ปัสสาวะมนุษย์เร่งการเจริญเติบโตของพืช

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 33

ปัสสาวะมนุษย์ เร่ งการเจริญเติบโตของพืช

จัดทาโดย

นางสาว ธนิดา ชูสกุลธรรม เลขที่ 20

นางสาว สุ พรรษา เพ็งเพ่งพิศ เลขที่ 30

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/4

เสนอ

อาจารย์ สิปป์ แสง สุ ขผล

โรงเรียนรัตนโกสินทร์ สมโภชบวรนิเวศศาลายา

ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปัสสาวะมนุษย์ เร่ งการเจริญเติบโตของพืช

จัดทาโดย

นางสาว ธนิดา ชูสกุลธรรม เลขที่ 20

นางสาว สุ พรรษา เพ็งเพ่งพิศ เลขที่ 30

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/4

เสนอ

อาจารย์ สิปป์ แสง สุ ขผล

โรงเรียนรัตนโกสินทร์ สมโภชบวรนิเวศศาลายา

ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ชื่อผลงาน : ปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช

ชื่อผูจ้ ดั ทา : น.ส. ธนิดา ชูสกุลธรรม และ น.ส. สุ พรรษา เพ็งเพ่งพิศ

ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษา : อาจารย์ สิ ปป์ แสง สุ ขผล

ปี การศึกษา : 2554

บทคัดย่ อ

ในการทารายงานครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อทาการทดลองว่า ปั สสาวะที่เข้มข้นมาก และปั สสาวะที่มี


ความเข้มข้นน้อย แบบใดที่จะทาให้ตน้ กะเพราเจริ ญเติบโตได้ดีกว่ากัน ซึ่ งพบว่าการใช้ปัสสาวะคนมาทาปุ๋ ยใส่
พืชนั้นสามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้เป็ นอย่างดีและไม่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนไม่มีเชื้ อก่อโรค
เหมือนกับในกรณี ของอุจจาระมนุษย์ ซึ่ งใช้เวลาในการปฏิบตั ิงานประมาณ 1 อาทิตย์ โดยการนาต้นกะเพรามา 5
ต้น แล้วใช้น้ าปั สสาวะไปผสมกับน้ าเปล่า ประมาณ 1:10 , 3:10 , 5:10 , 7:10 , (10:10 เข้มข้นมาก)

จากผลการทดลอง การใช้ปัสสาวะในการปลูกพืชนั้นสามารถนามาใช้ได้ แต่ควรมีการปรับระดับความ


เข้มข้นให้เหมาะสมก่อนการนาไปใช้ ดีกว่าการนาไปใช้โดยตรงซึ่ งทั้งนี้ก็ข้ ึนอยูก่ บั ชนิ ด และช่วงอายุของพืช
ด้วย ที่ผา่ นมาก็ถือว่ายังไม่มีเหตุผลที่จาเป็ นในการใช้ปัสสาวะในการปลูกพืช แต่ในปั จจุบนั ปั ญหาการใช้สารเคมี
ที่ส่งผลกระทบต่อการเกษตรและสิ่ งแวดล้อมอย่างมาก จึงได้ทาการทดลองเพื่อให้เกิดผลการยืนยันที่ชดั เจน
Abstract
In doing report this time have the objective for does the experiment that , , urine that is full-flavoured very ,
and urine that have , condensed intensity is a little , like [ model ] , any to make the sweet basil grows up more
well , which , meet that , using urine a person come to do the fertilizer , add that plant can pay back using
chemical fertilizer well and have no result to affect build [ wasp ] the environment , including , have no the
sperm , built the disease is like in case of of human faeces , which , take time in work practice about 1 Sunday
, by lead , 5 sweet basils come to , already use urine goes to mix with the fresh water , about 1:10 , 3:10 , 5:10
, 7:10 , (10:10 be full-flavoured very )

from the experiment , using urine in growwing that plant can can apply , but , be supposed to fining
level , condensed intensity are appropriate before the lead goes to use , better the lead goes to use directly
which , in order that , as a result , depend on a kind , and the span of age , of the plant with , preceding , be
regarded as still have no reason at necessary in using urine in growwing plant , but , in now a problem , using
chemicals that have an affect on to build [ wasp ] the agriculture and the environment at most , then get do the
experiment for , be effective something , insist that distinct .
คานา

