Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 56

กลุม คําสัง่ สารพัดประโยชนตา งๆ

ในบทนี้ เราจะศึกษาคําสั่งตางๆ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการทํางานตางๆ ซึ่งเปนคําสั่งเสริมการทํางานใน


AutoCAD ใหมคี วามคลองตัวมากขึน้ หากเรารูจ กั การใชคําสัง่ ตางๆ ของ AutoCAD มากเทาใด เราก็จะสามารถเลือก
ใชคําสั่งไดเหมาะสมมากขึ้นเทานั้น นั่นหมายถึงความเร็วในการทํางานของเราก็จะเพิ่มขึ้นดวยคําสั่งเครื่ องมือ
สารพัดประโยชนทจี่ ะอธิบายในบทนี้อยูกระจัดกระจายในเมนูคอลัมนตางๆ โดยเราจะเริม่ ศึกษาคําสัง่ ตางๆ ทีย่ งั
มิไดกลาวถึงในบทกอนๆ จากเมนูคอลัมน File, Edit, Insert, Format, Tools และคอลัมน Windows เรียงตาม
ลําดับกอนหลังของเมนูคอลัมน รวมทัง้ คําสั่งบางคําสั่งที่ไมปรากฏบนเมนูและทูลบาร ซึง่ จะตองพิมพคําสัง่ ผาน
คียบ อรดเพียงอยางเดียวอีกดวย คําสัง่ สารพัดประโยชนตา งๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

12.1 File4New | NEW | E + n |


ใชสําหรับเริม่ ไฟลแบบแปลนใหม เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Template หากเขียนแบบดวยระบบเมตริก อาทิเชน
มิลลิเมตร เซนติเมตรหรือเมตร ใหเลือกเทมเพล็ทไฟล Acadiso.dwt หากเขียนแบบดวยระบบอังกฤษ อาทิ เชน นิว้
ฟุต ใหเลือกเทมเพล็ทไฟล Acad.dwt

Note การเริม่ ตนแบบแปลนใหม โดยเลือกเทมเพล็ทไฟลไมถกู ตองจะสงผลใหคา ตางๆ ทีก่ ําหนด ใหกบั สไตล
เสนบอกขนาด(Dimension Style) และรูปแบบเสน(Linetype)ที่โปรแกรมกําหนดมาใหไมตรงกับคา
มาตรฐาน ซึ่งจะกอใหเกิดความยุงยากในการแกไขเปลี่ยนแปลงแบบแปลน

12.2 File4New Sheet Set | NEWSHEETSET


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางกลุม ของแบบแปลนใหมฟอรแมต .dst โดยสามารถนําแบบแปลนตางๆ ทีม่ อี ยูแ ลวมาจัดกลุม
แยกประเภท จัดหนากระดาษ กําหนดมาตราสวนและพิมพแบบแปลนหลายๆ แบบพรอมกันในครั้ งเดียว (ดู
รายละเอียดในหัวขอ 11.4)

12.3 File4Open | OPEN | E + o |


ใชสําหรับเปดไฟลแบบแปลนทีม่ ีอยูแลว โดยเลือกไฟลฟอรแมตจากแถบรายการ Files of type อาทิ เชน .dwg
(AutoCAD Drawing File), เทมเพล็ทไฟล .dwt (Drawing Template File), ไฟลแลกเปลี่ยนขอมูล .dxf (Drawing
Interchange File) และไฟลควบคุมมาตรฐานแบบแปลน .dws (Drawing Standards File) หากไฟลแบบแปลนของ
AutoCAD 2006 จะเปนฟอรแมต .dwg เราสามารถเลือกทีจ่ ะเปดบางสวน โดยคลิกปุม แลวเลือก Partial Open
ซึง่ จะมีประโยชน ในการทํางานกับแบบแปลนขนาดใหญ เพราะเราสามารถเลือกเปดเฉพาะเลเยอรของวัตถุทตี่ อ งการ
แกไขเพิม่ เติม เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค Select File ดังรูปที่ 12.1

chap-12.PMD 335 13/10/2549, 1:33


336

หากเราตองใชโฟลเดอรใดบอยๆ เรา
สามารถเพิม่ โฟลเดอรเขาไปใน Place
2D Drafting
List ของไดอะล็อค Select File โดย
เลือกโฟลเดอรที่ ตองการใหปรากฏ
ในแถบรายการ Look in: แลวคลิก
ขวาบนพืน้ ทีว่ า งของแถบ Place List
ซึ่ งแสดงปุ มไอคอนด า นซ า ยของ
ไดอะล็ อ ค จะปรากฏช็ อ ทคั ท
(Shortcut)เมนูดังรูปที่ 12.2 (บน) ให
เลือกคําสั่ ง Add Current Folder
โฟลเดอรที่ ถูกเลือกในแถบรายการ
รูปที่ 12.1 Look in: จะปรากฏใน Place List บน
ไดอะล็อค Select File ของคําสัง่ ทุก
คําสัง่ ทีเ่ กีย่ วของกับไฟลประเภทตางๆ ดังรูปที่ 12.2 เราก็จะสามารถเรียกใชโฟลเดอรทตี่ อ งการ โดยคลิกบนปุม ไอคอน
โฟลเดอรไดอยางสะดวก
หากตองการเปดไฟลแบบปกติ ให
เลื อกชื่ อไฟล ที่ ต องการ แล วคลิ ก
บนปุม Open หากตองการเปดไฟล
บางสวน เพือ่ ประหยัดหนวยความจํา
และเพือ่ ใหโปรแกรมทํางานไดเร็วขึน้
ใหเลือกชื่อไฟลทตี่ องการ แลวคลิก
บนปุม แลวเลือก Partial Open
จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.2 ให
คลิ กบนเช็ คบอกซ ของชื่ อ เลเยอร
ของวัตถุในฟลด Layer geometry to
load แลวเลือกมุมมอง(View) แรกใน
View geometry to load ที่ตองการ รูปที่ 12.2
ให ปรากฏ View geometry to
load เลือกมุมมอง(View) ทีต่ อ งการใหปรากฏเปนมุมมองแรก ซึง่ จะตองมีการบันทึกมุมมองดวยคําสัง่ View4Named
Views มากอน Layer geometry to load คลิกเช็คบอกซของเลเยอรวัตถุที่ตอ งการใหปรากฏ Index status
แสดงสถานะการโหลดไฟลเมื่อมีความตองการใชงาน(Demand loading) ซึ่งเหมาะสมที่จะใชกับไฟลเอกซเรฟ
โปรแกรมแสดงสถานะของ Spatial index หากมีการจัดเก็บวัตถุโดยขึ้นอยูก ับตําแหนงของวัตถุใน 3 มิติ โปรแกรม
จะแสดงสถานะของ Layer index หากมีการจัดเก็บวัตถุโดยใชเลเยอรควบคุมการโหลดวัตถุมาใชงาน เราใชตวั แปร
ระบบ INDEXCTL ในการเลือกการโหลดไฟลแบบ Layer index หรือ Spatial index Load All กําหนดเครื่อง
หมาย หนาเช็คบอกซของเลเยอรทั้งหมด Clear All ยกเลิกเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซของเลเยอรทั้งหมด
Unload all Xrefs on open ปลดไฟลเอกซเรฟออกทั้งหมดชั่วคราวเมื่อเปดไฟลบางสวน เมื่อเปดไฟลบางสวน
ออกมาแกไขเพิ่มเติมเรียบรอยแลว ใหใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกไฟลลงดิสค หากเปดไฟลเดียวกันนี้ขนึ้ มา
อีกครัง้ จะพบวารูป Preview บนไดอะล็อค Select File จะหายไป เมือ่ ใชคําสัง่ File4Open เลือกไฟลดงั กลาว
แลวคลิกบนปุม Open จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 (ซาย) เมือ่ ใชคําสัง่ File4Open เลือกไฟลดงั กลาว
แลวคลิกบนปุม Partial Open จะปรากฏ ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 (ขวา) เราสามารถเลือกทีจ่ ะเปดไฟลโดยใชปมุ ตอไปนี้
Fully Open เปดไฟลแบบเต็ม หากตองการใหปรากฏรูปตัวอยางในหนาตาง Preview เชนเดิม ใหใชคําสัง่ File4Save
อีกครัง้ Specify คลิกปุม นี้ เพือ่ เปดไฟลบางสวน ซึง่ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.2 เราสามารถระบุเลเยอรของ
วัตถุที่จะตองเปดไฟลออกมาใชงานบางสวน Restore คลิกปุมนี้ เพื่อเปดไฟลบางสวน โดยใชเลเยอรที่ระบุบน
ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 ครัง้ ที่แลวออกมาใชงานอีกครั้ง

chap-12.PMD 336 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 337

รูปที่ 12.3

Note เราสามารถใชคําสั่งนี้เปดไฟล .dwg ที่สรางจาก AutoCAD 2005, 2004, 2002, 2000i, 2000, R14 และ
รีลสี กอนๆ โปรแกรมจะทําการแปลงไฟลฟอรแมตจากรีลสี เกาเขามาใชงานใน AutoCAD 2006 ใหโดย
อัตโนมัติ

12.4 File4Open Sheet Set | OPENSHEETSET


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเปดกลุม ของแบบแปลนชีทเซท(Sheet Set)ฟอรแมต .dst ทีม่ อี ยูแ ลวออกมาใชงาน เราสามารถใช
คําสัง่ นีจ้ ดั การกับไฟลแบบแปลนจํานวนมาก โดยจัดกลุม แยกประเภท จัดหนากระดาษ กําหนดมาตราสวนและพิมพ
แบบแปลนหลายๆ แบบพรอมกันในครัง้ เดียว (ดูรายละเอียดในหัวขอ 11.4)

12.4 File4Load Markp Set | OPENDWFMARKUP |


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเปดไฟล .dwf ทีส่ รางจาก AutoCAD ซึง่ มีการเขียนคําอธิบายและชีจ้ ดุ (Markup)บนแบบแปลนทีจ่ ะ
ตองแกไข เพื่อที่เราจะไดทําการแกไขแบบแปลนไดถกู ตองตามคําสั่งของผูตรวจแบบ ซึง่ Markup นี้จะถูกสราง
ดวยโปรแกรม Autodesk DWF Composer ซึ่ง
เปนซอฟทแวรสําหรับเปดไฟลแบบแปลนออกมา
ตรวจสอบ พิมพแบบแปลน เขียนคําอธิบายและ
ชี้จดุ บนแบบแปลน .dwf ที่จะตองแกไข ผูต รวจ
แบบไมจําเป นต องเรี ยนรู คําสั่ งต างๆ มากนั ก
เพราะมีคําสัง่ ที่เกี่ยวของกับการเขียนคําอธิบาย
และชีจ้ ุดแกไข(Markup) คําสั่งสําหรับยอ/ขยาย
คําสั่ งสําหรับวัดระยะ คําสั่ งสําหรับพิมพ แบบ
แปลน เปนตน ดังรูปที่ 12.4

รูปที่ 12.4

12.6 File4Save As | SAVEAS | E + S + s |


ใชคําสั่งนี้สําหรับบันทึกแบบแปลนทีก่ ําลังเปดใชงานในไฟลฟอรแมตตางๆ อาทิ เชน .dwg, .dwt, .dxf, .dws ใน
AutoCAD 2006 เราสามารถบันทึกไฟล .dwg ไดในฟอรแมตของ AutoCAD 2000 (2000, 2000i และ 2002 เปนไฟล
ฟอรแมตเดียวกัน) และ AutoCAD 2004 (2004, 2005 และ 2006 เปนไฟลฟอรแมตเดียวกัน) เราไมสามารถบันทึกไฟล
.dwg ในฟอรแมตทีต่ า่ํ กวา AutoCAD 2000 ได นอกจากจะบันทึกไฟลในฟอรแมต .dxf ของ R12 ดังแถบรายการ File
of type ในรูปที่ 12.5 (ซาย) เราสามารถคลิกบนปุม ดังรูปที่ 12.5 (ขวา) แลวเลือกคําสัง่ Options จะปรากฏ
ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.6 ซึง่ ยอมใหเรากําหนดฟอรแมตเริม่ ตนของการบันทึกไฟล โดยมีรายละเอียดดังนี้

chap-12.PMD 337 13/10/2549, 1:33


338

2D Drafting
รูปที่ 12.5

Save Proxy Images of Custom Objects ถาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี AutoCAD จะบันทึกวัตถุ


(Object)ที่นํามาใชงานจากแอพพลิเคชั่นโปรแกรมอื่นๆ อาทิ เชน Microsoft Word, Microsoft Excel, AutoCAD
Runtime eXtension และอื่ นๆ ลงในไฟล .dwg ถ าไม ปรากฏ
เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี AutoCAD จะบันทึกเฉพาะกรอบ
(Frame)ของวั ต ถุ ใ นไฟล .dwg เท านั้ น Index Type ใช
แถบรายการนี้ ในการเลือกการบันทึ กไฟล ในแบบ Layer หรื อ
Spatial หรือแบบ Layer & Spatial โปรแกรมจะใช Index นี้เพื่อ
เพิ่ มและปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ างานของโปรแกรมใน
ระหวางที่ มีความตองการในการโหลดไฟล หรือเมื่ อต องการใช
งานแบบ Demand loading การเลือก ใช Index อาจจะทําใหเวลา
รูปที่ 12.6 ในการบันทึกไฟลนานกวาปกติ ตัวเลือกในแถบรายการนี้ จะไม
สามารถใชงานได หากไฟลทเี่ ปดบางสวนมิไดถูกบันทึกดวย Layer
Index หรือ Spatial Index Save All Drawings As กําหนดฟอรแมตเริ่มตน เพื่อเลือกบันทึกไฟลแบบแปลน
หรือบันทึกในไฟลฟอรแมตอืน่ ๆ ทุกครัง้ เมื่อมีการใชคําสัง่ File4Save As บันทึกไฟลลงดิสค
เราสามารถคลิ ก บนปุ ม
บนไดอะล็อค Save Drawing As ดังรูป
ที่ 12.5 (ขวา) แล วเลื อก Security
Options จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
12.7 (ซาย) ซึง่ เราสามารถกําหนดรหัส
ผาน(Password)ใหกบั ไฟลแบบแปลน
ใช งาน โดยพิ มพ ร หั ส ผ า นเข าไปใน
อิดิทบอกซ Password or phase to
open this drawing เราสามารถคลิก รูปที่ 12.7
บนปุม Advanced Options เพือ่ เลือก
การเขารหัสแบบตางๆ และเราสามารถกําหนดความยาวของคียใ นแถบรายการ Choose a key length หากกําหนด
จํานวนคียม ากเทาใดก็จะมีระดับความปลอดภัยสูงมากเทานัน้ การเขารหัสแตละแบบบนไดอะล็อค Advanced
Options ดังรูปที่ 12.7 (ขวา-ลาง) นัน้ จะแตกตางๆ กันไปตามระบบปฏิบตั งิ านวินโดวและประเทศ กอนทีเ่ ราจะเปลีย่ น
การเขารหัส(Encryption)แบบอื่นๆ เราตองแนใจวาผูร ับไฟลแบบแปลนมีรปู แบบการเขารหัสทีเ่ ราเลือกติดตัง้ อยูใ น
เครือ่ งคอมพิวเตอร มิฉะนัน้ ผูร บั จะไมสามารถเปดไฟลแบบแปลนทีถ่ กู เขารหัสได เมือ่ เราปอนรหัสผานบนไดอะล็อค
ดังรูปที่ 12.7 (ซาย) แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.7 (ขวา-บน) เพือ่ ใหเรา
ปอนรหัสผานอีกครัง้ เพือ่ ยืนยันความถูกตอง

Note หากตองการนําไฟล .dwg ไปใชกับ AutoCAD 2002, 2000i, และ 2000 ใหเลือก Files of type เปน
AutoCAD 2000/LT 2000 Drawing(*.dwg) อยางไรก็ตาม AutoCAD 2006 ไมสามารถบันทึกไฟล
ฟอรแมตของ AutoCAD R14 ได หากตองการแปลงฟอรแมตไฟล .dwg ไปใชกับ AutoCAD R14 ให
ดาวนโหลดโปรแกรม DWG TrueConvert ไดฟรีจากเวบไซต www.autodesk.com โปรแกรมนีส้ ามารถ
แปลงไฟล .dwg ไดจํานวนมากๆ ในการใชคําสั่งเพียงครั้งเดียว

chap-12.PMD 338 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 339

12.7 File4eTransmit | ETRANSMIT |


ใชสําหรับรวบรวมไฟลทกุ ไฟลทเี่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานทัง้ หมด ซึง่ จะบันทึกและบีบอัดเก็บไวในไฟล
หรือโฟลเดอรเดียวกัน เพือ่ สะดวกในการเคลือ่ นยายไปใชงานในคอมพิวเตอรเครือ่ งอืน่ หรืออาจสงไปใหเพือ่ นรวมงาน
ผานระบบอินเตอรเนต ไฟลทเี่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานรวมไปถึงไฟล .dwg ทีส่ อดแทรกเขามาเปน

รูปที่ 12.8

Xref ทัง้ หมด ฟอนทไฟลฟอรแมต .shx รูปภาพอิมเมจในฟอรแมตตางๆ อาทิ เชน .tga, .jpg, .tif เปนตน ไฟลควบคุม
การพิมพ .ctb หรือ .stb และไฟลควบคุมมาตรฐานในการเขียนแบบ .dws เราสามารถเลือกสรางไฟลบบี อัดฟอรแมต
.zip (ใชโปรแกรม WinZip จึงจะแยกไฟลตา งๆ ออกมาใชงาน) หรือเลือกฟอรแมต .exe (ระเบิดตัวเองไดโดยไมตอ งอาศัย
โปรแกรมใดๆ)หรือใชคําสั่งนี้ในการคัดลอกไฟล .dwg และไฟลที่เกี่ยวของไปเก็บไวในโฟลเดอรใดโฟลเดอรหนึ่ง
โดยไมบบี อัดไดเชนเดียวกัน กอนทีจ่ ะใชคําสัง่ นึจ้ ะตองบันทึกไฟลใชงาน File4Save เสียกอน แลวจึงใชคําสัง่
File4eTransmit จะปรากฏไดอะล็อค Create Transmittal แสดงแถบคําสัง่ Files Tree ดังรูปที่ 12.8 (ซาย)
Files Tree ดังรูปที่ 12.8 (ซาย) แสดงโครงสรางไฟลทงั้ หมดทีเ่ กี่ยวของกับไฟลแบบแปลนใชงาน Files Table
ดังรูปที่ 12.8 (ขวา-บน) แสดงรายชือ่ ไฟลทงั้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลนใชงาน อีกทัง้ ยังแสดงขอมูลตางๆ อาทิ
เชน โฟลเดอร เวอรชั่นไฟล ขนาดไฟล วันที่ เปนตน สังเกตุวาหนาชื่อไฟลทุกไฟลจะปรากฏเครื่องหมาย นํา
หนา หากตองการถอดไฟลใดออกจากกลุม ใหปลดเครือ่ งหมาย ออก หากตองการเพิม่ เติมไฟล ถึงแมวาจะเปนไฟล
ที่ไมเกี่ยวของกับไฟลแบบแปลนใชงาน เราสามารถคลิกบนปุม Add File แลวเลือกไฟลที่ตองการ Enter notes
to include with this transmittal package พิมพขอความทีต่ องการใชเตือนความจําหรือขอความแนะนําใดๆ
เขาไปในชองหนาตางนี้ Select a transmittal setup ใชชอ งหนาตางนี้สําหรับเลือกรูปแบบการตัง้ คาตางๆ บน
ไดอะล็อค Modify Transmittal Setup รูปแบบทีส่ รางไวจะปรากฏบนไดอะล็อค Transmittal Setups ดังรูปที่ 12.8
(ขวา-ลาง) หากคลิกบนปุม Transmittal setups จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.9 Transmittal package
type ใชสําหรับเลือกฟอรแมตของไฟลบบี อัดทีจ่ ะถูกสราง ซึง่ มีใหเลือก 3 แบบคือ (1) Folder (set of files) คัดลอก
ไฟลทงั้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลนใชงานไปยังโฟลเดอรทรี่ ะบุโดยไมมีการบีบอัดใดๆ (2) Self-extracting
executable (*.exe) สรางไฟลบีบอัดในฟอรแมต .exe โดยรวบรวมไฟลที่เกี่ยวของกับแบบแปลนใชงานทัง้ หมด
เขาไปเก็บไวในไฟลบีบอัดเพียงไฟลเดียว ซึง่ เราสามารถแยกไฟล(Extract)ตางๆ ทั้งหมดออกมาได โดยไมตอ งอาศัย
แอพพลิเคชั่นใดๆ เขามาชวย (3) Zip (*.zip) สรางไฟลบีบอัดขึ้นในฟอรแมต .zip โดยรวบรวมไฟลทเี่ กี่ยวของกับ
แบบแปลนใชงานทัง้ หมดเขาไปเก็บไวในไฟลบีบอัด .zip เพียงไฟลเดียว ตองอาศัยโปรแกรม Winzip เขามาชวยใน
การแยกไฟล File Format ใชแถบรายการนีส้ ําหรับเลือกการบันทึกไฟลในฟอรแมตเดิม(Keep existing drawing
file format หรือเลือกบันทึกในฟอรแมต AutoCAD 2004 หรือ AutoCAD 2000 Transmittal file folder ใช
อิดิทบอกซนส้ี ําหรับระบุโฟลเดอรหรือคลิกบนปุม Browse แลวเลือกโฟลเดอรทตี่ อ งการจัดเก็บไฟล Transmittal

chap-12.PMD 339 13/10/2549, 1:33


340

file name ใชแถบรายการนีเ้ ลือกทีจ่ ะแสดงชือ่ ไฟล(Prompt for


a filename)หรือตั้งชื่อไฟลใหอัตโนมัติแตเขียนทับถาจําเปน
(Overwrite if necessary)หรือตัง้ ชื่อไฟลโดยรันตัวเลขทายชื่อ
2D Drafting
ไฟลใหอตั โนมัตถิ าจําเปน(Incremental filename if necessary)
Transmittal Options ใชตวั เลือกในกลุมนีส้ ําหรับกําหนด
รู ป แบบในการรวบรวมไฟล Use organized folder
structure ใชปุมเรดิโอนี้เพื่อบันทึกไฟลแบบจัดระบบโครง
สรางโฟลเดอร Place all files in one folder ใชปมุ เรดิโอนี้
เพื่อจัดไฟลทั้งหมดไวในโฟลเดอรเดียวกัน Keep files and
folders as is ใชปุมเรดิโอนี้เพื่อจัดไฟลทั้งหมดไวในโครง
สรางโฟลเดอรเดิม Include fonts คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย
หากตองการรวมฟอนทไฟล .shx ดวย Send e-mail with
transmittal คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หากตองการเรียก
โปรแกรมสงเมลพรอมแนบ(Attach) ไฟลใหโดยอัตโนมัติ Set
default printer to none คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หาก
ตองการเปลี่ยนเครื่องพิมพที่กําหนดไวในไฟลแบบแปลนให
รูปที่ 12.9 กลายเปน None Bind external references คลิกใหปรากฏ
เครื่ องหมาย หากต องการที่ จะตั ดความสั มพันธของไฟล
เอกซเรฟ Prompt for password คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หากตองการใหโปรแกรมรอรับการปอนรหัสผาน
เราสามารถปอนรหัสผาน เพื่อปองกันมิใหผูที่ไมไดรับอนุญาตแยกไฟล(Extract)แบบแปลนและไฟลที่เกี่ยวของ
ทั้งหมดออกจากไฟล .exe หรือ .zip ทุกครัง้ ที่มีผใู ดทําการแยกไฟล(Extract)บีบอัดโปรแกรมจะถามรหัสผานกอน
ซึ่งถาไมทราบรหัสผานก็จะไมสามารถแยกไฟลแบบแปลนและไฟลอื่นๆ ทั้งหมดออกมาใชงานได Transmittal
setup description ใชอดิ ิทบอกซนส้ี ําหรับปอนขอมูลรายละเอียดการตั้งคาในการรวบรวมไฟลตา งๆ
12.8 File4Publish to Web | PUBLISHTOWEB | PTW |
ใชคาํ สัง่ นีใ้ นสําหรับสรางเวบเพจ .htm แสดงแบบแปลนตางๆ ในเวคเตอรฟอรแมต .dwf (Drawing Web Format) หรือ
แสดงแบบแปลน รูปบิทแม็ปในฟอรแมต .jpg โดยสามารถนําไฟลตางๆ อับโหลดไปยัง Server ในระบบอินเตอรเนต
เพือ่ ใหเพือ่ นรวมงานสามารถเปดไฟลแบบแปลนตางๆ ออกมาใชงานไดจากอินเตอรเนต เวบเพจทีส่ รางจาก AutoCAD
2006 มีอยู 2 รูปแบบใหญๆ ดังรูปที่ 12.10

รูปแบบที่ 1 รูปที่ 12.10 รูปแบบที่ 2

รูปแบบที่ 1 มีไฮเปอรลงิ ค(Hyperlink) แสดงรายการแบบแปลนตางๆ ทางดานซายมือ ซึง่ ผูเ ขาเยีย่ มชมสามารถคลิกเพือ่


เรียกแบบแปลนนัน้ ออกมาดูได สวนกลางจอภาพแสดงรูปแบบแปลนฟอรแมต .dwf ขนาดใหญ ผูเ ขาเยีย่ มชมสามารถ

chap-12.PMD 340 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 341

คลิกขวาบนรูปแบบแปลนเพือ่ ยอ/ขยายภาพเปด/ปดเลเยอรหรือสามารถพิมพแบบแปลนบนเครือ่ งพิมพของตนเอง


โดยยังคงมีคณุ ภาพเชนเดียวกับการพิมพจากไฟล .dwg ตนฉบับ สวนรูปแบบที่ 2 แสดงรูปภาพแบบแปลนขนาดเล็ก
แถวละ 4 รูป รูปภาพเล็กๆ ทุกๆ รูปมีการกําหนดไฮเปอรลงิ คไปยังไฟลแบบแปลนขนาดใหญในฟอรแมต .dwf ซึง่ ผู
เยีย่ มชมสามารถยอ/ขยายและสามารถทีพ่ มิ พแบบแปลนใหมคี ณ ุ ภาพระดับเดียวกันกับไฟล .dwg ไดเชนเดียวกัน

รูปที่ 12.11

chap-12.PMD 341 13/10/2549, 1:33


342

เมื่อเรียกคําสั่งออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.11 (1) ถามวาตองการสรางเวบเพจใหม (Create new


web page)หรือแกไขเวบเพจเกา (Edit existing web page) เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (2)
ตั้งชือ่ ไฟลเวบเพจในอิดทิ บอกซ Specify the name of your Web page (ไมตองใสนามสกุลไฟล) เลือกโฟลเดอรที่
2D Drafting
ตองการจัดเก็บเวบเพจ โดยคลิกบนปุม แลวพิมพขอความอธิบายเวบเพจในชองหนาตาง Provide a description
to appear on your Web page เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (3) เลือกไฟลฟอรแมต .dwf
ในกรณีทตี่ องการใหสามารถ Zoom และ Pan แบบแปลนในเวบเพจไดหรือเลือก .jpg หรือ .png หากไมตองการใหมี
การ Zoom และ Pan ตอไปเมือ่ คลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (4) เลือกรูปแบบของเวบเพจซึ่งมีให
เลือกอยู 4 แบบคือ Array of Thumbnails, Array Plus Summary, List of Drawings, List Plus Summary ดังรูปที่ 12.12
เมื่ อคลิ กปุ ม Next ไดอะล็ อ คจะ
ปรากฏดังรูปที่ 12.11 (5) ใน Select
Template แล วเลื อก Theme เพื่ อ
กําหนดสี รูปแบบต างๆ ซึ่ ง มี สี ให
เลื อ ก 7 ชุ ด เมื่ อคลิ กปุ ม Next
ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11
(6) หากต องการให ผู เยี่ ยมชมเวบ
เพจสามารถคลิกและลากไฟล แบบ
แปลน .dwg ในเวบเพจไปปลอย ใน
รูปที่ 12.12 พื้นทีว่ าดภาพของ AutoCAD คลิก
ใหปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Enable i-Drop เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (7) ให
เลือกแบบแปลนตางๆ จากแถบรายการ Drawing โดยคลิกบนปุม แลวเลือกไฟลแบบแปลน .dwg เลือก Model
หรือ Layout จากแถบรายการ Layout ปอนชื่อกํากับแบบแปลนในอิดิทบอกซ Label ปอนคําบรรยายในชองหนาตาง
Description แลวคลิกบนปุม Add แลวคลิกบนปุม เพื่อเลือกไฟลแบบแปลน .dwg อื่น แลวทําซ้ําจนกวาจะ
ไดแบบแปลนจํานวนที่ตองการในชองหนาตาง Image list เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (8)
เริ่มสรางเวบเพจ โดยเลือกปุมเรดิโอ Regenerate images for drawings that have changed ในกรณีทตี่ องการอับเดท
แบบแปลนเฉพาะทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงหรือเลือกปุม เรดิโอ Regenerate all images ในกรณีทตี่ อ งการอับเดทแบบแปลน
ทัง้ หมด โปรแกรมจะทําการสรางเวบเพจและรวบรวมไฟลแบบแปลนทีเ่ กีย่ วของทัง้ หมดไปเก็บไวในโฟลเดอรทรี่ ะบุ
ในตอนตน เมือ่ คลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (9) เราสามารถคลิกบนปุม Preview เพือ่ ดูตวั อยางเวบ
เพจหรือคลิกบนปุม Post Now เพื่ออับโหลด(Upload)ไฟลเวบเพจทั้งหมด อาทิ เชน .htm, .js, .xml, .dwf, .dwg
ไปยัง Server ในอินเตอรเนตไดโดยตรงจาก AutoCAD

