Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 99

1

แผนการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
หน่วยที่ ๑ จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร

โดย

นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ
ตำาแหน่ง ครู
โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต ๑
2

แผนการเรียนรู้ที่ 1
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง ค่าประจำาหลัก เวลา 3 คาบ
สาระสำาคัญ
ค่าประจำาหลักของหลักเลขที่อยู่ทางซ้ายมือจะมีค่าเป็นสิบเท่าของค่าประจำาหลักถัดไปทาง
ขวามือ และค่าของตัวเลขในแต่ละหลักมีค่าเท่ากับผลคูณของตัวเลขนั้นกับค่าประจำาหลักของ
ตัวเลขนั้น

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดตัวเลขจำานวนนับให้สามารถบอกค่าตัวเลขตามค่าประจำาหลักได้
2. เพื่อฝึกทักษะการเขียนค่าประจำาหลัก

สาระการเรียนรู้
ค่าประจำาหลัก
ค่าประจำาหลักของหลักเลขที่อยู่ทางซ้ายมือจะมีค่าเป็น สิบเท่าของค่าประจำาหลักถัดไปทาง
ขวามือ และค่าของตัวเลขในแต่ละหลักมีค่าเท่ากับผลคูณของตัวเลขนั้นกับค่าประจำาหลักของ
ตัวเลขนั้น
ตัวอย่าง จำานวน 9, 238, 504
หลัก ค่าประจำาหลัก ตัวเลขที่อยูใ่ นหลัก ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลัก
หน่วย 1 4 4X1 = 4
สิบ 10 0 0 X 10 = 0
ร้อย 100 5 5 X 100 = 500
พัน 1,000 8 8 X 1,000 = 8,000
หมื่น 10,000 3 3 X 10,000 = 30,000
แสน 100,000 2 2 X 100,000 = 200,000
ล้าน 1,000,000 9 9 X 1,000,000 = 9,000,000
3

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทดสอบก่อนเรียน เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร จำานวน 20
ข้อ เวลา 20 นาที
2. ทบทวนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขโดด โดยนักเรียนหยิบบัตรตัวเลขโดด
0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 ออกมาแสดงให้เพื่อนดูและทุกคนช่วยกันอ่านตัวเลขทุกตัว
แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายตัวเลขเหล่านี้เรียกว่าตัวเลขฮินดูอารบิกและเป็น
ตัวเลขโดด
3. ทบทวนจำานวนนับ โดยใช้หลักลูกคิด นักเรียนช่วยกันเขียนชื่อประจำาหลักของ
แต่ละหลัก เริ่มตั้งแต่หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น หลักแสน
หลักล้าน หลักสิบล้าน หลักร้อยล้าน หลักพันล้าน หลังจากนั้น นักเรียนแบ่ง
กลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันกำาหนดจำานวนนับ โดยตัวแทนของ
กลุ่มที่ 1 ออกมาแสดงจำานวนนับโดยใช้หลักลูกคิดแล้วเขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก,
ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ บนกระดาน เช่น
จำานวน 3,524

พันล้าน ร้อยล้าน สิบล้าน ล้าน แสน หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย
เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ได้ 3,524
เขียนเป็นตัวเลขไทย ได้ ๓,๕๒๔
เขียนเป็นตัวหนังสือ ได้ สามพันห้าร้อยยี่สิบสี่

ขณะทีก่ ลุ่มที่ 1 กำาลังเขียนจำานวนเป็นตัวเลขและตัวหนังสือ นักเรียนทุกคนช่วยกัน


ตรวจสอบการเขียนตัวเลขว่าถูกต้องตามลักษณะของอักขรวิธีหรือไม่ ถ้าไม่ถกู ต้องจะได้แก้ไขทันที
ต่อจากนั้น ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่องค่าประจำาหลัก และตอบคำาถามดังนี้
1) หลักเลขที่อยู่ทางขวามือสุดเป็นเลขหลักอะไร (หลักหน่วย) และมีจำานวนลูกคิด
กี่ลูก (4 ลูก) มีค่าเท่าไร (4)
4

2) หลักเลขที่อยู่ถัดจากหลักหน่วยเป็นเลขหลักอะไร (หลักสิบ) และมีจำานวนลูกคิด


กี่ลูก (2 ลูก) มีค่าเท่าไร (20)
3) หลักเลขที่อยู่ถัดจากหลักสิบไปทางซ้ายมือเป็นเลขหลักอะไร (หลักร้อย)
และมีจำานวนลูกคิดกี่ลูก (5 ลูก) มีค่าเท่าไร (500)
4) หลักเลขที่อยู่ถัดจากหลักร้อยไปทางซ้ายมือเป็นเลขหลักอะไร (หลักพัน)
และมีจำานวนลูกคิดกี่ลูก (3 ลูก) มีค่าเท่าไร (3,000)
5) ลองช่วยกันอ่านจำานวนนี้ด้วย (สามพันห้าร้อยยี่สิบสี่)
6) ลองช่วยกันคิด ว่าจำานวน 3,524 ค่าของตัวเลขในหลักใดมีค่ามากที่สุด
(หลักพัน)
7) ใครตอบได้บ้างว่า ตัวเลขในค่าประจำาหลักในหลักร้อยมากกว่าหรือน้อยกว่าตัวเลข
ในค่าประจำาหลักตัวเลขในหลักหน่วยเท่าไร และคิดได้อย่างไร (ตัวเลขในค่าประจำาหลักใน
หลักร้อย คือ ตัวเลข 5 มีค่าเท่ากับ 500 และ ตัวเลขในค่าประจำาหลักในหลักหน่วย คือ
ตัวเลข 4 มีค่าเท่ากับ 4 ดังนั้น ตัวเลขในค่าประจำาหลักในหลักร้อยมีค่ามากกว่าตัวเลขใน
ค่าประจำาหลักในหลักหน่วย เท่ากับ 496 โดยนำา 500 − 4 = 496 )
4. นักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวนนับอีก 1 จำานวน และส่งตัวแทนออกมานำาเสนอ
ค่าประจำาหลักโดยใช้ลกู คิด แล้วร่วมกันอภิปรายค่าประจำาหลักและตอบคำาถามเหมือนกิจกรรมที่ 3
5. ครูแนะนำาว่า ค่าประจำาหลักของเลขแต่ละหลัก จะเห็นว่าค่าของหลักเลขทางซ้ายมือ
จะมีค่าเป็นสิบเท่าของหลักเลขที่อยู่ถัดไปทางขวามือ ซึ่งสามารถแสดงได้ตามตาราง ดังนี้
หลัก ค่าประจำาหลัก
หน่วย 1
สิบ 10
ร้อย 100
พัน 1,000
หมื่น 10,000
แสน 100,000
ล้าน 1,000,000
สิบล้าน 10,000,000
5

ร้อยล้าน 100,000,000
พันล้าน 1,000,000,000
6. นักเรียนทุกกลุ่มช่วยกันกำาหนดจำานวนนับ เช่น 9,238,504 และส่งตัวแทนของ
กลุ่มออกมาแสดงค่าของจำานวนโดยใช้หลักลูกคิดและเขียนค่าประจำาหลักบนกระดาน โดย
กลุ่มที่ 1 เขียนค่าประจำาหลักหน่วยและหลักสิบ
กลุ่มที่ 2 เขียนค่าประจำาหลักร้อยและหลักพัน
กลุ่มที่ 3 เขียนค่าประจำาหลักหมื่นและหลักแสน
กลุ่มที่ 4 เขียนค่าประจำาหลักล้าน ตามตารางแสดงค่าหลักเลข

จำานวน 9,238,504
หลัก ค่าประจำาหลัก ตัวเลขที่อยูใ่ นหลัก ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลัก
หน่วย 1 4 4X1 = 4
สิบ 10 0 0 X 10 = 0
ร้อย 100 5 5 X 100 = 500
พัน 1,000 8 8 X 1,000 = 8,000
หมื่น 10,000 3 3 X 10,000 = 30,000
แสน 100,000 2 2 X 100,000 = 200,000
ล้าน 1,000,000 9 9 X 1,000,000 = 9,000,000
7. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาจากตารางจะเห็นว่า ค่าของตัวเลขในแต่ละหลัก
มีค่าเท่ากับผลคูณของตัวเลขที่อยู่ในหลักนั้นกับค่าประจำาหลักของตัวเลขนั้น เช่น ตัวเลข 5 อยู่
ในหลักร้อย ค่าประจำาหลักร้อย คือ 100 ดังนั้น ตัวเลข 5 ในจำานวน 9,238,504 มีค่า
เท่ากับ 5 × 100 = 500 แล้วนักเรียนช่วยกันตอบคำาถามต่อไปนี้
1) ตัวเลขที่อยูใ่ นหลักหน่วย คือตัวเลขอะไร (4)
2) ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลักหน่วย ของจำานวน 9,238,504 คืออะไร
(4×1 = 4)
3) ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลักพัน ของจำานวน 9,238,504 คืออะไร
(8×1,000 = 8,000)
6

4) ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลักแสน ของจำานวน 9,238,504 คืออะไร


(2×100,000 = 200,000)
5) ตัวเลขที่อยูใ่ นหลักล้าน ของจำานวน 9,238,504 คือตัวเลขอะไร และมีค่าเท่าไร
(ตัวเลข 9 และมีค่า 9 × 1,000,000 = 9,000,000)
6) จากจำานวน 9,238,504 ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลักหมื่นมากกว่า
ค่าประจำาหลักพันเท่าไร และคิดได้อย่างไร (30,000 − 8,000 = 22,000)
8. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่า ค่าประจำาหลักของหลักเลขที่อยู่ทางซ้ายมือจะมีค่า
เป็นสิบเท่าของค่าประจำาหลักถัดไปทางขวามือ และค่าของตัวเลขในแต่ละหลักมีค่าเท่ากับผลคูณ
ของตัวเลขนั้นกับค่าประจำาหลักของตัวเลขนั้น นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนเป็นแผนภูมิ
ค่าประจำาหลักลงในกระดาษปรู๊ฟ แล้วช่วยกันพิจารณาคัดเลือกผลงานการเขียนแผนภูมิที่ดีที่สุด
นำาไปติดป้ายนิเทศมุมคณิตศาสตร์ของห้องเรียน นักเรียนช่วยกันอ่าน 2−3 จบ แล้วจดบันทึก
ลงในสมุด
9. นักเรียนฝึกปฏิบัตทิ ำาแบบฝึกทักษะเรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 1 (ท้ายแผนการเรียนรู้)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. บัตรตัวเลข
2. หลักลูกคิดและลูกคิด
3. กระดาษปรู๊ฟ ปากกาสีเคมี
4. แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 1 เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
5. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 1
6. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
7

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ทดสอบ
1.2 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.3 สังเกตจากการตอบคำาถามและพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบทดสอบก่อนเรียน (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
8

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
9

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
คะแนนเต็ม 20 คะแนน เวลา 20 นาที
***************************************************************************
คำาชี้แจง จงทำาเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับหัวข้อคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ตัวเลข 9 ในข้อใดที่มีค่ามากที่สุด 5. ข้อใดที่เขียนแทนจำานวน
ก. 1,009 สิบเอ็ดล้านสองแสนสามหมื่นเก้าสิบ
ข. 20,896 ก. 11,203,090
ค. 639,231 ข. 11,023,090
ง. 190,001 ค. 11,230,099
2. ค่าของตัวเลข 5 ของจำานวน 380,526,227 ง. 11,230,090
มีค่าเท่าไร 6. จำานวนในข้อใดที่มีค่ามากที่สุด
ก. 5 ก. 30,321
ข. 5,000 ข. 33,210
ค. 500,000 ค. 32,310
ง. 5,000,000 ง. 33,012
3. ตัวเลขใดอยู่ในหลักแสนของจำานวน 7. ข้อใดที่เรียงลำาดับค่าที่มีจำานวนมากไปหาน้อย
95,604,318 ได้ถกู ต้อง
ก. 9 ก. 5,604 987 1,027
ข. 6 ข. 596 805 910
ค. 5 ค. 7,000 7,007 77
ง. 0 ง. 100,002 54,800 25,300
4. ข้อใดที่เขียนแทนจำานวน 29,001 8. ค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อยของจำานวน
ก. สองหมื่นเก้าพันเอ็ด 9,564 จะพิจารณาที่ค่าของตัวเลขในหลักใด
ข. สองหมื่นเก้าเอ็ด ก. หน่วย
ค. สองเก้าศูนย์ศูนย์หนึ่ง ข. สิบ
ง. สองแสนเก้าพันเอ็ด ค. ร้อย
ง. พัน
10

9. จำานวนใดทีม่ ีค่าใกล้เคียงเต็มหมืน่ มากทีส่ ดุ 13. จงหาคำาตอบ 1,520 X 23 =


ก. 955 ก. 1,543
ข. 10,400 ข. 7,600
ค. 15,000 ค. 34,960
ง. 9,500 ง. 34,963
10. สถิตจิ ำานวนประชากรของจังหวัดแพร่ในปี 14. จงเติมตัวเลขลงใน ให้ถูกต้อง
พ.ศ. 2540 มี 475,086 คน หรือมีจำานวน (18 × 5) − 30 = ( × 18) − 30
ประมาณกี่แสนคน ก. 5
ก. 100,000 คน ข. 18
ข. 400,000 คน ค. 60
ค. 500,000 คน ง. 90
ง. 700,000 คน 15. จงเติมตัวเลขลงใน ให้ถูกต้อง
11. ช่วงวันที่ 1 มกราคม − 7 เมษายน 2541 2,087
×
สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตรแจ้งว่า ประเทศไทย 22
ส่งออกข้าวรวม 1,524,934 ตัน จงประมาณ 4174
+
จำานวนข้าวที่ส่งออกเป็นจำานวนเต็มหมื่น 41740
ก. 20,000 ตัน 45 14
ข. 30,000 ตัน ก. 1
ค. 1,520,000 ตัน ข. 2
ง. 1,530,000 ตัน ค. 8
12. จงหาคำาตอบ 420 + 398 = ง. 9
ก. 818 16. ธีระมีอายุมากกว่าสาธิต 14 ปี สาธิตมีอายุ
ข. 718 น้อยกว่าอนงค์ 5 ปี ถ้าอนงค์มีอายุ 12 ปี
ค. 828 อยากทราบว่าธีระมีอายุเท่าไร
ง. 728 ก. 5 ปี
ข. 12 ปี
ค. 14 ปี
ง. 21 ปี
11

