Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 12

1

1.1

ในปัจจุบันนี้ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคไตทางอายุรศาสตร์มีเพิ่ม
มากขึ้นเป็ นจำา นวนมากอันเนื่ อ งมาจากการใช้ชี วิต ที่ แ ตกต่ า งไปจาก
เดิ ม และการละเลยการดู แ ลสุ ข ภาพของตั ว เองทำา ให้ ก ว่ า ที่ ผู้ ป่ ว ยจะ
ทราบว่ า ตั ว เองมี ปั ญ หาสุ ข ภาพก็ ส ายเกิ น กว่ า ที่ จ ะทำา การรั ก ษาให้
หายขาดหรือบางครั้งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
กระบวนการหนึ่ ง ที่ ส ามารถลดปั ญ หาทางสุ ข ภาพได้ นั้ น ก็ คื อ การ
ตรวจสุขภาพร่างกายเป็นประจำาทุกปีซึ่งการตรวจสุขภาพเพื่อวินิจฉัย
ความสามารถในการทำา งานของไตนั่นก็คือการตรวจหาระดับของครี
อะติ นีน (Creatinine)และการตรวจหาระดั บยู เ รี ย ไนโตรเจนในเลือ ด(BUN)
ซึ่งเป็นหน้าที่ทางห้องปฏิบัติการที่จะทำา หน้าที่วิเคราะห์และรายงาน
ผลการวิ เ คราะห์ ใ ห้ แ พทย์ ท ราบเพื่ อ นำา ไปใช้ ใ นการวิ นิ จ ฉั ย (diagnosis)
รักษาและการดำา เนินการกับผู้ป่วย (treatment and management) และตรวจคัด
แยกโรค (screening) ผลการวิเคราะห์ที่ได้จากห้องปฏิ บัติการจึงจำา เป็นที่
จะต้ อ งมี ค วามถู ก ต้ อ งแม่ นยำา แน่ น อนและเชื่ อ ถื อ ได้ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด
ประโยชน์กับผู้ป่วยหรือผู้ที่มาตรวจสุขภาพให้ได้มากที่สุด เพื่อแพทย์ที่
ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการแล้วสามารถพิจารณา
ผลการวิ เ คราะห์ แ ละนำา ไปใช้ ร่ ว มกั บ ระดั บ การตั ด สิ น ใจทางแพทย์
(Medical decision) และประกอบการวิ นิ จ ฉั ย ได้ ระดั บ การตั ด สิ น ใจทาง
แพทย์ (Medical decision) หรื อ เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น ใจ (decision level) คื อ หลั ก ที่
แพทย์ใช้ในการพิจารณาผลการวิเคราะห์ว่าทางห้องปฏิบัติการว่ามีค่า
อยู่ ที่ 1) ระดั บ ปกติ (normal or reference limit) 2) ระดั บ ผิ ด ปกติ ที่ น่ า ตกใจ (panic
values) หรื อ ระดั บ ผิ ด ปกติ ขั้ น วิ ก ฤติ (critical values) เมื่ อ แพทย์ ท ราบแน่ ชั ด
แล้วจึงตัดสินใจให้การปฏิบัติตอ ่ ผู้ป่วย(1)
ซึ่ ง ในทางปฏิ บั ติ แ ล้ ว ในปั จ จุ บั น การแปลผลและการรายงานผล
ตรวจหาระดั บ ของครี อ ะติ นี น (Creatinine) และการตรวจหาระดั บ ยู เ รี ย
ไนโตรเจนในเลือด(BUN) ของห้องปฏิบัติการจะอ่านเทียบกับช่วงอ้างอิง
ปกติแต่ทั้งนี้ค่าปกติที่ห้องปฏิบัติการใช้นั้นเป็นค่าปกติของระดับครีอะ
ตินีนที่มีช่วงกว้างมาก(0.6-1.5 มิลลิกรัม / เดซิลิตร) จนไม่สามารถบอกได้
ว่ าบุ คคลที่มาทำา การตรวจสุข ภาพนั้ นมี ส ภาพของไตที่ ยั ง ปกติอ ยู่ จ ริ ง
หรือไม่เพราะในแต่ละคนนั้นจะมีความผันแปรทางชีวภาพที่แตกต่าง
กันออกไป (Biological variation) โดยเฉพาะความผันแปรโดยธรรมชาติ (Natural
variation) เช่นนำ้าหนัก และความสูงที่จะแตกต่างกันตามเพศและอายุ(2) ดัง
นั้ น หากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารมี ก ารจั ด ทำา ค่ า ปกติ ใ ห้ ส อดคลองกั บ สภาพ
ร่ า งกายของแต่ ล ะบุ ค คลได้ ก็ จ ะสามารถช่ ว ยให้ แ พทย์ ตั ด สิ น ใจและ
ดำา เนิ น การรั ก ษาผู้ ป่ ว ยหรื อ ผู้ ที่ ม าตรวจสุ ข ภาพได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งทั น
ท่ ว งที ทำา ให้ ล ดความเสี่ ย งต่ อ การเสี ย ชี วิ ต ของผู้ ป่ ว ยหรื อ มี แ นวทาง
ป้องกันโรคไตกับผู้ที่มาตรวจสุขภาพได้
