การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัยเชิงคุณภาพ

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 6

การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัยเชิงคุณภาพ

โดย รศ.ดร.วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์

1
ขัน้ ตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล

Open Coding
Axial Coding
Selective Coding

2
Open Coding
 เป็นการกำาหนดรหัสเพื่อจำาแนกข้อมูล มีการกำาหนดรหัสแบบกว้าง

นักวิจยั ต้องมองหาข้อความที่มีความหมายเข้าข่ายกับเรือ่ งที่ตัวเอง
ทำาการวิเคราะห์ แล้วกำาหนดรหัสที่เหมาะสมให้แก่ข้อความเหล่านั้น
เพื่อการจัดกลุม่ ประเภทหรือจำาแนกข้อมูลเป็นหลัก

3
Axial Coding
 เป็นการเชื่อมโยงข้อมูล (ข้อความ)ที่ใช้รหัสแบบ open
coding แล้วให้เป็นกลุม่ ตามความสัมพันธ์ทรี่ หัสนั้นมีต่อกัน
และเชื่อมโยงความหมายเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้เรื่องหรือ “มโนทัศน์”
ที่จำาแนกข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ
ที่สามารถบอกแนวคิดสำาหรับอธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาได้

4
Selective Coding
 เป็นการนำาเอาข้อมูลที่จัดเป็นกลุ่มเป็นประเภทแล้วในขั้น Axial
Coding มาบูรณาการให้เป็นเรื่องราว และทำาการสร้างข้อเสนอ
(Proposition)
หรือสมมติฐานสำาหรับการอธิบายปรากฏการณ์ที่ศกึ ษาอยู่
ข้อเสนอหรือสมมติฐานนีต้ ้องผ่านการตรวจสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ทมี่ ีอยู่
และหากจำาเป็นอาจต้องมีการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อนำามาปรับปรุงสมมติ
ฐานที่ได้ ในขั้นตอนนี้อาจจะมีการปรับปรุงสลับกับการตรวจสอบสลับกันไป
จนกระทัง่ ถึงจุดอิ่มตัว (Theoretical Saturation)
คือข้อมูลที่ได้สามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ตามสมมติฐาน/ทฤษฎีได้อย่างชั
ดเจน
5
กระบวนการสร้างทฤษฎีและการใช้ทฤษฎีในการวิจัย

นำาข้อมูลที่เชื่อมโยงข้อมูลทีไ่ ด้สร้างมโนทัศน์ (concept) Theory


แล้ว มาบูรณาการเป็น ข้อเสนอ (proposition) Proposition/
สมมติฐาน (hypothesis) หรือ ทฤษฎี (theory) hypothesis

เชื่อมโยงข้อมูลทีไ่ ด้จัดกลุ่มอย่างกว้าง ๆ และลงรหัส Concept


ให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อสร้างมโนทัศน์ (concept)
Variables
รวบรวมข้อมูล จัดกลุ่มอย่างกว้าง ๆ (แล้วลงรหัส)
Data
6

You might also like