Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

28 ต.ค.

51 แกะ : ปลา 215 & กอย 247


อ.สุวิน วองวัจนะ Proof : แอม 93

ปฏิกิริยาของ Antigen และ Antibody เปนไปตาม law of mass action เมื่อ Ag ทําปฏิกิริยากับ Ab จะ
ได Antigen-Antibody Complex เมื่อมีสภาวะไมเหมาะสม จะสามารถแตกตัวเปน Ag และ Ab อิสระได เพราะ
มันจับกันแบบ Reversible Process คือจับแลวปลอยได ไมใชจับแลวจับเลย

ปจจัยที่มีผลตอการทําปฏิกิริยาระหวาง Ag และ Ab
1. Bond (แรงหรือพันธะ) คือ Non-covalent bond ทั้งหมด
- Electrostatic force
- Hydrogen bonding force
- Hydrophobic force
- Van der Waals force
โดยจะใชหลายๆแรงรวมกัน ไมไดใชแรงใดแรงหนึ่ง
2. Structure : lock and key (ตองเปน complementary ตอกัน เปรียบไดกับแมกุญแจกับลูกกุญแจ) มี
ความ specificity จําเพาะสูง
3. pH : 7.2 - 7-4 เปนชวง pH ที่เหมาะสมในการทําปฏิกิริยา (Ag และ Ab เปน สารประกอบประเภทไกล
โคโปรตีน ถาเปนกรดหรือดางมากเกินไป จะทําใหโปรตีนเสียสภาพได)
4. Temperature : 4-40 องศาเซลเซียส , Optimum 37 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิของรางกาย)
5. Ionic strength : ความเขมขนของ ion หรือ เกลือ ที่เหมาะสมคือ 0.15 M NaCl (0.9 % หรือ 0.85%
NaCl) , isotonic sulotion ซึ่งเปน physiological salt หรือเรียกวา normal saline solution (NSS)

แบงตามปฏิกิริยาที่ใชในการทดสอบ
1. การลบลางฤทธิ์ (Neutralization)
2. การตกตะกอน(Precipitation)
3. การจับกลุม(Agglutination)
4. อาศัยคอมพลีเมนตรวมดวย (Complement dependent Reaction)
5. อาศัยแอนติเจนหรือแอนติบอดี้ติดฉลากดวยสารตางๆ (Labeled immunoassay)

1. Neutralization : การลบลางฤทธิ์ , ทําใหเปนกลาง , ทําใหหมดฤทธิ์


(ใหดูรูปในชีทนะ)
- เปนการเอาซีรัมของผูปวยที่ตองการมาทดสอบ
- ทดสอบโดยเอาหลอดทดลองมา 2 หลอดโดยอีกหลอดใส Ab อีกหลอดไมใส Ab
- จากนั้นใส indicate cell (ตัวชี้วัด) = RBC ลงไปในหลอดทดลอง
# ในหลอดทดลองที่มี Ab จะไมทําให RBC แตกตัว (No Lysis) เพราะ Ab มันจําเพาะตอ Ag ซึ่ง Ab มัน
สามารถลางพิษของ Ag ได (Ag ถูก Neutralized) ดังนั้นเมื่อใส RBC ลงไปจึงไมทําใหมันแตก สวนหลอด
ที่ไมมี Ab จะทําให RBC แตกเพาะ Ag ยังมีฤทธิ์อยู