ที่มาและความสำาคัญของการหาค่าปกติครีอะตินีนในซีรั่ม (Reference value
of creatinine in serum)(3,4,5)
ค่าอ้างอิงปกติ (Reference value) เป็นค่าที่มีความสำาคัญทางการแพทย์
เป็นอย่างมากเพราะค่า Reference value นี้จะเป็นส่วนกำาหนดสภาพวะทาง
สุ ข ภาพของบุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง นอกจากนี้ ค่ า Reference value ยั ง ใช้ เ ป็ น
เกณฑ์ในการพิจารณาสภาพร่างกายเมื่อไม่สามารถหาวิธีที่ดีที่สุดใน
การแยกสภาวะของการมี สุ ข ภาพดี กั บ การเป็ น โรคได้ ซึ่ ง โดยทั่ ว ไป
Reference value นี้หาได้จากการนำาคนที่ไม่เป็นโรคเลย มีสุขภาพสมบูรณ์มา
วิเคราะห์ค่าต่างๆ โดยใช้ประมาณ 120 ตัวอย่าง (คน) ต่อการวิเคราะห์
แล้วนำา มา Plot เป็นรูปกราฟจะพบลักษณะกราฟเป็นแบบการกระจาย
แบบโค้งปกติ(Gaussian distribution)
การศึกษาในครั้งนี้ให้ความสนใจในเรื่องของครีอะตินีน ครีเอติ
นีนนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของครีอะติน ซึ่ง
ครีอะตีนพบอยู่ทั่วไปในกล้ามเนื้อ สมอง และโลหิต โดยอยู่เป็นอิสระ
หรื อ เป็ น สารประกอบฟอสเฟต เรี ย กฟอสโฟครี อ ะตี น หรื อ ครี อ ะตี น
ฟอสเฟต (phosphocreatine or creatine phosphate)ครีอะตีนพบอยู่ในปัสสาวะในคน
ปกติจำานวนเพียงเล็กน้อย
ครีอะตินีน คือ ครีอะตีนที่ปราศจากนำ้า (Anhydride from of creatine) เป็น
สารที่ ไ ม่ มี ป ระโยชน์ (wastes product) พบทั้ ง ในเลื อ ดและในปั ส สาวะ เกิ ด
จากการสลายตั ว ของครี อ ะตี น ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ที่ ก ล้ า มเนื้ อ เป็ น ส่ ว นใหญ่
สามารถขับถ่ายออกได้ทางไต
แหล่งทีม ่ า
ครีอะตินีนในร่างกายได้มาจาก 2 ทาง คือ
1. ส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัวของครีอะตีน
2. ส่วนน้อยเกิดจากการรับประทานอาหารโปรตีน
ทั้ ง ครี อ ะตี น และค รี อ ะติ นี น ฟอสเฟตมี อ ยู่ ร วมกั น ประมาณ 400
มิลลิกรัม / 100 กรัม ของกล้ามเนื้อ (fresh muscle) และสารทั้งสองจะเปลี่ยน
ไปเป็นครีอะตินีนได้ในอัตราประมาณวันละ 2%ครีอะตินีนจะถูกขับถ่าย
ออกทางไตในรู ป ของครี อ ะติ นี น และปริ ม าณที่ ขั บ ออกไปจะเป็ น
สั ด ส่ ว นกั บ ปริ ม าณที่ มี ใ นซี รั่ ม ฉะนั้ น ค่ า ของครี อ ะติ นี น ในซี รั่ ม จะ
สะท้อนถึงสภาวะของครีอะตินีนในร่างกายซึ่งจะขึ้นอยู่กับขนาดของ
กล้ามเนื้อ คนที่มีกล้ามเนื้อขนาดใหญ่จะมีระดับของครีอะตินีนสูงกว่า
คนที่มีกล้ามเนื้อขนาดเล็ก และค่าปรกติของครีอะตินีนสำาหรับผู้ชายจะ
สูงกว่าของผู้หญิงเล็กน้อย เนื่องจากปริมาณครีอะตินีนในเลือดไม่ได้มี
ผลกระทบจาก ปัจจัยต่างๆ เช่น อายุ , อาหาร และนำ้าที่รับประทานหรือ
การออกกำา ลั ง กายฉะนั้ นการเปลี่ ย นแปลงในปริ ม าณที่ เ พิ่ มสู ง ขึ้ นจึ ง
เกิดขึ้นได้จากสาเหตุที่ไตทำา หน้าที่บกพร่องเท่านั้น การหาปริมาณครี
อะตินินจึ งเป็นการตรวจสอบหน้ าที่ของไตได้ ดีก ว่า การตรวจหาสาร
อย่างอื่น สาเหตุที่เป็นผลให้ไตทำาหน้าที่ผิดปกติ หรือการทำางานลดลง
ที่ส่งผลให้ค่าครีอะตินีนในเลือดสูงขึ้นนั้นสาเหตุเหล่านี้คือ สาเหตุจาก
ไตและหลังไตเท่านั้นส่วนสาเหตุจากก่อนไตจะไม่ทำา ให้ระดับครีอะติ
นีนสูงขึ้น
ค่าอ้างอิงปกติ (Reference value)
ในซีรั่ม
ครีอะตินีน 0.6 – 1.2 มิลลิกรัม/ เดซิลต ิ ร (mg/dL)
ในคนไทยหนุ่มสาว 0.6 – 1.4 มิลลิกรัม/ เดซิลต ิ ร (mg/dL)
ตารางที่ 1.1 Reference interval, Conventional (International recommended units)(6)
in serum

