Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 34

กลศาสตร์ควอนตัม

ฟังก์ชันคลื่น – Schrödinger
ได้วิเคราะห์ตามสมมุติฐานของเดอบรอยล์
แล้วเขียนสมการการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนคล้ายกับสมการคลืน่

กลุ่มคลื่นที่ใช้แทนอนุภาค
ฟังก์ชันคลื่น

 คือ Wave Function


2
 คือ Probability Distribution
ความหมายของฟังก์ชันคลื่น
 สมมุติถ้ามีคลื่นอนุภาคกลุ่มหนึ่ง มายังเครื่องวัด 2
ความน่าจะเป็นที่จะพบอนุภาคในช่วงเวลาที่เจาะจง 
เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ
 ซึ่งค่านี้เรียกว่า ความหนาแน่นของความน่าจะเป็น
 ความน่าจะเป็นที่จะพบอนุภาคต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร
 ความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะพบอนุภาคที่เวลา t
ในปริมาตรเล็ ก ๆ คื

Pdxdydz   dxdydz
2

Probability   
2
dV
V
ฟังก์ชันคลื่นหนึ่งมิติ
dx

x0 xa xb


x x  dx

ความน่าจะเป็นที่จะพบอนุภาคนีใ้ นช่วงระหว่าง x ถึง x+dx คือ

2
 dx
ฟังก์ชันคลื่นหนึ่งมิติ
ความน่าจะเป็นที่จะพบอนุภาคนีใ้ นช่วงระหว่าง x=a ถึง x=b คือ


2
 dx
a
การแทรกสอดของอิเล็กตรอน
เราไม่สามารถบอกตำาแน่งที่แน่
นอนของอิเล็กตรอนได้
แต่บอกความน่าจะเป็นได้
2
 Pdxdydz    dxdydz

เนือ่ งจากอนุภาคตัวหนึ่งสามารถอ
ยู่ได้ทุกแห่งในทั่วทั้งบริเวณที่เรา
กำาหนด ดังนั้น


2
dxdydz  1

สมการคลื่น   x   A cos  kx 

2
เลขคลื่น k 

จากสมมติฐานความยาวคลืน่ ของเดอบรอยล์
h h 2
p  
 2 

p  hk
หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก
(Heisenberg’s uncertainty principle)
“ถ้าวัดโมเมนตัมของอนุภาคได้อ
ย่างแม่นยำาแล้ว
จะทำาให้การวัดตำาแหน่งของอนุภ
าคไม่มีความแน่นอนเลย”

xpx  h
เมื่อ
h
h
2
ตัวอย่างที่ 6 อัตราเร็วของอิเล็กตรอนถูกวัดเป็น 5 x 103 m/s ด้วยความ
แม่นยำา 0.003% จงหาความไม่แน่นอนในการระบุตำาแหน่งของอิเล็กตรอน

โมเมนตัมของอิเล็กตรอน p  mv
  9.110 31
  5 10  3

27
 4.6 10 kg m/s
ความคลาดเคลื่อนของโมเมนตัม
p   0.003%  p  0.00003 p
 0.00003  4.6 10 
27

 1.38 1031 kg m/s


ตัวอย่างที่ 6 อัตราเร็วของอิเล็กตรอนถูกวัดเป็น 5 x 103 m/s ด้วยความ
แม่นยำา 0.003% จงหาความไม่แน่นอนในการระบุตำาแหน่งของอิเล็กตรอน

จากหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก x p  h
h
x 
p
34
h 1.1 10 4
x   31
 7.9  10 m
p 1.38  10
บทที่ 14 ฟิสิกส์อะตอม

Physics II
สเปกตรัมของอะตอม

12
J.J. Balmer ได้ศึกษาสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
พบค่าสเปกตรัมมีลักษณะเฉพาะ และเขียนสมการได้เป็น
อนุกรมบาร์เมอร์
1  1 1
 RH  22  n 2 
  

RH  1.09678 102 nm -1
n  3, 4, 5,....

13
14
แบบจำำลองอะตอมของบอร์
 ในปี 1913 นีลส์ บอร์
ได้เสนอแบบจำาลองอะตอมของไฮ
โดรเจนขึ้น
 อิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจน
จะโคจรเป็นวงรอบนิวเคลียส
 พลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจร
จะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับระยะห่าง
ของวงโคจรกับนิวเคลียส
 พลังงานของวงโคจรเป็นแบบ
ควอนไทน์
15
โมเมนตัมเชิงมุมในแต่ละวงโคจร

 h 
L  mvr  n  
 2 

16
มีการดูดกลืนพลังงานเมื่ออิเล็กตรอนย้ายไปยังวงโคจรที่มีค่าพลังงานสูงขึ้
น และคายเมื่อย้ายลงมายังวงโคจรที่มีค่าพลังงานตำ่ากว่า
Ei Ei  E f  hf

Ef

17
บอร์สามารถคำานวณรัศมีของแต่ละวงโคจร
และระดับพลังงานต่างได้โดย
F  ma
2 2
e v
k 2 m
r r
พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่ในแต่ละวงโคจร
1 2 1 e2
K  mv  k
2 2 r