12.9 File4Export | EXPORT | EXP


ใชสําหรับนําไฟล 2 มิตแิ ละ 3 มิตทิ สี่ รางจาก AutoCAD ออกไปใชงานในโปรแกรมคอมพิวเตอรอน่ื ๆ ไฟลทสี่ ามารถนํา
ออกไปไดมใี หเลือกทัง้ แบบเวคเตอรกราฟก(Vector graphics) และราสเตอรกราฟก (Raster graphics) เมือ่ ใชคําสัง่
นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค Export Data ใหคลิกบนแถบรายการ File of type จะปรากฏฟอรแมตของไฟลที่สามารถนํา
ออกจาก AutoCAD ไปใชในโปรแกรมอืน่ ๆ โดย ฟอรแมตทีน่ ําออกไปใชงานได คือ .wmf, .sat, stl, .eps, .dxx, .bmp,
.3ds และ ไฟลบล็อคฟอรแมต .dwg

Note รูปภาพราสเตอรไฟล .bmp ทีไ่ ดจากคําสัง่ นีจ้ ะมีคณ


ุ ภาพต่ํา หากตองการภาพราสเตอรทมี่ คี วามละเอียด
สูง เราสามารถสราง Plotter configuration .pc3 ใหม โดยใชคําสั่ง File4Plotter Manager ð
Add-A-Plotter WizardðMy ComputerðRaster File Format เลือกฟอรแมตของราสเตอรไฟล อาทิ
เชน .tif, .tga, .jpg, .bmp, .pcx ไดตามตองการ เราจึงจะสามารถกําหนดความละเอียดสูงได

12.10 File4Drawing Utilities4Audit | AUDIT


ใช คําสั่ งนี้ สําหรั บ ตรวจสอบความผิ ดพลาดของการจั ดเก็ บข อมู ลที่ เกิ ดขึ้ นกั บไฟล แบบแปลนที่ กําลั ง ใช งาน

chap-12.PMD 342 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 343

เรามักจะใชคําสัง่ นีก้ ็ตอ เมือ่ พบความผิดปกติเกิดขึน้ ในคําสัง่ ตางๆ ของ AutoCAD เมือ่ ใชคําสั่งนีโ้ ปรแแกรมจะถาม
วาตองการแกไขขอบกพรองในไฟลแบบแปลนใหดว ยหรือไม Fix any errors detected? [Yes/No] <N>: หากพิมพ Y
ในกรณีทโี่ ปรแกรมตรวจพบขอพิดพลาดในการจัดเก็บขอมูลแบบแปลน โปรแกรมจะทําการแกไขใหโดยอัตโนมัติ หาก
พิมพ N ในกรณีทโี่ ปรแกรมตรวจพบขอพิดพลาด จะรายงานผลการตรวจสอบใหทราบ แตจะไมแกไขขอผิดพลาดให
อยางไรก็ตาม ถาความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ มากเกินกวาทีค่ าํ สัง่ นีจ้ ะสามารถแกไขได เราสามารถใชคาํ สัง่ File4Drawing
Utilities4Recover เพือ่ ทําการแกไขขอผิดพลาดตอไปได

12.11 File4Drawing Utilities4Recover | RECOVER


เราจะใชคําสัง่ นีก้ ต็ อ เมือ่ เราไมสามารถใชคาํ สัง่ File4Open เปดไฟลแบบแปลน .dwg ออกมาใชงานได เนือ่ งจาก
เกิดความเสียหายในการจัดเก็บขอมูลแบบแปลนภายในดิสค หากโปรแกรมรายงานวามีความเสียหาย(Damage)
เกิดขึน้ กับขอมูลในแบบแปลนซึง่ อาจตรวจพบดวยคําสัง่ AUDIT แตคําสัง่ AUDIT ไมสามารถแกไขได เราสามารถใช
คําสัง่ นีเ้ พือ่ กูข อ มูลในไฟลทเี่ กิดการเสียหายกลับคืนมา เมือ่ ใชคาํ สัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค Select File ขึน้ มาบนจอภาพ
ใหคลิกบนชือ่ ไฟล .dwg ทีต่ อ งการกูก ลับคืนใหอยูใ นสภาพทีส่ ามารถใชงานได อยางไรก็ตาม หากไฟลนนั้ มีการเสียหาย
มากจนเกินไป โปรแกรมอาจจะไมสามารถกูไ ฟลขอ มูลนัน้ ได

Note กอนการใชคําสัง่ นี้ เราควรจะตองคัดลอกไฟลตน ฉบับทีเ่ สียหายเก็บไวอกี ไฟลหนึง่ กอน เพือ่ ปองกันการ
ผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได

12.12 File4Drawing Utilities4Drawing Recovery Manager | DRAWINGRECOVERY


ในขณะที่เรากําลังเปดไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานอยูน ั้น หากมีสาเหตุใดๆ ที่
ทําใหเครือ่ งคอมพิวเตอรตอ ง Boot หรือ Reset ใหม โดยทีเ่ รายังมิไดบนั ทึก(Save)
ขอมูลแบบแปลน อาจจะทําใหไฟลแบบแปลน .dwg เสียหาย จนกระทั่งไม
สามารถเปดออกมาใชงานได เมือ่ เริม่ เขาสู AutoCAD ใหม โปรแกรมจะแสดงหนา
ตาง Drawing Recovery Manager ดังรูปที่ 12.13 เราสามารถคลิกบนชือ่ ไฟลที่
ตองการกูขอมูลกลับมาใชงาน เราสามารถคลิกขวาบนชื่อโฟลเดอรที่ปรากฏ
อยูใ นชองหนาตาง Backup files แลวเลือกคําสัง่ Open all drawings เพือ่ เปดไฟล
แบบแปลนทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นโฟลเดอรทถี่ ูกเลือกกลับมาใชงานหรือคลิกขวาบนชือ่
ไฟลทปี่ รากฏ อยูใ นชองหนาตาง Backup files แลวเลือกคําสัง่ Open เพือ่ เปดไฟล
แบบแปลนทีถ่ กู เลือกกลับมาใชงาน
รูปที่ 12.13

12.13 File4Drawing Utilities4Update Block Icons | BLOCKICON


โดยปกติ เมือ่ ใช DesignCenter แสดงไอคอนบล็อคตางๆ ทีอ่ ยูใ นไฟลแบบแปลน .dwg ทีถ่ กู สรางขึน้ จาก AutoCAD
รีลสี กอนๆ ไอคอนบล็อคจะไมแสดงรูปภาพตัวอยาง แตจะปรากฏเพียงรูปไอคอน ซึง่ เราจะไมทราบวาบล็อคนัน้
เปนรูปอะไร เราสามารถใชคําสัง่ นีส้ ําหรับอับเดทไอคอนของบล็อคทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นไฟล .dwg ใชงาน เพือ่ ทําใหบล็อค
ทัง้ หมดแสดงรูปตัวอยางบล็อคบน DesignCenter

chap-12.PMD 343 13/10/2549, 1:33


344

12.14 File4Drawing Utilities4Purge | PURGE | PU |


2D Drafting
ใชสาํ หรับกําจัดขยะในหนวยความจําของแบบแปลนใชงาน อาทิ เชน บล็อค สไตลเสนบอกขนาด เลเยอร รูปแบบเสน
เชฟ(Shape) สไตลตวั อักษรและสไตลของมัลติไลนทมี่ ไิ ดมกี ารใชงานออกจากหนวยความจําของไฟลแบบแปลน .dwg
ทีก่ ําลังเปดใชงาน เพือ่ ลดขนาดไฟลแบบแปลนใหเล็กลง เพือ่ ใหสามารถบันทึกดิสคดว ยขนาดไฟลทกี่ ะทัดรัด

เมื่อเขาสูไดอะล็อค Purge ดังรูปที่ 12.14 ปุมเรดิโออยูท ี่ View


items you can purge โปรแกรมจะแสดงรายชื่อวัตถุที่เรา
สามารถลบทิ้งออกจากหนวยความจํา สังเกตุวา วัตถุใดสามารถ
ทีจ่ ะลบทิง้ ได จะมีเครือ่ งหมาย + นําหนา หากตองการลบเฉพาะ
Block ใหคลิกขวาที่ Block แลวเลือกคําสัง่ Purge หรือคลิกบน
ปุม Purge ดานลางของไดอะล็อค หากตองการลบวัตถุทงั้ หมด
ใหคลิกขวาบน All items หรือบนวัตถุใดๆ แลวเลือกคําสั่ง
Purge All หรื อคลิ กบนปุ ม Purge All ด านล างของ
ไดอะล็อค หากตองการดูรายชือ่ ของวัตถุที่ยงั ไมสามารถลบได
ใหคลิกบนปุมเรดิโอ View items you can not purge หาก
ตองการลบวัตถุที่ ซอนกันอยู เชน บล็อคซอนบล็อค(Nested
block) ใหคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Purge
nested items
รูปที่ 12.14

Note หากบนพื้นที่วาดภาพยังมีบล็อคหรือมีวัตถุที่ใชสไตลของวัตถุที่เราตองการลบ เราจะไมสามารถลบ


บล็อคหรือสไตลนนั้ ออกจากหนวยความจําของแบบแปลนจนกวาเราจะลบบล็อคหรือวัตถุทใี่ ชสไตล
นั้นออกจากพื้นที่วาดภาพเสียกอน จึงจะสามารถลบ(Purge)วัตถุออกจากหนวยความจําได

Note เราไมสามารถลบรูปแบบเสนบอกขนาด เลเยอร รูปแบบเสน เชฟ รูปแบบตัวอักษร รูปแบบในการพิมพ


และรูปแบบของมัลติไลนที่อยูในสถานะใชงาน(Current) หากจําเปนตองลบวัตถุนั้นออกไปใหปลด
สถานะใชงานของวัตถุที่ตอ งการลบออกไปเสียกอน เราจึงจะใชคําสั่งนี้กบั วัตถุเหลานั้นได

Note หากใชคําสัง่ นีแ้ ลวปรากฏวายังไมสามารถลบวัตถุไดทงั้ หมด ถึงแมวาจะวัตถุทตี่ อ งการลบจะไมไดเปน


วัตถุใชงานหรือมีวตั ถุใดๆ ทีอ่ า งอิงวัตถุนนั้ อยู ใหพมิ พคําสัง่ -PURGE ผานคียบ อรด จะสามารถลบวัตถุ
ที่ไมสามารถใชคําสัง่ นี้ลบออกจากหนวยความจําของแบบแปลนได

12.15 File4Drawing Properties | DWGPROPS


ใชคําสั่งนี้สําหรับกําหนดคุณสมบัติใหกับไฟลแบบแปลน .dwg เพื่อชวยใหเราสามารถคนหาหรือติดตามแบบ
แปลนไดโดยงาย เราสามารถกําหนดรายละเอียด เพือ่ ชวยใหเราสามารถแยกประเภทของไฟลแบบแปลน โดยสามารถ
กําหนดชือ่ เรือ่ ง(Title), ชือ่ ผูเ ขียน (Author), หัวขอเรือ่ ง (Subject)และขอความสําคัญ(Keywords)ใหกบั ไฟลแบบแปลน
เรา ยังสามารถทีจ่ ะเก็บบันทึกทีอ่ ยูไ ฮเปอรลงิ คหรือพาธ(Path)และขอมูลเพิม่ เติมตางๆ

chap-12.PMD 344 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 345

General แถบคําสั่งนี้แสดงชื่อ ตําแหนง ขนาด วันที่สราง วันที่


แกไข วันที่เริ่มใชไฟลแบบแปลน .dwg ใชงาน Summary ใช
แถบรายการนีส้ ําหรับกําหนดคุณสมบัตติ า งๆ ใหแกไฟลแบบแปลน
.dwg ใชงานในอิดิทบอกซ Title, Subjects, Author, Keywords,
Comments และ Hyperlink base Statistics รายงานสถิติการใช
แบบแปลน วั นสร าง วั นแก ไข โดยเวลารวมในการแก ไขแบบ
แปลนทั้งหมด Custom เราสามารถปอนขอมูลที่ กําหนดขึ้ นมา
ใชงานดวยตนเอง โดยคลิกบนปุ ม Add (ลบขอมูล โดยใชปุ ม
Delete) ซึ่งขอมูลทั้งหมดในคําสัง่ นี้จะไปปรากฏในคําสัง่ Insert4
Field หากมีการสอดแทรกขอมูลไปใชงาน ขอมูลจะเปลีย่ นแปลง
อับเดทโดยอัตโนมัติ

รูปที่ 12.15

Note เราสามารถใชขอมูลที่ระบุใน Title, Subject, Author, Keywords เปนเงื่อนไขในการคนหาไฟลแบบ


แปลนจาก My Computer หรือจาก Network ได โดยใชปุม Search บนหนาตาง DesignCenter
เราสามารถใชเครื่องหมาย * เติมหลังตัวอักษรหรือขอความสัน้ ๆ เพือ่ ใชแทนไฟลทกุ ไฟลได อาทิ เชน
โครงการตอเรือ* หมายถึงใหคน หาแบบแปลนทีม่ ี Properties ของโครงการตอเรือทัง้ หมดทุกโครงการ

12.16 Edit4Cut | CUTCLIP | E + x |


ใชสําหรับคัดลอกวัตถุ(Objects)จากพืน้ ทีว่ าดภาพไปเก็บไวในหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรด (Windows
clipboard) พรอมท งลบวั
ั้ ตถุนนั้ ออกจากพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถนําวัตถุจากไฟลแบบแปลนหนึง่ ไปใชงานใน
อีกไฟลแบบแปลนหนึง่ หรือนําไปใชในแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ อาทิ เชน Microsoft Word, Microsoft Excel และอืน่ ๆ เปนตน

12.17 Edit4Copy | COPYCLIP | E + c |


ใชสําหรับคัดลอกวัตถุ(Objects)จากพื้นที่วาดภาพไปไวในหนวยความจําชั่วคราววินโดวคลิ๊ปบอรด(Windows
clipboard) เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถนําวัตถุจากไฟลแบบแปลนหนึง่ ไปใชงานในอีกไฟลแบบแปลนหนึง่ หรือนําไปใชใน
แอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ คําสัง่ นีม้ ลี กั ษณะการใชงานเหมือนกับคําสัง่ CUTCLIP จะ แตกตางกันตรงทีว่ ตั ถุซง่ึ เราคัดลอกยังคง
อยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพไมถกู ลบทิง้ ไป

12.18 Edit4Copy with Base Point | COPYBASE | E + S + c


คําสัง่ นีเ้ หมือนกับคําสัง่ COPYCLIP ทุกประการ ยกเวนเราสามารถกําหนดจุดสอดแทรกใหแกวัตถุทจี่ ะถูกคัดลอก
เมือ่ เลือกคําสัง่ นี้ จะปรากฏขอความ Specify base point: ใหคลิกตรงจุดทีต่ อ งการกําหนดจุดสอดแทรก จะปรากฏ
ขอความ Select objects: ใหคลิกเพือ่ เลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอก เราใชคําสัง่ นีใ้ นกรณีทตี่ อ งการนําวัตถุจากไฟลแบบ
แปลนหนึง่ ไปใชงานในอีกไฟลหนึง่ เพือ่ ใหสามารถใชจดุ สอดแทรกชวยในการกําหนดตําแหนงของวัตถุ

12.19 Edit4Copy Link | COPYLINK


ใชสาํ หรับคัดลอกพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD ไปไวในหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรด(Windows clipboard)
การคัดลอกดวยคําสัง่ นีจ้ ะทําใหเกิดการเชือ่ มโยงวัตถุจากวิวพอรทใชงานของพืน้ ทีว่ าดภาพในลักษณะ Object Linking

chap-12.PMD 345 13/10/2549, 1:33


346

and Embedding(OLE) ไปยังโปรแกรมคอมพิวเตอรอ่นื ๆ ซึง่ ถาหากวัตถุตนฉบับใน AutoCAD ถูกแกไข วัตถุทถี่ กู


คัดลอกไปใชในโปรแกรมอืน่ ๆ จะถูกแกไขตามไปดวย
2D Drafting
12.20 Edit4Paste | PASTECLIP | E + v |
ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเรียกวัตถุจากหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรดซึง่ ถูกคัดลอกดวยคําสัง่ Edit4Cut, Edit4
Copy หรือ Edit4Copy Link จากโปรแกรมแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ หรือจากไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ของ AutoCAD เขามาวาง
บนพืน้ ทีว่ าดภาพของไฟลแบบแปลนใชงาน

Note หากเรามีชดุ ขอมูลคอรออรดเิ นท X,Y จาก Microsoft Excel เราสามารถนําคาคอรออรดเิ นทมาเขียนเสน


Line หรือ Polyline หรือ Spline ได เมือ่ อยูใ น Microsoft Excel ใหไฮไลทเซลลทมี่ ชี ดุ ขอมูลคอรออรดเิ นท
X,Y ทั้งหมด แลวใชคําสั่ง Edit4Copy เพื่อคัดลอกขอมูลคอรออรดิเนท X,Y ทั้งหมดเขาสูหนวย
ความจําวินโดวคลิ๊ปบอรด เมื่ออยูใ น AutoCAD ใหเรียกคําสัง่ LINE, PLINE หรือ SPLINE แลวกดปุม
@ เพื่อเรียกหนาตาง AutoCAD Text Window คลิกขวาบนบรรทัด Command: ที่อยูบนหนาตาง
AutoCAD Text Window แลวเลือกคําสั่ง Paste โปรแกรมจะใชคําสั่ง LINE, PLINE หรือ SPLINE
เขียนเสนตามจุดคอรออรดิเนท X,Y ตางๆ ที่นํามาจาก Microsoft Excel

12.21 Edit4Paste as Block | PASTEBLOCK | E + S + v


เหมือนกับคําสัง่ PASTECLIP โดยปกติ เมือ่ ใชคาํ สัง่ Edit4Paste เพือ่ นําวัตถุจากหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊
บอรดมาวาง(Paste)ลงบนพื้นที่วาดภาพ จะมีสภาพเหมือนกับกอนที่จะถูกคัดลอกเขาไปไวในวินโดวคลิ๊ปบอรด
แตถา หากเราใชคําสัง่ นี้ เพือ่ เรียกวัตถุจากคลิ๊ปบอรดออกมาวางบนพื้นที่วาดภาพ วัตถุนั้นจะถูกแปลงเปนบล็อค
โดยโปรแกรมจะทําการตัง้ ชือ่ บล็อคใหโดยอัตโนมัติ

12.22 Edit4Paste as Hyperlink | PASTEASHYPERLINK


ใชสําหรับสอดแทรกไฮเปอรลงิ คจากหนวยความจําวินโดวคลิป๊ บอรดไปยังวัตถุทถี่ กู เลือก ในการคัดลอกไฮเปอรลงิ ค
เขาสูว นิ โดวคลิป๊ บอรด ใหคลิกขวาบนวัตถุทมี่ ไี ฮเปอรลงิ ค เลือกคําสัง่ Hyperlink4Copy Hyperlink

12.23 Edit4Paste to Original Coordinate | PASTEORIG


เหมือนกับคําสัง่ PASTECLIP ใชสําหรับนําวัตถุจากหนวยความจําคลิป๊ บอรดไปวาง ณ จุดคอรออรดเิ นทเดิมในไฟล
แบบแปลนเดิมหรือจุดคอรออรดเิ นทเดิมในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ

12.24 Edit4Paste Special | PASTESPEC


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเรียกวัตถุจากหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรดซึง่ ถูกคัดลอกดวยคําสัง่ Edit4Cut, Edit4
Copy หรือ Edit4Copy Link จากโปรแกรมแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ หรือจากไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ของ AutoCAD เขามาวาง
บนพืน้ ทีว่ าดภาพ เราสามารถใชคําสัง่ นีใ้ นการเชือ่ มโยงวัตถุทคี่ ดั ลอกเขามาจากโปรแกรมคอมพิวเตอรอน่ื ๆ ในลักษณะ
Object Linking and Embedding (OLE) ซึง่ ถามีการแกไขเพิม่ เติมวัตถุตน ฉบับในโปรแกรมคอมพิวเตอรอน่ื ๆ วัตถุที่
คัดลอกเขามาใน AutoCAD นีจ้ ะถูกปรับปรุงโดยอัตโนมัติ เมือ่ เลือกคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.16
เราสามารถเลือกปุม เรดิโอ Paste เพือ่ ทีจ่ ะสอดแทรกวัตถุจากคลิป๊ บอรดแบบธรรมดาไมมกี ารเชือ่ มโยงความสัมพันธ
หากเราตองการคัดลอกตารางจาก Microsoft Excel มาแปลงใหเปนตาราง(Table)ของ AutoCAD เราสามารถเลือก

chap-12.PMD 346 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 347

AutoCAD Entities จากชองหนาตาง As หากตองการ


แปลงใหเปน Multiline Text ใหเลือก Text จากชองหนา
ตาง As หรือเลือกปุมเรดิโอ Paste Link เพื่อทีจ่ ะสอด
แทรกแบบมีการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางวัตถุตน
ฉบับกับวัตถุทสี่ อดแทรกเขามาใน AutoCAD ซึง่ ถาหาก
มีการแกไขวัตถุตน ฉบับในแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ วัตถุทถี่ ูก
คัดลอกหรือสอดแทรกใน AutoCAD จะถูกแกไขดวย
รูปที่ 12.16 โดยอัตโนมัติ
เมือ่ สอดแทรกวัตถุ OLE เขามาใน AutoCAD แลว เราสามารถปรับขนาดความสูงของตัวอักษรได โดยคลิกใหปรากฏ
จุดกริป๊ สสีดําบนมุมทั้ง 4 ของ OLE Object แลวคลิกขวาบน OLE Object จะปรากฏเคอรเซอรเมนูดังรูปที่ 12.17
(ซาย) เราสามารถเลือกคําสัง่ Open เพือ่ ใช แอพพลิเคชัน่ เปดตนฉบับของ OLE Object ออกมาแกไขหรือเลือกคําสั่ง
Text Size จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.17 (ขวา) เราสามารถปรับความสูงของตัวอักษรใหมคี วามสูงตามหนวยวัด
ของ AutoCAD โดยพิมพคาความสูงของตัวอักษรเขาไปในอิดิทบอกซตอจากเครื่องหมายเทากับของ Text Height
เราสามารถเลือกคําสั่ง Reset เพื่อ
ปรับความสูงของ ตัวอักษรใน OLE
Object กลั บ ไปมี ขนาดเท ากั บ
ขนาดเริ่มตน
รูปที่ 12.17

Note เนื่องจากฟอนท .ttf ภาษาไทยของวินโดวมีขนาดไมตรงตามมาตรฐานเหมือนกับฟอนทภาษาอังกฤษ


ดังนั้น หากเรากําหนด ความสูงเทากับ 2.5 หนวย ความสูงของตัวอักษรประมาณ 2.4 หนวยหรือต่ํากวา

12.25 Edit4Clear | ERASE | E |


ใชสําหรับลบวัตถุ เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ จะปรากฏขอความ Select objects: เราสามารถใชตวั เลือก All, W, C, F, A, R, CP,
WP และอืน่ ๆ ซึง่ ไดอธิบายรายละเอียดไวในหัวขอการเลือกวัตถุในบทที่ 2

12.26 Edit4Select All | E + a |


ใชสําหรับเลือกวัตถุทงั้ หมดทีอ่ ยูบ นพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสหรือพืน้ ทีเ่ ปเปอรสเปสทีก่ าํ ลังใชงานอยู

12.27 Edit4OLE Links | OLELINKS


ใชคําสัง่ จัดการความสัมพันธระหวางวัตถุทมี่ ีการ
เชือ่ มโยงระหวางกันแบบ OLE ทีส่ อดแทรกเขามา
ใชงาน คําสัง่ นีจ้ ะสามารถใชงานไดกต็ อ เมือ่ มีการ
ใชคาํ สัง่ Edit4Paste Special ðPaste Link สอด
แทรกวัตถุแบบเชื่อมโยงความสัมพันธจากไฟล
ตนฉบับทีบ่ ันทึกดวยแอพพลิเคชั่นโปรแกรมอืน่ ๆ
เขามาใน AutoCAD เมื่อใชคําสัง่ นีจ้ ะตองมีวตั ถุ
รูปที่ 12.18 OLE อยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพ จะปรากฏไดอะล็อคดัง
รูปที่ 12.18

chap-12.PMD 347 13/10/2549, 1:33


348

บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.18 เราใชปุม Update Now เพื่อปรับปรุงวัตถุทันที ใชปุม Open Source เพื่อเรียก
แอพพลิเคชัน่ ที่สรางวัตถุนนั้ ออกมา ใชปมุ Change Source เพือ่ เปลีย่ นไฟลและโฟลเดอรที่เก็บบันทึกวัตถุ ใชปมุ
Break Link สําหรั บตั ดการเชื่ อมโยงระหว างวั ตถุ ต นฉบั บกั บวั ตถุ ที่ ถูกสอดแทรกแบบ OLE ใช ปุ มเรดิ โอ
2D Drafting
Automatic เพือ่ ใหการปรับปรุงวัตถุเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ใชปุมเรดิโอ Manual เพื่อปรับปรุงวัตถุดวยตนเอง
12.28 Edit4Find | FIND |
ใชคําสัง่ นี้สําหรับคนหาตัวอักษรหรือขอความใดๆ ในไฟลแบบแปลนใชงาน ไมวา จะเปนตัวอักษรทีส่ รางจากคําสัง
Draw4Text4Multiline Text หรือคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เราสามารถคนหาไดทงั้ ตัวอักษร
ภาษาไทยและตัวอักษรภาษาอังกฤษ ทดลองเปดไฟล Blocks and Tables - Metric.dwg จากโฟลเดอร \Program
Files\AutoCAD 2006\Sample แลวใชคําสั่งนี้ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.19 (ซาย) คนหาตัวอักษร “Site”
ทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นไฟลแบบแปลน แลวแทนทีด่ ว ยตัวอักษร “Sites” โดยพิมพ Site ในอิดทิ บอกซ Find text string แลว
พิมพ Sites ในอิดทิ บอกซ Replace with คลิกบนปุม Find เพื่อคนหาคําหรือปุม Find Next เพือ่ คนหาคําตอไป
แล วคลิ กปุ ม Replace เพื่ อแทนที่ คําหรื อคลิ กบนปุ ม Replace All เพื่ อแทนที่ คําทั้ งหมด โปรแกรมจะ
รายงานจํานวนคําทีถ่ กู แทนทีท่ งั้ หมดดานลางสุด หากใชปมุ Find จะปรากฏตัวอักษรทีค่ น พบใน Context เราสามารถ
คลิกบนปุม Zoom to เพือ่ ขยายภาพใหมองเห็นตัว
อักษรที่คนพบนั้นได หากตองการกําหนดประเภท
วัตถุในการคนหา ใหคลิกบนปุม Options จะปรากฏ
ไดอะล็ อ คดั ง รู ป ที่ 12.19 (ขวา) หากปรากฏ
เครื่องหมาย บนเช็คบอกซใดในฟลด Include

รูปที่ 12.19
โปรแกรมจะทําการคนหาภายในวัตถุประเภทนัน้ ดวย อาทิ เชน คาของแอททริบวิ ต ตัวเลขบอกขนาดและคําอธิบายของ
เสนลีดเดอร ตัวอักษร Text และ Mtext ตัวอักษรในตาราง(Table) คําบรรยายในไฮเปอรลงิ คและไฮเปอรลงิ ค หาก
ปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Match Case ตัวอักษรพิมพใหญหรือพิมพเล็กจะตองตรงกัน โปรแกรมจึง
จะสามารถคนหาคําทีต่ อ งการได หากปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Find whole words only โปรแกรมจะ
คนหาเฉพาะคําทัง้ คําวาตรงกับคําทีร่ ะบุในอิดทิ บอกซ Find text string หรือไม ถาไมตรงกันโปรแกรมจะคนหาคําอืน่ ๆ
ทีต่ รงกันตอไป

12.29 Insert4Drawing Exchange Binary | DXBIN


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับนําเขาไฟลชนิ้ งานหรือแบบแปลน 2 มิตฟิ อรแมต .dxb ทีส่ รางจากการพิมพดว ยคําสัง่ File4Plot
ของ AutoCAD สวนใหญแลวจะใชในกรณีที่ตอ งการแปลงวัตถุ 3 มิตใิ หกลายเปนวัตถุ 2 มิติ ในการสรางไฟล .dxb
เพียงแตแสดงภาพชิน้ งานทีต่ อ งการใหปรากฏในไฟล .dxb แลวสรางเครือ่ งพิมพ ดวยคําสัง่ File4Plotter Managerð
Add-A-Plotter WizardsðNextðMy ComputerðAutoCAD DXB File แลวบันทึกคอนฟกเกอเรชัน่ ของเครือ่ งพิมพ
และใชเครือ่ งพิมพดงั กลาวเปนเครือ่ งมือในการสรางไฟล .dxb

chap-12.PMD 348 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 349

12.30 Insert4Windows Metafile | WMFIN


ใชสําหรับนําขอมูลรูปภาพกราฟกในลักษณะเวคเตอรทบี่ นั ทึกไวในไฟล .wmf จากแอพพลิเคชัน่ โปรแกรมตางๆ อาทิ
เชน Adobe Illustrator หรือกราฟกแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ เขามาใชงานใน AutoCAD หลังจากทีน่ ําไฟล .wmf เขามาใน
AutoCAD เราจะตองระเบิดโดยใชคําสัง่ Modify4Explode จึงจะสามารถแกไขวัตถุตา งๆ ในไฟลดงั กลาวได

12.31 Insert4OLE Object | INSERTOBJ |


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสอดแทรกไฟลจากโปรแกรมแอพพลิเคชั่นอื่นๆ อาทิ เชน Microsoft Excel .xls, Adobe Acrobat
.pdf, และอืน่ ๆ ดังรูปที่ 12.20 เขามาใชงานใน AutoCAD หากเลือกปุม เรดิโอ Create New โปรแกรมจะสอดแทรกไฟล
ที่เริม่ ตนสรางใหมในแอพพลิเคชัน่ โปรแกรมอืน่ ๆ หากเลือกปุมเรดิโอ Create from file เราสามารถคลิกใหปรากฏ
เครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Link เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางไฟลขอมูล หากมีการแกไขไฟลดังกลาวใน
แอพพลิเคชัน่ โปรแกรมอืน่ ๆ ขอมูลจะไดรบั การปรับปรุงใน AutoCAD ดวย