17. ณรงค์อ่านหนังสือการ์ตูนมีความหนา 32 หน้า 19. จงเขียนประโยคสัญลักษณ์จากโจทย์ต่อไปนี้


วันนี้อ่านได้ 6 หน้า ยังมีอีกกี่หน้าที่ยังไม่ได้อ่าน ปิ่นมณีเลี้ยงปลาดุกแล้วขายไปได้เงิน 450 บาท
ก. 38 หน้า นำาไปซื้อนำ้าปลา 24 บาท นำ้ามันพืช 36 บาท
ข. 28 หน้า อยากทราบว่าเธอคงเหลือเงินกีบ่ าท
ค. 26 หน้า ก. 450 + 24 − 36 =
ง. 16 หน้า ข. 450 − (24 + 36) =
18. กองลูกเสือสามัญของโรงเรียน จำานวน ค. 450 + 24 + 36 =
336 คน ถ้าแบ่งออกเป็นหมู่ ๆ ละ 8 คน จะได้ ง. (24 + 36) − 450 =
กี่หมู่ 20. ศิริศักดิ์ทำางานได้ค่าจ้างเดือนละ 4,700 บาท
ก. 42 หมู่ ศราวุธทำางานได้เดือนละ 3,500 บาท ในเวลา
ข. 44 หมู่ 3 เดือน ทัง้ สองคนได้เงินค่าจ้างรวมกันเท่าไร
ค. 48 หมู่ ก. 8,200 บาท
ง. 52 หมู่ ข. 24,600 บาท
ค. 25,600 บาท
ง. 27,600 บาท

เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (สำาหรับครู)


1. ง 6. ข 11. ค 16. ง
2. ค 7. ง 12. ก 17. ค
3. ข 8. ง 13. ค 18. ก
4. ก 9. ข 14. ก 19. ข
5. ง 10. ค 15. ค 20. ข

แบบฝึกทักษะ
12

เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 1


❂❂❂❂❂❂❂❂❂

ค่าประจำาหลักและค่าของตัวเลขประจำาหลัก
ตัวอย่าง จำานวน 3, 512, 948 อ่านว่า สามล้านห้าแสนหนึ่งหมื่นสองพันเก้าร้อยสี่สิบแปด
จำานวน 2, 703, 512, 948 อ่านว่า สองพันเจ็ดร้อยสามล้านห้าแสนหนึ่งหมื่นสองพันเก้าร้อยสี่สิบแปด
เขียนจำานวน 3,512,948 และ 2,703,512,948 ตามหลักได้ดังนี้

จำานวน พัน ร้อย สิบ หน่วย แสน หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย
ล้าน
3,512,948 3 5 1 2 9 4 8
2,703,512,948 1 7 0 3 5 1 2 9 4 8

ตัวอย่าง ค่าประจำาหลักของจำานวน 2, 703, 512, 948 สามารถเขียนได้ดังนี้


ตัวเลข อยู่ในหลัก ค่าประจำาหลัก ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลัก
8 หน่วย 1 8X1 = 8
4 สิบ 10 4 X 10 = 40
9 ร้อย 100 9 X 100 = 900
2 พัน 1,000 2 X 1,000 = 2,000
1 หมื่น 10,000 1 X 10,000 = 10,000
5 แสน 100,000 5 X 100,000 = 500,000
3 ล้าน 1,000,000 3 X 1,000,000 = 3,000,000
0 สิบล้าน 10,000,000 0 X 10,000,000 = 0
7 ร้อยล้าน 100,000,000 7 X 100,000,000 = 700,000,000
2 พันล้าน 1,000,000,000 2 X = 2,000,000,000
1,000,000,000
ค่าประจำาหลักในแต่ละหลักมีค่าเป็นสิบเท่าของค่าประจำาหลักของหลักที่อยู่ถัดไปทางขวามือ
ค่าของตัวเลขในแต่ละหลักมีค่าเท่ากับผลคูณของตัวเลขนั้นกับค่าประจำาหลักของตัวเลขนั้น
13

กิจกรรม
ตอนที่ 1 จงเขียนจำานวนต่อไปนี้เป็นตัวเลขไทยและเขียนคำาอ่านให้ถูกต้อง

ข้อ จำานวน เขียนเป็นตัวเลขไทย เขียนคำาอ่านเป็นตัวหนังสือ


1 955
2 30,256
3 21,371
4 521,095
5 100,100
6 7,420,199
7 5,691,301
8 411,023,955
9 101,000
10 2,582,364,700

ตอนที่ 2 จงเขียนจำานวนเป็นตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบิกจากคำาอ่านจำานวนที่เป็นตัวหนังสือ

ข้อ คำาอ่าน ตัวเลขไทย ตัวเลขฮินดูอารบิก


1 หนึ่งพันแปดร้อยเก้า
2 สองหมื่นเก้าพันสามร้อยสี่สิบสอง
3 หกแสนสองหมื่นสี่สิบหก
4 หกสิบเอ็ดล้านห้าแสนห้าหมื่นสี่พัน
5 หนึ่งพันสองร้อยล้านสามแสนสี่พันหนึ่งร้อยห้าสิบ
14

ตอนที่ 3 จงเขียนจำานวนต่อไปนี้ตามค่าประจำาหลักแต่ละหลักให้ถูกต้อง

จำานวน พัน ร้อย สิบ หน่วย แสน หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย
ล้าน
1,009
20,501
428,965
5,120,988,091

ตอนที่ 4 จงเขียนค่าประจำาหลักของจำานวน 5, 120, 988, 091 โดยเติมตัวเลขลงใน และ


ช่องว่างให้ถูกต้อง

ตัวเลข อยู่ในหลัก ค่าประจำาหลัก ค่าของตัวเลขตามค่าประจำาหลัก


1 หน่วย 1 X1 =
9 สิบ 10 X 10 =
0 ร้อย 100 X 100 =
8 พัน 1,000 X 1,000 =
8 หมื่น 10,000 X 10,000 =
9 แสน 100,000 X 100,000 =
0 ล้าน 1,000,000 X 1,000,000 =
2 สิบล้าน 10,000,000 X 10,000,000 =
1 ร้อยล้าน 100,000,000 X 100,000,000 =
5 พันล้าน 1,000,000,000 X 1,000,000,000 =
15

แผนการเรียนรู้ที่ 2
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง การเรียงลำาดับจำานวน เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การเรียงลำาดับจำานวนหลายจำานวนทำาได้โดยการเปรียบเทียบจำานวนทีละคู่

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดตัวเลขแทนจำานวนนับหลายจำานวนให้ สามารถเรียงลำาดับจากจำานวนที่มี
ค่าน้อยไปหาจำานวนที่มีค่ามากได้
2. เมื่อกำาหนดตัวเลขแทนจำานวนนับหลายจำานวนให้ สามารถเรียงลำาดับจากจำานวนที่มี
ค่ามากไปหาจำานวนที่มีค่าน้อยได้

สาระการเรียนรู้
การเรียงลำาดับจำานวน
การเรียงลำาดับจำานวน จะต้องพิจารณาค่าของหลักที่มีจำานวนหลักมากก่อนไปหาจำานวน
ที่มีจำานวนหลักน้อย และถ้ามีจำานวนหลักเท่ากันจะพิจารณาที่ค่าประจำาหลักที่มีค่ามากที่สุดหรือ
น้อยที่สุดเป็นอันดับแรก แล้วจึงเรียงลำาดับจำานวนที่มีค่าน้อยไปหามากหรือจำานวนที่มีค่ามากไป
หาน้อย

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยแจก ใบงาน “เติมค่าประจำาหลัก” (ท้ายแผนการเรียน
รู)้ (เวลา 5 นาที)
2. ทบทวนค่าประจำาหลัก โดยนักเรียนช่วยกันอ่านแผนภูมิค่าประจำาหลัก (ตาม
กิจกรรมข้อ 9 แผนการเรียนรู้ที่ 1) แล้วช่วยกันกำาหนดจำานวนนับ 6 − 10
หลัก ส่งตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนจำานวนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ
ตัวหนังสือบนกระดานพร้อมกับแสดงค่าประจำาหลักโดยใช้หลักลูกคิด เช่น
605,899
16

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก คือ 605,899


เขียนเป็นตัวเลขไทย คือ ๖๐๕,๘๙๙
เขียนเป็นตัวหนังสือ คือ หกแสนห้าพันแปดร้อยเก้าสิบเก้า
3. นักเรียนร่วมกันร้องเพลงมาเรียนคณิตศาสตร์ (ท้ายแผนการเรียนรู)้ พร้อมกับปรบ
มือประกอบจังหวะ
4. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แจกหลักลูกคิดให้ทุกกลุ่ม ๆ ละ 1 ชุด และ
บัตรจำานวนนับ กลุ่มละ 1 บัตร คือ 34 , 98 , 389 , 1,064 นักเรียน
แต่ละกลุ่มนำา บัตรจำานวนนับที่ได้รับไปแสดงค่าประจำาหลักโดยใช้หลักลูกคิด จะ
ได้ดังนี้

กลุ่มที่ 1 จำานวน 34 กลุ่มที่ 2 จำานวน 98


17

กลุ่มที่ 3 จำานวน 389 กลุ่มที่ 4 จำานวน 1,064

5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการเปรียบเทียบจำานวนนับตั้งแต่สองจำานวนขึ้นไป
ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำาหลักลูกคิดที่แสดงค่าประจำาหลักของจำานวนในบัตรจำานวนมา
เปรียบเทียบกันหน้าชั้น แล้วช่วยกันลองเปรียบเทียบค่าของจำานวนนับทีละคู่
5.1 การเปรียบเทียบจำานวนที่มีหลักเท่ากัน นักเรียนช่วยกันพิจารณาจำานวนตัวเลข
ในหลักลูกคิดที่มีจำานวนหลักเท่ากัน คือ จำานวนตัวเลขสองหลักมีสองจำานวน คือ 34 กับ 98
นักเรียนช่วยกันพิจารณาค่าของจำานวนจากหลักลูกคิด จะเห็นว่า ค่าของ 98 มีค่ามากกว่า 34
ดังนั้น การเปรียบเทียบค่าของจำานวนที่มีจำานวนหลักเท่ากัน จึงพิจารณาที่ค่าของ
ตัวเลขที่อยู่หลักซ้ายมือสุด ค่าของตัวเลขใดมากกว่า จำานวนของตัวเลขนั้นอยู่จะมีค่ามากกว่า เช่น
98 กับ 34 ค่าของตัวเลขที่อยู่หลักซ้ายมือสุด คือ 9 และ 3
เนื่องจาก 9 > 3 ดังนั้น 98 > 34
นักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวนนับที่มจี ำานวนหลักเท่ากัน แล้วช่วยกันพิจารณา
เปรียบเทียบโดยใช้หลักการเดียวกันนี้อีก 2 − 3 จำานวน
ตัวอย่าง จงเปรียบเทียบ 63,989 กับ 67,182
1) นักเรียนพิจารณาจะเห็นว่าเป็นจำานวนตัวเลข 5 หลักเท่ากันและค่าประจำาหลัก
ที่มีค่ามากที่สุดของทั้งสองจำานวนก็เท่ากันด้วย (60,000) จึงต้องพิจารณาในขั้นต่อไป
2) นักเรียนพิจารณาเมื่อค่าประจำาหลักที่มีค่ามากที่สุดมีค่าเท่ากันแล้วก็พจิ ารณา
ตัวเลขในหลักถัดไป จะเห็นว่า 3,000 น้อยกว่า 7,000
ดังนั้น 63,989 น้อยกว่า 67,182 และเขียนประโยคสัญลักษณ์จะได้
63,989 < 67,182
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่า การเปรียบเทียบจำานวนที่มีหลักเท่ากัน ให้พิจารณา
ค่าของตัวเลขในแต่ละหลัก ทีละหลัก ตั้งแต่หลักที่อยู่ทางซ้ายมือสุดก่อน ถ้ามีค่าเท่ากันก็ให้
พิจารณาในหลักถัดไปจนกว่าจะได้จำานวนที่มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า
5.2 การเปรียบเทียบจำานวนที่มีหลักไม่เท่ากัน โดยนำาจำานวนที่แสดงบนหลักลูกคิด
ของนักเรียนทุกจำานวน คือ 34 , 98 , 389 และ 1,064 มาเปรียบเทียบกัน
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและพิจารณา จะเห็นว่า ค่าของจำานวนที่มีค่ามากกว่า
คือ ค่าของจำานวนที่มีจำานวนหลักมากกว่า นั่นคือ
18

389 มากกว่า 34 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ 389 > 34 และ


1,064 มากกว่า 98 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ 1,064 > 98
นักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวนนับที่มจี ำานวนหลักไม่เท่ากัน แล้วช่วยกันฝึก
เปรียบเทียบโดยใช้หลักการเดียวกันนี้อีก 2 − 3 จำานวน
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่า การเปรียบเทียบจำานวนนับที่มีหลักไม่เท่ากัน
ให้พิจารณา จำานวนนับที่มจี ำานวนหลักมากกว่าจะมีค่ามากกว่า
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการเปรียบเทียบจำานวน การเรียงลำาดับจำานวนจาก
น้อยไปหามาก โดยนักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวนนับ 2-4 จำานวน เช่น
25,605 3,019 40,001 968
จะเห็นว่า จะพิจารณาค่าของหลักที่มีจำานวนหลักน้อยก่อนไปหาจำานวนที่มีจำานวนหลักมากและ
ถ้ามีจำานวนหลักเท่ากันจะพิจารณาที่ค่าประจำาหลักที่มีค่าน้อยที่สุดเป็นอันดับแรก แล้วจึง
เรียงลำาดับจำานวนที่มีค่าน้อยไปหามาก คือ
เรียงลำาดับจำานวนจากน้อยไปหามาก จะได้ 968 3,019 25,605 40,001
7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการเปรียบเทียบจำานวน การเรียงจำานวนลำาดับจาก
มากไปหาน้อย โดยนักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวนนับ 2-4 จำานวน เช่น
25,605 3,019 40,001 968
จะเห็นว่า จะพิจารณาค่าของหลักที่มีจำานวนหลักมากก่อนไปหาจำานวนที่มีจำานวนหลักน้อย และ
ถ้ามีจำานวนหลักเท่ากันจะพิจารณาที่ค่าประจำาหลักที่มีค่ามากที่สุดเป็นอันดับแรก แล้วจึง
เรียงลำาดับจำานวนที่มีค่ามากไปหาน้อย คือ
เรียงลำาดับจำานวนจากมากไปหาน้อย จะได้ 40,001 25,605 3,019 968
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการเรียงลำาดับจำานวนว่า พิจารณาค่าของหลักที่มจี ำานวน
หลักมากก่อนไปหาจำานวนที่มีจำานวนหลักน้อย และถ้ามีจำานวนหลักเท่ากันจะพิจารณาที่
ค่าประจำาหลักที่มีค่ามากที่สุดหรือน้อยที่สุดเป็นอันดับแรก แล้วจึงเรียงลำาดับจำานวนที่มีค่าน้อย
ไปหามากหรือจำานวนที่มีค่ามากไปหาน้อย และช่วยกันเขียนข้อสรุปเป็นแผนภูมิลงใน
กระดาษปรู๊ฟติดป้ายนิเทศมุมคณิตศาสตร์ นักเรียนช่วยกันอ่าน 2 จบ แล้วจดบันทึกลงในสมุด
9. นักเรียนฝึกปฏิบตั ทิ ำาแบบฝึกทักษะ เรือ่ ง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
ชุดที่ 2 (ท้ายแผนการเรียนรู)้
19

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน “เติมค่าประจำาหลัก”
2. บัตรตัวเลข จำานวน 9 - 10 บัตร
3. แผนภูมิเพลงมาเรียนคณิตศาสตร์
4. ภาพลูกคิด
5. กระดาษปรู๊ฟ ปากกาสีเคมี
6. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 2
7. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
20

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
21

ใบงาน “เติมค่าประจำาหลัก”

จงเขียนค่าประจำาหลักของจำานวนต่อไปนี้

อยู่ในหลักแสน มีค่า……………………..….
อยู่ในหลักหมื่น มีค่า………………….……..
อยู่ในหลักพัน มีค่า…………………………..
อยู่ในหลักร้อย มีค่า………………………….
อยู่ในหลักสิบ มีค่า……………………………
อยู่ในหลักหน่วย มีค่า……………………….

