Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 55

วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 1

วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร(Thermodynamics)
1 บทนํา
วิชานี้คือสาขาหนึ่งของวิชาฟสิกส ที่เนนในดานพลังงาน และสารซึ่งเปนตัวเก็บพลังงาน และถายทอด
หรือสงผาน หรือทําใหเปลี่ยนรูปพลังงาน ตลอดจนประสิทธิภาพตางๆในดานการใชพลังงานและพลังงาน
ในรูปตางๆที่ไดมา เชนในการผลิตกระแสไฟฟา ใชสารคือน้ํามันเตา เปรียบเหมือนตัวเก็บพลังงานอยูในตัว
มันเอง ทําใหมันเปลี่ยนแปลงทางเคมี ไดพลังงานความรอนออกมา ใชน้ําเปนตัวกลางในการถายทอด
พลังงาน ไปใหกังหัน(Turbine)หรือเครื่องยนต(Engine) ไดพลังงานกลหรือกําลังออกมา นําไปปนเครื่อง
กําเนิดไฟฟา(Electric Generator) ไดกําลังไฟฟาตามที่ตองการ และจะตองทําอยางไรที่จะไดกําลังไฟฟามาก
ที่สุดในการใชน้ํามันเตาจํานวนเดียวกัน หรือทําอยางไรจึงจะมีประสิทธิภาพดีที่สุด ดังนั้นวิชาอุณหพล
ศาสตรจึงเปนวิชาพื้นฐานของพลังงานที่สําคัญมาก เพราะทุกคนตองใชพลังงาน การใชพลังงานอยางมี
ประสิทธิภาพไดก็จะตองเขาใจพลังงานอยางแทจริง เนื่องจากตองการจะยอใหเหลือไมเกิน 50-60 หนา
ผูอานสามารถอานเพิ่มเติมไดจากบรรณานุกรมทายบท
2 คําจํากัดความและพื้นฐานทางฟสิกส
ระบบหรือระบบปด (SYSTEM/CLOSE SYSTEM/CONTROL MASS)
ระบบหรือระบบปด คือขอบเขตที่กําหนดขึ้น ซึ่งมวลสารภายในระบบ จํานวนเดิม และ คงที่ แต
พลังงานตาง ๆ เขาออกได ขอบเขตของระบบมักจะกําหนดที่ผิวดานในของเครื่องหรืออุปกรณ
ระบบเปดหรือปริมาตรควบคุม (OPEN SYSTEM /CONTROL VOLUME)
ระบบเปดหรือปริมาตรควบคุมคือขอบเขตที่กําหนดขึ้น โดยมวลสารมีการไหลเขา-ออก มวลภายใน
ระบบ มีการเปลี่ยนแปลง หรือมวลสารภายในระบบอาจจะไมเปลี่ยนแปลงแตไมใชมวลสารจํานวนเดิม
ขอบเขตของระบบมักจะกําหนดที่ผิวดานในของเครื่องหรืออุปกรณเชนเดียวกับระบบปด และพลังงาน
ตาง ๆ เขาออกไดเชนกัน
สิ่งแวดลอม(SURROUNDINGS)
สิ่งแวดลอม คือสิ่งใดๆ ที่อยูนอกขอบเขตหรือนอกปริมาตรควบคุม ก็จะหมายถึงสิ่งแวดลอม
คุณสมบัติของสาร (PROPERTY OF SUBSTANCE)
คุณสมบัติของสารถาแบงใหญๆได 2 แบบคือ
คุณสมบัติคงตัว (INTENSIVE PROPERTY) คือคุณสมบัติที่ไมขึ้นกับจํานวน เชน ความดัน (P) อุณหภูมิ
(T) ความหนาแนน (ρ) ปริมาตรจําเพาะ(v) พลังงานทั้งหมดตอหนวยมวล(e) เปนตน
คุณสมบัติแปรเปลี่ยน (EXTENSIVE PROPERTY) คือคุณสมบัติที่ขึ้นกับจํานวน เชน มวล (m) ปริมาตร
(V) พลังงานทั้งหมด(E) เปนตน
ภาวะ (STATE)
ภาวะซึ่งใชคุณสมบัติเปนสิ่งกําหนดภาวะ เชน น้ําภาวะที่ 1 อุณหภูมิ 30°C ความดัน 100 kPaเปนตน

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


2 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

สถานะ (PHASE)
สารบริสุทธิ์ทุกชนิดจะตองสามารถมีได 3 สถานะเสมอคือ ของแข็ง (SOLID) ของเหลว (LIQUID)
และไอหรือกาซ (VAPOUR OR GAS) เพียงแตวาในบางภาวะอาจจะมีบางสถานะไมไดเทานั้น
กระบวนการหรือขบวนการ (PROCESS)
กระบวนการ คือการเปลี่ยนภาวะของสาร เชนน้ําจากภาวะที่ 1 T1, P1 เปลี่ยนเปนภาวะที่ 2 T2, P2 เรียกการ
เปลี่ยนนี้วา “กระบวนการ” หรือ “ขบวนการ” (PROCESS)
วัฏจักร (CYCLE)
วัฏจักรคือการดําเนินการของกระบวนการตางๆของระบบ โดยกระบวนการสุดทายตองทําใหระบบหรือ
สารกลับสูภาวะเดิมทุกประการ เชน น้ํา P1 , T1 → P2, T2 → P3 , T3→……………..P1 , T1 โดยรวมทั้ง
พลังงานดวยตองเทาเดิม เชนการเปลี่ยนแปลงของสารในวงจรทําความเย็นของตูเย็นและเครื่องปรับอากาศ
เปนตน
หนวยตางๆ (UNITS )
ในปจจุบันใชหนวยสากล(SI UNIT) ซึ่งทําใหสะดวก โดยถามีคามากหรือนอยจะใชเติมขางหนามันดังนี้
โดยใช 10 ยกกําลังตอไปนี้ –18=a (atto), –15=f (femto), –12=p (pico), –9=n (nano), –6=μ (micro), –3=m
(milli) –2= c (centi), –1=d (deci), +1=da (deka), +2=h (hecto), +3=k (kilo), +6=M (mega), +9=G (giga),
+12=T (Tera), +15=P (peta), +18=E (exa)
มวล (MASS) มักเขียนยอ m มีหนวยเปน kg (กก.) ซึ่งเปนหนวยพื้นฐาน (1 ปอนด= 0.4536 kg)
มวล 1 kg จะอยูที่ใดๆก็ตาม เชนบนโลกหรือบนดวงจันทรก็ยังคงมีมวล 1 kg เสมอ
เวลา (TIME) มักเขียนยอ t มีหนวยเปน s (วินาที) ซึ่งเปนหนวยพื้นฐานเชนกัน
ความยาว (LENGTH ) มักเขียนยอ l หรือ L หรือ Z มีหนวยเปน m (ม.) ซึ่งก็เปนหนวยพื้นฐานเชนกัน
(1 ฟุต= 0.3048 m)
แรง (FORCE) มักเขียนยอ F มีหนวยเปน N, (นิวตัน) มาจากกฎของนิวตัน
F = ma
เนื่องจากมวลมีหนวยเปน kg ความเรง เปน m/s2ฉะนั้น แรงก็จะมีหนวยเปน kg.m/s2 แทนดวย N(นิวตัน)
นั่นก็คือ 1 N = 1 kg.m/s2 ดังนั้นน้ําหนักก็คือแรงที่เกิดจากความเรงของแรงโนมถวง
ในหนวยอังกฤษ 1 ปอนดแรงหรือน้ําหนัก (lbf) = 4.448 N
ในหนวยเมตริก 1 กก. แรง หรือน้ําหนัก (kgf) = 9.81 N
ปริมาตรจําเพาะและความหนาแนน (SPECIFIC VOLUME, v & DENSITY , ρ)
ปริมาตรจําเพาะ มักเขียนยอ v มีหนวยเปน m3/kg (บางครั้ง litre/kg , 1 litre = 0.001 m3)
ปริมาตรจําเพาะมีหนวยเปน m3/kmol ใชสัญลักษณ v สารใดๆ 1 kmol = M kg ซึ่ง M=มวลโมเลกุลของสาร
ความหนาแนนคือมวลตอหนึ่งหนวยปริมาตรหรือสวนกลับของปริมาตรจําเพาะ สัญลักษณ ρ มีหนวยkg/m3

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 3

อุณหภูมิ
อุณหภูมิเปนคุณสมบัติที่แสดงถึงระดับความรอนคลายกับระดับน้ํา ความรอนจะตองไหลจากที่มีอุณหภูมิ
สูงไปยังที่มีอุณหภูมิต่ําเสมอ
อุณหภูมิมักเขียนยอแทนดวย T มีหนวยสากลเปน องศาเซลเซียส OC หรืออุณหภูมิสัมบูรณเปน เคลวิน K
แมวาตนกําเนิดของหนวยองศาเซลเซียส จะมาจากอุณหภูมิน้ําแข็งและน้ําเดือดที่ความดัน 1 บรรยากาศก็
ตาม ปจจุบันตามขอตกลงนานาชาติ กําหนดใหอุณหภูมิของน้ําที่จุดสามเชิง(Triple Point)เปน 0.01OC ซึ่ง
ยังคงไดวาอุณหภูมิน้ําเดือดที่ความดัน 1 บรรยากาศ เปน 100OC เชนเดิม อุณหภูมิสัมบูรณ เคลวิน K หาได
จาก
K = OC + 273.15
อุณหภูมิสัมบูรณมีคาติดลบไมได คาอุณหภูมิแตกตางนิยมใชเปนองศาเคลวิน K
(Δ1OK = Δ1.8OF และF = Cx1.8 +32โดยF คาอุณหภูมิที่วัดเปนองศาฟาเร็นไฮต และ C เปนองศาเซลเซียส)
ความดัน (PRESSURE)
ความดันคือแรงที่กระทําตอหนวยพื้นที่ นิยมยอ P
P = F/A
ตามที่กลาวแลว แรง F มีหนวยเปน N พื้นที่เปน m2 ฉะนั้น P จะตองมีหนวย N/ m2 ใชแทนดวย Pa
นั่นก็คือ 1 Pa = 1 N/m2 นอกจากนี้ บางครั้งใชหนวย bar ซึ่ง 1 bar = 105 Pa
(หนวยอังกฤษ 1 lbf/in2 = 1 psi = 6.895 kPa)
ความดัน 1 บรรยากาศมาตรฐาน (atm) = 101,325 Pa = 101.325 kPa = 14.7 psi
จากคําจํากัดความ ความดันที่แทจริงหรือความดันสัมบูรณ จะไมมีการติดลบ เพราะถาไมมีแรงกระทําก็คือ
ศูนย ต่ําสุดแลว แตเนื่องจากตั้งแตโบราณมาแลว สรางเกจสําหรับวัดความดัน ซึ่งเปนชนิดโบดองทิวบ โดย
ใชบรรยากาศ ณ.ที่วัดเปนมาตรฐาน นั่นคือเกจวัดความดันเปนการบอกวา ความดันสูงหรือต่ํากวาบรรยากาศ
เทาไรนั่นเอง ถาต่ํากวาบรรยากาศก็ติดลบ ดังนั้นจึงมีคําจํากัดความของความดันเพิ่มขึ้นอีกอันคือความดัน
เกจ เพื่อไมใหสับสน ทุกครั้งที่พูดถึงความดัน ตองบอกใหทราบวาหมายถึงความดันสัมบูรณ หรือความดัน
เกจ ตอไปสําหรับตําราเลมนี้ ถาเขียนความดันลอยๆ มิไดระบุอะไร ใหหมายถึงความดันสัมบูรณเสมอ
ความสัมพันธของความดันทั้งสองคือ
ความดัน เกจ = ความดันสัมบูรณ - ความดันบรรยากาศ
ความดันสัมบูรณ = ความดัน เกจ + ความดัน บรรยากาศ
โดยทั่วไป ความดันบรรยากาศ จะหมายถึงความดันอากาศ ณ จุดที่วัด ดังนั้นกอนใชเกจวัดตองปรับใหเข็ม
ชี้ที่ 0 (ศูนย) กอนเสมอ ในทางปฏิบัติความดันที่อานไดจากเกจหรือมิเตอรจะตองเปนความดันเกจเสมอ
ความดันที่กลาวมาทั้งหมดถาจะเนนใหชัดเจนก็คือความดันสถิต(Static Pressure)นั่นเอง
การวัดความดันเปนความสูงของของเหลว
วิธีวัดความดันที่งายที่สุดวิธีหนึ่งที่ใชมาแตโบราณถึงปจจุบัน ก็คือการเทียบเปนความสูงของของไหล

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


4 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

ของไหลชนิดหนึ่งๆ ความดันจะขึ้นกับความสูงอยางเดียว โดยไมขึ้นกับพื้นที่หนาตัดเพราะความดันคือ


แรงตอหนวยพื้นที่ ความดันมีความสัมพันธกับความสูงของของไหลดังนี้
P = L ρg …………………………(1.1 )
P= ความดันมีหนวยเปน Pa , L= ความสุงของของไหลมีหนวยเปน m(เมตร) , ρ=ความหนาแนนมีหนวย
kg/m3, g = ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงมีหนวย m/s2 ทั่วไปบนโลกคือ 9.81 m/s2
ตัวอยางที่ 1.1 ภาชนะบรรจุของเหลวที่มีความถวงจําเพาะ 0.8 จงหาความดันที่จุด ก ซึ่งลึก 2 m
วิธีทํา ความดันเกจที่จุด ก = ρLg = (0.8x103 kg/m3) (2m) (9.81 m/s2)
2m = 15.7x103 kg.m/s2.m2
.ก = 15.7x103 N/m2
รูปที่ 1.1 = 15.7x103 Pa (เกจ)
ความดันสัมบูรณที่จุด ก. = 15.7x103+101,325 Pa=117025 Pa (สมมุติความดันบรรยากาศ =101,325 Pa)
ของเหลวในชวงอุณหภูมิไมกวางนักความหนาแนนคอนขางคงที่ ดังนั้นมีอยูบอยๆจะบอกความดันเปน
ความสูงของของเหลว เชนความดันโลหิตเปน70-120 mm ปรอท ความดันบรรยากาศมาตรฐานเทากับ
10.33 เมตรของน้ํา หรือ 760 มม.ปรอท เปนตน
มาโนมิเตอรหรือหลอดแกวรูปตัวยูในการวัดความดัน
มาโนมิเตอร เปนอุปกรณงายๆอันหนึ่งที่ใชประโยชนในการวัดความดันโดยเทียบเปนความสูงของ
ของเหลววาสูงหรือต่ํากวาบรรยากาศ ณ.จุดที่วัดเทาไร
PATM

PVAP ความดันของไหลระดับเดียวกันตองเทากัน
L1
ความดันไอในถัง PVAP = ρX L1. g + PATM
ρY ρX
รูปที่ 1.2
3 สารบริสุทธิ์( PURE SUBSTANCES)
สารบริสุทธิ์ คือสารที่มีคุณสมบัติเคมีไมเปลี่ยนแปลงเมื่อเปลี่ยนสถานะ เชน น้ํา แอมโมเนีย สารความเย็น
ตางๆ หรืออาจจะกลาวไดวาธาตุและสารประกอบก็คือสารบริสุทธิ์ทั้งสิ้น แมแตอากาศในชวงที่ใชงานถา
มันไมเปลี่ยนสถานะ ก็มักจะอนุโลมใหเปนสารบริสุทธิ์
สารบริสุทธิ์ จะตองมีได 3 สถานะเสมอ คือของแข็ง ของเหลว และไอ และในบางภาวะจะมีได 2 สถานะ
เทานั้นคือของแข็งและไอ

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 5

ของเหลวและไออิ่มตัวของสารบริสุทธิ์(Saturated liquid and Saturated Vapour)


เปนกฎธรรมชาติตายตัว สารทุกอยางในโลกอุณหภูมิอิ่มตัว(Saturation) ขึ้นกับความดันเทานั้น ณ ความ
ดันหนึ่ง จะมีคาอุณหภูมิอิ่มตัวคาเดียวเทานั้น จุดเปลี่ยนแปลงสถานะหรือจุดอิ่มตัว(Saturation/Saturated
Point/State) มีคนทดลองแลวเก็บเปนขอมูลไวใชงานมากมาย โดยทําเปนตารางซึ่งจะเขียนวา “…...อิ่มตัว “
(SATURATED....TABLE) ซึ่งจะเปนคาจริงที่ถูกตองที่สุด เชนน้ําที่ความดัน 101.3 kPa อุณหภูมิอิ่มตัวคือ
100oC เทานั้น สารทุกชนิด ความดันสูงขึ้นอุณหภูมิอิ่มตัวก็จะสูงตามเสมอ ดูตัวอยางตอไปนี้จากตาราง(ไอ)
น้ําอิ่มตัว Sat. Water(Steam) Table และถานํามาเขียนเปนกราฟจะไดดังรูปขางลาง
PS, kPa TS, oC vf,m3/kg vg,m3/kg P เสนความดัน-อุณหภูมิอิ่มตัว
5 32.88 0.001005 28.1900 (vapour pressure curve)
101.3 100 0.001044 1.6729 (PS vs TS)
500 151.86 0.001093 0.3749
1000 179.91 0.001127 0.1944 T รูปที่1.3
ณ. จุดหรือภาวะเหลานี้
อุณหภูมิเรียก อุณหภูมิอิ่มตัว (SATURATED TEMPERATURE), TS
ความดันเรียก ความดันอิ่มตัว (SATURATED PRESSURE), PS
ของเหลวเรียก ของเหลวอิ่มตัว (SATURATED LIQUID)
ไอเรียก ไออิ่มตัว(SATURATED VAPOUR)
ปริมาตรจําเพาะของของเหลวอิ่มตัวคือ vf และปริมาตรจําเพาะของไออิ่มตัวคือ vg และ vfg = vg- vf
กรณีที่มีทั้งของเหลวและไอ จะเรียกสัดสวนโดยมวลของไอวา คุณภาพไอ(Quality) และสัดสวนโดยมวล
ของของเหลววาความชื้น(Moisture) ภายในหลอดไมมี
คุณภาพไอ(Quality) , x = (มวลของสวนที่เปนไอ, mv) / (มวลทั้งหมด , ml+mv) อากาศเปนไออิ่มตัว&
ความชื้น(Moisture) , y = (มวลของสวนที่เปนของเหลว, ml) / (มวลทั้งหมด , ml+mv) ของเหลว อิ่มตัว
บอยครั้งจะคูณดวย 100 เพื่อกลาวเปนเปอรเซ็นตหรือ x + y = 1 หรือ 100%
สิ่งที่ตองจดจําเปนสํานึกทางวิศวกรรมคือ สารบริสุทธิ์ทุกอยางจะมีไอและของเหลวอยูดวยกันได ก็ตองเปน
จุดอิ่มตัวเทานั้น นั่นก็หมายถึงวาที่ความดันบรรยากาศ 101.3 kPa น้ํามีอุณหภูมิ 30oC ยอมกลายเปนไอไมได
แนนอน คนจํานวนไมนอยมักจะสงสัยวา น้ําที่ใสจานทิ้งไวหายไปไดอยางไร? แตถาเอาแผนพลาสติกบางๆ
ปดทับบนจาน ทุกคนก็ทราบวาน้ําจะไมหายไปไหน คําอธิบายก็คือถาไมมีแผนพลาสติกปด โมเลกุลของน้ํา
ที่ผิวสามารถเตนหนีความดัน 101.3 kPa ที่กดมันได โดยแทรกซึมไปในอากาศ ทําใหความดันที่กดมันเหลือ
เพียงไมเกิน 3 kPa เทานั้น ฉะนั้นความดันต่ําขนาดนี้อุณหภูมิ 30oC น้ําสวนนี้ตองกลายเปนไอฝนธรรมชาติ
ไมได อยางไรก็ตามการพูดถึงสารบริสุทธิ์ตองหมายถึงสารบริสุทธิ์ชนิดเดียว เชนที่พูดถึงน้ําก็ตองไมมี
อากาศมาเกี่ยวของ ซึ่งในการใชงานจริงก็เปนเชนนั้น ดังตัวอยางโรงจักรไอน้ําผลิตกระแสไฟฟา ในการใช

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


6 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

น้ําเปนตัวถายทอดพลังงาน จะตองไมมีอากาศอยูในระบบเปนอันขาด เชนเดียวกับ สารทําความเย็น(ฟรี


