Download as pdf
Download as pdf
You are on page 1of 11

1/22/2009

การพยาบาลทารกและเด็กป่ วย ระบบทางหายใจ
ระบบทางเดินหายใจและครอบครัว ¾ ระบบทางเดินหายใจส่ วนบน (upper respiratory tract) tract)
เป็ นระบบทางเดินหายใจส่ วนบนเหนือระดับกล่องเสี ยงขึ้นมา ตั้งแต่
จมูกถึงกล่องเสี ยง

¾ ระบบทางเดินหายใจส่ วนล่าง ( lower tract)


respiratory tract)
ตั้ งแต่กล่องเสี ยงลงไปถึงถุงลม
อ.ทับทิม ปัตตะพงศ์

ความแตกต่ างของระบบทางเดินหายใจในเด็ก
¾ ลิ้นของเด็กมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขากรรไกรล่าง
¾ กล่องเสี ยง (Larynx)ในเด็กอยูค่ ่อนมาทางข้างหน้า กระดูกอ่อนยัง
เจริ ญไม่ดี
¾ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของทางเดินหายใจมีขนาดเล็ก
¾ จํานวนถุงลมมีนอ้ ย
¾ ขนาดทรวงอก และกล้ามเนื้อกระบังลม
¾ ความต้องการออกซิ เจน เด็กจะมีเมตาบอลิซึมสู งกว่าผูใ้ หญ่ถึง 2 เท่า

กลไกการหายใจ ร่ างกายนําออกซิเจนไปใช้ได้อย่างไร
¾ 1. การหายใจเข้า (Inspiration ) กล้ามเนื้อกระบังลม และ ¾ การนําอากาศผ่านท่อทางเดินหายใจ (ventilation
ventilation))
กล้ามเนื้อระหว่างช่องกระดูกซี่ โครงชั้นนอก หดตัว
¾ การดูดซึ มออกซิ เจนสู่ ร่างกาย(
งกาย( diffusion))
diffusion
¾ 2. การหายใจออก
ใ E i ti ) การคลายตัวั ของกล้า้ มเนื้ือกระบังั
(Expiration
ลม และกล้ามเนื้อระหว่างซี่ โครงด้านนอก
¾ การดูดซึ มออกซิ เจนเข้าสู่ เส้นเลือด (perfusion
perfusion))

¾ การนําออกซิ เจนไปสู่ เนื้ อเยือ่ ของร่ างกาย

1
1/22/2009

โรคหวัด (Common Cold, Nasopharyngitis, คออักเสบ (Pharyngitis)


Acute Rhinitis) ¾ β - hemolytic streptococcus Group A
¾ พยาธิสภาพ มีการหลัง่ Acetylcholine ¾ อาการและอาการแสดง ไข้ อ่อนเพลีย เจ็บคอ ไอ เบื่ออาหาร
¾ อาการแสดง ตัวร้ อน มีไข้ สูง มีนํา้ มูกไหล เจ็บคอ ไอ จาม ¾ ภาวะแทรกซ้ อน ไซนัสอักเสบ หู ช้ นั กลางอักเสบ ไข้รูมาติก
¾ ภาวะแทรกซ้ อน การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่ วนล่ าง โรคหัวใจรู มาติก
Otitis media ไซนัส ¾ การรั กษา ตามอาการ โดยให้ยาลดไข้ยาแก้ไอ ดูแลให้ได้รับสารนํ้า
¾ การรั กษาตามอาการ ยาลดไข้ แก้ ไอ ลดนํา้ มูก สารอาหารอย่างเพียงพอ ให้ยาปฏิชีวนะพวกเพนนิซิลิน

ต่ อมทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis) อาการ


¾ β - hemolytic streptococcus Group A
¾ พยาธิสภาพ ต่อมทอนซิ ลโตและแดงจัด อาจพบแผ่นสี ขาวปกคลุม
บริ เวณต่อมทอนซิ ล
¾ อาการและอาการแสดง ไข้สูง อ่อนเพลีย เจ็บคอ กลืนอาหารลําบาก
ไ ่อย ตรวจพบ ลิิ้นขาวเป็ป็ นฝ้ า คออักั เสบแดง
เบื่ืออาหาร ไอบ่
ต่อมทอนซิ ลโตแดง มีหนองปกคลุม ต่อมนํ้าเหลืองบริ เวณคอโต และ
กดเจ็บ
¾ ภาวะแทรกซ้ อน หู ช้ น ั กลางอักเสบ ปอดอักเสบ ไตอักเสบ
เฉี ยบพลัน ไข้รูมาติก โรคหัวใจรู มาติก

หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
ต่ อมทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)
¾ ไวรั ส
การรักษา ¾ Streptococcus pneumonia
¾ ตามอาการ โดยให้ ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้ ยาแก้ ปวด Staphylococcus aureus
H. influenza
¾ ผ่ าตัดต่ อมทอนซิล ในกรณีที่เป็ นเรื้อรั งมากกว่ า 4 ครั้ งต่ อปี
¾ พยาธิิสภาพ หลอดลมมีกี ารอักั เสบ บวม
เซลที่สร้ างมูกมีขนาดใหญ่ เพิม่ จํานวนขึน้
ทําให้ มกี ารสร้ างมูกเพิม่ มากขึน้
ทําให้ อุดกั้นทางเดินหายใจ

2
1/22/2009

หลอดลมอักเสบ (Bronchitis) โรคหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis)


¾ ที่พบบ่อย คือช่วงอายุ 6 เดือน–1ปีส่ วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส
¾ อาการ และอาการแสดง RSV (Respiratory syncytial virus)
virus)
ส่ วนใหญ่จะเป็ นหวัดนํามาก่อน 3-4 วัน แล้วจะมีอาการไอมาก อาจพบมีการติดเชื้อ Mycoplasma pneumoniae ได้
ระยะแรกจะไอแห้งๆ ต่อมาจึงมีเสมหะ ได้ยินเสี ยง Rhonchi
¾ การรัั กษา ¾ พยาธิิสรีี รวิท
ิ ยา การอักั เสบบริิเวณ Bronchioles
B hi l
รักษาตามอาการ คือให้พกั ผ่อนให้เพียงพอ ให้ดื่มนํ้ามากๆ บวม อุดตัน ทําให้เกิด Atelectalsis เป็ นหย่อมๆ
ติดเชื้อแบคทีเรี ยแทรกซ้อนควรให้ยาปฏิชีวนะ ร่ างกายขาดออกซิ เจน หายใจหอบมากขึ้น
ทํากายภาพทรวงอก ในเด็กเล็กอาจหยุดหายใจได้

โรคหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) โรคหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis)


¾ การรั กษา
¾ อาการ และอาการแสดง
รักษาตามอาการ โดยให้ออกซิ เจนที่มีความชื้นสู ง
ไข้ ตํ่าๆ และมีอาการหวัดนํามาก่อน 2-3 วัน มีอาการหายใจเร็ ว หายใจ
หอบ และมีอาการหายใจลําบาก ให้ยาปฏิชีวนะ
¾ ตรวจร่่ างกายพบ ยาละลายเสมหะ
การดึงรั้งของทรวงอก อาจมีปีกจมูกบาน เคาะปอดได้ยนิ เสี ยงโปร่ ง ยาขยายหลอดลม
(Hyperresonance) ฟังเสี ยงหายใจเบาลง อาจพบเสี ยง Rhonchi, (epinephrine,beta 2 agonist)
Wheezing

กลุ่มอาการครุ๊ป (Croup syndrome) กลุ่มอาการครุ๊ ป (Croup syndrome)

¾ พบบ่อยในเด็ก 6 เดือนถึง 3 ปี สาเหตุ


¾ การอุดตันบริ เวณกล่องเสี ยง (Laryngeal obstruction) ¾ จากการติดเชื้อบริ เวณกล่ องเสี ยง
ทําให้มีอาการ ¾ ส่ วนใหญ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรั สชนิด
ไอเสี ยงก้อง (Barking cough) Parainfluenza viruses
z เสี ยงแหบ (Hoarseness of voice)

z หายใจมีเสี ยงดัง (Stridor)

z อาจมีอาการหายใจลําบากหน้าอกบุ๋ม(Suprasternal retraction)

3
1/22/2009

กลุ่มอาการครุ๊ ป (Croup syndrome) กลุ่มอาการครุ๊ ป (Croup syndrome)