Creatinine mg/dL µmol/L


Cord 0.6-1.2 53-106
Newborn
1-4 day 0.3-1.0 27-88
Infant 0.2-0.4 18-35
Child 0.3-0.7 27-62
Adolescent 0.5-1.0 44-88
18-60 yr
Male 0.9-1.3 80-115
Female 0.6-1.1 53-97
60-90 yr
Male 0.8-1.3 71-115
Female 0.6-1.2 53-106
>90 yr
Male 1.0-1.7 88-150
Female 0.6-1.3 53-115

จากค่าปกตินี้จะเห็นได้ว่าเป็นช่วงที่กว้างมาก เนื่องจากมีความหลาก
หลายของจำา นวนกล้ า มเนื้ อ จนไม่ ส ามารถทราบได้ ว่ า ผู้ ที่ ม าตรวจ
สุขภาพหากมีค่าครีอะตินีนที่อยู่ในช่วงค่าปกตินี้แท้จริงแล้วสภาพของ
ไตยังมีความปกติอยู่หรือไม่ดังนั้นการกำาหนดค่าปกติของครีอะตินีนจึง
มีความสำา คัญเป็ นอย่า งมากในการคัด แยกสภาพไตของผู้ที่ม ารับการ
ตรวจร่างกาย

1. เพื่อทำาการศึกษาหาค่าปกติของครีอะตินีนในซีรั่มในกลุ่มบุคคล
ต่างๆที่มส
ี ภาพร่างกายเป็นปกติ
2. เพื่อนำาค่าปกติที่ได้ไปใช้ในการอ้างอิงการตรวจปริมาณครีอะติ
นีนในซีรั่มสำาหรับผู้ทมี่ าทำาการตรวจสุขภาพในห้องปฏิบัติการ
3. เพื่อช่วยให้แพทย์นำา ค่าอ้างอิงปกติที่ได้ไปใช้ร่วมกับระดับการ
ตัดสินใจทางแพทย์ (Medical decision) และประกอบการวินิจฉัยได้