258,069

อยู่ในหลักล้าน มีค่า……………….……..….
อยู่ในหลักแสน มีค่า………………….…..….
อยู่ในหลักหมื่น มีค่า………………….……..
อยู่ในหลักพัน มีค่า…………………………..
อยู่ในหลักร้อย มีค่า………………………….
อยู่ในหลักสิบ มีค่า……………………………
อยู่ในหลักหน่วย มีค่า……………………….
เฉลย
3,078,255 หลัก
ล้าน
258,069 3,078,255
3,000,000
แสน 200,000 0
หมืน่ 50,000 70,000
พัน 8,000 8,000
ร้อย 0 200
สิบ 60 50
หน่วย 9 5
22

เพลงมาเรียนคณิตศาสตร์

เนื้อร้อง ราตรี รุ่งทวีชัย ทำานอง เพลงสามสิบยังแจ๋ว

ชั่วโมงนี้มาเรียน หนูจงพากเพียรเรียนวิชาคณิต ฯ
หนูอย่าเพิ่งเบือนบิดคณิตศาสตร์ก็มีเรื่องแจ๋ว
มาร่วมมาร้องเพลงกัน เพื่อความมุ่งมั่นมาร้องกันสักนิด
มีสิ่งใดข้องจิต คณิตศาสตร์ช่วยแก้ปัญหา
23

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 2
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

การเรียงลำาดับจำานวน
ตัวอย่าง (1) จงเรียงลำาดับจำานวนที่มีค่ามากไปหาจำานวนที่มีค่าน้อย
5,019,296 5,210,269 965,021
ตอบ 5,210,269 5,019,296 965,021

พิจารณาเปรียบเทียบทั้งสามจำานวน จำานวนที่มีจำานวนหลักมากที่สุด
ซึ่งมี 7 หลัก คือ 5,019,296 5,210,269 แต่
5,210,269 มีค่าหลักแสนมากกว่า จึงพิจารณาเรียงลำาดับ
จำานวนที่มีค่ามากก่อน คือ 5,210,269 ไปตามลำาดับ

ตัวอย่าง (2) จงเรียงลำาดับจำานวนที่มีค่าน้อยไปหาจำานวนที่มีค่ามาก


5,019,296 5,210,269 965,021
ตอบ 965,021 5,019,296 5,210,269

พิจารณาเปรียบเทียบทั้งสามจำานวน จำานวนที่มีจำานวนหลักน้อยที่สุด ซึ่งมี


6 หลัก คือ 965,021 แล้วจึงเปรียบจำานวนถัดไป คือ
5,019,296 5,210,269 แต่ 5,019,296 มีค่าหลักแสน
น้อยกว่า จึงพิจารณา เรียงลำาดับจำานวนที่มีค่าน้อยก่อนไปตามลำาดับ
24

กิจกรรม
ตอนที่ 1 จงเรียงลำาดับจากจำานวนที่มีค่ามากไปหาจำานวนที่มีค่าน้อย
1. 65,999 59,870 95,641
………………………………………………………………………………………………………………………………
2. 285,456 215,009 825,100
………………………………………………………………………………………………………………………………
3. 97,922 292,700 700,229 79,927
………………………………………………………………………………………………………………………………
4. 886,550 85,850,615 868,505 85,601,558
………………………………………………………………………………………………………………………………
5. 9,506,233 9,506,333 965,333
………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนที่ 2 จงเรียงลำาดับจากจำานวนที่มีค่าน้อยไปหาจำานวนที่มีค่ามาก
1. 25,664 354,209 297,882
………………………………………………………………………………………………………………………………
2. 264,223 78,900 655,223 9,099
………………………………………………………………………………………………………………………………
3. 301,045 450,310 504,800 328,001
………………………………………………………………………………………………………………………………
4. 695,000,255 956,528,000 900,000,000
………………………………………………………………………………………………………………………………
5. 1,112,555 1,112,500 1,112,655
………………………………………………………………………………………………………………………………
25

แผนการเรียนรู้ที่ 3
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การนำาจำานวนไปใช้อาจใช้ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหลักได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดจำานวนนับให้สามารถหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อย
เต็มพันได้
2. เพื่อฝึกทักษะเขียนค่าประมาณใกล้เคียงได้

สาระการเรียนรู้
ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน
1. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักสิบ ถ้ามีค่าน้อยกว่า 5 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบคือจำานวนเต็มสิบที่มีค่าน้อยกว่า
จำานวนนับนั้นถ้ามีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบคือจำานวนเต็มสิบที่มี
ค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
2. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อย ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักสิบ ถ้ามีค่าน้อยกว่า 50 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อยคือจำานวนเต็มร้อยทีม่ คี า่
น้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 50 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อยคือ
จำานวนเต็มร้อยที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
3. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักร้อย ถ้ามีค่าน้อยกว่า 500 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพันคือจำานวนเต็มพันที่มี
ค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 500 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน
คือจำานวนเต็มพันที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
26

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยแจกใบงาน “เรียงจำานวน” (ท้ายแผนการเรียนรู)้ (เวลา 4
นาที)
2. แนะนำาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนและสนทนาความสำาคัญของค่าประมาณใกล้เคียง
จำานวนเต็มสิบ เต็มร้อย ที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน เช่น ระยะทางจากหมู่บ้านถึงอำาเภอเมือง
มีระยะทาง 39 กิโลเมตร ก็จะใช้ค่าประมาณใกล้เคียงเต็มสิบเป็น มีระยะทางประมาณ
40 กิโลเมตร ซึ่งจะทำาให้เข้าใจได้ง่าย
3. นักเรียนช่วยกันพิจารณาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหลักต่าง ๆ โดยใช้
เส้นจำานวน นักเรียนเขียนเติมจำานวนที่ขาดหายไปให้ครบ (คือ 410 413 415 417
และ 420) ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เช่น

ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ คือ 410 และ 420


พิจารณา 413 อยู่ระหว่าง 410 และ 420 อยูใ่ กล้ 410 มากกว่า
ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของ 413 คือ 410
พิจารณา 415 กับ 417 อยู่ระหว่าง 410 และ 420 อยูใ่ กล้ 420 มากกว่า
ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของ 415 กับ 417 คือ 420
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของจำานวนนับ
ทำาได้ โดยพิจารณาตัวเลขในหลักหน่วย ดังนี้
ถ้ามีค่าน้อยกว่า 5 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบคือจำานวนเต็มสิบที่มีค่าน้อยกว่า
จำานวนนับนั้นถ้ามีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบคือจำานวนเต็มสิบที่มี
ค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
5. นักเรียนช่วยกันเขียนสรุปเป็นแผนภูมิการหาค่าประมาณใกล้เคียงเต็มสิบ ลงใน
กระดาษปรู๊ฟ แล้วนักเรียนอ่านและจดบันทึกลงในสมุด
6. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อย โดยใช้วิธีการ
เดียวกับการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ โดยนักเรียนช่วยกันกำาหนดเส้นจำานวน
นักเรียนช่วยกันเขียนจำานวนที่ขาดหายไปให้ครบ (คือ 1,210 1,230 1,250 1,280 )
27

. . . . . . . . . . .
1 200 1 210 1 220 1 230 1 240 1 250 1 260 1 270 1 280 1 290 1 300
, , , , , , , , , , ,

7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อย คือ
การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อย ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักสิบ ถ้ามีค่าน้อยกว่า 50 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อยคือจำานวนเต็มร้อยทีม่ ี
ค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 50 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อยคือ
จำานวนเต็มร้อยที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น นั่นคือ
จำานวน 1,210 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักสิบมีค่าเป็น 10 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 50

ดังนั้น 1,210 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อย เท่ากับ 1,200 และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้น


จากจำานวน 1,210 ไปหาจำานวน 1,200
จำานวน 1,230 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักสิบมีค่าเป็น 30 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 50

ดังนั้น 1,230 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อย เท่ากับ 1,200 และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้น


จากจำานวน 1,230 ไปหาจำานวน 1,200
จำานวน 1,250 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักสิบมีค่าเป็น 50 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 50
ดังนั้น 1,250 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อย เท่ากับ 1,300 และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้น
จากจำานวน 1,250 ไปหาจำานวน 1,300
จำานวน 1,280 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักสิบมีค่าเป็น 80 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50

ดังนั้น 1,280 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อย เท่ากับ 1,300 และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้น


จากจำานวน 1,280 ไปหาจำานวน 1,300
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อย ของจำานวนนับ
ให้พิจารณาจำานวนในหลักสิบ ถ้ามีค่าน้อยกว่า 50 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อยคือ
28

จำานวนเต็มร้อย ทีม่ คี า่ น้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 50 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียง


จำานวนเต็มร้อยคือจำานวนเต็มร้อยที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
9. นักเรียนช่วยกันเขียนสรุปเป็นแผนภูมิการหาค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อย ลงใน
กระดาษปรู๊ฟ แล้วนักเรียนอ่านและจดบันทึกลงในสมุด
10. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน โดยใช้วิธีการ
เดียวกับการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อย โดยนักเรียนช่วยกันกำาหนดเส้นจำานวนดังนี้

. . . .
31,000 31,110 31,250 31,370
. . .
31,456 31,500 31,652
. . . .
31,755 31,886 31,905 32,000

11. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพัน คือ


การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักร้อย ถ้ามีค่าน้อยกว่า 500 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพันคือจำานวนเต็มพันที่มีค่าน้อย
กว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตัง้ แต่ 500 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพันคือ
จำานวนเต็มพันที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น นั่นคือ
จำานวน 31,370 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักร้อยมีค่าเป็น 300 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า
500 ดังนั้น 31,370 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพัน เท่ากับ 31,000 และนักเรียนเขียนลูกศร
โยงเส้นจากจำานวน 31,370 ไปหาจำานวน 31,000
จำานวน 31,652 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักร้อยมีค่าเป็น 600 ซึง่ มีค่ามากกว่า
500 ดังนั้น 31,652 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพัน เท่ากับ 32,000 และนักเรียนเขียนลูกศร
โยงเส้นจากจำานวน 31,652 ไปหาจำานวน 32,000
จำานวน 31,905 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักร้อยมีค่าเป็น 900 ซึง่ มีค่ามากกว่า
500 ดังนั้น 31,905 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพัน เท่ากับ 32,000 และนักเรียนเขียนลูกศร
โยงเส้นจากจำานวน 31,905 ไปหาจำานวน 32,000
12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพันของจำานวนนับ
ให้พิจารณาจำานวนในหลักร้อย ถ้ามีค่าน้อยกว่า 500 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน
คือจำานวนเต็มพันที่มีค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 500 ขึ้นไป
ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพันคือจำานวนเต็มพันที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
29

13. นักเรียนช่วยกันเขียนสรุปเป็นแผนภูมิการหาค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพันติดบน
กระดาน ช่วยกันอ่าน 2− 3 จบ แล้วจดบันทึกลงในสมุด
14. นักเรียนฝึกปฏิบตั ทิ ำาแบบฝึกทักษะ เรือ่ ง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 3 (ท้ายแผนการเรียนรู)้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน “เรียงจำานวน”
2. เส้นจำานวน
3. บัตรตัวเลข
4. กระดาษปรู๊ฟ ปากกาสีเคมี
5. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 3
6. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู้)
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
30

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
31

ใบงาน “เรียงจำานวน”
กติกา จงเรียงจำานวนนับเสียใหม่ให้มีค่าจำานวนมากที่สุด ปานกลาง และน้อยที่สุด

มากที่สุด ปานกลาง น้อยที่สุด


ตัวอย่าง 852 582 258
2 5 8
1 0 8

2 3 6 1

9 0 9 2

6 7 4

6 7 4 8 1

0 5 6
32

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 3
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ
ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ ของ 234 และ 236
. . . . . . . . . . .
230 231 232 233 234 235 236 237 238 239 240

พิจารณา 234 อยู่ระหว่าง 230 และ 240 อยู่ใกล้ 230 มากกว่า


ดังนัน้ ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของ 234 คือ 230
พิจารณา 236 อยู่ระหว่าง 230 และ 240 อยู่ใกล้ 240 มากกว่า
ดังนัน้ ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของ 236 คือ 240

การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มร้อย
ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ ของ 2,410 และ 2,463
. . . . . . .
2,463
. . . .
2,400 2,410 2,420 2,430 2,440 2,450 2,460 2,470 2,480 2,490 2,500