หลักการ Neutralization ตัวอยางเชน


1. Anti-streptolysin O (ASO) test : โดยสารพวก Streptococcus pyogenes จะมี Ag เยอะมากๆ เชน
Streptolysin O antigen ก็คือเมื่อเราเคยติดเชื้อ Streptococcus pyogenes มันจะสราง Antibody ตอตัวเชื้อนี้
ทดสอบโดยนํา Serum ของผูปวยใส Streptolysin O antigen ลงไป ถาเราเคยติดเชื้อเราจะมี Anti-
Streptolysin O antigen อยูในรางกาย ก็จะทําให RBC ไมแตก แตถาเราไมเคยติดเชื้อ ก็จะไมมี Anti-
Streptolysin O antigen ก็จะทําให RBC แตก เพราะ Ag มันทําให RBC แตกได
2. Hemagglutination inhibition test (HI) : Rubella (หัดเยอรมัน) , Influenza , Dengue -
Hemagglutination antigen เชื้อพวกนี้ทําใหเม็ดเลือดแดงเกาะกลุมได โดยมันจะอาศัยหลักการเดียวกันกับ
ขางบน แตเปลี่ยนคุณสมบัติของ Antigen

เชื้อ 2 ตัวนี้ตางกันที่คุณสมบัติของAg คือตัวแรกทําใหRBCแตก อันที่ 2 ทําให RBC เกาะกลุมกัน

2. Precipitation (การตกตะกอน)
Soluble Ag (Ag ที่อยูในสภาพละลายน้ําได) + Ab

Ag – Ab complex (immune complex)

Precipitation (ตกตะกอน)

Note - ถาเปน Agglutination ก็คือ Ag จะเปน cell หรือ particle เชน RBC

* Precipitation สามารถอธิบายไดดวยหลักการ Lattic formation คือ เชื่อมตอกันเปนรางแหแลวตกตะกอน

Experiment : - Increase Ag คือ คอยๆเพิ่มปริมาณ Ag ลงในแตละหลอด


- Fix Ab concentration คือ ใส Ab ในแตละหลอดเทาๆกัน
แลวเกิด zone ขึ้นมา 3 zone
1. Antibody excess zone (pro zone)
2. Equivalent zone
3. Antigen excess zone (post zone)
(ดูรูปในชีทประกอบนะ) มีหลอดทดลอง 3 หลอด โดยใส Ag เทากันกอน แลวคอยๆเพิ่ม Ag จากนั้นเอาไป
ปน ปลอยใหมันตกตะกอน เอา supernatant ไปทดสอบ
- หลอดที่ 1 Ab > Ag (Antibody excess / pro zone) มันมี Ab เยอะ ทําให Ab หลายอันไปลอมจับ
Ag (มันไมจําเปนตองไปจับกับตัวอื่น มันจับกับตัวเองงายกวาจับกับคนอื่น โอกาสที่จะเกิดเปนรางแห
มีนอย ขนาดตะกอนไมคอยใหญ )
Ab จะถูกจับไดมากหรือนอยขึ้นกับ epitope บน Ag ถาจับไดมากก็ขนาดใหญ
- หลอดที่ 2 Ab = Ag (Equivalent zone) Ab มันเอาแขนไปจับกับ Ag อีกตัวแลวเกิดเปนรางแห “ Lattice
formation”
- หลอดที่ 3 Ab < Ag (Antigen excess / post zone) มันมี Ag มากเกินพอ ทําใหไมจําเปนตองจับกัน
เกิดเปนตะกอนที่ใหญสุด
การจับกันบางครั้งอาจไมตกตะกอนก็ไดเรียก soluble immune complex

** กลาวมาทั้งหมดเปนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในสารน้ํา ตอไปจะพูดถึงปฏิกิรยิ าที่เกิดขึ้นในสารตัวกลางที่เปนสารกึ่ง


แข็งกึ่งเหลว

2.1 Precipitation in Gel

ตัวกลางเปน Semisolid media - เชน วุน (Gel) เปนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในสารตัวกลางที่เปนสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว


เมื่อเราหยด Ag ,Ab ลงไปจะเกิดการแพร “Diffusion” เรียกวา “Immunodiffusion”

Double immunodiffusion (Ouchterlony’ s Medthod)


เปนการตรวจหาแอนติบอดีหรือแอนติเจน ถาเรารูคาตัวใดตัวหนึ่งก็จะสามารถตรวจหาได คือ ถามี Ag ก็
ตรวจหา Ab ได , ถามี Ab ก็ตรวจหา Ag ได

