Chapter 3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย

นิยามศักยไฟฟาจะเริ่มตนจาก "งาน" โดยใหประจุขนาด q0


K
วางอยูในสนามไฟฟา E ขนาดและทิศทางไมจําเปนตองคงที่
K
จะเกิดแรงทางไฟฟา F กระทําบนประจุ q0 ขนาดของแรงคือ
K K
F = q0 E ผลของแรงทําให q0 เคลื่อนที่ดวยความเรงใน
ทิศทางของสนามไฟฟา
ศักยไฟฟาคือ พลังงานศักยไฟฟาตอหนึ่งหนวยประจุ
U
V= เปนปริมาณสเกลาร
q

G
ตองการหางานที่ใชในการเคลื่อนประจุจาก i ไปยัง f แบงเสนทางการเคลื่อนที่ออกเปนสวนเล็ก ๆ ขนาด ds
งานปริมาณเล็กๆที่เกิดขึ้นบนเสนทางนี้ คือ dW จะได
G G
dW = แรงคูณกับการขจัดในแนวแรง dW = F .ds
K K G G G
จากแรง F = q0 E ได dW = q0 E.ds
G G
ดังนั้นงานทั้งหมดที่ใชในการเคลื่อนประจุจาก iไปยัง f คือ Wif = −q0 ΔV = − q0 (V f − Vi ) = q0 ∫i E.ds
f

นิยามความตางศักยไฟฟาที่จุด i เทียบกับจุด f คืองานที่ทําในการเคลื่อนประจุบวก 1 หนวยจาก iไปยัง f


W f G G
ΔV = V f − Vi = = − ∫ E.ds J/C หรือ V
− q0 i

f G G
เราเรียกจุด A วาจุดอางอิง ถาเลื่อน i ไปไวไกล ๆ ( i→ ∞) สมการจะกลายเปน V = − ∫∞ E.ds

ความตางศักยไฟฟาในสนามไฟฟาที่มีคาสม่ําเสมอ
รูป (ก) เมื่อสนามไฟฟาชี้ลงจุด B (ศักยไฟฟา
ต่ํา) ซึ่งอยูต่ํากวาจุด A (ศักยไฟฟาสูง) ประจุ
ทดสอบเคลื่อนที่ลงมาจาก A มายัง B จะทําให
สูญเสียพลังงานศักยไฟฟา
ΔU = q0 ΔV = − q0 Ed
เครื่องหมายลบแสดงวาจุด B อยูต่ํากวา จุด A
หรือ VB < VA สนามไฟฟาจะมีทิศชี้ไปใน
แนวที่คาความตางศักยมีคานอยลงเสมอ
รูป (ข) มวล m เคลื่อนที่ลงมาจะมีการสูญเสีย
NOTE q0 เปนประจุบวก คา ΔU จะมีคาเปนลบ นั่นคือสนามไฟฟา พลังงานศักยโนมถวง ΔU = −mgd
เปนฝายทําใหเกิดงานเมื่อเคลื่อนประจุบวกไปในทิศเดียวกันกับทิศของ
สนามไฟฟา
สวน q0 เปนประจุลบ คา ΔU จะมีคาเปนบวก นั่นคือประจุลบที่
เคลื่อนที่ในทิศเดียวกับทิศของสนามไฟฟาจะไดรับพลังงานศักยเพิ่มขึ้น

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 1
รูป สนามไฟฟาสม่ําเสมอชี้ในแกน +x จุด B มีศักยไฟฟา
ต่ํากวาที่จุด B และ C มีศักยไฟฟาเทากัน
B
G G GB G GG
ΔV = − ∫ E.ds = − E.∫ ds = − E.s
A A

และมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยคือ
GG
ΔU = q0 ΔV = − q0 E.s

จากรูป ผิวสมศักยกับสนามไฟฟา (a) สนามที่เกิดสม่ําเสมอจากจุดประจุ (b) เกิดจากแผนประจุ (c) ไดโพลารไฟฟา