¾ พยาธิสภาพ บวมของทางเดินหายใจ มีสิ่งคัดหลัง่


¾ การวินิจฉัย อาการ ภาพถ่ายรังสี pencil sign
มีการหดเกร็งของกล้ ามเนือ้ ทําให้ ทางเดินหายใจ
อุดตัน มักเกิดบริ เวณฝาปิ ดกล่องเสี ยง ¾ แยกโรค
อาการ และอาการแสดง - Epiglotis
- Spasmodic croup
ไข้ต่าํ ๆ นํ้ ามูก เจ็บคอ การอักเสบจะลุกลามไปที่กล่องเสี ยงบริ เวณสาย
- Bacterial tracheitis
เสี ยง ทําให้มีเสี ยงแหบ บวม และแคบลง
เวลาหายใจเข้าจะเกิดเสี ยง Stridor อาการหายใจลําบาก

กลุ่มอาการครุ๊ป (Croup syndrome) กลุ่มอาการครุ๊ป (Croup syndrome)

ษาตามอาการ
¾ การรั กษาตามอาการ ¾ ภาวะแทรกซ้ อน
z โดยให้ออกซิ เจนในรายที่หายใจลําบาก z การอักเสบของหูช้ันกลาง
z ให้ยาลดการบวมของทางเดินหายใจ z ปอดอักเสบ
z (adrenaline) (corticosteriod)
z ให้ยาปฏิชีวนะ
z ให้ความชื้นให้เพียงพอในรายที่ดื่มนํ้าไม่ได้
z อาจต้องให้สารนํ้ าทางหลอดเลือดดํา

ปอดบวม หรือปอดอักเสบ (Pneumonia) ปอดบวม หรือปอดอักเสบ (Pneumonia)


¾ การอักเสบของเนื้ อปอดชั้นในสุ ด ทําให้หลอดลมฝอยส่ วนปลายสุ ด ¾ การรั กษา
และถุงลมปอดเต็มไปด้วย Exudates ทําให้ปอดไม่สามารถรับ รักษาเฉพาะ มักให้ยา Penicillin หรื อให้ Erythromycin
ออกซิ เจนได้เพียงพอ ¾ รักษาตามอาการ
¾ อาการ และอาการแสดง
ให้ออกซิ เจนในรายที่มีอาการแสดงของภาวะพร่ องออกซิ เจน
ไข้ สูง ไอ มีอาการหายใจเร็ ว หายใจหอบ หน้าอกบุ๋ม ปี กจมูกบาน ให้ยาลดไข้ ให้น้ าํ ให้เพียงพอ
ฟังปอดจะได้ยินเสี ยง Crepitation, Rhonchi ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะ
อาจพบเสี ยง Wheezing ทํากายภาพทรวงอกร่ วมกับการให้ยาขับเสมหะ

4
1/22/2009

พยาธิสภาพ
หอบหืด (Asthma)
ความผิดปกติที่มกี ารอักเสบเรื้อรังของทางเดินหายใจ ¾ ภาวะหลอดลมหดตัว (acute broncho constriction
ซึ่งเกิดจากเซลล์ และสารที่เกีย่ วข้ องหลายชนิด ¾ การบวมของผนังหลอดลม (swelling of the airway wall)
เป็ นผลทําให้ เกิดภาวะหลอดลมไวเกิน ¾ การสร้างเสมหะมากขึ้นในหลอดลม (chronic mucous plug
(hyperresponsiveness)
h i ) formation)
¾ airway wall remodeling (fibrosis)
มีการบีบเกร็งของหลอดลม (bronchospasm)
ทําให้ ทางเดินหายใจตีบแคบ
ก่ อให้ เกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหมายใจ

ปั จจัยเสี่ ยงในการเกิดโรค
¾ ปั จจัยภายในตัวผูป
้ ่ วยเอง
¾ ปั จจัยด้านสิ่ งแวดล้อม
z สารก่อภูมิแพ้ในบ้าน
z สารก่อภููมิแพ้นอกบ้าน เช่น ละอองเกสร เชื้อรา
z มลพิษทางอากาศ
z ควันบุหรี่
z การติดเชื้อในทางเดินหายใจ
z ขนาดครอบครัว และความแออัดของที่อยูอ่ าศัย

¾ ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องหรื อกระตุ้นให้ เกิดอาการหอบหืด ได้แก่


z การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะการติดเชื้อไวรัส
z การสั มผัสกับสารก่ อภูมิแพ้ เช่ น ไรฝุ่ น รังแคสั ตว์
z ควันบุหรี่ และสารระคายเคืองอืน่ ๆ ที่สูดดมเข้ าทางเดินหายใจ
z การออกกําลังกายอย่ างหักโหม
z สภาพอากาศที่เปลีย่ นแปลง
z อารมณ์ ที่เปลีย่ นแปลง

