Chapter3 5

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 11

การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่แตกต่างกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกโครงการ

1. การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่แน่นอน
2. การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่มีความเสี่ยง
2.1
เกณฑ์การพิจารณาทางเลือกที่ดที ี่สุดจากผลตอบแทนความคาดหวังสูงสุด(Maxi
mum
2.2 Expected Payoff Criterion)
เกณฑ์การพิจารณาทางเลือกที่ดที ี่สุดจากค่าความคาดหวังของการเสียโอกาสตำ่า
สุด(Minimum Expected Opportunity Loss Criterion)
3. การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน
3.1 Maximax or Minimin Criteria
3.2 Maximin or Minimax Criteria
3.3 Laplace Criteria
3.4 Hurwicz Criteria
3.5 เกณฑ์การเสียใจ (Criterion Regret)
4. การตัดสินใจในสภาวการณ์การแข่งขัน
บทที่ 3_5 1
1. การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่แน่นอน ใช้เมื่อมีข้อมูลที่สมบูรณ์ครบถ้วน
รู้ถงึ ผลทีอ่ าจจะเกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี ผูต้ ัดสินใจจะเลือกแนวทางทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูงสุด

ตัวอย่างที่ 1 บริษัท จรวย จำากัด มีโครงการผลิตสินค้าในปีหน้า


โดยวางแผนการผลิตไว้ 3 ชนิด คือ A B และ C
แต่มีข้อจำากัดด้านการผลิตจึงต้องเลือกผลิตเพียงโครงการเดียว
โดยที่สินค้าที่บริษัทต้องการผลิตนั้นเป็นสินค้าใหม่ยังไม่เคยมีบริษัทใดผลิตมาก่อน
และบริษัทก็มีข้อมูลของกลุม่ เป้าหมายเพียงพอ บริษัท จรวย จำากัด
ประมาณการยอดขายไว้ดงั นี้ ผลิตภัณฑ์ A เท่ากับ 10,000 หน่วย ผลิตภัณฑ์ B เท่ากับ
8,000 หน่วย และ ผลิตภัณฑ์ C เท่ากับ 5,000 หน่วย
ดังนั้น การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่แน่นอน จะเลือกโครงการผลิตสินค้า A
เนือ่ งจากให้ผลตอบแทนสูงสุด คือ 10,000 หน่วย

บทที่ 3_5 2
2. การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่มีความเสี่ยง
เป็นการตัดสินใจคัดเลือกโครงการในสภาวการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอ
แต่ผตู้ ัดสินใจสามารถคาดคะเนหรือกำาหนดความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ในแต่ละเหตุ
การณ์ได้ ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 บริษัท จรวย จำากัด
พิจารณาว่าสถานการณ์ทางเศรษฐกิจมีความผันผวน
จึงวิเคราะห์ทิศทางของเศรษฐกิจจะมีความน่าจะเป็น 3 แนวทางดังนี้ เศรษฐกิจ ดีเท่ากับ
0.25 ปานกลางเท่ากับ 0.45 ตำ่าเท่ากับ 0.30
และบริษัทประมาณยอดการขายในสภาวะเศรษฐกิ จต่างๆ ไว้ดังนี้
สภาวการณ์
ผลิตภัณฑ์
ดี ปานกลาง ตกตำ่า
A 10,000 4,500 1,800
B 8,000 5,000 1,200
C 5,000 1,500 1,000
บทที่ 3_5 3
2.1 เกณฑ์การพิจารณาทางเลือกที่ดที ี่สุดจากผลตอบแทนความคาดหวังสูงสุด(Maximum
Expected Payoff Criterion)

ดี ปานกลาง ตกตำ่า ผลตอบแทน


ผลิตภัณฑ์ 0.25 0.45 0.30 ที่คาดหวัง
A 10,000 4,500 1,800 5,065 =SUMPRODUCT(C$2:E$2,C3:E3)
B 8,000 5,000 1,200 4,610
C 5,000 1,500 1,000 2,225

ดังนั้นหากใช้
เกณฑ์การพิจารณาทางเลือกที่ดที ี่สุดจากผลตอบแทนความคาดหวังสูงสุด(Maximum Expected
Payoff Criterion) จะเลือกโครงการ A เนื่องจากให้ผลตอบแทนที่คาดหวังสูงสุด
บทที่ 3_5 4
2.2
เกณฑ์การพิจารณาทางเลือกที่ดที ี่สุดจากค่าความคาดหวังของการเสียโอกาสตำ่าสุด(Minim
um Expected Opportunity Loss Criterion)
ตารางค่าเสียโอกาส
ดี ปานกลาง ตกตำ่า ผลตอบแทน
ผลิตภัณฑ์ 0.25 0.45 0.30 ที่คาดหวัง
A 0 500 0 225 =SUMPRODUCT(C$9:E$9,B10:D10)
B 2,000 0 600 680
C 5,000 3,500 800 3,065
=MAX(B$3:B$5)-B4