นิยามผิวสมศักย (equipotential surface ) บนผิวนี้จุดทุก ๆ จุด จะมีศักยไฟฟาเทากัน

Homework ปลอยโปรตรอนจากหยุดนิ่งในสนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาด 8.0 ×104 V/m มีทิศ +x ดัง


รูป โปรตรอนมีการขจัด 0.5 m ในทิศของสนาม (ก) หาการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยระหวางจุด A และ B (ข)
หาการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยไฟฟาที่เกิดขึ้น

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 2
ตัวอยางการหาศักยไฟฟา การหาความตางศักยไฟฟาที่จุด B เทียบกับจุด A ในสนามไฟฟา E
K
1. ศักยไฟฟาของประจุจุด ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่ประจุขนาด q สวนกับทิศสนามไฟฟา หาไดจาก
B
VBA = VB − VA = − ∫ E cos θ d A
A

ในที่นี้ E = kq / r 2
เมื่อแตก dA ไปในทิศทางของสนาม พบวา d A cos θ = dr
rB
kq
แทนคาลงไปในสมการจะได VB − VA = − ∫ 2
1 1
dr = kq( − )
rA
r rB rA
ถา rA อยูหางเปนระยะ ∞ VA = 0
kq
ดังนั้น VB =
rB
kq
เขียนอยูในรูปทั่วไป V =
r

EX ประจุ q1 , q2 , q3 และ q4 วางอยูที่มุมทั้งสี่ของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสมีดานแตละดานยาว d จงหา


ศักยไฟฟาที่จดุ P ซึ่งเปนจุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสนี้ ให q1 = +12 nC, q2 = -24 nC ,
q3 = +31 nC และ q4 = +17 nC d = 1.3 m

2d
Soln เพราะวาประจุทุกตัวอยูหางจากจุด P เปนระยะเทากันคือ r = = 0.919 m
2
1 q1 + q2 + q3 + q4
ศักยไฟฟารวมที่จุด P คือ V =
4πε 0 r

(9 ×109 N ⋅ m 2 / C2 )((12 − 24 + 31 + 17) ×10−9 C)


=
0.919

= 350 V

เสนประที่เสดงไวในรูปทางขวามือนั้น แสดงใหเห็นระนาบของผิวสมศักย ทุก ๆ จุดบนระนาบนี้จะมีคา


ศักยไฟฟาเทากับจุด P
บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 3
2. ศักยของขั้วคูไฟฟา
ขั้วคูไฟฟา คือ ประจุไฟฟาสองประจุตางชนิดกันขนาดเทากันวางหางกันเปน
ระยะใกลมากๆ เมื่อเทียบกับจุดที่จะหาศักยไฟฟา ให V+ เปนศักยไฟฟาที่เกิด
จากประจุ +q
(ที่ระยะ r(+) ) และให V− เปนศักยไฟฟาที่เกิดจากประจุ –q (ที่ระยะ r(-) )
เราจะไดศักยไฟฟาสุทธิ ที่จุด P
2
1 ⎛ q −q ⎞
V = ∑ Vi = V( + ) + V( − ) = ⎜ + ⎟
i =1 4πε 0 ⎜⎝ r( + ) r( − ) ⎟⎠
q r( − ) − r( + )
V=
4πε 0 r( − ) r( + )
ถา r  d เมื่อ d ระยะหางระหวาง 2 ประจุ จะประมาณคาไดดังนี้
r( − ) − r( + ) ≈ d cos θ และ r( − ) r( + ) ≈ r 2
เราจะไดคาโดยประมาณของ V คือ
q d cos θ
V=
4πε 0 r 2
NOTE ศักยไฟฟาของขั้วคูไฟฟาจะแปรผกผันกับ r 2 ศักยไฟฟาของจุดประจุ
จะแปรผกผันกับ r ศักยไฟฟาของขั้วคูไฟฟายังขึ้นอยูกับมุม θ
1 P cos θ
V= เมื่อ ปริมาณ qd นี้เรียกวา โมเมนตขั้วคูไฟฟา (electric
4πε 0 r 2
K
dipole moment) p เปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้นเขียนสมการศักยของไดโพล
ที่ตําแหนงหางออกไป r มีคาไดเปน
G
P.rˆ
V=
4πε 0