ออน)ที่อยูในเครื่องปรับอากาศ จะมีอากาศผสมอยูไมไดเชนกัน
ขอสังเกตและขอยกเวน
1. สารทุกอยางขณะที่อยูในภาวะอิ่มตัว(Saturation) ของเหลวอิ่มตัวจะมีปริมาตรเล็กกวา ไออิ่มตัวมากมาย
หรืออีกนัยหนึ่งของเหลวจะมีความหนาแนนมากกวาไอมากมาย ลองมาดูตัวอยางสําหรับสารสัก 2 ชนิด ที่
30oC เชนน้ํา จากตารางน้ํา vf = 0.001004 m3/kg vg = 32.8932 m3/kg นั่นคือของเหลวมีปริมาตรจําเพาะ
เล็กกวาไอ สามหมื่นกวาเทาหรือของเหลวมีความหนาแนนมากกวาไอ สามหมื่นกวาเทา สําหรับสารความ
เย็นR-134a จากตาราง vf = 0.000843 m3/kg, vg = 0.02671 m3/kg ของเหลวจะมีปริมาตรเล็กกวาไอ
ประมาณ 32 เทา หรือของเหลวมีความหนาแนนมากกวาไอ 32 เทา ดังนั้นในการขนสงหรือเก็บสารในถัง
ไวใชงาน จึงนิยมเก็บในลักษณะของเหลวในอุณหภูมิบรรยากาศเพราะไดมวลมาก แตเนื่องจากของเหลว ที่
อุณหภูมิบรรยากาศ มักจะมีความดันสูง เชน R-134a ที่30oCนั้นจากตารางจะมีความดัน 771 kPa หรือ เกือบ
8 เทาความดันบรรยากาศ ยิ่งถาเปน R-22 จะมีความดันถึง 1191.9 kPa จึงตองใชถังที่แข็งแรงทนความดันพอ
มีวาลวปด ฉะนั้นการเก็บในลักษณะของเหลวลวนจะไมปลอดภัย เพราะของเหลวอยูในที่จํากัด อุณหภูมิ
สูงขึ้นเล็กนอยเทานั้น จะเปลี่ยนเปนความดันมหาศาล อาจจะทําใหถังระเบิดได ดังนั้นในการเก็บสารความ
ดันสูงจะตองใหมีไออยูอยางนอย 10% ของปริมาตรถัง จึงเปนหลักปฏิบัติกันทุกวันนี้ ในการเก็บสารความ
ดันสูงจะเก็บในลักษณะเปนของเหลวอิ่มตัวผสมไออิ่มตัวเสมอถาทําได ดังนั้นถาทราบอุณหภูมิของเหลวใน
ถังก็จะทราบความดันไดโดยอาศัยตารางคุณสมบัติทางอุณหพลวัตตามตัวอยางขางตน อาจจะกลาวไดวา ถัง
น้ํายาหรือสารทําความเย็น ในถังเดียวกันขณะที่มีน้ําหนัก 10 kg เมื่อวันกอนแตวันนี้เหลือแค 1 kg หรือแมจะ
เหลือสวนที่เปนของเหลวแค 1 g ก็จะมีความดันเทาเดิม ถาอุณหภูมิอากาศวันนี้เทาเมื่อวาน
2. สารผสมซึ่งเกิดจากการผสมของสารบริสุทธิ์ เชนสารทําความเย็นอาร-407C ผสมระหวาง อาร-32
อาร125 และอาร134a ในอัตราสวนโดยมวล 23%, 25%และ52%ตามลําดับ ซึ่งจะมีพฤติกรรมผิดปกติ
กลาวคือที่ความดันหนึ่งจะมีอุณหภูมิอิ่มตัวไดหลายอุณหภูมิ เชนอาร-407C รูปที่ ผ-17 ที่ความดัน 1 MPa ถา
เปนของเหลวอยูทําใหกลายเปนไออุณหภูมิอิ่มตัว(Bubble)จะประมาณ 19oC แตถาเปนไอรอนยวดยิ่งอยูทํา
ใหเย็นลงอุณหภูมิอิ่มตัว(Dew)จะประมาณ 24 oC ที่เปนเชนนี้เพราะอัตราสวนผสมของสารในไอและใน
ของเหลวเปลี่ยนไปนั่นเอง กาซหุงตม(LPG)ที่ใชในครัวจะมีพฤติกรรมคลายกันเพราะเปนสารผสมระหวาง
โปรเพนและบิวเทนประมาณอยางละ50%โดยมวล เมื่อใชกาซไปความดันจึงเปลี่ยนไดแมอุณหภูมิจะคงที่
เพราะสัดสวนของโปรเพนจะลดลง หรือตอนกาซใกลจะหมดสวนใหญจะเหลือแตบิวเทนความดันจะลดลง
มาก
ของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด ( SUBCOOLED / COMPRESSED LIQUID )
ของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัดคือ :-
1 ของเหลวที่มีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิอิ่มตัว (TS) ที่ตรงกับความดันของของเหลวนั้น หรือคือ
2 ของเหลวที่มีความดันสูงกวาความดันอิ่มตัว (PS) ที่ตรงกับอุณหภูมิของของเหลวนั้น หรือคือ

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 7

3 ของเหลวที่มีปริมาตรจําเพาะนอยกวาปริมาตรจําเพาะของของเหลวอิ่มตัว(vf) ที่ตรงกับอุณหภูมิหรือ
ความดันของของเหลวนั้น
ตัวอยางที่ 1.2 H2O 30oC, 101.3 kPa เปนอะไร ?
วิธีทํา ตรวจดวยวิธี 1 ที่ 101 kPa TS = 100OC T<TS ∴เปนของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด
ตรวจดวยวิธี 2 ที่ 30OC PS = 4.246 kPa P>PS ∴ เปนของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด
O 3
ตัวอยางที่ 1.3 H2O 30 C, v = 0.0009 m /kg เปนอะไร ?
วิธีทํา ตรวจดวยวิธี 3 ที่ 30OC vf = 0.001004 m3/kg v < vf ∴ เปนของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด
สิ่งที่ตองจดจําเปนสํานึกทางวิศวกรรมคือ สารบริสุทธิ์ที่เปนของเหลวคือ ของเหลวอิ่มตัว และ ของเหลวเย็น
ยิ่งหรือของเหลวอัด ที่อุณหภูมิเดียวกันแมวาความดันจะตางกัน จะมีคาคุณสมบัติอื่นๆใกลเคียงกันมาก นั่น
คือคุณสมบัติอื่นๆเกือบจะไมขึ้นกับความดันนั่นเอง จึงสามารถประมาณคาไดจากการอานจากคาของเหลว
อิ่มตัวแทนได โดยสนใจแตอุณหภูมิอยางเดียว
ตัวอยางที่ 1.4 H2O 40OC , 50,000 kPa ปริมาตรจําเพาะเปนเทาไร?
วิธีทํา อานจากตารางน้ําอิ่มตัว ที่ 40OC คาของเหลวอิ่มตัว vf = 0.001008 m3/kg แตถาตองการคา
ถูกตองใหใชตารางน้ําที่เปนของเหลวเย็นยิ่ง(Compressed Liquid Water Table) จะได v = 0.000987 m3/kg
การประมาณมีคาคลาดเคลื่อน = (0.001008-0.000987)/0.000987x100% = 2% เทานั้น
ตัวอยางที่ 1.5 H2O 30OC , ปริมาตรจําเพาะเปน 0.001000 m3/kg เปนอะไร?
วิธีทํา อานจากตารางน้ําอิ่มตัว ที่ 30OC คา คาของเหลวอิ่มตัว vf= 0.001004 m3/kg แตปริมาตรจําเพาะที่
กําหนด0.001000 m3/kg นอยกวา vf ดังนั้นตองเปนของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด
ไอรอนยวดยิ่ง/ไอดง (SUPERHEATED VAPOUR)
ไอรอนยวดยิ่งคือ
1 ไอที่มีอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิอิ่มตัว (TS) ที่ตรงกับความดันของไอนั้น หรือ
2 ไอที่มีความดันต่ํากวาความดันอิ่มตัว (PS) ที่ตรงกับอุณหภูมิของไอนั้น หรือ
3 ไอที่มีปริมาตรจําเพาะมากกวาปริมาตรจําเพาะของไออิ่มตัวที่ตรงกับอุณหภูมิหรือความดันไอนั้น
ตัวอยางที่ 1.6 น้ํา (H2O) 200OC, 101 kPa เปนอะไร ?
วิธีทํา ตรวจดวยวิธี 1 ที่ 101 kPa TS = 100OC ∴T > TS ตองเปน ไอรอนยวดยิ่ง (Superheated
vapour)
ตรวจดวยวิธี 2 ที่ 200OC PS = 1553.8 kPa P<PS ตองเปน ไอรอนยวดยิ่ง
ตัวอยางที่ 1.7 น้ํา (H2O) 200OC, v = 2.2 m3/kg เปนอะไร ?
วิธีทํา ตรวจดวยวิธี 3 ที่ 200OC vg = 0.12736 m3/kg ∴v > vgตองเปนไอรอนยวดยิ่ง(Superheated vapour)
จุดวิกฤต (CRITICAL POINT) จุดอิ่มตัวสุดทาย(Final Saturated Point)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


8 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

ในชวงสถานะที่เปนของเหลว – ไอ สารบริสุทธิ์ทุกชนิดจะมีความดันสูงสุด สุดทายที่มันจะมีการเปลี่ยน


สถานะได ถาสูงกวานี้มันจะไมสามารถเปลี่ยนสถานะได จุดนี้เรียกจุดวิกฤต (CRITICAL POINT) สารชนิด
หนึ่งก็จะมีอยูเพียงจุดเดียวเทานั้น และสารตางชนิดกันจุดวิกฤตก็จะไมเทากัน
ตัวอยางเชนถานําคาจากตารางน้ํา คุณสมบัติ T, P และ v มาเขียนกราฟ โดยใชคาที่ความดันคงที่ตางๆ เชน
0.1,1.0,….10,
ความดั20,
นเกิ22.09
นความดัMPa
นวิจะได รูปดังมรูีกปารเปลี
กฤตจะไม ที่1.4 ่ยนสถานะ
ทุกจุดบนเสนโคงเสนปะนี้
CP (จุดวิกฤต). P =22.09 MPa(น้ํา)
จะเปนของเหลวอิ่มตัว
P=20 MPa ทุกจุดบนเสนโคงเสนปะนี้จะเปนไออิ่มตัว
T

P=10 MPa
P=1 MPa

P=0.1 MPa
ชวงเปลี่ยนสถานะ
ความดัน(หรืออุณหภูมิ)ยิ่งต่ําเทาไร ปริมาตรจําเพาะหรือ
ความหนาแนนระหวาง ไอและของเหลวจะตางกันมากเทานั้น v
รูปที่ 1.4
จะพบวาที่ความดันต่ําชวงเปลี่ยนแปลงสถานะจะกวาง จะแคบลงๆเมื่อความดันสูงขึ้นเรื่อยๆ จนจุดสุดทาย
จะไมมีความกวางคือเปนจุด เรียกจุดวิกฤต ถาความดันสูงกวานี้จะไมมีการเปลี่ยนสถานะ ใหสังเกตโคง
ภูเขาซึ่งเปนเสนปะโคงซีกซายของจุดวิกฤตคือสถานะของเหลวอิ่มตัว(Saturated liquid) สวนซีกขวาจะเปน
ไออิ่มตัว(Saturated vapour) ในการเขียนกราฟคุณสมบัติอื่นๆก็จะเกิดโคงรูปภูเขา ซึ่งแสดงดวยเสนปะนี้
เชนกันเพียงแตวาโคงภูเขานี้ อาจะเบี้ยวซายหรือขวาเทานั้น
ตาราง ตัวอยาง จุดวิกฤตของสารบางชนิด
ชนิดสาร อุณหภูมิ, oC ความดัน,MPa ปริมาตรจําเพาะ ความหนาแนน
m3/kg kg/ m3
น้ํา 374.14 22.09 0.003155 317
CO2 31.05 7.39 0.002143 467
O2 –118.35 5.08 0.002438 410
N2 –146.95 3.39 0.003215 311
H2 –239.85 1.3 0.032192 31
CH4 –82.75 4.6 0.00615 163

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 9

ประโยชนของการทราบจุดวิกฤตของสาร เชนในการเก็บสารไวใชงานหรือขนสงสาร ตองใหเปน


ของเหลวที่อุณหภูมิบรรยากาศเพราะจะไดมีความหนาแนนมาก ภาชนะที่ใชเก็บหรือขนสงจะไดเล็กๆ และ
ควรจะมีความดันไมสูงนักนอกจากจําเปน ตัวอยางเชนในการเก็บออกซิเจน( O2 ) จะพบวาถาตองการใหเปน
ของเหลว ตองมีอุณหภูมิต่ํากวา –118.35 oC และความดันตองไมต่ํากวา5.08 MPa นั่นก็หมายความวา ก็ตอง
นํามาแชแข็งใหอุณหภูมิติดลบถึง118.35 oC ซึ่งตองขนสงดวยรถหองเย็นชนิดพิเศษสุด โดยยังคงตองใชถังที่
ทนความดันไมนอยกวา 5.08 MPa ซึ่งหองเย็นดังกลาวจะตองลงทุนมาก ดังนั้นการเก็บในลักษณะของเหลว
อิ่มตัวผสมไออิ่มตัว จึงไมเหมาะสม จึงนิยมเลือกการเก็บหรือขนสงที่อุณหภูมิบรรยากาศคือประมาณ 30 oC
ซึ่งที่ความดันวิกฤตคือ 5.08 MPa มันจะมีความหนาแนนนอยกวา 70 kg/ m3 ในทางปฏิบัติจึงนิยมใหมีความ
ดันมากๆ ยอมใหเกินความดันวิกฤต เพื่อจะไดมีความหนาแนนสูงๆ ไดน้ําหนักมากๆ เชนใหความดันถึง 15
MPa ซึ่งณ อุณหภูมิ 30 oC นี้ ความหนาแนนจะประมาณ 200 kg/ m3 ที่ความดันที่สูงกวาความดันวิกฤต
มักจะไมเรียกวาของเหลวหรือไอ การเรียกวา ” ของไหล ” นาจะถูกตองที่สุด จะเห็นวาความดันมากกวา
ความดันบรรยากาศเกือบ 150 เทา จึงตองใชถังเหล็กที่หนามาก ตลอดจนวาลวตางๆตองทนความดันสูงมาก
การใชงานตองระวังเปนพิเศษ เพราะถาระเบิดขึ้นมาจะรุนแรงมาก ซึ่งออกซิเจนที่บริสุทธิ์จํานวนมากจะชวย
ใหสิ่งที่ไมนาจะติดไฟ เกิดติดไฟได สําหรับกาซธรรมชาติ(NGV) ซึ่งสวนประกอบสวนใหญคือมีเธน
(CH4)ก็คลายกับออกซิเจน คือถาตองการเก็บไดมวลมากๆก็ตองยอมใหเกินความดันวิกฤต
จุดสามเชิง(TRIPLE POINT)
จากการนําคาอุณหภูมิอิ่มตัวและความดันอิ่มตัวของสารใดๆจากสถานะของแข็ง ของเหลว และเปนไอ มา
เขียนกราฟไดดังรูปที่1.5 และจะเห็นวามีจุดๆหนึ่งเทานั้น ที่สารทุกอยางจะมีสถานะได 3 สถานะซึ่งเรียกวา
จุดสามเชิง(TRIPLE POINT)
เสนของแข็ง-ของเหลวอิ่มตัว เสนของแข็ง-ของเหลวอิ่มตัว
P เสนของเหลว-ไอ P เสนของเหลว-ไอ
CP CP
ของแข็ง ของเหลว ของแข็ง ของเหลว

ไอ ไอ
จุดสามเชิง จุดสามเชิง
เสนของแข็ง-ไอ เสนของแข็ง-ไอ
T T
(ก) สารพวกขยายตัวเมื่อ (ข) สารพวกหดตัวเมื่อ
รูปที่1.5
ตารางจุดสามเชิงของสารบางอยาง ( Some Solid-Liquid-Vapor Triple Point Data )
ชนิดสาร อุณหภูมิ, °C ความดัน,kPa
CO2 -56.6 517

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


10 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

น้ํา 0.01 0.6113


H2 (normal) -259 7.19
O2 -219 0.15
N2 -210 12.53
ปรอท -39 0.000000 13
สังกะสี 419 5.066
ประโยชนของจุดสามเชิงของสาร จุดสามเชิงจะบอกใหทราบวาเมื่อไรสารจะไมสามารถมีสถานะเปน
ของเหลวได เมื่อไรจึงจะเปนของเหลวได ตัวอยางเชน CO2 ณ ความดันบรรยากาศ (101.0 kPa) จะไมมี
ทางที่จะเห็นมันเปนของเหลวไดเลย เพราะความดันจุดสามเชิงของมันคือ 517 kPa ซึ่งสูงกวาความดัน
บรรยากาศมาก มันจึงมีสถานะไดเฉพาะของแข็งและไอเทานั้น ในหลักการเดียวกันน้ําความดันจุดสามเชิง
0.6113 kPa ซึ่งต่ํากวาความดันบรรยากาศมากมาย จึงเห็นมีสถานะเปนของเหลวได และมันก็จะไมสามารถ
เปลี่ยนจากของแข็งเปนไอโดยไมตองกลายเปนของเหลวกอน ณ ความดันบรรยากาศ
ธรรมชาติของคุณสมบัติของสารบริสุทธิ์และพื้นผิวP,v,T เมื่อนํามาเขียนเปนกราฟสามมิติ
สารบริสุทธิ์ทุกชนิดสามารถกําหนดหรือทราบภาวะไดแนนอน หรือกําหนดคุณสมบัติอื่นๆ ได
แนนอน ถากําหนดหรือทราบคุณสมบัติของสารนั้น 2 คุณสมบัติที่ไมขึ้นแกกันโดยตรง เชนกําหนดวาน้ํามี
อุณหภูมิ 30oC ความดัน 101 kPa ทราบภาวะแนนอนนั่นคือ น้ําจะมีปริมาตรจําเพาะ 0.001004 m3/kg แตถา
กําหนดวาน้ํามีปริมาตรจําเพาะ 0.001004 m3/kg มีความหนาแนน 996.01594 kg/m3 (0.001004 =
1/996.01594) ภาวะยังไมแนนอนคืออาจจะเปนน้ําที่มีอุณหภูมิ 30oC ความดัน 101 kPa หรืออยางอื่นก็ได
เชนน้ําที่ 60OC ความดัน 30 MPa ก็มีความหนาแนน = 996.01594 m3/kg เชนกัน เหตุที่เปนเชนนี้เพราะ
ปริมาตรจําเพาะขึ้นกับความหนาแนนโดยตรง (v = 1/ρ) ดังนั้นก็เหมือนกับทราบแค 1 คุณสมบัติเทานั้น
สรุปสารบริสุทธิ์ 1 ชนิด ทราบ 2 คุณสมบัติ จะทราบคุณสมบัติอื่นๆทันทีนั่นคือ v = f(P,T) , P=f(v,T) ,
T = f(P,v), T = f(ρ , P) เปนตน
จากความรูพื้นฐานการเขียนแผนภูมิหรือกราฟ X = f(Y,Z) เปนสมการของผิว ถานํามาเขียนกราฟสามมิติ
จะปรากฏเปนพื้นผิวตอเนื่องสวยงาม เพื่อความสะดวกในการใชงานนิยมเขียนเปนสองมิติดงั แสดงในรูปที่
1.6และ1.7

จุดวิกฤต T4
P ของเหลว ไอ
T1 T2 T3
ของเหลว+ไอ

เสนอุณหภูมิคงที่ T=C

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 11

v
รูปที่ 1.6 แผนภูมิ P-v
จุดวิกฤต P4

T P3

P2

P1
เสนความดันคงที่ P=C

v
รูปที่ 1.7 แผนภูมิ T-v
ตารางคุณสมบัติทางอุณหพลวัต
จากตารางคุณสมบัติทางอุณหพลวัต จะเห็นวา มีคุณสมบัติที่ยังไมไดกลาวถึง คือ พลังงานภายในจําเพาะ
(Specific Internal Energy) เอนทัลปจําเพาะ(Specific Enthalpy) และเอนโทรปจําเพาะ(Specific Entropy)
พลังงานภายในจําเพาะ ในบางครั้งอาจจะเขียนสั้นๆวาพลังงานภายใน u (Internal Energy) มีหนวย kJ/kg ซึ่ง
uf หมายถึงพลังงานภายในจําเพาะของของเหลวอิ่มตัว สวน ug หมายถึงคาพลังงานภายในจําเพาะของไอ
อิ่มตัว และ ufg = ug-uf พลังงานภายในจําเพาะไดมาจากการคํานวณจากคาที่ไดจากทดลองทางตรงหรือ
ทางออม โดยกําหนดคา 0 (ศูนย) ที่ภาวะตามสะดวกเชน น้ําจากตารางน้ําหรือตารางไอน้ํา กําหนดพลังงาน
ภายในจําเพาะเปน 0 สําหรับของเหลวอิ่มตัว ณ อุณหภูมิ 0.01°C(อุณหภูมิจุดสามเชิง) สวนคาที่ภาวะอื่นๆก็
ไดจากการทดลอง ทางตรงหรือทางออม อยางไรก็ตามจะเห็นกันตอไปวา ในการใชงานใชคาแตกตางของ
พลังงานภายใน ไมไดใชคา สัมบูรณ(Absolute )ของมัน จึงไมเปนปญหา เอนทัลปจําเพาะ ในบางครั้ง
อาจจะเขียนสั้นๆวาเอนทัลป h (Enthalpy) มีหนวย kJ/kg คือคาที่เกิดจากผลบวกของพลังงานภายในกับคา
ผลคูณของปริมาตรจําเพาะกับความดันหรือ h = u + P.v ดังนั้นตารางน้ํา คาเอนทัลปก็มาจาก u + P.v