บทที่ 3_5 5
3. การตัดสินใจในสภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน
ใช้เมือ่ ผูต้ ัดสินใจมีข้อมูลไม่เพียงพอ
และไม่สามารถที่จะคาดคะเนหรือกำาหนดค่าความน่าจะเป็นในแต่ละเหตุการณ์ได้
3.1 Maximax or Minimin Criteria หมายถึงการเลือกผลตอบแทนสูงสุด
จากผลตอบแทนที่สูงที่สดุ ในแต่ละทางเลือก

ผลิตภัณฑ์ ดี ปานกลาง ตกตำ่า ผลตอบแทนสูงสุด


A 10,000 4,500 1,800 10,000
B 8,000 5,000 1,200 8,000
C 5,000 1,500 1,000 5,000

บทที่ 3_5 6
3.2 Maximin or Minimax Criteria หมายถึงการเลือกผลตอบแทนสูงสุด
จากผลตอบแทนตำ่าสุดในแต่ละทางเลือก

ผลิตภัณฑ์ ดี ปานกลาง ตกตำ่า ผลตอบแทนสูงสุด


A 10,000 4,500 1,800 1,800
B 8,000 5,000 1,200 1,200
C 5,000 1,500 1,000 1,000

บทที่ 3_5 7
3.3 Laplace Criteria หมายถึง การเลือกทางที่ดที ี่สุด
โดยพิจารณาจากค่าคาดหวังสูงสุดในกรณีที่เป็นปัญหาการตัดสินใจเกี่ยวกับรายได้
และพิจารณาจากค่าคาดหวังตำ่าสุดในกรณีที่เป็นปัญหาการตัดสินใจเกี่ยวกับต้นทุน
วิธีที่ใช้ จะใช้วิธีเฉลี่ยค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึน้ ทั้งหมด

ดี ปานกลาง ตกตำ่า ผลตอบแทน


ผลิตภัณฑ์
0.33 0.33 0.33 สูงสุด

A 10,000 4,500 1,800 5,379 =SUMPRODUCT(B$2:D$2,B3:D3)

B 8,000 5,000 1,200 4,686

C 5,000 1,500 1,000 2,475


1/3=0.33 บทที่ 3_5 8
3.4 Hurwicz Criteria หมายถึง การเลือกทางที่ดที ี่สุด
โดยพิจารณาจากผลตอบแทนรวมสูงสุด โดยผลตอบแทนของแต่ละโครงการ
คำานวณได้ดังนี้
ผลตอบแทนรวม = α (ผลตอบแทนสูงสุด) + (1-α) (ผลตอบแทนตำ่าสุด)

α คือ สัมประสิทธิ์ของการมองโลกในแง่ดี มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1

1-α คือ สัมประสิทธิ์ของการมองโลกในแง่ร้าย

บทที่ 3_5 9
ผลิตภัณฑ์ ดี ปานกลาง ตกตำ่า
A 10,000 4,500 1,800
B 8,000 5,000 1,200
C 5,000 1,500 1,000

ผลตอบแทนสูงสุด ผลตอบแทนตำ่าสุด
ผลตอบแทนเฉลี่ย
0.6 0.4
10,000 1,800 6,720 =SUMPRODUCT(A$7:D$7,A8:D8)
8,000 1,200 5,280
5,000 1,000 3,400
=MAX(B2:D2) =MIN(B2:D2)
บทที่ 3_5 10
3.5 เกณฑ์การเสียใจ (Criterion Regret) หมายถึง
การเลือกค่าเสียโอกาสที่ตำ่าที่สุด จากค่าเสียโอการสูงสุดที่คำานวณได้ในแต่ละโครงการ
ตารางการตอบแทน
ผลิตภัณฑ์ ดี ปานกลาง ตกตำ่า
A 10,000 4,500 1,800
B 8,000 5,000 1,200
C 5,000 1,500 1,000

ตารางการเสียโอกาส
ผลิตภัณฑ์ ดี ปานกลาง ตกตำ่า ผลตอบแทนสูงสุด
A 0 500 0 500
B 2,000 0 600 2,000
C 5,000 3,500 800 5,000
=MAX(B$4:B$6)-B4 =MAX(B11:D11)
บทที่ 3_5 11

You might also like