รายงานนี้จดั ทาเพื่อใช้ในการประกอบการเรี ยนของนักเรี ยนโดยมี อาจารย์สิปป์ แสง สุ ขผล เป็ นผูใ้ ห้


คาแนะนาในปัจจุบนั ด้านการเกษตรมีการพัฒนาไปอย่างแพร่ หลาย โดยส่ วนใหญ่มกั จะใช้ปุ๋ยเคมีมากกว่าปุ๋ ย
หมัก ซึ่ งทาให้สิ้นเปลือง แต่ในภายหลังมีผใู ้ ช้ปุ๋ยหมักมากขึ้นจึงทาให้เกิดการคิดค้นวิธีการเพิม่ ผลผลิตของสิ นค้า
และข้าพเจ้าก็ได้คน้ พบวิธีการเร่ งเจริ ญเติบโตของพืช โดยการนาปัสสาวะของมนุษย์มาใช้ในการปลูกพืช เพราะ
ในปั สสาวะนั้นประกอบด้วยธาตุอาหารที่จาเป็ นต่อพืช เช่น ไนโตรเจน โพแทสเซี ยมและฟอสฟอรัส ซึ่ งมี
ประโยชน์ทาให้พืชผักโต และทาง่ายใช้เวลาน้อยกว่าปุ๋ ยหมัก เป็ นการนาสิ่ งปฏิกลู ที่ไม่มีค่านามาใช้ให้เป็ น
ประโยชน์ที่สุด และยังประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

สุ ดท้ายขอขอบคุณ อาจารย์ สิ ปป์ แสง สุ ขผล เป็ นอย่างยิง่ ที่ให้คาแนะนาจนสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี


ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้

คณะผูจ้ ดั ทา

น.ส ธนิดา ชูสกุลธรรม เลขที่ 20

น.ส. สุ พรรษา เพ็งเพ่งพิศ เลขที่ 30


กิตติกรรมประกาศ

ข้าพเจ้ามีความยินดียงิ่ ที่ได้จดั ทาโครงงานเรื่ อง ปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช นี้จน


ประสบผลสาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ของการทดลองได้มากขึ้น
มีความรับผิดชอบต่อโครงงาน ได้เรี ยนรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆ และอาจเป็ นแนวทางการใช้ปัสสาวะมนุษย์แทน
ปุ๋ ยเคมีต่อไปในอนาคตได้

ในการจัดทาโครงงานนี้จะสาเร็ จลุล่วงไม่ได้ถา้ หากขาด อาจารย์ สิ ปป์ แสง สุ ขผล ที่ให้คาแนะนา


และคาปรึ กษาในการทาโครงงานครั้งนี้ รวมไปถึงทางโรงเรี ยนรัตนโกสิ นทร์ สมโภชบวรนิเวศศาลายาในพระ
สังฆราชูปถัมภ์ ที่อานวยความสะดวกด้านสถานที่ในการทาโครงงาน คณะผูจ้ ดั ทาต้องขอขอบพระคุณไว้ ณ
โอกาสนี้ดว้ ย “ขอบพระคุณค่ะ”

คณะผู้จัดทา

นางสาว ธนิดา ชูสกุลธรรม เลขที่ 20

นางสาว สุ พรรษา เพ็งเพ่งพิศ เลขที่ 30


สารบัญ
หน้า

บทคัดย่อ ก

คานา ข

กิตติกรรมประกาศ ค

บทที่ 1 บทนา 1

-ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1

-วัตถุประสงค์ของรายงาน 1

-สมมุติฐานของรายงาน 2

-ตัวแปร 2

-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2

บทที่ 2 เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง 3-4

บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 5

-ขั้นตอนการทดลอง 5

-ปฏิทินการปฏิบตั ิงาน 5

-ผูใ้ ห้ขอ้ มูล 6

-เครื่ องมือที่ใช้ในการทางาน 6

-วิธีดาเนินการ 6
-การวิเคราะห์ขอ้ มูล 7

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 8

-ผลการทดลอง 8

-ผลการดาเนินการ 8-9

บทที่ 5 สรุ ปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 10

-ความมุ่งหมายของการทาโครงงาน 10

-ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 10

-อภิปรายผล 10

-ข้อเสนอแนะ 11

บรรณานุกรม 12

เอกสารอ้างอิง 13

ภาคผนวก 14

ภาคผนวก ก. 15

- วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ

ภาคผนวก ข. 16

- วิธีดาเนินการ 15-16

ภาคผนวก ค.