รูปที่ 12.20

12.32 Insert4Hyperlink | HYPERLINK |


เมื่อเรียกคําสัง่ นี้ออกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select objects ใหเลือกวัตถุที่ตองการสรางการเชื่อมโยงแบบ
ไฮเปอรลงิ ค แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.21 พิมพขอ ความแนะนําเขาไปในอิดทิ บอกซ Text to display
แลวพิมพทอี่ ยูข องเวบไซตหรือทีอ่ ยูข องไฟลทจี่ ะลิงคเขาไปในอิดทิ บอกซ Type the file or Web page name แลวคลิก
บนปุม OK เราสามารถคนหาไฟลโดยคลิกบนปุม File หรือคนหาชือ่ เวบไซตตา งๆ ทีอ่ ยูใ น History ของ Internet Explorer
โดยคลิกบนปุม Web Page แลวเลือกเวบไซตทตี่ องการลิงค หากตองการยกเลิกไฮเปอรลิงคที่กําหนดใหกับวัตถุ
ใหคลิกบนปุม Remove Link เมือ่ เรากําหนดไฮเปอรลงิ คใหกบั วัตถุแลวดังรูปที่ 12.21 (ขวา-บน) หากมีการสรางไฟล
.dwf เพือ่ ใชงานใน Internet Explorer เมือ่ เลือ่ น
เคอรเซอรไปบนวัตถุ จะปรากฏเคอรเซอรและ
ไฮเปอรลงิ คดงั รูปที่ 12.21 (ขวา-ลาง) หากคลิก
บนวัตถุ โปรแกรมจะเปดเวบไซตหรือเปดไฟล
ทีร่ ะบุไวในไฮเปอรลงิ คทนั ที

รูปที่ 12.21

chap-12.PMD 349 13/10/2549, 1:33


350

Note หากเราไดสรางไฮเปอรลิงคใหกับวัตถุไปแลว หากตองการแกไข ใหเรียกคําสั่งนี้ แลวคลิกบนวัตถุที่


ตองการแกไขไฮเปอรลิงค หรือคลิกบนวัตถุใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวคลิกขวาบนวัตถุ แลวเลือกคําสั่ง
Hyperlink4Edit Hyperlink ไดเชนเดียวกัน 2D Drafting
12.33 Format4Rename | RENAME | REN
ใชคําสั่งนี้สําหรับเปลี่ยนชื่อบล็อค(Block) เปลี่ยนชื่อสไตล
เสนบอกขนาด(Dimension style) เลเยอร(Layer) รูปแบบ
เส น(Linetype) รู ปแบบการพิ มพ (Plot Style) รู ปแบบ
ตัวอักษร(Text Style) ระนาบ UCS (ใชในระบบ 3 มิติ)
มุมมอง(View)และวิวพอรท(Viewport) เมื่อใชคําสั่งนี้จะ
ปรากฏไดอะล็อค Rename ดังรูปที่ 12.22
คลิกบนประเภทของวัตถุ อาทิ เชน Blocks, Dimension Styles
รูปที่ 12.22 และอืน่ ๆ เปนตนในชองหนาตาง Named Objects แลว
คลิกบนชือ่ วัตถุในชองหนาตาง Items จะปรากฏชือ่ เดิมของ
วัตถุในอิดิทบอกซ Old Name ใหพมิ พชื่อใหมเขาไปในอิดทิ บอกซ Rename To แลวคลิกบนปุม Rename To
เพื่อเปลี่ยนชื่อวัตถุที่ถูกเลือก

12.34 Tools4Spelling | SPELL | SP


ใชสาํ หรับตรวจสอบตัวสะกดของขอความตัวอักษร TEXT และ MTEXT คําสัง่ นีใ้ ชไดกบั ภาษาอังกฤษเทานัน้ เมือ่ เรียก
คําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select objects: ใหคลิกบนขอความตัวอักษรทีต่ อ งการตรวจสอบตัวสะกด
แลวคลิกขวา เมือ่ โปรแกรมคนพบคําผิด จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
12.23
Current Dictionary แสดงชือ่ ดิกชันนารีใ่ ชงาน Current Word
แสดงคําทีต่ รวจพบวาสะกดผิด Suggestions แสดงคําแนะนําวาควร
จะเปนคําที่ถกู ตอง Ignore ขามตัวอักษรไป โดยไมแกไข Ignore
All ข ามตั วอักษรไปทั้ งหมดโดยไมแก ไข Change แก ไขคําที่
ตรวจพบ โดยใชคําที่แนะนําไปแทนทีค่ ําที่สะกดผิด Change All
แกไขคําที่สะกดผิดทั้งหมด โดยใชคําที่แนะนําแทน Add เพิ่มคําที่
ตรวจพบใน Current word เขาไปในดิ กชั นเนอรี่ ฉบั บปรับปรุง
รูปที่ 12.23
Lookup ตรวจสอบคําทีป่ รากฏในฟลด Suggestions วาสะกดถูกตอง
หรือไม Change Dictionaries ใชปุ มนี้ สําหรั บเปลี่ ยนดิ กชันเนอรี่ ใชงาน Context แสดงขอความตัวอั กษร
ที่อยูในบรรทัดเดียวกันกับคําที่ตรวจพบ

12.35 Tools4Quick Select | QSELECT |


ใชสาํ หรับเลือกวัตถุตา งๆ โดยใชเงือ่ นไขเขามาชวยเลือกวัตถุ เมือ่ เลือกวัตถุดว ยคําสัง่ นีแ้ ลว จะปรากฏจุดกริป๊ สบนวัตถุ
ตางๆ ที่ถูกเลือกตามเงือ่ นไข หากเราเรียกคําสั่งใดๆ ทีป่ รากฏขอความ Select objects: อาทิ เชน MOVE, COPY,
ROTATE, SCALE และ คําสัง่ อืน่ ๆ โปรแกรมจะนําวัตถุตางๆ ทีถ่ กู เลือกจากคําสั่งนีไ้ ปใชงานในคําสั่งดังกลาวทันที
โดยไมตอ งเลือกวัตถุในคําสัง่ นัน้ อีก เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.24

chap-12.PMD 350 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 351

ในแถบรายการ Apply to จะปรากฏตัวเลือก Entire Drawing หากยัง


ไมมีวัตถุใดถูกเลือกอยู ซึ่งการเลือกจะมีผลกับวัตถุทั้งหมดหรือจะ
ปรากฏตัวเลือก Current selection หากมีวัตถุถกู เลือกอยูบ างแลว ซึ่ง
การเลือกจะมีผลกับกลุมวัตถุที่ถูกเลือกแลว เราสามารถกลั่นกรอง
การเลือกโดยใชประเภทของวัตถุในแถบรายการ Object type หรือ
ใช Multiple เพื่ อเลือกประเภทวัตถุทั้ งหมด เรายั งสามารถเลือก
คุณสมบัติของวัตถุในชองหนาตาง Properties แลวกําหนดเงือ่ นไข
ในแถบรายการ Operator และกํ าหนดค าของคุ ณ สมบั ติ ใ น
อิดิทบอกซ Value เพื่อทําใหเงื่อนไขในการเลือกแคบลง หากปุม
เรดิโออยูท ี่ Include in new selection set โปรแกรมจะเลือกวัตถุที่
ระบุ ตามเงื่ อ นไข หากปุ ม เรดิ โออยู ที่ Exclude from new
selection set โปรแกรมจะเลือกวัตถุตรงกันขามกับเงื่อนไขทีร่ ะบุ
หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Append to current
รูปที่ 12.24 selection set โปรแกรมจะเพิม่ วัตถุทรี่ ะบุตรงตามเงือ่ นไขเขาไปใน
กลุมของวัตถุที่ถูกเลือกอยูแลว

Note คําสัง่ นีจ้ ัดวาเปนคําสัง่ ทีม่ ีประโยชนมากคําสั่งหนึ่งเพราะจะชวยใหเราสามารถเลือกวัตถุตา งๆ จํานวน


มากๆ ตามเงื่อนไขในการเลือกไดอยางสะดวกและรวดเร็ว
รูปที่ 12.25
ในการเลือกวัตถุแบบมีเงื่อนไข ทดลองเปด
ไฟล 12-351-25.dwg ดังรูปที่ 12.25 จาก
โฟลเดอร \exercise บนแผน DVD-ROM แนบ
ทายหนังสือคูมอื ฯ ออกมาใชงาน แลวลองใช
คําสัง่ Tools4 Quick Select ชวยในการ
เลื อ กเฉพาะวงกลมทั้ งหมด เมื่ อปรากฏ
ไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to
ปรากฏ Entire drawing แลวเปลี่ยน Object
type จาก Multiple ใหเปน Circle เปลี่ยน Operator จาก =Equals ใหเปน Select All แลวคลิกบนปุม OK วงกลม
ทัง้ หมดไมวา จะอยูใ นตําแหนงใดและมีรศั มีเทาใดก็ตามจะถูกเลือกทัง้ หมด โดยจะปรากฏจุดกริป๊ สบนวงกลมทัง้ หมด

Note หากตองการเลือกวัตถุอื่นๆ ทั้งหมดบาง อาทิ เชน ตัวอักษร Text ก็ใชวิธีเดียวกันกับการเลือกวงกลม


แตกดปุม D เพื่อยกเลิกวัตถุที่ถูกเลือก แลวเปลี่ยน Circle ใหเปน Text หากตองการเลือกบล็อค
ทั้งหมด ใหเปลี่ยน Circle ใหเปน Block reference หากตองการเลือกวัตถุใดทั้งหมด ใหเปลี่ยนเฉพาะ
Object type ใหเปนวัตถุที่เราตองการเลือก แลวเลือก Select All ในแถบรายการ Operator

Note หากตองการเลือกวงกลมทุกวงที่มรี ัศมีใหญกวา 15 หนวยทั้งหมด เมื่อปรากฏไดอะล็อค Quick Select


ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type จาก Multiple ใหเปน Circle แลว
เลือก Radius ในชองหนาตาง Properties แลวเปลี่ยน Operator จาก =Equals ใหเปน >Greater than
(ใหญกวา) พิมพคา 15 ในอิดิทบอกซ Value คลิกปุม OK วงกลมทั้งหมดเฉพาะที่มีรัศมีใหญกวา 15
หนวยจะถูกเลือกทัง้ หมด โดยจะปรากฏจุดกริป๊ สบนวงกลมทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นเงื่อนไข เราก็สามารถเรียก
คําสั่งตางๆ อาทิ เชน Move, Copy, Rotate และอื่นๆ ออกมากระทํากับวัตถุที่ถูกเลือกไดทันที

chap-12.PMD 351 13/10/2549, 1:33


352

Note หากตองการเลือกวัตถุทงั้ หมด เฉพาะทีม่ สี ีเขียว(Green) เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา
Apply to ปรากฏ Entire drawing ใหแนใจวา Object type ปรากฏ Multiple ใหเลือก Color ในชอง
2D Drafting
หนาตาง Properties ใหแนใจวา Operator ปรากฏ =Equals เลือกสีเขียว Green จากแถบรายการ Value
แลวคลิกปุม OK วัตถุทุกประเภทที่มีสีเขียวจะถูกเลือกทั้งหมด โดยจะปรากฏจุดกริ๊ปสบนวัตถุตางๆ
ที่มีสีเขียว วัตถุที่ปรากฏเปนสีเขียวบางชิ้นอาจจะไมไดถูกเลือกตามเงื่อนไข เนื่องจากวัตถุสีเขียวอาจ
จะอยูใ นเลเยอรที่กําหนดไวเปนสีเขียว(Green) ซึ่งมีคุณสมบัตสิ ีเปน Bylayer วัตถุสีเขียวบางชิ้นจึงไม
อยูในเงื่อนไข ถึงแมวาจะปรากฏเปนสีเขียวก็ตาม

Note หากตองการเลือกเฉพาะตัวอักษร MText ทั้งหมดเฉพาะที่มีความสูงนอยกวา 20 หนวย เมื่อปรากฏ


ไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type ใหเปน
MText ใหเลือก Height ในชองหนาตาง Properties เปลี่ยน Operator ใหเปน <Less than ปอนคา 20
เขาไปในอิดิทบอกซ Value แลวคลิกบนปุม OK ตัวอักษร MText ที่มีความสูงนอยกวา 20 หนวย
จะถูกเลือก โดยจะปรากฏจุดกริป๊ สบนตัวอักษร MText ทีถ่ ูกเลือกทั้งหมด

Note หากตองการเลือกเฉพาะตัวอักษร MText เฉพาะที่มีความสูงเทากับ 9 หนวยทั้งหมด เมื่อปรากฏ


ไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type ใหเปน
MText ใหเลือก Height ในชองหนาตาง Properties เปลี่ยน Operator ใหเปน =Equals ปอนคา 9 เขาไป
ในอิดิทบอกซ Value แลวคลิกบนปุม OK ตัวอักษร MText ที่มีความสูงเทากับ 9 หนวยทั้งหมดจะ
ถูกเลือก โดยจะปรากฏจุดกริ๊ปสบนตัวอักษร MText เฉพาะที่มีความสูงเทากับ 9 หนวย

Note หากตองการเลือกตาราง Table เฉพาะที่มีสไตลชื่อ NewTable ทั้งหมด เมื่อปรากฏไดอะล็อค Quick


Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type ใหเปน Table ใหเลือก Table
style ในชองหนาตาง Properties เปลี่ยน Operator ใหเปน =Equals แลวเลือก NewTable จากแถบ
รายการ Value แลวคลิกบนปุม OK ตารางที่มีสไตลชื่อ NewTable ทั้งหมดจะถูกเลือกและปรากฏจุด
กริป๊ สบนตารางทีถ่ กู เลือกทัง้ หมด

Note ในกรณีทเี่ รามีวตั ถุถกู เลือกใหปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงินอยูก อ นทีจ่ ะใชคําสัง่ นี้ เราจะเห็นวาแถบรายการ
Apply to จะปรากฏ Current selection นัน่ หมายถึงการกําหนดเงือ่ นไขในการคนหาวัตถุ จะมีผลเฉพาะ
กับวัตถุทถี่ กู เลือกอยูก อนเทานัน้ หากเราตองการใหโปรแกรมใชเงือ่ นไขทีก่ ําหนดกับวัตถุอนื่ ๆ ทัง้ หมด
ที่อยูในแบบแปลนใชงาน เราจะตองเลือก Entire drawing จากแถบรายการนี้

Note ในกรณีที่เรามีวัตถุถูกเลือกใหปรากฏจุดกริ๊ปสสีน้ําเงินอยูกอนที่จะใชคําสั่งนี้ หากเราคลิกใหปรากฏ


เครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Append to current selection set โปรแกรมจะเลือกวัตถุใหม เพิม่ เขาไปใน
กลุม ของวัตถุทถี่ กู เลือกอยูก อ น

Note ในกรณีที่เราเลือกตัวเลือก Multiple จากแถบรายการ Object type เราจะสามารถกําหนดเงื่อนไขได


เฉพาะคุณสมบัตทิ วั่ ไป อาทิ เชน สี เลเยอร รูปแบบเสน สเกลเสนประ สไตลควบคุมการพิมพ ความหนา
เสน เปนตน

12.36 Tools4Display Order | DRAWORDER | DR |


ใชสาํ หรับจัดลําดับการปรากฏของวัตถุทซี่ อ นกันอยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพ เรามักใชคําสัง่ นีก้ บั รูปภาพ(Image) เสนโพลีไลน

chap-12.PMD 352 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 353

ทีม่ ีความหนาโซลิด(Solid) 2 มิติ ขนมโดนัทตัวอักษร .ttf เสนทีม่ คี วามหนา (Lineweight) หรือแฮทชทแี่ บบ Solid fill
และแบบ Gradient fill ดังรูปที่ 12.26

กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.26 หลังใชคําสั่ง

Command: DRAWORDER
Select objects: 1 found {เลือกวัตถุทตี่ อ งการจัดลําดับบนลางทีจ่ ะใหปรากฏบนจอภาพ}
Select objects: {คลิกขวาหรือ Q}
Enter object ordering option [Above object/Under object/Front/Back] <Back>:
{เลือกตัวเลือกทีต่ อ งการ}

Above object ใชตัวเลือกนี้หรือใชคําสั่ง Tools4Display Order4Bring Above Object เพื่อเลื่อนระดับ


วัตถุที่ซอนกันอยูขนึ้ บน 1 ระดับ Under object ใชตวั เลือกนีห้ รือใชคําสัง่ Tools4Display Order4Send Under
Object เพื่อเลื่อนระดับวัตถุที่ซอนกันอยูลงลาง 1 ระดับ Front ใชตัวเลือกนี้หรือใชคําสั่ง Tools4Display
Order4Bring to Front เพื่อเลือ่ นระดับวัตถุไปยังระดับหนาสุด Back ใชตวั เลือกนีห้ รือใชคําสั่ง Tools4Display
Order4Send to Back เพือ่ เลื่อนระดับวัตถุไปยังระดับหลังสุด

12.37 Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front | TEXTTOFRONT

กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.27 หลังใชคําสั่ง

ใชสําหรับนําตัวอักษรหรือเสนบอกขนาดหรือทั้งสองอยางไปไวบนสุดของวัตถุตางๆ ที่ซอนกันอยูบ นพืน้ ที่วาดภาพ


หากเลือกคําสัง่ Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front4Text Objects Only ตัวอักษรทัง้ หมด
ในแบบแปลนจะถูกนําไปไวบนสุดหากเลือก Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front4
Dimension Objects Only เสนบอกขนาดทัง้ หมดในแบบแปลนจะถูกนําไปไวบนสุด หากเลือก Tools4Display
Order4Bring Text and Dimensions to Front4Text and Dimension Objects ตัวอักษรทัง้ หมดและเสนบอกขนาด
ทัง้ หมดในแบบแปลนจะถูกนําไปไวบนสุด

12.38 Tools4Update Fields | UPDATEFIELD |


ใชสําหรับปรับปรุงขอมูลของฟลดใหเปนขอมูลลาสุด เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ จะปรากฏขอความ Select objects: ใหเลือกฟลด

chap-12.PMD 353 13/10/2549, 1:33


354

ขอมูลทีต่ อ งการปรับปรุงซึง่ ปรากฏอยูใ นแบบแปลนใชงาน แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ 3 field(s) found 3 field(s)


updated แสดงวาพบฟลด 3 ฟลดและอับเดทฟลดทงั้ สาม
2D Drafting
12.39 Tools4Inquiry4Distance | DIST | DI |
คําสัง่ นีใ้ ชสําหรับวัดระยะหางและมุมระหวางจุดสองจุด (การวัดระยะทางระหวางจุดสองจุดจะเปนเสนตรง)

Distance = 2.3742 Distance = 2.3742


Angle in XY Plane = 47° รูปที่ 12.28 Angle in XY Plane = 227°

Command: DIST
{คลิก ณ จุดเริ่มตนที่ตองการวัดระยะและมุมหรือควรใช Object snap ในโหมดที่
First point:
เหมาะสมในการกําหนดจุดเริ่มตน}
Second point: {คลิก ณ จุดสิ้นสุดที่ตองการวัดระยะและมุมหรือควรใช Object snap ในโหมดที่
เหมาะสมในการกําหนดจุดสิ้นสุด}
Distance = 2.3742, Angle in XY Plane = 47, Angle from XY Plane = 0
Delta X = 1.6143, Delta Y = 1.7410, Delta Z = 0.0000

Distance แสดงระยะหางจริงระหวางจุดทัง้ สองทีว่ ดั ได Angle in XY Plane แสดงคามุมทีก่ ระทําในระนาบ XY โดย


วัดจากแนวแกน X Angle from XY Plane ใชคา มุมนีใ้ นการเขียนแบบ 3 มิติ Delta X แสดงระยะหางทีว่ ดั ไดในแนวแกน
X Delta Y แสดงระยะหางทีว่ ดั ไดในแนวแกน Y Delta Z แสดงระยะหางทีว่ ดั ไดในแนวแกน Z ซึง่ ใชในระบบ 3 มิติ

Note จากรูปที่ 12.28 สังเกตุวาหากสลับจุดที่ใชเมาสคลิกจากจุดที่ 1 เปน 2 จากจุดที่ 2 เปน 1 จะไดคามุมที่


แตกตางกัน การวัดคามุมนั้นจะอางอิงจากแนวแกน X ซึ่งวัดจากจุดที่ 1 เสมอ

12.40 Tools4Inquiry4Area | AREA | AA |


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับคํานวณหาพืน้ ที(่ Area)และเสนรอบรูป(Perimeter)ของวัตถุดงั รูปที่ 12.29

Command: _area
Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]

Specify first corner point ใชเมาสคลิกจุดตางๆ บนพื้นที่วาดภาพ เมือ่ ไดจุดทัง้ หมดของพื้นที่แลว คลิกขวาหรือ
Q โปรแกรมจะ รายงานพื้นทีข่ องจุดตางๆ เหลานัน้ Object ใชตวั เลือกนีก้ ับวัตถุบนพื้นที่วาดภาพ อาทิ เชน

chap-12.PMD 354 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 355

รูปที่ 12.29

เสนโพลีไลนแบบเปดหรือแบบปดวงกลมหรือวงรี Add ใชตวั เลือกนีเ้ พื่อเขาสูโ หมดการบวกพื้นที่ ในขณะทีย่ ังคง


อยูใ นคําสัง่ AREA คาของพื้นที่ทโี่ ปรแกรมคํานวณไดจะถูกเก็บสะสมไว หากเราใชตวั เลือก Add คาทีค่ ํานวณไดจาก
วัตถุชิ้นถัดไปจะถูกนําไปบวกกับคาสะสมที่คํานวณจากวัตถุกอน Subtract ใชตัวเลือกนี้เพื่อเขาสูโหมดการลบ
พื้นที่ในขณะที่ยังคงอยูในคําสั่ง AREA คาของพื้นที่ที่โปรแกรมคํานวณไดจะถูกเก็บสะสมไว หากเราใชตัวเลือก
Subtract คาที่คํานวณไดจากวัตถุชิ้นถัดไปจะถูกนําไปลบออกจากคาสะสมที่คํานวณไดจากวัตถุกอ น
12.40.1 ขัน้ ตอนการหาพืน้ ทีข่ องวัตถุ
จากรูปที่ 12.29 (ซาย) เราสามารถใชคําสัง่ AREA เพือ่ หาพืน้ ทีข่ องชิน้ งานได โดยใชตวั เลือก Object เพราะเสนขอบ
ชิน้ งานเปนเสนโพลีไลน จากรูปที่ 12.29 (กลาง) เปนรูเจาะรูปวงกลมทีต่ อ งการหาพืน้ ทีร่ วม เราสามารถหาพืน้ ทีโ่ ดยใช
ตัวเลือก Add จากรูปที่ 12.29 (ขวา) เราตองการทราบพืน้ ทีข่ องชิน้ งานทีร่ ะบายแฮทชไลระดับสีเทานัน้ ดังนัน้ เราจึง
สามารถหาพืน้ ทีใ่ นโหมด Add และ Subtract ตามขัน้ ตอนดังนี้

Command: _area {จากรูปที่ 12.29 }


Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]: A {เลือกโหมด Add เพือ่ เริม่ บวก}
Specify first corner point or [Object/Subtract]: O {เลือกการคํานวณพืน้ ทีจ่ ากวัตถุทเี่ ลือก}
(ADD mode) Select objects: {คลิกบนรูปชิน ้ งานขอบนอกสุดในรูปที่ 12.29 (ขวา)}
Area = 21909.4257, Perimeter = 671.5753 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบรูปของวัตถุ}
Total area = 21909.4257 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด}
(ADD mode) Select objects: {คลิกขวาหรือ Q}
Specify first corner point or [Object/Subtract]: S {เลือกโหมด Subtract เพือ ่ ลบพืน้ ที}่
Specify first corner point or [Object/Add]: O {เลือกการคํานวณพืน ้ ทีจ่ ากวัตถุทเี่ ลือก}
(SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกบนรูปวงกลมในรูป 12.29 (ขวา)}
Area = 1341.5593, Circumference = 129.8404 {โปรแกรมรายงานคาพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบวง}
Total area = 20567.8664 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด}
(SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกบนรูปวงกลมในรูป 12.29 (ขวา)}
Area = 1341.5593, Circumference = 129.8404 {โปรแกรมรายงานคาพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบวง}
Total area = 19226.3071 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด}
(SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกบนรูปวงกลมในรูป 12.29 (ขวา)}
Area = 1341.5593, Circumference = 129.8404 {โปรแกรมรายงานคาพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบวง}
Total area = 17884.7479 {รายงานพืน้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด นัน่ คือพืน้ ทีร่ ะบายของรูป 12.29 (ขวา)}
(SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกขวาหรือ Qเพือ ่ ออกจากโหมดการเลือก}
Specify first corner point or [Object/Add]: {คลิกขวาหรือ Qเพือ ่ ออกจากคําสัง่ }

คําสัง่ AREA ไมสามารถใชกบั เสนตรงตางๆ ทีส่ รางจากคําสัง่ LINE ถึงแมวา จะมีการเขียนเสนตางๆ จนกระทัง่ ปรากฏ
เปนรูปแบบปดหากวัตถุทเี่ ราตองการหาพืน้ ทีป่ ระกอบไปดวยเสนตรง LINE หลายๆ เสนดังรูปที่ 12.30 (ซาย) เราจะตอง

chap-12.PMD 355 13/10/2549, 1:33


356

สรางเสน POLYLINE แบบปดจากขอบเขตภายในของเสนตางๆ เพื่อทีจ่ ะสามารถใชกับคําสั่งนี้ได โดยเราจะตอง


ใชคําสั่ง Modify4Object4Polyline แลวใชตัวเลือก Join เพือ่ เชื่อมเสนตรงเหลานั้นใหเปน POLYLINE เสน
2D Drafting
เดียวกันเสียกอน แตถาใชวิธีนี้ เราจะตองเสียเวลาตัด(Trim)เสนสวนเกินที่ยื่นออกไปจากขอบเขตที่ตองการหา
พื้นที่เสียกอน จึงจะสามารถสรางเสนโพลีไลนแบบปดได อีกวิธีหนึง่ ที่งายและสะดวกที่สุดคือเราสามารถใชคําสั่ง
Draw4Boundary แลวเลือก Polyline ในแถบรายการ Object type แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ
Pick internal point: เราสามารถคลิก ณ จุดใดๆ ภายในขอบเขตของพืน้ ทีท่ ตี่ องการ โปรแกรมจะสรางเสนโพลีไลน
ทับซอนกับเสนขอบเขตแบบปดดังรูปที่ 12.30 (กลาง) เราจึงจะสามารถนําเสนโพลีไลนแบบปดไปใชในการหาพืน้ ที่
ดวยคําสัง่ AREA ตามวิธใี นตัวอยางไดดงั รูปที่ 12.30 (ขวา)
รูปที่ 12.30

เสนตางๆ ประกอบกัน เสนโพลีไลนจากคําสั่ง พื้นที่ที่ หักลบสี่ เหลี่ยมแลว


จนเปนพื้ นที่ แบบป ด BOUNDARY คํานวณไดจากคําสั่ง AREA

12.41 Tools4Inquiry4List | LIST | LI |


ใชสําหรับรายงานคุณสมบัตขิ องวัตถุบนพืน้ ทีว่ าดภาพ อาทิ เชน ประเภทวัตถุ ตําแหนงคอรออรดเิ นท เลเยอรทวี่ ตั ถุนนั้
อาศัยอยูความยาวเสน(Length) ความยาวเสนในระนาบ XY(Delta X,Y) มุมในระนาบ XY(Angle in XY plane)
พืน้ ที(่ Area) เสนรอบรูป(Perimeter) เสนรอบวง(Circumference)และอืน่ ๆ เปนตน

Command: _list
Select objects: 1 found {คลิกบนวัตถุทตี่ อ งการทราบขอมูลคุณสมบัตขิ องวัตถุ}
Select objects: {คลิกขวาหรือ Q จะปรากฏคุณสมบัตขิ องวัตถุดงั นี}้
CIRCLE Layer: "0" {โปรแกรมรายงานประเภทวัตถุทถ ี่ กู เลือกคือวงกลม Circle
อยูใ นเลเยอร 0 (ศูนย)}
Space: Model space {โปรแกรมรายงานวาวงกลมอยูใ นบนพืน ้ ทีโ่ มเดลสเปส}
Handle = 33 {โปรแกรมรายงานตัวเลขอางอิงวัตถุในฐานขอมูลแบบแปลน}
center point, X= 51.4910 Y= 173.6117 Z= 0.0000 {โปรแกรมรายงานจุดศูนยกลาง}
radius 21.8773 {โปรแกรมรายงานรัศมี}
circumference 137.4593 {โปรแกรมรายงานความยาวเสนรอบวง}
area 1503.6213 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีข่ องวงกลม}

Note ขอมูลทีโ่ ปรแกรมรายงานออกมานัน้ ขึน้ อยูก บั ประเภทของวัตถุทถี่ กู เลือก ถาวัตถุทถี่ กู เลือกเปนวงกลมจะ


ปรากฏขอมูลจุดศูนยกลาง รัศมี เสนรอบรูป พืน้ ทีแ่ ละอืน่ ๆ

12.42 Tools4Inquiry4ID Point | ID |


ใชคําสัง่ นี้สําหรับรายงานตําแหนงของจุดคอรออรดิเนทที่กําหนดบนพื้นที่วาดภาพ เมื่อใชคําสั่งจะปรากฏขอความ

chap-12.PMD 356 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 357

Specify point: ใหคลิกบนพืน้ ทีว่ าดภาพ โปรแกรมจะรายงานคาคอรออรดเิ นทของจุดทีใ่ ชเมาสคลิกในรูปแบบดังนี้