5
1/22/2009

อาการ
การวินิจฉัย
¾ หายใจมีเสี ยงวี้ด
(wheeze)
¾ หายใจไม่สะดวก (breathlessness) ¾ การวินิจฉัยได้จากข้อมูลประวัติ
อาการทางคลินิก การตรวจร่ างกาย
¾ แน่ นหน้าอก (chest tightness) และ/หรื อ การทดสอบสมรรถภาพปอดที่เข้าได้กบั
และ/
¾ อาการไอ โ
โรคหอบหื ืด

การรักษา
PEF or FEV1
ระดับความรุนแรง อาการชวงกลางวัน อาการชวงกลางคืน PEF variability

ระดับ 1 มีอาการหอบหืดน้ อยกว่า มีอาการหอบตอน 80%


มีอาการเป็ นครัง้ คาว สัปดาห์ละ 1 ครัง้ กลางคืน น้ อยกว่า 2 < 20%
¾ Glucocorticosteroid
Intermittent มีการจับหืดช่วงสันๆ
้ ครัง้ ต่อเดือน
มีคา่ PEF ปกติชว่ งที่ไม่มี ¾ Long--acting inhaled β2-agonist (LABA)
Long
อาการจับหืด
ระดับ 2 มีอาการหอบหืดอย่างน้ อย มีอาการหอบตอน 80% ¾ - Leukotriene modifers
อาการรุนแรงนอย
อาการรนแรงน้ อย สัปดาห์ละ 1 ครง
สปดาหละ ครัง้ แตนอยกวา
แต่น้อยกว่า กลางคน
กลางคืน น้นอยกวา
อยกว่า 2 < 20-30%
1 ครัง้ ต่อวัน ครัง้ ต่อเดือน
¾ - Sustained-
S t i d-release
Sustained l th
theophyllines
h lli
Mild persistent
เวลาจับหืดอาจมีผลต่อการ
ทํากิจกรรม
ระดับ 3 มีอาการหอบทุกวัน มีอาการหอบตอน 60-80%
อาการรุนแรงปานกลาง เวลาจับหืดมีผลต่อการทํา กลางคืน น้ อยกว่า 1 < 30%
Moderate persistent กิจกรรมประจํา ครัง้ ต่อเดือน
ระดับ 4 มีอาการหอบตลอดเวลา มีอาการหอบตอน 60%
อาการรุนแรงมาก เวลาจับหืดบ่อย และมีข้อ กลางคืนบ่อยๆ < 30%
Severe persistent จํากัดในการทํากิจกรรม
ประจําวันต่างๆ

ไอกรน((Pertussis)
ไอกรน ไอกรน((Pertussis)
ไอกรน
¾ การติดเชื้อแบคทีเรี ย bordetella pertussis อาการและอาการแสดง
¾ ระยะติดต่อคือระยะ 3 สัปดาห์แรกที่เป็ นโรคนี้ มีระยะฟั กตัว
7-10 วัน ¾ catarrhal stage 1-2 สัปดาห์ มีอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
¾ จะสร้างท็อกชิ นไปเกาะติดที่ cillated epitheliumของทางเดินหายใจ ส่ วนบนที่ไม่รุนแรง
¾ ทําให้เกิดการอักเสบและการตายของเยือ่ บุ epithelium ¾ spasmodic cough 2-4สัปดาห์์ ไอมากๆเป็็ นชุดจนอาเจียน หลัง
ที่ small bronchi ทําให้เกิด bronchopneumonia ไอมีเสี ยงหายใจเข้ายาวๆดังวูป๊ (woop cough)
และการคัง่ ของสารคัดหลัง่ ทําให้เกิด bronchiolar obstruction ปอด ¾ convalescent stage นาน 1-2 สัปดาห์

แฟบ

6
1/22/2009

ไอกรน((Pertussis)
ไอกรน คอตีบ(Diphtheria)
¾ ภาวะแทรกซ้ อน ¾ เชื้ อ corynebacterium diphtheria ระยะฟักตัว 1-6 วัน
ปอดอักเสบ emphysema pneumothorax ¾ พยาธิสภาพ
otitis media z เชื ้อจะปล่ อยท็อกซิ นออกมาทําลาย การตายของ epithelial cell