18
พลังงานศักย์ของอิเล็กตรอนที่ระยะห่าง r จากนิวเคลียส
2
e
P.E.= - k
r
พลังงานรวมของอิเล็กตรอน
E  K.E  P.E
2
ke
E
2r
เครื่องหมาย – แสดงว่า อิเล็กตรอนถูกยึดให้ติดอยู่กับอะตอม
ถ้าต้องการแยกอิเล็กตรอน ต้องให้พลังงานเท่ากับ E
19
จากค่าโมเมนตัมเชิงมุม
nh
v
mr  2 

แทนค่าลงในสมการพลังงานจลน์
2
1  nh  ke 2
m  
2  2 mr  2r

2
nh
rn 
mke 2

20
ที่ n = 1 จะได้ r1 = 0.529 Å = 0.0529 nm หรือ เรียกว่า รัศมีของบอร์

rn  n r1 2

พลังงานของอิเล็กตรอนของแต่ละวงโคจรหาได้จาก
2
ke  1 
En    2
2r1  n 

13.6
หรือ En   2 eV
n
21
สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
 การที่อิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจ
นวิ่งวนรอบนิวเคลียสได้โดยไม่แผ่พลังง
านนั้น เนื่องมาจากอิเล็กตรอนเป็นคลื่น
 และด้วยเหตุที่อิเล็กตรอนอยูใ่ นภาวะที่มี
พลังงานคงที่ในวงโคจรพิเศษหนึง่ ๆ
r ดังนั้นคลื่นอิเล็กตรอนในวงโคจรนั้นๆ
ควรเป็นคลื่นนิ่ง
โดยมีเส้นรอบวงของแต่ละวงโคจรเป็น
จำานวนเต็มของความยาวคลื่น

22
23
24
25
กำรทดลองของแฟรงค์และเฮิรตซ์
 ในปี 1913 Franck และ Hertz
ได้ทำาการทดลอง
เพื่อพิสูจน์ทฤษฎีอะตอมของบอ
ร์
 โดยการสังเกตการชนชองอิเล็กต
รอนกับอะตอม
 เมื่ออิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมาจ
1
mv 2  eV0 ากไส้หลอดที่ร้อน F
2 จะเคลื่อนที่ไปยังแผ่น P ระหว่าง
F และ P มี กริด G กั้นอยู่
26
 กราฟระหว่าง Ip กับ สำาหรับปรอท
ผลต่างระหว่างสถานะกระตุน้ สถานะ
แรกของปรอทกับสถานะพื้นคือ 4.9
eV
 ความต่างศักย์ที่คล้องจองกับยอดแห
ลมของกระแสเรียกว่า
ศักย์การกระตุน้ (excitation
potential)
 การทดลองดังกล่าวข้างต้นถึงแม้ค่อน
ข้างหยาบ
แต่แสดงว่าสถานะนิ่งเป็นค่าๆ
ของอิเล็กตรอนในอะตอมมีอยู่จริง
27
แบบจำำลองอะตอมตำมแบบกลศำสตร์ควอนตัม
สมการชเรอดิงเงอร์หาฟังก์ชันคลื่นของอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโด
รเจน 2
P
 V (r )  E
2m

1 e2
V (r )  
4 0 r

28
h2   2 2  1     1  2 
 r 2  r r  r 2 sin    sin    r 2 sin 2   2   V (r ,  ,  )  E
2m    

ผลเฉลยของสมการด้านบนจะทำาให้ได้เลขควอนตัม 3 แบบ ดังนี้


1. เลขควอนตัม n เรียกว่ำ เลขควอนตัมสำำคัญ (Principal quantum
number) มีค่าเป็นเลขจำานวนเต็มบวก
ใช้บอกระดับพลังงานเช่นเดียวกับแบบจำาลองอะตอมของโบร์ นั่นคือ

me 4 1
En   2 2 2
8 0 h n

29
2. เล ขคว อนตั ม l เรี ยก ว่ า เ ลขค วอนตั มโ มเ มนตัม เช ิงมุ ม
(Orbital quantum number หรือ Angular momentum quantum number)
ค่าที่จะเป็นไปได้ของ l จะต้องสอดคล้องกับค่า n โดย จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง –
1

h
L  l (l  1)
2

30
3. เลขค วอนตั ม ml เรี ยก ว่า เ ลขค วอนตั มแ ม่ เหล็ก (Magnetic
quantum number) ค่าที่เป็นไปได้ของ ml ถูกกำาหนดโดยค่า l โดย ml
จะมีค่าตั้งแต่ –l, -(l-1),…, 0, (l-1), l รวมทั้งสิน้ 2l+1 ค่า

31
32
33
ตัวอย่ำง การทดลองหาสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
พบว่าเมือ่ อิเล็กตรอนคายพลังงาน 13.0 eV จากสถานะกระตุน้ มาอยู่ที่สถานะพื้น
จงหาว่าอิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานที่เท่าไรก่อนที่จะคายพลังงาน
ความยาวคลืน่ ของโฟตอนที่เกิดจากการคายพลังงาน
และที่ระดับพลังงานนั้นอิเล็กตรอนมีรัศมีวงโคจรเป็นเท่าไร

34

You might also like