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


12 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

สําหรับตารางน้ําจากหนังสือ ASHRAE จะกําหนด คา 0 ใหกับเอนทัลปของของเหลวอิ่มตัว ณ.อุณหภูมิ


0.01oC(อุณหภูมิจุดสามเชิง) แตกลับไปหาคา u จาก u = h - P.v แทน สําหรับสารความเย็นอื่นๆ เชน
R22,R134a และ NH3 นิยมกําหนดเอนทัลปของของเหลวอิ่มตัวเปน 0 kJ/kgที่อุณหภูมิ -40oC แตลาสุดจาก
การประชุมนานาชาติ มีการกําหนดใหมใหเอนทัลปของของเหลวอิ่มตัวเปน 200 kJ/kgที่อุณหภูมิ 0oC แทน
อยางไรก็ตามจะเห็นกันตอไปวา ในการใชงานใชคาแตกตางของเอนทัลป ไมไดใชคาสัมบูรณ ของมัน จึงไม
เปนปญหา
สําหรับ hf หมายถึงเอนทัลปจําเพาะของของเหลวอิ่มตัว สวน hg หมายถึงคาเอนทัลปจําเพาะของไออิ่มตัว
และ hfg = hg-hf ประโยชนของเอนทัลปจะเห็นในภายหลัง
เอนโทรปจําเพาะ ในบางครั้งอาจจะเขียนสั้นๆวาเอนโทรป s (Entropy) มีหนวย kJ/kg.K ซึ่ง sf หมายถึง
เอนโทรปจําเพาะของของเหลวอิ่มตัว สวนsg หมายถึงคาเอนโทรปจําเพาะของไออิ่มตัว และ sfg = sg-sf
คุณสมบัติอันนี้เปนคุณสมบัติคอนขางเขาใจยาก จะกลาวโดยละเอียดตอไป
คาคุณสมบัติของของเหลวอิ่มตัวและไออิ่มตัวผสมกัน
จากที่กลาวมาแลวคาคุณสมบัติใดๆที่มีตัวหอย f (SUBSCRIPT f)หมายถึงของเหลวอิ่มตัว คาคุณสมบัติใด
ที่มีตัวหอย g (SUBSCRIPT g)หมายถึงไอ อิ่มตัว และคาคุณสมบัติใดที่มีตัวหอย fg (SUBSCRIPT fg)
หมายถึงคุณสมบัติที่เปนไออิ่มตัวลบดวยคุณสมบัติที่เปนของเหลวอิ่มตัว หรือเขียนเปนสมการทั่วไปไดดังนี้
X = yXf+xXg = Xf + xXfg = Xg - yXfg ……….(1.2)
Xfg = Xg - Xf ………………………………(1.3)
X แทนคุณสมบัติใดๆก็ได x คือสัดสวนโดยมวลของไอตอมวลทั้งหมด สวนy เปนสัดสวนโดยมวลของ
ของเหลวตอมวลทั้งหมด
ตัวอยางที่ 1.8 ภาชนะบรรจุน้ําอุณหภูมิ 50OC ภายในมีคุณภาพไอ 20% จงหาปริมาตรจําเพาะ ถาภาชนะมี
ปริมาตร 2 m3 จงหามวล
วิธีทํา v = vf + xvfg จากตารางน้ําที่อุณหภูมิ 50OC vf = 0.001012 m3/kg และvfg = 12.0308 m3/kg
v = 0.001012 +0.20x12.0308 = 2.41 m3/kg
m = V/v = 2 / 2.41 = 0.83 kg
ตัวอยางที่ 1.9 ภาชนะอันหนึ่งมีปริมาตร 0.4 m3 บรรจุน้ํา (H2O) หนัก 2 กก. มีความดัน 600 kPa จงหา
ปริมาตรและมวลของเหลวและไอ
วิธีทํา v = V/m = 0.4 /2 = 0.2 m3/kg จากตารางน้ําอิ่มตัว(Saturated Water Table) P = 600 kPa จะได vg
=0.31567 m3/kg และ vf = 0.001101 m3/kg แต v ในภาชนะ = 0.2 m3/kg อยูระหวาง vf และ vg ฉะนั้นเปน
ของเหลว -ไอผสม
∴ v = vg –y.vfg = vg - y (vg-vf)
หรือ v = vf +x(vg- vf) = vf +x vfg
0.2 = 0.001101 + x(0.31567-0.001101) = 0.001101 + x(0.31457)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 13

x = 0.6322 = 63.22% ∴y = 0.3978 = 36.78%


∴มวลของน้ํา = mf =my = 2 x 0.3678 = 0.7356 kg มวลของไอ = 1.2644 kg
∴ปริมาตรของน้ํา Vf = mfvf = 0.7356x0.001101 = 0.0008 m3 ปริมาตรไอ = 0.3992 m3
ตัวอยางที่ 1.10 จงหาปริมาตรจําเพาะของ H2O ที่มี P = 1000 kN/m2 และ T = 300oC
วิธีทํา ตรวจสอบกอนวาเปนอะไร โดยใชตารางน้ําอิ่มตัว พบวา P = 1000 kPa ,TS=179.91oC

เนื่องจากอุณหภูมิจริง = 300oC ดังนั้นน้ําตองเปนไอรอนยวดยิ่ง


ใชตาราง น้ํา -ไอน้ํารอนยวดยิ่ง จะได v = 0.25794 m3/kg หรือจากแผนภูมิความดัน-เอนทัลปของน้ํา P = 1
MPa , T = 300oC จะอานความหนาแนน( ρ )ไดประมาณ 4 kg/m3 หรือ v = ¼ = 0.25 m3/kg
ตัวอยางที่ 1.11 ภาชนะแข็งบรรจุแอมโมเนียอิ่มตัวซึ่งเปนไอ อุณหภูมิ 20oC ถาใหความรอนจนมีอุณหภูมิ
40oC จงหาความดันสุดทาย
วิธีทํา ภาชนะแข็ง V = คงที่ และ m = คงที่ ∴ v = คงที่ →v1 = v2
v1 = vg ที่ 20oC = 0.14922 m3/kg
v2 = v1 = 0.14922 m3/kg
T2 = 40oC
ตรวจจากตารางแอมโมเนียอิ่มตัว(Saturated Ammonia) พบวาเปนไอรอนยวดยิ่ง ใชตาราง แอมโมเนียไอ
รอนยวดยิ่ง(Superheated Ammonia) จากตารางที่อุณหภูมิ 40oC นั้นปริมาตรจําเพาะ0.14922 m3/kg นั้นจะ
ตกที่ชวงความดันระหวาง 900 kPa (ซึ่งตรงกับ 0.15582 m3/kg) และ 1000 kPa(ซึ่งตรงกับ 0.13868 m3/kg)
เทียบบัญญัติไตรยางคจะไดความดันสุดทายประมาณ 938 kPa ถาความดันเดิม100kPaปริมาตร100m3ตองการเพิ่ม
กาซสมบูรณหรือกาซอุดมคติ (PERFECT / IDEAL GAS) ความดันเปน101kPaตองอัดลมเขาประมาณกี่ m3?
P1/m1 =P2/m2
สมการหรือสูตรกาซสมบูรณหรือกาซอุดมคติที่ทราบกันดีคือ
m2 =(P2/P1)m1
Pv = RT ……(1.4) หรือ P1v1/T1=P2v2/T2 ……(1.4a) m2 =(101/100)m1=1.01m1
Pv = RT ……(1.4b) อัดลมเขาประมาณ 1% หรือ1 m3
PV = mRT = n RT ……(1.4c) หรือ P1V1/T1 =P2V2/T2 …(1.4d) P1V1/(m1T1) =P2V2/(m2T2)…(1.4e)
R = คาคงที่ของกาซ (ไอ)ชนิดหนึ่งๆ เชน อากาศ R = 0.287 kJ/kg.K ไอน้ํา R = 0.46152 kJ/kg.K
R = คาคงที่กาซทุกชนิดเทากัน = 8.31434 J/mole.K = 8.31434 kJ/kmol.K = MR
M =มวลโมเลกุล(Molecular mass), m =มวล, n = จํานวนโมล
สมการใชไดดีเมื่อ :-
-กาซ (ไอ) ที่มีความดันต่ํา ๆ(ทางปฏิบัติไมเกิน 5 เทาบรรยากาศมักใชไดดี) หรือ
-กาซ (ไอ) ที่มีอุณหภูมิสูงเกิน 2 เทาของอุณหภูมิวิกฤตแมความดันจะสูงก็ใชไดดี
ตัวอยางที่ 1.12 หองขนาด 6 x 10 x 4 m3, P = 100 kPa , T = 25°C จงหา m ของอากาศในหอง

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


14 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

100kN/m 2 × 6 × 10 × 4m 3
วิธีทํา m=
PV
RT
=
0.287kJ/(k g.K) × (273.15 + 25)K
= 280.5 kg
ตัวอยางที่ 1.13 จงหา v ของไอน้ํา P = 1000 kN/m2 (1MPa) T=300° C(573K)
RT 8.3143 × 573
วิธีทํา v = =
3
= 0.265m / kg
PM 1000 × 18
คาถูกตองใช ตารางน้ําไอรอนยวดยิ่ง P = 1 MPa , T = 300 C v = 0.25794 m3/kg
การคํานวณขางตนไอน้ําความดันประมาณ 10 เทาบรรยากาศ คลาดเคลื่อนประมาณ 3% เทานั้น
4 งาน และความรอน
งานและความรอนเปนพลังงานในกลุมเดียวกัน คือเปนพลังงานที่เคลื่อนเขาออกจากมวล หรือระบบ
ไมไดอยูกับมวล
งาน คือการออกแรงใหมวลเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรง
2
δW = Fdx หรือ W = ∫ Fdx หรือ W = F * x ………………(1.5)
1
2
δw = (F/m)dx หรือ w = ∫ (F/m)dx หรือ w = (F/m) * x ………………(1.5a)
1

W = งานทั้งหมด , w = งานตอหนวยมวล , x = ระยะทางไปตามทิศทางของแรง


งานที่ไดอกมาจากระบบแสดงดวยเครื่องหมายบวก(+) งานที่ใสเขาสูระบบแสดงดวยเครื่องหมายลบ( – )
หนวยของงาน
แรงมีหนวยเปน N (นิวตัน) ระยะทางเปน m (เมตร) งานจะมีหนวยเปน N.m แทนดวย J (จูล)
1 J = 1 N.m

กําลัง (POWER) คืออัตราของงานตอหนวยเวลา , W

W=
δW
dt
=
W
t
……………….(1.6)
หนวยของกําลัง คือ W (watt) = J/s
ตัวอยางที่1.14 ยกของสิ่งหนึ่งมีมวล 10 kg บนดวงดาวที่มีความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง (g) 5 m/s2 ให
สูงขึ้น 20 m ในเวลา 40 s ยกขึ้นดวยความเร็วคงที่ ตองทํางานเทาไร?และใชกําลังเฉลี่ยเทาไร?
วิธีทํา งานที่ทําได W = F. x = (m.g).x= (10x5)20 = 1000 J = 1kJ

กําลังที่ใช W = Wt = 1000
40
= 25W

ตัวอยางที่1.15 ลิฟตโดยสารทั่วไป ถาสมมุติมวลผูโดยสารรวมตัวลิฟตลบดวยน้ําหนักถวง (Counter


Weight)เปน 1000kg ถาลิฟตมีความเร็ว 2 m/s มอเตอรที่ตองใชฉุดขนาดอยางนอยสุดตองเทาไร?

วิธีทํา กําลังมอเตอรที่ตองใช W = Wt = F.xt = m.g.x
t
= m.g.V = 1000 * 9.81 * 2 = 19,620W = 19.62kW

งานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของของไหล
งานนี้มักจะเกิดขึ้นในลูกสูบกระบอกสูบ เชนในเครื่องยนต และเครื่องอัดอากาศเปนตน แมวาในทาง
ปฏิบัตินั้นจะเปนระบบเปด ก็อาจจะพิจารณาในชวงที่วาลวทุกอันปดอยูหรือเปนระบบปดไดดังรูปที่1.8
dL dL
P รศ. Pฤชากร จิรกาลวสาน

รูปที่1.8 ลูกสูบกระบอกสูบขณะวาลวปด รูปที่1.9 ลูกสูบกระบอกสูบมีกอนน้ําหนักและอากาศภายนอก


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 15

ซึ่งถาเปนลูกสูบเครื่องยนต กาซรอนภายในกระบออกสูบจะดันลูกสูบดวยความดัน P ทําใหเกิดงาน หรือใน


กรณีใหความรอนทําใหเกิดงานดังรูปที่1.9 งานที่ไดคือ ความดัน P ทําใหมวลของลูกสูบและกอนน้ําหนัก
รวมทั้งมวลของอากาศภายนอกที่กด เคลื่อนที่ ในเครื่องยนตจริงลูกสูบมักเคลื่อนที่ดวยความเร็วสูง ความ
ดัน P ของกาซรอนมักไมสมดุลหรือไมสม่ําเสมอ จึงไมสามารถคํานวณได แตถัาในกรณีที่สมบูรณที่สุดคือ
สมมุติวาสมดุลนิยมเรียกวาสมดุลเควไซ(Quasi-equilibrium) ใหพื้นที่หนาตัดลูกสูบเปน A แรงที่ดันจะ
เทากับ P*A และถาระยะทางที่ลูกสูบเคลื่อนที่ dL จะไดงาน δW ดังนี้
δW = P*A*dL = P*(A*dL) = PdV ………(1.7)
2
W = ∫ PdV ……………………………….(1.7a)
1

หรือถานํามาเขียนบนแผนภูมิ P-V ดังรูปที่1.10 จะเห็นวางานที่


เกิดขึ้นเมื่อเปนสมดุลเควไซ แทนไดดวยพื้นที่ใตเสนที่ฉายไปบนแกน
P 1 V(แกนX) ดังนั้นเสนกระบวนการอาจจะเปนแบบใดก็ได แลวแตวา
กระบวนการนั้นจะเปนแบบใด เชนถาเปนกระบวนการความดันคงที่
P
2 1 2 ดังรูปที่1.11
V รป
ู ที 1
่ .10
งานความดันคงที่ W = P(V2 – V1)
รูปที่1.11 V
หรือในกรณีเปนไอหรือกาซถาความดันไมสูงนัก ถาขยายตัวในกระบอกสูบแบบอุณหภูมิไมเปลี่ยน
(Isothermal) ไอความดันไมสูงคือกาซสมบูรณ T = คงที่ PV =mRT= คงที่ = C
2 2
งานเนื่องจากการขยายตัวหรืออัดไอเมื่ออุณหภูมิคงที่ W = ∫ PdV = ∫ (C/V)dV = Cln(V2 /V1 )
1 1

งานดานไฟฟา
การไหลของกระแสไฟฟาผานขอบเขตถือวาเปนการทํางานหรือกําลังงาน
ถาความตางศักย E โวลต พลังงานไฟฟาไหล dC คูลอมบ ในเวลา dt วินาที จะไดพลังงานไฟฟา
δW = EdC δW/dt = EdC/dt
o
W = E.I
o
หรือถาเปนกระแสไฟสลับ W = E.I.cos θ
o
W - วัตต , E - โวลต , I - แอมแปร, cos θ =Power Factor (ความตานทาน cos θ = 1)

ความรอน

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


16 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

เปนพลังงานที่ถายเท หรือที่ตองเคลื่อนผานขอบเขตของระบบจากที่อุณหภูมิสูงไปสูที่มีอุณหภูมิต่ํา
Q = ความรอนทั้งหมด
q = ความรอนตอหนวยมวลของระบบ =Q/m
ความรอนคลายงานคือนอกจากจะขึ้นกับภาวะแลวยังขึ้นกับกระบวนการดวย จึงนิยมเขียน δQ แทน dQ
2 2 2
จะไมเขียน ∫ δQ = Q2 − Q1 แตจะเขียน ∫ δQ = 1Q 2 หรือเขียน ∫ δQ = Q
1 1 1
• δQ
Q = อัตราการถายเทความรอน
dt
หนวยของความรอน ก็เปนหนวยของพลังงานคือ J , W
เครื่องหมาย
ความรอนเขาสูระบบ ใชเครื่องหมาย + (บวก)
ความรอนออกจากระบบ ใชเครื่องหมาย – (ลบ)
สรุปความรอนและงาน ตางก็เปนพลังงาน แตเปนพลังงานกลุมที่ตองถายเทหรือเคลื่อนยายตําแหนง
5 พลังงานทั้งหมด (Total Energy, E )
พลังงานกลุมที่สองที่จะกลาวถึงเปน พลังงานกลุมที่อยูกับมวลหรือระบบ จะเรียกวาพลังงานทั้งหมด หรือ
พลังงานรวมของมวล คือพลังงานจลน พลังงานศักย และพลังงานภายใน
พลังงานจลน เปนพลังงานที่อยูกับระบบหรือมวลจํานวน m kg อันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ดวยความเร็ว
V m/s มีสูตรดังนี้
KE =mV2/2 ………….(1.8)
ke = V2/2 ………….(1.8a)
โดย KE เปนพลังงานจลนทั้งหมด หนวย kJ สวน ke พลังงานจลนตอหนวยมวล หนวย kJ/kg
พลังงานศักย เปนพลังงานที่อยูกับระบบหรือมวลจํานวน m kg อันเนื่องมาจากแรงดึงดูดหรือแรงโนมถวง
g m/s2 มีสูตรดังนี้
PE = mgZ …………….(1.9)
pe = gZ …………….(1.9a)
โดย KE เปนพลังงานศักยทั้งหมด หนวย kJ สวน pe พลังงานศักยตอหนวยมวล หนวย kJ/kg
พลังงานภายใน เปนพลังงานที่อยูกับระบบหรือมวล เปนคาที่กําหนดขึ้นมาเพื่อใชงาน เฉพาะงานนั้นๆ เชน
งานดานพลังงานทั่วไปที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือไมมีการเกิดปฎิกริยาลูกโซของสารกัมมันตภาพ
รังสี ก็มักจะกําหนดคาศูนยหรือคาอะไรก็ไดที่สะดวก ใหแกสาร เชนน้ํา ที่เปนของเหลวอิ่มตัวให uf = 0
kJ/kg ที่อุณหภูมิ 0.01 oC ซึ่งเปนอุณหภูมิจุดสามเชิง สําหรับสารทําความเย็นมักนิยมใชเอนทัลปเปนหลัก แต
เดิมจะใชมาตรฐานที่อุณหภูมิ -40 oC โดยให hf= 0 kJ/kg ปจจุบันจะใหมาตรฐานที่ 0 oC แตให hf= 200 kJ/kg
สวนที่ภาวะอื่นๆก็หาไดจากกการทดลองทางตรงหรือทางออม และใชกฎขอที่หนึ่งชวย แลวใสเปนตารางไว

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 17

ใชงาน เมื่อพลังงานภายในเปนคุณสมบัติอันหนึ่งของสาร ดังนั้นก็สามารถหาคาไดจากตาราง ถาทราบ