วิธีการ คือ เอาวุนเทลงไปในกระจกสไลดแลวเจาะรู 2 รู จากนั้นใส Ag กับ Ab ลงไป จากนั้นมันก็จะคอยๆซึม


(คอยๆซึม แลวก็หลับ Zzzz อ.เลนมุกอะ) มันจะซึมแลวมาเจอกัน และถามันจําเพาะกันก็จะจับกัน (เปน
immune complex) เกิดเปนเสนตะกอน(Precipitin band / Precipitin line ) โดยจะซึมเปนวงๆ แตถาไมจําเพาะ
กัน มันก็จะวิ่งเลยผานกันไป
สไลด 18 หลักการนี้สามารถบอกความเหมือนหรือความตางของแอนติเจนตางไดอยางคราวๆ
- Line of identity : Ag 1 และ Ag 2 เหมือนกัน จะไมเกิดเสนระหวางมัน
- Line of partial identity : Ag 1 และ Ag 2 เหมือนกันบางสวน มีบางสวนยื่นเกยกัน เรียก spur
- Line of non-identity : Ag 1 และ Ag 2 ไมเหมือนกันเลย จะเปนเสนใครเสนมันตัดกัน
# ดูรูปในชีทนะเพื่อนๆๆ ☺

สไลด 19 : อ.เอารูปจริงมาใหดูอะ (ถามันมีมากกวา 1 ตัวก็จะเกิดหลายเสนได)


สไลด 19-21 : อ.บอกใหกลับไปศึกษาวาตัวเลขพวกนี้ อธิบายยังไงทําใหเกิดเสนพวกนี้ ในขอสอบอ.อาจใหวาด
รูปเสนตะกอนที่เกิดขึ้น , อ.บอกใหไปทบทวนนะเพื่อนๆๆ

Factors influencing the bands (ปจจัยที่มีผลตอขนาดและตําแหนงของเสนตะกอน)


1. ความเขมขน
สมมุติวาเราใหอันบนนี้เปน Antigen ที่มีความเขมขนจากมากไปหานอย สวนAntibody ใหมีความเขมขน
เทากันทุกหลุม จากนั้นพอเราตั้งทิ้งไวมันก็จะเกิดการ diffuse แลวเกิดเปนเสนตะกอนขึ้น
ถามวา: เสนตะกอนจะเกิดขึ้นใกลหลุมที่มีความเขมขนมากหรือนอย?
คําตอบ: ถา[Ag]มากมันก็จะแพรไดไกลกวา จนกระทั้งมันสมดุลกับAb ที่มีความเขมขนนอยกวาดังนั้นทําใหเสน
ตะกอนเกิดไกลจากหลุม แตถา[Ag]นอยก็แพรไดใกล เสนตะกอนจึงอยูใกลหลุมที่มีความเขมขนนอย