¾ การรั
การรกษา
กษา z ไฟบริ
ไฟบรนน นํนาเหลองเขามาในบรเวณน
้ าเหลืองเข้ามาในบริ เวณนี้ และเกิ
และเกดเปนแผนเยอสขาวปนเทา
ดเป็ นแผ่นเยือ่ สี ขาวปนเทา เรีเรยก
ยก patch
เกาะที่บริ เวณต่อมทอนซิล หลอด กล่องเสี ยง
z ให้ erythromycin 50 มก มก././กก
กก././วัวัน นาน 14 วัน
z ถ้ามีจาํ นวนมากอาจอุดกั้นทางเดิ นหายใจ
z แยกเด็ก 5 วัน เพือ
่ ป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ
z ท็อกซิ นเข้ากระแสเลือดและระบบนํ้าเหลืองและกระจายไปทัว ่ ร่ างกาย
z รั กษาตามอาการ โดยเฉพาะหลีกเลีย ่ งการไอ การกําจัดเสมหะ
z ทําให้เกิดการทําลายเนื้ อเยื่อและอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะกล้ามเนื้ อหัวใจ
การให้ ออกซิเจน เส้นประสาท ทําให้กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ

คอตีบ(Diphtheria) คอตีบ(Diphtheria)
อาการและอาการแสดง ¾ การวินิจฉัย ขูดแผ่นไปย้อมสี พบรู ปร่ างเหมือนตัวหนังสื อจีนติดสี น้ าํ เงิน
¾ จะมีอาการเป็ นหวัดและไอ ประมาณ 2-3วัน - Acute streptococcal pharyngotonsillitis
¾ พิษจากท๊อกซิ น:ไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อย ปวดศีรษะ
มีแผ่นสี ขาวที่เขี่ยหลุดง่าย
- Infectious mononucleosis
¾ หายใจลําบาก หายใจเสี ยงดัง
แผ่นเยือ่ สี ขาวคล้ายนม ลอกออกง่ายมักอยูบ่ นทอนซิ ล
¾ คอตีบบริ เวณจมูก (nasal diphtheria)
diphtheria)
¾ ภาวะแทรกซ้ อน ทางเดินหายใจอุดตัน
¾ คอตีบบริ เวณคอหอยหรื อต่อมทอนซิ ล: bull neck
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
¾ คอตีบบริ เวณกล่องเสี ยง (laryngeal diphtheria)
diphtheria) ประสาทอักเสบ(
เสบ(neuritis
neuritis))

คอตีบ(Diphtheria) การพยาบาล
¾ การรักษา ¾ ตรวจวัด และบันทึกสั ญญาณชีพ
- aqueous procain penicillin G เข้ ากล้ ามเนือ้ ในขนาด ¾ ประเมินภาวะพร่ องออกซิเจน
300,,000 ยูนิตวันละครั้งในเด็กนํา้ หนักน้ อยกว่ า 10 กก
300 กก.. ¾ ประเมินเสี ยงลมหายใจเข้าออกจากปอด
¾ การดแลทางเดิ
การดูแลทางเดนหายใจ
นหายใจ
6000,,000 ยูนิตในเด็กนํ้าหนักมากกว่ า 10 กก
6000 กก..
¾ การดูแลให้ได้รับออกซิ เจนตามแผนการรักษา
antitoxin:DAT)ถ้ ามีอาการ
- แอนตีท้ ๊ อกซิ น(diphtheria antitoxin:DAT)
¾ ดูแลลดการใช้ออกซิ เจนของผูป้ ่ วย
¾ ส่ งเสริ มการได้รับออกซิ เจนของผูป้ ่ วย
¾ ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ

7
1/22/2009

การพยาบาล ภาวะหายใจล้ มเหลว (Respiratory failure)