- ภาพการปฏิบตั ิงาน 17-23


ประเมินผลงาน 24
1

บทที่ 1

บทนา

1.1ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน

การทดลองเป็ นการปฏิบตั ิของวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึ กการคิดวิเคราะห์ ฝึ กการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม


ซึ่ งปั สสาวะเป็ นสิ่ งที่คนคิดว่าไม่มีประโยชน์ ข้าพเจ้าจึงลองคิดว่าน้ าปั สสาวะน่าจะทาประโยชน์ได้ และลอง
หาข้อมูลของปัสสาวะ และพบว่าปั สสาวะเป็ นของเสี ยในรู ปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วย
กระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปั สสาวะ ซึ่ งเป็ นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับ
เซลล์ (cellular metabolism)แล้วทาให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็ นของเสี ยจานวนมาก ข้าพเจ้าจึง
ทดลองในเรื่ องนี้เพราะเป็ นการทดสอบว่าน้ าปั สสาวะจะทาประโยชน์ให้กบั ต้นพืชได้อย่างไร

ในการออกแบบการทดลอง ข้าพเจ้าจะใช้ตน้ กะเพราในการทดลอง 5 ต้น ในการออกแบบวิธีการ


ทดลองข้าพเจ้าจะตวงน้ าปั สสาวะไว้ 5 บิกเกอร์ แต่ละบิกเกอร์ จะมีความเข้มข้นของปั สสาวะไม่เท่ากัน คือ 1:
10 , 3:10 ,5:10 ,7:10 ,10:10โดยรดต้นกะเพราอย่างละบิกเกอร์ บิกเกอร์ ละ 20 mlโดยปัสสาวะต้องเป็ นของ
วันต่อวัน และใช้ปัสสาวะของคนคนเดียวรดน้ าที่ตวงไว้ทุกวัน ประมาณ 1 อาทิตย์ ในแต่ละวันจะต้องวัดค่า
ความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะด้วยเครื่ อง Salinityและจดบันทึกผล

ดังนั้น เมื่อปั สสาวะไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากนักเราก็สามารถนามาทาเป็ นปุ๋ ยใส่ ตน้ ไม้


ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและนาประโยชน์จากสิ่ งปฏิกลู มาทาให้มีคุณค่าสู งสุ ด ซึ่ งเราจะได้ลดค่าใช้จ่ายได้มาก โดย
ที่ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใดๆและเป็ นการฝึ กวิเคราะห์ในระหว่างการทดลองด้วย ถ้าเราตั้งใจทาผลงาน งานนั้น
ก็ จะมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และเกิดประโยชน์มากที่สุด

1.2วัตถุประสงค์ ของรายงาน

โครงงานเรื่ องปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช ข้าพเจ้าได้กาหนดวัตถุประสงค์ดงั นี้

1.เพื่อศึกษาและดาเนินการสร้างปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช

2.ได้ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์

3.ฝึ กการวิเคราะห์และหาข้อมูลด้วยตนเอง
2

4.ฝึ กการทางานเป็ นคู่

5.เพื่ออยากทราบประโยชน์ของน้ าปั สสาวะของมนุษย์

6.สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย

1.3สมมุติฐานของรายงาน

ถ้านาเอาปั สสาวะมนุษย์มาผสมกับน้ าในสัดส่ วนที่ต่างกันจะได้ผลผลิตที่ต่างกัน

ตัวแปร

ตัวแปรต้ น

ตอนที่1 : ต้นกะเพรา

ตอนที่2 : น้ าปั สสาวะในปริ มาณต่างๆ ดังนี้ 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10 ตามลาดับ

ตัวแปรตาม

ค่าความเข้มข้น ของปั สสาวะที่วดั ได้แต่ละครั้ง

ตัวแปรควบคุม

ปริ มาณน้ าที่รด ต้องเท่ากัน ต้นไม้ที่นามาทดลองต้องมีขนาดเท่ากัน

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ

1. ได้ศึกษาและสามารถดาเนินการทดลอง ปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช


2. รู ้จกั ทาปุ๋ ยเร่ งพืชได้ดว้ ยตนเอง
3. สามารถไปแนะนาเกษตรกรให้ใช้แทนปุ๋ ยเคมีได้
3

บทที่ 2

เอกสารงานทีเ่ กีย่ วข้ อง

ในการจัดสร้างโครงงาน ปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช จาเป็ นจะต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง


ดังนี้

ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปั สสาวะ มีรายละเอียดดังนี้สารต่างๆ ในน้ าปั สสาวะโดยปกติคนจะกลัน่


ปัสสาวะออกมาประมาณ 750 - 1,500 ซี ซี ต่อวัน ขึ้นอยูก่ บั ว่าคนนั้นดื่มน้ ามากน้อยแค่ไหน คนที่กินของเผ็ด
หรื อทอดจะกระหายน้ ามากกว่าคนปกติ หรื อในฤดูหนาวอากาศเย็นน้ าปั สสาวะจะมีมากกว่าฤดูร้อนอากาศ
ร้อนเพราะไม่เสี ยเหงื่อทางผิวหนัง รสของปั สสาวะจะมีรสเค็มๆ ถ้าปั สสาวะเข้มจะมีรสขมนิดๆ ในน้ า
ปั สสาวะมีอะไรดี มาดูกนั ดร.ฟารอน นักชีวเคมีได้วจิ ยั สารต่างๆ ในปั สสาวะพบว่า 95% เป็ นน้ า 2.5 % เป็ นยู
เรี ย อีก 2.5% เป็ นสารอื่นๆ ถ้าแยกส่ วนประกอบที่เป็ นมิลลิกรัมออกมาในน้ าปัสสาวะ 100 ซีซี(ลูกบาศก์
เซนติเมตร)จะพบว่ามี1. Urea Nitrogenปริ มาณ 682.00 มิลลิกรัม2.Urea ปริ มาณ 1,459.00 มิลลิกรัม เป็ นสาร
ขับปั สสาวะสารต้านอักเสบ ต้านไวรัส แบคทีเรี ย ผิวหนังอ่อนเยาว์ช่วยกาจัดเชื้อแบคทีเรี ยในทางเดินอาหาร
ขณะที่ดื่มน้ าปั สสาวะเข้าไป3.Creatinin Nitrogenปริ มาณ 36.00 มิลลิกรัม4.Creatininปริ มาณ 97.00 มิลลิกรัม
5.Uric acid nitrogen ปริ มาณ 12.30 มิลลิกรัม6. Uric acid ปริ มาณ 36.90 มิลลิกรัม เป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ
ต้านมะเร็ ง7.Amino nitrogen ปริ มาณ 9.70 มิลลิกรัม8. Ammonia nit.ปริ มาณ 57 มิลลิกรัม9. Sodium ปริ มาณ
212.00 มิลลิกรัม10.Potassium ปริ มาณ 137.00 มิลลิกรัม11.Calcium ปริ มาณ 19.50 มิลลิกรัม12.Magnesium
ปริ มาณ 11.30 มิลลิกรัม13.Chloride ปริ มาณ 314.00 มิลลิกรัม14.Total sulphateปริ มาณ 91.00 มิลลิกรัม15.
Inorganic sulphateปริ มาณ 83.00 มิลลิกรัม16.Inorganic phosphate ปริ มาณ 127.00 มิลลิกรัม

นอกจากนี้ยงั มีสารอื่นๆ อีก ซึ่ งมีดงั นี้1. เอนไซม์ ได้แก่1.1 Amylase(diastase)1.2 Lactic
dyhydrogenate(LDH)1.3Leucine amino-peptdase(LAP)1.4Urokinaseเป็ นสารละลายลิ่มเลือด รักษาเส้น
เลือดอุดตัน

2. ฮอร์ โมน ได้แก่2.1Catecholamines2.2 17-Catosteroids2.3Hydroxysteroids2.4Erytropoietineสารกระตุน้


ไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง2.5Adenylatecyclaseประสานการทางานฮอร์ โมนหลายชนิดในร่ างกาย โดย
ผ่านการทางานของสาร cyclic AMP2.6 Prostaglandin เป็ นสารประจาถิ่นในเนื้ อเยือ่ หลายชนิด ควบคุมการ
อักเสบ การรับรู ้ความปวด การจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยการทางานของมดลูก3. ฮอร์ โมนเพศ ช่วยสร้างความ
กระชุ่มกระชวย ผิวพรรณดี ลดรอยย่นและความหย่อนยาน สร้างสุ ขภาพจิตที่ดี ลดคลอเรสเตอรอลในเลือด
4

ป้ องกันกระดูกผุ4. อินซู ลนิ คนที่เป็ นเบาหวานจะได้อินซู ลินเข้าไปช่วยเสริ มสร้างการเจริ ญอาหาร5.


Melatoninพบในปั สสาวะตอนเช้า สารนี้ช่วยให้จิตใจสงบ ลดความกระวนกระวาย หลับสบายแต่นกั วิจยั ยัง
เชื่อว่ายังมีสารอื่นที่ยงั ไม่รู้จกั อีกมากจากการทดลองวิจยั ของ น.พ.ธรรมาธิกรี รัฐมหาราษฎร์ ประเทศอินเดีย
ได้ทดลองให้ผปู ้ ่ วยดื่มน้ าปั สสาวะของตนเอง 200 คน ได้ขอ้ สรุ ปดังนี้1. เซลล์ร่างกายสามารถรับออกซิ เจน
ได้มากขึ้น อัตราการเผาผลาญในร่ างกายสู งขึ้น2. ช่วยให้ร่างกายช่วยสร้างเม็ดเลือดแดงมากขึ้นในผูป้ ่ วยทุก
ราย ปริ มาณฮีโมโกลบินในเลือดสู งขึ้น
5

บทที่ 3

วิธีดาเนินการ

การจัดทาโครงงานครั้งนี้เป็ นเชิงปฏิบตั ิ เพื่อศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และการทดลอง ดังนั้น เพื่อจะได้


เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจึงได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอน การทดลอง

- ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับน้ าปั สสาวะ

- ออกแบบรายงาน และ จัดหาอุปกรณ์และเครื่ องมือ

- ปฏิบตั ิการทดลองและบันทึกผล

ปฏิทนิ ปฏิบัติงาน

วัน/เดือน/ปี รายการ สถานที่ ชื่อผูป้ ฏิบตั ิ หมาย


ดาเนินงาน เหตุ
7/ก.ย./54 สารวจเลือกรายงาน และศึกษาหาข้อมูล โรงเรี ยน ธนิดา ,สุ พรรษา -
8/ก.ย./54 จัดเตรี ยมอุปกรณ์และลงมือปฏิบตั ิ เป็ นวันแรก โรงเรี ยน ธนิดา,สุ พรรษา -
9/ก.ย./54 ลงมือปฏิบตั ิ วันที่ 2 โรงเรี ยน ธนิดา,สุ พรรษา -
10/ก.ย./54 ปฏิบตั ิวนั ที่ 3 บ้าน ธนิดา,สุ พรรษา -
11/ก.ย./54 ปฏิบตั ิวนั ที่ 4 บ้าน ธนิดา,สุ พรรษา -
12/ก.ย./54 ปฏิบตั ิวนั ที่ 5 โรงเรี ยน ธนิดา,สุ พรรษา -
13/ก.ย./54 ปฏิบตั ิวนั ที่ 6 โรงเรี ยน ธนิดา,สุ พรรษา -
14/ก.ย./54 ปฏิบตั ิวนั ที่ 7 และรวบรวมข้อมูล โรงเรี ยน ธนิดา,สุ พรรษา -
15/ก.ย./54 จัดทาโครงงานและพร้อมนาเสนอข้อมูล โรงเรี ยน ธนิดา,สุ พรรษา -
6

1.ผู้ให้ ข้อมูล

ในการหาข้อมูลข้าพเจ้าได้คาแนะนามาจาก อาจารย์ สิ ปป์ แสง สุ ขผล ซึ่งเป็ นอาจารย์สอนวิชาชีวะ


