Variables R

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 32

ตัวแปร

(Variable)
 ตัวแปร และกรอบการวิจัย
 ความหมาย
 ตัวแปรประเภทต่างๆ
 ทดสอบ
 มาตรในการวัด และ ระดับการวัด
Research P ro cess

กำำหนดปั ญห แนวคิด ทฤษฎี



กำำหนดควำมหมำย เลือกระเบีย เลือกประชำก
ของมโนทัศน์ บวิธก
ี ำรวิจัย รและกลุ่มตัว
และตัวแปรท่ีจะวิจย

อย่ำง
กำำหนดวิธก
ี ำร กำรรวบรวมข้อมู
วัดตัวแปรท่จี ะ ล
กำรจัดทำำข้อมูล
วิจย

กำรวิเครำะห์
ข้อมูลำเสนอรำยง
กำรนำ
ตัวแปร (Variable)
 เป็นสิง่ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา มีคุณลักษณะ
และเงื่อนไขแปรเปลี่ยนไปตามบุคคล หรือเวลา
ประเภทของตัวแปร
 ตัวแปรอิสระ Independent variable
 ตัวแปรตาม Dependent variable
 ตัวแปรควบคุม Control variable
 ตัวแปรเชิงลักษณะ Organism
variable
 ตัวแปรแทรก Intervening variable
การทดสอบ
 แบบทดสอบที่1
 แบบทดสอบที่2
 แบบทดสอบที่3
 แบบทดสอบที่4
แบบทดสอบ 1
 ปัญหาทางเศรษฐกิจ
เป็นสาเหตุหนึ่งของการหย่าร้างของครอบครัว
ปัญหำทำงเศรษฐกิ

เป็ นตัวแปรอิ เป็ นตัวแปรต
สระ ำม
แบบทดสอบ 2
เด็กติดยำ
เกิดจำกปั ญหำครอบครัวแตกแ
ยก
เด็กติดยำ

เป็ นตัวแปรอิ เป็ นตัวแปรต


สระ ำม
แบบทดสอบ 3
แพทย์ได้ใช้สมุนไพร(มะระขีน ้ ก)
เพ่ ือควบคุมอำกำรของผู้ป่วยติดเช้ือเ
อดส์
โดยทดลองกั
ตัวแปรควบคุมบเยำวชนอำยุไม่เกิน 18
ปีคือ
สมุนไพร
ผู้ป่วยติดเช้ือเอดส์
เยำวชนอำยุไม่เกิน 18 ปี
ตัวแปรอิสระ Independent
vari abl e

 หมายถึงตัวแปรที่มีอิทธิพลทำาให้สิ่งที่เกี่ยวข้องอยู่ด้
วยสามารถแปรเปลี่ยนค่า
หรือแปรเปลี่ยนคุณลักษณะ หรือเงื่อนไขไป
ตัวอย่ำง
ตัวแปรอิสระ Ind epe nde nt
vari abl e

กำรศึกษำมีผลต่อรำยได้
กำรศึกษำถือเป็ นตัวแปรอิสระ
ต่อ
กำรสูบบุหร่ีมีผลต่อกำรเป็ นมะเ
ร็งปอด
กำรสูบบุหร่ีถือเป็ นตัวแปรอิสระ
ตัวแปรอิสระ Independent variable (ต่อ)

กำรหย่ำร้ำงของพ่อแม่มีผลต่อจิตใจ
ของบุตร
กำรหย่ำร้ำงถือเป็ นตัวแปรอิสระ
กลุ่มเพ่ ือนมีอิทธิพลต่อกำรสูบบุหร่ี
ของเยำวชน
ตัวแปรตาม Dep end ent vari abl e

 เป็นตัวแปรที่จะต้องขึ้นอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใด
หรือเป็นตัวแปรที่ต้องแปรเปลี่ยนค่า
หรือคุณลักษณะไปตามอิทธิพลของตัวแปรอิสระ
ตัวอย่
ำง
ตัวแปรตาม De pendent
va ria ble

กำรศึกษำมีผลต่อรำยได้
รำยได้ถือเป็ นตัวแปรตำม
กำรสูบบุหร่ีมีผลต่อกำรเป็ นมะเร็งป
อด
กำรเป็ นมะเร็งปอดถือเป็ นตัวแปรตำ