¾ บันทึกปริ มาณสารนํ้าเข้า-ออกจากร่ างกาย
¾ ดูแลให้ผปู ้ ่ วยได้รับยาตามแผนการรักษา ¾ ภาวะการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอดลดลงทําให้ร่างกายไม่สามารถรักษา
¾ ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการทุกชนิ ด ระดับความดันของก๊าซออกซิ เจนในเลือดแดง หรื อความดันของก๊าซ
¾ ให้ความรู ้ คําแนะนําแก่ผปู ้ ่ วย และผูป้ กครองเกี่ยวกับโรค และการ คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงให้เป็ นปกติได้ ส่สงผลใหเกดภาวะพรอง
คารบอนไดออกไซดในเลอดแดงใหเปนปกตได งผลให้เกิดภาวะพร่ อง
ปฏิบตั ิตวั ออกซิ เจนในเลือด (hypoxemia) หรื อการคัง่ ของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (hypercapnia)

ภาวะหายใจล้ มเหลว (Respiratory failure) ภาวะหายใจล้ มเหลว (Respiratory failure)


เกิดจากความผิดปกติ อาการและอาการแสดง
• Ventilation ¾ ระยะที่ 1 tachypnea หายใจเร็ วขึ้น tidal volume ลดลง
• Diffussion ¾ ระยะที่ 2 ventilatory discoordination
• Perfussion
P f i ¾ ระยะที่ 3 มีการคัง่ ของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด(
ด(hypoxemia
hypoxemia))
• Oxygen consumption
¾ ระยะที่ 4 หายใจช้าลงจนหยุดหายใจ (apnea
apnea))

ข้อบ่งชี้ในการใช้เครื่ องช่วยหายใจ กลไกการทํางานของเครื่ องช่วยหายใจ


¾ มีภาวะหายใจวาย หายใจล้มเหลว แบ่งเป็ น 4 ระยะ
¾ มีพยาธิ สภาพที่ปอด เช่นปอดบวมนํ้า หรื อ ARDS ¾ Inspiratoryphase
¾ มีปัญหาของหลอดลม เช่น มีการอุดกลั้นทางเดินหายใจ ¾ Inspiratoryto Expiratory phase
¾ Expiratory phase
¾ Expiratory to Inspiratory phase

8
1/22/2009

คําศัพท์ ทใี่ ช้ ในการปรับเครื่องช่ วยหายใจ


¾ Inspiratory: expiratory ratio(I:E ratio) คน
¾ Tidal volume (TV) คือ ปริ มาตรลมที่ผปู ้ ่ วยหายใจเข้าด้วย ปกติค่าประมาณ 1:2
ตัวเองหรื อ ปริ มาตรลมที่เครื่ องช่วยหายใจตีเข้าหรื อออกต่อการหายใจ ¾ อัตราการไหลของก๊าซ. ซ. (flow rate) คือการไหลของก๊าซที่ต้ งั
1 ครั้ง โดยผูใ้ ช้เองหรื อกําหนดโดยเครื่ องช่วยหายใจ แบ่งเป็ น
¾ Tigger คือ สัญญาณการเริ่ มต้นให้มีการช่วยหายใจด้วยแรงดัน continuous flow จะให้ก๊าซออกมาทั้งช่วงหายใจเข้าและ
บวก หรื อการเริ่ มต้นหายใจเข้า ออก เช่น Bear Cub, Baby Bird และ demand
¾ Sensitivity คือ ค่าความไวของการกระตุน้ เครื่ องช่วยหายใจให้ flow ก๊าซจะออกมาเฉพาะหายใจเข้า
เริ่ มช่วยหายใจเข้า ¾ รู ปแบบการไหลของก๊าซ (flow pattern) สามารถเห็นได้จาก
¾ อัตราการหายใจ (respiratory rate) flow wave form

¾ Peak inspiratory pressure(PIP) คือค่าสู งสุ ดของ ¾ ค่าความเข้มข้นของออกซิ เจนในก๊าซที่ให้กบั ผูป้ ่ วย (FiO
(FiO22)
แรงดันอากาศในช่วงหายใจเข้า ¾ control หมายถึง การที่เครื่ องควบคุมตัวแปรนั้นๆให้คงที่ระยะ
¾ Positive end expiratory pressure (PEEP) หายใจเข้า เช่น pressure control, volume control
คือค่าความดันตํ่าสุ ดในช่วงหายใจออก ปกติจะปรับไว้ 2-3 ซม ซม..นํ้า ¾ cycle คือ การสิ้ นสุ ดการหายใจเข้าเมื่อถึงค่าที่กาํ หนดไว้ เช่น
¾ Mean airway pressure (MAP) คือค่าเฉลี่ยของ time cycle, pressure cycle , flow cycle
ความดันในระบบหายใจทั้ งช่วงเข้า้ และช่วงออก
¾ ค่าความเข้มข้นของออกซิ เจนในก๊าซที่ให้กบั ผูป้ ่ วย (FiO
(FiO22)