พิจารณา 2,410 อยู่ระหว่าง 2,400 และ 2,500 อยู่ใกล้ 2,400 มากกว่า


ดังนัน้ ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของ 2,410 คือ 2,400
พิจารณา 2,463 อยู่ระหว่าง 2,400 และ 2,500 อยู่ใกล้ 2,500 มากกว่า
ดังนัน้ ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของ 2,463 คือ 2,500
33

การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน
ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน ของ 37,680
พิจารณา 37,680 ค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพันจะอยู่ระหว่าง 37,000 และ 38,000
อยู่ใกล้ 38,000 มากกว่า ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพัน ของ 37,680 คือ 38,000
ตอบ ๓๘,๐๐๐

กิจกรรม
1. จงเขียนวงกลมล้อมรอบค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบของจำานวนต่อไปนี้
ตัวอย่าง 59

50ท 51ท 52ท 53ท 54ท 55ท 56ท 57ท 58ท 59ท 60ท

1) 52
ท ท ท ท ท ท ท ท ท
50ท 51ท 52 53 54 55 56 57 58 59 60
2) 125
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
120ท ท
121 122 123 124 125 126 127 128 129 130
3) 264
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
260ท ท
261 262 263 264 265 266 267 268 269 270
4) 3,189
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
3,100 3,181 3,182 3,183 3,184 3,185 3,186 3,187 3,188 3,189 3,190
5) 1,748

ท ท ท ท ท ท ท ท ท
1,740ท 1,741

1,742 1,743 1,744 1,745 1,746 1,747 1,748 1,749 1,750
34

2. จงเขียนวงกลมล้อมรอบค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มพันของจำานวนต่อไปนี้

1) 1,366
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
1,000 1,100 1,200 (1,366)1,400 1,500 1,600 1,700 1,800 1,900 2,000

2) 3,905
I.
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
3,000 3,100 3,200 3,300 3,400 3,500 3,600 3,700 3,800 (3,905) 4,000

3) 21,180
ท ท ทท ท ท ท ท ท ท ท ท
21,000 21,100 (21,180) 21,300 21,400 21,500 21,600 21,700 21,800 21,900 22,000

4) 44,596

ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
44,000 44,100 44,200 44,300 44,400 44,500 (44,596) 44,700 44,800 44,900 45,000

5) 72,800
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
72,000 72,100 72,200 72,300 72,400 72,500 72,600 72,700 (72,800) 72,900 73,000
35

3. จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อย และเต็มพันของจำานวนต่อไปนี้

จำานวน ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวน
เต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน
1. 825
2. 6,599
3. 1,775
4. 12,927
5. 54,061
6. 38,150
7. 312,806
8. 200,189
9. 3,451,288
10. 95,641,811
36

แผนการเรียนรู้ที่ 4
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น เต็มแสน เต็มล้าน เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหลักสามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดจำานวนนับให้สามารถหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น เต็มแสน
เต็มล้านได้
2. เพื่อฝึกทักษะการเขียนค่าประมาณใกล้เคียง

สาระการเรียนรู้
ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น เต็มแสน เต็มล้าน
1. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของจำานวนนับ ให้พจิ ารณาจำานวนใน
หลักพัน ถ้ามีค่าน้อยกว่า 5,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นคือ จำานวนเต็มหมื่น
ที่มีค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียง
จำานวนเต็มหมื่นคือจำานวนเต็มหมื่นที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
2. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักหมื่น ถ้ามีค่าน้อยกว่า 50,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนคือจำานวนเต็มแสนที่มี
ค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น ถ้ามีค่าตัง้ แต่ 50,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน
คือจำานวนเต็มแสนที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
3. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักแสน ถ้ามีค่าน้อยกว่า 500,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้านคือจำานวนเต็มล้าน
ที่มีค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น ถ้ามีค่าตั้งแต่ 500,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียง
จำานวนเต็มล้านคือจำานวนเต็มล้านที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
37

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยแจกใบงาน “นับเพิ่มคิดสนุก” (ท้ายแผนการเรียนรู้)
(เวลา 5 นาที)
2. ทบทวนค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อยและเต็มพัน โดยเล่นเกมแข่งขัน
หาค่าประมาณใกล้เคียง โดยตัวแทนนักเรียนเขียนจำานวนนับตัวเลข 5 หลักบนกระดาน
แล้วแข่งขันกันตอบค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อยและเต็มพัน ผู้ที่ตอบได้ก่อน
และถูกต้องจะได้คะแนนครั้งละ 1 คะแนน เสร็จแล้วเขียนจำานวนที่ 2 − 3 ตามลำาดับ
ผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดเป็นผู้ชนะในเกม
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมืน่
โดยวิธกี ารเดียวกับจำานวนเต็มสิบ เต็มร้อยและเต็มพัน คือ
นักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวนนับบนเส้นจำานวนแล้วร่วมกันอภิปรายหาค่าประมาณ
ใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น เช่น 21,485 25,000 29,000

. .. . . . . . . . . .
20,000 21,485 23,000 25,000 29,000 30,000
ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น คือ 20,000 และ 30,000
พิจารณา 21,485 อยู่ระหว่าง 20,000 และ 30,000 อยูใ่ กล้ 20,000 มากกว่า
ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของ 21,485 คือ 20, 000
พิจารณา 25,000 กับ 29,000 อยู่ ระหว่าง 20,000 และ 30,000 อยูใ่ กล้ 30,000
มากกว่า ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของ 25,000 กับ 29,000 คือ 30, 000
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมืน่ ของจำานวนนับ
ทำาได้โดยพิจารณาตัวเลขในหลักพัน ดังนี้
การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนในหลักพัน
ถ้ามีค่าน้อยกว่า 5,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นคือ จำานวนเต็มหมื่นที่มีค่า
น้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวน
เต็มหมื่นคือจำานวนเต็มหมื่นที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น นั่นคือ
38

จำานวน 21,485 นั กเรียนพิจารณาจำานวนในหลักพันมีค่าเป็น 1,000 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า


5,000 ดังนั้น 21,485 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มหมื่น เท่ากับ 20,000 และนักเรียนเขียน
ลูกศรโยงเส้นจากจำานวน 21,485 ไปหาจำานวน 20,000
จำานวน 25,000 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักพันมีค่าเป็น 5,000 ซึ่งมีค่าเท่ากับ
5,000 ดังนั้น 25,000 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพัน เท่ากับ 30,000 และนักเรียนเขียน
ลูกศรโยงเส้นจากจำานวน 25,000 ไปหาจำานวน 30,000
จำานวน 29,000 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักพันมีค่าเป็น 5,000 ซึง่ มีค่ามากกว่า
5,000 ดังนั้น 29,000 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มพัน เท่ากับ 30,000 และนักเรียนเขียน
ลูกศรโยงเส้นจากจำานวน 29,000 ไปหาจำานวน 30,000
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมืน่ ของจำานวนนับ
ทำาได้โดยพิจารณาตัวเลขในหลักพัน ดังนี้
การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนในหลักพัน
ถ้ามีค่าน้อยกว่า 5,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นคือ จำานวนเต็มหมื่นที่มีค่า
น้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น
คือจำานวนเต็มหมื่นที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
6. นักเรียนช่วยกันเขียนสรุปเป็นแผนภูมคิ ่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของ
จำานวนนับลงในกระดาษปรู๊ฟนำาไปติดบนกระดาน นักเรียนช่วยกันอ่าน แล้วจดบันทึกลงในสมุด
7. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนและเต็มล้าน โดย
ใช้วธิ กี ารเดียวกับการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น โดยนักเรียนช่วยกันกำาหนดจำานวน
6−7 หลักลงบนเส้นจำานวน เช่น 1,422,000 1,450,000 1,480,000

. . .. . . . . . . . .
1,400,000 1,422,000 1,450,000 1,460,000 1,470,000 1,480,000 1,500,000

8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนของจำานวนนับ
ทำาได้โดยพิจารณาตัวเลขในหลักหมืน่ ดังนี้
39

การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนของจำานวนนับ ให้พจิ ารณาจำานวนใน


หลักหมื่น ถ้ามีค่าน้อยกว่า 50,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนคือ
จำานวนเต็มแสนที่มีค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น และถ้ามีค่าตั้งแต่ 50,000 ขึ้นไป ค่าประมาณ
ใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนคือจำานวนเต็มแสนที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น นั่นคือ
จำา นวน 1,422,000 นักเรียนพิจารณาจำา นวนในหลักหมื่นมีค่าเป็น 20,000 ซึ่งมีค่า
น้อยกว่า 50,000 ดังนั้น 1,422,000 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มแสน เท่ากับ 1,400,000
และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้นจากจำานวน 1,422,000 ไปหาจำานวน 1,400,000
จำานวน 1,450,000 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักหมื่นมีค่าเป็น 50,000 ซึ่งมีค่า
เท่ากับ 50,000 ดังนั้น 1,450,000 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็ มแสน เท่ากับ 1,500,000
และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้นจากจำานวน 1,450,000 ไปหาจำานวน 1,500,000
จำานวน 1,480,000 นักเรียนพิจารณาจำานวนในหลักหมื่นมีค่าเป็น 80,000 ซึง่ มีค่า
มากกว่า 50,000 ดังนั้น 1,480,000 มีค่าประมาณใกล้เคียงเต็มหมื่น เท่ากับ 1,500,000
และนักเรียนเขียนลูกศรโยงเส้นจากจำานวน 1,480,000 ไปหาจำานวน 1,500,000
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนและเต็มล้าน
1) การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักหมื่น ถ้ามีค่าน้อยกว่า 50,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนคือจำานวนเต็มแสนที่มี
ค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น ถ้ามีค่าตั้งแต่ 50,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน
คือจำานวนเต็มแสนที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
2) การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน ของจำานวนนับ ให้พิจารณาจำานวนใน
หลักแสน ถ้ามีค่าน้อยกว่า 500,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้านคือจำานวนเต็มล้าน
ที่มีค่าน้อยกว่าจำานวนนับนั้น ถ้ามีค่าตั้งแต่ 500,000 ขึ้นไป ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวน
เต็มล้านคือจำานวนเต็มล้านที่มีค่ามากกว่าจำานวนนับนั้น
10. นักเรียนช่วยกันเขียนสรุปเป็นแผนภูมิการหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน
และเต็มล้านของจำานวนนับลงในกระดาษปรู๊ฟ ติดบนกระดาน นักเรียนช่วยกันอ่านและจดบันทึก
ลงในสมุด
11. นักเรียนฝึกปฏิบตั ิทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 4 (ท้ายแผนการเรียนรู)้ และสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
40

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน “นับเพิ่มคิดสนุก”
2. เส้นจำานวน
3. บัตรตัวเลข
4. กระดาษปรู๊ฟ ปากกาสีเคมี
5. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 4
6. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
1.2 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
2.2 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ทีไ่ ด้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
41

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
42

ใบงาน “นับเพิ่มคิดสนุก”

ลองนับเพิ่มลงในตารางให้ครบ ถูกต้องและรวดเร็ว

นับเพิ่มทีละ 10 นับเพิ่มทีละ 100 นับเพิ่มทีละ 1000 นับเพิ่มทีละ 10000


   
1,560 6,500 82,000 589,000

เฉลย
1,570 6,600 83,000 599,000
1,580 6,700 84,000 609,000
1,590 6,800 85,000 619,000
1,600 6,900 86,000 629,000
1,610 7,000 87,000 639,000
43

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 4
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหลักหมื่น หลักแสน หลักล้าน


1. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น
ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น ของ 27,600

ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
20,000 25,000 (27,600) 30,000

พิจารณา 27,600 อยู่ระหว่าง 20,000 และ 30,000 อยูใ่ กล้ 30,000 มากกว่า
ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของ 27,600 คือ 30,000

2. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน
ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน ของ 632,850 และ 680,655

ท ท ท ท ท ท ท ท ท ทท ท ท
600,000 632,850 650,000 680,655 700,000

พิจารณา 632,850 อยู่ระหว่าง 600,000 และ 700,000 อยู่ใกล้ 600,000 มากกว่า


ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนของ 632,850 คือ 600,000

พิจารณา 680,655 อยู่ระหว่าง 600,000 และ 700,000 อยู่ใกล้ 700,000 มากกว่า


ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนของ 680,655 คือ 700,000
44

3. การหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน
ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน ของ 15,637,680
15,637,680 พิจารณาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้านของ 15,637,680
อยู่ระหว่าง 15,000,000 และ 16,000,000 เมื่อพิจารณาค่าตัวเลขในหลักแสนจะมีอยู่ 800,000
ซึ่งมากกว่า 500,000 ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน ของ 15,637,680 คือ
16,000,000
ตอบ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐

ลองหำค่ำประมำณใกล้เคียงเต็มหลักต่ำง ๆ
ในแบบฝึกได้แล้วจ๊ะ
45

กิจกรรม
1. จงเขียนวงกลมล้อมรอบค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่นของจำานวนต่อไปนี้
ตัวอย่าง 36,500
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
30,000 35,000 36,500 40,000

1) 52,300
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท

50,000 52,300 55,000 60,000

2) 41,425
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
40,000 41,425 45,000 50,000

3) 268,404
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
260,000 265,000 268,404 270,000

4) 633,100
ท ท ท ทท ท ท ท ท ท ท ท
630,000 633,100 635,000 640,000

5) 781,748
ท ทท ท ท ท ท ท ท ท ท ท

780,000 781,748 785,000 790,000


46

2. จงเขียนวงกลมล้อมรอบค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสนของจำานวนต่อไปนี้

1) 825,500
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
800,000 825,500 850,000 900,000

2) 250,000
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท

200,000 250,000 300,000

3) 570,150
ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
500,000 550,000 570,150 600,000

4) 443,596

ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
400,000 443,596 450,000 500,000

5) 1,323,955

ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท ท
1,300,000 1,323,955 1,350,000 1,400,000
47

3. จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น
1) 20,725 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น คือ…………………………
2) 85,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น คือ…………………………
3) 208,099 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น คือ…………………………
4) 567,506 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น คือ…………………………
5) 2,357,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหมื่น คือ…………………………

4. จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน
1) 75,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน คือ…………………………
2) 725,525 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน คือ…………………………
3) 365,040 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน คือ…………………………
4) 888,756 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน คือ…………………………
5) 12,205,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มแสน คือ…………………………