2.ขนาดโมเลกุล
ถาAb มีขนาดใหญกวา Ag เสนตะกอนจะโคงเขาหาใคร ?.......ตอบ เสนตะกอนจะโคงเขาหาแอนติบอดีเพราะ
ตัวที่มันใหญมันจะวิ่งชากวา ฉะนั้นแอนติเจนที่ตัวเล็กก็จะวิ่งไดไกลเพราะตัวมันเบา เราจึงไดเสนตะกอนโคง
แบบนี้(โคงเขาหาแอนติบอดี)
ถาน้ําหนักใกลๆกันมันก็จะวิ่งไปไดทางเทาๆกัน เสนตะกอนก็จะเปนเสนตรงอยูกลางๆ และถาแอนติเจนขนาด
ใหญกวาแอนติบอดี เสนตะกอนก็จะโคงเขาหาแอนติเจน
สรุปคือ เสนตะกอนจะโคงเขาหาตัวที่มีขนาดใหญ
เพราะฉะนั้นถาใหความเขมขนและขนาดโมเลกุลมาตองวาดเสนตะกอนใหไดนะจะ....
Single radial immunodiffusion, SRID
เปนวิธีที่เราใชหาปริมาณของ unknown Ag นั่นคือเปน immunodiffusion ที่เคลื่อนที่เปนวงๆและมีตัวเดียวที่
เคลื่อนที่คือแอนติเจน วิธีทําก็โดยการ
- เอาสไลดขนาดใดก็ไดมาใสวุนรวมกัน วุนที่ใสตองมีแอนติบอดีผสมอยู พอวุนแข็ง ในวุนก็จะมีแต
แอนติบอดีเทากันทั้งแผน
- จากนั้นเจาะรูเขาไป(จะเจาะกี่รูก็ได) พอเราจะหาปริมาณก็ทํากราฟมาตรฐาน โดยการใสstandard [Ag]
ที่เรารูคาลงไปในรู และมีรูหนึ่งใสunknown Ag
- เมื่อตั้งทิ้งไวแอนติเจนจะคอยๆซึมออกจนสมดุลก็จะเปนวงออกมา ถาแอนติเจนมีความเขมขนมากก็
จะมีวงใหญ (Ab ไมซึมเพราะ[ ]เทากันทั้งแผนแลว)
- จากนั้นวัดปริมาณโดยการวัดเสนผาศูนยกลางหรือรัศมีก็ได ในที่นี้วัดคาd2 ของstandard [Ag] แลว
นําไปทํา standard curve เมื่อไดกราฟแลวก็ไปวัดd2 ของ unknown Ag แลวใชคา d2 plot กราฟ ลาก
จุดไปตัดแกนY ที่เปน[Ag] ก็จะทราบคา[Ag]ของunknown
* การใชคาd2 เพราะมันเปนคา log เมื่อนําไปทํากราฟมาตรฐานมันจะไดเปนเสนตรง
Gel precipitation + electrophoresis
Immunoelectrophoresis (IEP) คือการแยกแอนติเจนโดยการใชกระแสไฟฟารวมดวย วิธีนี้ทําโดยเอา
กระจกสไลดมาใสวุนแตไมตองผสม Ab แลวเจาะรูจากนั้นใสแอนติเจนลงไป( สวนใหญแอนติเจนจะเปน
สวนผสมจากแอนติเจนหลายๆตัว) พอใสลงไปแลวเราก็ใชกระแสไฟฟาผลักมันใหมันเคลื่อนที่ ก็คือใสขั้วบวก
กับขั้วลบเขาไป ถาแอนติเจนเปนบวกก็จะวิ่งขั้วลบ ฉะนั้น ถาเปนบวกมากก็ไปลบมาก บวกนอยก็ไปลบนอย
และถาแอนติเจนมีขั้วลบก็จะวิ่งไปหาขั้วบวก เพราะฉะนั้นแอนติเจนก็จะแยกออกจากกัน
ตอมาพอเราแยกแอนติเจนเสร็จ เราก็เจาะรองยาวๆเพื่อใสแอนติบอดี เมื่อตั้งทิ้งไวก็จะเกิดการdiffuse แยก
แอนติเจนไวที่ตําแหนงตางๆ ซึ่งพวกนี้มันจะdiffuseใหเห็นเปนวงๆ สวนแอนติบอดีก็จะแพรไปเปนเหลี่ยมๆซาย
ขวาบนลางทุกทิศทุกทาง สวนตัวแอนติเจนมันจะแพรไปตามวงของมัน เสนตะกอนที่ไดก็จะเปนเสนโคง ซึ่งเรา
เรียกวา Precipitin Band or Precipitin arc
วิธีพวกนี้สามารถใชบอกความผิดปกติของพวกแอนติเจนหรือIg ได ยกตัวอยาง การทดสอบโดยการเจาะหลุม
บน-ลาง ใสซีรัมของคนไข (หลุมบน) และซีรัมปกติ (หลุมลาง) ลงไป จากนั้นใชกระแสไฟฟาแยกแอนติเจน พอ
เจาะชองกลางยาวใสแอนติบอดี มันก็จะเกิดการแพรเจอกันก็เกิดเสนตะกอน
ถาดูตามสไลดจะเห็นวาคนปกติมีเสนตะกอน 4 เสน แตผูปวยมี 3 เสน ถาเราทราบวาเสนที่หายไปคืออะไร
เราก็สามารถบอกไดวาคนไขขาดอะไร สมมุติวาเสนที่ขาดเปน IgG ก็แสดงวาคนไขไมมีIgG หรือสราง IgG นอย