EX ประจุอยูที่มุมของสามเหลี่ยมดานเทามีความยาวดานละ d กําหนดให q1 = + q , q2 = −4q ,


q3 = +2q , d = 12 cm โดยที่ q = 150 nC จงหาพลังงานศักยทางไฟฟาของระบบประจุนี้

Soln การหาพลังงานศักยของระบบเริ่มตนดวย การคิดวาใหประจุ


q1 วางอยูที่ตําแหนงมุมซายของสามเหลี่ยม ประจุ q2 ถูกเคลื่อนที่
จากตําแหนงอนันต มาวางที่ตําแหนงมุมบนของสามเหลี่ยม
พลังงานที่ใชในการเคลื่อนประจุ q2 มาวางไวตําแหนงนี้คือ
1 q1q2
U12 =
4πε 0 d

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 4
จากนั้นนําประจุ q3 เคลื่อนที่จากระยะอนันตมาวางไวที่ตําแหนง มุมลางซายของสามเหลี่ยม โดยฝา
สนามไฟฟาที่เกิดจาก q1 และ q2 ศักยไฟฟา ที่เกิดจาก q1 ณ ที่ ตําแหนง q3 อยู คือ V1 ศักยไฟฟา ที่เกิด
จาก q2 ณ ที่ ตําแหนง q3 อยู คือ V2 พลังงานศักยทางไฟฟาที่เกิดขึ้นบน q3 คือ
1 q1q3 1q2 q3
U13 = และ U 23 =
4πε 0 d 4πε 0 d
พลังงานศักยทั้งหมดของระบบ (U) คือผลรวมของพลังงานศักยที่เกิดขึ้นที่ประจุแตละตัว (ไมวาเรา
จะลําดับการวางประจุอยางไร ผลรวมนี้จะเทากันเสมอ)
1 q1q2 q1q3 q2 q3
U = U12 + U13 + U 23 = ( + + )
4πε 0 d d d

2
1 q (−4q) q(2q ) (−4q)(2q ) 1 10q
U = ( + + ) =
4πε 0 d d d 4πε 0 d
แทนคา q และ d จะได
U = −1.7 × 10 −2 J
พลังงานศักยมีคาติดลบหมายถึงเราตองใหงาน หรือใชแรงภายนอกในการเคลื่อนประจุจากหยุดนิ่ง
จากระยะอนันตมาวางไวที่ตําแหนงตาง ๆ ของสามเหลี่ยม หรือถาจะใหประจุกระจัดกระจายจากรูปสามเหลี่ยม
นี้ ระบบจะตองคายพลังงานออกมาเทากับ +1.7 × 10−2 J

3. ศักยไฟฟาของประจุตอเนือ่ ง

ถาการกระจายของประจุมีลักษณะตอเนื่องไมสามารถจําแนก
เปนจุดประจุได การหาศักยไฟฟาในกรณีนี้ทําไดโดยแบง
ประจุออกเปนสวนยอย ๆ ศักยไฟฟายอย ๆ (dV) อันเกิดจาก
ประจุขนาดเล็ก ๆ (dq) มีคาเปน
dq
dV =
4πε 0 r
สวนศักยไฟฟาที่เกิดจากประจุทั้งกอนทําไดโดยอินทิเกรต dV
1 dq
ทุก ๆ คาของ q V =
4πε 0 ∫
q
r

