CH 01 Intro2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

บทนํา-การเงินธุรกิจ การเงินคืออะไร

บทที่ 1 ‹ โอกาสในการประกอบอาชีพทางการเงิน
การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ
บทนํา-การเงินธุรกิจ ‹ รูปแบบพื้นฐานของการจัดองคกรธุรกิจ
‹ หนาที่ของการเงินธุรกิจ
สถาบัน ตลาด และเครื่องมือ
‹ เปาหมายของผูจัดการทางการเงิน ในการเคลื่อนยายเงินระหวาง
(Introduction to Business Finance) ‹ สถาบันและตลาดการเงิน
บุคคล ธุรกิจ และรัฐบาล
‹ องคประกอบของอัตราดอกเบี้ย
1-1 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-2 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-3 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ)

‹การบริการทางการเงิน ‹ธนาคารและสถาบันการเงิน ‹การลงทุน


¾เจาหนาที่สินเชื่อ (Loan officer) ¾นายหนาคาหลักทรัพย (Broker)
(Financial Services)
¾ผูจัดการธนาคาร (Retail bank manager) ¾นักวิเคราะห (Analyst)
ออกแบบ ใหคําแนะนํา และนําเสนอ ¾เจาหนาที่ทรัสต (Trust officer) ¾ผูจัดการกลุมหลักทรัพยลงทุน (Portfolio manager)

ผลิตภัณฑทางการเงินแกบุคคล ธุรกิจ ‹การวางแผนการเงินสวนบุคคล ‹อสังหาริมทรัพยและประกันภัย


¾นักวางแผนทางการเงิน (Financial planner) ¾Mortgage banker
และรัฐบาล ¾Broker
¾Insurance specialist

1-4 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-5 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-6 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) รูปแบบขององคกรธุรกิจ


‹การเงินธุรกิจ
(Business Finance) ‹การจัดทํางบประมาณ (Budgeting) รูปแบบทางกฎหมายขององคกรธุรกิจ
‹การพยากรณทางการเงิน (Financial forecasting) มี 3 ประเภท ไดแก:
การบริหารงานทางการเงินของธุรกิจ ‹การจัดการเงินสด (Cash management)
‹ กิจการเจาของคนเดียว
ทุกประเภท เปนหนาที่ของผูจ ัดการ ‹การบริหารสินเชื่อ (Credit management)
‹การวิเคราะหการลงทุน (Investment analysis) (Sole Proprietorships)
ทางการเงิน ‹การจัดหาเงินทุน (Fund procurement) ‹ หางหุนสวน (Partnerships : general
‹การบริหารความเสีย ่ งจากอัตราแลกเปลี่ยน and limited)
(Exchange rate risk hedging) ‹ บริษัทจํากัด (Corporations)
1-7 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-8 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-9 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
สรุปจุดแข็งและจุดออนของกิจการ
รูปแบบขององคกรธุรกิจ (ตอ) เจาของคนเดียว
รูปแบบขององคกรธุรกิจ (ตอ)
กิจการเจาของคนเดียว -- ธุรกิจที่มีเจาของเพียงคน จุดแข็ง จุดออน หางหุนสวน -- ธุรกิจที่มีเจาของตั้งแต 2 คน
เดียวดําเนินงานเพื่อหวังผลกําไรของตนเอง และ ‹เจาของไดกําไรทั้งหมด ‹ รับผิดชอบหนี้ไมจํากัด ขึ้นไป รวมลงทุนประกอบธุรกิจ เพื่อ
มีภาระความรับผิดชอบไมจํากัดจํานวน ‹ตนทุนขององคกรต่ํา ‹ มีขอจํากัดในการเพิ่ม แสวงหากําไรดวยกัน
(Unlimited liability) ‹จายภาษีเงินไดบุคคล ทุนและขยายกิจการ
‹รายไดของธุรกิจ จะนํามาคํานวณ เสีย
‹ เปนรูปแบบองคกรธุรกิจที่เกาแกที่สุด ธรรมดา ‹ เจาของตองรูท ุกอยาง
‹ รายไดของธุรกิจ จะนํามาคํานวณ เสียภาษี ‹มีความเปนอิสระ ‹ ขาดความตอเนื่องเมื่อ ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ของหุนสวน
เงินไดบุคคลธรรมดา ‹เลิกกิจการทําไดงาย เจาของตาย แตละคน
1-10 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-11 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-12 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สรุปจุดแข็งและจุดออนของกิจการ
ประเภทของหางหุนสวน หางหุนสวน
รูปแบบขององคกรธุรกิจ (ตอ)
จุดแข็ง จุดออน
หางหุนสวนสามัญ (General Partnership) -- ผูเปน ‹ เพิ่มทุนไดมากกวาเจาของคน ‹ หุนสวนสามัญรับผิดชอบหนี้สิน บริษัทจํากัด (Corporation) -- ธุรกิจที่กําหนด
หุนสวนทุกคน ตองรับผิดชอบรวมกันเพื่อหนี้ทั้ง เดียว ไมจํากัดจํานวน และอาจตอง โดยกฎหมายใหมอี ํานาจเสมือนบุคคล
ปวง โดยไมจํากัดจํานวน ‹ มีอํานาจในการกูย
 ืมมากกวา รับผิดชอบหนี้ของหุนสวนดวย
หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership) -- ผูเปน ‹ มีอํานาจในการการคิดและ ‹ เมื่อหุนสวนตาย หางหุนสวน
ผูถือหุนเปนเจาของที่แทจริงของบริษัท
หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ จะ ทักษะในการจัดการมากกวา อาจตองเลิกไป รับผิดชอบจํากัดตามมูลคาหุน ที่ลงทุนไป
‹ จายภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ‹ การชําระกิจการหรือการโอน
รับผิดชอบในหนี้สินของหางไมเกินกวาจํานวนที่ตน ‹รายไดของธุรกิจ จะนํามาคํานวณ เสีย
ไดลงทุน ในหาง และตองมีหุนสวนที่ไมจํากัดความ ความเปนหุนสวนทําไดลําบาก
รับผิดชอบอยางนอย 1 คน ‹ ดําเนินการในธุรกิจขนาดใหญ ภาษีเงินไดนิติบุคคล
1-13 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-14 ไดยาก ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-15 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สรุปจุดแข็งและจุดออนของกิจการ โครงสรางของการเงินในองคกร
บริษัทจํากัด
หนาที่ของการเงินธุรกิจ Stockholders