ตัวแปรควบคุม Control
var iabl e
 เป็นตัวแปรที่อยู่นอกเหนือจากตัวแปรอิสระที่เราส
นใจนำามาศึกษา ในการศึกษาวิจัย
ตัวแปรควบคุมจะถูกควบคุมเพื่อไม่ให้มามีผล
หรืออิทธิพลเหนือตัวแปรตามที่เรากำาลังศึกษาอยู่
ตัวอย่ำง
ตัวแปรควบคุม Control
vari abl e
กำรทดลองปลูกข้ำว 2 ชนิด คือชนิด ก.
และชนิด ข. โดยใช้ปุ๋ยชนิด ค.
กำรทดลองมีกำรควบคุมปริมำณน้ำำ
และแสง เพ่ ือดูควำมเจริฐเติบโต
และกำรให้ผลของข้ำวทัง้ 2 ชนิด
ป๋ ุย เป็ นตัวแปรอิสระ
อัตรำกำรเจริญเติบโต และผลผลิตข้ำว
เป็ นตัวแปรตำม
ตัวแปรเชิงลักษณะ Organi sm
vari abl e

 เป็นตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างระหว่างบุค
คล ซึ่งในการศึกษาวิจัย
ไม่สามารถจะจัดสภาพการณ์ให้เปลี่ยนแปลงไปเป็
นอย่างอื่นได้ เช่น เรื่องเพศ อายุ
สถานภาพการสมรส และสติปัญญาเป็นต้น
ตัวแปรแทรก Inte rveni ng
vari abl e
 เป็นตัวแปรที่อยู่ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ตัวแปรแทรก
มักจะร่วมกับตัวแปรอิสระไปมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม
อาทิ ระดับการศึกษาสูง ลักษณะงานที่ทำา
และระดับรายได้ การศึกษาเป็นตัวแปรอิสระ
ในขณะที่ลักษณะงานที่ทำาเป็นตัวแปรแทรก
และรายได้เป็นตัวแปรตาม
มาตรในการวัด
ระดับการวัด
 การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
 การวัดระดับอันดับหรือ มาตราเรียงลำาดับ ( Ordinal Scale)
 การวัดระดับช่วง หรือ มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
 การวัดระดับอัตราส่วน หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)
ระดับการวัด (ปัจจุบัน)
 มาตรานามบัญญัติ (Nominal)
 มาตราเรียงลำาดับ ( Ordinal)
 มาตราส่วน ( Scale)

