วิดิทัศน์plug

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 8

เป็นสื่อโสตทัศน์ที่ให้ทั้งภาพและเสียงเช่นเดียวกับภาพยนตร์

แต่อำานวนความประโยชน์ความสะดวกสบาย และ คล่องตัวในการ


ใช้มากกว่า อีกทั้งสามารถผลิตได้ง่ายและไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
มากเหมือนภาพยนตร์
ประเภทของวิดทัศน์
1. เทปวิดิทัศน์
2. แผ่นวิดิทัศน์

คือ เทปที่ใช้บันทึกภาพและเสียง
ไว้ในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถลบและบันทึกใหม่ได้
และมีวิทีการผลิตและประหยัดเวลาในการผลิตมากกว่าสือ ่ ประเภท
ภาพด้ยกัน มักเรียกสั้นๆว่า “วิดิโอ” เทปวิดิทัศน์มีลักษณะเป็น
เส้นเทปทำาจากพลาสติกประเภท เซลลูโลสไตรอาชีเตท
โพลีเอสเตอร์ หรือโพลีไวนิล ฉาบด้วยสารโครเมียมไดออกไซด์
หรือโลหะที่มีส่วนประกอบของสารแม่เหล็ก

1.แบบม้วนเปิด (Videoreel)
2.แบบตลับ (Videocassette)
3.แบบกล่อง (Videocartridge)
(Videoreel) มีขนาด 2 นิ้ว ½ นิ้ว
และ 1 นิ้ว เป็นเทปวิดิทัศน์ที่ใช้กับสถานีโทรทัศน์ในการแพร่ภาพ
ออกอากาศ แต่เดิมส่วนใหญ่จะใช้ขนาด 2 นิ้ว เพราะมีคุณภาพ
่ ม แต่เนื่องจากเครื่องเล่นเทปวิดิทัศน์ขนาด 2 นิ้ว มี
สูงเป็นเยีย
ขนาดใหญ่และราคาแพง อีกทั้งม้วนวิดิทัศน์ก็มีราคาแพงมากด้วย
เช่นกัน ดังนั้นจึงหันมาใช้เทปวิดิทัศน์ขนาด 1 นิ้ว แทน เพราะมี
ราคาถูกกว่า อีกทั้งความคมชัดของภาพและเสียงก็นับได้ว่ามี
คุณภาพสูงเช่นกัน ส่วนเทปวิดิทัศน์ขนาด ½ นิ้วนั้น เป็นแบบที่มี
มาก่อนแบบอื่น และใช้ในกิจการที่นอกเหนือจากการแพร่ภาพออก
อากาศของสถานีโทรทัศน์ เช่น ในสถานศึกษา องค์กร
อุตสาหกรรมและธุรกิจ แต่ไม่เป็นที่นิยมแพร่หลาย และเมือ ่ มีการ
ผลิตเทปวิดิทัศน์แบบตลับออกมา หน่วยงานต่างๆจึงหันไปใช้แบบ
ตลับแทน
(Videocassette) เทปวิดิทัศน์แบบตลับแบ่งออก
หลายประเภทพอแบ่งได้ดังนี้
(U-matic) เป็นเทปวิดิ
ทัศน์ขนาด ¾ นิ้ว แบ่งเป็นระบบย่อย อีก 2 ระบบย่อยคือ Hi-
band และ Low-band โดยทีร ่ ะบบ Hi-band จะมีคุณภาพสูงจน
สามารถนำาไปใช้แพร่ภาพออกอากาศได้ เพื่อใช้ในรายการข่าว
แต่ก็ได้เพียงช่วงสั้นๆ ส่วนระบบ Low-band จะมีคุณภาพตำ่ากว่า
เราสามารถที่ จ ะนำา เทประบบ Low-band ไปเล่ น กั บ
เครื่องระบบ Hi-band ได้แต่ภาพที่ปรากฏจะ
เป็นสีขาวดำา ในทางกลับกันเราไม่สามารถนำา เทประบบ Hi- band
ไปเล่นกับเครื่องทีเ่ ป็นระบบ Low-band ได้เพราะภาพจะล้ม