เลือก
จุดแข็ง จุดออน
‹โครงสรางของการเงินในองคกร
Board of Directors

‹ รับผิดชอบหนี้สินจํากัดจํานวน ‹ จายภาษีสูงกวา เพราะเงินได จาง

‹ ความเปนเจาของสามารถโอน ของบริษัทถูกคิดภาษี และ


‹ความสัมพันธกบ
ั เศรษฐศาสตร
President
(CEO)

กันได เงินปนผลก็ถูกคิดภาษีอีก Vice President Vice President Vice President


‹ อายุของกิจการยาวไมตองเลิก ‹ คาใชจายในการจัดการ
‹ความสัมพันธกบ
ั การบัญชี Manufacturing Finance :CFO Marketing

เมื่อเจาของตาย องคกรสูงกวาแบบอื่น
‹กิจกรรมที่สาํ คัญของผูจด
ั การ
Treasurer Controller

‹ สามารถจางผูจัดการมืออาชีพ ‹ ไมเปนความลับ เพราะผูถือ


‹ ขยายกิจการไดงาย เนื่องจาก หุนตองไดรับรายงานทาง Capital Expenditure Foreign Cost Accounting

ทางการเงิน
Manager Credit Exchange Tax Manager
Manager Manager Manager

สามารถเขาถึงตลาดทุน การเงิน Financial Planning


and Fund-Raising
Manager
Cash Pension Fund Corporate
Accounting
Financial
Accounting
Manager Manager Manager Manager

1-16 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-17 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-18 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน


โครงสรางของการเงินในองคกร โครงสรางของการเงินในองคกร ความสัมพันธกับเศรษฐศาสตร
Board of Directors VP of Finance ‹เศรษฐศาสตรมหภาค
ผูจัดการทางการเงินตองเขาใจโครงสรางของเศรษฐกิจ
President Treasurer Controller กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และนโยบายทางเศรษฐกิจ
Cost Accounting
(Chief Executive Officer) Capital Budgeting
Cost Management
Cash Management Data Processing ‹เศรษฐศาสตรจุลภาค
Credit Management General Ledger
VP of Dividend Disbursement Government Reporting นําทฤษฎีมาประยุกตใชในการดําเนินธุรกิจ เชน การ
Vice President Vice President Fin Analysis/Planning Internal Control
Operations Finance Marketing Pension Management Preparing Fin Stmts วิเคราะหอุปสงคอุปทาน กลยุทธกําไรสูงสุด ทฤษฎีราคา
Insurance/Risk Mngmt Preparing Budgets และที่สําคัญคือการวิเคราะหสวนเพิ่ม
Tax Analysis/Planning Preparing Forecasts
1-19 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-20 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-21 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับเศรษฐศาสตร (ตอ) ความสัมพันธกับเศรษฐศาสตร (ตอ) ความสัมพันธกับการบัญชี


‹บริษัท นนทรี จํากัด จะซื้อคอมพิวเตอรใหม ผลประโยชนจากเครื่องใหม 100,000 บาท ‹บั ญ ชี เ ป น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การบั น ทึ ก ข อ มู ล
มาทดแทนเครื่องเกา ซึ่งจะประมวลผลได หัก ผลประโยชนจากเครื่องเกา 35,000
ผลประโยชนสวนเพิ่ม 65,000 กิจกรรมของธุรกิจในรูปของตัวเลข แลว
เร็วขึ้น ตนทุนของเครื่องใหม 80,000 บาท สรุปออกมาเปนรายงานในรูปงบการเงิน
ตนทุนของเครื่องใหม 80,000
เครื่ อ งเก า สามารถขายได ใ นราคา 28,000 หัก เงินรับจากการขายเครื่องเกา 28,000 นักการเงินจะใชขอมูลและงบการเงิน
บาท ผลประโยชนที่ไดรับจากการใชเครื่อง ตนทุนสวนเพิ่ม 52,000
ที่ไดรับจากนักบัญชีไปทําการวิเคราะหและ
ใหม 100,000 บาท ผลประโยชนจากการใช ผลประโยชนสุทธิ 13,000
เครื่องเกา 35,000 บาท บริษัท นนทรี จํากัด ควรซื้อคอมพิวเตอรใหม ตัดสินใจ
1-22 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-23 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-24 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับการบัญชี (ตอ) ความสัมพันธกับการบัญชี (ตอ) ความสัมพันธกับการบัญชี (ตอ)


เลือดจากการเตนของ
‹การเนนกระแสเงินสด นักบัญชีจะจัดทํางบ รางกาย หัวใจที่ผานหลอดเลือด บริษัทบางเขน มีผลการดําเนินงานในปที่ผานมาดังนี้
การเงินโดยใชเกณฑคงคางหรือเกณฑพึง = กิจการ แดงไปยังเซลลตาง ๆ ‹ยอดขาย 100,000 บาท (ยังเก็บเงินไมได 50%)
รับพึงจาย ในขณะที่ผูจัดการทางการเงิน และทําใหอวัยวะใน ‹ตนทุนสินคาขาย 60,000 บาท (จายเงินหมดแลว)
การเตนของหัวใจ รางกายทํางานตามปกติ
จะใชเกณฑเงินสด = กระแสเงินสด ‹คาใชจา ย 30,000 บาท (จายเงินหมดแลว)
= รายการคา

นักบัญชีบนั ทึกการเตน : หัวใจแข็งแรง/เสนเลือดอุดตัน


รายไดจากการขาย คาใชจาย กําไร กิจการกําไรดี/ขาดสภาพคลอง
1-25 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-26 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-27 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
กิจกรรมที่สําคัญของผูจัดการ
ความสัมพันธกับการบัญชี (ตอ) ความสัมพันธกับการบัญชี (ตอ) ทางการเงิน
มุมมองนักบัญชี มุมมองนักการเงิน ‹การตัดสินใจ นักบัญชีจะสนใจในกระบวน กิจกรรมที่สําคัญจะมีความสัมพันธกับ
เกณฑคงคาง เกณฑเงินสด การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนําเสนอในรูป งบดุลของกิจการ
ยอดขาย 100,000 50,000
ตนทุนขาย (60,000) (60,000) ของงบการเงิ น ผู จั ด การทางการเงิ น จะ วิเคราะหและวางแผนทางการเงิน