เป็ น การหาค่ า ปกติ ข องครี อ ะติ นี น ในซี รั ่่ม ซึ่ ง ข้ อ มู ล ที่ นำา มา
วิเคราะห์นั้นเป็นข้อมูลที่ได้มาจากบุคคลในช่วงอายุ21 ปี – 85 ปี (x = 44.7±
8.4 ปี) ซึ่งข้อมูลนี้จะเป็นกลุ่มคนในช่วงวัยทำางานทีม ่ ีสุขภาพสมบูรณ์แข็ง
แรงไม่เป็นโรคทีเ่ กี่ยวข้องกับโรคไตทางอายุรศาสตร์หรือโรคที่จะส่งผล
ต่อปริมาณของครีอะตินีนในซีรั่มโดยการหาค่าปกติของครีอะตินีนในซี
รั่ ม นี้ จ ะนำา ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าทำา การวิ เ คราะห์ โ ดยกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
1. การหาค่า SM ที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นการหาค่า SM ด้วยวิธี Body
weight and height model ซึ่งมีค่า R2 = 0.86 แต่ถ้าทำา การหาค่า SM ด้วยวิธี Skin fold -
circumference model ซึ่ ง ใ ช้ ก า ร วั ด ด้ วย Anthropometric measurements แล ะ Magnetic
resonance imaging (MRI) ซึ่งเป็นวิธีที่ละเอียดและแม่นยำามากกว่าแต่ก็จะต้อง
ใช้ เวลาในการหาค่ า นาน ค่ า R2 ที่ได้ คื อ R2 = 0.92 และ R2 = 0.91 ซึ่ง มีค่ าสู ง
กว่าสูตรที่ใช้ในการวิจัย

- สามารถนำา ค่ า ปกติ ข องครี อ ะติ นี น ในซี รั่ ม ที่ ไ ด้ จ ากการ


วิ เ คราะห์ ใ นครั้ ง นี้ ไ ปใช้ เ ป็ น ค่ า อ้ า งอิ ง (Reference value) ในการ
พิจารณาผลการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการของผูท ้ ี่มาทำาการ
ตรวจสุ ข ภาพว่ า อยู่ ใ นระดั บ ใด (1.) ระดั บ ปกติ (normal or reference
limit) 2.) ระดั บ ผิ ด ปกติ ที่ น่า ตกใจ (panic values) หรื อ ระดั บ ผิ ด ปกติ
ขั้นวิกฤติ (critical values))
- สามารถช่วยแพทย์ตัดสินใจและดำาเนินการรักษาผูท ้ ี่มาทำาการ
ตรวจสุขภาพได้อย่างทันท่วงทีหากผู้ที่มาตรวจสุขภาพนั้ นมี
ความผิ ด ปกติที่ เ กี่ ย วกั บไต ซึ่ ง อาจเป็ นการลดความเสี่ ย งต่ อ
การเสียชีวิตได้
1.2