X = 371.2487 Y = 202.1414 Z = 0.0000

12.43 Tools4Inquiry4Time | TIME


ใชสําหรับรายงานสถิตขิ องวันและเวลาของแบบแปลนใชงาน เวลาทีร่ ายงานใชรูปแบบ 24 ชัว่ โมง

Command: time
Current time: 8 October 2003 at 16:24:43:467 PM
Times for this drawing:
Created: 8 October 2003 at 16:23:54:817 PM
Last updated: 8 October 2003 at 16:23:54:817 PM
Total editing time: 0 days 00:00:48.891
Elapsed timer (on): 0 days 00:00:48.680
Next automatic save in: 0 days 00:09:38.088
Enter option [Display/ON/OFF/Reset]:

Current time แสดงวันและเวลาปจจุบนั Created แสดงวันและเวลาที่สรางแบบแปลนใชงาน Last updated


แสดงวันและเวลาทีบ่ นั ทึกแบบแปลนใชงานครัง้ ลาสุด Total editing time แสดงเวลารวมทีใ่ ชในการแกไขเพิม่ เติม
แบบแปลนใชงาน Elapse timer (on) ใชเปนนาฬิกาจับเวลา โดยใช ON/OFF/Reset เปนตัวควบคุมการจับเวลา
Next automatic save in แสดงเวลาที่เหลืออยูจนถึงเวลาที่บนั ทึกอัตโนมัติครั้งตอไป Display แสดงซ้ําวันและ
เวลาทั้งหมดอีกครัง้ ON เริม่ ตนจับเวลา OFF ยุตกิ ารจับเวลา Reset ปรับคาศูนยของนาฬิกาจับเวลา เพือ่ เริม่ ตนนับเวลาใหม

Note เวลาที่รายงานมีรูปแบบ 00:00:00.000 หมายถึงชั่วโมง : นาที : วินาที : เศษสวนพันของวินาทีหรือ


มิลลิเซคคัน่

12.44 Tools4Inquiry4Status | STATUS


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับรายงานสถิติ โหมดและขอบเขตของแบบแปลน

Command: '_status 95 objects in C:\AutoCAD_2006_2D_Drafting\Exercise\12-355-


29.dwg {แสดงจํานวนวัตถุทงั้ หมด โฟลเดอรและชือ่ ไฟล}
Model space limits are X: 0.0000 Y: 0.0000 (Off) {โหมดขอบเขตลิมต ิ On/Off}
X: 420.0000 Y: 297.0000 {แสดงขอบเขตลิมติ ทีก่ าํ หนดไว}
Model space uses X: 108.4068 Y: -34.7595 **Over {มุมซายลางของขอบเขต}
X: 873.2255 Y: 240.3801 **Over {มุมขวาบนของขอบเขต}
Display shows X: 63.6238 Y: -165.9021 {มุมซายลางของคอรออรดเิ นททีป ่ รากฏ}
X: 929.5537 Y: 371.5082 {มุมขวาบนของคอรออรดเิ นททีป ่ รากฏ}
Insertion base is X: 0.0000 Y: 0.0000 Z: 0.0000 {จุดสอดแทรก Base ทีก ่ าํ หนดไว
เมือ่ มีการสอดแทรก ไฟลเขาไปในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ}
Snap resolution is X: 10.0000 Y: 10.0000 {ระยะหางของสแนปทีก ่ าํ หนดไว}
Grid spacing is X: 10.0000 Y: 10.0000 {ระยะหางของจุดกริดทีก ่ าํ หนดไว}
Current space: Model space {รายงานวาอยูใ น Model space หรือ Paper space}
Current layout: Model {แสดงชือ ่ เลเอาทใชงาน}

chap-12.PMD 357 13/10/2549, 1:33


358

Current layer: {เลเยอรชอื่ Profile คือเลเยอรใชงาน}


"Profile"
{กําหนดการสรางวัตถุโดยใชสตี ามเลเยอร}
Current color:
Current linetype:
BYLAYER -- 7 (white)
BYLAYER -- "Continuous" {ใชรป
2D Drafting
ู แบบเสนตามทีต่ งั้ ไวในเลเยอร}
Current lineweight: BYLAYER {กําหนดความหนาเสนตามทีก ่ าํ หนดในเลเยอร}
Current elevation: 0.0000 thickness: 0.0000 {สําหรับงานเขียนแบบ 3 มิต}ิ
Fill on Grid off Ortho off Qtext off Snap off Tablet off {แสดงสถานะของโหมดตางๆ}
Object snap modes: Center, Endpoint, Intersection, Midpoint, Extension
{โหมดออโตสแนปใชงาน}
Free dwg disk (C:) space: 1249.9 MBytes {แสดงพืน้ ทีบ่ นฮารดดิสคทเี่ หลืออยู}
Free temp disk (C:) space: 1249.9 MBytes {แสดงพืน้ ทีท่ เี่ หลือสําหรับไฟลชวั่ คราว}
Free physical memory: 236.0 Mbytes (out of 367.5M). {หนวยความจํา RAM ทีเ่ หลืออยู}
Free swap file space: 673.9 Mbytes (out of 889.1M). {แสดงพืน ้ ทีไ่ ฟลชวั่ คราวทีเ่ หลืออยู}

12.45 Tools4Inquiry4Set Variable | SETVAR | SET


ใชสาํ หรับกําหนดคาตัวแปรระบบ(System variables)ซึง่ เก็บคาเริม่ ตนควบคุมคุณสมบัตใิ นคําสัง่ ตางๆ ของ AutoCAD
เมื่อใชคําสั่งนี้ จะปรากฏขอความ Enter variable name or [?]: หากเราไมสามารถจําชือ่ ตัวแปรระบบได ใหพมิ พ
เครือ่ งหมาย ? แลวกดปุม Q จะปรากฏขอความ Enter variable(s) to list <*>: ใหคลิกขวาหรือ Q เพือ่ แสดง
รายชื่อตัวแปรทัง้ หมดบนหนาตาง AutoCAD Text Window เมื่อเราทราบชือ่ ตัวแปรระบบแลว เราสามารถพิมพชอื่
ตัวแปรผานบรรทัด Command: ไดโดยตรง

12.46 Tools4Run Script | SCRIPT | SCR


ใชคาํ สัง่ นีส้ าํ หรับสัง่ ให AutoCAD ทํางานตามคําสัง่ และตัวเลือกของคําสัง่ ตางๆ ทีก่ าํ หนดไวใน สคริปทไฟล สคริปทไฟล
คือแอสกีเ้ ทกซไฟล(ASCII Text File)มีฟอรแมต .scr ซึง่ สรางดวยโปรแกรม Notepad ดังรูปที่ 12.31 หรือเวิรด โปรเซสเซอร
อืน่ ๆ ทีส่ ามารถบันทึกไฟลในฟอรแมตนีไ้ ด
รูปที่ 12.31

เราสามารถทีจ่ ะบรรจุคาํ สัง่ ใดๆ ของ AutoCAD เขาไปในสคริปทไฟลได ชองวาง 1 ชองในสคริปท ไฟลหมายถึงการกด
ปุม Q 1 ครัง้ สมมุตวิ า เราตองการใชสคริปทไฟลในการตัง้ คาขอบเขตลิมติ ดวยคําสัง่ Format4Drawing Limits
โดยใหมขี อบเขตในการเขียนภาพทีม่ มุ ซายดานลาง = 0,0 มุม ขวาดานบน = 120,80 แลวกําหนดระยะหางระหวาง
จุดกริด(Grid) = 5 แลวเปดโหมดจุดกริด Grid On ปรับระยะกระโดดของสแนป(Snap) = 5 แลวเปดโหมดสแนป
Snap On เปดโหมดจุดกริดแสดงจอภาพของเขตลิมติ ดวยคําสัง่ View4Zoom4All จากนัน้ กําหนดสีแดง -COLOR
RED เขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยมีมมุ ลางซายทีจ่ ดุ 10,10 มุมบนขวาทีจ่ ดุ 110,70 กําหนดสีมว ง -COLOR MAGENTA
แลวเขียนวงกลมรัศมี 20 โดยมีจดุ ศูนยกลางอยูท ี่ 60,40 โดยการเขียนสคริปทไฟลมขี นั้ ตอนดังตอไปนี้

chap-12.PMD 358 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 359

1. ใชคาํ สัง่ Start ðAll Programs ð Accessories ð Notepad บนทาสคบารของวินโดว จะปรากฏ


โปรแกรม Notepad ขึน้ มาบนจอภาพ แลวพิมพสคริปทดงั รูปที่ 12.31 (ซาย)
2. ในโปรแกรม Notepad ใชคําสั่ง File4Save แลวตัง้ ชือ่ ไฟล 11-358-31.scr เพือ่ บันทึกไฟลใน
ฟอรแมต .scr ลงในดิสค
3. กลับสู AutoCAD 2006 แลวใชคําสัง่ Tools4Run Script แลวคนหาไฟล 11-358-31.scr ที่
บันทึกในขอ 2 โปรแกรม จะเริ่มทําตามคําสั่งตามลําดับโดยอัตโนมัติ จอภาพของ AutoCAD
จะปรากฏดังรูปที่ 12.31 (ขวา)

Note สังเกตุวา คําสัง่ ทีเ่ ราปอนเขาไปในสคริปทไฟลนนั้ เหมือนกับคําสัง่ และตัวเลือกและคาทีเ่ ราจะตองปอน


ผานคียบอรด

12.47 Tools4Display Image4View | REPLAY


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับแสดงรูปบิทแม็ปฟอรแมต .bmp, tga, หรือ .tif บนพืน้ ทีว่ าดภาพ เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค
สําหรับเลือกไฟล ใหเลือกฟอรแมตของรูปบิทแม็ปจาก File of Type แลวคนหาไฟลรปู บิทแม็ป .bmp, .tif, rle, dib และ
.tga จากโฟลเดอรทตี่ อ งการ เมือ่ เลือกไฟลรปู บิทแม็ปแลว จะปรากฏไดอะล็อค Image Specification เราสามารถกําหนด
Image Offset และ Screen Offset แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏรูปบิทแม็ปบนพืน้ ที่วาดภาพชั่วคราว จนกวาจะ
มีการใชคาํ สัง่ Zoom, Pan, Redraw, Regen, Regenall

12.48 Tools4Display Image4Save | SAVEIMG


ใช คําสั่ งนี้ สําหรั บสร างไฟล รู ปบิ ทแมทหรื อ ราสเตอร ไ ฟล
ความละเอียดต่าํ โดยจะบันทึกวัตถุตา งๆ ทีป่ รากฏบนจอภาพ
ของ AutoCAD เปนรูปบิทแม็ปฟอรแมต .bmp, tga, หรือ .tif
เมื่ อใชคําสั่งนี้จะปรากฏไดอะล็อค Save Image ใหเลือก
ฟอรแมตของรูปบิทแม็ปจาก Format แลวคลิกบนปุม OK จะ
ปรากฏไดอะล็อคใหเราตัง้ ชือ่ ไฟล แลวเลือกโฟลเดอรทตี่ อ งการ
รูปที่ 12.32 จัดเก็บไฟลรปู บิทแม็ป
Note การแปลงแบบแปลนใหกลายเปนรูปบิทแม็ปดวยคําสั่งนี้ ความละเอียดของรูปบิทแม็ปนั้นขึ้นอยูกับ
โหมดความละเอียดของจอภาพ ถึงแมวาเราจะปรับความละเอียดจอภาพสูงสุดความละเอียดของรูป
บิทแม็ปทีถ่ ูกสรางจากคําสัง่ นีจ้ ะคอนขางต่ํา มักจะปรากฏเปนเสนขัน้ บันไดเสมอๆ หากตองการสราง
รูปบิทแม็ปที่มีความละเอียดสูง เรานิยมสราง Plotter ขึ้นมาใหม โดยใชคําสั่ง File4Plotter Manager
ð Add A-Plotter-Wizards ð My Computer ð Raster File Formats ð TIFF Version 6 (Uncompressed)
ð Plot to File เมื่อสรางไอคอนเครื่องพิมพ TIFF Version 6 (Uncompressed).pc3 ขึ้นมาใหมแลว
เราจะสามารถใชคําสัง่ File4Plot แลวเลือกไอคอนเครือ่ งพิมพทเี่ ราไดสรางขึน้ ใหม เพือ่ สรางไฟล
รูปบิทแม็ป .tif ที่มีความละเอียดสูงได

12.49 Tools4CAD Standards4Configure | STANDARDS | STA |


ใชคําสัง่ นีส้ าํ หรับเลือกไฟล .dws ซึง่ เก็บมาตรฐานเลเยอร(Layer) มาตรฐานรูปแบบเสน(Linetype) มาตรฐานรูปแบบ
เสนบอกขนาด(Dimension style)และมาตรฐานรูปแบบตัวอักษร(Text style) เพื่อใชในการเปรียบเทียบไฟลแบบ

chap-12.PMD 359 13/10/2549, 1:33


360

แปลนใชงานและคนหาจุดทีม่ กี ารกําหนดมาตรฐานแตกตางทีร่ ะบุไวในไฟล .dws ผูท รี่ บั ผิดชอบตอมาตรฐานของแบบ


แปลนภายในองคกร(CAD Manager)สามารถใชคําสัง่ นีร้ ว มกับคําสัง่ Tools4Cad Standards4Check เพือ่ ตรวจ
2D Drafting
สอบแบบแปลนที่เขียนขึ้นมาจากพนักงานเขียนแบบหลายๆ คนวาแบบแปลนที่สรางขึ้นจากพนักงานแตละคนมี
มาตรฐานตรงกันหรือ ไม เมือ่ ใชคาํ สัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.33 (ซาย) ใหคลิกบนปุม (Add Standards
File) แลวคนหาไฟล .dws ซึ่งจะปรากฏชือ่ ไฟล .dws บนชองหนาตาง Standards files associated with current
drawing เราสามารถเพิม่ ไฟล .dws หลายๆ ไฟลเขาไปในชองหนาตาง ถามีการใชไฟล .dws มากกวา 1 ไฟลขนึ้ ไปและมี
การขัดแยงกันระหวางมาตรฐานที่ระบุในไฟล .dws เหลานัน้ ตัวอยาง เชน ถาเลเยอรมชี ื่อซ้ํากันแตคุณสมบัติของ
เลเยอรตา งกัน โปรแกรมจะเลือกมาตรฐานเลเยอรทกี่ าํ หนดในไฟล .dws ทีอ่ ยูร ะดับทีส่ งู กวานําไปใชในการตรวจสอบ
มาตรฐานกับไฟลแบบแปลนใชงาน หากตองการลบมาตรฐานใด ใหคลิกบนชือ่ มาตรฐานนั้น แลวคลิกบนปุม
เพือ่ ลบมาตรฐานนัน้ ออกจากไดอะล็อค
รูปที่ 12.33

ในการสรางไฟล .dws ซึง่ บรรจุมาตรฐานเลเยอร(Layer) มาตรฐานรูปแบบเสน (Linetype) มาตรฐานรูปแบบเสนบอก


ขนาด(Dimension style)และมาตรฐานรูปแบบตัวอักษร(Text style) เราสามารถใชคาํ สัง่ File4Open เปดไฟลแบบ
แปลน .dwg ใดๆ ทีเ่ ราตองการใชเปนไฟลตนแบบซึง่ มีมาตรฐานตรงตามทีอ่ งคกรของเราออกมาใชงาน แลวใชคําสัง่
File4Save As และเลือก AutoCAD Drawing Standard (*.dws) จากแถบรายการ Files of type แลวเลือก
โฟลเดอรและตั้งชื่อไฟล .dws ไดตามตองการ แลวจึงนําไฟล .dws ทีไ่ ดมาใชกับคําสั่งนี้ หากคลิกขวาบนชือ่ ไฟล
มาตรฐานบนชองหนาตางจะปรากฏเคอรเซอรเมนู เราสามารถเลือกคําสัง่ เลือ่ นขึน้ Move Up เลือ่ นลง Move Down
ลบไฟลมาตรฐาน Remove หรือเปลี่ยนไฟลมาตรฐาน Change หากเราคลิกบนปุม Settings จะปรากฏไดอะล็อค
CAD Standards Settings ดังรูปที่ 12.33 (ขวา) เราสามารถเลือกปุมเรดิโอ Disable standards notifications เพื่อ
ระงับการแสดงขอความเตือนเกี่ยวกับมาตรฐานบนดานขวาของบรรทัดแสดงสถานะหรือเลือกปุมเรดิโอ Diplay
alert upon standards violation เพือ่ แสดงขอความเตือนเฉพาะที่ฝา ฝนมาตรฐานหรือเลือกปุมเรดิโอ Diplay
standards status bar icon เพื่อแสดงไอคอน Standards แสดงขอความเตือนบนบรรทัดสถานะ เราสามารถ
กําหนดให โปรแกรมแก ไ ขมาตรฐานให โดยอั ต โนมั ติ โดยคลิ กให ป รากฏเครื่ อ งหมาย หน าเช็ คบอกซ
Automatically fix non-standard properties โดยปกติ จะมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Show iqnored
problems ซึง่ จะมีขอความเตือนเมื่อไมสามารถแกไขใหตรงตามมาตรฐานได
Note หากเราตองการสรางไฟลมาตรฐาน .dws สําหรับตรวจสอบไฟลแบบแปลน .dwg ตางๆ เราจะตองใช
คําสั่ง File4Open เปดไฟล .dwg ที่มีไดกําหนดการตั้งชื่อเลเยอร การกําหนดรูปแบบเสน การ
กําหนดรูปแบบเสนบอกขนาดและการกําหนดรูปแบบตัวอักษรซึง่ มีมาตรฐานถูกตองออกมา แลวใช
คําสั่ง File4Save As เลือกฟอรแมต AutoCAD Drawing Standards (*.dws) จากแถบรายการ Files
of type แลวคลิกบนปุม Save เราก็จะไดไฟล .dws สามารถนําไปใชในคําสัง่ Tools4CAD Standards
4Configure ไดตามตองการ

chap-12.PMD 360 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 361

12.50 Tools4CAD Standards4Check | CHECKSTANDARDS | CHK |


หลังจากทีไ่ ดใชคําสัง่ Tools4CAD Standards4Configure เลือกไฟล .dws กํากับไฟลแบบแปลนใชงานแลว
เราสามารถใชคําสัง่ นี้สําหรับตรวจสอบมาตรฐานของแบบแปลนใชงาน อาทิ เชน การตั้งชื่อเลเยอร การกําหนด
รูปแบบเสน การกําหนดรูปแบบเสนบอก ขนาดและการกําหนดรูปแบบตัวอักษรทีก่ าํ หนดไวในไฟลแบบแปลนใชงาน
ได เมือ่ ใชคาํ สัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อครายงานผลการตรวจสอบดังรูปที่ 12.34 (ซาย) เราสามารถเรียกคําสัง่ นีผ้ า นปุม
Check Standards ของคําสัง่ Tools4CAD Standards4Configure ไดเชนเดียวกัน

Problem รายงานสิง่ ทีไ่ ม


ตรงกั บมาตรฐานในไฟล
แบบแปลนใช ง าน อาทิ
เช น Layer, Linetype,
Dimstyle และ Text ในที่นี้
โปรแกรมรายงานว าคุ ณ
สมบั ติ ข องรู ป แบบเส น
HIDDEN ไม ต รงกั บ ที่
กํ า ห น ด ไ ว ใ น ไ ฟ ล
มาตรฐานที่ เราเลื อก
ใช ง าน อาทิ เช น ไฟล
MyStandard.dws เปนตน
Replace with แสดง
รายชื่อ Layer, Linetype, รูปที่ 12.34
Dimstyle และ Text ที่
กําหนดไวในไฟล .dws ทีถ่ กู เลือกเขามาใชงานจากคําสัง่ Tools4CAD Standards4Configure เราสามารถเลือก
Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ที่ไดมาตรฐานทีถ่ กู ตองที่จะนําไปแทนที่ในไฟลแบบแปลนใชงานมาตรฐาน
ทีโ่ ปรแกรมแนะนํามาใหจะมีเครือ่ งหมาย นําหนา แตเราสามารถเลือกมาตรฐานอืน่ ทีป่ รากฏบนไดอะล็อคไดดว ย
ตนเอง Preview of changes แสดงคุณสมบัตแิ ละคาปจจุบันของ Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ที่ไมตรง
ตามมาตรฐานในคอลัมน Properties และ Current Value และแสดงคาที่จะถูกแทนที่ในคอลัมน Standard Value Fix
เราสามารถใชปมุ นีใ้ นการแกไข Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ซึง่ ไมตรงตามมาตรฐานดวยตนเอง โดยคลิกบน
ชื่อ Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ทีป่ รากฏในชองหนาตาง Replace with แลวคลิกบนปุม นี้ Layer, Linetype,
Dimstyle หรือ Text ก็จะถูกแกไขใหถกู ตองตามมาตรฐานที่กําหนด Mark this problem as ignored คลิกให
ปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เพื่อขามปญหาที่โปรแกรมแนะนํามาให Next คลิกบนปุมนีเ้ พื่อตรวจสอบ
ปญหาของมาตรฐานตอไป โดยไมมกี ารแกไขมาตรฐานใหถูกตอง Settings คลิกบนปุม นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูป
ที่ 12.33 (ขวา) หากเราคลิกใหปรากฏเครื่ องหมาย หน าเช็ คบอกซ Automatically fix non-standard
properties เมือ่ คลิกบนปุม Next โปรแกรมทําการแกไขปญหาชือ่ เลเยอรและสไตลตา งๆ ของแบบแปลนซึง่ ไมตรง
ตามมาตรฐานใหถกู ตองตามมาตรฐานในไฟล .dws ใหโดยอัตโนมัติ โดยมีขอ แมวา ชือ่ เลเยอรหรือชือ่ สไตลจะตองตรง
กับที่ ระบุในไฟล .dws แตมีคุณสมบัติตางกัน โปรแกรมจึงจะแกไขปญหาใหโดยอัตโนมัติ หากคลิกใหปรากฏ
เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Show ignored problems โปรแกรมจะแสดงปญหาที่ยงั ไมไดรบั การแกไขและ
ถูกมองขามไป หากโปรแกรมรายงานปญหาออกมาแลว หากไมตอ งการแกไข เราสามารถขามปญหานั้นไปได โดย
คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย ไวใน Mark this problem as ignored เพื่อทําเครื่องหมายบนปญหานั้น เรา
สามารถเลือกไฟล .dws ในแถบรายการ Preferred standards file to use for replacements เพือ่ ใหโปรแกรมนํา
มาตรฐานจากไฟล .dws ทีถ่ กู เลือกมาใชในการแกไขปญหามาตรฐานไมตรงกันซึ่งจะใชรว มไฟลมาตรฐานที่ปรากฏ
ในชองหนาตาง Replace with

chap-12.PMD 361 13/10/2549, 1:33


362

Note รูปที่ 12.34 (ขวา-บน) แสดงขอความรายงานผลการตรวจสอบมาตรฐานซึ่งพบปญหาโปรแกรมไม


สามารถแกไขใหโดยอัตโนมัติ เราจะตองตัดสินใจวาเราจะใชมาตรฐานจากไฟลมาตรฐานใดดวย
2D Drafting
ตนเอง ในทีน่ ี้ โปรแกรมรายงานออกมาวาชือ่ สไตลตวั อักษร ATTR ไมตรงกับมาตรฐานในไฟล .dws
หากเราตองการแกไข ใหเลือกชื่อสไตลเสนบอกขนาดในชองหนาตาง Replace with แลวคลิกบนปุม
Fix เพื่อแกไขมาตรฐานใหตรงกับไฟล .dws ตามตองการ

Note เมือ่ ตรวจสอบมาตรฐานเสร็จทัง้ หมดแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.34 (ขวา-ลาง) โปรแกรมจะ


รายงานปญหามาตรฐานไม ตรงกันทีพ่ บทัง้ หมด 23 จุดใน Problems found ไดแกไขไปแลวโดยอัตโนมัติ
1 จุดใน fixed automatically และไดแกไขดวยตนเอง 1 จุด ใน fixed manually และมีขา มการตรวจสอบ
จํานวน 0 จุดใน Ignored in current check

12.51 Tools4CAD Standards4Layer Translator | LAYTRANS |


ใชคาํ สัง่ นีส้ ําหรับเคลือ่ นยายวัตถุทงั้ หมดทีอ่ ยูใ นเลเยอรหนึง่ ไปอยูใ นอีกเลเยอรหนึง่ ดวยคําสัง่ นีเ้ ราสามารถทีจ่ ะเปลีย่ น
เลเยอรทั้งหมดทีอ่ ยูในแบบแปลนไปใชเลเยอรมาตรฐานจากไฟลแบบแปลนใดๆ ไดอยางรวดเร็ว เมือ่ ใชคําสั่งนี้ จะ
ปรากฏไดอะล็อค Layer Translator ดังรูปที่ 12.35
หนาตาง Translate From แสดง
รายชื่อเลเยอรทั้งหมดทีม่ ีอยูใ นไฟล
แบบแปลนใชงาน เลเยอรที่ มีวัตถุ
อยู ภายในจะปรากฏเป น ไอคอน
เลเยอรสีเขียว เลเยอรที่ไมได
ถู กใช ง านจะปรากฏเป น ไอคอน
เลเยอร สี ขาว หากคลิ กขวา
ภายในช องหน าต าง Translate
From จะปรากฏช็อทคัทเมนูแสดง
คําสั่ง Select All ใชเลือกเลเยอร
ทั้งหมด Clear All ใชยกเลิกการ
รูปที่ 12.35 เลือกเลเยอร Purge layers ใชลบ
เลเยอรทไี่ มไดถกู ใชงานในชองหนาตาง Translate To แสดงรายชือ่ เลเยอรทตี่ องการใชเปนเลเยอรเปาหมาย ซึง่ เรา
สามารถโหลดเลเยอรเปาหมายออกมาใชงาน โดยคลิกบนปุม Load ซึ่งเราสามารถเลือกประเภทของไฟลที่เก็บ
เลเยอรเปาหมายจากแถบรายการ Files of type อาทิ เชน .dwg, .dws, .dwt หรือถาหากตองการสรางเลเยอรเปาหมาย
ใหม ใหคลิกบนปุม New เมือ่ โหลดเลเยอรเปาหมายเขามาในชองหนาตาง Translate To: แลวใหเลือกเลเยอรทอี่ ยู
ในชองหนาตาง Translate From: หากตองการเลือกมากกวา 1 เลเยอร เราสามารถกดปุม E คางไว แลวคลิก
เลเยอรอื่นๆ ทีต่ องการตอไป แลวคลิกบนชือ่ เลเยอรเปาหมายทีอ่ ยูในชองหนาตาง Translate To: เราสามารถคลิกบน
ปุม Map เพือ่ จับคูเ ลเยอรตา งๆ ทีถ่ กู เลือกในชองหนาตาง Translate From: เขากับเลเยอรเปาหมายทีอ่ ยูใ นชองหนาตาง
Translate To: เราสามารถคลิกบนปุม Map Same เพือ่ จับคูเ ลเยอรทมี่ ีชอื่ เหมือนกันในชองหนาตาง Translate From:
และในชองหนาตาง Translate To: แลวแสดงเลเยอรทไี่ ดรบั การจับคูแ ลวในชองหนาตาง Layer Translation Mappings:
เราสามารถเลือกเลเยอรทตี่ อ งการแกไขคุณสมบัตใิ นชองหนาตาง Layer Translation Mappings: โดยคลิกบนปุม Edit
เพือ่ เปลีย่ น Color, Lineweight, Linetype ใหม เราสามารถคลิกบนปุม Remove เพือ่ ลบเลเยอรออกจากชอง หนาตาง
Layer Translation Mappings: เราสามารถบันทึก Save เลเยอรแม็ปปง เก็บไวใชงานในคราวตอไป หากคลิกบนปุม
Settings จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.36 หากมีเครื่องหมาย นําหนา Force object color to BYLAYER
จะทําใหวั ตถุ เปลี่ ยนสีไปใช สี ตามเลเยอร เป าหมาย หากมี เครื่ องหมาย นําหน า Force object linetype

chap-12.PMD 362 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 363

BYLAYER จะทํ า ให วั ต ถุ เ ปลี่ ยนไปใช รู ป แบบเส น ตามที่


กําหนดไว ในเลเยอรเปาหมาย หากปรากฏเครื่ องหมาย นําหน า
Translate objects in blocks วัตถุที่ซอนอยูภายในบล็อคจะยาย
เขาไปอยูในเลเยอรเปาหมายดวย หากมีเครื่องหมาย นําหนา Write
transaction log โปรแกรมจะสรางไฟล .log ในโฟลเดอรเดียวกันกับ
รูปที่ 12.36
ไฟลแบบแปลนบันทึกการรายงานผลวาวัตถุในเลเยอรใดถูกเคลือ่ นยาย
ไปอยูในเลเยอรเปาหมาย หากปรากฏเครื่องหมาย นําหนา Show
layer contents when selected เมื่อคลิกบนเลเยอรใด วัตถุที่อยูในเลเยอรจะปรากฏบนพืน้ ที่วาดภาพวัตถุที่อยู
ในเลเยอรอื่นจะถูกซอน(ลักษณะเหมือนกับ Layer Walk ใน Express Tools) เราใช Selection Filter ในกรณีที่มี
เลเยอรจํานวนมากเราสามารถเลือกเลเยอรโดยใชเงื่อนไขในการเลือก โดยพิมพตวั อักษรนําหนาชื่อเลเยอรแลวตาม
ดวยเครือ่ งหมายดอกจันเขาไปในอิดทิ บอกซ Select อาทิ เชน H* เมือ่ คลิกปุม Select เลเยอรทมี่ ชี อ่ื ขึน้ ตนดวยตัวอักษร
H ทั้งหมดจะถูกเลือก Translate ใชปุมนี้สําหรับเคลื่อนยายวัตถุที่อยูในเลเยอรทั้งหมดใน Old Layer Name
ไปยังเลเยอรใหม New layer Name ที่ปรากฏในชองหนาตาง Layer Translation Mappings:

Note Layer Tranlator มีประโยชนในการแกไขเปลี่ยนแปลงเลเยอรจํานวนมากๆ ในไฟลแบบแปลนเกาๆ


ที่เขียนโดยไมมีการกําหนดมาตรฐานชื่อของเลเยอรใหตรงกับมาตรฐานที่เราตองการ อาทิ เชน AIA
(American Institute for Architecture) เปนตน

12.52 Tools4Customize4Interface | CUI


AutoCAD 2006 มีการเปลีย่ นแปลงระบบการปรับแตงเมนูบาร ทูลบาร ปุมไอคอน ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท
แทปเบล็ทเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ โดยไดมกี ารยกเลิกไฟล Acad.mnu, Acad.mns, Acad.mnc เปลีย่ นมาใช
XML ไฟลฟอรแมต Acad.cui ซึง่ ถูกเก็บบันทึกอยูใ นโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Application
Data\Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support การสรางหรือแกไขเมนูบาร ทูลบาร ปุม ไอคอน ช็อทคัทเมนู
คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ ไมจําเปนตองใชเทกซอดิ ทิ เตอร เชน Notepad เหมือนรีลสี
กอนๆ เราสามารถใชคําสัง่ นีเ้ พียงคําสัง่ เดียวในการจัดการระบบเมนูและทูลบารทงั้ หมด และยังสามารถจัดการกับ
เวิรค สเปส(Workspace)ไดอกี ดวย จึงทําใหการสรางและแกไขเมนูและทูลบารตา งๆ สามารถทําไดงา ยกวาในรีลสี กอนๆ
เปนอยางมาก เนือ่ งจากผูใ ชโปรแกรมไมจําเปนตองทราบความหมายของรหัสตางๆ ในระบบเมนูและทูลบารมากนัก
เพราะในการสรางหรือแกไขเมนูและทูลบาร เพียงแตใชเมาสคลิกและลากคําสัง่ ไปปลอยในหัวขอเมนูหรือทูลบารตา งๆ
ไดอยางสะดวก หากเราสรางคําสั่งขึน้ มาใหม เราสามารถนําคําสั่งใหมนั้นไปใชงานในเมนูบาร ทูลบาร ปุมไอคอน
ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ ไดทงั้ หมด ไมมกี ารกําหนดเฉพาะเจาะจง
สําหรับเมนูหรือทูลบารเปน Section เหมือนรีลสี กอนๆ จึงเปนการงายทีจ่ ะสรางเมนูบารหรือทูลบารใหมขนึ้ มาใชงานใน
AutoCAD 2006

Note ถึงแมวา ไฟล Acad.cui จะเปนแอสกีเ้ ทกซไฟลซงึ่ สามารถใชโปรแกรม Notepad เปดออกมาใชงานได


เราไมควรใชวธิ นี ี้ในการสรางหรือแกไขเมนูหรือทูลบารเหมือนในรีลีสกอนๆ เพราะจะทําใหไฟลเมนู
.cui เสียหายและไมสามารถใชการตอไปได

หากตองการสรางหรือแกไขเมนูบาร ทูลบาร ปุม ไอคอน ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู สกรีนเมนู


อิมเมจเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ นอกจากนี้ หากตองการสรางคําสัง่ ใหมหรือแกไขคําสัง่ ทีม่ อี ยูแ ลวหรือเคลือ่ นยาย
หรือคัดลอกคําสั่งจากเมนูหนึ่งไปยังอีกเมนูหนึ่ง เราสามารถเรียกคําสั่งนี้ออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค
Customize User Interface ดังรูปที่ 12.37

chap-12.PMD 363 13/10/2549, 1:33


364

2D Drafting

รูปที่ 12.37
จากรูปที่ 12.37 ในแถบรายการ Customization in All CUI files (1) จะแสดงรายชื่อไฟลกลุมเมนูทั้งหมดที่
โปรแกรมโหลดหรือเคยโหลดเขามาใชงาน อาทิ เชน เมนูหลัก Acad.cui และกลุม เมน ู อนื่ ๆ อาทิ Acetmain.cui
(กลุม เมนู Express Tools) 3dmodeling.cui (กลุม ทูลบาร 3D Modeling) หากตองการแสดงเมนูกลุม ใด ใหเลือกชือ่ ไฟล
.cui ของเมนูกลุม นัน้ จากแถบรายการนี้ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ไฟล Acad.cui จะถูกกําหนดใหเปนไฟลใชงาน
และจะปรากฏ All Customization Files จากแถบรายการนี้ เมื่อเลือกไฟล .cui จากแถบรายการ Customization in All
CUI files (1) จะปรากฏโครงสรางเวิรคสเปสและเมนูตา งๆ ในชองหนาตาง (2) ในชองหนาตางนี้ จะแสดงโครงสราง
เวิรค สเปส(Workspaces) โครงสรางทูลบาร(Toolbars) โครงสรางเมนูบาร(Menu) โครงสรางช็อทคัทเมนู(Shortcut
Menus) โครงสรางคียบอรดช็อทคัท(Keyboard Shortcuts) โครงสรางปุมของเมาส(Mouse Buttons) โครงสราง
AutoLISP ทีโ่ หลดเขามาใชงาน(LISP Files) โครงสรางแทปเบล็ทเมนู(Tablet Menus) ปุม แทปเบล็ท(Tablet Buttons)
สกรีนเมนู(Screen Menus) อิมเมจเมนู(Image Tile Menus) และโครงสรางกลุมเมนูที่โหลดเพิ่มเขามาใชงาน(Partial
CUI Files) แถบรายการ Categories (3) จะเปนตัวกรองใหแสดงคําสัง่ ตางๆ ทีอ่ ยูใ นกลุม เมนูทปี่ รากฏในแถบรายการ
นี้ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏ All Commands บนแถบรายการซึง่ แสดงใหเราทราบวาจะแสดงคําสัง่ ตางๆ
ทั้งหมดจากกลุมเมนูทุกกลุม ที่โหลดเขามาใชงานใน AutoCAD คําสัง่ ทั้งหมดทีเ่ ลือกจากแถบรายการ Categories จะ
ปรากฏในชองหนาตาง (4) เมื่อเราเลือกหัวขอเมนูหรือคําสั่งในชองหนาตาง (2) หรือเลือกคําสั่งจากชองหนาตาง
(4) จะปรากฏคุ ณสมบัติ (Properties)ของวัตถุที่ ถู กเลือกบนชองหนาตาง (5) เราสามารถแกไขคุณสมบั ติต างๆ
ของคําสั่งตางๆ ได หากเราตองการสรางทูลบารใหม ใหคลิกขวาบนหัวขอ Toolbars แลวเลือกคําสัง่ New4Toolbar
ดังรูปที่ 12.38 (ซาย) จะปรากฏชื่อทูลบาร
ใหม Toolbar1 ซึ่งโปรแกรมกําหนดมาให
หากตองการสรางเมนูคอลัมนใหม ใหคลิก
ขวาบนหัวขอ Menus แลวเลือกคําสัง่ New4
Menu ดั ง รู ป ที่ 12.38 (ขวา) จะปรากฏ
เมนู คอลั ม น ใหม ชื่ อ Menu1 ต อจากเมนู
รูปที่ 12.38 คอลั มน Help เราสามารถเปลี่ ยนชื่ อใหม
หรือยอมรับชื่อที่โปรแกรมกําหนดมาให

chap-12.PMD 364 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 365

เมือ่ เราไดสรางทูลบารใหมหรือสรางเมนูคอลัมนใหมขนึ้ มาแลว เราสามารถนําคําสั่งตางๆ ที่ปรากฏในชองหนาตาง


(4) เขามาใชงานในทูลบารใหมและเมนูคอลัมนใหมไดตามตองการ โดยเพียงคลิกและลากคําสัง่ ใดๆ ทีป่ รากฏในชอง
หนาตาง (4) ไปปลอยบนชือ่ ทูลบารหรือเมนูคอลัมนใดๆ ที่ปรากฏอยูใ นชองหนาตาง (2) ไดตามตองการ หากตอง
การสรางคําสัง่ ใหม ใหคลิกบนปุม New ดานขวาของแถบรายการ Categories จะปรากฏ Command1 ในชองหนาตาง
(4) และจะปรากฏคุณสมบัติตางๆ ของคําสั่ง Command1 ดังรูปที่ 12.39 ใหแกไขชื่อคําสั่งในอิดิทบอกซ Name
แลวพิมพคําสัง่ อาทิ เชน ^C^C_LIMITS;0,0;\ZOOM;A;GRID;ON เขาไปในอิดิทบอกซ Macro เลือก
รู ปไอคอนที่ มีอยู แล วหรื อแกไขรูปไอคอน เพื่ อ
สรางไอคอนใหมจาก Button Image รูปไอคอน
จะปรากฏในอิ ดิ ทบอกซ Small image และ
Large image เมื่ อสรางคําสั่ งใหมและกําหนด
คุณสมบัตขิ องคําสั่งเรียบรอยแลว เราสามารถคลิก
และลาก Command1 จากช องหน าตาง (4) ไป
ปล อ ยบนทู ล บาร ห รื อ เมนู บ าร ห รื อ เมนู อื่ นๆ
รูปที่ 12.39 บนชองหนาตาง (2) ไดตามตองการ แลวคลิกปุม
Apply และ OK คําสั่ งใหมจะปรากฏบนทูลบาร
หรือเมนูบารที่ตองการ

Note กอนที่จะเริ่มสรางหรือแกไขเมนูและทูลบาร เราควรที่จะสํารอง(Backup)ไฟล Acad.cui เก็บไวกอน


เพราะถาหากมีการผิดพลาด เราจะสามารถคัดลอกไฟล Acad.cui ไปแทนที่ไฟลที่เกิดการผิดพลาดได
เพื่อทีเ่ ราจะไดไมตอ งเสียเวลาในการติดตั้งโปรแกรมใหม

Note ถึงแมวาจะมีการยกเลิกการใชงานไฟล Acad.mnu, Acad.mns, Acad.mnc เราสามารถ Import เขามา


ใชงานระบบเมนูใหมใน AutoCAD 2006 ได

Note หากเราตองการโหลดกลุมเมนูที่ถกู บันทึกไวในไฟล .cui อาทิ เชน Acetmain.cui ของ Express Tools
เขามาใชงานรวมกับกลุมเมนู Acad.cui ใหคลิกขวาบน Partial CUI Files แลวเลือกคําสั่ง Load partial
customization file เราสามารถเลือกโหลดไฟล .cui หรือไฟล .mns หรือ .mnu จาก AutoCAD รีลสี กอน
ไดตามตองการ

Note หากเมื่อใดก็ตามที่เมนูบารหายไปทั้งหมด ไมวาจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม เราสามารถเรียกเมนูหลัก


ของ AutoCAD 2006 และเมนูคอลัมน อื่นๆ กลับมาใชงานไดโดยพิมพคําสั่ง MENULOAD ผาน
คียบอรด จะปรากฏไดอะล็อค Load/Unload Customizations คลิกบนปุม Browse คนหาไฟล Acad.cui
จาก โฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\
R16.2\enu\Support คลิกชือ่ ไฟล Acad.cui คลิกปุม Open แลวคลิกปุม Load เมนูบารและทูลบารทหี่ ายไป
ทั้งหมดจะกลับมาปรากฏ เราจะสามารถเรียกคําสั่งตางๆ ออกมาใชงานไดเชนเดิม

Note หากไม จําเป น เราไมควรที่ จะใชคําสั่ ง MENULOAD นี้ เพราะอาจจะทําให เราไม สามารถเรียก
โปรแกรมเสริมบางโปรแกรมทีต่ ดิ ตัง้ เพิม่ เติมไวกลับคืนมาได ซึง่ ถาหากไมมีแผนดิสคตน ฉบับสําหรับ
ติดตั้งของโปรแกรมเสริมเหลานั้น อาจจะเปนการยุงยากในการเรียกโปรแกรมเสริมกลับมาปรากฏ
บนเมนูบารได

chap-12.PMD 365 13/10/2549, 1:33


366

12.53 Tools4Customize4Tool Palettes | CUSTOMIZE


ดูวธิ กี ารใชคําสัง่ นีใ้ นการแกไขปรับแตงทูลพาเลท(Tool Palettes)ในบทที่ 11 หัวขอ 11.2 2D Drafting
12.54 Tools4Customize4Import Customization | CUIIMPORT
หากเรามีการปรับแตงแกไขเพิม่ เติมเมนูบาร ทูลบารและเมนูอนื่ ๆ ใน AutoCAD รีลสี กอนๆ ซึง่ บันทึกเก็บไวในไฟล .mnu
หรือ .mns หรือถาหากเรามีการปรับแตงแกไขเพิม่ เติมเมนูบาร ทูลบารและเมนูอื่นๆ ใน AutoCAD 2006 แตอยูใน
คอมพิวเตอรเครือ่ งอืน่ เราสามารถนําเมนูบาร ทูลบารและเมนูอนื่ ๆ สวนทีแ่ กไขเพิม่ เติมเหลานัน้ เขาไปเก็บไวในไฟล
.cui อีกไฟลหนึง่ ได เมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.40

รูปที่ 12.40
คลิกบนปุม (Open customization file) ของชองหนาตางทางดานซาย เพือ่ โหลดไฟล .cui, .mns, .mnu ทีม่ กี ารแกไข
เพิ่มเติมคําสั่งเขามาใชงาน (หากตองการโหลดไฟล .mns หรือ .mnu ใหเลือก Menu Files จากแถบรายการ Files of
type) คลิกบนปุม (Open customization file) ของชองหนาตางทางดานขวา เพื่อโหลดไฟล .cui, .mns, .mnu
เปาหมายทีต่ องการนําคําสัง่ ทีไ่ ดรบั การแกไขเพิม่ เติมจากไฟลทปี่ รากฏในชองหนาตางดานซายเขามาใชงาน แลวคลิก
บนเครื่องหมาย + ของหัวขอ Toolbars, Menus, Shortcut Menus และอื่นๆ แลวคนหาคําสั่งที่มกี ารแกไขเพิ่มเติม
แลวคลิกและลากทูลบารหรือเมนูไปปลอยในหัวขอเดียวกันในชองหนาตางดานขวา แลวคลิกบนปุม (Save the
current customization file) ของหนาตางทางดานขวา เพื่อบันทึกการเปลีย่ นแปลงเพิ่มเติมในไฟล

Note คําสัง่ นีส้ ามารถใชไดทงั้ การนําเขาและสงออกทูลบาร เมนูบารและเมนูอนื่ ๆ จากไฟลหนึง่ ไปยังอีกไฟล


หนึง่ ได

12.55 Tools4Customize4Export Customization | CUIEXPORT


คําสัง่ นีเ้ หมือนกับคําสัง่ Tools4Customize4Import Customization ทุกประการ เพราะเราสามารถใชคําสัง่ นีใ้ น
การนําเขา(Import)หรือสงออก(Export)หรือสามารถแลกเปลี่ยนทูลบาร เมนูบารและเมนูอื่นๆ ระหวางไฟล .cui
ทีป่ รากฏในชองหนาตางทัง้ สองได

12.56 Tools4Customize4Edit Program Parameters


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับแกไขเพิม่ เติมคําสั่งยอ เพือ่ ที่จะเราจะสามารถพิมพตวั อักษรเพียง 1 หรือ 2 หรือ 3 ตัวผานคียบ อรด
เพือ่ เรียกคําสัง่ เต็มของ AutoCAD ออกมาใชงาน เมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏหนาตาง Notepad เปดไฟล
Acad.pgp ซึง่ เก็บบันทึกคําสั่งยออยูในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Application Data\
Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support ดังรูปที่ 12.41

chap-12.PMD 366 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 367

ภายในไฟล Acad.pgp คําสัง่ ยอจะปรากฏเปนตัวอักษรยอ 1 หรือ 2 หรือ


3 หรือมากกวานัน้ ตามดวยเครือ่ งหมายคอมมา , แลวเวนวรรคพอสวย
งาม ตามดวยเครือ่ งหมายดอกจัน * ตามดวยคําสัง่ เต็มทีต่ อ งพิมพผา น
คียบ อรด ในการสรางคําสัง่ ยอใหม เราจะตองแนใจวาตัวอักษรยอทีจ่ ะ
ใชงานนั้น ไมซ้ํากับตัวอักษรยอทีไ่ ดกาํ หนดใหกับคําสั่งตางๆ ไปแลว
หากตองการใชตัวอักษรยอใด ควรใชคําสั่ง Edit4Find แลวพิมพ
ตัวอักษรยอทีเ่ ราจะใชงานเขาไปในอิดทิ บอกซ Find what เพือ่ ตรวจสอบ
วาตัวอักษรยอที่เราจะใชงานมีการกําหนดใหกับคําสั่งใดแลวหรือไม
ในการสรางตัวอักษรยอเราสามารถใชตวั อักษรหรือตัวเลขหรือตัวอักษรและ
รูปที่ 12.41 ตัวเลขในการสรางคําสัง่ ยอได หากเราไมพอใจคําสัง่ ยอทีโ่ ปรแกรมสราง
มาให อาทิ เชน คําสัง่ ยอ MI ใชเรียกคําสัง่ MIRROR เราตองการเพิม่ คําสัง่
ยอ MR ใหเรียกคําสัง่ MIRROR เชนเดียวกัน เราสามารถพิมพเพิม่ โดยสอดแทรกบรรทัด MR, *MIRROR เขาไป ณ
ตําแหนงใดๆ ในไฟล Acad.pgp นีไ้ ด แตทางทีด่ คี วรสอดแทรกโดยเรียงลําดับบรรทัดตามตัวอักษรยอ เพือ่ ใหสะดวก
ในการตรวจสอบและแกไข หากเราตองการเปลี่ยนแปลงตัวอักษรยอของคําสั่งใด เราสามารถลบตัวอักษรยอเดิม
ของคําสัง่ ทีต่ อ งการแกไข แลวพิมพตวั อักษรยอใหมไดตามตองการ แตตอ งแนใจ
วาตัวอักษรยอไมซา้ํ กับตัวอักษรยอ ทีก่ ําหนดใหกบั คําสัง่ อืน่ ๆ ไปแลว เมือ่ ไดแกไข
เพิม่ เติมคําสัง่ ยอในไฟล Acad.pgp แลว ใหใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกการ
เปลีย่ นแปลง แลวปดหนาตาง Notepad กลับสูหนาตาง AutoCAD แลวพิมพ
REINIT ผานบรรทัด Commad: เมือ่ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.42 คลิกใหปรากฏ
เครื่องหมาย บนเช็คบอกซ PGP File เราจะสามารถใชงานคําสัง่ ยอไดทันที รูปที่ 12.42

12.57 Tools4Options | OPTIONS | OP


ใชคําสัง่ นีใ้ นการปรับแตงตัวเลือกตางๆ ซึง่ ใชเปนคาเริม่ ตนในการทํางานของ AutoCAD 2006 อาทิ เชน การกําหนด
โฟลเดอรสาํ หรับจัดเก็บไฟลฟอรแมตตางๆ การกําหนดคาพารามิเตอรตา งๆ การแสดงผลบนพืน้ ทีว่ าดภาพ การเปดและ
บันทึกไฟล การพิมพแบบแปลนการตัง้ คาเริม่ ระบบ การกําหนดคาตางๆ สําหรับผูใ ชโปรแกรม การกําหนดรูปแบบของ
ออโตสแนป การกําหนดวิธเี ลือกวัตถุ การกําหนดรูปแบบของไดนามิกอินพุท การสรางโปรไฟลสาํ หรับผูใ ชโปรแกรม
แตละคน เปนตน เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.43
Support File Search Path
คือโฟลเดอร สําหรับการค นหา
ไฟลสนับสนุนตางๆ อาทิ เชน
ไฟลที่จําเปนตอการทํางานของ
AutoCAD ฟอนท ไ ฟล ไฟล
แสดงข อความชวยเหลื อ(Help
file) และอื่ นๆ เป น ต น
Working Support File
Search Path คือโฟลเดอรใช
งานที่ สามารถใช งานได ตามที่
ระบุใน Support File Search Path
Device Driver File Search
Path คื อโฟลเดอร เก็บบั นทึ ก
รูปที่ 12.43

chap-12.PMD 367 13/10/2549, 1:33


368

ไดรฟเวอรไฟลเครื่องพิมพ Project File Search Path คือโฟลเดอรที่ใชจัดเก็บไฟลแบบแปลนของโปรเจกท


Customization file คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บไฟลเมนูหลัก Acad.cui Help, and Miscellaneous File Names
2D Drafting
คือโฟลเดอรเก็บบันทึกเมนูไฟลชวยเหลือทีอ่ ยู Url ใน อินเตอรเนตคอนฟกเกอเรชั่นไฟลและอืน่ ๆ Text Editor,
Dictionary, and Font File Names คือโฟลเดอรและชื่อของเทกซอิดิทเตอรที่ใชกบั คําสั่ง MTEXT เราสามารถ
ระบุดกิ ชันเนอรีห่ ลักและดิกชันเนอรีฉ่ บับปรับปรุง ระบุฟอนทไฟลสํารองและอืน่ ๆ Print File, Spooler, and
Prolog Section Names ระบุชื่อพล็อทไฟล .plt ระบุชื่อโปรแกรมแอพพลิเคชั่นที่จะใชเปนพริ้นทสปูลลิง่ (Print
spooling) ระบุชื่อโพสคริบทไฟล .psf ซึง่ ใชกับคําสั่ง PSOUT Printer Support File Path คือโฟลเดอรไฟล
สนับสนุนในการพิมพ Print Spooler File Location คือโฟลเดอรสําหรับเก็บไฟลชั่วคราวบันทึกการพิมพ Printer
Configuration Search Path คือโฟลเดอรสําหรับจัดเก็บไฟล .pc3 ควบคุมคอนฟกเกอเรชั่นของเครื่องพิมพ Printer
Description File Search Path คือโฟลเดอรสําหรับจัดเก็บไฟล .pmp เก็บบันทึกการปรับแตงคอนฟกเกอเรชัน่ ของ
เครือ่ งพิมพ Plot Style Table Search Path คือโฟลเดอรจัดเก็บไฟล .ctb และ .stb ควบคุมคุณสมบัตขิ องเสนในการพิมพ
Automatic Save File Location คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บไฟลที่โปรแกรมบันทึกใหโดยอัตโนมัติ Color Book
Location คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บไฟลสมุดเก็บบันทึกรหัสสีตา งๆ Data Sources Location คือโฟลเดอรในการ
คนหาไฟลฐานขอมูล(Database) Template Settings คือโฟลเดอรที่บรรจุไฟลเทมเพล็ท(Template)ตนแบบ
Drawing Template File Location คือโฟลเดอรทใี่ ชจัดเก็บไฟลตน แบบ .dwt ซึง่ ใชเปนไฟลสําหรับเก็บบันทึกตาราง
รายการแบบและใชเปนไฟลตน แบบทีเ่ ก็บบันทึกคาเริ่มตนตางๆ ในการเริ่มไฟลแบบแปลนใหม Sheet Set Template
File Location คือโฟลเดอรที่ใชสําหรับจัดเก็บเทมเพล็ทไฟลหรือตารางรายการแบบสําหรับใชงานรวมกับ Sheet Set
Manager โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหจะอยูใ นโฟลเดอรเดียวกันกับ Drawing Template File Location สวน Default
Template File Name for QNEW คือไฟลเทมเพล็ท .dwt ที่เก็บคาเริ่มตนตางๆ ที่โหลดโดยอัตโนมัติเมื่อใชคําสั่ง
File4New Default Template Sheet Creation and Page Setup Overrides คือไฟลเทมเพล็ท .dwt ทีเ่ ก็บคาเริ่มตน
ตางๆ ทีโ่ หลดโดยอัตโนมัตเิ มือ่ ใชคําสัง่ New Sheet Tool Palettes File Locations คือโฟลเดอรทจี่ ดั เก็บไฟลตางๆ
ที่เกี่ยวของกับทูลพาเลท Authoring Palettes File Locations คือโฟลเดอรที่จัดเก็บไฟลตางๆ ที่เกี่ยวของกับ
การปรับแตงทูลพาเลท Log File Location คือโฟลเดอรที่จัดเก็บหรือบันทึกประวัติหรือล็อกไฟล (Log) Plot
and Publish Log File Location คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บหรือบันทึกประวัตหิ รือล็อกไฟล(Log)บันทึก การพิมพ
Temporary Drawing File Location คือโฟลเดอรที่ AutoCAD เขียนไฟลชั่วคราว Temporary External
Reference File Location คือโฟลเดอรที่ AutoCAD จะเก็บบันทึกไฟลเอกซเรฟชั่วคราว โฟลเดอรนี้ จะถูกใชงาน
เมื่อเราเลือก Enable with copy ของตัวเลือก Demand load Xrefs ของแถบคําสั่ง Open and Save Texture Maps
Search Path คือโฟลเดอรที่ AutoCAD จะคนหาไฟลรูปบิทแม็ปที่ใชในการเรนเดอรภาพ 3 มิตแิ บบเหมือน จริง
I-drop Associate File Location คื อโฟลเดอร ที่ จัดเก็ บไฟล .dwg ที่ คลิกและลากจากเวบไซต ตางๆ ใน
อินเตอรเนตที่สนับสนุน I-Drop Browse ใชปมุ นี้สําหรับเปลี่ยนไดรฟและคนหาโฟลเดอรที่ตอ งการ Add ใชปุม
นีส้ ําหรับเพิม่ โฟลเดอรใหม Remove ใชปมุ นีส้ ําหรับลบโฟลเดอร Move Up ใชปุมนี้สําหรับเลือ่ นลําดับโฟลเดอร
ขึน้ Move Down ใชปมุ นีส้ ําหรับเลือ่ นลําดับโฟลเดอรลง Set Current ใชปมุ นีส้ ําหรับกําหนดโฟลเดอรใชงานของ
Project และ Dictionary

Note ปุม Move Up และ Move Down จะใชงานไดก็ตอเมื่อมีโฟลเดอรตั้งแตสองโฟลเดอรขึ้นไป โดยปกติ


AutoCAD จะคนหาไฟลในโฟลเดอรที่อยูบนกอนเสมอ หากคนหาไฟลในโฟลเดอรที่อยูเหนือกวา
ไมพบจึงจะคนหาไฟลในโฟลเดอรทอี่ ยูตํา่ กวา

Note ถึงแมวา โฟลเดอรบรรจุไฟลตา งๆ ทีเ่ กีย่ วของกับ AutoCAD 2006 ทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหนจี้ ะสามารถ
แกไขเปลีย่ นแปลงได อยางไรก็ตาม หากไมมคี วามจําเปนก็ควรจะใชโฟลเดอรทโี่ ปรแกรมกําหนดมาให
นอกเสียจากวาเราจําเปนจะตองเพิม่ โฟลเดอร ใหมเพื่อบอกให AutoCAD ไปคนหาไฟล ที่ไมไดอยูใ น
โฟลเดอรที่ AutoCAD กําหนดมาให

chap-12.PMD 368 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 369

Window Element ใช


เช็คบอกซในกลุมนี้ สําหรับปรับ
แต ง รู ป แบบอิ น เตอร เ ฟสของ
AutoCAD หากปรากฏ
เครื่ องหมาย บนเช็ คบอกซ
Display scroll bars in
drawing window จะปรากฏ
สค รอ ลบา ร แน วนอ นแ ละ
แนวตั้ง เพื่อใชสําหรับการเลื่อน
พื้ นที่ วาดภาพในแนวนอนและ
แนวตั้ง หากปรากฏเครื่องหมาย
บนเช็ คบอกซ Display
รูปที่ 12.44
screen menu จะปรากฏสกรีน
เมนู ห รื อเมนู คําสั่ ง ที่ ขอบด าน
ขวาของพื้นที่วาดภาพ หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Use large button for Toolbars ปุมไอคอนจะ
ปรากฏเปนปุมขนาดใหญ หากปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Show ToolTips จะปรากฏคําแนะนําทูลทิพบน
ปุมไอคอน เมือ่ เลื่อนเคอรเซอรไปบนปุมไอคอน หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Show shortcut keys
ToolTips จะปรากฏคียบอรดช็อทคัทบนทูลทิพ หากคลิกบนปุม Color เราสามารถใชปมุ นี้สําหรับกําหนดสีของ
พื้นทีว่ าดภาพในโมเดลสเปส เลเอาทเปเปอรสเปสและสวนประกอบตางๆ เมือ่ คลิกปุม นี้จะปรากฏไดอะล็อคแสดง
ตัวอยางจอภาพของ Model Tab และ Layout Tab เราสามารถเลือกสวนทีต่ อ งการปรับแตงสีใน Element หรือใชเมาส
คลิกบนรูปตัวอยางจอภาพ แลวเลือกสีทตี่ องการในแถบรายการ Color เราใชปมุ Fonts สําหรับเลือกฟอนทตวั อักษร
สําหรั บบรรทั ดป อนคําสั่ ง หากต องการให บรรทั ดป อ นคําสั่ งสามารถแสดงตั วอั กษรภาษาไทยได เราจะต อง
ดาวนโหลด Fixed-Width Font ภาษาไทย แลวติดตั้ง Fonts นั้นเขากับระบบปฏิบัติการวินโดว จึงจะสามารถเลือก
ฟอนทภาษาไทยโดยใชปมุ นี้ได (ดาวนโหลดฟอนทภาษาไทย Fixed-Width Font สําหรับบรรทัด Command: ไดทนี่ ี่
http://software.thai.net/tis-620/courierthai.html) Layout elements ใชตัวเลือกในกลุม นีค้ วบคุมการใชงานเลเอาท
ในเปเปอรสเปส Display Layout and Model tabs เปด/ปดโหมดแสดงแถบเลเอาท Display printable
area เปด/ปดโหมดแสดงพื้นที่ที่สามารถพิมพไดของเครื่องพิมพ Display paper backgrounds แสดงขอบ
กระดาษของเลเอาทในเปเปอรสเปสและใช Display paper shadow เพือ่ แสดงเงาของขอบกระดาษ Show Page
Setup Manager for new layouts หากปรากฏเครือ่ งหมาย จะปรากฏไดอะล็อค Page Setup Manager ทุกครัง้ ทีม่ ี
การสรางเลเอาทใหม Create viewport for new layouts เมื่อปรากฏเครื่องหมาย โปรแกรมจะสรางวิวพอรท
ใหมใหโดยอัตโนมัติทกุ ครั้งที่มีการสรางเลเอาทใหม Crosshair size ใชปรับขนาดของเคอรเซอรครอสแฮรเปน
เปอรเซนตเทียบกับขนาดของพื้นที่วาดภาพ Display Resolution ใชตวั เลือกในกลุมนีส้ ําหรับควบคุมคุณภาพการ
ปรากฏของวัตถุบนพื้นที่วาดภาพ Arc and circle smoothness ควบคุมความราบเรียบของสวนโคงของวงกลม
เสนโคงและวงรี หากกําหนดคามากจะทําใหวัตถุโคงปรากฏมีความราบเรียบ แตจะทําใหการรีเจน(Regen)หรือการ
คํานวณภาพใหมใชเวลาเพิ่มขึ้น คาทีส่ ามารถใชงานไดอยูระหวาง 1 ถึง 20,000 การปรับคานี้เหมือนกับการใชคําสั่ง
VIEWRES Segments in polyline curve กําหนดจํานวนเซกเมนตหรือสวนของเสนตรงที่ตอ งการใหปรากฏบน
เสนโพลีไลนทเี่ ปนสวนโคง Render object smoothness ควบคุมความราบเรียบของสวนเวาและสวนโคงของ
โซลิด 3 มิติ ซึ่งจะมีผลเมื่อทําการซอนเสน(Hide), เชด(Shade)หรือเรนเดอรซึ่งเปนตัวเดียวกันกับตัวแปรระบบ
FACETRES Contour lines per surface กําหนดจํานวนเสนคอนทัวรบนโซลิด 3 มิติ Display performance
ใชตัวเลือกในกลุม นี้ในการควบคุมความเร็วในการแสดงผล Pan and zoom with raster image หากปรากฏ
เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้เราจะสามารถมองเห็นรูปบิทแม็ปในขณะกําลังใชคําสั่ง Realtime ZOOM หรือ

chap-12.PMD 369 13/10/2549, 1:33


370

Realtime PAN Highlight raster image frame only เมื่อปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้กรอบรูป