5. จงหาค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน
1) 755,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน คือ…………………………
2) 2,625,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน คือ…………………………
3) 4,526,785 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน คือ…………………………
4) 60,505,120 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มล้าน คือ…………………………
5) 350,500,000 ค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มสิบล้าน คือ……………………
48

แผนการเรียนรู้ที่ 5
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง การบวก การลบจำานวนนับที่มีหลายหลัก เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การบวก การลบจำานวนทีม่ หี ลายหลักใช้หลักการเดียวกับการบวก การลบจำานวนทีม่ สี องหลัก

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดโจทย์การบวก การลบจำานวนนับให้ สามารถแสดงวิธีทำาและหาคำาตอบได้
2. เพื่อฝึกทักษะการบวก การลบจำานวนนับที่มีหลายหลัก

สาระการเรียนรู้
การบวก การลบจำานวนนับที่มีหลายหลัก
การบวก การลบจำานวนนับที่มีหลายหลัก จะใช้หลักการเดียวกับการบวกและการลบ
จำานวนนับที่มีสองหลัก โดยการเขียนจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงบวกลบกัน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยแจกใบงาน “ตัวเลขมหัศจรรย์” (ท้ายแผนการเรียนรู้)
(เวลา 5 นาที) ภายในเวลาทีก่ ำาหนด ถ้าไม่แล้วเสร็จให้นักเรียนไปทำาต่อในช่วงเวลาว่าง
2. ทบทวนค่าประมาณใกล้เคียงจำานวนเต็มหลักต่าง ๆ โดยตัวแทนของนักเรียนนำา
เสนอโจทย์แล้วนักเรียนทุกคนคิดและบอกคำาตอบ เช่น จงหาค่าประมาณใกล้เคียง
เต็มหมื่น
เต็มพัน เต็มร้อย เต็มสิบของ 125,409
1. ทบทวนการบวกและการลบจำานวนนับที่มีสองหลัก โดยแจกบัตรตัวเลขสองหลักให้
นักเรียนทุกคน แล้วนักเรียนจับคู่กันนำา บัตรตัวเลขที่ได้รับแจกมาบวกและลบกัน
เสร็จแล้วนำาเสนอวิธีคิดหาคำาตอบแสดงวิธีทำาบนกระดานทีละคู่ จนครบ เช่น
56 32

นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคนที่ 2
49

นำามาบวกกัน จะได้ 56 + 32 = 88 ถ้านำามาลบกันจะได้ 56 − 32 = 24


4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการบวก การลบจำานวนนับ นำาโจทย์การบวกและ
การลบ มาทบทวนวิธีคิดคำานวณหาคำาตอบ เช่น
(1) 56 + 32 =
วิธีกระจาย 50 + 6 +
30 + 2
80 + 8 = 88
วิธีลัด 56 +
32
88
(2) 56 − 32 =
วิธีกระจาย 50 + 6 −
30 + 2
20 + 4 = 24
วิธีลัด 56 −
32
24
จะเห็นว่า การคิดคำานวณโดยวิธีลัดจะสะดวกและรวดเร็วกว่า ซึ่งสามารถนำาไปใช้ใน
การบวก การลบจำานวนนับที่มีหลายหลักได้ โดยการเขียนจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน
แล้วจึงบวกลบกัน
ตัวอย่าง (1) 6,599 + 5,987 =
วิธีทำา 6,599 +
5,987
12,586
ตอบ ๑๒,๕๘๖
50

ตัวอย่าง (2) 5,062 − 1,231 =


วิธีทำา 5,062 −
1,231
3,831
ตอบ ๓,๘๓๑
5. นักเรียนแบ่งกลุ่มคิดโจทย์การบวกและการลบจำานวนนับ 2−6 หลัก แล้วให้เพื่อน
กลุ่มอื่นคิดคำานวณหาคำาตอบและส่งตัวแทนของกลุ่มนำาเสนอแสดงวิธีทำาบนกระดาน พร้อมทั้ง
ช่วยกันตรวจคำาตอบด้วย . เช่น
1. 235 + 456 =
2. 9,082 + 1,085 =
3. 2,200 − 569 =
4. 11,036 − 2,038 =
6. ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและอภิปรายผลการนำาเสนอผลงานการคิดคำานวณ
โจทย์การบวก การลบของแต่ละกลุ่ม
7. แจกกระดาษอัดสำาเนา ขนาด เอ 4 กลุ่มละ 4 − 6 แผ่น ปากกาสีเคมี ให้แต่ละ
กลุ่มช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมทำาใบงาน “เติมจำานวนที่หายไป” ตามตัวอย่าง ต่อไปนี้

4 8 9+ 4 0 1−
2 3 2 3
7 9

ด้านหน้า
489+ 401

283 293
772 108
51

ด้านหลัง (เฉลย)
8. นักเรียนนำาใบงาน “เติมจำานวนที่หายไป” แลกเปลี่ยนกันเล่นกับกลุ่มอื่นหมุนเวียนกัน
จนครบทุกกลุ่ม
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการบวก การลบจำานวนนับที่มีหลายหลัก จะใช้หลักการ
เดียวกับการบวกและการลบจำานวนนับที่มีสองหลัก โดยการเขียนจำานวนที่อยูใ่ นหลักเดียวกันให้
ตรงกัน แล้วจึงบวกลบกัน
10. นักเรียนฝึกปฏิบตั ิทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 5 (ท้ายแผนการเรียนรู)้

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน “ตัวเลขมหัศจรรย์”
2. บัตรตัวเลข
3. กระดาษอัดสำาเนา ขนาด เอ 4 ปากกาสีเคมี
4. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 5
5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
52

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
53

ใบงาน “ตัวเลขมหัศจรรย์”

ลองหาผลคูณและสังเกตผลคูณที่ได้

1. 1X1 = 1
2. 11 X 11 = 121
3. 111 X 111 = 1231
4. 1111 X 1111 =
5. 11111 X 11111 =
6. 111111 X 111111 =
7. 1111111 X 1111111 =
8. 11111111 X 11111111 =
9. 111111111 X 111111111 =

เฉลย
4. 12341
5. 123451
6. 1234561
7. 12345671
8. 123456781
9. 1234567891
54

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 5
❂❂❂❂❂❂❂❂❂
โจทย์การบวกและการลบ
การบวก การลบจำานวนที่มีหลายหลัก
ใช้หลักการเดียวกับการบวก การลบจำานวนที่มีสองหลัก

กิจกรรม
ตอนที่ 1 จงเติมคำาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. 25 + 14 = ……………
2. 32 − 16 = ……………
3. 48 + 62 = ……………
4. 99 − 45 = ……………
5. 125 + 36 = ……………
6. 340 + 280 = ……………
7. 1,500 − 1,216 = ……………
8. 60,789 − 58,123 = ……………
9. 500,000 + 99,500 = ……………
10. 650,025 − 100,588 = ……………
ตอนที่ 2 จงเติมคำาตอบลงใน ให้ถูกต้อง
1. 15 + 12 = 12 +
2. 100 + (58 + 78) = 100 + ( + 58)
3. (124 + 200) − 150 = (200 + ) − 150
4. 30 + (40 + 50) = + ( + 40)
5. (145 + 235) − 224 = + 235 −
55

ตอนที่ 3 จงเติมตัวเลขลงใน

1. 805 2. 666
215 + 888 +
020 1 54
3. 4,500 4. 986
915 +
­
555
5 15 31
5. 6,000 6. 15,086
­ ­
1,525 8,985
4 75 101

ไม่ยากเลยนะ
56

แผนการเรียนรู้ที่ 6
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกและลบ เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและลบสามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวกและลบได้
2. เมื่อกำาหนดโจทย์ปัญหาการบวกและลบสามารถแสดงวิธีทำาและหาคำาตอบได้
3. เพื่อให้นักเรียนบอกคุณค่าของคณิตศาสตร์ที่นำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้

สาระการเรียนรู้
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
การวิเคราะห์และการคิดคำานวณโจทย์ปัญหาการบวกและการลบ จะต้องทำาการอภิปราย
ตีความ,แปลความ,วิเคราะห์โจทย์ปัญหา และแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
แล้วเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์และร่วมกันแสดงวิธีทำาหาคำาตอบ
ตัวอย่าง จำานวนประชากรในหมู่บ้าน แยกออกเป็นชาย 1,724 คน หญิง 1,206 คน
อยากทราบว่าจำานวนประชากรที่เป็นชายมากกว่าหญิงกี่คน
วิเคราะห์โจทย์ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ มี
1) จำานวนประชากรที่ เป็นชาย 1,724 คน
2) จำานวนประชากรที่เป็นหญิง 1,206 คน
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
จำานวนประชากรที่เป็นชายมากกว่าหญิงกี่คน
57

ประโยคสัญลักษณ์ 1,724 - 1,206 =


วิธีทำา จำานวนประชากรที่เป็นชาย 1,724 คน
เป็นหญิง 1,206 คน
จำานวนประชากรที่เป็นชายมีมากกว่าหญิง 1,724 − 1,206 = 518 คน
ตอบ ๕๑๘ คน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยแจกใบงาน “ตัวเลขมหัศจรรย์” (ท้ายแผนการเรียนรู)้
(เวลา 4 นาที) เมื่อครบกำาหนดเวลา ถ้าไม่แล้วเสร็จให้ไปทำาต่อในช่วงเวลาว่าง
2. ทบทวนการบวกลบ โดยนักเรียนร้องเพลง โจทย์การลบ (แผนภูมิเพลงท้าย
แผนการเรียนรู)้ พร้อมกับปรบมือประกอบจังหวะ (เวลา 3 นาที)
3. นักเรียนช่วยกันกำาหนดโจทย์ปัญหาการบวกและการลบ แล้วร่วมกันอภิปราย
ตีความ,แปลความ,วิเคราะห์โจทย์ปัญหา ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
แล้วเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์และร่วมกันแสดงวิธีทำาหาคำาตอบ
ตัวอย่าง (1) จำานวนประชากรในหมู่บ้าน แยกออกเป็นชาย 1,724 คน หญิง
1,206 คน อยากทราบว่าจำานวนประชากรที่เป็นชายมากกว่าหญิงกี่คน
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนวิธีคิด
วิเคราะห์โจทย์ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ มี
1) จำานวนประชากรที่ เป็นชาย 1,724 คน
2) จำานวนประชากรที่เป็นหญิง 1,206 คน
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
จำานวนประชากรที่เป็นชายมากกว่าหญิงกี่คน
ประโยคสัญลักษณ์ 1,724 - 1,206 =
วิธีทำา จำานวนประชากรที่เป็นชาย 1,724 คน
58

เป็นหญิง 1,206 คน
จำานวนประชากรที่เป็นชายมีมากกว่าหญิง 1,724 − 1,206 = 518 คน
ตอบ ๕๑๘ คน
4. นำาตัวอย่างโจทย์ปัญหาการบวกและการลบอีก 1 ตัวอย่าง แล้วนักเรียนร่วมกัน
อภิปรายตีความ,แปลความ,วิเคราะห์โจทย์ปัญหา และร่วมกันแสดงวิธีทำาหาคำาตอบ
ตัวอย่าง (2) จากการสำารวจการปลูกพืชไร่ของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเกษตรของตำาบลแม่ยางร้อง ในปี 2542 พบว่า เกษตรกรได้ปลูกยาสูบ จำานวน
562 ไร่ ปลูกพริก จำานวน 240 ไร่ และปลูกข้าวโพด จำานวน 345 ไร่ อยาก
ทราบว่าในปี 2542 เกษตรกรทำาการปลูกพืชไร่รวมกันทั้งหมดกี่ไร่
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนวิธีคิด
วิเคราะห์โจทย์ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ มีดังนี้
การสำารวจการปลูกพืชไร่ของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรของ
ตำาบล แม่ยางร้อง ในปี 2542 พบว่า
1) ปลูกยาสูบ จำานวน 562 ไร่
2) ปลูกพริก จำานวน 240 ไร่
3) ปลูกข้าวโพด จำานวน 345 ไร่
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
เกษตรกรทำาการปลูกพืชไร่รวมกันทั้งหมดกี่ไร่
จากการวิเคราะห์โจทย์ ควรใช้วธิ กี ารบวกในการคิดคำานวณและเขียนเป็นประโยค
สัญลักษณ์ ได้ดังนี้ 562 + 240 + 345 =
วิธีทำา ปลูกยาสูบ จำานวน 562 ไร่

ปลูกพริก จำานวน 240 + ไร่


ปลูกข้าวโพด จำานวน 345 ไร่
ปลูกพืชไร่รวมกันทั้งหมด 1,147 ไร่
ตอบ เกษตรกรทำาการปลูกพืชไร่รวมกันทัง้ หมด ๑,๑๔๗ ไร่
59

5. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดโจทย์ปัญหาการบวกลบ


การซื้อขายจากสิ่งของที่แจกให้ ดังนี้
กลุ่มที่ 1 หนังสือ 1 เล่ม ราคา 135 บาท
กลุ่มที่ 2 สมุด 1 เล่ม ราคา 8 บาท
กลุ่มที่ 3 ปากกา 1 ด้าม ราคา 5 บาท
กลุ่มที่ 4 นาฬิกา 1 เรือน ราคา 240 บาท
เมื่อคิดได้แล้วส่งตัวแทนนำาเสนอผลงานหน้าชั้น เพื่อให้เพื่อนนักเรียนกลุ่มอื่นช่วยกัน
วิเคราะห์โจทย์และคิดคำานวณหาคำาตอบบนกระดาน (ผลงานของแต่ละกลุ่มอาจเป็นโจทย์ปัญหา
การบวกลบการซื้อขายเกี่ยวกับการทอนเงิน การจ่ายเงิน ซือ้ มาแล้วขายไป แล้วแต่ความคิดของกลุ่ม)
6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการวิเคราะห์และการคิดคำานวณโจทย์ปัญหาการบวกและ
การลบ ซึ่งการอภิปรายตีความ,แปลความ,วิเคราะห์โจทย์ปัญหา จะแบ่งออกเป็น 2
ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
แล้วเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์และแสดงวิธีทำาหาคำาตอบ
7. นักเรียนฝึกปฏิบตั ทิ ำาแบบฝึกทักษะ เรือ่ ง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
ชุดที่ 6 (ท้ายแผนการเรียนรู)้
60

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน “ตัวเลขมหัศจรรย์”
2. ตัวอย่างโจทย์ปัญหา
3. แผนภูมิเพลง โจทย์การลบ
4. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 6
5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
61

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
62

ใบงาน “ตัวเลขมหัศจรรย์”