คุณสมบัติอื่นๆ 2 คุณสมบัติ นั่นคือ u = f(P,v) , u = f(T,v) , u = f(P,T)
ที่ความดันหนึ่งๆ uSUPERHEAT > ug > uf > uSUBCOOL LIQ.
สําหรับของเหลวและไอผสมกัน
u = y.uf + x.ug = uf +x.ufg = ug – y.ufg
ufg = ug-uf , x + y = 1
ตัวอยางที่1.16 จงหาพลังงานภายในตอหนวยมวลสําหรับน้ําอุณหภูมิ 95oC มีคุณภาพไอ 90%
วิธีทํา x = 0.9 หรือ y = 0.1จากตารางน้ําที่95 oC uf= 397.86 kJ/kg ufg = 2102.70 kJ/kg, ug= 2500.56 kJ/kg
u = 397.86+0.9x2102.70 = 2290.29 kJ/kg หรือ u = 2500.56-0.1x2102.70 =2290.29 kJ/kg
ตัวอยางที่1.17 จงหาพลังงานภายในของอาร-134a อุณหภูมิ 100oC ความดัน 4000 kPa
วิธีทํา จากตารางคุณสมบัติทางอุณหพลวัตของอาร-134a อิ่มตัว พบวาที่ 100 oC PS= 3973.2 kPa แตความดัน
ของเรา 4000 kPa จึงเปนของเหลวเย็นยิ่ง/ของเหลวอัด( Subcooled/ compressed liquid) เนื่องจากไมมีตาราง
ของเหลวเย็นยิ่ง (Subcooled liquid ) สามารถใชคาประมาณจากตารางอิ่มตัวที่อุณหภูมิเดียวกันได โดยไม
ตองสนใจความดัน นั่นคือ u = uf = 368.55 kJ/kg
6 กฎขอที่ 1 ของอุณหพลศาสตรสําหรับระบบปด
กฎขอที่1คือกฎการอนุรักษพลังงาน กลาวคือพลังงานสรางขึ้นมาไมไดและทําลายก็ไมได มันเพียงแต
เปลี่ยนรูปแบบตางๆหรือเปลี่ยนตําแหนงเทานั้น เชนเปลี่ยนรูปเปนพลังงานความรอน พลังงานกล(งาน)
พลังงานภายใน พลังงานจลน พลังงานศักย เปนตน
พลังงานแบงเปน 2 กลุม กลุมที่1ที่เคลื่อนที่ผานขอบเขตของระบบหรือพลังงานที่ถายเทไดแกงานและความ
รอน สวนกลุมที่2 พลังงานทั้งหมด คือที่อยูกับมวล ไดแกพลังงานจลน พลังงานศักยและพลังงานภายใน
กฎขอที่ 1 เมื่อระบบปดดําเนินเปนวัฏจักร
วัฏจักรคือไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานทั้งหมด(พลังงานที่อยูกับมวล) ก็จะเหลือเพียงพลังงานที่เขาออกจาก
มวลหรือระบบปด คือความรอนและงานเทานั้น เมื่อพลังงานสรางไมไดทําลายไมได พลังงานก็ตองคงเดิม นั่นคือ
ผลบวกตามเครื่องหมาย(ทิศทางเขา-ออก)ของความรอนตองเทากับผลบวกตามเครื่องหมายของงาน หรือเขียนใน
รูปคณิตศาสตรไดดังนี้
O O
∑ Q = ∑ W ..……..(1.10)

หรือ ∫ δQ = ∫ δW ………(1.10a)
ตัวอยางที่1.18 ตูเย็นใชไฟฟา 200 W เปดประตูตูเย็นคางทิ้งไว จะมีความรอนเขาหรือออกจากหองเทาไร?
วิธีทํา เนื่องจากตูเย็นน้ํายาหรือสารทําความเย็นขางในทํางานเปนวัฏจักร ตามที่กลาวมาแลวในบทแรก
• • •
∴∑Q = ∑W ∴ QL – QH = –200 หรือ QNET = –200 W
O • O •

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


18 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

ผลรวมของความรอนคือ –200 วัตต ออกจากวัฏจักร(ตูเย็น)เขาสูหอง เพราะมีเครื่องหมายลบ นั่นคือหองที่ตั้งตูเย็น


ไวจะรอนขึ้น 200 วัตต
ตัวอยางที่1.19 รถยนตคันหนึ่งวัดกําลังขับเคลื่อนได 30 kW ใชน้ํามันชั่วโมงละ 10 ลิตร น้ํามันมีคาความรอน
เชื้อเพลิง 35,000 kJ/ลิตร จงหาความรอนที่ตองเสียหรือตองทิ้งไป
QH วิธีทํา รถยนตเปนเครื่องยนตความรอน(Heat Engine) ที่ทํางานเปนวัฏจักรเปด
W •
ความรอนที่ใสเขา Q H = 35,000x10/3,600 = +97.2 kW
QL รูปที่ 1.12 •
งานตอหนวยเวลาหรือกําลังที่ได W = +30 kW
∴∑Q = ∑W
O • O •


Q L + 97.2 = +30

Q L = 30 – 97.2 = –67.2 kW

มีความรอนถายเทออกมาจากวัฏจักร 67.2 kW
กฎขอที่1 เมื่อดําเนินเปนกระบวนการ (PROCESS)
จากการที่ระบบปดเปนวัฏจักร ∫ δQ = ∫ δW หรือ ∑ Q = ∑ W ซึ่งในความหมายของวัฏจักรก็คือไมมีการ
o o

เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติใดๆรวมทั้งพลังงานรวมของมวลของระบบปดดวย(เพราะกลับสูภาวะเดิม) ซึ่งถา
เปนกระบวนการ(Process)ก็ตองมีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานรวมของมวล(พลังงานทั้งหมด ΔE)แนนอน
นั่นก็คือพลังงานที่เคลื่อนที่เขาลบดวยพลังงานที่เคลื่อนที่ออก ตองเทากับการเปลี่ยนแปลงของพลังงานรวม
ของมวล หรือเขียนไดดังนี้
∫ δQ = ∫ δW + ΔE หรือ ∑ Q = ∑ W + ΔE ……………(1.11)
พลังงานทั้งหมด E = U+KE+PE
กฎขอที่ 1 สําหรับกระบวนการ สามารถเขียนโดยละเอียดไดดังนี้
δQ = dU + d(mV2/2)+d(mgZ) +δW …………(1.12)
หรือ δq = du + d(V2/2) + d(Zg) + δw ………….(1.12a)
∴ 1Q 2 = (U2-U1) + (mV22/2 - mV21/2) + (mgZ2-mgZ1)+ 1W2………(1.12b)
Q = ΔU+ΔKE+ΔPE+W ………(1.12c)
2 2
1q 2= (u2-u1) + (V 2-V 1)/2+(Z2-Z1)g + 1w2 ………(1.12d)
ตัวอยางที่1.20 ถาใสงานเขาไป และมีความรอนถายออกดังรูปที่1.13 จงหาการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ภายใน?
W =5000 kJ วิธีทํา จากกฎขอ1จากสมการ(1.12c) Q = ΔU+ΔKE+ΔPE+W
ทั่วไป ΔKE & ΔPE จะนอยมากเมื่อเทียบกับคาอื่นๆ
∴ Q = ΔU + W
ΔU =?
Q = -1500 kJ , W = -5000 kJ

Q =1500 kJ รูปที่ 1.13 รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 19

-1500 = ΔU -5000
ΔU = 5000 - 1500 = +3500 kJ ถาไมมีความรอน Q ถายออก ΔU= 5000 kJ
การประยุกตกฎขอที่ 1 กับงานหรือกําลังดานไฟฟา
มอเตอรไฟฟา มอเตอรไฟฟาคือเครื่องแปลงพลังงานไฟฟาหรือกําลังไฟฟา(WE)เปนพลังงานกลหรือ
กําลังกล(Wmech) โดยพลังงานกลที่ไดจะนําไปใชทําอะไรก็ไดตามที่ตองการ เชนหมุนพัดลม ขับเคลื่อนลิฟต
ปมน้ํา คอมเพรสเซอร เปนตน ดังรูปที่1.14 ถาเอามอเตอรเปนระบบปด อาศัยกฎขอที่1จะได

Q Q = ΔU + ΔKE + ΔPE + W
U1 Wmech U2 ΔKE =0, ΔPE = 0 และให⏐⏐หมายถึงตัวเลขบวก

WE รูปที่1.14 -⏐Q ⏐ =ΔU -⏐WE⏐+⏐ Wmech⏐


ΔU =⏐ WE⏐-⏐Q ⏐-⏐ Wmech⏐
ในการออกแบบที่ดีตองทําให เมื่อมอเตอรใชงานไประยะหนึ่งอุณหภูมิตองคงที่นั่นคือ ΔU = 0 เพราะ
W
ไมเชนนั้น ΔU เพิ่มขึ้นจนในที่สุดมอเตอรก็จะไหม ดังนั้น E ฮีตเตอรไฟฟามักจะ ΔU = 0
⏐ WE⏐=⏐Q ⏐+⏐ Wmech⏐ Q Q = WE
ประสิทธิภาพมอเตอร η = Wmech/ WE และมักจะคูณดวยรอยเพื่อกลาวเปนเปอรเซ็นต
เอนทัลปคุณสมบัติของสารที่ใชในการคํานวณการถายเทความรอนของระบบปด
ลูกสูบและกระบอกสูบ ตามรูป ซึ่งมีกอนน้ําหนักวางอยู ความดันของกาซภายในถือไดวาคงที่ (P=คงที่)
δW ถาเอากาซเปนระบบ ซึ่งระบบเชนนี้ δQ = dU+dKE+dPE+δW
ละเวน dKE และ dPE ซึ่งระบบเชนนี้มักจะเปนสมดุลเควไซ δW = PdV
dV
∴δQ = dU+PdV
δQ = dU+dPV (∴P= คงที่)
δQ δQ = d(U+PV) = dH ……..(1.13) Q = H2-H1 = m (h2-h1)
รูปที่ 1.15 หรือ δq = dh ………(1.13a) q = h2-h1
H = เอนทัลปทั้งหมด = U + PV และ h = H/m = u+Pv
การใชหมอหรือกาตมน้ํา ความรอนที่น้ําไดรับเทากับการเปลี่ยนแปลงของเอนทัลปนั้นเอง
สมัยกอน ตารางคา h ก็คํานวณจาก u+Pv แตตอมาพบวาคา h นั้นใชมากกวา u เสียอีก จึงนิยมสมมุติคา h
เปนหลัก สวนคา u กลับหาจาก h – Pv แทน เชน น้ํากําหนด เอนทัลปเปน 0 (ศูนย) สําหรับของเหลวอิ่มตัว
(hf=0 kJ/kg)ที่อุณหภูมิจุดสามเชิง(Triple point)คือ 0.01°C สวนพวกสารความเย็นตางๆจะใหเอนทัลปของ
ของเหลวอิ่มตัว hf=0 kJ/kg ที่อุณหภูมิ –40°C ดังปรากฏในตาราง R-12,R-22 และ NH3 จากตําราหลายเลม

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


20 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

และดังที่เคยกลาวมาแลววา ลาสุดมีการประชุมในวงการเครื่องทําความเย็นนานาชาติตกลงใหม กําหนดสาร


ความเย็นทุกอยางใหคาเอนทัลปของของเหลวอิ่มตัว hf= 200 kJ/kg ที่อุณหภูมิ 0°C ดังปรากฏในตาราง R-
134a ยกเวนน้ําและสารพวกที่มีจุดวิกฤตต่ํามากๆเชน เอธีลีนและสารที่ใชงานดานอุณหภูมิต่ํามากๆ
เมื่อเอนทัลปเปนคุณสมบัติอันหนึ่งของสาร ดังนั้นก็สามารถหาคาไดจากตาราง ถาทราบคุณสมบัติอื่นๆ 2
คุณสมบัติ นั่นคือ h = f(P,v) , h = f(T,v) , h = f(P,T)
ที่ความดันหนึ่งๆเอนทัลปคลายกับพลังงานภายใน hsuper heat > hg>hf> hsubcool
ของเหลวและไอผสมกัน เอนทัลปตอหนวยมวลก็สามารถหาไดในหลักการเดิมคือ
h = xhg+yhf = hf+xhfg = hg–yhfg
ตัวอยางที่1.21 ถาตมน้ํา 1kgซึ่งเปนของเหลวอิ่มตัวที่อุณหภูมิ 100°C ความดันบรรยากาศ ก)ใหเปนไอ
หมดพอดี ข)ใหมีคุณภาพไอ 90% ทั้งสองกรณีใหความดันคงที่ ใชความรอนเทาไร?
วิธีทํา สําหรับระบบปดที่มีความดันคงที่ δq = dh
ก) 1q2 = h2 – h1 = hg – hf = hfg = 2257 kJ / kg
ข) 1q2 = h2 – h1 = (hf+xhfg) – hf = xhfg = 0.90x2257 = 2031.3 kJ / kg
ความรอนจําเพาะ( SPECIFIC HEAT) ถามีการเปลี่ยนสถานะใชไมได
ความรอนจําเพาะมีอยู 2 แบบ คือความรอนจําเพาะที่ปริมาตรคงที่และความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่
ที่มาของมันก็คือ ในการใหความรอนกับไอของสารชนิดเดียวกันจํานวน 1 kg จากอุณหภูมิเดียวกันและ
อุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส เชนกัน ถาเปนกระบวนการปริมาตรคงที่ดังรูปที่ 1.16 คือบรรจุในภาชนะ
แข็งปดตาย จะใชจํานวนความรอนไมเทากับรูปที่ 1.17 ซึ่งเปนกระบวนการความดันคงที่คือบรรจุในลูกสูบ
กระบอกสูบ โดยอาศัยกฎขอที่1 ละเวนพลังงานจลนและพลังงานศักย
ความรอนที่ใชเมื่อปริมาตรคงที่ δq =du ความรอนที่ใชเมื่อความดันคงที่ δq =dh

20OC 21OC 20OC 21OC


1kg 1kg 1kg 1kg

q รูปที่ 1.16 q รูปที่ 1.17


q = u2-u1 q = h2-h1
ความรอนจําเพาะ คือความรอนที่ถายเทตอหนวยมวลตอหนวยอุณหภูมิที่เพิ่ม หรือ C = δq / dT ดังนั้น
ความรอนจําเพาะที่ปริมาตรคงที่ (CONSTANT VOLUME SPECIFIC HEAT, CV)
⎛ ∂u ⎞ ⎛ Δu ⎞ ⎛∂ u ⎞ ⎛ Δu ⎞
Cv = ⎜ ⎟ ≅ ⎜ ⎟ .....kJ/(kg.K), C v = ⎜⎜ ⎟ ≅⎜ ⎟ ....kJ/(kmol.K) …… (1.14)
⎝ ∂T ⎠ v ⎝ ΔT ⎠ v ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ∂T ⎠ v ⎝ ΔT ⎠ v
ความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่ (CONSTANT PRESSURE SPECIFIC HEAT, CP)
⎛ ∂h ⎞ ⎛ Δh ⎞ ⎛∂ h ⎞ ⎛ Δh ⎞
C P = ⎜⎜ ⎜ ΔT ⎟ ....kJ/(kmol.K) ….(1.15)
CP = ⎜ ⎟ ≅ ⎜ ⎟ .....kJ/(kg.K), ⎟ ≅⎜ ⎟
⎝ ∂T ⎠ P ⎝ ΔT ⎠ P ∂T ⎟
⎝ ⎠P ⎝ ⎠P

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 21

สําหรับของเหลวและของแข็ง คา Cv & Cp จะใกลเคียงกันมากซึ่งอาจจะเรียกวาเทากันก็ได จึงมักเรียกวา


“ความรอนจําเพาะ” เทานั้น และในชวงอุณหภูมิทั่วไปคา C นี้จะเปลี่ยนแปลงไมมาก
∴du = CvdT = CdT ถามีการเปลี่ยนสถานะใชไมได
Δu = u2 – u1 = C(T2 – T1)
dh = du + d(Pv)
เนื่องจากของแข็งและของเหลว v คอนขางคงที่ dh = du + v dP = CdT + v dP………(1.16)
ถา P คงที่หรือเปลี่ยนไมมาก(เปลี่ยนไมกี่เทาตัว) ซึ่งคา v ของของแข็งและของเหลวมักจะนอยอยูแลว ดังนั้น
dh = CdT หรือ Δh = h2 – h1= C(T2 – T1) = Δu ……….(1.17)
ขอสังเกต ถาคาการเปลี่ยนแปลงของความดัน(dP)มาก จะตองใชสมการ dh = CdT + v dP
สําหรับคาความรอนจําเพาะ ของน้ํา Cน้ํา = 4.186 kJ/kg.K, ทองแดง Cทองแดง= 0.381 kJ/kg.K และเหล็ก
Cเหล็ก=0.46 kJ/kg.K
พลังงานภายใน เอนทัลป และความรอนจําเพาะของกาซสมบูรณ
กาซสมบูรณ ตามที่กลาวมาแลววาคือไอที่ ความดัน ปริมาตรจําเพาะและอุณหภูมิ มีความสัมพันธดังนี้
Pv = RT, Pv = RT , PV = mRT = n RT = 8.3 nT
การทดลองของจูลพบวาพลังงานภายในของกาซสมบูรณขึ้นกับอุณหภูมิอยางเดียว
จาก h = u + pv = u + RT = f(T) นั่นก็คือ
สําหรับกาซสมบูรณ เอนทัลปก็ขึ้นกับอุณหภูมิเทานั้น
คาความรอนจําเพาะที่ปริมาตรคงที่ CV ซึ่ง CV = ⎛⎜⎜ ∂∂Tu ⎞⎟⎟ เมื่อ u ขึ้นกับอุณหภูมิอยางเดียว ดังนั้น CV ก็
⎝ ⎠V

จะตองขึ้นกับอุณหภูมิอยางเดียวเชนกัน ฉะนั้นจะเขียนไดงายๆ เปน CV = du


dT
หรือ du = CVdT
2
หรือ Δu = u 2 − u1 =
∫ C dT
V …………(1.18)
1
ถามีการเปลี่ยนสถานะใชไมได
หรือถาใชคาเฉลี่ย CV,av จะได Δu = u2-u1= CV,av(T2-T1) …………(1.18a)
2
หรือในหนวยโมล ก็เขียนดังนี้ Δu = u 2 − u1 =
∫ C dT kJ/kmol
V ..………..(1.19)
1

หรือถาใชคาเฉลี่ย CV,av Δu = u 2 − u1 = CV,av (T2 − T1 ) kJ/kmol .……..(1.19a)

ถาตองการหาคาการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในทั้งหมดเปน kJ สูตรในหนวยตอ kg ก็ตองคูณดวย มวล


m เปน kg แตถาเปนสูตรในหนวยกิโลโมลก็ตองคูณดวยมวล n เปน kmol
คาความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่ CP หรือ CP = ⎛⎜⎜ ∂∂Th ⎞⎟⎟ เมื่อ h ขึ้นกับอุณหภูมิอยางเดียว ดังนั้น CP ก็
⎝ ⎠P

จะตองขึ้นกับอุณหภูมิอยางเดียวเชนกัน ฉะนั้นจะเขียนไดงายๆเปน CP = dT
dh
หรือ dh = CPdT หรือ
2
Δh = h 2 − h1 =
∫ C dT หรือถาใชคาเฉลี่ย CP,av จะได Δh = h2-h1= CP,av(T2-T1)………(1.20)
1
P

ถามีการเปลี่ยนสถานะใชไมได

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


22 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

หรือในหนวยโมล ก็เขียนดังนี้
2
Δh = h 2 − h1 =
∫ C dT kJ/kmol
1
P Δh = h 2 − h1 = CP (T2 − T1 ) kJ/kmol …………..(1.21)
ถาตองการหาคาการเปลี่ยนแปลงของเอนทัลปทั้งหมดเปน kJ สูตรในหนวยตอ kg ก็ตองคูณดวย มวล m
เปน kg แตถาเปนสูตรในหนวยกิโลโมลก็ตองคูณดวยมวล n เปน kmol
Cpo ของกาซสมบูรณซึ่งขึ้นกับอุณหภูมิ ไดมีการทําเปนสูตรดังแสดงอยูในตารางที่ ผ-3 และสําหรับคาที่
อุณหภูมิ 298K(25oC),100kPa ดังแสดงในตารางที่ ผ-2
ขอควรทราบ กาซ อะตอมเดี่ยว(Mono atom) เชน อารกอน นีออน ฮีเลี่ยมเปนตน จะมีคา CP คงที่ คือ
เทากับ 20.8 kJ/(kmol.K) ทุกกาซ คืออุณหภูมิเทาใดคาก็เทาเดิม
บอยครั้งที่เขียน สัญลักษณ CP0 หรือ CV0 (มีศูนยกํากับ) เพื่อใหทราบวาเปนกาซสมบูรณ
Cpo และ Cvoของกาซสมบูรณมีความสัมพันธคือ
Cpo - Cvo = R หรือ CPO − CVO = R = 8.314 …………(1.22)