10/17/08
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ

 ตัวแปรมีคุณสมบัติและค่า เท่าเทียม
และเหมือนกัน (ตัวอย่าง)
 ตัวเลขไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ นำามาบวก
ลบ คูณ หารไม่ได้ (ตัวอย่าง)
 เป็นข้อมูลประเภทที่ไม่ต่อเนื่อง (discrete data)
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ
 โดยปกติตัวเลขที่วัดได้ในมาตรานามบัญญัติ
ค่าที่ได้จะเป็นจำานวนเต็มบวก หรือ ศูนย์ ดังนั้น
ค่าที่ได้จากตัวเลขจึงไม่สามารถ
หรือไม่เหมาะสมสำาหรับการที่จะนำามาหาค่าเฉลีย
หรือถ้าหากนำาค่าจากตัวเลขที่วัดได้ในมาตรานามบัญญัติมาหาคาเฉ
ลี่ย ค่าเฉลี่ยที่ได้ก็จะไม่สามารถนำามาแปลความหมายได้
จึงถือได้ว่า
ค่าที่ได้จากการวัดในมาตรานามบัญญัติเป็นตัวเลขที่ไม่ต่อเนื่อง
(discrete data) เพราะไม่สามารถวัดเป็นจุดทศนิยมได้
และไม่สามารถนำามาทำาเป็นจุดทศนิยมได้อย่างมีความหมาย
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ
 ตัวอย่าง
 เพศ ชาย = 1 หญิง = 2 ค่าเฉลี่ยของ 1+2 = 3/ 2 = 1.5
ค่าเฉลี่ย 1.5 ที่ได้ไม่มีความหมาย
 สถานภาพการสมรส โสด = 1 สมรส = 2 หย่าร้าง = 3 ค่าเฉลี่ยของ
1+2+3 = 6 / 3 = 2 ค่าเฉลี่ย 2 ที่ได้ไม่มีความหมาย
 เช่นเดียวกับในกรณีอนื่ ๆที่มีความคล้ายคลึงกัน อาทิ
ค่าเฉลี่ยที่ได้จากตัวเลขที่เป็นการแทนค่าของคณะที่นักศึกษาจบการศึ
กษา หรือค่าเฉลี่ยที่ได้จากตัวเลขที่เป็นการแทนค่าของลักษณะอาชีพ
เป็นต้น
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ
 เนื่องจากการวัดค่าในระดับมาตรานามบัญญัติ
เป็นการวัดโดยการแบ่งข้อมูลนั้นๆออกเป็นประเภท (category)
ซึง่ ถือเป็นการวัดข้อมูลในเชิงคุณภาพ ดังนั้น
ข้อมูลที่ได้จึงแสดงออกถึงความแตกต่างในเชิงคุณลักษณะเท่านั้น
แต่ไม่ได้แตกต่างกันในเชิงของตัวเลข อาทิ
 เพศ เราอาจแทนค่า ชาย = 1 หญิง = 2 หรือ ชาย = 2 หญิง = 1 ก็ได้ โดยค่า
1 หรือ 2 เพียงแต่เป็นสัญลักษณ์ ที่บอกถึงความเป็นชาย หรือ หญิงเท่านัน้
แต่ไม่ได้บอกถึงความมากหรือน้อยของ ค่า 1 กับ 2 เลย
 สถานภาพการสมรส โสด = 1 สมรส = 2 หย่าร้าง = 3
ตัวเลขที่กำาหนดให้จึงบอกแต่เพียงสถานภาพการสมรสเท่านั้น
ไม่ได้บอกถึงความมากน้อยเลย เราสามารถ แทนค่าใหม่ได้ อาทิ สมรส = 1 โสด =
2 หย่าร้าง = 3
การวัดระดับแบ่งกลุ่มหรือ มาตรานามบัญญัติ
 ตัวอย่างการวัดในระดับมาตรานามบัญญัติ
 เพศ ชาย = 1 หญิง = 2
 อาชีพ ราชการ = 1 รัฐวิสาหกิจ = 2 เจ้าของธุรกิจ = 3
ลูกจ้าง/พนักงานบริษัท = 4 รับจ้าง/ใช้แรงงาน = 5 เกษตรกร
=6
 คณะที่จบการศึกษา สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ = 1 สังคมวิทยาฯ
= 2 นิติศาสตร์ = 3 รัฐศาสตร์ = 4 วารสารฯ = 5
พาณิชย์ฯ = 6 เศรษฐศาสตร์ = 7 ศิลปศาสตร์ = 8
การวัดระดับอันดับ
 ตัวแปรมีคุณสมบัติบอกความมากกว่า หรือน้อยกว่าได้
แต่บอกไม่ได้ว่า มากน้อยกว่ากันเท่าใด
 ปกติจะไม่นำามาบวก ลบ คูณ หารกัน
เพราะเป็นข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
 ในกรณีที่นำามาบวก ลบ คูณ หาร กัน จะสมมุติว่า
เป็นข้อมูลแบบต่อเนื่อง
 ตัวอย่าง การวัดความคิดเห็น เห็นด้วย = 3 เฉยๆ = 2
ไม่เห็นด้วย = 1
การวัดระดับช่วง
 ตัวแปรมีคุณสมบัติที่สามารถบอกความมากน้อยกว่ากันได้
และความมากน้อยมีความห่างที่เท่ากัน เช่น อุณหภูมิ
 การวัดระดับช่วง ตัวเลขที่ได้จะไม่มีศนู ย์ที่แท้จริง เช่นอุณหภูมิที่
0 องศา และ 1 องศา ตัวเลข 1 องศา มากกว่า 0 องศา
แต่ทั้งสองจำานวนได้จากการสมมุติขึ้น
 ตัวเลขสามารถนำามา บวก ลบ คูณ หาร กันได้
การวัดระดับอัตราส่วน
 ตัวแปรมีคุณสมบัติที่มีความมากน้อยกว่ากันอย่างแท้จ
ริง และความมากน้อยจะมีช่วงห่างทีเ่ ท่ากัน เช่น
ความยาว นำ้าหนัก ส่วนสูง
 ตัวเลขที่วัดได้เป็นข้อมูลแบบต่อเนื่อง
และมีศูนย์ที่แท้จริง
 สามารถนำามา บวก ลบ คูณ หาร กันได้
แบบท่1ี แบบท่ี2 แบบท่ี3

You might also like