สังเกตประโยคสัญลักษณ์แล้วลองหาคำาตอบ

1. (1 X 9) + 1 =
2. (12 X 9) + 2 =
3. (123 X 9) + 3 =
4. (1234 X 9) + 4 =
5. (12345 X 9) + 5 =
6. (123456 X 9) + 6 =
7. (1234567 X 9) + 7 =
8. (12345678 X 9) + 8 =
9. (123456789 X 9) + 9 =

เฉลย
1. 10
2. 110
3. 1110
4. 11110
5. 111110
6. 1111110
7. 11111110
8. 111111110
9. 1111111110
63

เพลงโจทย์การลบ

คำาร้อง อ.สนั่น มีขันหมาก ทำานอง เพลงพื้นเมืองมาเลเซีย

เห็นนกเขา 9 ตัว
เกาะอยู่ริมรั้วร้องจู้ฮุกกรู (ซำ้า)
เมื่อหนู ๆ เดินเข้ามาใกล้
มันก็ตกใจบินไป (3) ตัว
เหลือนกเขาเท่าไร
ที่เกาะต่อไปที่บนริมรั้ว
หากลบนกบินหนีไป
ใครตอบได้ไหมเหลือนกกี่ตัว

การร้องเพลงในเที่ยวต่อไป อาจเปลี่ยนตัวเลขในวงเล็บ เพื่อฝึกทักษะการลบ


64

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 6
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ

การแก้โจทย์ปัญหา จะต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจแล้วจึงวิเคราะห์ แปลความ ตีความ


แล้วเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์และคิดคำานวณหาคำาตอบ
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์ปัญหา จะแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ จะมี 1 − 2 ส่วน
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ จะมี 1 ส่วน

ตัวอย่าง จำานวนนักเรียนของโรงเรียนในปีการศึกษา 2541 มีนักเรียนชาย 75 คน


นักเรียนหญิง 89 คน อยากทราบว่า มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
วิธีทำา ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ คือ
ส่วนที่ 1 จำานวนนักเรียน ชาย 75 คน
ส่วนที่ 2 จำานวนนักเรียนหญิง 89 คน
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ มีจำานวนนักเรียนทั้งหมดกี่คน
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ ได้ 75 + 89 =
ในปีการศึกษา 2541 มีจำานวนนักเรียนชาย 75 คน
+
จำานวนนักเรียนหญิง 89 คน
รวมมีจำานวนนักเรียนทั้งหมด 164 คน
ตอบ ๑๖๔ คน
65

กิจกรรม
จงวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์ปัญหาต่อไปนี้แล้วเติมคำาตอบลงในช่องว่าง

1. วิภาซื้อเสื้อ ราคา 120 บาท กระโปรง ราคา 180 บาท อยากทราบว่าเธอจะจ่ายเงินกี่บาท


การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

2. พ่อมีอายุ 45 ปี บุตรมีอายุ 14 ปี พ่อมีอายุมากกว่าบุตรกี่ปี

การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์


สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

3. พ่อฝากเงินกับธนาคารไว้ 24,000 บาท พอสิ้นปีธนาคารคิดดอกเบี้ยให้ 1,200 บาท


อยากทราบว่าถึงเวลาสิ้นปี พ่อมีเงินต้นและดอกเบี้ยเป็นเงินกี่บาท
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ
66

4. เรืองศักดิ์เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 4,850 ตัว จับขายให้แม่ค้า 650 ตัว


จะเหลือปลาดุกกี่ตัว
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

5. ระยะทางจากกรุงเทพมหานครถึงจังหวัดแพร่ 550 กิโลเมตร และถึงจังหวัดเชียงใหม่


695 กิโลเมตร อยากทราบว่า ระยะทางจากกรุงเทพมหานครถึงจังหวัดใดที่ใกล้ที่สุด และ
ใกล้กว่ากันกี่กิโลเมตร
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

6. แม่ค้าขายทุเรียนได้เงิน 3,560 บาท ขายลิ้นจี่ได้เงิน 1,850 บาท อยากทราบว่าแม่ค้าขาย


ทุเรียนและลิ้นจีไ่ ด้เงินกีบ่ าท
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ
67

แผนการเรียนรู้ที่ 7
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง การคูณจำานวนที่มีหลายหลัก เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การคูณจำานวนที่มีหลายหลัก ทำาได้โดยการนำาตัวคูณแต่ละหลักไปคูณตัวตั้งให้ครบทุก
จำานวน แล้วนำาผลคูณที่ได้มารวมกัน

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดโจทย์การคูณจำานวนที่มีหลายหลัก ให้สามารถแสดงวิธีทำาและหาคำาตอบได้
2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการคิดโจทย์ปัญหา

สาระการเรียนรู้
การคูณจำานวนที่มีหลายหลัก
การคูณจำานวนที่มีหลายหลักจะใช้หลักการเดียวกับการคูณจำานวนเลขหลักเดียวหรือ
สองหลัก โดยการนำาตัวคูณแต่ละหลักไปคูณตัวตั้งให้ครบทุกจำานวน แล้วนำาผลคูณที่ได้มารวมกัน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยเล่นเกมจัดกลุ่มคิดเร็ว (ท้ายแผนการเรียนรู้)โดยผู้นำา
เกมกำาหนดจำานวนตัวเลข 5 ตัว และจัดกลุ่มคิดเร็วให้ได้จำานวน เท่ากับ 24 (เวลา 5 นาที)
2. นักเรียนช่วยกันกำาหนดโจทย์การคูณจำานวนที่มีหลายหลัก เช่น 16 × 42 =
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจากโจทย์การคูณ เป็นการคูณจำานวนเลขสองหลัก
ตัวตั้งคือ 42 ตัวคูณ คือ 16 ในการคิดคำานวณหาคำาตอบ โดยการนำาตัวคูณแต่ละหลักไป
คูณตัวตั้งให้ครบทุกจำานวน แล้วนำาผลคูณที่ได้มารวมกัน แล้วร่วมกันแสดงวิธที ำา ดังนี้
68

วิธีทำา 42
×
16
252 6 × 42
+
420 10 × 42
672 นำาผลคูณที่ได้จาก 6 × 42 และ 10 × 42 มารวมกัน
ตอบ ๖๗๒
4. นักเรียนร่วมกันคิดโจทย์การคูณจำานวนที่มีหลายหลักอีก แล้วร่วมกันอภิปรายและ
ตอบคำาถามซักถามวิธีการคิดคำานวณหาคำาตอบ เช่น 25 × 613 =
วิธที ำา 613
×
25
3065 5 × 613
+
12260 20 × 613
15325 นำาผลคูณที่ได้จาก 6 × 613 และ 20 × 613 มารวมกัน
ตอบ ๑๕,๓๒๕

5. นักเรียนทุกกลุ่มช่วยกันคิดตั้งโจทย์การคูณจำานวนเลข 2−4 หลัก กลุ่มละ 1 ข้อ


แล้วแลกเปลี่ยนให้กลุ่มอื่นช่วยกันคิดคำานวณหาคำาตอบ เสร็จแล้วส่งตัวแทนนำาเสนอแสดงวิธีทำา
บนกระดาน กลุ่มที่เป็นผู้คิดตั้งโจทย์เป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง เช่น
กลุ่มที่ 1 คิดตั้งโจทย์ ให้กลุ่มที่ 2 ช่วยกันคิดคำานวณหาคำาตอบและแสดงวิธีทำา
กลุ่มที่ 2 คิดตั้งโจทย์ ให้กลุ่มที่ 3 ช่วยกันคิดคำานวณหาคำาตอบและแสดงวิธีทำา
กลุ่มที่ 3 คิดตั้งโจทย์ ให้กลุ่มที่ 4 ช่วยกันคิดคำานวณหาคำาตอบและแสดงวิธีทำา
กลุ่มที่ 4 คิดตั้งโจทย์ ให้กลุ่มที่ 1 ช่วยกันคิดคำานวณหาคำาตอบและแสดงวิธีทำา
6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เขียนเป็นข้อสรุปบนกระดานว่า การคูณจำานวนที่มีหลาย
หลัก ทำาได้โดยการนำาตัวคูณแต่ละหลักไปคูณตัวตั้งให้ครบทุกจำานวน แล้วนำาผลคูณที่ได้มารวมกัน
7. นักเรียนช่วยกันอ่าน 2 จบ แล้วจดบันทึกลงในสมุด
8. นักเรียนฝึกปฏิบัตทิ ำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 7 (ท้ายแผนการเรียนรู)้
69

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. เกมจัดกลุ่มคิดเร็ว
2. สูตรคูณ
3. ใบงาน
4. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 7
5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
70

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
71

เกมจัดกลุ่มคิดเร็ว

จุดประสงค์ 1. เพื่อฝึกทักษะคณิตศาสตร์ การจำาแนกและการจัดกลุ่ม


2. เพื่อฝึกทักษะการบวก ลบ คูณและหาร
3. เพื่อให้ผู้เล่นได้คิดโจทย์คณิตศาสตร์ขึ้นเอง
ระดับชั้น ระดับชั้นประถมศึกษาขึ้นไป
จำานวนผู้เล่น ไม่จำากัด
วิธีเล่น 1. ครูหรือผู้นำาเกม กำาหนดให้ผู้เล่นเสนอตัวเลขโดด ตั้งแต่ 0 ถึง 9 จำานวน 4 - 8 ตัว
2. ให้ผู้เล่นนำาตัวเลขที่เสนอมานี้ นำาไปคิดคำานวณใช้วิธี บวก ลบ คูณ หาร หรือระคน
ให้ได้ค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับจำานวนที่ครูหรือผู้เล่นคนใดคนหนึ่งกำาหนดให้
3. ผู้ชนะ คือผู้ที่สามารถคิดคำานวณได้รวดเร็วและได้คำาตอบเท่ากับจำานวนที่กำาหนด
เป็นผู้ชนะ และจะได้ 1 คะแนน
4. ถ้าไม่มีใครสามารถคิดคำานวณได้เท่ากับจำานวนทีก่ ำาหนดให้ภายในเวลาทีก่ ำาหนด
เมื่อหมดเวลา (2 นาที) ผู้เล่นที่คิดได้ใกล้เคียงกับจำานวนทีก่ ำาหนดให้ได้มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ
ตัวอย่าง

ผู้เล่นเสนอตัวเลขโดด 8 9 3 2
ต่อไปนี้ให้นักเรียนนำาตัวเลขทัง้ 4 ตัวนี้ นำามาบวก ลบ คูณ หาร หรือระคน ให้ได้ค่า
เท่ากับหรือใกล้เคียงกับจำานวนที่ครูหรือผู้นำาเกมกำาหนดให้ คือ จำานวน 50 (จบคำาสั่งแล้วเริ่ม
จับเวลา ข้อละ 2 นาที) ปรากฏว่าผู้เล่นคนหนึ่งยกมือขึ้นและให้คำาตอบ
(9 - 3) X 8 + 2 = 50

วิธีคิดคำานวณถูกต้อง จึงเป็นผู้ชนะ ได้ 1 คะแนน


72

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 7
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

โจทย์การคูณ
ตัวอย่าง จงหาผลคูณ 21 X 536
536
21 X
536 1 X 536
+
10720 20 X 536
11256
ตอบ ๑๑,๒๕๖

กิจกรรม
จงเติมตัวเลขลงในช่องว่างและ ให้ถูกต้อง
1. จงหาผลคูณ 14 X 85
85
14 X
.……… X
+
……….. X
…………
ตอบ …………….
73

2. จงหาผลคูณ 23 X 50
50
23 X
.……… X
+
……….. X
…………
ตอบ …………….
3. จงหาผลคูณ 18 X 338
338
18 X
.……… X
+
……….. X
…………
ตอบ …………….
4. จงหาผลคูณ 25 X 3,500
3,500
X
25
.……… X
+
……….. X
…………
ตอบ …………….
5. จงหาผลคูณ 34 X 2,542
2,542 X
34
.……… X
+
……….. X
…………
ตอบ …………….
74

แผนการเรียนรู้ที่ 8
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง โจทย์การหาร เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การหารจำานวนที่มีหลายหลัก เริ่มต้นหารจากตัวเลขในหลักซ้ายมือสุดก่อน แล้วจึงหาร
ตัวเลขในหลักถัดไปทางขวามือตามลำาดับ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดโจทย์การหารจำานวนที่มีหลายหลักให้สามารถแสดงวิธีทำาและหาคำาตอบได้
2. เพื่อฝึกทักษะโจทย์การหารจำานวนที่มีหลายหลัก
3. เพื่อให้นักเรียนบอกคุณค่าของคณิตศาสตร์ที่นำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้

สาระการเรียนรู้
1. การหารด้วยจำานวน 10 , 100 และ 1,000
1.1 การนำา 10 ไปหารจำานวนที่ตั วตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 1 ตัว จะได้
บบบ

ผลหารเท่ากับตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 1 ตัว


1.2 การนำา 100 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 2 ตัว จะได้
ผลหารเท่ากับตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 2 ตัว
1.3 การนำา 1,000 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 3 ตัว จะได้
ผลหารเท่ากับตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 3 ตัว
2. การหารจำานวนที่มีหลายหลัก
การหารจำานวนที่มีหลายหลัก วิธีการคิดคำานวณหาคำาตอบจะใช้หลักการเดียวกับ
การหารจำานวนเลขหลักเดียวหรือสองหลัก โดยเริ่มต้นหารจากตัวเลขในหลักซ้ายมือสุดก่อน
แล้วจึงหารตัวเลขในหลักถัดไปทางขวามือตามลำาดับ
75

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว โดยเล่นเกมจัดกลุ่มคิดเร็ว (ท้ายแผนการเรียนรู้ที่ 7)
โดยผู้นำาเกมให้ผู้เล่นช่วยกันเสนอจำานวนตัวเลข 7 ตัว และจัดกลุ่มคิดเร็วให้ได้
จำานวน เท่ากับ 25 (เวลา 5 นาที)
2. นักเรียนช่วยกันร้องเพลงการหาร (แผนภูมิเพลงท้ายแผนการเรียนรู้) พร้อมกับปรบ
มือประกอบจังหวะ
3. ทบทวนความหมายของการหาร โดยนักเรียนช่วยกันกำาหนดโจทย์การหารประกอบ
แผ่นภาพแสดงการหารแล้วร่วมกันคิดคำานวณหาคำาตอบ
4. นักเรียนช่วยกันกำาหนดโจทย์การหารที่หารด้วยจำานวน 10,100 และ 1,000