วิทยาโดยตรง ได้ให้คาแนะนาว่าใช้ตวั แปรต้นที่แตกต่างกัน โดยนาปั สสาวะใส่ ในบิกเกอร์ 5 บิกเกอร์
บิกเกอร์ ใบแรกใส่ ปั สสาวะ1ต่อน้ า10ส่ วน ใบที่2ใส่ ปัสสาวะ3ต่อน้ า10ส่ วน ใบที่3ใส่ ปัสสาวะ5ต่อน้ า10
ส่ วน ใบที่4ใส่ ปัสสาวะ7ต่อน้ า10ส่ วน และบิกเกอร์ ใบสุ ดท้ายใส่ น้ าปั สสาวะโดยไม่ใส่ น้ าเลย10ส่ วน และใช้
เครื่ องวัดค่าความเข้มข้น (salinity) ในการวัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะและดูการเจริ ญเติบโตของพืช
แต่ละต้น

2.เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการทางาน

1. บิกเกอร์ 5 บิกเกอร์

2.เครื่ องวัดค่าความเข้มข้น (Salinity)

3.ต้นกะเพราความสู งเท่าๆกัน 5ต้น

4. กระถาง 5 ใบ

5.ดิน

6. น้ าปั สสาวะ

7.น้ าเปล่า

3.วิธีดาเนินการ

3.1 ศึกษาและหาข้อมูล

3.2 วางแผน

- เตรี ยมอุปกรณ์

-นาต้นกะเพราปลูกลงในกระถาง 5 กระถาง

- นาปัสสาวะตวงในบิกเกอร์ 5 บิกเกอร์ โดยตวงให้ได้ปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10


7

- วัดค่าความเข้มข้นแต่ละบิกเกอร์ โดยเครื่ องวัด(salinity)

- ลงมือปฏิบตั ิ โดยตวงน้ าแต่ละบิกเกอร์ บิกเกอร์ ละ 20 ml รดต้นกะเพรา เป็ นเวลา 1


อาทิตย์แล้วรอดูผล

- จดบันทึกข้อมูล และสรุ ป

4.การวิเคราะห์ ข้อมูล

การวิเคราะห์ขอ้ มูล ข้าพเจ้าดาเนินการโดยการนาข้อมูลที่ได้จากอาจารย์มาปรับใช้ ทั้งนี้ได้


ดาเนินการดังนี้

ตวงน้ าปั สสาวะให้เท่ากัน ตรวจสอบความเรี ยบร้อยของผลงาน


8

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ในการทาโครงงานเรื่ อง ปั สสาวะเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช มีวตั ถุประสงค์เพื่อฝึ กการวิเคราะห์และการ


ทดลองปฏิบตั ิ สามารถนาไปใช้ได้จริ ง และรู ้จกั การนาสิ่ งปฏิกลู มาใช้ให้เป็ นประโยชน์

4.1 ผลการทดลอง

วันที่/เดือน/ปี ค่าความเข้มข้นของสารละลายในแต่ละวัน
1 :10 3:10 5:10 7:10 10:10
วันที่ 8/ ก.ย. /54 1.5% 1% 0.1% 0% น้อยกว่า 0%
วันที่ 9/ก.ย./54 2.0% 1.2% 0.3% 0% น้อยกว่า 0%
วันที่10/ก.ย./54 1.3% 0.9% 0.1% 0% น้อยกว่า 0%
วันที่11/ก.ย./54 1.2% 0.8% 0.3% 0% น้อยกว่า 0%
วันที่12/ก.ย./54 0.5% 0.1% 0% น้อยกว่า 0% น้อยกว่า 0%
วันที่13/ก.ย./54 1.9% 0.9% 0.2% 0% น้อยกว่า 0%
วันที่14/ก.ย./54 2.9% 1.1% 0.9% 0% น้อยกว่า 0%

4.2 ผลการดาเนินงาน

ต้นกะเพราทั้ง5ต้น หลังจากที่ให้น้ าปั สสาวะในค่าความเข้มข้นที่กาหนด 1:10 3:10 5:10 7:10 และ 10:10

ในปริ มาณ 20 ml. เท่าๆกัน สรุ ปได้วา่

ต้นกะเพราต้นที่1 ให้น้ าปั สสาวะในความเข้มข้น 1:10(ใส่ ปัสสาวะ1ส่ วน ใส่ น้ าเปล่าเจือจาง10ส่ วน)