กําไรขั้นตน 40,000 (10,000) ประเมินงบการเงินของนักบัญชี จัดทําขอ งบดุล


คาใชจาย (30,000) (30,000) มูลเพิ่มเติม และตัดสินใจดวยการประเมิน ตัดสินใจ สินทรัพยหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน ตัดสินใจจัดหา
กําไร(ขาดทุน)สุทธิ 10,000 (40,000)
ลงทุน สินทรัพยถาวร เงินทุนระยะยาว แหลงเงินทุน
ความเสี่ยงและผลตอบแทน
1-28 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-29 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-30 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

กิจกรรมที่สําคัญของผูจัดการ การวิเคราะหและวางแผน
ทางการเงิน (ตอ) ทางการเงิน (การบริหาร)
การตัดสินใจลงทุน
กิจกรรมหลักคือ ‹ติดตามดูฐานะทางการเงินของกิจการโดยการวิเคราะห พิจารณา 3 เรื่องสําคัญ คือ
อัตราสวนและรอยละของขนาดรวม
การวิเคราะหและวางแผนทางการเงิน ‹ประเมินความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงกําลังการผลิต ‹ขนาดของกิจการที่เหมาะสม?
(หรือ การบริหาร) ‹ประเมินความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงแหลงเงินทุน ‹กิจการควรลงทุนในสินทรัพยแตละประเภท
‹พิจารณาวากิจการบริหารสินทรัพยที่มีอยู อยางมี
การตัดสินใจลงทุน ประสิทธิภาพเพียงใด? เทาใด?
และ การตัดสินใจจัดหาแหลงเงินทุน ‹สวนใหญเนนในเรื่องของ การบริหารสินทรัพยหมุนเวียน ‹สินทรัพยใดบางที่กิจการควรลดจํานวนลง?
มากกวา การบริหารสินทรัพยถาวร
1-31 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-32 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-33 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

เปาหมายของผูจัดการทาง ทํากําไรสูงสุด
การตัดสินใจจัดหาแหลงเงินทุน การเงิน (Profit Maximization)
กําหนดวาสินทรัพยที่กิจการลงทุน (รายการ นักการเงินจะเลือก ทางเลือก ที่ทําใหเกิด
ดานซายมือของงบดุล) ควรจัดหาเงินทุนจาก
แหลงใด (รายการดานขวามือของงบดุล)
เพิ่มความมัง่ คั่งสูงสุด ผลตอบแทน (ซึ่งเปนตัวเงิน) ที่คาดหวัง สูงสุด
เปาหมายนี้สามารถทํากําไรไดในระยะสั้น (ในปจจุบัน)
‹กิจการควรจัดหาเงินจากแหลงใด? แกผูถือหุน! แตจะเปนการทําใหเกิดผลเสียแกกจิ การในระยะยาว เชน
เลื่อนการบํารุงรักษาเครื่องจักรออกไปเพื่อประหยัดคาใชจาย
สัดสวนของแหลงเงินทุนที่เหมาะสม? ‹ ไมคํานึงถึงจังหวะเวลาที่ไดรับผลตอบแทน

‹นโยบายเงินปนผลที่ดีที่สุดเปนอยางไร? การเพิ่มมูลคา เกิดขึ้น เมื่อทําให ‹ ตองพิจารณาวากระแสเงินสดที่ผูถือหุนสามัญจะไดรับคือ เงินสด

ราคาหุนสามัญ ณ ปจจุบันมีคาสูงสุด ปนผลและกําไรจากการเปลี่ยนแปลงราคา ไมใชกําไรของกิจการ