อัตราสวนความรอนจําเพาะ ( Specific Heat Ratio ), k = CCP


V

ตัวอยางที่1.22 ไอน้ําP1 = 10 kPa, T1 = 200 C เปลี่ยนภาวะเปน P2 = 50 kPa, T2 = 400oC จงหา Δh โดยวิธี


o

เปดตารางคุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร และเทียบกับวิธีใชกฎกาซสมบูรณ
วิธีทํา1 จากตาราง h1 = 2879.52 kJ/kg , h2 = 3278.89 kJ/kg
∴Δh = 3278.89 - 2879.52 = 399.37 kJ/kg (ถูกตองที่สุด)
วิธีทํา 2 ถาตองการคาประมาณ อาจจะใชคาที่ 25oC ตารางที่ ผ-2 Cpoไอน้ํา = 1.872 kJ/kg.K
∴Δh = CpΔT = 1.872 x (400-200) = 374 kJ/kg.
[ คลาดเคลื่อน (399.4-374)/399.4 = 6.4% ]
7 กฎขอที่1 ของอุณหพลศาสตรสําหรับระบบเปด/ปริมาตรควบคุม
ในการใชงานจริง มักจะเปนระบบเปด หรือนิยมเรียกวาปริมาตรควบคุม คือมีการไหลของมวลสารเขาออก
จากระบบ โดยทั่วไปปริมาตรควบคุมมักจะหมายถึงปริมาตรภายในของเครื่องหรืออุปกรณที่ใชงาน เชน
ปริมาตรภายในกระบอกสูบเครื่องยนตเปนตน
กฎการอนุรักษมวลสาร
กฎการอนุรักษมวลนี้ อาจจะเรียกไดวาเปนสามัญสํานึกก็วาได เพราะจะเคยชินมาตั้งแตเด็กเชน มีเงินใน
กระเปา(เปรียบเหมือนปริมาตรควบคุม)ในตอนแรก 100 บาท ไดเงินมา 50 บาท(เปรียบเหมือนมวลไหลเขา)
ใชไป(เปรียบเหมือนมวลไหลออก) 25 บาท ขณะนี้เหลือเงินในกระเปา(ปริมาตรควบคุม) 125 บาท ซึ่งทุก
คนก็ทราบกันดีวา เงินที่มีอยูตอนแรกรวมกับเงินที่ไดมา ยอมเทากับเงินที่มีอยูตอนหลังรวมกับเงินที่ใชไป
จากรูปที่1.18 มวลที่ไหลเขา mi1, mi2และ mi3 มวลที่ไหลออก me1 และ me2 มวลที่อยูภายในปริมาตรควบคุม
ตอนแรก(1) mcv1 และมวลที่อยูภายในปริมาตรควบคุมตอนหลัง(2) mcv2 ก็ตองมีความสัมพันธกันดังนี้

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 23

mcv1+( mi1+ mi2+ mi3 ) = mcv2 +( me1 + me2) ซึ่งสามารถเขียนเปนสูตรทั่วไปไดดังนี้


m CV1 + ∑ mi = m CV2 + ∑ m e ……………………..(1.23)

กฎการอนุรักษมวล ถาพิจารณาตอหนวยเวลา สามารถเขียนไดดังนี้


m CV2 − m CV1 o o

Δt
= ∑ mi − ∑ m
e
………(1.23a)
กฎการอนุรักษพลังงาน
โดยสมมุติพลังงานตางๆดังรูปที่ 1.18 ภาวะที่1 คือมวลที่อยูภายในปริมาตรควบคุมภาวะที่1 ซึ่งมีพลังงาน
รวมของมวลทั้งหมด E1 สวนภาวะที่2 คือมวลที่อยูภายในปริมาตรควบคุมภาวะที่ 2 ซึ่งมีพลังงานรวมของ
มวลทั้งหมด E2 สําหรับมวลที่ไหลเขาทั้งหมด mi1, mi2และ mi3 ตางก็มีเอนทัลป hi1, hi2และ hi3 ตามลําดับ
มวลที่ไหลออกทั้งหมด me1 และ me2 ตางก็มีเอนทัลป he1, และ he2 ตามลําดับ ความรอนเขา Q และไดงาน
ออกมา W จากปริมาตรควบคุม(ระบเปด) สามารถอาศัยกฎขอที่1ของอุณหพลศาสตรหาความสัมพันธของ
พลังงานไดตามบรรณานุกรม สรุปไดดังนี้
W[ในชวงเวลา(1)ไป(2)]
ปริมาตรควบคุม ปริมาตรควบคุม
(ระบบเปด) (ระบบเปด)
mi1,hi1 Q[ในชวงเวลา(1)ไป(2)]
mCV1,ECV1 mCV2,ECV2
me1,he1
mi2,hi2

mi3,hi3 me2,he2
(1) รูปที่ 1.18 (2)
Q = ECV2– ECV1+me1 (h+ke+pe)e1+ me2 (h+ke+pe)e2–[ mi1(h+ke+pe )i1+ mi2 (h+ke+pe)i2+mi3(h+ke+pe)i3]+W
Q = ECV2– ECV1 +Σ me (h + ke+pe )e– Σ mi (h + ke + pe )i + W ………….(1.24)
หรือ Q = ECV2– ECV1 +Σ me (h + V2/2+Zg )e – Σ mi (h + V2/2+Zg )i + W …………...(1.24a)
หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงานก็สามารถเขียนไดดังนี้
o o 2 o 2 o
Q = CV +Σ m e (h + V /2+Zg )e –Σ m i (h + V /2+Zg )i + W ………….(1.24b)
dE
dt
ECV1=mCV1(u+V2/2+Zg)CV1…(1.25) ECV2=mCV2(u+V2/2+Zg)CV2…(1.25a) dECV ECV2 − ECV1
dt
=
Δt
…(1.25b)
ระบบเปดแบบมวลไหลเขาเทากับมวลไหลออก(Steady Flow Process)
ในการใชงานทางดานวิศวกรรมมักจะเปนระบบเปดที่มวลไหลเขาทั้งหมดเทากับมวลไหลออกทั้งหมด
หรือมวลไหลเขาสูระบบเปดเทาไรก็ถูกทําใหไหลออกไปหมด หรือสมการของกฎการอนุรักษมวลก็จะเปน
Σmi = Σme ……………..(1.26)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


24 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

• •
Σ m i = Σ m e …………….(1.26a)
นั่นก็หมายถึงวาพลังงานทั้งหมดที่อยูภายในระบบเปดก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือ ECV1= ECV2 สมการ
ของพลังงานก็จะเปน
Q = Σ me (h + V2/2+Zg )e – Σ mi (h + V2/2+Zg )i + W หนวย kJ……………….(1.27)
หรือเขียนในรูปตอหนวยเวลาดังนี้
• • •
= Σ m e (h + V2/2+Zg )e – Σ m i (h + V2/2+Zg )i + W หนวย kW …………….(1.27a)

Q

กรณีพลังงานจลนและพลังงานศักยเปลี่ยนนอยมาก
Q = Σ me he – Σ mi h i +W หนวย kJ ……..…….(1.27b)
• • •
= Σ m e he – Σ m i h i + W

Q หนวย kW ……….(1.27c)
สมการอนุรักมวลขางบน ตองจดจําเปนสํานึกทางดานวิศวกรรม ตัวอยางเชน ของไหลที่ไหลในทอเล็กตอ
กับทอใหญดังรูปที่1.19 ถาอัตรามวลไหลในทอเล็ก 5 kg/s ตองตอบไดทันทีโดยไมตองคิดวาอัตรามวลไหล
ในทอใหญก็ตองเปน 5 kg/s เชนกัน
2
1
ถาตองการหาความเร็วเฉลี่ยในทอแตละทอก็
m1=5 kg/s m2=?
ตองตอบไดทันทีวา V1= v1.m / A1, V2= v2.m / A2
รูปที่ 1.19 (V =ความเร็วเฉลี่ยในทอ)
งานทางดานวิศวกรรมสวนใหญสําหรับระบบเปดมักจะมีมวลไหลเขา1 ชองไหลออก1ชอง สมการ(1.26a)
• • •
ก็จะกลายเปน m i = m e = m และสมการ (1.27) และ(1.27a) ก็จะเขียนไดดังนี้
Q = m [(he-hi) + (V2e/2 -V2i/2) + g (Ze-Zi)] +W หนวย kJ ………..(1.27d)
หรือ Q = m [Δh + Δke + Δpe] +W ………..……………(1.27e)
• •
= m [(he-hi) + (V2e/2 -V2i/2) + g (Ze-Zi)] + W

Q หนวย kW ………..(1.27f)
• •
= m [Δh + Δke + Δpe] + W

หรือ Q ………..……………(1.27g)

หารสมการ(1.27f)และ(1.27g) ดวย m จะไดสมการที่เสมือนกําหนดการไหลตอ 1 กก.ดังนี้
q = (he-hi) + (V2e/2 -V2i/2) + g (Ze-Zi)+w หนวย kJ/kg………….. (1.27h)
q = Δh + Δke + Δpe +w ………………….. (1.27i)
ตามที่เคยกลาวมาแลววาการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน และพลังงานศักย มักจะละเวนได ก็จะไดวา
• •
= m Δh + W

Q หนวย kW …………(1.27j)
Q = Δh + W หนวย kJ ………(1.27k)
q = Δh +w หนวย kJ/kg ………(1.27l)
อุปกรณในชีวิตประจําวันที่ทํางานเปน ระบบเปดแบบมวลไหลเขา-ออกเทากัน (Steady Flow)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 25

เครื่องหรืออุปกรณตอไปนี้ มีหลักการทํางานตามทฤษฎีพื้นฐานอยางไร วิศวกรตองเขาใจ สวนใหญแลว


มักจะละเวนพลังงานจลนและพลังงานศักย (Δke = 0, Δpe = 0)
คอมเพรสเซอรและปม
คอมเพรสเซอรและปม คืออุปกรณที่เพิ่มความดันใหกับระบบเปดหรือมวลที่ไหลเขา-ออก

Pe>>Pi งานหรือกําลังคาติดลบเสมอ ( W หรือ w = – )
• •
ดังนั้น W = – m Δh+ Q หรือ w = – Δh+q

อนุรักษมวล me=mi=m
สําหรับปมน้ํา ถาเปนกาซสมบูรณ
W = – m (ΔPv + Δu)+ Q• หรือ w = – (ΔPv+Δu)+q Ve=(PiVi/Ti) / (Pe/Te)
• •

สําหรับของเหลวปริมาตรจําเพาะ v มักจะคอนขางคงที่ และ Δu= CΔT ดังนั้นจะได


• •
W = – m (vΔP + CΔT)+ Q หรือ w = – ( vΔP+ CΔT)+q …………..(1.28)

สําหรับปมตามทฤษฎีที่สมบูรณ(อุดมคติ) ไมมีความเสียดทานคือ ไมมีการถายเทความรอน Q หรือ q ∼ 0


และ Δu= CΔT = 0 (อุณหภูมิของของเหลวไมเปลี่ยน) นั่นคือ


• • •
W = – m vΔP = – V ΔP หรือ w = – vΔP ……….………..(1.29)
ตัวอยางที่ 1.23 ปมน้ําสูบน้ําในอัตรา 0.1 m3/sจากความดันบรรยากาศ 101 kPa อัดใหมีความดัน 303 kPa จง
หากําลังมอเตอรขับตามทฤษฎีอุดมคติ
• •
วิธีทํา สําหรับปมตามทฤษฎีที่สมบูรณ(อุดมคติ) จากสมการขางตน W = – V ΔP
• •
m .v = V คืออัตราการสูบน้ําเปน m3/s ก็คือ 0.1 m3/s , Pi = 101 kPa และ Pe = 303 kPa

W = – 0.1 ( 303 – 101 ) = – 20. 2 ms mkN = −20.2kJ/s = −20.2kW
3

นั่นคือปมน้ําที่ทํางานสมบูรณที่สุดคือไมมีความเสียดทานและไมมีความรอนถายเทจะใชกําลัง 20.2 kW
ตัวอยางที่ 1.24 อากาศภาวะ 100 kPa และ 280 K อัดดวยคอมเพรสเซอรใหมีภาวะ 600 kPa และ 400 K
อัตราการอัด 0.02 kg/s ขณะอัดมีความรอนถายออก 16 kJ/kg จงหากําลังที่ตองใชอัด
• •
= m Δh+ W

วิธีทํา จากสมการ (1.27j) ซึ่งละเวนพลังงานจลนและพลังงานศักย Q
• •
= m CP(Te–Ti)+ W

และสมมุติอากาศเปนกาซสมบูรณ Q

= m .q = 0.02x16 =0.32 kW

Q

CP อากาศใชคาประมาณที่ 298 K คือ 1.004 kJ/(kg.K) แทนคาทั้งหมดลงในสมการจะได



–0.32 = 0.02 x 1.004x(400–280)+ W

W = –2.41–0.32 = –2.73 kW
กําลังที่ตองใชในการอัด 2.73 kW
กังหัน (Turbine)หรือเครื่องลูกสูบ(Engine) คืออุปกรณลดความดันเพื่อใหไดงานหรือกําลัง

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


26 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)


i Pe<<PI W = +
• •
W ทางทฤษฎีถือวาไมมีการถายเทความรอน Q ∼0
• •
e รูปที่ 1.20 ดังนั้น W = – m Δh หรือ w = –Δh
ตัวอยางที่1.25 กังหันกาซ(Gas Turbine)ที่ไมมีการถายเทความรอน ไดกําลังออกมาที่เพลา 5 MW สมมุติ
ภาวะอากาศทางเขา P1=2 MPa, T1 = 1200 K, V1 = 50 m/s, Z1= 10 m ภาวะอากาศทางออก P2=100 kPa, T2
= 600 K, V2 = 180 m/s, Z2= 6 m (ก) ใหเปรียบเทียบ Δh , Δke และ Δpe (ข) จงหางานตอหนวยมวลของ
อากาศ (ค) จงหาอัตราไหลของมวลอากาศ
วิธีทํา (ก) Δh = CP(T2–T1)
คา CP ของอากาศ ถาใชคาประมาณที่ 25oC(298 K) คือ 1.004 kJ/(kg .K)
Δh = 1.004(600–1200) = –602.4 kJ/kg
ถาตองการคาละเอียดใชตารางที่ ผ-4.1 คุณสมบัติกาซสมบูรณของอากาศจะได
Δh = h2–h1= 607.316 – 1277.805 = –670.49 kJ/kg
Δke = V22/2 – V12/2 = 1802/2 – 602/2 = 14,950 J/kg= 14.95 kJ/kg
Δpe = g(Z2–Z1) = 9.81(6–10) = –39 J/kg = –0.039 kJ/kg
ขอสังเกต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน จลน และพลังงานศักย เมื่อเทียบกับคา การเปลี่ยน เอนทัลป จะนอย
ดังนั้นในงานจริงๆทางวิศวกรรมมักจะถูกละเวน
(ข) การหางานตอหนวยมวลจากสมการ(1.27i) q = Δh + Δke + Δpe + w
q = 0 , สวนคาอื่นไดจากขอ (ก)
0 = –670.49+14.95 – 0.039 = –655.58+ w
งานตอหนวยมวล w = 655.58 kJ/kg
• •
(ค) การหาอัตราไหลของมวลอากาศ m = W /w = (5000kJ/s) / (657.69 kJ/kg ) = 7.63 kg/s
ตัวอยางที่1.26 กังหันไอน้ํา(Steam Turbine)ใชไอน้ําในอัตรา 1.5 kg/s และมีความรอนถายออก 8.5 kW
สมมุติภาวะไอน้ําทางเขา Pi=2 MPa, Ti = 350oC, Vi = 50 m/s, Zi= 6 m ภาวะไอน้ําทางออก Pe=0.1 MPa, xe
= 100%, Ve = 100 m/s, Ze= 3 m จงหากําลังที่ได
• •
= m [(he–hi) + (V2e/2 –V2i/2) + g (Ze–Zi)]+ W

วิธีทํา จากกฎขอที่1สมการ (1.27f) Q

m =1.5 kg/s , Q = –8.5 kW , จากตารางคุณสมบัติฯ hi = 3136.96 kJ/kg , he= 2675.46 kJ/kg, Vi= 50 m/s,

Ve = 100 m/s, Zi= 6 m , Ze= 3 m แทนทั้งหมดลงในสมการจะไดดังนี้



–8.5 = 1.5 [ (2675.5–3137.0) + {1002/(2*1000) – 502/(2*1000)}+9.81(3–6)/1000 ]+ W

–8.5 = –686.67+ W

กําลังที่ไดจากกังหัน W = 678.2 kW

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 27

ระดับน้ํา ตัวอยางที่1.27 กังหันน้ํา(Hydraulic Turbine)โดยใช


พลังงานน้ําจากเขื่อนที่มีระดับน้ําสูง 100 m ดังรูป
ถามีน้ําไหลในอัตรา 10,000 kg/s จงหากําลั งตาม
100 m เขื่อน ทฤษฎีอุดมคติที่ไดจากกังหัน กําหนดปริมาตร
ควบคุมที่ระดับผิวน้ําดังรูป
วิธีทํา จากสมการ(1.27f)
กังหัน •
Q
• •
= m [(he-hi) + (V2e/2 -V2i/2) + g (Ze-Zi)] + W
รูปที่ 1.21

W แทนคา h = u +Pv จะได
• • •
2 2
Q = m[(u e − u i) + (Pe v e − Pivi) + (Ve /2 - Vi /2) + (Z e - Zi)g] + W

สมมุติไมมีความเสียดทานใดๆ Q = 0 , Ti = Te = T คงที่∴ui = ue , vi = ve=v และ Pi = Pe = PATM
ใหทอเขาและออกจากกังหันมีขนาดใกลเคียงกัน นั่นคือ Vi=Ve เขือ่ นสูง 100 m น้ํา 1 m3 ในอดมคติจะผลิตไฟฟาไดกี่ kW.h
• •
0 = m {(Z e − Zi)g + W ตอบ W = (1m3*1000kg/m3)*100m*9.81m/s2=981000 N.m
• •
กําลังที่ไดจากเขื่อนตามทฤษฎีที่สมบูรณที่สุด คือ W = m (Zi – Ze)g W = 981000 J =981 kJ = 981/3600 kW.h =0.2725 kW.h

m =10,000 kg/s ปริมาตรจําเพาะของน้ํา v = 0.001 m /kg หรือ ρ = 1,000 kg/m
3 3


W = 10,000 x 100 x 9.81 W = 9,810,000 W = 9.81 MW.
ในทางปฏิบัติถากังหันมีประสิทธิภาพ 70% , เครื่องกําเนิดไฟฟามีประสิทธิภาพ 85% จะผลิตไฟฟาได =
9.81 x 0.7 x 0.85 = 5.84 MW
อุปกรณลดความดันและหลอดรูเล็กหรือแคพทิวบ(Expansion Valve&Capillary Tube)
อุปกรณลดความดัน โดยทั่วไปจะอาศัยความเสียดทานทําใหความดันลดลง
Pe<<Pi , w = 0 ของเหลวอิ่มตัวลดความดันใน Flash steam tank
i e รูปที่ 1.22
ทางทฤษฎีถือวาไมมีการถายเทความรอน q ∼ 0 he = hi
ดังนั้น Δh = 0 หรือ ของเหลวอิ่มตัว ไออิ่มตัว
ของเหลวอิ่มตัว
he = hi ……….(1.30)
กระบวนการลดความดันแบบอาศัยความเสียดทาน(Throttling Process)เอนทัลปจะคงที่เสมอ
ตัวอยางที่1.28 สารทําความเย็น 134a ไหลเขาหลอดรูเล็กในภาวะของเหลวอัด ดวยความดัน 1200 kPa
อุณหภูมิ 40oC และไหลออกดวยความดัน 101.3 kPa จงหาอุณหภูมิที่ลดลง และมีมวลที่กลายเปนไอเทาไร?
วิธีทํา จากหลักการของแคพทิวบ สมการ(1.30) ตือ he = hi ซึ่งสามารถแสดงบนแผนภูมิ (diagram ) P-h ดัง
รูป ถาใชตารางที่ใชมาตรฐาน hf= 200 kJ/kg ที่ 0oC สามารถหาคาตางๆไดดังนี้ P i ,1200 kPa
ภาวะ i เปนของเหลวอัด เปดตารางของเหลวอิ่มตัวแทน ที่อุณหภูมิ 40oC
หา h ได 256.54 kJ/kg, hi= he=256.54 kJ/kg ภาวะ e ความดันเปน 101.3 kPa e ,101.3 kPa
ซึ่งจะเปนจุดอิ่มตัวที่มีไอผสมของเหลว อานอุณหภูมิจากตาราง ได –26.3 C o h
รูปที่ 1.23