บิทแม็ปจะถูกไฮไลทเมือ่ รูปบิทแม็ปถูกเลือก Apply solid fill เมื่อปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เสน
2D Drafting
โพลีไลนที่มีความหนา โดนัท มัลติไลนและโซลิด 2 มิติจะถูกระบายสีเหมือนกับการใชคําสั่ง FILL Show text
boundary frame only เมื่อปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี ตัวอักษรตางๆ จะปรากฏเพียงกรอบสี่เหลี่ยม
ผืนผาเหมือนการใชคําสั่ง QTEXT Show silhouettes in wireframe ควบคุมการแสดงผลใหปรากฏเฉพาะเสน
ขอบรูปโซลิดจะไมปรากฏเสนทะแยงระหวางผิวหนาของโซลิดทีม่ ผี วิ โคงเหมือนกับตัวแปร DISPSILH Reference
Edit fading intensity ควบคุมความเขมของสีของวัตถุที่ไมไดถูกเลือกสําหรับการปรับแตงแกไขดวยคําสั่ง
In-place Xref and Block Edit

File Save ใชตวั เลือกในกลุม


นี้ ในการกํ าหนดรู ป แบบใน
การบันทึกไฟลลงดิสค Save
As โดยที่ โปรแกรมกําหนด
มาให แถบรายการนี้ แสดง
ฟอร แ มต AutoCAD 2004
Drawing (*.dwg) ซึ่ งเป น
ฟอรแมตที่ AutoCAD 2006 จะ
บั นทึ กไฟล แบบแปลน .dwg
ลงดิสค ซึง่ จะใชฟอรแมตนีเ้ มือ่
มีการใชคําสัง่ File4Save As
เราใช ปุ ม Thumbnail
รูปที่ 12.45 Preview Settings ในการ
กํ าหนดรู ป แบบของรู ป ภาพ
ตัวอยางของแบบแปลน เมือ่ คลิกบนปุม นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคแสดงเช็คบอกซ Save a thumbnail preview image
ซึ่งใชบันทึกรูปภาพตัวอยาง(Preview)ของแบบแปลนในหนาตาง Preview ของคําสั่ง File4Open และบน
DesignCenter และบน Windows Explorer เช็ คบอกซ
Generate Sheet, Sheet View and Model View
Thumbnails ใชสําหรับเปด/ปดการสรางภาพแบบแปลน
ตัวอยางบนหนาตางของ Sheet Set Manager ในแถบคําสัง่ Sheet
View, View List และแถบคําสั่ง Resource Drawings โดยเรา
สามารถเลือกอับเดทดวยตนเอง(Update thumbnails manually)
หรืออับเดทเมือ่ เขาสูช ที เซท(Update thumbnails when access)
หรืออับเดทเมื่อบันทึกแบบแปลน(Update thumbnails when
saving drawing) เราใช Incremental save percentage เพือ่
กําหนดค าเปอร เซนตของพื้ นที่ ที่ บันทึ กไฟล แบบแปลนลง
รูปที่ 12.46
ดิสค เมื่อกําหนดคาเปอรเซนตการบันทึกไฟลสูง(Quick save
หรือ qsave) ไฟล .dwg จะมีขนาดใหญกวาทีเ่ ปนจริง แตการบันทึกไฟลจะใชเวลานอยมาก เมือ่ กําหนดคาเปอรเซนต
การบั นทึกไฟลต่ํา(Full save) ไฟล จะมีขนาดเล็ กเท ากั บขนาดไฟลจริงๆ แตการบั นทึกไฟลจะใชเวลานานขึ้ น
หากตองการใหไฟล .dwg มีขนาดเล็กที่สุด เราจะตองกําหนดคาเปอรเซนตการบันทึกไฟลใหเทากับ 0 (ศูนย) File
Safety Precautions ใชตัวเลือกในกลุม นี้ เพือ่ ความปลอดภัยของขอมูลแบบแปลน Automatic save หากปรากฏ
เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ โปรแกรมจะบันทึกไฟลแบบแปลนใหเราโดยอัตโนมัติตามชวงเวลาที่ตั้งไวใน

chap-12.PMD 370 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 371

อิดิทบอกซ Minutes between saves Create backup copy with each save หากปรากฏเครื่องหมาย หนา
เช็คบอกซนี้ โปรแกรมจะบันทึกไฟลแบบแปลนสํารอง .bak ใหเราโดยอัตโนมัติ ซึ่งถาหากไฟลแบบแปลน .dwg
เสียหาย เราสามารถใช Windows Explorer เปลีย่ นนามสกุล(Rename)ไฟล .bak เปน .dwg เพื่อนํากลับมาใชงานได
Full-time CRC validation หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี โปรแกรมจะตรวจสอบความผิดพลาด
ของวัตถุทุกๆ ครั้งที่วตั ถุถูกโหลดเขามาใชงาน Maintain a log file หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี
โปรแกรมจะบันทึกการใชคําสัง่ ตางๆ ในหนาตาง AutoCAD Text Window ลงใน Log file File extension for
temoprary files กําหนดนามสกุลของไฟลชั่วคราว เพื่อใหผูใชสามารถแยกไฟลชั่วคราวของตนเองในระบบ
Network Security Options ใชสําหรับกําหนดรหัสผาน(Password) ใชงานและแนบลายเซ็นตอเิ ล็คทรอนิคส(Digital
Signature) เพื่อใหโปรแกรมกําหนดรหัสผานและลายเซ็นต
อิ เล็ คทรอนิ คส ให กับไฟล แบบแปลน .dwg ทุ กไฟล โดย
อัตโนมัติ โดยที่เราไมตองเสียเวลาปอนรหัสผานหรือแนบ
(Attach)ลายเซ็นตอิเล็คทรอนิคสในไฟลแบบแปลน .dwg
แตละไฟล Display digital signature information
โปรแกรมจะแสดงขอมูลเกี่ ยวกั บลายเซ็นตอิเล็คทรอนิคส
เมือ่ เราเปดไฟลทมี่ ีลายเซ็นตอิเล็คทรอนิคสทถี่ กู ตองกํากับอยู
รูปที่ 12.47
File Open ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดโหมดการ
เปดไฟล Number of recently-used files to list ใชกําหนดจํานวนรายชือ่ ไฟลแบบแปลน .dwg ทีจ่ ะแสดงประวัติ
การเปดไฟลบนสวนลางสุดของเมนูคอลัมน File เราสามารถกําหนดจํานวนไฟลสงู สุดได 9 ไฟล Display full path
in title หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี จะปรากฏ Full path พรอมทัง้ แสดงชือ่ ไฟลแบบแปลนบน Title bar
ของวินโดว External Reference (Xrefs) ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดโหมดการโหลดไฟลเอกซเรฟ
เมื่อตองการใชงาน Demand load Xrefs ใช Disabled ในการปดโหมดการโหลดเฉพาะเวลา เมือ่ ตองการใชงาน
เราใช Enabled ในการเปดโหมดการโหลดเมื่อเวลาตองการใชงานไฟลเอกซเรฟ ผูใชไฟลเอกซเรฟคนอื่นจะไม
สามารถแกไขไฟลแบบแปลนได เราใช Enabled with Copy ในการเปดโหมดการโหลดเฉพาะเวลาเมื่อตองการ
ใชงานไฟลเอกซเรฟ โดยวิธคี ัดลอกไฟลทถี่ กู อางอิง ผูใ ชไฟลเอกซเรฟอืน่ ๆ สามารถแกไขไฟลแบบแปลนได Retain
changes to Xref layers หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราสามารถบันทึกการแกไขลงบนคุณสมบัติ
ของเลเยอรและเลเยอรทสี่ อดแทรกเขามากับไฟลเอกซเรฟ Allow other users to Refedit current drawing
ยอมใหผู ใชเอกซเรฟคนอื่นๆ สามารถใชคําสั่ง In-place Xref and Block Edit กับไฟลแบบแปลนใชงานนี้ ได
ObjectARX Applications ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับควบคุมโปรแกรมแอพพลิเคชั่น AutoCAD Runtime
eXtension และ Proxy graphics Demand Load ObjectARX apps ใชแถบรายการนี้ เพื่อระบุวา AutoCAD จะ
ทําการโหลดเมื่อตองการ ถาแบบแปลนนั้นมี Custom Object ที่ถกู สรางจากแอพพลิเคชัน่ นั้น เราใช Disable load
on demand ในการปดโหมดการโหลดเมื่อตองการ เราใช Custom object detect สําหรับโหลดแอพพลิเคชั่น
ที่สรางวัตถุทอี่ ยูในแบบแปลนที่เปดออกมาใชงาน เราใช Command invoke สําหรับโหลดแอพพลิเคชั่นตนฉบับ
เมือ่ มีการใชคําสัง่ ใดๆ ของแอพพลิเคชัน่ เราใช Object detect and command invoke สําหรับโหลดแอพพลิเคชัน่
ที่สรางวัตถุที่อยู ในแบบแปลนที่เปดออกมาใชงานหรือโหลดแอพพลิเคชั่นตนฉบับ เมื่ อมีการใชคําสั่งใดๆ ของ
แอพพลิเคชั่น Proxy images for custom objects ควบคุมการปรากฏของวัตถุทถี่ ูกปรับแตงในไฟลแบบแปลน
เราใช Do not show proxy graphics เพื่อไมใหวตั ถุที่ถูกปรับแตงปรากฏ เราใช Show proxy graphics เพื่อ
ใหวตั ถุที่ถูกปรับแตงปรากฏ เราใช Show proxy bounding box เพือ่ แสดงกรอบแทนวัตถุทถี่ ูกปรับแตง Show
Proxy Information dialog box หากปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซน้ี AutoCAD จะแสดงไดอะล็อคเตือน
ใหระวัง เมื่อเปดไฟลทมี่ ีวัตถุทถี่ ูกปรับแตง(Custom Object)

chap-12.PMD 371 13/10/2549, 1:33


372

Note เนื่องจากรายละเอียดของแถบคําสั่ง Plotting เกี่ยวของโดยตรงกับการพิมพแบบแปลน ดังนั้น ผูเ ขียน


จึงขอนําหัวขอในแถบคําสัง่ Plotting ไปรวมไวในบทที่ 16 การพิมพแบบแปลน
2D Drafting
Current 3D Graphics
Display ใชตั วเลือกในแถบ
ร า ย ก า ร นี้ สํ า ห รั บ เ ลื อ ก
ไดรฟ เ วอร ควบคุ มการแสดง
ผลใน 3 มิติ เมือ่ เลือกไดรฟเวอร
แลวคลิกบนปุ ม Properties
จะปรากฏไดอะล็ อคแสดงตั ว
เลื อ กควบคุ ม การแสดงผลใน
โหมด 3 มิติ เพือ่ ใหเราสามารถ
ปรั บแต งประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
ของการดแสดงผลนั้น เมื่อเขา
ไปในไดอะล็อค 3D Graphic
รูปที่ 12.48 Sytem Configuration ควรคลิก
ใหปรากฏเครื่องหมาย หนา
เช็คบอกซ Render Options, Enable Light, Enable Materials, และ Enable Textures เพือ่ เพิ่มคุณภาพของภาพ 3 มิติ
ในการแสดงแสงจากดวงไฟและเทกซเจอรแม็ปใหปรากฏในโหมด Shade โดยที่ไมจําเปนตองใชคําสั่ง Render
Current Pointing Device ใชแถบรายการนี้สําหรับเลือกเมาสหรือดิจิไตเซอร โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให
Current System Pointing Device หากตองการใชดจิ ิไตเซอรตอ งติดตัง้ Wintab ไดรฟเวอรผา นระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว
เสียกอน จึงจะปรากฏชื่ อไดรฟเวอรบนแถบรายการนี้ เมื่ อเลื อกไดรฟเวอรแลว เราสามารถเลือกที่ จะใชเฉพาะ
ดิจิไตเซอร Digitizer only หรือใชทงั้ เมาสและดิจไิ ตเซอร Digitizer and mouse Layout Regen Options ใชตวั เลือก
กลุมนี้ควบคุมการคํานวณภาพใหมเมื่อมีการเปลีย่ นจาก Model tab ไปยัง Layout tab หรือจาก Layout หนึ่งไปยังอีก
Layout หนึ่ง Rengen when switching layouts ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนจาก Layout หนึ่งไปยัง Model หรืออีก
Layout หนึ่ง โปรแกรมจะคํานวณภาพใหม การทํางานในโหมดนี้จะชามาก เพราะจะมีการคํานวณภาพแบบแปลน
ใหมทุกครัง้ Cache model tab and last layout เก็บภาพแบบแปลนใน Model และ Layout สุดทายเขาไปไวใน
หนวยความจํา เพือ่ ไมตองมีการคํานวณ (Regen)ภาพใหม Cache model tab and all layouts เก็บภาพแบบแปลน
ใน Model และ Layout ทั้งหมดเขาไปไวในหนวยความจํา เพือ่ ไมตองมีการคํานวณ(Regen)ภาพใหม dbConnect
Options ใชตวั เลือกกลุม นี้ในการควบคุมการติดตอกับไฟลฐานขอมูล Store Links Index in Drawing File
บันทึกอินเดกซของฐานขอมูลไวภายในไฟลแบบแปลน Open tables in read-only mode กําหนดใหเปด
ไฟลฐานขอมูลออกมาใชงานในโหมดอานเทานั้น General Options ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับปรับคาตางๆ
ของตัวเลือกทัว่ ไป Single-drawing compatibility mode โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให เราสามารถเปดไฟล
หลายๆ ไฟลในคราวเดียว หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เราจะเปดไฟลไดเพียงไฟลเดียวเทานั้น
Display OLE properties dialog ควบคุมการปรากฏของไดอะล็อคแสดงคุณสมบัติของ OLE เมื่อสอดแทรก
OLE objects เขามาใชงาน Show all warning messages แสดงไดอะล็อคซึง่ มีตัวเลือกขอความเตือนวา “Don’t
Display this Warning Again” Beep on error in user input สงเสียงเตือนถาผูใชโปรแกรมปอนขอมูลผิดพลาด
Load acad.lsp with every drawing โหลดไฟล acad.lsp กับทุกๆ ไฟลแบบแปลน Allow long symbol
names หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราสามารถตั้งชื่อยาว 255 ตัวอักษรใหกบั วัตถุทุกประเภททีม่ ีชอื่
กํากับ อาทิ เชน Layer, Textstyle, Dimstyle, Block และอื่นๆ เปนตน Startup โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให Do

chap-12.PMD 372 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 373

not show a startup dialog เปนแถบรายการใชงาน ทําใหทกุ ครัง้ ทีเ่ ราเขาสู AutoCAD จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือก
Template file หากตองการใชไดอะล็อคของ AutoCAD 2000 ปรากฏเมื่อเขาสู AutoCAD เราสามารถเลือก Show
traditional startup dialog Live Enabler Options ใชตัวเลือกในโหมดนี้สําหรับกําหนดโหมดการตรวจสอบ
Object Enabler ผานอินเตอรเนต เราสามารถใชวัตถุที่ถูกปรับแตงถึงแมวาจะไมมีโปรแกรม ObjectARX ที่ใชสราง
วัตถุนนั้ Check Web for Live Enablers ควบคุมวา AutoCAD จะคนหา Object Enabler ในเวบไซตของ Autodesk
หรือไม เราสามารถระบุจํานวนครัง้ ในอิดทิ บอกซ Maximum number of unsuccessful checks เพือ่ พยายามทีจ่ ะ
ตรวจสอบผานอินเตอรเนต

รูปที่ 12.49
Windows Standard Behavior ใชตวั เลือกในกลุมนี้ สําหรับการใชคียบอรดและเมาส Shortcut menus in
drawing area ซึง่ การใชเมาสคลิกขวา จะปรากฏช็อทคัด(Shortcut)เมนู หากปลดเครือ่ งหมาย ออก การคลิกขวา
จะเทากับการปุม Q เราใชปุม Right-click Customization... ในการกําหนดรูปแบบในการใชเมาสขวา
เมื่อคลิกปุมนีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.50 เราสามารถกําหนดรูปแบบการคลิกขวาในสถานการณตางๆ กัน 4
แบบคื อ Turn on time-sensitive right-click หากคลิ กให ปรากฏ
เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราสามารถคลิกขวาอยางเร็ว ซึง่ จะเทากับ
การกดปุม Q แตถาเราคลิกขวาและหนวงเวลาเล็กนอย(ประมาณ 1/4
วินาที)กอนปลอยปุมขวา จะเทากับการเรียกเคอรเซอรเมนูออกมาใชงาน ซึ่ง
เปนวิธที สี่ ะดวกในการใชงานเปนอยางมาก Default Mode ถาไมมวี ตั ถุใดๆ
ถูกเลือก เมื่อคลิกขวา เราสามารถเลือกที่จะใช Repeat Last Command
เพื่อทําซ้ําคําสั่งหรือใช Shortcut Menu เพื่อเรียกเคอรเเซอรเมนู Edit
Mode ถามีวัตถุใดๆ ถูกเลือก เมือ่ คลิกขวา เราสามารถเลือกที่จะใช Repeat
Last Command เพื่อทําซ้ําคําสั่งหรือใช Shortcut Menu เพื่อเรียก
เคอรเซอรเมนู Command Mode ในระหวางกําลังใชคําสัง่ ใดๆ อยู เมือ่ คลิก รูปที่ 12.50
ขวา เราสามารถเลือกทีจ่ ะใชปมุ Q หรือใช Shortcut Menu: alway enabled เพือ่ เรียกเมนูบนเคอรเซอรเสมอ
หรือใช Shortcut Menu: enabled when command options are present เพือ่ ใหเมนูบนเคอรเซอรปรากฏ
เฉพาะเมื่ อบรรทั ดคําสั่ งปรากฏตั วเลื อก Insertion scale เมื่ อบล็ อคที่ สอดแทรกผ าน Insert4 Block ,
DesignCenter, Tool Palettes เขาไปในแบบแปลนใชงานไมไดถูกกําหนดหนวยวัดไวในคําสัง่ Format4Unit เรา
สามารถใชแถบรายการ Source content units ในการกําหนดหนวยวัดของบล็อคตนฉบับและใชแถบรายการ

chap-12.PMD 373 13/10/2549, 1:33


374

Target content units ในการกําหนดหนวยวัดของบล็อคปลายทาง ซึง่ เราสามารถใชในการแปลงหนวยของบล็อค


ที่สอดแทรกเขามาใชงานบนพื้นที่วาดภาพ Field ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดขอมูลฟลด หากปรากฏเครือ่ ง
2D Drafting
หมาย หนาเช็คบอกซ Display background of fields พื้นหลังของฟลดขอมูลตัวอักษรจะปรากฏเปนสีเทา
เราสามารถกําหนดใหฟล ดขอ มูลมีการอับเดทอัตโนมัติ โดยคลิกบนปุม Field Update Settings เมือ่ มีการเปด
ไฟล(Open) บันทึก(Save) พิมพ(Plot) สงเมล (eTransmit) รีเจน(Ren)
โดยคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซทตี่ อ งการใหมีการ
อับเดทดังรูปที่ 12.51 เมือ่ คลิกบนปุม Hidden Line Settings บน
ไดอะล็ อคดั งรู ปที่ 12.49 จะปรากฏไดอะล็ อคดั งรูปที่ 12.52 ใช
สําหรับควบคุมการแสดงผล ของวัตถุ 3 มิติ ซึง่ จะมีผลก็ตอ เมือ่ ใชคําสัง่
View4 Hide เลื อกรู ปแบบเส นประและเลื อกสี ในแถบรายการ
Linetype และ Color ในฟลด Obscured lines หากตองการให รูปที่ 12.51
ปรากฏเสนตัดกันระหวางโซลิดที่ไมได Union และมีสที ี่กําหนด เราสามารถคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หนา
เช็คบอกซ Display intersections และเลือกสีของเสนทีถ่ กู บังในแถบรายการ Color (ในกรณีที่เลือกเสนประ)
ในฟลด Face intersections ที่ตองการใหปรากฏ
แทนเสนที่ถกู บัง เราใช Halo gap percentage เพือ่
ทําใหเกิดชองวางระหวางโซลิดที่ถกู บัง หากตองการ
ให โปรแกรมคํานวณการซ อนเส นแบบปกติ เลื อก
Low (Single precision) หากตองการคํานวณการ
ซ อนเส นด วยความละเอี ยดสู ง ให เลื อกปุ มเรดิ โอ
High (Double precision) เราสามารถรวมตั ว
อักษรเขาไปในโหมดการซอนเสนดวยคําสั่ง HIDE
รูปที่ 12.52
ไดใน Include text in HIDE operations เมื่อ
คลิกบนปุม Lineweight Settings บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.49 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 5.17 ซึ่งใชสําหรับ
กําหนดคาเริ่มตนตางๆ ในการใชงานความหนาเสน (Lineweight) อาทิ เชน การเลือกหนวยวัดของความหนาเสน
การควบคุมสเกล ความหนาเสนที่ตองการใหปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ เปนตน (ดูรายละเอียดของตัวเลือกตางๆ บน
ไดอะล็อครูปที่ 5.17 ของคําสั่ง LWEIGHT) Priority for Coordinate Data Entry ควบคุมวิธีการที่ AutoCAD
ตอบสนองกับการป อนขอมูลคอรออร ดิเนท Running object snap รับค าจากออฟเจกทสแนปกอนป อนคา
คอรออรดิเนท Keyboard entry รับคาการปอนคาคอรออรดเิ นทและ ขามโหมดออโตสแนป Keyboard entry
except scripts รับคาจากการปอนคาคอรออรดเิ นทกอนโหมดออโตสแนป ยกเวนในสคริปท(Scripts) หากปรากฏ
เครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Make new dimensions associative เสนบอกขนาดทุกประเภททีถ่ กู สรางขึน้ ใหม
จะสัมพันธกับวัตถุที่ถกู ใหขนาด นัน่ หมายถึงหากมีการแกไขเปลีย่ นแปลงวัตถุ เสนบอกขนาดก็จะเปลี่ยนแปลงตาม
ไปดวยโดยอัตโนมัติ ดังนั้น กอนการเขียนเสนบอกขนาด เราควรที่จะตรวจสอบใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย
หนาเช็คบอกซน้ี Hyperlink ใชเช็คบอกซ Display hyperlink cursor, tooltip, and shortcut menu สําหรับ
แสดงเคอรเซอรไฮเปอรลงิ ค แสดงทูลทิพ และแสดงช็อทคัทเมนู หากปรากฏเครือ่ ง
หมาย หนาเช็คบอกซ Combine zoom and pan commands เราสามารถใชคําสัง่ Undo หรือ Redo เพียงครัง้ เดียว
เพื่อยอนกลับหรือทําซ้ํากลุมคําสัง่ Zoom และ Pan ทีใ่ ชงานติดตอกันภายในครั้งเดียว เมือ่ คลิกบนปุม Edit Scale
List บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.49 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 5.19 (ซาย) ซึง่ ใชสําหรับสรางและแกไขมาตราสวน
หรือสเกลมาตรฐาน เพื่อนําไปกําหนดใหกับวิวพอรทในเลเอาท ซึ่งจะเปนตัวกลางในการกําหนดมาตราสวนระหวาง
ชิ้นงานในโมเดลสเปสกับกระดาษในเลเอาทเปเปอรสเปส

chap-12.PMD 374 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 375

AutoSnap Settings ใช


ตัวเลือกในกลุมนี้ในการกําหนด
รู ป แ บ บ ข อ ง อ อ โ ต ส แ น ป
Marker ถ ามี เครื่ องหมาย
จะปรากฏมาร คเกอร ในโหมด
ตางๆ อาทิ เชน
บนตําแหนง
ตางๆ ของวัตถุ Magnet ถ ามี
เครื่ องหมาย หากเลื่ อน
เคอร เซอร เ ข าใกล จุ ดใดๆ ของ
ออโต ส แน ป จะเกิ ด แรงดึ ง ดู ด
เคอร เซอร เข าไปยั งจุ ดนั้ น
รูปที่ 12.53
Display AutoSnap tooltip
แสดงโหมดของออโตสแนปบน
เคอรเซอร Display AutoSnap aperture box แสดงกรอบสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งแสดงโหมดของออฟเจกทสแนป
(นิยมใชใน AutoCAD รีลสี เกาๆ ตัง้ แตรลี สี 13 ลงไป) AutoSnap marker color ใชแถบรายการนีใ้ นการปรับสีของ
มารคเกอรของ Object snap AutoSnap Marker Size ใชสไลเดอรนี้ ในการปรับขนาดของมารคเกอรของ Object
snap หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Ignore hatch objects ออฟเจกทสแนปจะไมสามารถใชงานกับ
ลวดลายแฮทช หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Replace Z value with current elevation ออฟเจกท
สแนปมารคเกอรจะปรากฏบนระนาบ XY 2 มิติของจุด 3 มิติบนระนาบ UCS ใชงาน AutoTrack Settings
ใชตัวเลือกในกลุมนี้ควบคุมการใชงานออโตแทร็ค Display polar tracking vector ใชสําหรับเปด/ปดโหมด
โพลารแทร็คกิง้ Display full-screen tracking vector หากปรากฏเครื่องหมาย จะปรากฏแทร็คกิ้งเวคเตอร
จุดไขปลาเต็มพืน้ ที่วาดภาพ หากไมปรากฏเครื่องหมาย จะปรากฏแทร็คกิง้ เวคเตอรจุดไขปลาถึงตําแหนงปลาย
เคอรเซอรเทานัน้ Display AutoTrack tooltip ใชสําหรับแสดงทูลทิพ(คําแนะนํา)บนเคอรเซอรเพื่อรายงานให
ทราบระยะทางและมุม Alignment Point Acquisition ใชตวั เลือกนีใ้ นการควบคุมการ
จัดวางตําแหนงเวคเตอร เมือ่ ปุมเรดิโอ Automatic ถูกเลือกจะปรากฏแทร็คกิ้งเวคเตอร(Tracking Vector) เมือ่ เรา
เลื่อนเคอรเซอรไปบนมารคเกอรของออฟเจกทสแนปโดยอัตโนมัติ เราเลือกปุมเรดิโอ Shift to Acquire เพื่อ
ตองการใหปรากฏแทร็คกิง้ เวคเตอร เมือ่ เลือ่ นเคอรเซอรไปบนมารคเกอรของออฟเจกทสแนป แลวกดปุม S จึงจะ
ปรากฏแทร็ คกิ้ ง เวคเตอร Aperture Size ใช ส ไลเดอร นี้
สําหรับปรับขนาดของเคอรเซอรออฟเจกทสแนป เราใชสไลเดอรนี้
รวมกับเช็คบอกซ Display AutoSnap aperture box เมือ่ คลิก
บนปุม Settings ในฟลด Drafting Tooltip Appearance
บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.53 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.54 คลิก
บนปุม Model Color เพือ่ กําหนดสีใหทลู ทิพของไดนามิกอินพุท
ที่ปรากฏในโมเดลสเปส คลิกบนปุม Layout color เพื่อกําหนดสี
ให ทู ลทิ พของไดนามิ กอิ น พุ ทที่ ปรากฏในเลเอาท เปเปอร สเปส
กําหนดขนาดใหทลู ทิพของไดนามิกอินพุท โดยใชอดิ ิทบอกซหรือ
สไลเดอร Size กําหนดความโปรงใสใหทลู ทิพของไดนามิกอินพุท
โดยใชอดิ ิทบอกซหรือสไลเดอร Transparency เราใชปมุ เรดิโอ
ในฟลด Apply to สําหรั บกําหนดให คาต างๆ ที่ ปรั บแต งบน รูปที่ 12.54

chap-12.PMD 375 13/10/2549, 1:33


376

ไดอะล็อค หากเลือกปุมเรดิโอ Override OS settings for all drafting tooltips คาตางๆ บนไดอะล็อคจะมีผล
ตอทูลทิพสําหรับการเขียนแบบทั้งหมด หากเลือกปุมเรดิโอ Use settings only for Dynamic input tooltips
คาตางๆ บนไดอะล็อคจะมีผลตอทูลทิพสําหรับไดนามิกอินพุทเทานั้น 2D Drafting
Pickbox Size ใชสไลเดอรนี้
สํ า หรั บ ปรั บ ขนาดเคอร เ ซอร
สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ซึง่ จะปรากฏพรอม
ข อ ความ Select objects:
Selection Preview ใชตวั เลือก
ในกลุมนี้สําหรับกําหนดรูปแบบ
การดู ตั วอย างวั ตถุ ที่ จะถู กเลื อก
เมื่ อ เลื่ อ นเคอร เซอร ไปวางบน
วัตถุ หากปรากฏเครื่องหมาย
บนเช็ คบอกซ When a
command is active ในขณะที่
เรียกคําสัง่ ใดๆ ออกมาใชงาน เมือ่
เลื่ อนเคอร เซอร ไปบนวั ตถุ จะ
รูปที่ 12.55 ปรากฏไฮไลทบนวัตถุนั้น หาก
ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ When no command is active ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมไดมคี ําสัง่ ใด
กําลังใชงาน เมือ่ เลือ่ นเคอรเซอรไปบนวัตถุ จะปรากฏไฮไลทบนวัตถุนั้น หากคลิกบนปุม Visual Effect Settings
บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.55 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.56 Selection Preview Effect ใชตวั เลือกในกลุม นี้
สํ าหรั บ กํ าหนดรู ป แบบการ
แสดงผลของวั ตถุ ที่ จะถู ก
เลือก เมื่ อเลื่อนเคอรเซอรไป
บนวั ต ถุ นั้ น หากเลื อ กปุ ม
เรดิ โอ Dash วั ต ถุ ที่ จ ะถู ก
เลื อ กจะปรากฏเป นเส นประ
หากเลือกปุมเรดิโอ Thicken
วั ตถุ ที่ จะถู กเลื อกจะปรากฏ
เปนเสนหนาทึบ หากเลือกปุม
รูปที่ 12.56
เรดิโอ Both วัตถุทจี่ ะถูกเลือก
จะปรากฏเปนเสนประและเสนหนาทึบ หากคลิกบนปุม Advanced Options จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.57
เราสามารถกรองวัตถุทไี่ มตองการใหมผี ลในโหมดการแสดงตัวอยางของวัตถุที่จะถูกเลือกเปนเสนประหรือเสนทึบ
โดยที่ โปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏเครื่ อ งหมาย บนเช็ คบอกซ
Exclude objects on locked layers ซึ่งจะทําใหวัตถุที่อยูเลเยอรที่ถกู ล็อค
ไมมผี ลตอโหมดแสดงตัวอยางของวัตถุทจี่ ะถูกเลือก นอกจากนีใ้ นฟลด Exclude
หากปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซของวัตถุใด วัตถุนนั้ จะถูกกรองออกไป
จากโหมดการโหมดการแสดงตัวอยางของวัตถุที่จะถูกเลือกเปนเสนประหรือ
เสนทึบ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ
Xrefs และ Tables ดังนัน้ เอกซเรฟและตารางจะไมมีผลตอโหมดการแสดง
รูปที่ 12.57 ตัวอยางของวัตถุ สวน Groups, Multiline Text และ Hatches จะมีผลตอ

chap-12.PMD 376 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 377

โหมดการแสดงตัวอยางของวัตถุ Selection Modes ใชตวั เลือกในกลุม นี้สําหรับกําหนดวิธกี ารเลือกวัตถุ หากมี


เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Noun/Verb Selection เราสามารถเลือกวัตถุไวกอนลวงหนาใหปรากฏจุดกริป๊ ส
เมื่อเราเรียกคําสั่งใดๆ ที่ปรากฏขอความ Select objects: คําสั่งนั้นจะนํากลุมวัตถุทถี่ ูกเลือกไปใชงานโดยอัตโนมัติ
โดยที่เราไมจําเปนตองเลือกวัตถุในคําสั่งนั้นซ้ําอีก Use Shift to Add หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้
เมื่ อเลือกวัตถุชิ้นหนึ่งแลว หากเลือกวัตถุชิ้นตอไปอีก วัตถุชิ้นที่ ถูกเลือกกอนจะถูกยกเลิกออกจากกลุมการเลือก
หากตองการเพิม่ เติมวัตถุใหมเขาไปในกลุม การเลือก เราจะตองกดปุม S บนคียบ อรดคางไว แลวคลิกลงบนวัตถุที่
ตองการเลือกเพิม่ เขาไปในกลุม Press and Drag หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราจะตองคลิกและลาก
เพือ่ กําหนดกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราว ใชในการเลือกวัตถุแบบ Window หรือ Crossing โดยทีไ่ มตอ งเสียเวลาพิมพตวั เลือก
W หรือตัวเลือก C Implied Windowing หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี ถาเลือกวัตถุโดยใชเมาสคลิก
เพือ่ กําหนดกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวลอมรอบวัตถุทตี่ องการเลือก โดยไมตอ งพิมพ W หรือ C ถากําหนดจุดแรกอยูท าง
ซายมือ การเลือกจะเปนแบบ Window ถากําหนดจุดแรกอยูทางขวามือ การเลือกจะเปนแบบ Crossing Object
Grouping หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี ถามีการนําเอาวัตถุตางๆ เขามารวมกลุม ดวยคําสัง่ GROUP เมื่อ
ใชเมาสคลิกบนวัตถุชิ้นใดชิ้นหนึง่ ที่อยูภายในกลุมวัตถุช้นิ อืน่ ๆ ที่อยูใ นกลุมเดียวกันจะถูกเลือกดวย Associative
Hatch หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เมื่อเราเลือกลวดลายแฮทชหรือสีไลระดับ ขอบเขต Boundary
ของแฮทชซงึ่ ถูกกําหนดใหอยูใ นโหมด Associative จะถูกเลือกเขาในกลุม ดวย Grip Size ใชสไลเดอรนสี้ ําหรับปรับ
ขนาดจุดกริป๊ สหรือจุดสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เล็กๆ ซึง่ จะปรากฏบนวัตถุทถี่ กู เลือก Grips ใชตวั เลือกในกลุม นีใ้ นการกําหนด
รูปแบบและสีของจุดกริ๊ปส Unselected grip color คลิกบนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกสีของจุดกริ๊ปสที่ไมไดถูก
เมาสคลิก เราสามารถเลือกสีของกริป๊ สไดตามตองการ สีทโี่ ปรแกรมกําหนดมาใหคือสีนํา้ เงิน Selected grip color
คลิกบนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกสีของกริป๊ สที่ถกู เมาสคลิก สีที่โปรแกรมกําหนดมาใหคือสีแดง Hover grip color
คลิกบนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกสีของกริ๊ปสทเี่ ลื่อนเคอรเซอรไปวาง Enable grips ใชสําหรับเปด/ปดโหมดการ
ใชกริป๊ ส หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี กริป๊ สจะอยูใ นสถานะเปด Enable grips within blocks
หากปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซน้ี จะทําใหปรากฏจุดกริป๊ สบนวัตถุทกุ ๆ ชิน้ ทีเ่ ปนสวนประกอบของบล็อค
(โดยปกติ บล็อคจะแสดงจุดกริป๊ สตรงจุดสอดแทรกเทานัน้ ) เราสามารถกําหนดจํานวนของวัตถุทถี่ ูกเลือก เพือ่ แสดง
จุดกริป๊ สหรือไมแสดง โดยปอนจํานวนวัตถุเขาไปในอิดิทบอกซ Object selection limit for display of grips
หากเลือกวัตถุเกินกวาจํานวนที่กําหนดจะไมปรากฏจุดกริ๊ปสบนวัตถุที่ถูกเลือกทั้งหมด
เราใช แ ถบคํ าสั่ ง Profiles
สําหรั บ สร างโปรไฟล ซึ่ ง เก็ บ
บั น ทึ กค าเริ่ มต น ต างๆ บน
ไดอะล็อค Options สําหรับผูใ ช
โปรแกรมแตละๆ คนในเครื่อง
คอมพิ วเตอร ที่ มี ผู ใชหลายคน
ผูใ ช AutoCAD แตละคนอาจจะ
ชอบการปรั บ แต ง ค าเริ่ ม ต นที่
แตกตางกัน ถาปราศจากการใช
Profiles หากมีผใู ชคนใดคนหนึง่
ทําการปรั บแต งค าเริ่ มต นของ
AutoCAD ไปแลวและเราตอง
การเปลี่ ยนไปยั ง จอภาพของ
AutoCAD ที่เราชอบ เราจะตอง
รูปที่ 12.58 เสียเวลาปรับแตงคาเริ่มตนของ
AutoCAD ใหมทงั้ หมด ถาแตละ
คนใชโปรไฟลของตนเอง หาก

chap-12.PMD 377 13/10/2549, 1:33


378

ผูใ ชโปรแกรมคนใดปรับแตงคาเริม่ ตนของ AutoCAD จะไมมีผลการเปลีย่ นแปลงกับคาเริม่ ตนของผูอ นื่ ตัวอยาง เชน
ผูใช AutoCAD คนหนึ่งอาจจะชอบพื้นที่วาดภาพสีขาว มีสครอลบารยึดติดกับขอบพื้ นที่วาดภาพ มีขนาดของ
ครอสแฮร 100 เปอรเซนต ผูใชโปรแกรมอีกคนหนึง่ อาจจะตองการพื้นทีว่ าดภาพสีดาํ ไมมสี ครอลบารยึดติดกับขอบ
2D Drafting
พื้ นที่ วาดภาพ มีขนาดของครอสแฮร 5 เปอรเซนต หากมีการสรางโปรไฟลของแตละคนไวแลว ผูใชแตละคน
จะสามารถเรียกจอภาพของตนเองออกมาใชงานในทันทีที่ตองการ โดยไมตองผานขั้นตอนการปรับแตงคาเริ่มตน
ตางๆ อีก

Note ใน AutoCAD 2006 เราใช Profiles ในการควบคุมคาเริม่ ตนตางๆ รวมทัง้ สีของพื้นทีว่ าดภาพ แตไมได
ควบคุมจํานวนบรรทัดปอนคําสัง่ Command: เหมือนในรีลีสกอนๆ เราใช Workspaces ในการบันทึก
ตําแหนงและจํานวนบรรทัดปอนคําสั่ง และยังควบคุมตําแหนงของทูลบาร หนาตาง DesignCenter,
Properties, Tool Palettes และหนาตางๆ อื่นอีกดวย

Note ในเครือ่ งคอมพิวเตอรที่มีการสรางชื่อ User name หรือ Log in name ของผูใ ชโปรแกรมแตละคนแยก
อิสระตอกัน จะทําใหไฟลตา งๆ ของ AutoCAD ทีผ่ ใู ชโปรแกรมสามารถปรับแตงได แยกกันอยูคนละ
โฟลเดอร ดังนัน้ หาก ผูใ ชโปรแกรมคนหนึง่ ปรับแตง AutoCAD จะไมมผี ลตอผูใ ชโปรแกรมอีกคนหนึง่
ถึงแมวาจะมีการแยกโฟลเดอรและไฟลของ AutoCAD สําหรับผูใชโปรแกรมแตละคนแลว เรายัง
สามารถใชประโยชนจาก Profiles ในการกําหนดคาเริม่ ตนตางๆ ใหเหมาะสมบกับงานเขียนแบบแตละ
ประเภทได

Current profile แสดงชือ่ โปรไฟลใชงาน Set Current กําหนดใหชื่อโปรไฟลทถี่ ูกเลือกเปนโปรไฟลใชงาน


Add to List... คลิกบนปุมนี้เพื่อสรางโปรไฟลของผูใชโปรแกรมคนใหม โดยคัดลอกคาเริ่มตนตางๆ จากชื่อ
โปรไฟลที่ถกู เลือก แลวคลิกบนปุม นี้ จะปรากฏไดอะล็อค Add Profile ขึน้ มา ใหพมิ พชอื่ โปรไฟลใหมในอิดทิ บอกซ
Profile Name โดยจะพิมพรายละเอียดใน Description หรือไมก็ได Rename เปลีย่ นชือ่ และรายละเอียดของโปรไฟล
ของผูใ ชโปรแกรมที่ถกู เลือก Delete ลบชือ่ โปรไฟลทถี่ กู เลือกออกจากไดอะล็อค Export ใชปมุ นีใ้ นกรณีทตี่ อ งการ
คัดลอกโปรไฟลคาเริม่ ตนตางๆ ของผูใ ชโปรแกรม AutoCAD จากเครือ่ งหนึง่ ไปใชงานในคอมพิวเตอรอกี เครือ่ งหนึง่
โดยบันทึกโปรไฟลลงดิสคในฟอรแมต .arg Import ใชปุมนี้ในกรณีที่ ตองการนําโปรไฟลของผูใชโปรแกรม
AutoCAD จากเครือ่ งอืน่ เขามาใชงาน โดยเลือกไฟลจากดิสคฟอรแมต .arg Reset ใชปมุ นี้ เพือ่ เรียกคืนการปรับแตงคา
เริม่ ตนตางๆ กลับมาเปนมาตรฐานตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ซึง่ จะไดคาเริ่มตนตางๆ ของ AutoCAD เหมือนกับ
ครั้งแรกที่เขาสู AutoCAD เหมือนการติดตัง้ โปรแกรมเสร็จสิน้ ใหมๆ นัน่ เอง

12.58 Modify4Match Properties | MATCHPROP | MA |


ใชคําสั่งนี้สําหรับคัดลอกคุณสมบัติ อาทิ เชน สี เลเยอร รูปแบบเสน สเกลแฟคเตอรของเสนประ ความหนาเสน
(Lineweight) ความหนาใน 3 มิต(ิ Thickness) รูปแบบการพิมพ(Plot style) สไตลเสนบอกขนาด สไตลตวั อักษรและ
ลวดลายแฮทชจากวัตถุชนิ้ หนึง่ ไปใหวัตถุอกี ชิน้ หนึง่ หรือหลายๆ ชิน้

Source object Destination object Destination object


กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.59 หลังใชคําสั่ง

chap-12.PMD 378 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 379

Command: '_matchprop {จากรูปที่ 12.59 (ซาย) และ (กลาง)}


Select source object: {คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1 เพือ
่ ใชเปนตนแบบของคุณสมบัต}ิ
Current active settings: Color Layer Ltype Ltscale Lineweight Thickness
PlotStyle Text Dim Hatch {รายงานคุณสมบัตทิ งั้ หมดทีส่ ามารถถายทอดใหกบั วัตถุอนื่ ได}
Select destination object(s) or [Settings]: {คลิกบนวัตถุปลายทางจุดที่ 2, 3, 4 และ 5
เพือ่ กําหนดคุณสมบัตใิ หม}
Select destination object(s) or [Settings]: {คลิกขวาหรือQจะปรากฏดังรูปที่ 12.59 (ขวา)}

หากตองการจํากัดคุณสมบัติบางประการที่สามารถถาย
ทอดได เมื่อปรากฏบรรทัด Select destination object(s)
or [Settings]: ใหพมิ พ S จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
12.60 คลิกบนเช็คบอกซ เพื่อยกเลิกคุณสมบัตทิ ี่ไมตอง
การใหถายทอดไปยังวัตถุอนื่ หากปรากฏเครื่องหมาย
บนเช็คบอกซทงั้ หมด นั่นหมายถึงคุณสมบัติทงั้ หมดจาก
วั ตถุต นทาง(Source object)จะถู กถ ายทอดไปยั งวัตถุ
ปลายทาง(Destination object) ถาไมปรากฏเครื่องหมาย
หนาเช็คบอกซใด คุณสมบัตนิ ั้นจะไมถูกถายทอด
รูปที่ 12.60

12.59 AI_MOLC |
ใชสําหรับกําหนดเลเยอรใชงาน โดยใชเลเยอรของวัตถุทถี่ กู เลือกเปนเลเยอรใชงาน(Current layer)

กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.61 หลังใชคําสั่ง

Command: _ai_molc {จากรูปที่ 12.61 (ซาย)}


Select object whose layer will become current: {คลิกบนวัตถุทอี่ ยูใ นเลเยอรทตี่ อ งการ เปลีย่ น
เปนเลเยอรใชงาน ในทีน่ คี้ ลิกตรงจุดที่ 1}
Center is now the current layer. {เลเยอร Center จะเปลีย่ นเปนเลเยอรใชงานแทนเลเยอร 0}

12.60 GROUP | G
ใชคําสั่งนี้สําหรับสรางกลุม(Group)ของวัตถุ เพื่อรวมวัตถุหลายๆ ชิ้นเขาดวยกันเสมือนเปนวัตถุชิ้นเดียว เมื่อวัตถุ
ประเภทเดียวกันถูกรวมเขากลุม แลว จะทําใหเกิดความสะดวกในการเลือกวัตถุ ในการสรางกลุม ของวัตถุจะมีการตัง้ ชือ่

chap-12.PMD 379 13/10/2549, 1:33


380

กลุมและสามารถกําหนดสถานะของการเลือกใหกบั วัตถุทอี่ ยูในกลุมวัตถุที่ถกู รวมเขากลุม (Group)ยังคงเปนวัตถุ


ทีม่ สี ภาพเดิม ซึง่ แตกตางจากบล็อค เนือ่ งจากเราจะไมสามารถแกไขปรับแตงวัตถุทถี่ กู แปลงเปนบล็อค แตเราสามารถ
ทีจ่ ะแกไขวัตถุทถี่ กู รวมกลุม ได 2D Drafting
การรวมกลุม ของวัตถุหลายชิน้ เขาดวยกัน จะไมทาํ ใหขนาดของไฟลเล็กลงแตอยางใด ซึง่ ตรงกันขามกับบล็อคซึง่ ทําให
ไฟลมขี นาดเล็กลง อยางไรก็ตาม ประโยชนของการรวมกลุม ก็คอื เราสามารถแกไขปรับแตงเคลือ่ นยายวัตถุแตละชิน้ ที่
อยูใ นกลุม ไดโดยทีไ่ มตอ งมีการระเบิดกลุม นัน้ ใหเปนวัตถุธรรมดาเสียกอนและชวยใหการเลือกวัตถุจากกลุม ไดโดยงาย
เมือ่ พิมพคําสัง่ นีผ้ า นคียบ อรดจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.62
Group Name แสดงรายชื่อกลุมของวัตถุ Selectable แสดง
สถานะการเลือกวัตถุภายในกลุม Yes หมายถึงสามารถเลือก
วัตถุทั้ งหมดในคราวเดียว No หมายถึงสามารถเลือกวัตถุได
คราวละชิน้ Group Identification ใชตวั เลือกกลุม นีส้ ําหรับ
กําหนดชื่อและรายละเอียดตางๆ ของกลุม วัตถุ Group Name
แสดงชือ่ กลุม วัตถุใชงานหรือใชสําหรับตัง้ ชือ่ กลุม ใหม ชือ่ กลุม
สามารถใชตวั เลขหรือตัวอักษรหรือทัง้ สองอยางรวมกันไมเกิน
31 ตัวอักษรและสามารถใชเครื่องหมายพิเศษ - _ และ $ ได
Description กําหนดขอความรายละเอียดของกลุม วัตถุไมเกิน
64 ตัวอักษร Find Name < ในกรณีที่เราไมทราบวาวัตถุทอี่ ยู
รูปที่ 12.62 บนพื้ นที่ วาดภาพถูกกําหนดอยู ในกลุ มใด คลิกบนปุ ม Find
Name < และคลิกบนวัตถุบนพืน้ ที่วาดภาพจะปรากฏไดอะล็อคแสดงชื่อกลุม วัตถุนนั้ Highlight < ในกรณีที่เราไม
ทราบวากลุมวัตถุบนไดอะล็อคมีวัตถุใดรวมอยูในกลุมบาง ใหคลิกบนชื่อกลุมวัตถุบนไดอะล็อค แลวคลิกบนปุม
Highlight < วัตถุที่อยูใ นกลุมนัน้ จะกลายเปนเสนประ Include Unnamed แสดงรายชือ่ กลุมทีไ่ มไดถูกตัง้ ชื่อซึง่ มี
ชื่อขึน้ ตนดวย *A1, *A2, *A3, ... ใหปรากฏบนไดอะล็อค Create Group ใชตวั เลือกในกลุมนี้สําหรับสรางกลุม
ของวัตถุ New ใชสําหรับสรางกลุม วัตถุใหม Selectable เมือ่ มีเครือ่ งหมาย จะทําใหกลุม วัตถุทสี่ รางใหมมสี ถานะที่
สามารถเลือกวัตถุทงั้ หมดในกลุม ไดในคราวเดียว Unnamed เมือ่ มีเครือ่ งหมาย โปรแกรมจะตัง้ ชือ่ กลุม วัตถุใหโดย
อัตโนมัติ โดยใชเครื่องหมาย *A และตามดวยตัวเลขตามลําดับ Change Group ใชตวั เลือกในกลุม นี้สําหรับปรับ
แตงแกไขวัตถุภายในกลุม Remove ใชปุมนี้สําหรับเลือกวัตถุออกจากกลุม Add ใชปุมนี้สําหรับเพิ่มวัตถุเขาไป
ในกลุม Rename ใชสําหรับเปลีย่ นชื่อกลุมของวัตถุทถี่ ูกเลือก Re-order ใชสําหรับเรียงลําดับกอนหลังตามตัวเลข
ของวัตถุที่อยูในกลุมที่ถูกเลือก เมื่อคลิกบนปุมนี้จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเรียงลําดับวัตถุขึ้นมาบนจอภาพ โดย
ปกติวัตถุจะถูกเรียงตามลําดับที่ถกู เลือกเขากลุม Description ใชสําหรับแกไขปรับปรุงคําอธิบายของกลุม วัตถุทถี่ ูก
เลือก Explode ใชสําหรับระเบิดกลุมวัตถุที่ถูกเลือกออกจากไดอะล็อค แตวัตถุตางๆ ที่อยูใ นกลุมจะคงอยูบนพืน้ ที่
วาดภาพไมถูกลบตามชื่อกลุมไปดวย Selectable หากมีสถานะ Yes แลวเลือกวัตถุใดๆ วัตถุอื่นที่อยูในกลุมจะ
ถูกเลือกดวย หากมีสถานะ No แลวเลือกวัตถุใดๆ วัตถุอนื่ ที่อยูใ นกลุมจะไมถูกเลือกดวย

Note เมื่อมีการกําหนดวัตถุตางๆ เขาไปไวในกลุมเดียวกันแลว เมื่อใชคําสั่งใดๆ ของ AutoCAD ที่ปรากฏ


ขอความ Select object บนบรรทัดปอนคําสัง่ เราสามารถใชตวั เลือก G จะปรากฏขอความ Enter group
name: ใหพิมพช่อื กลุมของวัตถุที่ตอ งการเลือกหรืออาจใชเมาสคลิกบนวัตถุใดๆ ทีอ่ ยูภายในกลุมวัตถุ
อื่นๆ ทั้งหมดที่อยูภายในกลุมเดียวกันจะถูกเลือกไปดวย อนึ่ง การใชตัวเลือก G หรือใชเมาสคลิกใน
ลักษณะทีก่ ลาวมานีต้ วั เลือก Selectable ของกลุม ตองมีสถานะ Yes จึงจะสามารถเลือกวัตถุทอี่ ยูภ ายใน
กลุม ทัง้ หมดได

chap-12.PMD 380 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 381

Note หากมีความจําเปนตองรวมวัตถุตางๆ เขาเปนวัตถุเดียวและคัดลอกกลุมวัตถุนั้นไปยังตําแหนงตางๆ


ในแบบแปลน เรานิยมใชการใช Block มากกวาการใช Group เนือ่ งจาก Block สามารถชวยทําใหไฟล
แบบแปลนมีขนาดเล็กมาก แต Group ก็เหมือนกับการคัดลอกวัตถุธรรมดา ไฟลจะขนาดใหญตามจํานวน
ของวัตถุทถี่ กู คัดลอก

12.61 LTSCALE | LTS


ใชกําหนดคาสเกลแฟคเตอรรวม(Global Linetype scale)ใหกบั เสนประทุกๆ เสนในไฟลแบบแปลนใชงาน

Scale factor = 1 รูปที่ 12.63 Scale factor = 0.5 Scale factor = 2

Command: LTSCALE
New scale factor <1.0000>: {กําหนดคาสเกลแฟคเตอรของเสนประทีต่ อ งการ}

Note นอกจากควบคุ มสเกลรวม(Global Linetype scale)ของเส นประทุกเส นแลว เรายังสามารถปรับ


สเกลยอย(Local linetype scale) ใหกับเสนประแตละเสนได โดยใชคําสั่ง Modify4Properties
แลวคลิกบนเสนประทีต่ อ งการปรับสเกล แลวปอนคาสเกลแฟคเตอรเขาไปในอิดทิ บอกซ Linetype Scale

Note คําสั่ง LTSCALE จะไมมผี ลตอเสนเต็ม(Continuous) แตจะมีผลตอเสนประแบบตางๆ เทานั้น

12.62 Draw4Point4Divide | DIVIDE | DIV |


ใชสําหรับแบงเสนตรงหรือเสนโคงออกเปนสวนๆ เทาๆ กัน เมือ่ ใชคําสัง่ นีโ้ ปรแกรมจะเขียนจุด(Points)ซึง่ มีระยะหาง
ระหวางจุดเทาๆ กันบนเสนตรงหรือเสนโคงทีน่ ํามาแบงดังรูปที่ 12.64
Point Style =
Point size = 2%

แบงเสนออกเปน 10
กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.64 หลังใชคําสั่ง หลังใชคําสั่ง
สวนเทาๆ กัน

chap-12.PMD 381 13/10/2549, 1:33


382

Command: _divide {จากรูปที่ 12.64 (ซาย)}


{คลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงทีต่ อ งการแบงออกเปนสวนๆ เทากัน}
Select object to divide:
Enter the number of segments or [Block]: {พิมพจํานวนเซกเมนตของเสนทีต 2D Drafting ่ อ งการแบงออก
เปนสวนๆ เทาๆ กันหรือพิมพ B เพือ่ เลือกใชบล็อคในการแบงเสน ในทีน่ พี้ มิ พ 10 แลวกดปุม Q
จะปรากฏดังรูปที่ 12.64 (กลาง) สังเกตุวา แทบจะไมมอี ะไรเปลีย่ นแปลง}

Note เมือ่ แบงเสนดวยคําสัง่ DIVIDE แลวเราจะไมเห็นความเปลี่ยนแปลงใดๆ เนือ่ งจากโปรแแกรมจะสราง


จุด(Points)ซึ่งมีขนาดเล็กมากบนเสนที่ถกู เลือกโดยมีระยะหางเทาๆ กัน เนือ่ งจากจุดตางๆ ที่ถูกสราง
ขึ้นมานั้นมีขนาดเล็กมากและถูกเสนที่เราเลือกทับอยู เราจึงไมสามารถมองเห็นจุดแบงเสนได หาก
ตองการมองเห็นจุดทีถ่ กู สรางขึน้ มา เราสามารถกําหนดขนาดของจุดใหมขี นาดใหญกวาเดิม ซึง่ จะมอง
เห็นไดชัดเจนหลังจากที่แบงเสนแลว โดยใชคําสั่ง Format4Point Style จากเมนูบารซึ่งจะปรากฏ
ไดอะล็อคขึ้นมา เราสามารถเลือกรูปแบบและขนาดของจุด(Point Size)ได

Note อันทีจ่ ริง คําสัง่ DIVIDE นีไ้ มไดแบงแยกเสนออกเปนหลายๆ สวนจริงๆ คําสัง่ นีเ้ พียงแตจะสรางจุดขึน้ มาตรง
จุดตางๆ ทีแ่ บงเสนเทานัน้ เสนทีถ่ กู แบงยังเปนวัตถุเดิมและมีความยาวเทาเดิมไมไดมกี ารเปลีย่ นแปลง

12.62.1 ขัน้ ตอนการใชบล็อคแบงเสน


จากรูปที1่ 2.65 (ซาย) หากตองการสรางตาราง โดยแบงเสนตรงในแนวตัง้ เสนใดเสนหนึง่ ออกเปน 5 สวนเทาๆ กันดังรูปที่
12.66 สิง่ แรกทีเ่ ราตองทําก็คอื เลือกเสนทีจ่ ะใชในการแบงออกเปน 5 สวนเทาๆ กัน เราสามารถใชเสนหมายเลข 1 หรือ
2 เปนเสนที่ถกู แบง แตไมสามารถใชเสนหมายเลข 3 เพราะเสนหมายเลข 3 ยาวเกินออกไปนอกขอบเขตที่เราตอง
การแบงเสนในการแบงเสนเพือ่ สรางตาราง เราสามารถใชบล็อคมาชวย โดยสรางบล็อคจากเสนหมายเลข 5 โดยมี
ขัน้ ตอนดังตอไปนี้

รูปที่ 12.65
1. เปดไฟล 12-382-65.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื
2. จากรูปที่ 12.65 (ซาย) เขียนเสนตรง เพื่อทีจ่ ะนําไปสรางบล็อคสําหรับแบงเสน โดยใชคําสั่ง
Draw4Line คลิกบนปุม (Mid point) เมือ่ ปรากฏมารคเกอร แลวคลิกจุดที่ 1 คลิกบน
ปุม (Perpendicular) เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 3 แลวคลิกซาย แลวคลิกขวาเพือ่
ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 12.65 (ขวา)
3. จากรูปที่ 12.65 (ขวา) สรางบล็อคจากเสนหมายเลข 5 โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make
จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ตัง้ ชือ่ บล็อค Hor ในแถบรายการ Name แลวคลิกบน
ปุม Pick Point จะปรากฏขอความ Specify insertion base point: เพือ่ กําหนดจุดสอดแทรกของ
บล็อค เปดโหมด # ใหคลิกตรงจุดที่ 4 ไดอะล็อคจะกลับมาปรากฏบนจอภาพ คลิก
บนปุม Select object แลวคลิกบนเสนหมายเลข 5 แลวคลิกขวา คลิกบนปุม เรดิโอ Delete เพือ่ ลบ
เสนดังกลาวออกจากพื้นที่วาดภาพ แลวคลิกปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค

Note กอนการใชคําสัง่ Draw4Block4Make เราจะตองใชคําสัง่ Format4Unit เพือ่ กําหนดหนวยวัด


ใน Insertion scale ใหตรงกับหนวยวัดที่เราจะกําหนดในการสรางบล็อคเสียกอน มิฉะนั้น บล็อคจะ
เปลีย่ นแปลงขนาดไมถกู ตองตามทีเ่ ราตองการ หลังจากทีส่ รางบล็อคดวยคําสัง่ นี้แลว

chap-12.PMD 382 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 383

4. ใชคําสัง่ Draw4Point4Divide หรือพิมพคําสัง่ ผานคียบ อรดดังนี้

Command: _divide {จากรูปที่ 12.65 (ขวา)}


Select object to divide: {คลิกบนเสนตรงในแนวตัง้ หมายเลข 6 ซึง่ เปนเสนทีต ่ อ งการแบง}
<Number of segments>/Block: B {พิมพตวั อักษร B เพือ ่ เลือกใชบล็อคในการแบงเสน}
Block name to insert: HOR {พิมพชอ ื่ บล็อค HOR แลวกดปุม Q}
Align block with object? <Y> N {พิมพตวั อักษร N แลวกดปุม  Q}
Number of segments: 5 {พิมพจาํ นวน 5 เซกเมนตทต ี่ อ งการ เสนในแนวตัง้ จะถูกแบงออกเปน 5 สวน
เทาๆ กันโดยใชบล็อค HOR ซึง่ เปนเสนในแนวนอนดังรูปที่ 12.66 }

รูปที่ 12.66

Note ในการแบงเสนสรางตารางโดยใชบล็อคมาทําการแบงเสน เมือ่ ปรากฏบรรทัดขอความ Align block with


object? <Y> เราตองการ พิมพ N หรือ No เสมอ มิฉะนัน้ บล็อคเสนตรงจะถูกปรับใหเอียงตามเสนที่ถกู
แบง ซึง่ เราไมตอ งการใหเปนเชนนั้น

12.63 Draw4Point4Measure | MEASURE | ME |


ใชสําหรับแบงเสนตรงหรือเสนโคงออกเปนสวนๆ เทาๆ กัน โดยกําหนดระยะหางของแตละสวนทีต่ อ งการแบงดังรูปที่
12.67

แบงเสนออกเปน 10
กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.67 หลังใชคําสั่ง หลังใชคําสั่ง
สวนเทาๆ กัน

Command: _measure {จากรูปที่ 12.67 (ซาย)}


Select object to measure: {คลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงทีต ่ อ งการแบง}
Specify length of segment or [Block]: 50 {พิมพระยะหางเปนหนวยวัดของ AutoCAD ของ
เซกเมนตทตี่ อ งการแบงหรือพิมพ B เพือ่ เลือกใชบล็อคในการแบงเสน จะปรากฏดังรูปที่ 12.67
(กลาง) สังเกตุวา เราจะยังมองไมเห็นจุดทีถ่ กู สราง}

Note การแบงเสนออกเปนระยะเทาๆ กันของคําสัง่ MEASURE จะเริม่ ตนแบงเสนทีถ่ กู เลือกโดยนับจากจุดที่


เราใชเมาสคลิก

Note คําสั่งนี้มีลักษณะการใชงานเหมือนกับคําสั่ง DIVIDE ทุกประการ เพียงแตแตกตางกันตรงที่คําสั่ง


DIVIDE กําหนดจํานวนเซกเมนตทั้งหมดที่ตองการแบง สวนคําสั่ง MEASURE กําหนดระยะหาง
ระหวางจุดแบงเสนแตละจุด คําสั่ง MEASURE มีวิธีการใชงานเหมือนกับคําสั่ง DIVIDE สามารถใช
บล็อคชวยในการแบงเสนไดเชนเดียวกัน

chap-12.PMD 383 13/10/2549, 1:33


384

Note หากตองการสรางตารางเหมือนกับคําสั่ง DIVIDE เราสามารถทําตามขั้นตอนการใชบล็อคในการ


แบงเสนของคําสัง่ DIVIDE ไดเชนเดียวกัน เพียงแตเปลีย่ นจํานวนเซกเมนตในบรรทัดขอความ Number
2D Drafting
of segments: เปนระยะหางในบรรทัดขอความ Specify length of segment: ในขอ 4 เทานั้น

12.64 ‘CAL
นอกจากเราจะสามารถใช ‘CAL หรือ Calculator นีเ้ ปนเครือ่ งคิดเลขในการคํานวณธรรมดาแลว เรายังสามารถใช
‘CAL เปนเครื่องมือที่ ชวยในการคํานวณตําแหนงที่แมนยําพื้นที่วาดภาพได คําสั่งนี้ เปนคําสั่ งทรานสแพเรนท
(Transparent Command) ซึง่ หมายความวาเราสามารถเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงานไดในระหวางทีอ่ ยูท า มกลางคําสัง่
ใดๆ แตตองพิมพเครื่องหมาย ‘ นําหนา CAL เสมอ สวนใหญแลวเรามักจะใช ‘CAL ชวยในการกําหนดตําแหนงที่
แมนยําบนพืน้ ทีว่ าดภาพรวมกับออฟเจกทสแนป(Object Snap)ในโหมดตางๆ โดยใชตวั อักษร 3 ตัวแรกของออฟเจกท
สแนป อาทิ เชน END, MID, CEN, INT และอืน่ ๆ เปนตน ในการใช ‘CAL เราสามารถใชตัวเลขจํานวนจริง(Real)
จํานวนเต็ม(Integer)และฟงชัน่ (Functions) เชือ่ มเขาดวยกันดวยโอเปอรเรเตอร + (บวก), - (ลบ), * (คูณ), / (หาร), ^
(ยกกําลัง)ในกลุม เอกซเพรสชัน่ ภายในเครือ่ งหมาย ( ) ดังนี้

Command: CAL
>> Expression: (3^2+14-5*3+4/2) {กําหนดเอกซเพรสชัน่ }
10.0 {โปรแกรมจะคํานวณตามลําดับ 3^2 = 9, 5*3 = 15, 4/2 = 2, ð 9+14-(+15)+2 = 10
ซึง่ ผลทีไ่ ดจากการคํานวณในเอกซเพรสชัน่ คือ 10}

12.64.1 การใชออฟเจกทสแนปรวมกับ CALCULATOR


เราสามารถใชออฟเจกทสแนปโหมดตางๆ ในฟงชัน่ คําสั่ง CAL เมื่อใชออฟเจกทสแนปในเอกซเพรสชั่น โปรแกรม
จะบอกใหเลือกวัตถุโดยใชออฟเจกทสแนปโหมดทีร่ ะบุในฟงชัน่ เมือ่ ไดเลือกวัตถุเรียบรอยแลว โปรแกรมจะนําคาทีไ่ ด
จากการเลือกวัตถุไปคํานวณตามทีร่ ะบุในเอกซเพรสชัน่ นัน้ ถาใชออฟเจกทสแนปแทนฟงชัน่ ในเอกซเพรสชัน่ เราจะใช
ตัวอักษร 3 ตัวแรกของออฟเจกทสแนปและจะปรากฏเคอรเซอรออฟเจกทสแนปในเอกเพรสชัน่ เปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั
เปรียบเทียบกับเคอรเซอรอน่ื ๆ ดังรูปที่ 12.68

รูปที่ 12.68

เคอรเซอรออฟเจกทสแนป
ปรากฏเมื่อใชรวมกับ ‘CAL เคอรเซอรสําหรับเลือกวัตถุ
เคอรเซอรออฟเจกท
สแนปในโหมดปกติ
Note ในการใช ‘CAL รวมกับโหมดตางๆ ของออฟเจกทสแนป เราจะตองปดโหมดออฟเจกทสแนป(Object
Snap)เสียกอน (สังเกตุได จากปุม OSNAP บนบรรทัดแสดงสถานะจะตองปรากฏเปนตัวอักษรสีเทา
ออน) หากออฟเจกทสแนปเปดอยู เราจะตองใชปมุ ฟงชัน่ คีย #เพือ่ ปดโหมดออฟเจกทสแนปเสียกอน
โปรแกรมจึงจะทํางานไดถกู ตอง

12.64.2 ออฟเจกทสแนปโหมด(Object snap modes)


โหมดตางๆ ของออฟเจกทสแนปทีส่ ามารถนํามาใชรว มกับ Calculator ได จะใชตวั อักษร 3 ตัวแรกของออฟเจกทสแนป
ดังตอไปนี้

chap-12.PMD 384 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 385

ฟงชัน่ ออฟเจกทสแนป คําอธิบาย


END ENDpoint จุดปลายเสน
MID MIDpoint จุดกึง่ กลางเสน
INT INTersect จุดตัดระหวางเสนสองเสน
EXT EXTension จุดตอเสน
CEN CENter จุดศูนยกลางของวงกลม
QUA QUAdrant 0, 90, 180, 270 องศาของวงกลม
TAN TANgent จุดสัมผัส
PER PERpendicular จุดตัง้ ฉาก
PAR PARallel จุดขนาน
INS INSertion จุดสอดแทรกของบล็อคหรือตัวอักษร
NOD NODe จุด(Point)
NEA NEArest จุดที่ใกลทสี่ ุด

12.64.3 ขัน้ ตอนการใช ‘CAL ในโหมด (END+END)/2


จากรูปที่ 12.69 หากเราตองการเขียนวงกลมรัศมี 10 หนวย โดยกําหนดใหจดุ ศูนยกลางของวงกลมอยูท กี่ งึ่ กลางระหวาง
ปลายเสนตรง ในแนวนอนทัง้ สองดังรูปที่ 12.69 (ขวา) โดยปกติ เราจะตองเขียนเสนตรงชัว่ คราวเชือ่ มตอปลายเสนตรง
ในแนวนอนทั้งสองเสียกอนดังรูปที่ 12.69 (ซาย) เพื่อที่จะสามารถใชออฟเจกทสแนป MID Point ในการกําหนดจุด
ศูนยกลางของวงกลม เมือ่ เขียนวงกลมเรียบรอยแลว จึงลบเสนตรงชัว่ คราวนัน้ ทิง้ ไป แตวธิ ดี งั กลาวไมเหมาะสมทีจ่ ะ
นํามาใชงาน เพราะเราจะตองเสียเวลาในการเขียนเสน แลวก็ลบเสนทิง้ ไป ถาเราใช ‘CAL เขามาชวยเราสามารถทีจ่ ะ
กําหนดตําแหนงจุดศูนยกลางของวงกลมใหอยูก ึ่งกลางระหวางปลายเสนทัง้ สองไดอยางรวดเร็ว กอนอืน่ เปดไฟล
12-385-69.dwg จากโฟลเดอร \Exercise แผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม ือ แลวใชคําสัง่ Draw4Circle4
Center, Radius ดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.69 หลังใชคําสั่ง

Command: _circle {จากรูปที่ 12.69 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'CAL {เรียกคําสัง่ ‘CAL
ออกมาใชงาน}
>> Expression: (END+END)/2 {กําหนดเอกซเพรสชัน ่ ระหวางปลายเสน(END)และปลายเสน
(END)หารดวย 2}
>> Select entity for END snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหครอบคลุมปลายเสนจุดที่ 1
แลวคลิกซาย}
>> Select entity for END snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหครอบคลุมปลายเสนจุดที่ 2
แลวคลิกซาย}

chap-12.PMD 385 13/10/2549, 1:33


386

(116.421 112.562 0.0) {โปรแกรมรายงานจุดคอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของวงกลม}


10 {พิมพรศั มี 10 หนวย จะปรากฏดังรูปที่
Specify radius of circle or [Diameter] <10.0000>:
12.69 (ขวา)}
2D Drafting
Note หากออฟเจกทสแนปอยูใ นสถานะเปด โปรแกรมจะทํางานผิดพลาดในทันที ซึง่ จะไดตาํ แหนงไมถกู ตอง

Note ในการใช ‘CAL ในโหมดปลายเสนบวกปลายเสนหารสองหรือ (END+END/2) เราสามารถใชตวั อักษร


ยอ MEE แทนได

Note ใน AutoCAD 2006 มีออฟเจกทสแนปใหม Mid Between 2 Points โดยกดปุม S แลวคลิกเมาสขวา


แลวเลือก Mid Between 2 Points ไดจากช็อทคัดเมนูซึ่งมีวิธีการใชงานเหมือนกับ (END+END)/2
ทุกประการและสามารถใชงานแทนกันได เพราะมีจุดประสงคในการหาจุดกึ่งกลางเชนเดียวกัน

12.64.4 ขัน้ ตอนการใช ‘CAL ในโหมด (MID+CEN)/2


จากรูปที่ 12.48 หากเราตองการเขียนวงกลมรัศมี
10 หนวย มีจดุ ศูนยกลางของวงกลมอยูร ะหวาง
จุดกึง่ กลางระหวางเสนตรงในแนวตัง้ (1) กับจุด
ศูนยกลางของวงกลม (2) กอนอื่น เปดไฟล
12-386-70.dwg จากแผน DVD-ROM แนบทาย
หนังสือคู มือ แลวใชคําสั่ง Draw4 Circle4
กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.70 หลังใชคําสั่ง
Center, Radius ดังตอไปนี้

Command: _circle {จากรูปที่ 12.70 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'CAL {เรียกคําสัง่ ‘CAL
ออกมาใชงาน}
>> Expression: (MID+CEN)/2 {กําหนดเอกซเพรสชัน ่ ระหวางกึง่ กลางเสน(MID)และจุดศูนยกลางวงกลม
(CEN)หารดวย 2}
>> Select entity for MID snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหครอบคลุมจุดกึง่ กลางเสนตรงจุดที่ 1
แลวคลิกซาย}
>> Select entity for CEN snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 2
แลวคลิกซาย}
(115.113 167.585 0.0) {โปรแกรมรายงานจุดคอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของวงกลม}
Specify radius of circle or [Diameter] <8.7703>: 10 {พิมพรศ ั มี 10 หนวย จะปรากฏดังรูปที่
12.70 (ขวา)}

Note เราสามารถเลือกใช (MID+CEN)/2 หรือ (CEN+MID)/2 หากใช (MID+CEN)/2 เราจะตองเลือกจุด


กึ่งกลางของเสนตรงกอน เลือกจุดศูนยกลางวงกลม แตถาเราใช (CEN+MID)/2 เราจะตองเลือกจุด
ศูนยกลางของวงกลมกอนเลือกจุดกึง่ กลางของเสนตรง

chap-12.PMD 386 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 387

12.64.5 ขัน้ ตอนการใช ‘CAL ในโหมด (CEN+CEN+CEN)/3


จากรูปที่ 12.71 หากตองการเขียนวงกลมรัศมี 10 หนวย มีจุดศูนยกลางวงกลมอยูร ะหวางจุดศูนยกลางวงกลมทัง้ 3
วง กอนอื่น เปดไฟล 12-387-71.dwg จากแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูมือ แลวใชคําสัง่ Draw4Circle4
Center, Radius ดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.71 หลังใชคําสั่ง

Command: _circle {จากรูปที่ 12.71 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'CAL {เรียกคําสัง่ ‘CAL
ออกมาใชงาน}
>> Expression: (CEN+CEN+CEN)/3 {กําหนดเอกซเพรสชัน่ ระหวางจุดศูนยกลาง(CEN)บวกจุด
ศูนยกลาง(CEN)บวก จุดศูนยกลาง(CEN)หารดวย 3}
>> Select entity for CEN snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 1
แลวคลิกซาย}
>> Select entity for CEN snap: {เลือ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 2
แลวคลิกซาย}
>> Select entity for CEN snap: {เลือ
่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 3
แลวคลิกซาย}
(410.235 190.152 0.0) โปรแกรมรายงานจุดคอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของวงกลม}
Specify radius of circle or [Diameter] <8.7703>: 10 {พิมพรศ ั มี 10 หนวย จะปรากฏดังรูปที่
12.71 (ขวา)}

12.65 การใชพอยทฟว เตอร(Point Filters) , , , , ,


Point filters ใชสําหรับแยกคาคอรออรดเิ นทออกจากจุดทีก่ าํ หนดเก็บไวชวั่ คราวเพือ่ ทีจ่ ะนําคาคอรออรดเิ นทนัน้ ออกมา
รวมกับคาคอรออรดิเนทของจุดทีก่ ําหนดตอไป โดยเก็บคา X หรือ Y ของจุดคอรออรดเิ นททีใ่ ชพอยทฟว เตอรกําหนด
เปนจุดแรกไวในหนวยความจํา แลวจึงนําไปรวมกับคา X หรือ Y ของจุดคอรออรดเิ นททีก่ าํ หนดจุดตอไป

กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 12.72 หลังใชคําสั่ง

chap-12.PMD 387 13/10/2549, 1:33


388

จากรูปที่ 12.72 (ซาย) หากเราตองการเขียนวงกลม วงหนึง่ รัศมี 10 หนวยโดยมีจุดศูนยกลางของวงกลมอยูร ะหวาง


จุดตัดในแนวตั้ ง (1) และจุดตั้ งในแนวนอน (2) เราสามารถใชพอยทฟวเตอรชวย โดยการแยกคา X ของจุด
คอรออรดเิ นทที่ (1) ออกมา เพือ่ นําไปรวมกับคา Y ของจุดที่ (2) โดยมีการใชงานดังนี้ 2D Drafting
Command: _circle {จากรูปที่ 12.72 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด}
Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: .X {พิมพ .X เพือ่ แยกคา X
ออกจากจุดที่ 1} of {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย}
(need YZ): .Y {พิมพ .Y เพือ ่ แยกคา Y ออกจากจุดที่ 2} of {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ
มารคเกอร ใหคลิกซาย}
(need Z): {โปรแกรมจะถามคา Z ซึง่ ใชใน 3 มิติ ในทีน ่ เี้ ราคลิกเมาสซา ย ณ ตําแหนงใดๆ บนพืน้ ทีว่ าดภาพ
เพือ่ ใชคา Z เทากับ 0 จะปรากฏจุดศูนยกลางของวงกลม ณ จุดทีเ่ ราตองการ}
Specify radius of circle or [Diameter] <10.0000>: 10 {พิมพรศ ั มีวงกลม 10 หนวยจะปรากฏ
ดังรูปที่ 12.72 (ขวา)}

Note อันที่จริงในบรรทัดขอความ (need YZ): จากตัวอยางที่ผานมานี้ เราไมจําเปนตองพิมพ .Y ก็ได เรา


สามารถใช Object snap ในโหมด MID point แลวคลิกตรงจุดที่ 2 ไดทันที เพราะโปรแกรมตองการ
ใหเรากําหนดคา YZ ซึ่งหมายถึงคา Y สวน Z นั้นใน 2 มิติเทากับศูนยเสมอ เพราะฉะนั้นจึงไมจําเปน
ตองใชพอยทฟวเตอร .Y ในบรรทัดขอความ (need YZ): ก็ได

Note พอยทฟว เตอรมจี ดุ ประสงคในการใชงานเหมือนกับ TRACKING ทุกประการคือหาจุดตัดในแนวนอนและ


แนวตัง้ ระหวางจุดคอรออรดเิ นท แตการใช TRACKING คอนขางงายและสะดวกกวามาก ดังนัน้ ผูเ ริม่ ใช
โปรแกรมจึงควรใช TRACKING ซึง่ งายกวา สวนผูท ตี่ อ งการศึกษาการเขียนแบบในระบบ 3 มิตคิ วรทีจ่ ะ
ศึกษาการใชพอยทฟว เตอรใหเปนทีเ่ ขาใจเพราะวา TRACKING ไมสามารถนําไปใชงานในระบบ 3 มิติ ได
อยางไรก็ตาม TRACKING สามารถนําไปใชในระนาบ 2 มิตใิ นระบบ 3 มิตไิ ดเทานัน้

12.66 LAYERP |
ใชคาํ สัง่ LAYERP หรือคลิกบนปุม ไอคอน สําหรับเรียกคืนสถานะเดิมของเลเยอรตา งๆ กลับมาใชงาน โดยไมตอ ง
เสียเวลาปรับสถานะตางๆ ของแตละเลเยอรดวยตนเอง หากตองการใชคําสัง่ นี้ ตองแนใจวาคําสัง่ LAYERPMODE
อยูในสถานะ ON

12.67 การแปลงโหมดไฟลแบบแปลน(Color to Named Tools)


หากเราใชคาํ สัง่ File4New เพือ่ เริม่ ไฟลแบบแปลนใหม แลวเลือก Template file .dwt ทีม่ ชี อื่ ลงทายดวย -Named
Plot Styles.dwt แบบแปลนใหมนนั้ จะอยูใ นโหมดการใชชอื่ สไตลควบคุมการพิมพ โดยจะใชตารางควบคุมคุณสมบัติ
ในการพิมพฟอรแมต .stb แตหากเราเริม่ ไฟลแบบแปลนใหม โดยเลือก Template file .dwt ทีม่ ชี อื่ ลงทายดวย -Color
Dependent Plot Styles.dwt หรือมีชอื่ เปน acadiso.dwt หรือ acad.dwt แบบแปลนใหมนนั้ จะอยูใ นโหมดการใชรหัสสี
ควบคุมการพิมพ โดยจะใชตารางควบคุมคุณสมบัตใิ นการพิมพฟอรแมต .ctb เมือ่ แบบแปลนถูกสรางขึน้ มาในโหมด
ใดก็ตาม เราสามารถทีจ่ ะเปลีย่ นโหมดของแบบแปลนนัน้ ได โดยใชคําสัง่ CONVERTPSTYLES เพือ่ แปลงไฟลแบบ
แปลนจากโหมด Color-dependent plot styles เปนโหมด Named plot style หรือแปลง ไฟลแบบแปลนจากโหมด
Named plot style เปนโหมด Color-dependent plot styles ไดเชนเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีคําสัง่ CONVERTCTB
ซึง่ ใชสําหรับแปลงตารางควบคุมคุณสมบัตเิ สน(Plot style table)จากฟอรแมต .ctb ไปเปน .stb อีกดวย

chap-12.PMD 388 13/10/2549, 1:33


กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 389

Note นอกจากการใชคําสั่ง File4New เพื่อเริ่มแบบแปลนใหมในโหมด Color-dependent plot style


หรือ Named plot style แลว หากมีการใชคําสั่ง Tools4Options ð Plotting เราก็สามารถเลือกโหมด
Use Color-dependent plot styles หรือ Use named plot styles ไดเชนเดียวกัน โดยจะมีผลก็ตอเมื่อ
ออกจากโปรแกรม AutoCAD แลวเรียกโปรแกรม AutoCAD ใหมอกี ครั้ง

Note คําสัง่ CONVERTCTB และคําสัง่ CONVERTPSTYLES ทัง้ สองนีจ้ ะตองเรียกผานบรรทัด Command:


ของ AutoCAD เทานั้น

12.67.1 การแปลงแบบแปลนจากโหมด Color เปนโหมด Named มีขนั้ ตอนดังนี้


1. ใชคําสัง่ File4Open เปดไฟลแบบแปลนโหมด Color ออกมาใชงาน ในทีน่ ที้ ดลองเปดไฟล
12-389-73.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือ

Note เนื่องจากไฟลที่เปดออกมาจากแผน DVD-ROM จะอยูในโหมดอานเพียงอยางเดียว จึงไมสามารถ


แปลงไฟลได เราจะตองใช คําสัง่ File4Save As บันทึกลงไฟลใหมในโฟลเดอรใดๆ ในฮารดดิสคก็ได
เสียกอน

Note แถบรายการสีเทา (Plot style control)ซึง่ ใชงานไมไดและอยูท างขวาสุดบนทูลบาร


Object properties บอกใหทราบวาเรากําลังอยูในโหมด Color-dependent plot style

2. เริม่ แปลงตารางควบคุมคุณสมบัติ Color-dependent plot style table (.ctb) ใหเปน Named


plot style table (.stb) เสียกอนโดยใชคําสัง่ ดังนี้

Command: CONVERTCTB {พิมพคาํ สัง่ CONVERTCTB ผานคียบ อรด จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือก


ไฟล .ctb ใหคน หาไฟล .ctb ในโฟลเดอร \Plot Styles ซึง่ ใชควบคุมการพิมพของแบบแปลน แลวคลิก
Open จะปรากฏไดอะล็อค Create File .stb ใหตงั้ ชือ่ ไฟล แลวคลิกบนปุม Save}

3. เริม่ แปลงไฟลแบบแปลน .dwg โหมด Color-depedent plot style ใหเปนโหมด Named plot
style โดยพิมพคําสัง่ ดังนี้

Command: CONVERTPSTYLES {พิมพคาํ สัง่ CONVERTPSTYLES ผานคียบ


 อรดจะปรากฏไดอะล็อค
แสดงคําเตือนวา เราควรแปลงไฟล .ctb ทีใ่ ชกบั ไฟลแบบแปลนใชงานใหเปนไฟล .stb เสียกอน
ใหคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือก ไฟล .stb ใหคลิกบนไฟล .stb ทีเ่ ราไดแปลงไว
กอนแลวและคลิกปุม Open ไฟลแบบแปลนใชงานจะถูกแปลงเปนโหมด Named plot style}

Note หลังทีแ่ บบแปลนถูกแปลงเปนโหมด Named plot style เราจะสังเกตุไดจากแถบรายการ


(Plot style control) ทีเ่ คยปรากฏเปนสีเทา บัดนีไ้ ดเปลีย่ นเปนสีขาวและพรอมเลือกสไตลใชงานไดทนั ที

12.67.2 การแปลงแบบแปลนจากโหมด Named เปนโหมด Color มีขนั้ ตอนดังนี้


1. ใชคําสัง่ File4Open เปดไฟลแบบแปลนโหมด Named ออกมาใชงาน ในทีน่ ลี้ องเปดไฟล
11-389-74.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM

chap-12.PMD 389 13/10/2549, 1:33


390

Note เนื่องจากไฟลที่เปดออกมาจากแผน DVD-ROM จะอยูในโหมดอานเพียงอยางเดียว จึงไมสามารถ


แปลงไฟลได เราจะตองใช คําสั่ง File4Save As บันทึกลงไฟลใหมในโฟลเดอรใดในฮารดดิสคก็ได
เสียกอน 2D Drafting
Note แถบรายการสีขาว บอกใหเราทราบวาเรากําลังอยูในโหมด Named plot style

2. เริม่ แปลงไฟลแบบแปลน .dwg โหมด Named plot style ใหเปนโหมด Color-dependent plot
style โดยพิมพคําสัง่ ดังนี้

Command: CONVERTPSTYLES {พิมพคาํ สัง่ CONVERTPSTYLES ผานคียบ


 อรดจะปรากฏไดอะล็อค
แสดงขอความเตือนการเปลีย่ นโหมดแบบแปลน ใหคลิกบนปุม OK ไฟลแบบแปลนใชงานจะ
ถูกแปลงเปนโหมด Color สังเกตุไดจากแถบรายการ (Plot style control)
ไดกลายเปนสีเทา}

12.68 Tools4Markup Set Manager | MARKUP | MSM |


ใชสําหรับจัดการกับ Markup หรือคําอธิบายระบุตําแหนงในการแกไขแบบ
แปลนซึง่ อยูใ นไฟลแบบแปลน .dwf ผูต รวจแบบจะใชโปรแกรม Autodesk DWF
Composer ในการระบุตําแหนงและเขียนขอความทีจ่ ะบอกใหผเู ขียนแบบทราบ
วาจะตองแกไขแบบแปลนตรงจุดใดและจะตองแกไขแบบแปลนอยางไรบาง
เมือ่ ผูเ ขียนแบบใช Markup Set Manager ดังรูปที่ 12.73 เปดไฟล .dwf ทีไ่ ดรบั
จากผูตรวจแบบแลว ผูเขียนแบบจะทราบทันทีวา จะตองแกไขแบบแปลนกีจ่ ดุ
และแตละจุดอยู ณ ตําแหนงใดบาง โดยสามารถเปดไฟล .dwg โดยคลิกขวาบน
ไอคอน แลวเลือก Open Sheet หรือคลิกขวาบนไอคอน แลวเลือก
รูปที่ 12.73
Open Markup เพือ่ แสดงจอภาพ ณ ตําแหนง Markup ไดอยางรวดเร็ว
12.69 Tools4QuickCalc | QUICKCALC | QC |
เมื่อเรียกคําสัง่ นี้ จะปรากฏเครื่องคิดเลข QuickCalc ดังรูปที่ 12.74
เราสามารถใชเครือ่ งคิดเลขนีช้ ว ยในการคํานวณพืน้ ฐานหรือใชฟง ชัน่ การ
คํานวณทางวิทยาศาสตร โดยคลิกแถบคําสัง่ Scientific หรือใชฟง ชัน่
ในการแปลงหนวยความยาว(Length) พืน้ ที(่ Area) ปริมาตร(Volumn)
มุม(Angle)จากหนวยวัดหนึง่ ไปยังอีกหนวยวัดหนึง่ ไดอยางสะดวก
เปนอันวาเราไดศกึ ษากลุม คําสัง่ สารพัดประโยชนตา งๆ ทีม่ อี ยูท งั้ หมด
เรียบรอยแลว หากเราฝกฝนการใชคําสั่งตางๆ ในบทนี้ใหเกิดความ
เขาใจและสามารถเลือกใชคําสัง่ ไดเหมาะสมกับสถานการณตา งๆ ใน
การเขียนแบบแลว เราก็จะสามารถเขียนแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ
มากยิง่ ขึน้
รูปที่ 12.74
*********************************

chap-12.PMD 390 13/10/2549, 1:33

You might also like