‹วิธีการจัดหาเงินทุน? ‹ ละเลยการพิจารณาความเสี่ยง
1-34 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-35 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-36 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
จุดแข็งของการเพิ่มมูลคาสูงสุด
แกผูถือหุนสามัญ ผูมีสวนไดเสียในกิจการ (Stakeholders) โครงสรางของกิจการในปจจุบัน
‹จะคํานึงถึง: กําไรของกิจการในปจจุบันและ ‹กลุมบุคคลที่มีความเกี่ยวของทาง
อนาคต จังหวะการเกิดและความเสี่ยงของ เศรษฐกิจโดยตรงตอกิจการ บริษัทที่ทันสมัยในปจจุบัน
กระแสเงินสด และนโยบายเงินปนผล
¾ลูกจาง
‹ดังนั้น ราคาหุน จะเปนตัววัดผลการ
ดําเนินงานของธุรกิจ ¾ลูกคา ผูถือหุนสามัญ ฝายบริหาร
‹มูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ (EVA) เปนเครื่องมือ ¾ผูขายของใหกิจการ
วัดวา การลงทุนนั้นชวยใหเกิดความมั่งคั่งแก ¾เจาหนี้ ในโครงสรางนี้จะแยกหนาที่ระหวาง
เจาของมากนอยเพียงใด ¾เจาของ เจาของและผูจัดการบริษัท
1-37 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-38 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-39 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเด็นเรื่องตัวแทน ปญหาตัวแทน (Agency Problem) สภาพแวดลอมทางการเงิน


ฝายบริหารจะปฏิบัติตัวเปนเสมือน ตัวแทน (agent) ‹ผูถือหุนตองให สิ่งจูงใจ (incentives) ‹ผูจัดการทางการเงินตองติดตอกับแหลง
ของเจาของ (ผูถอื หุนสามัญ) ของกิจการ เพื่อใหฝายบริหารกระทําการเพื่อ เงินทุนอยางตอเนื่อง ซึ่งสามารถหาได 3 ทาง
‹ ตัวแทน คือบุคคลที่ไดรับการวาจาง หรือไดรับมอบ ประโยชนที่ดีที่สุดของเจาของ และ คือ
อํานาจการตัดสินใจในการบริหารกิจการเพื่อ ติดตาม (monitor) ผลที่เกิดขึ้น
ผลประโยชนของเจาของ ¾ผานสถาบันการเงิน
‹ ผูจัดการทําหนาที่เปนตัวแทนของเจาของกิจการแต
‹สิ่งจูงใจไดแก สิทธิในการซื้อหุน
 ของกิจการ เงินโบนัส
และสิทธิพิเศษอื่น เชนเปนสมาชิกสโมสรชั้นนํา ¾ผานตลาดการเงิน
อาจมีความขัดแยงกันในเรื่องผลประโยชน
‹ ความขัดแยงเรื่องตัวแทนทําใหเกิดตนทุน เชน การ รถประจําตําแหนงราคาแพง ที่ทํางานหรูหรา ¾การขายหลักทรัพยโดยตรง
ตรวจสอบบัญชี
1-40 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-41 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-42 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของสถาบันการเงิน ประเภทของสถาบันการเงิน (ตอ) สภาพแวดลอมทางการเงิน (ตอ)


‹ธนาคารพาณิชย ‹บริษัทเงินทุน สถาบันที่ไม ‹ตลาดการเงิน (Financial Markets)
สถาบัน
‹Savings and Loans } รับฝากเงิน ‹บริษัทประกันภัย } รับฝากเงิน ประกอบดวยสถาบันและกระบวนการที่จะนําผู
ซื้อและผูขายเครื่องมือทางการเงินมาพบกัน
‹Credit Unions ‹กองทุนบําเหน็จบํานาญ ‹วัตถุประสงคของตลาดการเงินคือ จัดสรรเงิน
•รับฝากเงิน •ไดรับเงินทุนมาจากการกูยืม ออมไปถึงผูบริโภคขั้นสุดทาย (ultimate users)
•ปลอยกู การขายกรมธรรมประกันภัย อยางมีประสิทธิภาพ
•ใชเงินทุนซื้อหลักทรัพย และ
ปลอยกู ‹ตนทุนของเงินทุนกําหนดโดยอัตราดอกเบี้ย
1-43 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-44 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-45 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ระบบการเงิน (Financial System) ระบบการเงิน (ตอ) ระบบการเงิน (ตอ)
‹วัตถุประสงคของระบบการเงิน คือ นําบุคคล ‹เงินทุนสามารถเคลือ
่ นยายผานระบบ
ธุรกิจ และหนวยงานรัฐบาลทีม่ เี งินออม และ กูเงิน กูเงิน การเงิน โดยนําเงินทุนไปแลกเปน
ที่ตองการใชเงินทุนมาพบกัน หลักทรัพย
‹หลักทรัพยเปนเอกสารแสดงสิทธิที่จะไดรับ
เงินทุนในอนาคต
ออมเงิน ออมเงิน ‹ตัวกลางทางการเงิน ชวยสนับสนุน
กระบวนการเคลือ่ นยายเงิน
1-46 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-47 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-48 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ) การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)