1.2.1 ความหมายของค่าปกติ
ค่าปกติ (normal) ที่ใช้กันในทางการแพทย์ไม่ได้หมายความเดียวกับ
ค่ า ปกติ (normal) ที่ ใ ช้ ใ นทางสถิ ติ ค่ า ปกติ นี้ ต้ อ งเป็ น ค่ า ที่ ไ ด้ จ ากผู้ ที่ มี
สุขภาพสมบูรณ์ (healthy)(7)
คำา ว่ า “ healthy” G.Z. Williams ให้ คำา นิ ย ามว่ า “ ผู้ ที่ มี ร่ า งกายสมบู ร ณ์
ที่สุดจะต้องประกอบด้วยความรู้สึกส่วนตัวว่ามีสุขภาพดีที่สุด ประกอบ
อาชีพได้อย่างขยันขันแข็งไม่เจ็บป่วย ปราศจากความพิการทางกายที่
ตรวจพบได้หรือปราศจากผลของความเครียดทางอารมณ์ ซึ่งอาจจะ
ตรวจพบได้จากประวัติ การตรวจทางเคมีของเลือดและปัสสาวะ การ
ตรวจทางโลหิตวิทยาตามปกติ การตรวจทรวงอกทางรังสี การตรวจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ และการตรวจร่างกายอย่างละเอียด” (7)
ในปี พ.ศ. 2514 Mainland ได้กล่าวถึงคำา ว่า “ปกติ” (normal) ในทางด้าน
สถิติ หมายถึงมาตรฐาน (standard) การหา “ค่าปกติ” และพิสัยปกตินั้นใช้
โค้งการกระจายปกติ (normal distribution ของ Gauss)(7)
ดั ง นั้ นทางผู้ จั ด ทำา จึ ง ให้ คำา นิ ย ามของ ค่ า ปกติ ค่ า ปกติ ท างสถิ ติ
และค่าปกติของครีอะตินีนในเลือดดังนี้
ค่า ปกติ หมายถึง ค่า ที่ยอมรั บและใช้ กันทั่วไป ซึ่ งมาจากคนที่ มี
สุ ข ภาพทางร่ า งกายและจิ ต ใจสมบู ร ณ์ สามารถประกอบอาชี พ และ
ดำาเนินชีวิตได้ตามปกติ
ค่าปกติทางสถิติ หมายถึง ค่าที่ได้จากการคำา นวณที่มีมาตรฐาน
(standard) การหาค่าปกติและพิสัยปกตินั้นใช้โค้งการกระจายปกติ (normal
distribution curve ของ Gauss)(7)
ค่าปกติของครีอะตินีนในเลือด หมายถึง ค่าของครีอะตินีนในซี
รั่มซึ่งเป็นค่าที่มาจากคนปกติที่มีร่างกายสมบูรณ์ สุขภาพดี และค่าครี
อะตินีนในซีรั่มนี้ได้มาจากการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
1.2.2 ความหมายของคำาทางสถิต(8,9) ิ
1) Mean ห ม า ย ถึ ง ค่ า เ ฉ ลี่ ย ข อ ง ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ก ร เ ร า จ ะ ใ ช้
เครือ ่ งหมาย µ แทน ค่าเฉลี่ยเป็นค่าแสดงแนวแกนกลางของข้อมูลที่ใช้
บ่ อ ยและรู้ จั ก กั น ดี ที่ สุ ด คำา นวณโดยใช้ ผ ลรวมของค่ า สั ง เกต (observed
value) ทุกค่าหารด้วยจำานวนที่สังเกตทั้งหมด ดังนั้นค่าเฉลี่ยจึงเป็น
ค่าปานกลาง
2) Standard Deviation หรือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน หมายถึง ค่าที่
เบี่ ย งเบนจากค่ า เฉลี่ ย ซึ่ ง คำา นวณได้ จ ากพื้ น ที่ ภ ายใต้ โ ค้ ง ปกติ โดย
กำาหนดให้จุดกึ่งกลางของโค้งปกติเป็นค่าเฉลี่ย ดังนั้นภายใต้โค้งปกติ
ค่ า 1s จึ ง ครบคลุ ม กลุ่ ม ประชากรร้ อ ยละ 68.27, ค่ า 2s จะครบคลุ ม กลุ่ ม
ประชากรร้อยละ 95.45, ค่า 3s จะครอบคลุมกลุ่มประชากรร้อยละ 99.73
3) Mode หรื อ ฐานนิ ย ม หมายถึ ง ข้ อ มู ล จำา นวนที่ เ กิ ด ได้ บ่ อ ย
ที่สุด ตัวอย่างเช่น จากการวิเคราะห์พลาสมากลูโคสในผู้ป่วย 50 คน พบ
ว่าคนส่วนใหญ่ในกลุ่มนั้นมีค่าพลาสมากลูโคสที่ 95mg/dl เป็นต้น Mode จึง
เป็นสถิติที่ใช้วัดการกระจายตัวอย่างข้อมูลที่แนวกลางอีกแบบหนึ่ง
4) Median หรือ มัธยฐาน หมายถึง แนวกึ่งกลางของค่าสังเกตที่
เรียงลำาดับจากมากไปหาน้อย มัธยฐานจึงเป็นจุดบนสเกลที่ข้อมูลทาง
ด้ า นซ้ า ยและด้ า นขวามี จำา นวนเท่ า กั น เช่ น การวิ เ คราะห์ พ ลาสมา
กลู โ คสในผู้ ป่ ว ย 10 คน พบว่ า 80mg/dl (2 คน) 85mg/dl (2 คน) 90mg/dl (1 คน)
97mg/dl (2 คน) 103mg/dl (1 คน) ดั ง นั้ น Median ของพลาสมากลู โ คสที่ ทำา การ
ศึกษาจึงมีค่าเท่ากับ 90mg/dl เราใช้ Median วัดการกระจายของข้อมูลที่จุด
กึ่งกลาง (center of distribution)
5) Interquartile หรือ ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ หมายถึง ค่าที่แสดงให้
เห็นว่าข้อมูลจำานวน
ร้อยละ 50 ตรงกลางของข้อมูลแตกต่างกันเท่าไร หาได้โดยนำาค่า Q3 ลบ
ด้วย Q1 แล้วหารด้วย
2 (Q3 – Q1) / 2
1.3 (Literature
Review)

