แกน x mu  mv1 cos 22o  mv2 cos 

u  v1 cos 22  v2 cos 41
o o

  3.5   0.927    2.00   0.755 


 4.75 m/s

25

You might also like