ผูตองการเงินทุน ผูตองการเงินทุน ผูตองการเงินทุน


ผูตองการเงินทุน ผูมีเงินทุน / ผูออม
นายหนาซื้อขาย นายหนาซื้อขาย นายหนาซื้อขาย
ทางการเงิน

ทางการเงิน

ทางการเงิน
ตัวกลาง

ตัวกลาง

ตัวกลาง
หลักทรัพย หลักทรัพย ธุรกิจ หลักทรัพย ครัวเรือน
ตลาดรอง ตลาดรอง รัฐบาล ตลาดรอง ธุรกิจ
ครัวเรือน รัฐบาล
ผูมีเงินทุน / ผูออม ผูมีเงินทุน / ผูออม ผูมีเงินทุน / ผูออม

1-49 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-50 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-51 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ) การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ) การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)

ผูตองการเงินทุน ผูตองการเงินทุน ผูตองการเงินทุน


นายหนาซื้อขาย ตัวกลางทางการเงิน ตลาดรอง
หลักทรัพย
นายหนาซื้อขาย นายหนาซื้อขาย นายหนาซื้อขาย
ทางการเงิน

ทางการเงิน

ทางการเงิน
ตัวกลาง

ตัวกลาง

ตัวกลาง
หลักทรัพย หลักทรัพย ธนาคารพาณิชย หลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยที่
Investment Bankers บริษัทประกันภัย จัดตั้งเปนทางการ
ตลาดรอง ตลาดรอง กองทุนบําเหน็จบํานาญ ตลาดรอง
Mortgage Bankers บริษัทเงินทุน ตลาดซื้อขายนอก
กองทุนรวม ระบบ
ผูมีเงินทุน / ผูออม ผูมีเงินทุน / ผูออม ผูมีเงินทุน / ผูออม

1-52 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-53 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-54 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน


ตลาดการเงิน ตลาดการเงิน (ตอ) ตลาดการเงิน (ตอ)
(Financial Markets)
‹แบงประเภทตามลักษณะของผูที่มีสวน ‹แบงประเภทตามลักษณะของผูที่มีสวน
เงินทุน
รวมในตลาดและหลักทรัพยที่เกี่ยวของ รวมในตลาดและหลักทรัพยที่เกี่ยวของ
‹ตลาดแรก เปนสถานที่ซึ่งหนวย ตลาดแรก ‹ตลาดแรก เปนสถานที่ซึ่งหนวย
เศรษฐกิจขาย หลักทรัพยออกใหม เศรษฐกิจ ขาย หลักทรัพยออกใหม
¾ธุรกิจขายหลักทรัพยเพื่อระดมเงินทุนไปใชใน ‹ตลาดรอง เปนสถานที่นักลงทุนซื้อขาย
กิจการ หลักทรัพยกัน
หลักทรัพย
1-55 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-56 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-57 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ตลาดการเงิน (ตอ) ตลาดการเงิน (ตอ) ตลาดการเงิน (ตอ)


ตัวกลางทางการเงิน เชน ธนาคารพาณิชย และ
‹ตลาดเงิน และ ตลาดทุน บริษัทประกันภัย ชวยสนับสนุนใหการไหลของเงินทุน
เงินทุน ¾ตลาดเงิน (Money Market) ในตลาดการเงินเกิดขึ้นสะดวก
™ซื้อขายตราสารหนี้ระยะสัน
้ (นอยกวา 1 ป)
฿฿ หลักทรัพย
ตลาดรอง เชน ตั๋วเงินคงคลัง ตราสารพาณิชย
¾ตลาดทุน (Capital Market)
™ซื้อขายหลักทรัพยระยะยาว เชน หุนกู
หุนสามัญ
หลักทรัพย หลักทรัพย ฿฿
1-58 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-59 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-60 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

หลักทรัพยในตลาดเงิน อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราดอกเบี้ย หรือ