Counter immunoelectrophoresis (CIE)


ใหกระแสไฟฟาวิ่งสวนกัน วิธีนี้จะคลายๆกับวิธี immunodiffusion ก็คือใชสไลด จากนั้นก็เจาะรู2 รู ซึ่งรู
หนึ่งใสAgที่ขั้วลบ อีกรูใสAbที่ขั้วบวก เพราะAg สวนใหญมีขั้วลบและAb สวนใหญมีขั้วบวก ถาใสผิดขั้วมันก็จะ
วิ่งไปคนละทางไมเจอกัน ฉะนั้น Agจะวิ่งไปขั้วบวกและAb จะวิ่งไปขั้วลบ ทั้งสองก็เจอกันเกิดเปนเสนตะกอน
ซึ่งเสนตะกอนจะเกิดไดเร็วกวาการทําimmunodiffusion ธรรมดาเพราะใชกระแสไฟฟาผลัก
ยกตัวอยาง เราตรวจHepatitisหรือไวรัสตับอักเสบ ถาเรามีAb เราก็เอาใสขางขั้วบวกแลวก็เอาAgของผูปวยใสอีก
ขาง ถาผูปวยมีAgของโรคมันก็จะเกิดเสนตะกอน และอีกกรณีถาเรามีAg ก็เอาใสลงไปที่ขั้วลบ แลวนําซีรัมผูปวย
มา ถาเกิดเสนตะกอนก็แสดงวาผูปวยมี Ab ของโรคนี้ **ถาเรามีแคตัวเดียวก็หาอีกตัวได**
-- ทํา3 รูก็ได ดังรูป
Unknown serum

(-) (+)
Ag Ab

จากรูปใชกระแสไฟฟาผลักมัน ถาสิ่งสงตรวจมี Ab Unknownมันก็จะวิ่งไปทางลบแตถาสิ่งสง


ตรวจมีAg มันก็จะวิ่งไปทางบวก

3. Agglutination
แอนติเจนจะเปนเซลลหรือเปนอนุภาค หลักการตางๆก็เหมือน Precipitation in Gel เราเรียก การรวมเซลล
หรือการรวมกลุมนี้วา Agglutination ซึ่งก็มีวิธีเรียกตางกัน3 วิธีคือ
3.1 Direct หรือ Active agglutination วิธีนี้ใชตรวจหา Ag (อ.พูดอยางงี้จริงๆนะแตในชีสบอกวาหาAb) ที่เปน
องคประกอบหรือสวนหนึ่งของเซลลนั้นๆเอง เชน RBC Gr. A ก็มีAg Aที่ผิวของมันเอง พอเราใหAb ทําปฏิกิริยา
กับ Ag A มันก็จะเกิดการรวมกลุมกันขึ้นนั่นคือเปน Direct เพราะตัวของมันเองเจอกันโดยตรง
3.2 Indirect หรือ passive agglutination โดยออม คือAg ไมไดเปนสวนหนึ่งของเซลล แตมันถูกนํามาเคลือบหรือ
แปะไวในภายหลัง จากนั้นให Ab เขาทําปฏิกิริยา ก็จะเกิดการรวมกลุมขึ้น
3.3 Reverse passive agglutination คือตรงขามกับวิธีที่3.2 โดยการใชการเคลือบAb ที่ผิวเซลล แลวทําปฏิกิริยากับ
Ag มันก็จะเกิดการรวมกลุมขึ้น
**การทํา Agglutination มีการใชชื่อตางๆกัน เรียกชื่อตาม particle
ถา particle เปน - RBC ก็ใช hem- นําหนา
- latex ซึ่งใชเคลือบ Ag ก็เรียกวา latex agglutination
- cell อยางเดียวกันก็เรียก cell agglutination
4. Complement dependent reaction ===> จะถูกกระตุนดวยวิถี classical และวิถี alternative
วิถี Classical จะกระตุนดวย immune complex (Ag-Ab จับกัน) ซึ่งAb ตองมีอยางนอย 2 ตัว มันจึงจะ fix
complement ได ดูตามสไลดนะ......จะเห็นวา
C1จะเขาไปจับ C1qrs complex พวกนี้จะมีคุณสมบัติตัดพวก C4,C2 ไดเปน C4b2a