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 5
ความสัมพันธระหวางสนามไฟฟากับศักยไฟฟา
G G
จากนิยามของศักยไฟฟาทําใหไดสมการ V = − ∫ E ⋅ dr จัดรูปใหมใหอยูในรูปสมการดิฟเฟอเรนเชียล จะได
G G
dV = − E ⋅ dr = − Ex dx − E y dy − Ez dz
เพราะวา V เปนฟงกชันที่ขึ้นอยูกับการขจัด ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดของ V คือ
∂V ∂V ∂V
dV = dx + dy + dz
∂x ∂y ∂z
เมื่อเทียบสัมประสิทธิ์ จะได
∂V ⎫
Ex = − ⎪
∂x ⎪
∂V ⎪
Ey = − ⎬
∂y ⎪
∂V ⎪
Ez = − ⎪
∂z ⎭
K K
หรือเขียนสั้น ๆวา E = −∇V

Homework
1. ถาศักยไฟฟามีคาตามสมการ V = 3x + 2 y 2 − z 3 จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่จุด P (3,1,2) เมตร

2.ประจุกระจายเปนรูปวงแหวนรัศมี a มีความหนาแนนประจุเทากับ λ C/m วางอยูในระนาบ xy มีจดุ


ศูนยกลางของวงแหวนอยูที่จุดกําเนิด จงหาศักยไฟฟาที่จุดใด ๆ บนแกน z
z
P

z r = z 2 + a2

a
dA

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 6
ความจุไฟฟาและสารไดอิเล็กตริก

นิยามของความจุไฟฟา
เมื่อนําตัวนําไฟฟารูปทรงใด ๆ 2 ชิ้นวางอยู
ในสุญญากาศ หรือตัวกลางที่เปนฉนวน ใส
ประจุลงบนตัวนําทั้งสอง โดยใหตัวนําชิ้น
หนึ่งเปนประจุบวก อีกชิ้นหนึ่งเปนประจุลบ
ขนาดประจุเทากัน ประจุสุทธิบนตัวนําทั้ง
สองมีคาเปนศูนย เราเรียกตัวนําทั้งสองนี้วา
เปน ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
Q = CV

ตัวเก็บประจุประกอบดวยตัวนําแบบแผน 2 ชิ้น วางไวหาง ๆ กัน ตรง


ชองวางระหวางตัวนําอาจเปนสุญญากาศหรือสารไดอิเล็กตริก ตัวนําแต
ละชิ้นเรียกวาอิเล็กโตรด (electrode )
ในวงจรไฟฟา จะใชสัญลักษณ แทนตัวเก็บประจุที่มี
คาคงที่ และ สําหรับตัวเก็บประจุที่สามารถปรับคาได เราใชตัวเก็บ
ประจุในวงจรกรองกระแส เพื่อใหกระแสตรงที่ไมสม่ําเสมอ เปนกระแส
ตรงที่เรียบ C = Q
V

รูป สัญลักษณตางๆ ของอุปกรณ

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 7
การตอตัวเก็บประจุ
การตอแบบขนาน
q1 = C1V q2 = C2V

Q = q1 + q2

Q = CeqV

Q = V ( C1 + C2 )