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


28 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

และได hef=165.8 kJ/kg , hefg=216.36 kJ/kg , heg= 382.16 kJ/kg


นั่นคือ อุณหภูมิลดลง 40– (–26.3) = 66.3 oC จะเห็นวาอุณหภูมิลดลงมากอยางไมนาเชื่อ
การหาสัดสวนไอภาวะไหลออก e ซึ่ง he 256.54 kJ/kg
แต he = hef+ x hefg หรือ x =( he – hef)/ hefg = (256.54 – 165.8)/216.36 = 0.42 = 42%
นั่นคือมีมวลที่กลายเปนไอ 42%
การไหลของของไหลในทอ
ของไหลที่ไหลในทอจากหนาตัด i ไปยังหนาตัด e ตองอาศัยกฎขอที่1สมการ(1.27h)เชนกัน
i e 2 2

w = 0 จะได q = he– hi + ( V2 –V2 )+(zeg–zig)


e i

2 2

q = ue+ Peve – (ui+ Pivi )+ ( V2 –V2 )+(zeg–zig) e i

2 2

Pivi–Peve +( V2 –V2 )+ (zig – zeg ) = (ue–ui) – q …………..(1.31)


i e

สมการ(1.31) แสดงถึงการไหลที่เกิดขึ้นทั่วไปในทางปฏิบัติ คือน้ําไหลในทอจากระยะ i ไป e โดยไม


มีงานหรือกําลังเกี่ยวของ แตจะมีความเสียดทาน นั่นคือ ”ผลรวมของการลด ของความดันสถิต พลังงาน
จลน และพลังงานศักย จะเทากับความเสียดทานซึ่งจะปรากฎออกมาในรูปการเพิ่มของพลังงานภายใน
(ue–ui)และการถายความรอนออกมา(– q) ” ซึ่งหนวยก็จะเปน kJ/kg ในทางปฏิบัตินิยมใชหนวยความดัน Pa
โดยสมมุติปริมาตรจําเพาะคงที่ (ve= vi= v) หรือเทียบเปนความสูงของของไหลดังนี้
2 2

Pi– Pe+( V2v –V2v )+ (zig/v – zeg/v ) = [(ue–ui) – q]/v = PF


i e
………..(1.31a) หนวย Pa
2 2

Pivi/g – Peve/g +( V2 g – V2 g )+ (zi – ze ) = [(ue–ui) – q]/g = ZF ………..(1.31b) หนวย m ของของเหลว


i e

โดย PF และ ZF คือความเสียดทานนั่นเอง


สําหรับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ําสามารถหาไดจาก
[(ue–ui) – q]/v = PF ซึ่งจะได [C(Te–Ti) – q]/v = PF , นั่นคือ Te–Ti= [v PF + q]/C หรือ
[(ue–ui) – q]/g = ZF ซึ่งจะได [C(Te–Ti) – q]/g = ZF , นั่นคือ Te–Ti= [g ZF + q]/C
ทางทฤษฎีอุดมคติ คือไมมีความเสียดทาน หรือไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในหรือน้ําไมมีการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และไมมีการถายเทความรอน ซึ่งก็คือสมการเบอรนูลี(Bernoulli equation) ดังนี้
2 2

Pivi- Peve +( V2 - V2 )+ (zig - zeg ) = 0


i e
…………..(1.32)
2 2

Pi- Pe+( V2v - V2v )+ (zig/v - zeg/v ) = 0 …………..(1.32a)


i e
P1+V12/(2v1)+Z1g/v1=P2+V22/(2v2)+Z2g/v2
2 2

Pivi/g - Peve/g +( V2 g - V2 g )+ (zi - ze ) = 0 …………..(1.32b)


i e

8 ประสิทธิภาพตางๆและวัฏจักรสองกลุมในชีวิตประจําวัน
ประสิทธิภาพตางๆที่ใชกันในชีวิตประจําวัน ซึ่งอาจจะกลาวไดวามีอยู 2 แบบใหญคือ
ประสิทธิภาพวัฏจักรและประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณ

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 29

ประสิทธิภาพวัฏจักร
ประสิทธิภาพวัฏจักรจะใชก็ตอเมื่อเครื่องที่ทํางานเปนวัฏจักร ซึ่งอาจจะเปนวัฏจักรปดเชน โรงจักรไอน้ํา
(Steam Power Plant) เครื่องปรับอากาศหรือตูเย็น หรือวัฏจักรเปดเชนโรงจักรกังหันกาซ(Gas Turbine
Plant) รถยนตหรือเครื่องยนตสันดาปภายใน(Internal Combustion Engine)เปนตน
ประสิทธิภา พวัฏจักร = พลังงานที่ตองการได
…….(1.33)
พลังงานที่ตองเสียเง ินหรือเปรี ยบเหมือนต องเสียเงิน
ตัวอยางที่ 1.29 รถยนตคันหนึ่งใชน้ํามันเบนซินซึ่งคาความรอนเชื้อเพลิง 35,000 kJ/litre ขณะวิ่งดวย
ความเร็ว 60 กม./ชม.ใชน้ํามัน 10 กม./ลิตร พบวากําลังที่ใชขับเคลื่อน 15 kW จงหาประสิทธิภาพเครื่อง
วิธีทํา พลังงานที่ตองเสียเงิน = (60 km/h)/(10 km/litre) x (35,000 kJ/litre) = 210000 kJ/h = 58.3 kW
ประสิทธิภาพวัฏจักร = พลังงานที่ตองการใหได / พลังงานที่ตองเสียเงินหรือเปรียบเหมือนตองเสียเงิน
ประสิทธิภาพวัฏจักร = 15 / 58.3 = 0.26 =26%
ตัวอยางที่ 1.30 เครื่องปรับอากาศยี่หอหนึ่ง ทําความเย็นได 25 kW ใชไฟฟา 10 kW ประสิทธิภาพเทาไร?
เปนไปไดหรือไม?
วิธีทํา ประสิทธิภาพวัฏจักร = พลังงานที่ตองการใหได / พลังงานที่ตองเสียเงินหรือเปรียบเหมือนตองเสีย
เงิน
ประสิทธิภาพวัฏจักร = 25 / 10 = 2.5 = 250% เปนไปไดและเปนเรื่องธรรมดา
ตัวอยางนี้เชื่อวาคนสวนใหญมักจะสงสัยวาเปนไปไดหรือ? ซึ่งตองติดตามกันตอไป
ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณ
ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณ หมายถึงประสิทธิภาพของตัวเครื่อง เชน ปม คอมเพรสเซอร
มอเตอร หมอน้ํา อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน เปนตน ซึ่งอาจจะแบงไดเปน 3 แบบคือ
ก) ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่ไดพลังงานออกมา เชนลูกสูบรถยนต พิจารณาขณะที่วาล
ทั้งหมดปดสนิทไอเสียในกระบอกสูบขยายตัวไดัพลังงานหรือกําลังออกมา
ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่ไดพลังงานออกมา = พลังงานทีได
่ ออกมาจริง ……(1.34)
พลังงานทีได
่ ในอุดมคติ
จะเห็นไดวาประสิทธิภาพจะเกิน 1 (100%) ไมได
ข) ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่ใสพลังงานเขา เชน ปม และคอมเพรสเซอร
ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่ใสพลังงานเขา = พลังงานทีต่ องใชในอุดมคติ ….(1.35)
พลังงานทีต่ องใชจริง
จะเห็นไดวาประสิทธิภาพจะเกิน 1 (100%) ไมได
ค) ประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่แปลงพลังงาน หรือถายเทพลังงาน เชน มอเตอร และหมอน้ํา
ประสิทธิภา พของเครื่อ งหรืออุปกร ณที่แปลงพ ลังงานหรือ ถายเทพลัง งาน = พลังงานที่ ไดออกมา ...(1.36)
พลังงานที่ ใสเขา
จะเห็นไดวาประสิทธิภาพจะเกิน 1 (100%) ไมได

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


30 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

สําหรับปมน้ํา บางครั้งก็มีการคิดวา “พลังงานที่ตองใชในอุดมคติ” เปน “พลังงานที่ไดออกมา”


ตัวอยางที่ 1.31 ปมน้ําจากตัวอยางกอนๆซึ่งสมมุติไมมีความเสียดทานและการถายเทความรอนหรืออุดมคติ
คํานวณไดวาตองใชกําลัง 20.2 kW ถาโรงงานผูผลิตวัดกําลังที่เพลาได 30 kW จงหาประสิทธิภาพ
วิธีทํา ประสิทธิภาพของเครื่องที่ใสพลังงานเขา = พลังงานที่ตองใชในอุดมคติ / พลังงานที่ตองใชจริง
ประสิทธิภาพของเครื่องที่ใสพลังงานเขา = 20.2 / 30 = 0.67 = 67%
หลักการของวัฏจักรหรือเครื่องยนตที่ทํางานเปนวัฏจักร
เครื่องยนตที่ทํางานเปนวัฏจักร จะทํางานไดก็ตองมี แหลงพลังงานที่มีอุณหภูมิสูงและ มี แหลงพลังงานที่
มีอุณหภูมิต่ําเสมอ แหลงพลังงานหรือแหลงอุณหภูมิ (Thermal Energy Reservoir or Temperature
Reservoir)โดยหลักทั่วไปจะตองมีอุณหภูมิคงที่เสมอ ซึ่งในบางครั้งก็อนุโลมโดยประมาณวาอุณหภูมิคงที่
แหลงเหลานี้ เชน บรรยากาศ แมน้ํา ลําคลอง สารที่กําลังเปลี่ยนสถานะ หองปรับอากาศ เตาไฟ เปนตน วัฏ
จักรจะตองทํางานระหวางแหลงอุณหภูมิสูง และแหลงอุณหภูมิต่ําเสมอ วัฏจักรแบงเปน 2 กลุมใหญๆ
ดังตอไปนี้
เครื่องยนตความรอน (HEAT ENGINE)
เครื่องยนตความรอน คือเครื่องหรือวัฏจักรที่ใชความรอนเปลี่ยนเปนงานหรือกําลังออกมา เชนโรงจักร
ไอน้ําดังรูปที่ 1.24โรงจักรกังหันกาซเปนตน ทั้งหมดเขียนเปนรูปงายๆแทนไดดังรูปที่ 1.25
แหลงอุณหภูมิสูง TH
QH
หมอน้ํา(Boiler)
TH
QH
ปม WP กังหัน(Turbine)
Wnet Wnet
QL
คอนเดนเซอร(Condenser) TL รูปที่ 1.25
รูปที่ 1.24
QL
แหลงอุณหภูมิต่ํา TL

สําหรับเครื่องยนตความรอน แหลงอุณหภูมิสูง(TH)คือแหลงพลังงานหรือแหลงความรอน
ประสิทธิภาพวัฏจักร นิยมเรียกประสิทธิภาพทางความรอน (Thermal Efficiency) หรืออาจจะเรียกสั้นๆวา
ประสิทธิภาพ ใชสัญลักษณ η th จากรูปจะไดวา
ประสิทธิภาพ η th = QW …………(1.37)
H

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 31

จากกฎขอที่1 ได W = QH– QL


QH − QL
η th =
QH
Q
=1− L
QH
……………(1.38)
จากสมการจะเห็นไดวาประสิทธิภาพของเครื่องยนตความรอนจะตองต่ํากวา 1 หรือต่ํากวา 100%
เครื่องยนตความรอนจะทํางานไดตองมีแหลงอุณหภูมิสูง (TH) และแหลงอุณหภูมิต่ํา(TL)เสมอ ตัวอยางเชน
เตาเผา(TH)กับอากาศในบรรยากาศ(TL) หรือ เตาเผากับน้ํา หรือแมแตน้ําที่ผิวทะเลสามารถถือเปนแหลง
อุณหภูมิสูง(แหลงพลังงาน)กับน้ําในทะเลที่ลึกลงไปเปนแหลงอุณหภูมิต่ําเปนตน
ก) เครื่องทําความเย็นหรือฮีตปม (REFRIGERATOR/HEAT PUMP)
คือเครื่องถายความรอนจากแหลงที่มีอุณหภูมิต่ํา(Low temperature reservoir)ไปแหลงที่มีอุณหภูมิสูง(High
temperature reservoir) หรือทําใหสวนทางกับธรรมชาติ เครื่องหรือวัฏจักรนี้สามารถทําได(มองได)สอง
หนาที่ คือทําความเย็นและฮีตปม(ทําความรอน) ดังแสดงในรูปที่ 1.26 ซึ่งเขียนเปนรูปงายๆแทนดังรูปที่
1.27

แหลงอุณหภูมิสูง TH
QH
คอนเดนเซอร(Condenser)
W TH
วาลวระเหยสารทําความเย็น QH
(Expansion Valve)
คอมเพรสเซอร W ใสเขา
เครื่องระเหย(Evaporator) QL
QL TL รูปที่ 1.27
รูปที่ 1.26
แหลงอุณหภูมิต่ํา TL
ประสิทธิภาพวัฏจักร นิยมเรียกสัมประสิทธิ์สมรรถนะ (Coefficient of Performance) หรืออาจจะเรียกสั้นๆ
วาประสิทธิภาพ ใชสัญลักษณ COP
วัฏจักรนี้ถาใชเปนเครื่องทําความเย็น ก็หมายถึงตองการรักษาแหลงอุณหภูมิต่ําไวใหอุณหภูมิต่ําคงที่
ตลอดเวลา เชนหองปรับอากาศหรือหองเย็น จากรูปจะไดวา
ประสิทธิภาพเครื่องทําความเย็น COPR = QWL ……..(1.39)
จากกฎขอที่1 ได W = QH–QL
COPR =
QL
=
1
Q H − QL QH /Q L − 1
………….(1.40)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


32 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

จากสมการจะเห็นไดวาประสิทธิภาพสําหรับเครื่องทําความเย็น(Refrigerator) จะต่ํากวาหรือสูงกวาหรือ
เทากับ 1 (100%) ก็เปนไปได เปนการพิสูจนตัวอยางที่ผานมา ที่มีคนจํานวนมากมักจะสงสัยวาประสิทธิภาพ
เกิน 100% ไดอยางไร วัฏจักรนี้ถาใชเปนฮีตปม ก็หมายถึงตองการรักษาแหลงอุณหภูมิสูงไวใหอุณหภูมิสูง
คงที่ตลอดเวลา เชนในบานเรือนในประเทศหนาว จากรูปเดิมถาเปนประเทศหนาวตองการความรอน QH
ประสิทธิภาพก็จะตองเปนดังนี้
ประสิทธิภาพฮีตปม COPHP = QWH …………………(1.41)
จากกฏขอที่1 ได W = QH– QL
COPHP =
QH
=
1
Q H − QL 1 − QL /Q H
………….(1.42)
จากสมการจะเห็นไดวาประสิทธิภาพสําหรับฮีตปม(Heat Pump) จะตองสูงกวา 1 (100%) เสมอ หรือ
ประสิทธิภาพต่ํากวา 100% จะเปนไปไมได หรือเลวรายที่สุดคือเทากับ 100% คือเปนฮีตเตอรไฟฟา( Eletric
Resistance Heater) นั่นเอง หรือกลาวงายๆถามีกําลังไฟฟา 100 kW ตองการความรอน อาจจะทําได 2 วิธี
วิธีที่1 ใชฮีตเตอรไฟฟา ความรอนที่ไดคือ100 kW เกินไมได วิธีที่2 ใชฮีตปมจะตองเกิน 100 kW เสมอเชน
ได 200 kWก็เปนเรื่องธรรมดา
ถาเอาสมการ(1.41) ลบดวยสมการ(1.40) จะได
COPHP- COPR = 1 …………………(1.43)
จากสมการนั่นคือในเครื่องเดียวกันนี้ถาการใชทําความรอน ยอมมีประสิทธิภาพมากกวาใชทําความเย็น
เทากับ 1 (100%)
เครื่องปรับอากาศ ก็คือเครื่องทําความเย็น ในตลาดประเทศไทยยังนิยมใชหนวยอังกฤษอยูโดยที่ขนาดทํา
ความเย็น( QL )ใชหนวย บีทียู/ชม.(Btu/h) ขณะที่กําลังไฟฟา(W)ใชเปน วัตต(W) ซึ่ง ก็จะมีหนวยเปน (บีทียู/
ชม.) / วัตต หรือ Btu/h/W ซึ่งมักจะไมบอกหนวยโดยใชเรียกชื่อใหมวา อีอีอาร(EER=Energy Efficiency
Ratio or Rating) นั่นคือ คา COP = EER/3.412 ตัวอยางเชนเครื่องปรับอากาศเบอร5 ซึ่งมี อีอีอาร 10.6 ซีโอ
พีก็คือ 10.6/3.412 = 3.11 นั่นเอง นอกจากนี้ในวงการปรับอากาศยังนิยมกลาวเปนสวนกลับของ
ประสิทธิภาพคือ กิโลวัตตตอตัน (kW/TR) ซึ่งเปนการบอกวาการที่เครื่องทําความเย็นได 1 ตันหรือ 12,000
บีทียู/ชมหรือ 3.517 กิโลวัตตความเย็น ตองใชไฟฟาเทาไร? นั่นก็คือ
COP = 3.517/(kW/TR) ตัวอยางเชนเครื่องปรับอากาศที่ใชไฟฟา 1.13 kW/TR ก็คือเครื่องปรับอากาศมี
ประสิทธิภาพ COP = 3.517/1.13 = 3.11
ตัวอยางที่ 1.32 ตูเย็นทั่วไปมักจะมีประสิทธิภาพ(COP) ประมาณ 1.1 หรือ 110% ความรอนจากหองเขา
ตูเย็น 0.20 kW ถานําเนื้อสัตวจํานวนหนึ่งที่อุณหภูมิหองเขาแชใชเวลา 5 ชม จะมีอุณหภูมิเทากับ-20oC ซึ่ง
เทากับอุณหภูมิชองแชแข็งพอดี สมมุติความรอนที่ออกจากเนื้อสัตวทั้งหมด 1750 kJ จงหากําลังเฉลี่ยที่
เครื่องทําความเย็นใช และจงหาความรอนที่เขาหองสุทธิในชวงเวลา 5 ชม. หลังจาก 5 ชม.แลวถา
ประสิทธิภาพเครื่องทําความเย็นคงเดิม กําลังที่ตองใชและอัตราความรอนเขาหองจะเปนเทาไร?