(VHS) เป็นเทปวิดิทัศน์ขนาด ½
นิ้ว นิยมใช้กันแพร่หลาย เป็นเทปวิดิทัศน์ขนาดมาตรฐาน สะดวก
เรียบง่ายต่อการใช้งาน ผลิตโดยบริษัท JVC
(Batemax) เป็นเทปวิดิทัศน์
ขนาด ½ นิ้ว เช่นเดียวกับระบบ VHS แต่จะมีขนาดของตลับเล็ก
กว่า ผลิตออกมาโดยบริษัท โซนี่ ในช่วงปี 1976 ในขณะนั้นได้รับ
ความนิยมเป็นอย่างมากแต่ก็หมดความนิยมไปอย่างรวดเร็วเช่นกัน
Super VHS เป็นเทปวิดิทัศน์ขนาด ½ นิ้ว เป็น
ผลพวงของการพัฒนาระบบ VHS ให้มีคุณภาพสูงขึ้นโดยการ
ปรับปรุงสารแม่เหล็กที่ใช้ฉาบเส้นเทป และมีการทำารอบ บาก
(Notch) เพื่อเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกว่าใช้กับเครื่องเล่น S-VHS แต่
อย่างไรก็ดี เราสามารถถ่ายโอนกลับไปเป็นขนาดมาตรฐานได้เช่น
กันและยังสามารถใช้เล่นกับเครือ ่ งเล่นแบบธรรมดาได้
VHS –C เป็นเทปวิดิทัศน์ ทีบ่ รรจุอยู่ในตลับ
ขนาดเล็ก เมือ ่ นำามาเล่นจะต้องนำาไปใส่ไว้ในตลับที่จัดทำาไว้เป็น
พิเศษ และสามารถใช้กับเครื่องเล่นระบบ VHS ธรรมดาได้
(Betacam) เป็นเทปวิดิทัศน์ขนาด
12.65 มิลลิเมตร หรือประมาณ ½ นิ้ว ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท
แม๊กเซลล์ (Maxell) เทปประเภทนี้ได้รับการออกแบบเป็นพิเศษ
จากการค้นพบโครงสร้างของอนุภาคแม่เหล็ก ทำาให้การออกแบบ
เนื้อเทปมีความทนทานความร้อนได้สูง ทนต่อการขูดขีด ป้องกัน
สนิม คุณภาพของเสียงและสีมีคุณภาพสูงแม้ว่าจะผ่านการใช้งาน
มาเป็นจำานวนมากๆ มีระบบป้องกันสิ่งสกปรกและเชื้อรา มักใช้กับ
งานด้ารการผลิตข่าวสารและละครภาพยนตร์
นอกจากนั้นยังมีเทปขนาด 8 มม. และ Hi 8 มม. ซึ่งมีขนาด
เท่ากับเทปบันทึกเสียงแบบตลับ ซึ่งเวลาเล่นต้องต่อจากกล้องที่
ถ่ายทำาทีต
่ ่อกับโทรทัศน์โดยตรง
เรียงจากบนมาล่าง : แบบ Betamax แบบ VHS แบบ

U-matic
แบบ VHS-C

แบบ Batacam

(Videocartridge) เป็นเทปวิดิทัศน์ขนาด 1
นิ้ว ภายในกล่องจะมีวงล้อป้อนและรับเทปวิดิทัศน์ซ้อนกัน
สามารถเล่นซำ้าไปซำ้ามาได้ ไม่นิยมใช้ตามบ้านแต่นิยม สำาหรับการ
โฆษณา
...แบบกล่อง(Videocartridge) : หน้าและหลัง
แผ่นวิดิทัศน์มีลักษณะคล้ายแผ่นเสียงบันทึกสัญญาณในรูปของ
อนาล็อกและพัฒนามาเป็นดิจิทล ั ในภายหลังอ่านข้อมูลผ่านแสง
เลเซอร์ แบ่งได้ 2 ระบบ คือ
1. แผ่นวิดิทัศน์แบบใช้เข็ม
2. แผ่นวิดิทัศน์แบบระบบเลเซอร์