C4b2a ก็ตัดC3 ไดเปน C4b2a3b

C4b2a3b ตัดC5 ไดเปน C4b2a3b5b

มี C6,7,8,9 มาจับ C4b2a3b5b ทําใหเกิดรูเมื่อกระตุนไปเรื่อยๆก็เกิด Cell lysis


**สรุปคือใหรูวาตัวกระตุน Complement คือ immune complex ผลที่เกิดขึ้นก็คือการแตกของเซลล ซึ่งเราจะเอามา
ใชในการทํา Complement fixation test
Complement fixation test (CF) สามารถตรวจAgและAb ก็ได ยกตัวอยางเชน
- เราตองการตรวจหา Ab ในสิ่งสงตรวจ จากนั้นก็เอาAg ลงไป ถาผูปวยมี Ab มันก็จับกันเปนcomplex
จากนั้นเติม C ลงไป ซึ่ง C ก็จะถูกใชไปหมดเพราะโดน Ag-Ab complex กระตุนใหเกิดปฏิกิริยา แลว
เราก็เติม Indicator System ซึ่งมันก็เปน immune complex อีกชนิดซึ่งเราใช RBC เปนตัวทําใหเรา
มองเห็นวามันเกิดปฏิกิริยารึปาว นั่นก็คือ RBC ทําปฏิกิริยากับ RBC ของเซลลแกะ พอใสไปนานก็ทํา
ให C ถูกใชหมดไปจึงไมมีตัวไปกระตุนให RBC แตก RBC ก็ไมแตก
- ถาสิ่งสงตรวจไมมี Ab เมื่อใส Ag ลงไปก็ไมเกิด complex ใส C ลงไปก็ไมถูกใช ก็มี C เหลือ พอเรา
เติม Indicator System ลงไปก็ทําให C ถูกใชเมื่อกระตุนถึงC9 เซลลก็ถูก Lysis
- สมมุติมีหลอดทดลอง 2 หลอด หลอดที่หนึ่ง มีAb หลอดที่สองไมมี Ab พอใสAg ลงไป หลอดที่
หนึ่งก็เปนcomplex หลอดที่สองไมเกิด ถามีcomplex ก็ทําใหเมื่อเติม C แลวCก็ถูกใชหมด จากนั้นพอ
ใส Indicator System หลอดที่สองมี C เหลือก็จะมีการกระตุน C ตอ ก็เกิด Cell lysis
- ฉะนั้น ถาCell ไมแตกแสดงวา C หมดนั่นคือไมมี C ที่จะถูกกระตุน
5. Labeled Immunoassay
คือการติดฉลากเพื่อเพิ่มความไว ไวก็คือสามารถตรวจสอบปริมาณสารนอยๆได การติดฉลากเราก็จะติด
ดวย fluorescent, enzyme, รังสี