ครีอะตินีน คือ ครีอะตีนที่ปราศจากนำ้า (Anhydride from of creatine) เป็นสาร


ที่ ไ ม่ มี ป ระโยชน์ (wastes product) พบทั้ ง ในเลื อ ดและในปั ส สาวะ เกิ ด จาก
การสลายตัวของครีอะตีนซึ่งเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ สามารถ
ขับถ่ายออกได้ทางไต
การสังเคราะห์ครีอะตินีน
การสังเคราะห์ครีอะตินีน (Biosynthesis)
ครีอะตีนจะถูกสังเคราะห์ขึ้นในตับและตับอ่อนจากกรดอะมิโน 3
ชนิ ด คื อ อาร์ จิ นี น (Arginine) ไกลซี น (Glycine) และเมทไธโอนี น (Methionine)
เมื่ อ สั ง เคราะห์ แ ล้ ว ครี อ ะตี น จะกระจายไปตามกระแสโลหิ ต เข้ า สู่
เนื้อเยื่อต่างๆ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อและที่กล้ามเนื้อนี้เองที่ครีอะตีนจะ
รวมกับฟอสเฟตเป็นครีอะตีนฟอสเฟตและเปลี่ยนแปลงต่อไปให้ครีอะ
ตินีน โดยมีปฏิกิริยาดังนี(4)้
ขั้นที่ 1
เริ่ ม แรกกรดอะมิ โ น 2 ชนิ ด คือ อาร์ จิ นีนและไกลซี น ซึ่ ง ได้ จาก
การสลายตัวของโปรตีน ทำา ปฏิกิริยาทรานส์เอมิดิเนชั่น (Transamidination)
โดยหมู่กัวดินีนของอาร์จินีนเข้ารวมกับไกลซีน โดยมีเอนไซม์ไกลซีน-
อ า ร์ จิ นี น ท ร า น ส์ เ อ มิ ดิ เ ด ส (Glycine-Arginine Transamidinase) เ ป็ น ตั ว เ ร่ ง
ปฏิกิริยา ได้เป็นกรดกัวนิโดอะซิติก (Guanidoacetic Acid) ปฏิกิริยาขั้นตอนนี้
เกิดขึ้นในไต, เยื่อบุลำาไส้แลตับอ่อน
ขั้นที่ 2
กรดกัวนิโดอะซติกถูกส่งต่อไปที่ตับเข้ารวมกับหมู่เมทธิลจากเมท
ไธโอนีนได้สารครีอะตีนซึ่งอยุ่ในสภาพอิสระ
ขั้นที่ 3
ครี อี น อิ ส ระถู ก ส่ ง ไปที่ เ ซลล์ ข องกล้ า มเนื้ อ และได้ รั บ การเติ ม
ฟอสเฟตได้สารครีอะตีนฟอสเฟต ซึ่งเป็นสารที่ให้พลังงานสูง สามารถ
ทำาให้กล้ามเนื้อหดตัวได้และด้วยเหตุนี้เองจึงทำาให้กล้ามเนื้อเป็นแหล่ง
เก็บพลังงานและให้พลังงานทีส ่ ำาคัญ
ขั้นที่ 4
ครีอะตีนฟอสเฟตเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส (Hydrolysis) จะได้ครีอะติ
นีนและเอทีพี (ATP) ซึ่งให้พลังงานมากกว่า 1,500 แคลอรี่ตอ ่ โมล ปฏิกิริยา
นี้เกิดขึ้นทุกวันประมาณ 2% ของครีอะตีนฟอสเฟตที่ไม่เปลี่ยนไปเป็นค
รีอะตินีน โดยเป็นปฏิกิริยาแบบทิศทางเดียว (Irreversible reaction) ซึ่งจะเกิด
ขึ้นเองอย่างสมำ่าเสมอ ดังนั้นครีอะตินีนที่ถูกสร้างขึ้นจึงมีความสำาพันธ์
กับมวลของกล้ามเนื้อ(5)
สรุปการการเกิด Creatinine ได้ดังนี้(10)
ในไต
transamidinase
Arginine + Glycine Ornithine + Guanidoacetic acid
ในตับ
L –Methionine +ATP S- Adenosyl – L – metionine + Orthophosphate
+ Pyrophosphate
S- Adenosyl – L – Methionine + Guanidoacetic acid
Methyltransferase S – Adenosyl – L – homocysteine + Creatinine
ในกล้ามเนื้อ
CH3 CH3