ผลตอบแทนที่ตองการ ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)
‹ตั๋วเงินคงคลัง (Treasury Bills) ‹อัตราดอกเบี้ย กําหนดโดย ‹อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง
‹บัตรเงินฝาก (Certificates of Deposit) ¾อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (Real Rate of Interest) ¾เปนคาตอบแทนที่ผูตองการเงินทุน
¾อัตราเงินเฟอที่คาดหมาย (Expected Inflation)
‹ตราสารพาณิชย (Commercial Paper) จายใหแกผูใหเงินทุน (ผูออม) สําหรับ
¾ความเสีย
่ งในการผิดนัดชําระหนี้ (Default Risk)
‹ตั๋วเงินที่ธนาคารรับรอง (Banker’s คาเสียโอกาสในการเลื่อนใชเงินทุน
¾ความเสีย
่ งของระยะเวลาครบกําหนดชําระ
Acceptances) (Maturity Risk) ออกไป
¾ความเสีย
่ งของสภาพคลอง (Liquidity Risk)
1-61 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-62 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-63 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราดอกเบี้ย หรือ
ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ) ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ) ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)
‹ความเสี่ยงของระยะเวลาครบกําหนด
‹อัตราเงินเฟอที่คาดหมาย ‹ความเสี่ยงในการผิดนัดชําระหนี้
¾ ถาอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ผูใหกูจะรูสึกวาเงินทีเ่ ขา
¾เงินเฟอทําใหอํานาจซือ ้ ของเงินลดลง ¾ความเสี่ยงที่ผูใหกูจะไมไดรับการจาย ปลอยกู จายดอกเบี้ยในอัตราทีต่ ่ํากวา ดอกเบี้ยที่
ตัวอยางเชน: หากนิสิตใหเพื่อนกูยืมเงินจํานวน ชําระหนี้คืนตามกําหนด เขาสามารถไดรับจากการปลอยกูใหม
1,000 บาทและเพื่อนของนิสิตจายคืนเงินในอีก 1 ป ¾ ความเสี่ยงของเหตุการณนี้จะสูงขึ้น หาก
ตอมาพรอมกับดอกเบี้ย 10% นิสิตจะไดรับเงิน ¾หากโอกาสที่จะผิดนัดชําระหนี้มาก
1,100 บาท แตถาเงินเฟอเพิ่มขึ้น 5% ทําใหสินคา ระยะเวลาที่จะครบกําหนดไถถอนนานขึ้น
อัตราดอกเบี้ยที่กําหนดก็จะสูงตาม ¾ ผูใหกูจะปรับสวนชดเชยความเสี่ยงที่เขาคิดจาก
ตนทุน 1,100 บาทในตอนตนป กลายเปนมีตนทุน
ในขณะนี้ 1,100(1.05) = 1155 บาท ผูกูตามความเสี่ยงที่เขาคาดการณ
1-64 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-65 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-66 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราดอกเบี้ย หรือ


ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ) ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ) ผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)
‹ความเสี่ยงของสภาพคลอง k1 = k* + IP + RP1 ‹โครงสรางระยะเวลาของอัตราดอกเบี้ย
¾การลงทุนที่ขายไดงาย โดยไมทําใหเสียราคา ¾ความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ย
k1 = อัตราดอกเบี้ยที่เปนตัวเลขของ
เปนการลงทุนที่มีสภาพคลอง หลักทรัพย 1 ระยะสั้นและระยะยาว
¾หลักทรัพยที่ไมมีสภาพคลอง ตองการอัตรา k* = อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง
ดอกเบี้ยที่สูงเพื่อชดเชยแกผใู หกู ¾เสนอัตราผลตอบแทน
IP = สวนชดเชยเงินเฟอ
RP1 = สวนชดเชยความเสี่ยง
1-67 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-68 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 1-69 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

โครงสรางระยะเวลาของอัตราดอกเบี้ย
(Term Structure of Interest Rates)
Upward Sloping Yield Curve
อัตราผลตอบแทน (%)

0 2 4 6 8 10

(ปกติ)
Flat Yield Curve
Downward Sloping Yield Curve
(ไมปกติ)
0 5 10 15 20 25 30
ระยะเวลาที่ครบกําหนด
เสนอัตราผลตอบแทน (yield curve) เปนเสนกราฟแสดงความสัมพันธ
ระหวางอัตราผลตอบแทนและระยะเวลาครบกําหนดไถถอนของหลักทรัพย
1-70 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

You might also like