ตัวอย่าง (1) 124,000 ÷ 10 = 12,400


(2) 124,000 ÷ 100 = 1,240
(3) 124,000 ÷ 1,000 = 124
5. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มคิดคำานวณหาคำาตอบการหารดังนี้
กลุ่มที่ 1 ทำาข้อ (1) กลุ่มที่ 2 ทำาข้อ (2) กลุ่มที่ 3 ทำาข้อ (3) แล้วส่งตัวแทนของกลุ่ม
นำาเสนอแสดงวิธีทำาบนกระดานและกลุ่มที่ 4 ช่วยกันตรวจคำาตอบ
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการคิดคำานวณหาคำาตอบจากโจทย์การหารด้วย 10 ,
100 , 1000 ตามที่แต่ละกลุ่มได้เสนอแสดงวิธีทำาบนกระดานนั้น ซึง่ อาจใช้วิธีหารสั้นหรือหารยาว
และแนะนำาวิธีการหาคำาตอบที่รวดเร็วได้ดังนี้
1) การนำา 10 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 1 ตัว จะได้
ผลหารเท่ากับตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 1 ตัว
2) การนำา 100 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 2 ตัว จะได้
ผลหารเท่ากับตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 2 ตัว
3) การนำา 1,000 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 3 ตัว จะได้
ผลหารเท่ากับตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 3 ตัว
7. นักเรียนช่วยกันกำาหนดโจทย์การหารจำานวนที่มีหลายหลัก แล้วร่วมกันอภิปรายและ
ซักถามวิธีการคิดคำานวณหาคำาตอบ จะใช้หลักการเดียวกับการหารจำานวนเลขหลักเดียว หรือ
76

สองหลัก โดยเริ่มต้นหารจากตัวเลขในหลักซ้ายมือสุดก่อน แล้วจึงหารตัวเลขในหลักถัดไปทาง


ขวามือตามลำาดับ และช่วยกันแสดงวิธีทำาหาคำาตอบโดยวิธีหารยาว ดังนี้
ตัวอย่าง จงหาผลหาร 6,825 ÷ 21 =
325
วิธีทำา 21 ) 6,825
63 21 ไปหาร 68 ร้อย ได้ 3 ร้อย ใส่ 3 ทีห่ ลักร้อย เหลือ 5 ร้อย
52 5 ร้อย กับ 2 สิบ เป็น 52 สิบ นำา 21 ไปหารได้ 2 สิบ
42 ใส่ 2 ที่หลักสิบ เหลือ 10 สิบ
105 10 สิบ กับ 5 เป็น 105 หน่วย นำา 21 ไปหารได้ 5
105 ใส่ 5 ทีห่ ลักหน่วย
0
ดังนั้น 6,825 ÷ 21 = 325
ตอบ ๓๒๕
8. นักเรียนแบ่งกลุ่มช่วยกัน คิดคำานวณหาคำาตอบจากโจทย์ในบัตรงาน (ท้ายแผนการ
เรียนรู)้ กลุ่มที่ 1,2 ใช้บัตรงาน (1) และกลุ่มที่ 3,4 ใช้บัตรงาน (2) แล้วส่งตัวแทนของกลุ่ม
เสนอแสดงวิธีทำาบนกระดาน และร่วมกันตรวจสอบคำาตอบ
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการหารจำานวนที่มีหลายหลัก โดยเริ่มต้นหารจากตัวเลข
ในหลักซ้ายมือสุดก่อน แล้วจึงหารตัวเลขในหลักถัดไปทางขวามือตามลำาดับ
10. นักเรียนฝึกปฏิบตั ิทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 8 (ท้ายแผนการเรียนรู)้

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. เกมจัดกลุ่มคิดเร็ว (ท้ายแผนการเรียนรู้ที่ 7)
2. แผ่นภาพแสดงการหาร
3. สูตรคูณ
4. บัตรงาน
5. แผนภูมิเพลงการหาร
6. แบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 8
77

7. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
78

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.2 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
79

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
80

เพลง การหาร

คำาร้อง ราตรี รุ่งทวีชัย ทำานอง หนุ่มนาข้าวสาวนาเกลือ

ความหมายคำาว่าการหารคือการลบออกเรื่อย ๆ ไป
จนหมดที่กำาหนดไว้ ลบออกไปนับได้กี่หน
เช่นแปดหารด้วยสอง ลบทีละสองเป็นต้น
ลบหมดได้กี่หน นั่นคือผลทีห่ ารได้

ให้ผมช่วยบ้ำงไหมครับ
81

แผนภาพการหาร

20 ÷ 5 = 4

15 ÷ 3 = 5
82

บัตรงาน (1)
ให้นักเรียนช่วยกันคิดคำานวณหาผลหารต่อไปนี้
1. 625 ÷ 5 =
2. 1,560 ÷ 13 =
3. 5,300 ÷ 100 =
4. 99,500,000 ÷ 1,000 =
5. 20,600 ÷ 25 =

เฉลย (สำาหรับครู)
1. 25 2. 12 3. 530 4. 99,500 5. 824

บัตรงาน (2)
ให้นักเรียนช่วยกันคิดคำานวณหาผลหารต่อไปนี้
1. 825 ÷ 5 =
2. 3,584 ÷ 14 =
3. 6,500 ÷ 100 =
4. 95,700,000 ÷ 1,000 =
5. 17,792 ÷ 32 =

เฉลย (สำาหรับครู)
1. 165 2. 256 3. 650 4. 95,700 5. 556
83

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 8
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

โจทย์การหาร
1. การหารที่ด้วยจำานวน 10, 100 และ 1,000
ตัวอย่าง 256,000 ÷ 10 = 25,600
256,000 ÷ 100 = 2,560
256,000 ÷ 1,000 = 256

(1) การนำา 10 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 1 ตัว จะได้ผลหารเท่ากับ


ตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 1 ตัว (256,000 ÷ 10 = 15,600)
(2) การนำา 100 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 2 ตัว จะได้ผลหารเท่ากับ
ตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 2 ตัว (256,000 ÷ 100 = 2,560)
(3) การนำา 1,000 ไปหารจำานวนที่ตัวตั้งลงท้ายด้วย 0 อย่างน้อย 3 ตัว จะได้ผลหารเท่ากับ
ตัวตั้งที่นำา 0 ตัวหลังออก 3 ตัว (256,000 ÷ 1,000 = 256)

2. การหารจำานวนนับด้วยตัวหารที่มีมากกว่าสองหลัก อาจใช้วิธีหารสั้นหรือหารยาวก็ได้
ตัวอย่าง จงหาผลหาร 3,870 ÷ 18 =
215
วิธีทำา (วิธีหารยาว) 18 ) 3,870
36 (วิธหี ารสั้น) 18 ) 3,870
27 215
18 ตอบ ๒๑๕
90
90
0
ตอบ ๒๑๕
84

กิจกรรม
ตอนที่ 1 จงเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงหาผลหาร 250 ÷ 10 = ……………………….
2. จงหาผลหาร 2,500 ÷ 100 = ……………………….
3. จงหาผลหาร 25,000 ÷ 1,000 = ……………………….
4. จงหาผลหาร 32,000 ÷ 10 = ……………………….
5. จงหาผลหาร 32,000 ÷ 100 = ……………………….
6. จงหาผลหาร 32,000 ÷ 1,000 = ……………………….
7. จงหาผลหาร 485,000 ÷ 10 = ……………………….
8. จงหาผลหาร 485,000 ÷ 100 = ……………………….
9. จงหาผลหาร 485,000 ÷ 1,000 = ……………………….
10.จงหาผลหาร 35,800 ÷ 100 = ……………………….
11.จงหาผลหาร 129,000 ÷ 1,000 = ……………………….
12.จงหาผลหาร 3,506,000 ÷ 100 = ……………………….

ตอนที่ 2 จงเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
จงหาผลหาร
1. 5 ) 625 2. 4 ) 249 3. 9 ) 189 4. 8 ) 490
……. เศษ……. ……….เศษ……. ……….เศษ……. ……..เศษ…….
5. 6 ) 1,283 6. 10 ) 3,200 7. 11 ) 567 8. 12 ) 2,568
……….เศษ……. …………เศษ……. ……….เศษ……. …….…..เศษ…….

ตอนที่ 3 จงแสดงวิธีทำา
1. จงหาผลหาร 364 ÷ 14
2. จงหาผลหาร 576 ÷ 18
3. จงหาผลหาร 8,841 ÷ 21
4. จงหาผลหาร 9,321 ÷ 32
*****
85

แผนการเรียนรู้ที่ 9
บทที่ 1 จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน เวลา 3 คาบ

สาระสำาคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนสามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำาหนดโจทย์ระคนให้สามารถแสดงวิธีทำาและคิดคำานวณหาคำาตอบได้
2. เมื่อกำาหนดโจทย์ปัญหาระคนให้สามารถแสดงวิธีทำาและคิดคำานวณหาคำาตอบได้
3. เพื่อให้นักเรียนบอกประโยชน์ของการแก้โจทย์ปัญหาที่นำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้

สาระการเรียนรู้
1. โจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน
2. โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน
การวิเคราะห์และการคิดคำานวณโจทย์ปัญหาระคน คือ ก่อนที่จะคิดคำานวณหา
คำาตอบจะต้องอ่านโจทย์ แปลความ ตีความและวิเคราะห์โจทย์ออกเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 เป็นสิ่งที่โจทย์กำาหนดให้
ตอนที่ 2 โจทย์ต้องการทราบ และหาวิธีคิดหาคำาตอบแล้วเขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์ หลังจากนั้นจึงแสดงวิธีทำาคิดคำานวณหาคำาตอบ
ตัวอย่าง ลุงมามีสวนลำาไย ได้เก็บลำาไยต้นหนึ่ง นำาไปชั่งได้ 86 กิโลกรัม
ขายให้แม่ค้ากิโลกรัมละ 15 บาท ลุงมาจะได้รับเงินกี่บาท
วิธที ำา ลุงมามีผลผลิตลำาไย 86 กิโลกรัม
×
ขายไปกิโลกรัมละ 15 บาท
จะได้รับเงิน 1,290 บาท
ตอบ ลุงมาขายลำาไยได้รับเงิน ๑,๒๙๐ บาท
86
87

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทบทวนการใช้สูตรคูณ โดยครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่าง
การคูณกับการหารโดยใช้สูตรคูณ เช่น
2×3 = 6
3×2 = 6
×12341123422468336912
6 ÷ 2 = 3 หรือ
6÷3 =2

2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน ดังนี้


ให้ทุกกลุ่มเลือกประธานและเลขานุการของกลุ่ม สร้างข้อตกลงร่วมกันในการปฏิบัติ
กิจกรรมนอกห้องเรียน ภายในเวลา 15 นาที ให้กลับเข้ามารายงานผลในห้องเรียน ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ออกไปนับจำานวนก้อนคอนกรีตบล็อคที่ใช้สร้างรั้วด้านหน้าโรงเรียน
จำานวน 1 ช่อง ว่าใช้ก้อนคอนกรีตบล็อคไปกี่แถว ๆ ละกี่ก้อน รวมทัง้ หมดกี่ก้อน
กลุ่มที่ 2 ออกไปนับจำานวนก้อนอิฐทีใ่ ช้ปูทางเดินเข้าโรงอาหารของโรงเรียนที่มีความ
กว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร ว่าใช้ก้อนอิฐไปเป็นกี่แถว ๆ ละกี่ก้อน รวมทั้งหมดกี่ก้อน
กลุ่มที่ 3 ออกไปนับจำานวนช่องตาข่ายประตูเหล็กของโรงเรียนด้านทิศตะวันตก ซึ่ง
มีขนาดความกว้าง 2 เมตร ยาว 5 เมตร ว่ามีกี่แถว ๆ ละกีช่ ่อง รวมทั้งหมดกีช่ ่อง
กลุ่มที่ 4 ออกไปนับจำานวนก้อนอิฐทีใ่ ช้ก่อแปลงไม้ดอกหน้าเสาธง ซึ่งมีขนาดความ
กว้าง 0.50 เมตร ยาว 2 เมตร ว่าใช้ก้อนอิฐกี่แถว ๆ ละกี่แผ่น รวมทั้งหมดกีแ่ ผ่น
3. เมื่อครบเวลาที่กำาหนดตัวแทนกลุ่มนำาเสนอรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้น
4. จากการรายงานผลของแต่ละกลุ่ม ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการคิดคำานวณหา
คำาตอบ อาจจะมีบางกลุ่มคิดหาคำาตอบโดยวิธีการนับทีละก้อน ทีละช่อง ทีละแผ่น และอาจจะมี
บางกลุ่มที่มีวิธีคิดโดยการนำาจำานวนที่นับได้มาคูณกัน จะเห็นว่า การคิดคำานวณหาคำาตอบโดย
วิธีการคูณเป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็ว ครูแนะนำาการใช้ประโยชน์ของการคูณที่นำาไปใช้แก้ปัญหา
ในชีวิตประจำาวันได้
88

5. นักเรียนช่วยกันนำาข้อมูลที่ได้จากการนับสิ่งของ สถานที่ต่าง ๆ นั้นมาคิดเป็นโจทย์


การคูณ แล้วคัดเลือกโจทย์ดังกล่าวของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จำานวน 1 กลุ่ม เขียนบนกระดาน
แล้วช่วยกันแสดงวิธีทำาหาคำาตอบ เช่น
กลุ่มที่ 2 ออกไปนับก้อนอิฐที่ใช้ปูทางเดินเข้าโรงอาหาร ได้ 16 แถว ๆ ละ
42 ก้อน จะใช้ก้อนอิฐกีก่ ้อน
นำามาเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ 16 × 42 =
วิธีทำา จำานวนก้อนอิฐแถวละ 42 ก้อน
×
จำานวนแถว 16 แถว
252 6 × 42
+
420 10 × 42
672 นำาผลคูณที่ได้จาก 6×42 และ 10× 42 มารวมกัน
ดังนั้น จะใช้ก้อนอิฐ 672 ก้อน
ตอบ จะใช้ก้อนอิฐ ๖๗๒ ก้อน