H2C N H2C N
Creatinine kinase
O=C C = NH + ATP O=C C = NH + ADP
‫׀‬
HO NH2 HO O
‫׀׀‬
N ~ P — OH
Creatinine Phosphocreatine

– H2O – H3PO4
CH3
‫׀‬
H2C — N
‫׀‬ C = NH
O=C N

Creatinine
(Distribution)
ครีอะตินีนที่ถูกสร้างขึ้น ผ่านเข้าสู่กระแสโลหิตและกระจายอยู่
ในส่วนที่เป็นของเหลวในเนื้อเยื่อหลายชนิดทั่วร่างกาย ปริมาณปกติ
ของครีอะตินีนในร่างกายขึ้นอยู่กับมวลของกล้ามเนื้อ ดังนั้นความเข้ม
ข้นของครีอะตินีนในเลือดผูช ้ ายจึงมากกว่าของผู้หญิงและเด็ก
(Excretion)
ในภาวะปกติ ค รี อ ะติ นี น ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น มาแต่ ล ะวั น จะมี สั ด ส่ ว น
โดยตรงกับจำา นวนของครีอะตีนทั้งหมดในร่างกาย ครีอะตินีนถูกขับ
ออกทางไตโดยวีก ารกรองผ่า นกลอเมอรูลัส (Glomerulus) อย่างคงที่และ
สมำ่า เสมอโดยไม่ มีการดูด ซึมกลับโดยท่อ ไต ทั้ ง นี้ ถ้ า ระดั บของครี อ ะติ
นี น ในเลื อ ดสู ง ท่ อ ไตจึ ง จะช่ ว ยขั บ ออก ถ้ า ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงใน
กล้ามเนื้อและไตเป็นปกติดี ถือได้ว่าระดับของครีอะตินีนในเลือดและ
ในปัสสาวะมีค่าคงที่มากกว่าระดับของสารตัวอื่นๆ
ในแต่ละวันผู้ชายจะขับครีอะตินีนออกทางปัสสาวะประมาณ 1-2
กรั ม ต่ อ 24 ชั่ ว โมง ส่ ว นผู้ ห ญิ ง จะขั บ ออกประมาณ 0.6-1.5 กรั ม ต่ อ 24
ชั่วโมง

