บทที่ 3 ศักย์ไฟฟ้าและพลังงานศักย์

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 22

บทที่ 3 ศักย์ไฟฟ้าและพลังงานศักย์

3-1 ศักย์ไฟฟ้า
ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด คือ
ผลต่างของพลังงานศักย์ไฟฟ้าที่จุดทั้งสองต่อหนึ่งหน่วยประจุ

∆U
∆V =
q0
3-1 ศักย์ไฟฟ้า (เนื่องจากสนามไฟฟ้า)
พลังงานศักย์ไฟฟ้า
B คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุจาก จุด
A ไปยังจุด B
dW  Fds  qEdl
r
A E r rB
W   q0  E dl
A
3-1 ศักย์ไฟฟ้า (เนื่องจากสนามไฟฟ้า)
B ความต่างศักย์ไฟฟ้า
คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุบวก
ขนาดหนึง่ หน่วยจากจุด A
r ไปยังจุด B W  q0 B r r
A E VB  VA 
q0

q0  E dl
A

r r
B

ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด A กับจุด B VB  VA    E dl


A

(รูปทั่วไป)
3-1 ศักย์ไฟฟ้า (เนื่องจากสนามไฟฟ้า)
ศักย์ที่จุดใดๆ
B
r นต์rมายังจุดนั้น
คืองานในการเลื่อนประจุบวกขนาดหนึV่งหน่วVยจากระยะอนั
B A 
  E dl
A

r r
A

A r VA  V    E dl
E 
0
r r
A
VA    E dl (ศักย์ไฟฟ้าที่จุด A)

3-1 ศักย์ไฟฟ้า (เนื่องจากสนามไฟฟ้า)
r กรณีที่สนามไฟฟ้าสมำ่าเสมอ
E VB  VA   Ed
B A
ติดลบแสดงว่า ศักย์ที่ B น้อยกว่าที่ A
d
สนามไฟฟ้าจะชี้ไปทางด้านที่มศี ักย์น้อยลงเสมอ
B
r r
VB  VA    E dl
A
3-1 ศักย์ไฟฟ้า (เนื่องจากสนามไฟฟ้า)
สนามไฟฟ้าจะชี้ไปทางด้านที่มศี ักย์น้อยลงเสมอ


1  1
2 2 

1 มีศักย์น้อยกว่า 2 2 มีศักย์น้อยกว่า 1

ระนาบที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันเรียกว่า “ผิวสมศักย์”
ตัวอย่าง 3-1 แบตเตอรีข่ นาด 12 V ต่อกับแผ่นตัวนำาที่วางขนานกัน
ระยะห่าง 0.3 cm
ให้ถือว่าสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ระหว่างแผ่นขนานมีความสมำ่าเสมอ
จงหาค่าสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นขนานนี้
 d
V  Ed
r V
E 
12 V
E d 0.3  102 m
 E  4  10 N / C 3

V  12V Ans
3-2-1 ศักย์ไฟฟ้า (เนือ่ งจากจุดประจุ)

ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด A กับจุดอนันต์
A
r r
VA  V    E dl
dr 
A
0 kq
Z
VA  V    2 dr
r
rA 
A
dr
A
VA  kq  2   kq  r 2 dr

r 
A
 1
 kq  
 r 
 1 1 0
 kq 
Z
 
 rA r 
3-2-1 ศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ

kq
ศักย์ไฟฟ้าที่จุด A V
r
dr
เมื่อ V ศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ
rA
k ค่าคงที่
q ประจุต้นกำาเนิดสนามไฟฟ้า
r ระยะห่างจากจุดประจุ
ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์
ตัวอย่างเสริม : ให้ประจุที่มีขนาด -6.00 ไมโครคูลอมบ์
และห่างจากประจุที่มีขนาด 2.00 ไมโครคูลอมบ์ 3.00 เมตร จุด P
ห่างจากประจุที่หนึ่ง 4.00 เมตร จงคำานวณศักย์ไฟฟ้าที่ตำาแหน่ง P
ศักย์ไฟฟ้าที่จุด P เกิดจากประจุ 2 และ -6 ไมโครคูลอมบ์
6 C kq1 kq2
VP  
r1 r2
q1 q2 2  10 6
6  10 6
3m 5m VP  k (  )  9 109 (  )
r1 r2 4 5

 6.3 103 V

2 C 4m P
Ans
ตัวอย่าง 3-2 ประจุ q1, q2, q3 และ q4
วางอยู่ที่มุมทั้งสี่ของสี่เหลีย่ มจตุรัสมีด้านแต่ละด้านยาว d
จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด P ซี่งเป็qน1จุดกึง่ 12
กลางของสี
nC , q่เ2หลีย่ มจั24
ตุรnC
ัสนี้ , กำาหนดให้
q3  31 nC , q4  17 nC , d  1.3 m