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 33

วิธีทํา ความรอนจากหองเขาสูวัฏจักร(เครื่องทําความเย็น) 0.20 kW


ความรอนจากเนื้อสัตวเขาสูวัฏจักร(เครื่องทําความเย็น) = 1750 / (5*3600) = 0.10 kW

ความรอนทั้งหมดเขาสูวัฏจักร(เครื่องทําความเย็น) QL = 0.20 + 0.1 = 0.30 kW
• •
COP = QL/W = QL / W
• •
กําลังที่ตองใช W = QL /COP = 0.30/1.1 = 0.27 kW
• • •
ความรอนที่ออกจากวัฏจักรเขาหอง QH = QL + W = 0.30 + 0.27 = 0.57 kW
แตเนื่องจากมีความรอนจากหองเขาสูตูเย็นหรือวัฏจักร 0.20 kW
ความรอนสุทธิที่เขาหอง = 0.57- 0.20 =0.37 kW
ความรอนสุทธิเขาหองภายใน 5 ชม.คือ= 0.37 x 5 x 3600 = 6659 kJ

หลังจาก 5 ชม.แลว ความรอนที่เขาสูวัฏจักรจะเหลือเพียงจากหองเขาสูวัฏจักรคือ QL = 0.20 kW
• •
กําลังที่ตองใช W = QL /COP = 0.20/1.1 = 0.18 kW
• • •
ความรอนที่ออกจากวัฏจักรเขาหอง QH = QL + W = 0.20 + 0.18 = 0.38 kW
แตเนื่องจากมีความรอนจากหองเขาสูตูเย็นหรือวัฏจักร 0.20 kW
ความรอนสุทธิที่เขาหอง = 0.38- 0.20 =0.18 kW ซึ่งก็คือกําลังไฟฟาที่เครื่องทําความเย็นใชนั่นเอง
9 กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร
เครื่องยนตความรอนและเครื่องทําความเย็นที่กลาวมาขางตน ไดใชหรือรูจักกันมานานนับรอยป และเปน
จํานวนนับครั้งไมถวนที่มี การพยายามทําสิ่งที่เปนไปไมได โดยมีทั้งบุคคลที่ไมมีความรูพื้นฐานพลังงานมี
แตความพยายาม และบุคคลลวงโลกแสวงหาผลประโยชนหลอกระดมทุน เชนในเครื่องยนตความรอน
พยายามจะสรางเครื่องที่ไมตองถายความรอนทิ้งที่คอนเดนเซอร หรือในเครื่องทําความเย็นก็พยายามจะทํา
ใหความรอนถายจากที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังที่มีอุณหภูมิสูงโดยไมตองใสพลังงานเขาไป ดวยเหตุนี้
นักวิทยาศาสตรจึงตองมีการตั้งเปนกฎขอที่สองขึ้นมาอยางชัดเจนเปน 2 รูปแบบคือ
กฎของเคลวิน-แพลงค (KELVIN - PLANCK STATEMENT)
“เปนไปไมไดที่สรางเครื่องที่ทํางานเปนวัฏจักรโดยถายเท ความรอนกับแหลงความรอน 1 แหงเทานั้น แลวได
งานออกมา” หรือ ไมสามารถสรางเครื่องจักรที่ทํางานเปนวัฏจักรโดยนําความรอนที่ไดทั้งหมดมาเปลี่ยนเปน
งานทั้งหมด
แหลงอุณหภูมิสูง TH จากรูปที่ 1.28 อาศัยกฎขอที่ 1 ∴W = QH
QH η th =
W
= 100% หรือเครื่องยนตความรอนมีประสิทธิภาพ =100 %
QH
W
ไมได รูปที่ 1.28
ขอสังเกต1 การที่ประสิทธิภาพไมถึง 100% ไมใชเพราะความเสียด
ทาน หรือการสูญเสียตางๆอยางเดียว แตเปนกฎธรรมชาติ เชนบางครั้งแมไมมีความเสียดทานใดๆเลย
ประสิทธิภาพจะเกิน 40% ก็เปนไปไมไดแลว ซึ่งจะไดกลาวตอไป

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


34 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

ขอสังเกต2 กฎขอนี้ไมไดหมายความวาจะเปลี่ยนงานทั้งหมด(W)เปนความรอน(QH)ไมได หรือรูปตอไปนี้


เปนไปได
แหลงอุณหภูมิสูง TH
QH= W
QH
W เปนไปได ไมไดผิดกฎขอนี้
รูปที่ 1.29
กฎของคลอเซียส (CLAUSIUS STATEMENT)
“เปนไปไมไดที่จะสรางเครื่องที่ทํางานเปนวัฏจักร ใหถายเทความรอนจากที่มีอุณหภูมิต่ําไปสูที่มีอุณหภูมิสูง
โดยไมตองมีการใสงานหรือความรอนเขาไป” นั่นคือเครื่องทําความเย็นหรือสูบความรอนมีประสิทธิภาพไมมี
ที่สิ้นสุดเปนไปไมได
TH W = 0 (QH = QL)
Q
QH ∴ COPR = L = ∞ = เครื่องทําความเย็นมีประสิทธิภาพไมมีที่สิ้น
0
ขอสังเกต การที่ประสิทธิภาพไมมีที่สิ้นสุดไมได ไมใชเพราะความเสียด
QL ทานหรือการสูญเสียใดๆเทานั้น แตเปนกฎธรรมชาติซึ่งพบวาแมไมมี
TL รูปที่ 1.30 ความเสียดทานหรือการสูญเสียใดๆ บางครั้งประสิทธิภาพเกิน 90%
ก็เปนไปไมได ซึ่งจะไดกลาวตอไป
10 กระบวนการยอนกลับไดและยอนกลับไมได (REVESIBLE&IRREVERSIBLE PROCESSES)
กระบวนการยอนกลับได(Reversible Process)คือ “กระบวนการที่ดําเนินไปแลว ถาทําใหกลับสูภาวะ
เดิม จะตองไมทําใหระบบหรือสิ่งแวดลอมเปลี่ยนไป ดังรูปทางซายมือ สวนขวามือยอนกลับไมได
W= 10 J W= -10 J W= 8 J W= -10 J

T 1 , P1 T 2 , P2 T 1 , P1 T 2 , P2
Q = 5 J รูปที่1.31 Q = -5 J Q = 5 J รูปที่1.32 Q = -7 J
เปนกระบวนการยอนกลับไดเพราะ ตอนเปลี่ยน เปนกระบวนการยอนกลับไมไดเพราะตอนเปลี่ยน
กลับปริมาณงานที่ใสเขาเทากับงาน ที่ไดออกมา กลับปริมาณงานไมเทาเดิม และปริมาณความรอน
และปริมาณความรอนที่ออกมาก็เทากับความรอน ก็เชนกัน ซึ่งแมวาเปนไปตามกฎขอที่1คือ
ที่ใสเขาตอนแรก + 5 – 7 = + 8 – 10 ก็ตาม
สาเหตุ 4 อยาง ที่ทําใหกระบวนการตางๆ ยอนกลับไมได
1. แรงเสียดทาน
2. การขยายตัวของของไหลที่ไมไดงานหรือกําลังออกมา
3. การถายเทความรอนทั่วไป ยกเวนถาอุณหภูมิแตกตางกันนอยมาก (dT→0)
4. การผสมสาร 2 ชนิด

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 35

11 วัฏจักรคารโนต (CARNOT CYCLE) หรือวัฏจักรยอนกลับได(REVERSIBLE CYCLE)


TH (แหลงอุณหภูมิสุง)
QH QH
1 2
หมอน้ํา
(คอนเดนเซอร)
TH±dTH

ปม กังหัน
(กังหัน) (คอมเพรสเซอร) Wnet
คอนเดนเซอร
(เครื่องระเหย)
4 TL±dTL 3
QL QL
TL (แหลงอุณหภูมิต่ํา) รูปที่ 1.33
วัฏจักรคารโนต คือวัฏจักรยอนกลับไดทั้งภายนอกและภายใน(Totally Reversible Cycle) นั่นคือวัฏจักรนี้จะ
สามารถเปลี่ยนสลับจากเครื่องยนตความรอนเปนเครื่องทําความเย็นได โดยที่ปริมาณความรอนตางๆและงานจะ
เทาเดิมเพียงแตเปลี่ยนทิศทางเทานั้น
วัฏจักรคารโนตประกอบดวยกระบวนการตางๆ 4 กระบวนการดังนี้
1→2 หมอน้ํา (หรือเปลี่ยนหนาที่เปน- คอนเดนเซอร) กระบวนการถายเทความรอนยอนกลับได(dTH→0)
โดยอุณหภูมิคงที่ (Reversible isothermal process)
2→3 กังหัน (หรือเปลี่ยนหนาที่เปน-คอมเพรสเซอร) กระบวนการลดความดันแบบยอนกลับไดไมมีการ
ถายเทความรอน ไดงานออกมา(Reversible adiabatic process
3→4 คอนเดนเซอร (หรือเปลี่ยนหนาที่เปน-เครื่องระเหย) คลาย 1→2 คือกระบวนการถายเทความรอน
ยอนกลับได (dTL→0)โดยอุณหภูมิคงที่
4→1 ปม (หรือเปลี่ยนหนาที่เปน-กังหัน) คลายกระบวนการ 2→3 คือกระบวนการเพิ่มความดันแบบ
ยอนกลับไดไมมีการถายเทความรอน มีการใสงานเขาไป
ถาสามารถสรางวัฏจักรยอนกลับได(วัฏจักรคารโนต)ดังกลาว ก็จะเปนวัฏจักรที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด ซึ่ง
สามารถพิสูจนไดโดยอาศัยกฎขอที่2ของอุณหพลศาสตร ดังปรากฎในบรรณานุกรม ผลสรุปไดวาวัฏจักรคาร
โนต ความรอนเขาและออกจะมีความสัมพันธกับแหลงอุณหภูมิสูงและต่ําดังตอไปนี้
QL T
วัฏจักรคารโนต Q
= L
T
………….(1.44)
H H
หรือ QL
TL
Q
= H
TH
………….(1.44a)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


36 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

หรือ QH QL
TH

TL
=0 ………….(1.44b)
ซึ่งสมการ(1.44b)มีความหมายดังนี้ ∫ δTQ = 0 …..(1.44c)
เครื่องยนตความรอนแบบคารโนต (CARNOT HEAT ENGINE)
เครื่องยนตความรอนใดๆ ηth = QW = QHQ− QL
H H

แตสําหรับวัฏจักรคารโนต QL / QH = TL / TH จะได
∴ηth,CARNOT = THT− TL หรือ ηth,CARNOT = 1 − TTL ……………(1.45)
H H

จากสมการจะเห็นไดวาคาอุณหภูมิจะติดลบไมได เพราะถาติดลบก็หมายถึงวัฏจักรคารโนตเองจะมี
ประสิทธิภาพเกิน 100% อุณหภูมิที่ต่ําที่สุดคือ 0 หรืออุณหภูมิสัมบูรณ ซึ่งจะเปน องศาเคลวิน(K) หรือองศา
แรงคิน(R)ซึ่งใชในหนวยอังกฤษก็ได ทั้งหมดไดมาโดยอาศัยกฎขอที่2ของอุณหพลศาสตร จะเห็นวาได
ประโยชนมากทีเดียว เพราะทําใหแคบเขา เพราะจากที่ไดกวางๆวาประสิทธิภาพของเครื่องยนตความรอนตอง
ต่ํากวา 100% ตอนนี้ไดวา ถามนุษยเกงสุดๆขึ้นมาอีกสักกี่รอยกี่ลานปก็ตาม ประสิทธิภาพของเครื่องยนตความ
รอน ก็ไมเกิน 1- TL/ TH
ตัวอยางที่ 1.33 ถาโรงจักรไอน้ําที่การไฟฟาฝายผลิต ใชน้ําในแมน้ําระบายความรอนซึ่งมีอุณหภูมิ 30°C ถากาซ
รอนจากเชื้อเพลิงตมหมอน้ํา 600°C ถาวิศวกรผูหนึ่งบอกทานวาโรงจักรนี้มีประสิทธิภาพทางอุณหพลวัต 70%
ทานคิดวาเปนไปไดหรือไม
TH=600+273 วิธีทํา ηth,Carnot = THT− TL = (600 + 273 ) − ( 30 + 273 )
600 + 273
= 65.29%
H

จะเห็นไดวา แมวาจะไมมีความเสียดทานหรือ
หมอน้ํา
WP กังหัน Wnet การสูญเสียใดๆ ประสิทธิภาพก็ยังแค 65.29% ดังนั้น
ปม ประสิทธิภาพ 70% จึงเปนไป ไมได เพราะเกินวัฏจักร
คารโนต
คอนเดนเซอร
รถยนตที่ใชอยูทุกวันนี้ประสิทธิภาพ
TH=30+273 ไมเกิน 35% คิดวาเปนอยางไร?

เครื่องทําความเย็น/ฮีตปมแบบคารโนต (CARNOT REFRIGERATOR/HEAT PUMP)


QL
เครื่องทําความเย็นแบบใดก็ตาม COPR =
QH − QL
แตสําหรับวัฏจักรคารโนต QL / QH = TL / TH จะได
T
เครื่องทําความเย็นแบบคารโนต COPR,CARNOT = L …………..(1.46)
TH − TL

ในทํานองเดียวกันฮีตปมใดๆ COPHP = QH
QH − QL

ฮีตปมแบบคารโนต COPHP,CARNOT = TH
TH − TL
…………(1.47)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 37

ตัวอยางที่ 1.34 เครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งทําความเย็นได 53 kW (181,000 บีทียู/ชม.) ใชไฟฟา 16 kW จงหา


ประสิทธิภาพ และถาเครื่องนี้เปนเครื่องแบบคารโนต จงหาประสิทธิภาพ ใหอากาศที่ระบายความรอน มี
อุณหภูมิ 35°C หองปรับอากาศมีอุณหภูมิ 25°C
o

วิธีทํา COP
R =Q L Q L 53
W
=
o
=
16
= 3.3
W
273 + 25
COPCARNOT = TL
=
TH − TL (273 + 35) − (273 + 25)
= 29.8 = 2980 %
ตัวอยางที่ 1.35 ในฤดูหนาวที่ดอยสุเทพ ถาอากาศภายนอกอุณหภูมิ 0°C ตองการปรับอุณหภูมิภายในอาคารที่
20°C ถาทราบวาความรอนถายออกภายนอกอาคาร 50 kW จงหากําลังอยางนอยที่สุดที่ตองใชกับฮีตปม?
วิธีทํา เนื่องจากยังไมไดเรียนวัฏจักรเครื่องทําความเย็น/สูบความรอนที่ใกลทางปฏิบัติมากกวาวัฏจักรคารโนต
ดังนั้นจะใชวัฏจักรคารโนตเปนหลัก
COPHP,CARNOT = TH / (TH – TL) = (20+273)/(20-0) = 14.65 (1465%)
• •
W = Q H /COPHP, CARNOT = 50 / 14.65 = 3.41 kW

12 ความไมเทากันของคลอเซียส (CLAUSIUS INEQUALITY)


นักฟสิกสชาวเยอรมันชื่อคลอเซียส เปนคนกลาวคนแรกวา ผลบวกหรือหาปริพันธตลอดวัฏจักรใดๆจะตอง
นอยกวาหรือเทากับศูนยเสมอ หรือ ∫ δTQ ≤ 0 หรือ ∑ QT ≤ 0
O

δQ O
∫ T
=0 หรือ ∑ QT = 0 คือวัฏจักรคารโนต นั่นเอง
สวนวัฏจักรที่ยอนกลับไมได หรือวัฏจักรทั่วไป
δQ
∫ T < 0 ………………….(1.48)
O
หรือ ∑
Q
T
<0 ………………......(1.48a)
O
ตองไมลืมทางคณิตศาสตร ∫ δQ
T
และ ∑ QT ก็คือการรวมตามเครื่องหมายอยางละเอียดครบทั้งวัฏจักร
13 เอนโทรป ( ENTROPY )
เอนโทรป คุณสมบัติของสารอันหนึ่ง จากวัฏจักรคารโนต ไดวา ∫ δTQ = 0 จึงเกิดแนวความคิดขึ้นวา จากที่
ทราบกันดีวา อะไรก็ตามถาเขียนได ∫ dx = 0 คา x จะตองเปนคุณสมบัติ(Properties)ของสารไดเสมอ
เชน ∫ dv = 0 หรือ ∫ du = 0 หรือ ∫ dh = 0 เปนตน จึงกําหนดชื่อใหวาเอนโทรป(Entropy) S นั่น
คือ ∫ dS = ∫ δQT หรือ dS = δQT ตองสังเกตดวยวา จะใชสูตรนี้ไดก็ตองเปนวัฏจักรหรือกระบวนการที่ยอนกลับ
ไดเทานั้น
2 2 δQ
∫ dS = ∫
T
..….. กระบวนการยอนกลับได
1 1

dS =
δQ
T
…… กระบวนการยอนกลับได ………(1.49)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


38 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

2
ΔS = ∫ δQT ……. กระบวนการยอนกลับได ………(1.49a)
1
Q
ถา s =
S
m
ซึ่ง q=
m
ds =
δq
T
…….กระบวนการยอนกลับได ……….(1.49b)
2
s2 - s1 = Δs = ∫ δqT ...…..กระบวนการยอนกลับได ….……(1.49c)
1

δq
จะเห็นวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจะเทากับหาปริพันธของ T
ก็ตองเปนกระบวนการยอนกลับไดเทานั้น แต
อยางไรก็ตามถาสามารถมีตารางคาคุณสมบัตินี้ ก็จะสามารถหาคาเอนโทรปไดจากคุณสมบัติอื่นได เชนเดียวกับ
คุณสมบัติอื่นๆ โดยที่ไมตองสนใจวาเปนกระบวนการยอนกลับไดหรือไม
หนวยเอนโทรปทั้งหมดคือหนวยความรอนหารดวยอุณหภูมิคือ kJ/K สวนเอ็นโทปตอหนวยมวล
บางครั้งอาจจะเรียกเอนโทรปจําเพาะ(Specific entropy) คือ s = S/m หนวยก็ควรเปน kJ/kg.K
เมื่อเอนโทรปเปนคุณสมบัติของสาร มักสนใจหรือใชงานในลักษณะของการเปลี่ยนแปลง เอนโทรป
มากกวาคาจริง(Absolute value)ของมัน ดังนั้นจึงมักจะสมมุติคา 0 ที่ภาวะอันหนึ่ง เชนสําหรับน้ํามักจะกําหนด
งายๆ วา sf = 0 kJ/kg.K ที่ 0.01°C หรือ สําหรับสารทําความเย็นหรือ น้ํายาแอรทั่วไป เชนน้ํายาแอรเบอร
134a(Refrigerant-134a) sf = 0 kJ/kg.K ที่ –40°C(ติดลบ40องศาเซลเซียส) สําหรับตารางใหมนํามาจาก
หนังสือAmerican Society of Heating, Refrigerating, Air Conditioning Engineers Inc.(ASHRAE) ซึ่งไดจาก
การประชุมนานาชาติ(International Convention)ในวงการเครื่องทําความเย็น กําหนดใหพวกสารความเย็น sf = 1
kJ/kg.K ที่ 0°C แทนเปนตน สวนเอนโทรปที่ภาวะอื่นๆก็หาจากการสมมุติวาถามันเปนกระบวนการยอนกลับ
ไดภายใน(Internally Reversible)โดยอาศัยคาคุณสมบัติอื่นๆ เชนน้ําถาตองการหาเอนโทรปของไออิ่มตัว sg ก็
สมมุติวาถาใหมันอยูในกระบอกสูบซึ่งควบคุมความดันคงที่ที่ 0.01°C ใหความรอนเขา ไดกลาวมาแลววา
δq=dh หรือ q = hg-hf = hfg = 2501.3 kJ/kg ซึ่งถามันเปนกระบวนการยอนกลับไดภายใน
g
ds = δq/T =dh/T หรือ sg-sf = ∫ dh/T เนื่องจากขณะเปลี่ยนแปลงสถานะถาความดันคงที่อุณหภูมิตองคงที่จะได
f

sg-sf = sfg= (hg-hf )/T = hfg/T =2501.3/(0.01+273.15) = 9.1569 kJ/kg.K นั่นคือ sg=sf + sfg= 0 + 9.1569 = 9.1569
kJ/kg.K ก็เอาใสไวใชในตารางน้ําอิ่มตัว(Saturated water table) ทํานองเดียวกันสําหรับ R134a ก็จะได sg-sf =
sfg= hfg/T ซึ่งที่ 0°C hfg= 198.36 kJ/kg sg-sf = sfg= 198.36/(0+273.15) = 0.7262 kJ/kg.K sg= sf + sfg=1 +
0.7262 = 1.7262 kJ/kg.K ก็เอาใสไวใชในตาราง (สําหรับตารางเกาซึ่งกําหนดที่ -40°C sf = 0 kJ/kg.K ซึ่งที่ 0°C
คา sf = 0.197 kJ/kg.K ดังนั้นคา sg=0.197 + 0.7262 = 0.9232 kJ/kg.K ) คาเอนโทรปที่อุณหภูมิและความดัน
อื่นๆ ก็อาศัยหลักการคลายๆกันนี้ โดยหาความสัมพันธของมันกับคุณสมบัติ(Property)อื่นๆดังจะแสดงในหัวขอ
ตอๆไป คํานวณแลวนํามาใสเปนตารางไวใชงาน เมื่อเปนเชนนี้อาจจะกลาวไดวาเมื่อเอนโทรปเปนคุณสมบัติ
ของสารนั่นก็คือ ถามีตารางและตองการหาคาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป ถึงแมสิ่งที่เกิดขึ้นจริงเปนกระบวนการ
ยอนกลับไมได ก็สามารถหาได ถาทราบคุณสมบัติอื่นๆพอเพียง แตจะหาไมไดจากสูตร ds = δq/T ถา

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 39

กระบวนการจริงยอนกลับไมได เมื่อเอนโทรปเปนคุณสมบัติของสารจึงสามารถเขียนได เชนเดียวกับคุณสมบัติ