Ceq = C1 + C2

การตอแบบอนุกรม
V = V1 + V2
Q q q
= 1+ 2
Ceq C1 C2

1 1 1
= +
Ceq C1 C2

พลังงานศักยไฟฟาที่สะสมในตัวเก็บประจุ
จากรูปเมื่อตอตัวเก็บประจุเขากับเซลลไฟฟาพลังงานเคมีในเซลลไฟฟาทํา
ใหประจุไปสะสมที่แผนของตัวเก็บประจุ เรียกวาเปนการใหประจุไฟฟา
(charge) แกตัวเก็บประจุ พลังงานเคมีที่เปลี่ยนไปจะกลายเปนพลังงาน
ศักยทางไฟฟาสะสมไวบนตัวเก็บประจุ พลังงานนี้จะถูกปลอยออกมา
ขณะที่ตัวเก็บประจุคายประจุ (discharge)
การใหประจุ dq จากแผนที่มีประจุ-q ไปยังแผนที่มีประจุ+q คือ
q
dW = Vdq = dq
C
ดังนั้นงานทั้งหมดที่ใชในการใหประจุจาก q =0 จนมีประจุ q=Q คือ
Q
1 Q2
W = ∫ qdq =
C0 2C
งานในการใหประจุสะสมอยูในตัวเก็บประจุ= พลังงานศักยที่ตัวเก็บประจุ
Q2 1 1
สะสมไว ดังนั้น W = U = = QV = CV 2
2C 2 2

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 8
สรุปคาความจุของตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุแบบแผนคูขนาน (Parallel-plate capacitor)
Q
ความหนาแนนของประจุ σ =
A
σ Q
สนามไฟฟาระหวางแผนขนาน E = =
ε 0 Aε 0
Qd
ความตางศักยไฟฟาระหวางแผนคูขนาน V = Ed =
Aε 0
ε0 A Q
จะไดวาความจุไฟฟา C= =
d V

ตัวเก็บประจุแบบทรงกระบอก (Cylindrical capacitor)


จากกฎของเกาส ประจุ q = ε 0 EA = ε 0 E ( 2π rL )
Q
จะไดสนามไฟฟาของตัวนําทรงกระบอก E =
2πε 0 Lr
ความตางศักยไฟฟาระหวางทรงกระบอก
G G b
Vb − Va = − ∫ E.ds
a

( ds = −dr เนื่องจากรัศมีมีทิศพุงเขาภายใน)
⎛b⎞
b
q dr q
2πε L ∫
Vb − Va = = ln ⎜ ⎟
0 a
r 2πε 0 L ⎝ a ⎠
Q L
ดังนั้นความจุไฟฟา C = = 2πε 0
V ln b ( a)

ตัวเก็บประจุแบบทรงกลม (Spherical capacitor)


จากกฎของเกาส ประจุ q = ε 0 EA = ε 0 E ( 4π r 2 )
Q
จะไดสนามไฟฟาของตัวนําทรงกลม E =
4πε 0 r 2
b
G G
Vb − Va = − ∫ E.ds ( ds = −dr เนื่องจากรัศมีมีทิศพุงเขาภายใน)
a
b b b
dr Q Q 1
Vba = ∫ Edr = ∫ =
4πε 0 a r 4πε 0 r a
2
a

Q ⎡1 1 ⎤
Vba = −
4πε 0 ⎢⎣ b a ⎥⎦

Q ab
ดังนั้นความจุไฟฟา C = = 4πε 0
V b−a
บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 9
ตัวเก็บประจุเมื่อมีสารไดอิเล็กตริก

สารไดอิเล็กตริก (dielectric) คือ วัสดุจําพวกฉนวนที่ใส


ไวระหวางแผนตัวนําของตัวเก็บประจุ เชน ยาง แกวหรือ
แผนกระดาษซึ่งจะทําใหความจุ(capacitance)ของตัว
เก็บประจุเพิ่มขึ้น
คาความจุของตัวเก็บประจุแผนขนานเมื่อมีสาร
ε0 A
ไดอิเล็กตริก C = κ
d
ขอดีเมื่อใสสารไดอิเล็กตริกลงไป
1. เพิ่มคาความจุของตัวเก็บประจุ
ให κ เปนคาคงที่ไดอิเล็กตริก (dielectric constant) 2. เพิ่มคาแรงดันทํางานของตัวเก็บประจุ
κ = C / C0 มีคามากกวา 1 เสมอ 3. เปนตัวเชื่อมแผนขนานไวดวยกัน
เมื่อ C0 เปนความจุไฟฟาของตัวเก็บประจุแบบสุญญากาศ
C เปนความจุไฟฟาของตัวเก็บประจุเมื่อมีสารไดอิเล็กตริก