6. นักเรียนช่วยกันนำาแถบโจทย์ปัญหาติดบนกระดาน

ตัวอย่าง ลุงมามีสวนลำาไย ได้เก็บลำาไยจากต้นหนึ่ง นำาไปชั่งได้ 86 กิโลกรัม


ขายให้แม่ค้ากิโลกรัมละ 15 บาท ลุงมาจะได้รับเงินกี่บาท

7. แจกบัตรงานการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (ท้ายแผนการเรียนรู้) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วย


กันกรอกให้ถกู ต้อง แล้วร่วมกันอภิปรายการกรอกที่ถูกต้องควรเป็นดังนี้
89

บัตรงานการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
วิธคี ิด วิเคราะห์โจทย์ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ มี
1) ลุงมา ชัง่ ลำาไยได้ 86 กิโลกรัม
2) ขายให้แม่ค้ากิโลกรัมละ 15 บาท
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
ลุงมาขายลำาไยจะได้รับเงินกี่บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 86 X 15 =

8. ครูและนักเรียนช่วยกันแก้โจทย์ปัญหาและแสดงวิธีทำาหาคำาตอบตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ช่วยกันอ่านโจทย์ ตีความ แปลความและวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และตอบคำาถาม
1) โจทย์ข้อนี้กล่าวถึงอะไร (การขายลำาไย)
2) การวิเคราะห์โจทย์แบ่งออกเป็นกีต่ อน (2 ตอน)
− ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ มีอะไรบ้าง
(ลุงมามีชั่งลำาไยได้ 86 กิโลกรัม ขายให้แม่ค้ากิโลกรัมละ 15 บาท)
− ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ มีอะไรบ้าง
(ลุงมาขายลำาไยจะได้รับเงินกี่บาท)
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและพิจารณาโจทย์ปัญหา ลุงมามีผลผลิตลำาไย
86 กิโลกรัม ขายไปกิโลกรัมละ 15 บาท จะเห็นว่าการหาจำานวนเงินที่ขายลำาไยได้ทั้งหมดควร
จะใช้วิธีการคูณหาคำาตอบ จึงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ 86 × 15 =
ขั้นที่ 3 ปฏิบตั ิตามแผน
นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีทำาบนกระดาน
วิธที ำา ลุงมามีผลผลิตลำาไย 86 กิโลกรัม
×
ขายไปกิโลกรัมละ 15 บาท
จะได้รับเงิน 1,290 บาท
ตอบ ลุงมาขายลำาไยได้รับเงิน ๑,๒๙๐ บาท
90

ขั้นที่ 4 การตรวจสอบ
ร่วมกันอภิปรายและพิจารณาเพื่อหาวิธีตรวจสอบคำาตอบว่าจะหาได้โดยวิธใี ด
เช่น จะทราบได้อย่างไรว่าขายลำาไยได้รับเงิน 1,290 บาท ซึ่งอาจคิดได้จากการคิดย้อนกลับ
หาราคาลำาไย 1 กิโลกรัม ราคา 15 บาท จริงหรือไม่ โดยคิดจาก
จำานวนลำาไย 86 กิโลกรัม ราคา 1,290 บาท
จำานวนลำาไย 1 กิโลกรัม ราคา 1,290 ÷ 86 = 15 บาท
ลำาไย 1 กิโลกรัม ราคา 15 บาท ดังนั้น คำาตอบเงินที่ขายได้ทั้งหมด คือ
1,290 บาท จึงเป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการวิเคราะห์และการคิดคำานวณโจทย์ปัญหาระคน คือ
ก่อนที่จะคิดคำานวณหาคำาตอบจะต้องอ่านโจทย์ แปลความ ตีความและวิเคราะห์โจทย์ออกเป็น
2 ตอน ตอนที่ 1 เป็นสิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือโจทย์ถาม
และหาวิธีคิดหาคำาตอบแล้วเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ หลังจากนั้นจึงแสดงวิธีทำาคิดคำานวณหา
คำาตอบ
10. นักเรียนฝึกปฏิบตั ิทำาแบบฝึกทักษะ เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ
การหาร ชุดที่ 9 (ท้ายแผนการเรียนรู)้
11. ทดสอบหลังเรียน เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
โดยใช้แบบทดสอบหลังเรียน จำานวน 20 ข้อ เวลา 20 นาที
91

สื่อการเรียน.การสอน
1. แผนภูมิสูตรคูณ
2. ตัวอย่างโจทย์ปัญหาระคน
3. บัตรงานการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
4. แบบฝึกทักษะ เรือ่ ง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร ชุดที่ 9
5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)

การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด วัดผลโดย
1.1 ตรวจผลงานจากแบบฝึก
1.2 ทดสอบ
1.3 สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม
2. เครื่องมือวัด
2.1 แบบฝึกทักษะ (ท้ายแผนการเรียนรู)้
2.2 แบบทดสอบหลังเรียน
2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ (ภาคผนวก)
3. เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ผ่าน สำาหรับผู้ที่ได้คะแนนจากการวัดร้อยละ 80 ขึ้นไป

❂❂❂❂❂❂❂❂❂
92

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ………………………………………
(นายมนตรี เวียงยา)
ตำาแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง(แม่ยางประชานุเคราะห์)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..

บันทึกผลหลังสอน
ผลการสอน

ปัญหาและอุปสรรค

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ลงชื่อ………………………….………………
(นายสวัสดิ์ ท้าวคำาลือ)
วันที่ ………. เดือน …………………….. พ.ศ. …………..
93

บัตรงานการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา

คำาชี้แจง นักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กำาหนดให้
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาจะต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจ แล้วตีความ แปลความ
วิเคราะห์โจทย์ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 โจทย์กำาหนดให้
1) …………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
2) …………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
ตอนที่ 2 สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
วิธคี ิดคำานวณหาคำาตอบ
ประโยคสัญลักษณ์ ………………………………………………………………….
94

แบบฝึกทักษะ
เรือ่ ง จำำนวนและกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร ชุดที่ 9
❂❂❂❂❂❂❂❂❂

โจทย์ปัญหาระคน

การแก้โจทย์ปัญหาระคน จะต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจแล้วจึงวิเคราะห์ แปลความ ตีความ


แล้วเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์และคิดคำานวณหาคำาตอบ
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์ปัญหา จะแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ จะมี 1 − 2 ส่วน
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ จะมี 1 ส่วน

ตัวอย่าง เสกสรรเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ จำานวน 3 บ่อ ๆ ละ 240 ตัว จงหาว่า


เสกสรรเลี้ยงปลาดุกไว้ทั้งหมดกีต่ ัว
วิธีทำา ตอนที่ 1 สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ คือ
ส่วนที่ 1 เสกสรรเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ จำานวน 3 บ่อ
ส่วนที่ 2 จำานวนปลาดุกบ่อละ 240 ตัว
ตอนที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ เสกสรรเลี้ยงปลาดุกไว้ทั้งหมดกีต่ ัว
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ ได้ 240 X 3 =
เสกสรรเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ จำานวนปลาดุกบ่อละ 240 ตัว
X
เลี้ยงไว้จำานวน 3 บ่อ
รวมมีจำานวนปลาดุกทั้งหมด 720 ตัว
ตอบ เสกสรรเลี้ยงปลาดุกไว้ทั้งหมด ๗๒๐ ตัว
95

กิจกรรม
จงวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์ปัญหาต่อไปนี้แล้วเติมคำาตอบลงในช่องว่าง
1. เดือนพฤษภาคม เบญจวรรณเริ่มเก็บเงินออมไว้วันละ 12 บาท เวลาผ่านไป 2 เดือน
เธอจะเก็บเงินออมได้กี่บาท
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

2. กองลูกเสือสามัญของโรงเรียน มีจำานวนลูกเสือ 96 คน นำามาจัดเป็นหมู่ลูกเสือ หมู่ละ 8 คน


จะจัดได้กี่หมู่
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

3. พ่อทำา งานได้ค่าจ้างเดื อ นละ 6,500 บาท แม่ทำา งานได้ค่าจ้ างเดื อ นละ 4,700 บาท
รวมแล้วครอบครัวนี้มีรายได้เดือนละกี่บาท
การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์
สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ
96

4. พี่ไปจ่ายตลาด ซื้อข้าวสาร 5 กิโลกรัม เป็นเงิน 120 บาท นำ้ามันพืช 1 ขวด เป็นเงิน


36 บาท จ่ายธนบัตรใบละ 500 บาท จะได้รับเงินทอนเท่าไร

การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์


สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

5. พ่อขายข้าวเปลือก จำานวน 3 กระสอบ ชั่งได้ 245 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 5 บาท


จงหาว่าพ่อจะได้รับเงินเท่าไร

การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์


สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ

6. สมศรีมีเงินเป็น 2 เท่าของสมชาย ถ้าสมชายมีเงิน 1,200 บาท สมศรีจะมีเงินเท่าไร

การวิเคราะห์ แปลความ ตีความโจทย์


สิ่งที่โจทย์กำาหนดให้ สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการทราบ ประโยคสัญลักษณ์ คำาตอบ
97

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง จำานวนและการบวก การลบ การคูณ การหาร
คะแนนเต็ม 20 คะแนน เวลา 20 นาที
***********************************************************************
คำาชี้แจง จงทำาเครื่องหมายกากบาท (X) ทับหัวข้อคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ค่าของตัวเลข 5 ของจำานวน 380,526,227 5. ตัวเลข 9 ในข้อใดที่มีค่ามากที่สุด
มีค่าเท่าไร ก. 1,009
ก. 5 ข. 20,896
ข. 5,000 ค. 639,231
ค. 500,000 ง. 190,001
ง. 5,000,000 6. ตัวเลขใดอยู่ในหลักแสนของจำานวน
2. ข้อใดที่เขียนแทนจำานวน 95,604,318
สิบเอ็ดล้านสองแสนสามหมื่นเก้าสิบ ก. 9
ก. 11,203,090 ข. 6
ข. 11,023,090 ค. 5
ค. 11,230,099 ง. 0
ง. 11,230,090 7. ค่าประมาณใกล้เคียงเต็มร้อยของจำานวน
3. จำานวนในข้อใดที่มีค่ามากที่สุด 9,564 จะพิจารณาที่ค่าของตัวเลขในหลักใด
ก. 30,321 ก. หน่วย
ข. 33,210 ข. สิบ
ค. 32,310 ค. ร้อย
ง. 33,012 ง. พัน
4. ข้อใดที่เขียนแทนจำานวน 29,001 8. ข้อใดที่เรียงลำาดับค่าที่มีจำานวนมากไปหาน้อย
ก. สองหมื่นเก้าพันเอ็ด ได้ถกู ต้อง
ข. สองหมื่นเก้าเอ็ด ก. 5,604 987 1,027
ค. สองเก้าศูนย์ศูนย์หนึ่ง ข. 596 805 910
ง. สองแสนเก้าพันเอ็ด ค. 7,000 7,007 77
ง. 100,002 54,800 25,300
98

9. จำานวนใดที่มีค่าใกล้เคียงเต็มหมื่นมากที่สุด 13. จงเติมตัวเลขลงใน ให้ถูกต้อง


ก. 955 (18 X 5) − 30 = ( X 18) − 30
ข. 10,600 ก. 5
ค. 15,000 ข. 18
ง. 9,500 ค. 60
10. กองลูกเสือสามัญของโรงเรียน จำานวน ง. 90
336 คน ถ้าแบ่งออกเป็นหมู่ ๆ ละ 8 คน 14. สถิตจิ ำานวนประชากรของจังหวัดแพร่ในปี
จะได้กี่หมู่ พ.ศ. 2540 มี 475,086 คน หรือมีจำานวน
ก. 42 หมู่ ประมาณกี่แสนคน
ข. 44 หมู่ ก. 100,000 คน
ค. 48 หมู่ ข. 400,000 คน
ง. 52 หมู่ ค. 500,000 คน
11. ช่วงวันที่ 1 มกราคม − 7 เมษายน 2541 ง. 700,000 คน
สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตรแจ้งว่า ประเทศไทย 15. จงเติมตัวเลขลงใน ให้ถูกต้อง
ส่งออกข้าวรวม 1,524,934 ตัน จงประมาณ 2,087
×
จำานวนข้าวที่ส่งออกเป็นจำานวนเต็มหมื่น 22
ก. 20,000 ตัน 4174
+
ข. 30,000 ตัน 41740
ค. 1,520,000 ตัน 45 14
ง. 1,530,000 ตัน ก. 1
12. จงหาคำาตอบ 1,520 X 23 = ข. 2
ก. 1,543 ค. 8
ข. 7,600 ง. 9
ค. 34,960 16. จงหาคำาตอบ 420 + 398 =
ง. 34,963 ก. 818
ข. 718
ค. 828
ง. 728
99

17. ณรงค์อ่านหนังสือการ์ตูนมีความหนา 32 หน้า 19. ธีระมีอายุมากกว่าสาธิต 14 ปี สาธิตมีอายุ


วันนี้อ่านได้ 6 หน้า ยังมีอีกกี่หน้าที่ยังไม่ได้อ่าน น้อยกว่าอนงค์ 5 ปี ถ้าอนงค์มีอายุ 12 ปี
ก. 38 หน้า อยากทราบว่าธีระมีอายุเท่าไร
ข. 28 หน้า ก. 5 ปี
ค. 26 หน้า ข. 12 ปี
ง. 16 หน้า ค. 14 ปี
18. ศิริศักดิ์ ทำางานได้ค่าจ้างเดือนละ 4,700 บาท ง. 21 ปี
ศราวุธทำางานได้เดือนละ 3,500 บาท ในเวลา 3 20. จงเขียนประโยคสัญลักษณ์จากโจทย์ต่อไปนี้
เดือน ทัง้ สองคนได้เงินค่าจ้างรวมกันเท่าไร ปิ่นมณีเลี้ยงปลาดุกแล้วขายไปได้เงิน 450 บาท
ก. 8,200 บาท นำาไปซื้อนำ้าปลา 24 บาท นำ้ามันพืช 36 บาท
ข. 24,600 บาท อยากทราบว่าเธอคงเหลือเงินกีบ่ าท
ค. 25,600 บาท ก. 450 + 24 − 36 =
ง. 27,600 บาท ข. 450 − (24 + 36) =
ค. 450 + 24 + 36 =
ง. (24 + 36) − 450 =

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน (สำาหรับครู)


1. ค 6. ข 11. ค 16. ก
2. ง 7. ง 12. ค 17. ค
3. ข 8. ง 13. ก 18. ข
4. ก 9. ง 14. ค 19. ง
5. ง 10. ก 15. ค 20. ข

You might also like