เนื่ อ งจากปริ ม าณครี อ ะติ นี น ในเลื อ ดไม่ ไ ด้ มี ผ ลกระทบจากปั จ จั ย


ต่างๆ เช่น อายุ , อาหาร และนำ้า ที่ รับประทานหรือ การออกกำา ลั ง กาย
ฉะนั้นการเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่เพิ่มสูงขึ้นจึงเกิดขึ้นได้จากสาเหตุ
ที่ ไ ตทำา หน้ าที่ บกพร่ อ งเท่ า นั้ น การหาปริ มาณครีอ ะติ นีนจึ ง เป็ น การ
ตรวจสอบหน้ า ที่ ข องไตได้ ดี ก ว่ า การตรวจหาสารอย่ า งอื่ น ส่ ว นการ
ตรวจหาปริมาณรีอะตินีนในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ใช้เป็นการทดสอบเพื่อ
ดูว่าการเก็บปัสสาวะได้ครบหรือไม่ โดยดูความคงที่ของค่าครีอะตินีนที่
ถูกขับออกมาในปัสสาวะ
สาเหตุที่ทำาให้ระดับของครีอะตินีนในเลือดสูงขึ้น
สาเหตุที่เป็นผลให้ไตทำาหน้าที่ผิดปกติ หรือการทำางานลดลงที่ส่งผล
ให้ค่าครีอะตินีนในเลือดสูงขึ้นนั้นสาเหตุเหล่านี้คือ สาเหตุจากไตและ
หลังไตเท่านั้นส่วนสาเหตุจากก่อนไตจะไม่ทำาให้ระดับ
ครีอะตินีนสูงขึ้น
สาเหตุที่ทำาให้ระดับของครีอะตินีนในเลือดลดลง
การลดลงของระดั บ ครี อ ะติ นี น ที่ ไ ม่ มี ค วามสำา คั ญ ทางคลิ นิ ก
สาเหตุมาจาก
- โรคขาดอาหาร
(5)
- เมตาบอลิสมของโปรตีนลดลง
เนื่องจากระดับของครีอะตินีนส่วนใหญ่มักจะขึ้นอยู่กับมวลของกล้าม
เนื้อดังนั้นการหาปริมาณมวลของกล้ามเนื้อที่แท้จริงจึงมีความสำา คัญ
ต่อการหาค่าปกติของครีอะตินีนในคนปกติเป็นอย่างมาก
สำาหรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการหาปริมาณของมวลกล้ามเนื้อ
ได้ มี ผู้ วิจั ย และได้ ตี พิม พ์ ใ นวารสาร The American Journal of Clinical Nutrition ใน
ปี 2000 ชื่ อ เรื่ อ งว่ า Total – body skeletal muscle mass: development and cross-validation of
anthropometric prediction model โดย Robert C Lee, ZiMian Wang, Moonseong Heo, Robert Ross,
Ian Janssen, and Steven B Heymsfield(11) ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการหาค่า Skeletal muscle
(SM) จากการใช้ Skin fold-circumference model ซึ่งเป็นการใช้การวิเคราะห์และ
หาค่ า SM จากวิ ธี Anthropometric measurement ร่ ว มกั บ การใช้ วิ ธี ท าง Magnetic
resonance imaging (MRI) และจากการใช้ Body weight and height model ซึ่งเป็นการใช้
การวิ เ คราะห์ แ ละหาค่ า SM จากค่า นำ้า หนั ก ตั วและส่ ว นสู ง โดยมี ผู้ เ ข้ า
ร่ ว มการทดลองทั้ ง สิ้ น 244 คน และนำา ผลที่ ไ ด้ จ ากทั้ ง สอง model มา
คำานวณเป็นสูตรทางคณิตศาสตร์ได้ทั้งหมด 4 สูตรดังนี้
Skin fold-circumference model

1. SM (kg) = Ht × (0.00587 × CAG2 + 0.00138 × CTG2 + 0.00574 ×CCG2) + 2.4 × sex –


0.026 × age + race + 4.4

่ R2 = 0.92, P<0.0001, and SEE = 2.3 kg; sex = 1 for male and 0 for female,
เมือ
race = -6.1 for Asian, 1.2 for African American, and 0 for white or Hispanic

2. SM (kg) = Ht × (0.00744 × CAG2 + 0.00088 × CTG2 + 0.00441 × CCG2) + 2.4 × sex –


0.048 × age + race + 7.8

่ R2 = 0.91, P<0.0001, and SEE = 2.2 kg; sex = 1 for male and 0 for female,
เมือ
race = -2.0 for Asian, 1.1 for African American, and 0 for white or Hispanic

Body weight and height model

3. SM (kg) = 0.226 × BW + 13.0 × Ht – 0.089 × age + 6.3 × sex + race – 11.0

่ R2= 0.85, P<0.0001, and SEE = 3.0 kg; sex = 1 for male and 0 for female,
เมือ
race = -1.6 for Asian, 1.9 for African American, and 0 for white or Hispanic

4. SM (kg) = 0.244 × BW + 7.8 × Ht – 0.098 × age + 6.6 × sex + race – 3.3


่ R2= 0.86, P<0.0001, and SEE = 2.8 kg; sex = 1 for male and 0 for female,
เมือ
race = -1.2 for Asian, 1.4 for African American, and 0 for white or Hispanic

You might also like