- ต้นกะเพรามีการเจริ ญเติบโตช้าและใบขาด

ต้นกะเพราต้นที่2 ให้น้ าปั สสาวะในความเข้มข้น 3:10 (ใส่ ปัสสาวะ3ส่ วน ใส่ น้ าเปล่าเพื่อเจือจาง10ส่ วน)

- ต้นกะเพรามีการเจริ ญเติบโตดี ลาต้นสู งขึ้น และแตกใบอ่อน


9

ต้นกะเพราต้นที่ 3 ให้น้ าปั สสาวะเข้มข้น 5:10 (ใส่ ปัสสาวะ5ส่ วน ใส่ น้ าเปล่าเพื่อเจือจาง10ส่ วน)

-ต้นกะเพรามีใบร่ วง เหี่ ยว

ต้นกะเพราต้นที่ 4 ให้น้ าปั สสาวะเข้มข้น 7: 10 (ใส่ ปัสสาวะ7ส่ วน ใส่ น้ าเปล่าเพื่อเจือจาง10ส่ วน)

– ลาต้นเหี่ยวเฉาและใบเหี่ ยว

ต้นกะเพราต้นที่5 ให้น้ าปั สสาวะเข้มข้น 10:10 (ปัสสาวะ10ส่ วน ไม่เจือจางใดๆ)

- ลาต้นเหี่ยวเฉาและใบเหี่ยวตาย

จึงสรุ ปได้วา่ การใช้ปัสสาวะผสมกับน้ า 3:10 ทาให้พืชเจริ ญเติบโตมากที่สุด


10

บทที่ 5

สรุปอภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ

ในการทาโครงงานเรื่ อง ปั สสาวะมนุษย์เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช สรุ ปได้ดงั นี้

1.ความมุ่งหมายของการทารายงาน

ในการทาโครงงานครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ

1.ได้ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์

2.ฝึ กทักษะการวิเคราะห์

3.รู้จกั การออกแบบโครงงาน

4.เป็ นการนาสิ่ งที่ไม่มีประโยชน์นามาใช้ให้มีค่า

2.ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ผลสรุ ปดังนี้

1.จากการทาโครงงานทาให้รู้จกั การวิเคราะห์ในการทดลอง ทาให้เรามีความภูมิใจ ที่สามารถทาปุ๋ ย


เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชด้วยตนเอง เนื่ องจากได้คาติชมจากอาจารย์ขา้ พเจ้าก็นามาแก้ไขในส่ วนที่อาจารย์
ได้ติไว้ ทาให้ผลงานออกมาดีข้ ึน

2.ผลการศึกษาความพึงพอใจในผลงานหลังจากปฏิบตั ิในระยะเวลา 1 อาทิตย์ ผลที่ได้พบว่างาน


ออกมาได้เป็ นที่น่าพึงพอใจเป็ นอย่างมาก โดยมีระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ พอใจมาก

3.อภิปรายผล

จากผลการทารายงานทาให้ทราบผลการปฏิบตั ิ โดยมีผลการอภิปรายดังนี้

โครงงาน เรื่ อง ปั สสาวะเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช ที่ขา้ พเจ้าจัดทาได้ใช้สิ่งปฏิกลู ที่ไม่มีค่านามาใช้ ทาให้


ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ อปุ๋ ยและที่สาคัญไม่ทาให้ดินเสี ยอีกด้วย
11

4.ข้ อเสนอแนะ

- ถ้าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะมีความเข้มข้นเกิน จะทาให้ตน้ พืช เหี่ ยวและตายได้

- ผลที่ได้จากการทดลองนี้คือ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้มาก

- ควรมีการเผยแพร่ โครงงานนี้เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ าการเกษตร


12

บรรณานุกรม

ชีววิทยาเล่ม 1 ว 442. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, 2543. ส่ งเสริ มการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ.
http://www.karnkaset.com/index.php?p=1&s=1&m=7&i=52
http://healthy.in.th/categories/innovative/news/1168
http://envh.anamai.moph.go.th/green/article/m1-4.php
13

ภาคผนวก
14

ภาคผนวก ก.

วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ

1. ต้นกะเพรา 5 ต้น และ กระถาง 5 ใบ2.บิกเกอร์ 5 บิกเกอร์

3. น้ าปั สสาวะ อย่างละ 1:10 3:10 5:10 7:10 10:104.เครื่ องวัดค่าความเข้มข้น (Salinity)

ภาคผนวก ข.
15

วิธี ดาเนินการ

-นาต้นกะเพราปลูกลงในกระถาง 5 กระถาง

- เตรี ยมบิกเกอร์ 5 บิกเกอร์

- นาปัสสาวะตวงในบิกเกอร์ 5 บิกเกอร์ โดยตวงให้ได้ปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10


16

- วัดค่าความเข้มข้นแต่ละบิกเกอร์ โดยเครื่ องวัด(salinity)

- ลงมือปฏิบตั ิ โดยตวงน้ าแต่ละบิกเกอร์ บิกเกอร์ ละ 20 ml รดต้นกะเพรา เป็ นเวลา 1 อาทิตย์


17

ภาคผนวก ค.

ภาพการปฏิบัติงาน

วันที่ 8/ก.ย./54

นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์ ได้ดงั นี้

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึก และนาไปตวงให้ได้ปริ มาณ 20ml แร้วรดต้นกะเพราแต่ละต้น

ทาความสะอาดเครื่ องมือทุกชิ้น และรอดูการเจริ ญเติบโตของต้นกะเพราแต่ละต้นในวันต่อไป


18

วันที่ 9/ก.ย./54

ลักษณะของต้นกะเพราจากที่รดน้ าปั สสาวะ

-นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:105:10 7:10 10:10

-วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึกผล ตวงน้ าปั สสาวะ บิกเกอร์ ละ 20 ml และนาไปรดต้นพืช

ทาความสะอาดเครื่ องมือ และรอดูผลในวันถัดไป


19

วันที่ 10/ก.ย./54

ลักษณะของต้นกะเพราจากที่รดน้ าปั สสาวะ

-นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

-วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึกผล ตวงน้ าปั สสาวะ บิกเกอร์ ละ 20 ml และนาไปรดต้นพืช

ทาความสะอาดเครื่ องมือ และรอดูผลในวันถัดไป


20

วันที่ 11/ก.ย./54

ลักษณะของต้นกะเพราจากที่รดน้ าปั สสาวะ

-นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

-วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึกผล ตวงน้ าปั สสาวะ บิกเกอร์ ละ 20 ml และนาไปรดต้นพืช

ทาความสะอาดเครื่ องมือ และรอดูผลในวันถัดไป


21

วันที่ 12/ก.ย./54

-นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

-วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึกผล ตวงน้ าปั สสาวะ บิกเกอร์ ละ 20 ml และนาไปรดต้นพืช

ทาความสะอาดเครื่ องมือ และรอดูผลในวันถัดไป


22

วันที่ 13/ก.ย./54

ลักษณะของต้นพืช

-นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

-วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึกผล ตวงน้ าปั สสาวะ บิกเกอร์ ละ 20 ml และนาไปรดต้นพืช

ทาความสะอาดเครื่ องมือ และรอดูผลในวันถัดไป


23

วันที่ 14/ก.ย./54

ลักษณะของต้นพืช

-นาน้ าปั สสาวะมาตวงในปริ มาตร 1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

-วัดค่าความเข้มข้นของน้ าปั สสาวะแต่ละบิกเกอร์

1:10 3:10 5:10 7:10 10:10

จดบันทึกผล ตวงน้ าปั สสาวะ บิกเกอร์ ละ 20 ml และนาไปรดต้นพืช

ทาความสะอาดเครื่ องมือ และสรุ ปผล นาเสนอ อาจารย์


24

ประเมินผลงาน

ความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของอาจารย์ ทปี่ รึกษาโครงงาน

รายการ ดี พอใช้ ปรับปรุ ง


1.รู ปแบบโครงงาน
2.แผนการดาเนินงาน
3.ผลการทดลอง
4.ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
5.การดูแลเอาใจใส่ กบั
โครงงาน

ข้อเสนอแนะ___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________

ผลการพิจารณา ...... อนุมตั ิ ....... ปรับปรุ งแก้ไข .......ไม่อนุมตั ิ

ลงชื่อ _________________________ อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน

(...............................................)

_____/_____/_____

You might also like