q1 q2
d d  r2  r2

P  2r
d  d d 1.3
r 
r r 2 2
r  0.919
d
q3 q4
ตัวอย่าง 3-2 ประจุ q1, q2, q3 และ q4
วางอยู่ที่มุมทั้งสี่ของสี่เหลีย่ มจตุรัสมีด้านแต่ละด้านยาว d
จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด P ซี่งเป็qน1จุดกึง่ 12 nC , q่เ2หลีย่ มจั24
กลางของสี ตุรnC
ัสนี้ , กำาหนดให้
q3  31 nC , q4  17 nC , d  1.3 m
kq1 kq2 kq3 kq4
VP    
r r r r
k
  q1  q2  q3  q4 
r
9  109
   12  24  31  17   109 C 
0.919 m
VP  350 V
Ans
3-3-3 ศักย์ไฟฟ้าของประจุต่อเนือ่ ง
ศักย์เนื่องจากจุดประจุ q kq
V
r
kdq
dV 
r
dq
ศักย์ไฟฟ้าของประจุต่อเนื่อง V  k q r
ตัวอย่าง 3-5 ประจุกระจายเป็นรูปวงแหวนรัศมี a
มีความหนาแน่นประจุเท่ากับ C/m วางอยู่ในระนาบ xy
มีจดุ ศูนย์กลางของวงแหวนอยู่ที่จุดกำาเนิด จงหาศักย์ไฟฟ้าทีจ่ ุดใด ๆ
บนแกน z
ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดจากประจุกระจายอย่างต่อเนื่อง V  k dq
z
P
 dl

q
r
V  k
z r = z2 + a2 q z a2 2

k
V  dl ;  dl  2 a
a z2  a2 q
d
k   2 a  ................  1
V
z2  a2
ตัวอย่าง 3-5 ประจุกระจายเป็นรูปวงแหวนรัศมี a
มีความหนาแน่นประจุเท่ากับ C/m วางอยู่ในระนาบ xy
มีจดุ ศูนย์กลางของวงแหวนอยู่ที่จุดกำาเนิด จงหาศักย์ไฟฟ้าทีจ่ ุดใด ๆ
บนแกน z
z dq   dl
P
q    2 a  แทน ในสมการที่ (1)
z r = z2 + a2 q
V k
z2  a2
a
d ถ้าจุด P อยู่หา่ งมาก z ? a ตัด a
q
ศักย์ไฟฟ้าของวงแหวนบาง V  k
z
Ans
3-3 ความสัมพันธ์ระหว่างศักย์ไฟฟ้ากับสนามไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าสามารถคำานวณได้จากศักย์ไฟฟ้าตามความสัมพันธ์
v v V
E  V Ex  
x
V
Ey  
y
V
Ez  
z
ตัวอย่างเสริม จงคำานวณศักย์ไฟฟ้าของไดโพล ดังภาพ และจงหา V และ E
ในแนวแกน x ที่จดุ ห่างจากไดโพลมาก ๆ

วิธีทำา :
รวมศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากประจุบวกเข้ากับqรวมศั ก
 ย์ไqฟฟ้าเนื่อqงจากประจุ
 ล
2kqaบเข้
า ด้
V  k  k    2
วยกัน แบบสเกลาร์ r  x  a x  a  x  a2

แนวแกน x ที่จดุ ห่างจากไดโพลมาก ๆ


2kqa
V 2
x
dV 4kqa
E  3
dx x
Ans
3-4 ความจุไฟฟ้าและสารไดอิเล็กทริก
ตัวนำาไฟฟ้ารูปทรงใด ๆ 2 ชิ้นวางอยู่ในสุญญากาศ
ใส่ประจุลงบนตัวนำาทั้งสอง
โดยให้ตัวนำาชิ้นหนึ่งเป็นประจุบวก
อีกชิ้นหนึ่งเป็นประจุลบ ขนาดประจุเท่ากัน
ประจุสุทธิบนตัวนำาทั้งสองมีค่าเป็นศูนย์
เราเรียกตัวนำาทั้งสองนี้ว่าเป็น ตัวเก็บประจุ
(Capacitor) Q F
ตัวนำาในสนามไฟฟ้า C  
V
ตัวอย่าง 3-7 จงหาค่าความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุแบบแผ่นขนาน
แต่ละแผ่นมีขนาด A มีประจุ Q วางห่างกันเป็นระยะ d

วิธีทำา : คิดว่าสนามไฟฟ้าที่เกิดจากแผ่นประจุมีค่าสมำ่าเสมอ
v v
a a
a b
V a
b
   E d l    Ed l cos180o
b b
a
Vab   Edl  Ed
b

Q Q 0 A
C   d
V Ed d แผ่นขนานแต่ละแผ่นมีขนาด A
EA 
Q วางห่างกันเป็นระยะ d
0 Ans
ตัวอย่าง 3-8 จงหาความจุไฟฟ้าของทรงกลมตัวนำา 2 ลูกซ้อนกัน
มีจดุ ศูนย์กลางร่วมกัน รัศมี a,b ตามลำาดับ (b >a)
วิธีทำา : คิดว่าสนามไฟฟ้าที่เกิดจากแผ่นประจุมีค่าสมำ่าเสมอ
b b a
Q dr Q  1
Vab    Edr    2 
a
4 0 a r 4 0  r  b

Q  1 1 Q  ba
Vab   a  b    ab 
4 0 4 0
ตัวเก็บประจุแบบทรงกลม
1
Q Q 4 0ab 4 0ab
C   C
V Q ba ba ba
4 0 ab
Ans
ตัวอย่าง 3-9
ตัวเก็บประจุรปู ทรงกระบอกมีรัศมีภายในของทรงกระบอกภายใน เป็น a
และมีประจุ + Q และทรงกระบอกที่ลอ้ มรอบภายนอกมีรัศมี b มีประจุ  Q
จงหาค่าความจุของตัวเก็บประจุนี้ถ้าทรงกระบอกยาว l

ตัวเก็บประจุแบบทรงกระบอก

You might also like