1.เมือ ่ ทำาการบันทึกแล้วสามารถจะเปิดชมได้ทันที การบันทึก และ


การเปิดชมก็ทำาได้ง่าย ไม่จำาเป็นต้องมีความรู้ทางเทคนิคมากนัก
เมือ่ เปรียบเทียบกับสื่ออื่น เช่นภาพยนตร์ เมื่อถ่ายทำาแล้วจะต้อง
ดำาเนินการล้างฟิลม ์ ก่อน จึงจะนำามาชมได้ ผู้ถ่ายและผู้ฉาย
ภาพยนตร์ต้องมีความรู้เชิงเทคนิคที่ฝึกฝนมาโดยเฉพาะ มีความ
สามารถแก้ไขสถานการณ์ขณะทีท ่ ำาการฉายภาพยนตร์ได้ดี เพราะ
ระบบกลศาสตร์ของการเคลื่อนที่ของฟิลม ์ ภาพยนตร์ซึ่งโดยทั่วไปใช้
ระบบล้อฟิลม ์ และหนามเตยเมื่อเปรียบเทียบกับเทปวิดิทัศน์ซึ่งใช้
ระบบลูกกลิ้งจะแตกต่างกันอย่างมากโดยการเคลื่อนที่ของเทปวิดิ
ทัศน์สะดวกกว่าและใช้ได้งา่ ยกว่า
2.ในการผลิตรายการ สามารถใช้เทคนิคต่างๆประสมสือ ่ หลายๆ
ประเภทเพื่อเสนอเรือ ่ งราวตามวัตถุประสงค์ทก ี่ ำาหนดไว้ การผลิต
วิดิทัศน์แบบโฮมวิดิโอ (Home Video) ซึ่งส่วนมากเป็นระบบ VHS
หรือ Video-8 ยังทำาได้สะดวกและราคาถูกกว่าภาพยนตร์มาก รวม
ทั้งการผลิตรายการทางการค้าเมือ ่ เทียบกับรายการภาพยนตร์ทม ี่ ี
นาดความยาวของการเสนอในเวลาเท่ากันทั้งนี้เพราะอุปกรณ์ของ
ระบบภาพยนตร์และฟิล์มภาพยนตร์แพงกว่าระบบวิดิทัศน์
3.สามารถเอาชนะข้อจำากัดเกี่ยวกับระยะทาง เวลา เกีย ่ วกับ
เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นช่วยทำาให้เข้าถึงผูช้ มได้งา่ ยทำานองเดียวกับ
จอภาพยนตร์ เพราะสะดวกต่อการพกพาหรือค้นย้ายไปยังสถานที่
อื่นๆและไม่ลำาบากในการจัดหามาชม หรือจะเป็นส่วนในการผลิต
เพราะเทปวิดิทัศน์สามารถนำาไปถ่ายในสถานที่ตา่ งๆกันได้และนำา
มาตัดต่อภายหลัง
4.รวมเอาประโยชน์ของโทรทัศน์เพื่อการศึกษาและการเรียนการ
สอนเอาไว้ทั้งหมด ในปัจจุบันมีการใช้วิดิทัศน์ในการเรียนการ
สอนตั้งแต่อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา
เนื่องจากกกระบวนการใช้วิดิทัศน์ สะดวก ประหยัด และได้ผลดี
กว่าสื่ออื่นๆในการถ่ายทอดความรู้ทัศนคติ และเพื่อการเปลีย ่ นแห
ลงพฤติกรรมบุคคลหรือมวลชน นอกจากจะมีการใช้วิดิทัศน์ใน
ระบบโรงเรียนแล้ว การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาระบบ
ทางไกลยังนำาวิดิทัศน์มาใช้ในการศึกษาอย่างได้ผลดี ทัง้ ยังช่วยให้
มีความเสมอภาคทางการศึกษา
5.ช่วยในการปรับปรุงการเรียนการสอน เช่น ปรับปรุงเทคนิคการ
สอนของครูประจำาการและครูฝึกสอนในการสอนแบบจุลภาค
(Micro teaching) บันทึกผลการปฏิบัติหรือกกิจกรรมการเรียนการ
สอน หรือบันทึกรายการสอนหรือรายการโทรทัศน์มาให้ผู้เรียนได้
ศึกษาและอภิปราย และจะเปิดซำ้าอีกกี่ครั้งก็ได้
6.การเล่นเทปวิดิทัศน์ไม่ต้องใช้ห้องมืดเหมือนภาพยนตร์ ยกเว้น
การเล่นโดยใช้เครื่อง video projector ซึ่งฉายไปบนจอขนาดใหญ่
อาจต้องใช้ห้องมืดพอสมควร
7.สามารถปรับปรุงรายการที่บันทึกให้ทันสมัยขึ้นได้
8.เครือ
่ งเล่นเทปวิดิทัศน์สามารถทำาการตั้งเวลาอัดล่วงหน้าได้นาน
ถึง 14 วัน