ลักษณะการทํางานเครื่องช่ วยหายใจในเด็ก รู ปแบบการช่ วยหายใจของเครื่องช่ วยหายใจ


(Mode of mechanical ventilation)
¾ volume preset ventilator เป็ นลักษณะเครื่ องช่วยหายใจ แบ่งเป็ น 3 กลุ่มใหญ่ๆเช่น
ที่ควบคุมปริ มาตรแต่ละครั้งในการหายใจให้คงที่
¾ ผูป้ ่ วยหายใจได้เอง
¾ pressure preset ventilation เครื่ องจะอัดก๊าซให้เข้าถึง
¾ เครื่ องช่วยหายใจบางส่ วน ได้แก่
ระดับความดันที่กาํ หนดไว้ Assist control ventilation

¾ high frequency ventilator เป็ นเครื่ องช่วยหายใจความ


¾ เครื่ องช่วยหายใจทั้งหมด ได้แก่
ถี่สูงเป็ นการใช้ความถี่สูงตลอดเวลาอัดอากาศให้เข้าปอดในช่วงหายใจ CMV
เข้าและถูกดึงออกในช่วงหายใจออก

9
1/22/2009

ที่ใช้บ่อยๆได้แก่ ที่ใช้บ่อยๆได้แก่
¾ Controlled mechanical ventilation (CMV) ¾ Synchronize intermittent mandatory ventilation
เครื่ องช่วยหายใจทําหน้าที่การหายใจทั้งหมด :pressure (SIMV) เป็ น IMV ที่ถูกปรับให้ตรงกับจังหวะที่ผปู้ ่ วยเริ่ มหายใจ ทําให้มี
control และ volume control โอกาสเกิดการต้านน้อยลง
¾ Assist control ventilation เครื่ องช่วยหายใจ ทํางานโดยการ ¾ Pressure support ventilation ( PSV) นิยมใช้ในการหย่า
กระตุน้ การหายใจของผูป้ ่ วย ถ้าผูป้ ่ วยหายใจน้อยกว่าที่ต้ งั ไว้เครื่ องจะ เครื่ องช่วยหายใจเพราะผูป้ ่ วยจะสุ ขสบายมากกว่าวิธีอื่น เนื่องจากผูป้ ่ วยสามารถ
ช่วยหายใจ กําหนดอัตราการหายใจ inspiratory time และ volume ได้ดว้ ย
¾ Intermittent mandatory ventilation (IMV IMV)) เครื่ องช่วย ตนเอง เพียงตั้ งระดับ pressure ให้เหมาะสม เมื่อผูป้ ่ วยหายใจเข้าเครื่ องจะดัน
อากาศเข้าปอดจนกระทัง่ ได้รับความดันเทากับที่ต้ งั ไว้ จากนั้นการไหลของก๊าซ
หายใจทํางานสลับกับจังหวะการหายใจของผูป้ ่ วย นิยมใช้ในการเตรี ยมผุ ้
ขึ้นอยุก่ บั แรงดันผูป้ ่ วยและแรงต้านภายในปอด หากการไหลเวียนของก๊าซลดลงถึง
ป่ วยหยุดใช้เครื่ องช่วยหายใจ
จุดที่กาํ หนดเครื่ องจะหยุดช่วยและปล่อยให้ผปู้ ่ วยหายใจเอง