วิธีเรียกชื่อก็เรียกตามตัวที่นํามาติดเปนฉลาก
- ติดดวย fluorescent เรียก Immunofluorescence อาจใชกลอง fluorescent microscope
- ติดดวย enzyme เรียก Enzyme immunoassay ซึง่ ที่เราไดยินบอยๆ คือ ELISA ซึ่งการเติมenzyme นี้
ตองใส substrate ให enzyme ยอยเสมอเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของสี
- ติดดวยรังสี ตองมีเครื่องมือวัดปริมาณรังสี

สมมุติวามีผูปวยซึ่งเปนมะเร็งเราจะตรวจโดยการนํา Ag ของผูปวยมาแลวนํา Ab ที่จําเพาะของ Ag นั้นลงไป


ซึ่งถา Ab นั้นติดฉลากดวย
- ติดดวย fluorescent ก็จะเห็นการเรืองแสงเปนจุดๆหยอมๆก็จะทราบวานาจะมี Ag ของเซลลมะเร็งนี้
ผูปวย
- ติดดวย enzyme บริเวณจุดพวกนี้ที่เห็นก็จะมีเอนไซมอยูมาก เราก็ใส substrate ลงไปใหเอนไซมยอยก็
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนตะกอนตกมาเปนจุดๆ
- ติดดวยรังสี (เปนสวนใหญ) โดยลางกระจกสไลด ถามันมีแอนติเจนก็จะมีรังสีติดอยู จากนั้นนําไป
ตรวจที่เครื่องวัดปริมาณรังสี ถาวัดไดเยอะก็แสดงวาเกาะติดกันเยอะ
** ELISA จะไปพูดในแลปอยางละเอียด ซึ่งพวกนี้ก็จะมีการเคลือบแอนติเจนไวแลวใสสิ่งสงตรวจลงไป ถามันมี
แอนติบอดี แอนติบอดีก็จะไปจับแอนติเจนขางลาง จากนั้นก็จะใสตัวconjugate ของ Ab ที่จําเพาะและติดฉลาก
ดวยเอนไซมลงไป มันก็จะไปจับแอนติบอดีที่อยูขางลาง จากนั้นใส substrate ลงไปมันก็จะไปยอยเอนไซม ก็ทํา
ใหน้ําเปลี่ยนสี ถาเขมมากแสดงวามีปริมาณมากถาเขมนอยก็มีปริมาณนอย และมันยังมีเครื่องวัดELISA ที่วัด
ทีเดียว 96 หลุมแลวผลออกมาเลย.......................
....................................................................................จบ..........................................................................................
เฮย...........จบซะที คนแกะเอง งงเอง
ไงก็ขอใหเพื่อนๆทุกคนอานแลวทําขอสอบเรื่องนี้ไดนะจะ....สูๆ
ปลา 215 + กอย 247

ปล. ที่เหลือ อ. ฝากไปอานเองงงงงงงงง...TT^TT


แซว...
# เพื่อนๆแหไปดูโปรแกรมหนา วิญญาณอาฆาต เหตุเพราะแซมมี่บอกวาบัตรลดเหลือ 50 บาท !! หรอ ?
# ตั้งแตเปดเทอมมาเพื่อนดูสวย ดูหลอขึ้น ไปทําไรกันมา ??
# ขอเชิญชวนเพื่อนๆเขา “ชมรมหกปไมมีใคร” I'll be single only 6 years
# เอากลอนมาฝากเพื่อนๆๆ
“สอนมากกูเบื่อ สอนเหลือกูเกลียด สอนละเอียดกูงง บอกตรงๆกูขี้เกียจเรียน เรียนไปก็ไรคา ตายหาก็ลืมหมด”
ปล.ไมรูจะแซวไรอะ เพราะไมคอยรูเรื่องชาวบานเทาไหร :)

You might also like