1.การผลิตรายการต้องการผู้ร่วมงานที่มีทักษะเฉพาะด้านจำานวน
มาก
2.ชุดอุปกรณ์ราคาค่อนข้างแพง
3.จอแสดงภาพเล็กกว่าจอภาพยนตร์/ฉากสไลด์มาก ถ้าต้องการใช้
กับผู้ชมจำานวนมากจะต้องเพิ่มจอภาพหรือใช้ Video projector ฉาย
บนจอขนาดใหญ่
4.เนื่องจากวิดิทัศน์บันทึกระบบแม่เหล็ก โอกาสของการเก็บภาพ
ให้คงทนถาวรตลอดไปจึงไม่ดีเท่าภาพยนตร์ เพราะสาเหตุหลาย
ประการ เช่น สนามแม่เหล็กโลกรบกวนสัญญาณ การเก็บวิดิ
ทัศน์โดยไม่มีการป้องกันสนามแม่เหล็กภายนอก ดังนั้น การนำาวิดิ
ทัศน์ที่บันทึกแล้วเป็นเวลานานๆหลายปีมาเปิดจึงได้ภาพที่ไม่
ชัดเจนเท่าที่ควร นอกจากนั้นเมื่อเก็บเทปวิดิทัศน์ไว้นานๆ ในทีม ่ ี
อากาศชื้นและอุณหภูมิสูง เนือ ้ วัสดุเทปวิดิทัศน์อาจยึดหรือติดกัน
ในม้วน ทำาให้ภาพที่ปรากฏบนจอล้มหรือเป็นเส้นตลอดเวลา เมื่อ
เปรียบเทียบการเก็บวิดิทัศน์กับภาพยนตร์ วิดิทัศน์ต้องการความ
ระมัดระวังโดยเฉพาะเรื่องอุณหภูมิ ความชื้นสูงกว่าภาพยนตร์
1.เป็นเครื่องช่วยในการเรียนการสอน เกี่ยวพันกับเนื้อหาใน
หลักสูตรเป็นวิทยาการแก่บทเรียนเพียงใด
2.การแสดงสาธิตต่างๆนั้นทำาได้ดห ี รือไม่
3.รายการกระตุ้นความสนใจ การแสดงมีการแปรเปลี่ยน
(Variety) ที่นา่ สนใจเพียงใด
4.ครอบคลุมเนื้อหาหรือหลักความดีๆได้ทั่วถึงเพียงใด
5.มีการนำาเสนอประสบการณ์ ความรู้หรือทักษะหรือวิธีซึ่งครูไม่
สามารถจะจัดให้ได้มาแสดงหรือไม่
6.กระตุ้นให้ผู้ชมใฝ่ใจในการค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม หรือปลูกฝัง
ทักษะใหม่ๆ หรือไม่
7.นอกจากคุณภาพและเสียง เนื้อหารายการแล้ว ในการจัดหา
และเลือกซื้อเทปวิดิทัศน์ควรพิจารณาว่า สามารถใช้เทปบันทึกกับ
เครือ
่ งเล่นทีม
่ ีอยู่ได้หรือไม่ มีประโยชน์ในศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เพียงใด และถ้าเป็นเทปบันทึกราการจากโทรทัศน์ ควรตรวจสอบ
ให้แน่ใจว่าเรือ
่ งนั้นมีเนื้อหาครบถ้วน

1.ระวังอย่าเอาของแข็งไปกระทบหัวเทปเด็ดขาด
2 เก็บเครื่องและเทปวิดิทัศน์ในที่ที่ไม่มีฝุ่น มิฉะนั้น จะชำารุด
ง่ายและเสียหายเร็วกว่ากำาหนด
3.ควรเก็บเทปในห้องควบคุมอุณหภูมิซึ่งปกติประมาณ 75
องศาฟาเรนไฮท์และห้องไม่มีความชื้นสูง เทปที่เก็บไว้ในที่ที่มี
อากาศชื้นและอุณหภูมิสูงเกินไปจะทำาให้เทปติด ขณะเปิดเทป
ภาพจะโยกหรือล้ม
4.เก็บให้อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด เช่น ไม่เก็บไว้ใกล้สนามแม่เหล็ก
กรอเทปกลับให้อยู่ต้นม้วนพร้อมที่จะใช้ได้ทันที ให้ตลับเทปอยู่
ในกล่องด้านเดียวกัน ไม่พลิกกลับคนละด้านเมือ ่ เก็บหรือนำา
ออกมาใช้
5.อย่าจับเทปด้านบันทึกด้วยนิ้วมือเป็นอันขาด หากต้องใช้ม้วน
ด้วยมือต้องระมัดระวังให้ไม่ให้มีฝุ่นหรือเกิดรอยย่นขึ้นในม้วน
เทปได้ และขณะใส่เทปม้วนเข้าเครื่องอย่าดึงเส้นเทปแรงๆ
6.หลีกเลี่ยงการใช้เทปในที่ซึ่งมีความร้อนและควาชื้นสูง
7.ก่อนใส่เทปวิดิทัศน์ในเครือ่ งเล่น/บันทึกภาพ ควรแน่ใจว่าหัว
เทปและส่วนที่เทปผ่านสะอาด เพื่อป้องกันไม่ให้เทปได้รับฝุ่น
ละออง และสิ่งสกปรกอื่นๆ
8.ไม่ควรตัดต่อเทปวิดิทัศน์โดยไม่จำาเป็น ด้านมันของเทปเป็น
ด้านทีเ่ คลือบสารแม่เหล็กถ้าจะตัดต่อเทปต้องตัดต่อด้านบนของ
เทป
9.เก็บเทปวิดิทัศน์เข้ากล่องให้เรียบร้อย หลังการใช้งานทุกครั้ง

You might also like