ที่ใช้บ่อยๆได้แก่ การพยาบาลผู้ป่วยเด็กทีใ่ ส่ เครื่องช่ วยหายใจ


¾ Positive end-end-expiratory pressure(PEEP) เครื่ องทําให้ ¾ ประเมินอาการ
เกิดความดันบวกตลอดช่วงท้ายของการหายใจออก ทําให้ความดันใน อัตราการหายใจ และลักษณะการหายใจ
ทางเดินหายใจออกอยูเ่ หนือระดับบรรยากาศ ช่วยให้ถุงลมเปิ ดออก ทํา
เสี ยงลมหายใจเข้าออกจากปอด
ออกจากปอด:: เสี ยงอึ๊ด (Rhonchi)
ให้ถงลมไม่
ใหถุ งลมไมแฟบขณะหายใจออกลดแรงในการหายใจครงตอไป
แฟบขณะหายใจออกลดแรงในการหายใจครั้งต่อไป
เสี ยงวี้ด (Wheezing) เสี ยงกรอบแกรบ (Crepitation)
¾ Continous positive airway pressure(CPAP) เครื่ อง
ทําให้เกิดความดันบวกที่มีอตั ราการไหลของก๊าซคงที่ตลอดเวลาทําให้ เสี ยงฮึด (Stridor)
แรงดันบวกทั้งหายใจเข้าและออก ผูป้ ่ วยเป็ นผูอ้ อกแรงเอง ประเมินการไหลเวียนโลหิ ตโดยสังเกตจากสี ผิวหนัง Oxygen
saturation

การพยาบาลผู้ป่วยเด็กทีใ่ ส่ เครื่องช่ วยหายใจ การดูแลท่อช่วยหายใจ


ประเมินอุณหภูมิทุก 4 ชัว่ โมง
ประเมินระดับความรู ้สึกตัว ขนาดของท่อ (ETT Size) = อายุ (เป็ นปี ) + 16
4
ตําแหน่ง (Depth of Insertion) = อายุ (เป็ นปี ) + 12
2
หรื อคํานวณจาก = อายุ (เป็ นปี ) + 10
หรื อคํานวณจาก = ขนาดของท่อช่วยหายใจ X 3

10
1/22/2009

ดูแลผูป้ ่ วยใส่ เครื่ องช่วยหายใจ ติดตามการวิเคราะห์ก๊าซในเลือด


¾ ตามที่กาํ หนดไว้ ¾ อุปกรณ์ ในการเจาะ CBG ได้แก่ เข็ม (Lancet) หลอดบรรจุเลือด
(Capillary tube) จุกยาง 2 อันแท่งเหล็ก 1 อัน แม่เหล็ก ชามรู ปไต
¾ เป็ นระบบปิ ด
ใส่ น้ าํ อุ่น ไม้พนั สําลีชุบพีวีดีน (Povidine) สําลีแห้ง ป้ ายชื่อ ใบส่ ง
¾ ดูแลให้อากาศมีความชื้ นอยูต่ ลอดเวลา ตรวจซึ่ งประกอบด้วยข้อมูลของผูป้ ่ วย ได้แก่ ชื่อ-สกุล อายุ การวินิจฉัย
¾ ไม่ให้มีน้ าํ ขัง เลขทะเบียนการอยูโ่ รงพยาบาล วันเดือนปี เวลา ค่าการตั้ งเครื่ องช่วย
¾ ดูแลความสะอาดเครื่ องช่วยหายใจ หายใจที่ใช้อยูข่ ณะเจาะเลือด
¾ อุปกรณ์ ในการเจาะ ABG ได้แก่ เข็มเบอร์ 24 กระบอกบรรจุเลือด
(Syringe) เฮปพาริ น ไม้พนั สําลีชุบพีวีดีน (Povidine) สําลีแห้ง ป้ าย
ชื่อ ใบส่ งตรวจซึ่ งประกอบด้วยข้อมูลของผูป้ ่ วย ได้แก่ ชื่อ-สกุล อายุ การ
วินิจฉัย เลขทะเบียนการอยูโ่ รงพยาบาล วันเดือนปี เวลา ค่าการตั้ง
เครื่ องช่วยหายใจที่ใช้อยูข่ ณะเจาะ เลือด

ตารางค่าปกติของก๊าซในเลือด การดูแลทางเดินหายใจให้ โล่ ง

กาซในเลือดแดง กาซในเลือดฝอย ¾ กายภาพบําบัดทรวงอก


(Arterial blood gas) (Capillary blood gas) ¾ การดูดเสมหะ
pH 7.35-7.45 7.25-7.35
P CO2 (torr)
PaCO (t ) 35 45
35-45 40 50
40-50
PaO2 (torr) 85-100 35-50
HCO3 (mEq/L) 22-26 18-24
SaO2 (%) 92-96 70-75
BE (-2) – (+2)

¾ ติดตามการถ่ายภาพรังสี ทรวงอก (Chest X-ray)


¾ บันทึกปริ มาณสารนํ้าเข้า-ออกจากร่ างกาย เพื่อประเมินภาวะขาดนํ้า
¾ ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการทุกชนิ ด

11

You might also like