ตารางตัวอยางคาคงที่ของสารไดอิเล็กตริก ที่ 20D C


สาร คาคงที่ไดอิเล็กตริก สาร คาคงที่ไดอิเล็กตริก
สุญญากาศ 1 เทฟลอน 2.1
แกว 5-10 เยอรมาเนียม 16
ไมกา 3-6 น้ําบริสุทธิ์ 80.4
ไมลาร 3.1 กลีเซอรีน 42.5
นีโอพรีน(Neoprene) 6.7 เบนซิน 2.284
โพลีเอธิลีน 2.25 แอมโมเนียเหลว(-78 0C) 25
โพลีวินีลคลอไรด 3.18 อากาศ (1 บรรยากาศ) 1.0059

โดยปกติสารไดอิเล็กตริกเปนกลางทางไฟฟา เมื่อใสสาร
ไดอิเล็กตริกเขาไปในระหวางแผนขนานของตัวเก็บประจุ
สนามไฟฟาที่ผานในเนื้อสารจะทําใหเกิดไดโพล ตามรูป
ไดโพลพยายามจะเรียงตัวในแนวเดียวกับทิศของสนาม แต
การเรียงตัวจะไมเปนระเบียบทั้งเนื้อสาร เพราะมีผลของ
การสั่นสะเทือนของโมเลกุลเขามารบกวน ทําให
สนามไฟฟาที่เกิดจากไดโพลมีคานอยกวาสนามไฟฟา
ภายนอกเสมอ

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 10
Example ตัวเก็บประจุแผนขนานมีความจุ C0 เมื่อไมมไี ดอิเล็กตริก ถาใสไดอิเล็กตริกที่หนา
d/3 เขาไปดังรูป คาความจุจะเปนเทาไร

เมื่อใสสารไดอิเล็กตริกที่ระหวางแผนขนานของตัวเก็บประจุ สารไดอิเล็กตริกจะทําใหตัวเก็บประจุเสมือน
กลายเปนตัวเก็บประจุ 2 ตัวตออนุกรมกันดังรูป ข)
κε 0 A
ความจุไฟฟาของตัวเก็บประจุตัวที่ 1 C1 =
d /3
ε0 A
ความจุไฟฟาของตัวเก็บประจุตัวที่ 2 C2 =
2d / 3
ความจุไฟฟารวมของตัวเก็บประจุ คือ
1 1 1 d / 3 2d / 3
= + = +
C C1 C2 κε 0 A ε 0 A
3κ ε0 A
C = ( ) F
2κ +1 d

Homework
1. ใหหาศักยไฟฟาตามแกนของจานรัศมี a ที่มีประจุกระจายอยางสม่ําเสมอดวนความหนาแนน σ
ดังรูป

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 11
2.ประจุ 2.00 μC อยูที่จุดเริ่มตน ประจุทสี่ องขนาน 6.00μC อยูที่ตําแหนง (0,3.00) m แสดงดัง
รูป (ก) ใหหาศักยไฟฟาทั้งหมดที่จดุ P อยูที่ (4.00, 0) m (ข) ตองใชงานเทาใดในการนําประจุ
3.00 μC จากระยะอนันตมายังตําแหนง (3.00, 0) m

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 12
3.ตัวเก็บประจุแบบทรงกระบอก มีคาความจุตอหนวยความยาวเปน 31.4 μ F/m
ก ) จงหาอัตราสวนของรัศมีของตัวนํานอกตอตัวใน (b /a)
ข) ถาความตางศักยระหวางตัวนําทั้งสองเปน 2.4 V จงหาขนาดของประจุตอหนวยความยาวบน
ตัวนํา

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 13
ตัวอยางขอสอบ

บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 14
บทที่ 3 ศักยไฟฟาและพลังงานศักย 15

You might also like