อื่นๆวา
s SUPERHEAT > sg > sf > sSUBCOOL
สําหรับภาวะอิ่มตัวมักจะมีของเหลวผสมไอ ก็อาศัยหลักการเดิมคือ
s = xsg + y sf =sg -y sfg = sf+ xsfg
สําหรับของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด ก็อาศัยหลักการเดิม ซึ่งมักจะไมมีตารางเฉพาะของมันนอกจากน้ํา
สามารถประมาณคาจากของเหลวอิ่มตัวที่อุณหภูมินั้นๆโดยไมตองสนใจความดัน
ตัวอยางที่ 1.36 น้ําภาวะ 10°C, 0.2 MPa จงหาเอนโทรป?
วิธีทํา ตรวจสอบวาเปนอะไรกอน โดยอาศัยตารางน้ําอิ่มตัว( Saturated water:temperature table) จะเห็นวาที่
10°C ถาน้ําอิ่มตัวไดความดันจะพอดี 1.2276 kPa( 0.0012276MPa ) แตความดันจริงคือ 0.2 MPa ซึ่งมากกวา
ดังนั้นน้ําที่กําหนดมาตองเปนของเหลวเย็นยิ่ง(ไมอิ่มตัว)แนนอนตองเปลี่ยนไปเปดตารางของเหลวเย็นยิ่ง ถาไม
มีตารางนี้หรือมีแตคาตกตาราง ก็ประมาณจากของเหลวอิ่มตัวที่อุณหภูมิ 10°C ก็จะไดดังนี้
เอนโทรป s = sf ที่ 10°C = 0.1510 kJ/kg.K
เอนโทรปในวัฏจักรคารโนต
วัฏจักรคารโนตคือวัฏจักรยอนกลับไดที่สมบูรณที่สุด หรือคือวัฏจักรที่ยอนกลับไดทั้งภายในและภายนอก
ตามที่กลาวมาแลววา วัฏจักรคารโนตประกอบดวย กระบวนการ 4 กระบวนการยอนกลับไดทั้งภายในภายนอก

TH (แหลงอุณหภูมิสุง)
QH QH
1 2
หมอน้ํา
(คอนเดนเซอร)
TH±dTH

ปม กังหัน
(กังหัน) (คอมเพรสเซอร) Wnet
คอนเดนเซอร
(เครื่องระเหย)
4 TL±dTL 3
QL QL
T TL (แหลงอุณหภูมิต่ํา) รูปที่ 1.33
1 TH 2
สําหรับวัฏจักรคารโนตที่ทํางานเปนเครื่องยนตความรอน(Heat Engine)
TL กระบวนการแรก1-2 คือ ความรอนถายเขาแบบอุณหภูมิคงที่
4 3
s รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน
a รูปที่ 1.34 b
40 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

2
S2-S1 = ∫ ⎛⎜⎜ δQT ⎞⎟⎟ เมื่อ T = THซึ่งคงที่
1
⎝ ⎠REV

QH= TH(S2-S1 ) พื้นที่ใตเสน 1-2


กระบวนการที่สอง 2-3 คือ กระบวนการอะเดียบาติก
3
S3-S2 = ∫ ⎛⎜⎜ δQT ⎞⎟⎟ เมื่อ Q = 0 จะได
2
⎝ ⎠REV

S3-S2 = 0 หรือ S3= S2 มักเรียกวา Isentropic


กระบวนการที่สาม 3-4 คลายกระบวนการ1-2 อุณหภูมิคงที่ แตความรอนถายออกจะได
QL= TL(S4-S3 ) พื้นที่ใตเสน 3-4
กระบวนการที่สี่ 4-1 คลายกระบวนการ2-3 คืออะเดียบาติก S1= S4 เรียกวา Isentropic process
จากกฎขอ 1 ∫ δQ = ∫ δW
Wnet = ⏐QH⏐-⏐QL⏐
Wnet = พื้นที่ใตเสน 1-2 ลบดวย พื้นที่ใตเสน 3-4
Wnet = พื้นที่ของรูป 1-2-3-4-1
QH − QL
ηth = QH
=
TH(S 2 − S1 ) − TL(S 3 − S 4 )
TH(S 2 − S1 )
T − TL
= H
TH

T สําหรับวัฏจักรคารโนตที่ทํางานเปนเครื่องทําความเย็น
1 TH 2 (Refrigerator/Heat pump)
กระบวนการแรก2-1 คือความรอนถายออกแบบอุณหภูมิ
TL คงที่ QH= TH(S1-S2 ) พื้นที่ใตเสน 2-1
4 3 กระบวนการที่สอง 1-4 คือ กระบวนการอะเดียบาติก
a รูปที่ 1.35 b s
S1= S4 มักเรียกวาไอเซนโทรปก( Isentropic )
กระบวนการที่สาม 4-3 คือความรอนถายเขาแบบอุณหภูมิคงที่
QL= TL(S3-S4 ) พื้นที่ใตเสน 4-3
กระบวนการที่สี่ 3-2 คือ กระบวนการอะเดียบาติก S2= S3 เรียกวา Isentropic
จากกฎขอ 1 ∫ δW = ∫ δQ

⏐Wnet⏐ = ⏐QH⏐-⏐QL⏐
⏐Wnet⏐ = พื้นที่ใสเสน 2-1 ลบดวย พท.ใตเสน 4-3
⏐Wnet⏐ = พื้นที่ของรูป 1-2-3-4-1
QL TL (S 3 − S 4 )
COP= QH − QL
=
TH(S 2 − S1 ) − TL(S 3 − S 4 )
=
TL
TH − TL

การใชเอนโทรปหาประสิทธิภาพของเครื่องทําความเย็นหรือฮีตปมแบบดูดกลืนคารโนต

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 41

เครื่องทําความเย็นหรือฮีตปมแบบดูดกลืน คือเครื่องที่ทํางานเปนวัฏจักร โดยใชพลังงานความรอนอยางเดียว


โดยไมตองใชพลังงานกลก็ได แตสามารถถายความรอนจากที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังที่อุณหภูมิ
TH สูงได ดังแสดงเปนรูปงายๆ คืออาศัยพลังงานความรอน
QH QGจากแหลงพลังงานอุณหภูมิสูงมาก TG ทําใหสามารถ
QG
REF/HP TG ถายความรอนจากที่เย็นอุณหภูมิ TL ไปทิ้งที่รอนซึ่ง
QL มีอุณหภูมิสูง THได อาศัยหลักการของวัฏจักรยอนกลับได
TL ทั้งภายนอกและภายใน คือผลรวมของเอนโทรปเปนศูนย
รูปที่ 1.36 ประสิทธิภาพวัฏจักรจะหาไดดังนี้
ΔSnet = ΔSgen = ΔSG +ΔSL +ΔSH = 0 ………(a)
ซึ่ง ΔSG = - QG/ TG, ΔSL = - QL/ TL, ΔSH = + QH/ TH แทนทั้งหมดลงในสมการ(a) จะได
- QG/ TG- QL/ TL+ QH/ TH = 0 ………….(b)
จากกฎขอหนึ่งสําหรับวัฏจักร
QH = QG + QL ……………(c)
จากสมการ(b)และ(c) จะได
เครื่องทําความเย็น QL / QG = COPREF,CARNOT = ⎛⎜⎜ T T−L T ⎞⎟⎟⎛⎜⎜ TGT− TH ⎞⎟⎟ ……………(1.50)
⎝ H ⎠⎝ G ⎠L

⎛ TH ⎞⎛ TG − TL ⎞
ฮีตปม QH / QG = COPHP,CARNOT = ⎜ ⎟⎜
⎜ T − T ⎟⎜ T

⎟ ……………(1.51)
⎝ H L ⎠⎝ G ⎠

กฎการเพิ่มของเอนโทรป
จากความจริงที่วาคุณสมบัติของสาร เอนโทรปนี้ คิดขึ้นมาก็เพื่อไวดูความสมบูรณของวัฏจักรหรือ
กระบวนการ มันไมเหมือนคุณสมบัติอื่นๆเชนพลังงานภายใน หรือเอนทัลป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของเอน
δq
โทรปนี้ จะเทากับ T
ก็เฉพาะกระบวนการยอนกลับได สําหรับกระบวนการยอนกลับไมไดนั้นคงจะใช
ไมได ซึ่งพิสูจนไดดังนี้
จากความไมเทากันของคลอเซียสไดวา ∫
δQ
T
<0

และเมื่อพบวาเอนโทรปคือคุณสมบัติของสาร ∫ dS = 0
หรือแทน 0 ดวย ∫ dS ลงไปในสมการ ก็จะไดวา ∫
δQ
T
< ∫ dS
หรือ ∫ dS > ∫
δQ
T
………..(1.52)
หรือ ∫ dS = ∫
δQ
T
+ S gen ……….(1.52a)
หรือสําหรับกระบวนการ dS >
δQ
T
…………..(1.53)
2
หรือ S2 − S1 > ∫ δQT ………..(1.53a)
1

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


42 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

2
หรือ S2 − S1 = ∫ δQT + Sgen …………..(1.53b)
1

ซึ่งก็หมายความวาถากระบวนการที่ไมสมบูรณหรือไมดี อาจจะดูไดจากการเพิ่มของเอนโทรป จะเห็นไดวา เอน


โทรปนั้นเพิ่มขึ้นเองไดแตก็ไมไดประโยชนอะไร ไมเหมือนเอนทัลปหรือพลังงานภายในมันจะเพิ่มขึ้นเองไมได
การเขียนเครื่องหมายมากกวา(>)มักจะทําใหดูเขาใจยาก จึงมีการ ใชคําวาเอนโทรปเกิดขึ้นเอง(Entropy
Generation = Sgen) ซึ่งจะตองมีคาบวกเสมอ ถาเปน 0 ก็คือกระบวนการยอนกลับได ติดลบจะเปนไปไมได
ความจริงแลว Sgenเปนเพียงคาที่บอกถึงความไมสมบูรณของกระบวนการเทานั้น
สําหรับระบบปด อาจจะกลาวไดวา การเปลี่ยนแปลงของเอนโทรป ( S2 –S1) ประกอบดวย
2
เอนโทรปถายเท [ ∫ δQT หรือ ∑ QT ] และเอนโทรปเกิดขึ้นเอง( Sgen) ซึ่งอาจจะเขียนในหนวยอัตราหรือตอ
1

หนวยเวลาก็ไดดังนี้


dS
dt
= ∑
Q
T
+ Sgen ……………(1.54)
สูตรที่สําคัญเกี่ยวกับความสัมพันธของคุณสมบัติทางอุณหพลวัต
จากบรรณานุกรมทุกเลม พบวาคุณสมบัติของสารมีความสัมพันธกันดังนี้
TdS = dU + PdV kJ………………(1.55)
หรือ Tds = du + Pdv kJ/kg….………….(1.55a)
หรือ Td s = d u + Pd v kJ/kmol .……...….(1.55b)
TdS = dH –VdP kJ……..………..(1.56)
หรือ Tds = dh – vdP kJ/kg ……………(1.56a)
หรือ Td s = d h – v dP kJ/kmol …….……...(1.56b)
ds =
du Pdv
T
+
T
……….(1.57)
ds =
dh vdP
T

T
……….(1.58)
ความสัมพันธของคุณสมบัติทางอุณหพลวัต ใชไดทั้งระบบปดและระบบเปด(Close system/Control mass or
Control volume)
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของของเหลวและของแข็ง
จากสมการเอนโทรป ds = duT + Pdv
T
โดยทั่วไป เปนที่ทราบกันดีวาของแข็งและของเหลว ปริมาตรจําเพาะ
เปลี่ยนนอยมากเมื่อเทียบกับการเปลี่ยนคุณสมบัติอื่นๆเชนอุณหภูมิ หรือ dv = 0
2
จะได ds =
du
T
=
CdT
T
หรือ Δs = ∫
CdT
T
kJ/kg.K ซึ่งโดยทั่วไปของแข็งและของเหลวคา ความรอน
1

จําเพาะ C มักจะขึ้นกับอุณหภูมิ ถาในชวงไมกวางนักอาจจะถือวาคงที่ หรือถาชวงกวางอาจจะใชคาเฉลี่ย Cav จะ


ได
T
Δs = s 2 − s 1 = Cav ln 2
T
………………..(1.59)
1

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 43

ตัวอยางที่ 1.37 กอนเหล็กรอนอุณหภูมิ 500 K มวล 50 kg โยนลงไปในทะเลสาปที่มีอุณหภูมิ 285 K ปลอยจน


อุณหภูมิเทาทะเลสาป สมมุติคาความรอนจําเพาะเฉลี่ยของกอนเหล็ก 0.45 kJ/(kg.K)จงหา การเปลี่ยนแปลงเอน
โทรปของ (ก)ของกอนเหล็ก (ข)ของทะเลสาป (ค)ของทั้งกระบวนการ
วิธีทํา (ก) สําหรับกอนเหล็ก ΔS = m(s 2 − s 1 ) = mC av ln TT2 =(50kg)[0.45kJ/(kg.K)]ln[285K/500K]= –12.65 kJ/K
1

(ข) สําหรับทะเลสาป เอากอนเหล็กเปนระบบปดจากกฎขอที่1 ถาไมคิดพลังงานจลนและพลังงานศักยจะได


Q = ΔU + W ซึ่ง W = 0
Q = ΔU =mCav(T2-T1) = (50kg)[0.45 kJ/(kg.K)](285-500)K= - 4837.5 kJ
Qทะเลสาป = - Q กอนเหล็ก = +4837.5 kJ
ΔS =Q/T = +4837.5/285 = 16.97 kJ/K
(ค) ทั้งกระบวนการ ΔS =-12.65 + 16.97 = +4.32 kJ/K เครื่องหมายบวกแสดงถึงวาถูกตองสําหรับ
กระบวนการถายเทความรอนทั่วไป เอนโทรปรวมจะตองเพิ่มขึ้น เพราะเปนกระบวนการที่ไมสมบูรณหรือ
ยอนกลับไมได
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกาซสมบูรณ
การหาสูตรสําหรับคาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป สามารถหาไดจากสมการความสัมพันธ
ds =
du Pdv
T
+
T
และ ds =
dh vdP
T

T
โดยการแทนคา du = CVOdT และ P/T = R/v ดังนี้
2
s 2 − s1 =
∫C VO
dT
T
v
+ Rln 2
v1
………………(1.60)
1

และสมการหลังแทนดวย dh =CPOdT และ v/T = R/P แลวหาปริพันธเชนกันจะได


2
s 2 − s1 =
∫C PO
dT
T
P
− Rln 2
P1
……………….(1.61)
1

ตามที่เรียนมาแลว กาซสมบูรณทั้ง CVOและCPO ขึ้นกับอุณหภูมิอยางเดียว(T) มีการหาความสัมพันธนี้สําหรับ


สารตางๆ ดังแสดงในตารางที่ ผ-3 ตามที่กลาวมาแลวในบทกอนๆ สามารถนํามาใสแลวหาปริพันธหาคาΔsได
สําหรับโมโนกาซเชนฮีเลียม ไดกลาวมาแลวในบทกอนๆวาคา CVOและCPO จะคงที่ตลอดไมวาอุณหภูมิใดๆซึ่ง
CPO= 20.8 kJ/(kmol.K), และ CVO= 12.5 kJ/(kmol.K)ในกรณี CVOและCPO ไมคงที่ อาจจะใชคาเฉลี่ย ก็จะงายใน
การหาปริพันธซึ่งจะไดดังนี้
s 2 − s 1 = C VOln 2 + Rln 2 ……………..(1.60a)
T v
T 1 v 1
T P
s 2 − s 1 = CPOln 2 − Rln 2
T1 P1
…………….(1.61a)
กระบวนการไอเซนโทรปกของกาซสมบูรณเมื่อ CPและCVคงที่
กระบวนการยอนกลับไดแบบไมมีการถายเทความรอนหรือไอเซนโทรปกหรือ s2–s1 = 0 จากสมการขางตนจะ
ได s 2 − s 1 = 0 = CVln TT2 + Rln vv 2
1 1

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


44 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

T2 R v T v v
ln =− ln 2 ⇒ ln 2 = ln[ 2 ] − R/C V = ln[ 1 ] R/C V
T1 CV v1 T1 v1 v2

จากที่เคยกลาวมาแลววา R = CP-CV และ k = CP/CV จะได R/CV = k-1 และ R/Cp=(k-1)/kจะได


T2 v
ln = ln[ 1 ] k −1
T1 v2
T2
T1
v
= [ 1 ] k −1
v2
หรืออาจจะเขียนไดวา T vk -1 = คงที่ …………(1.62)
ถาหาจากสมการขางตนสมการหลังจะไดดังนี้
T2 P
s 2 − s 1 = 0 = CP ln − Rln 2
T1 P1
T2 R P T P P
ln = ln 2 ⇒ ln 2 = ln[ 2 ] R/CP = ln[ 2 ] (k −1)/k
T1 CP P1 T1 P1 P1
T2
T1
P
= [ 2 ] (k −1)/k
P1
หรืออาจจะเขียนไดวา T / P(k –1)/k = คงที่ …..….(1.63)
จากสมการ (1.62) และ (1.63) จะได
k
P2
P
v
= [ 1 ]k
v
หรื อ อาจจะเขี ย นได ว า
 Pv = คงที่……………….(1.64)
1 2

ตัวอยางที่ 1.38 อากาศมีภาวะ 22 oC, 95 kPa ถูกอัดในกระบอกสูบระบบปด ถาอัตราสวนการอัด(Compression


ratio) V1/V2= 8 จงหาอุณหภูมิสุดทาย
วิธีทํา เนื่องโจทยกําหนดมาไมพอ ในทางปฏิบัติคํานวณไมได ฉะนั้นตองสมมุติเปนกระบวนการที่สมบูรณนั่นก็
คือ ไมมีการถายเทความรอนยอนกลับไดหรือไอเซนโทรปก และสมมุติวาอากาศเปนกาซสมบูรณ ที่มีคา k หรือ
CP/CV คงที่ที่ 25OC ตารางที่ ผ2 k = 1.4 แลวใชสมการ( 1.73) คือ TT 2 = [vv 1 ]k −1 จะไดดังนี้
1 2
T2
22 + 273
= [8] 1.4 −1 = 8 0.4 = 2.3 อุณหภูมิสุดทาย T2 = 295 x 2.3 =678 K
ตัวอยางที่ 1.39 กาซฮีเลียมมีภาวะ 27 oC,100 kPa อัดในกระบอกสูบระบบปดจนมีอุณหภูมิ 127oC จงหาความดัน
วิธีทํา เนื่องจากโจทยกําหนดมาไมพอ ในทางปฏิบัติคํานวณไมได ฉะนั้นตองสมมุติเปนกระบวนการที่สมบูรณ
นั่นก็คือ ไมมีการถายเทความรอนยอนกลับไดหรือไอเซนโทรปก และสมมุติวากาซฮีเลียมเปนกาซสมบูรณ ซึ่ง
กาซฮีเลียมเปนกาซอะตอมเดี่ยว คา CPและCV คงที่ คา kจากตารางที่ ผ-2 คือ 1.667 แลวใชสมการ( 1.74 )
คือ TT2 = [ PP2 ] (k −1)/k หรือ PP2 = [ TT2 ] k/(k −1) จะไดดังนี้
1 1 1 1
P2 127 + 273 1.667/(1.6 67 − 1)
=[ ] = 2.05
100 27 + 273

P2 = 2.05x100 = 205 kPa


กระบวนการโพลีโทรปกยอนกลับไดสําหรับกาซสมบูรณ
สําหรับกาซสมบูรณ จากกระบวนการยอนกลับไดแบบไมมีการถายเทความรอนได Pvk = คงที่ และที่ได
กลาวมาแลวกระบวนการอุณหภูมิคงที่ คือ Pv = คงที่ หรือ Pv1 = คงที่ ซึ่งหมายถึงมีการถายเทความรอนมาก
ที่สุดจนอุณหภูมิไมเปลี่ยน ในทางปฎิบัติมักจะเปนไปไมได ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงมักจะมีการถายเทความ

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 45

รอนจํานวนหนึ่ง นั่นคือกําลังของ v จะอยูระหวาง 1 ถึง k และตองไมลืม k =Cp/Cv กระบวนการนี้มักเรียกวา


กระบวนการโพลีโทรปก คือ
Pvn = คงที่………………..(1.65)
จากกาซสมบูรณก็จะได
T/P(n-1) / n = คงที่ ………………(1.66)
และ Tvn-1 = คงที่ ……………….(1.67)
P (2) Pv Pvn Pvk รูปที่ 1.37 T (2)Pvn (2) Pvk

(1) (2)Pv (1) (3)Pv

(3) Pvk Pvn Pv (3)Pvk (3)Pvn


v (ก) s (ข)
จากแผนภูมิ P-v จะเห็นเสนของกระบวนการทั้งสาม เสนปะเปนกระบวนการโพลีโทรปกโดยจุดที่1เปน
ภาวะเริ่มตน สวนจุด2เปนภาวะที่เกิดจากการอัด(Compression) สําหรับจุด3 เปนการขยายตัว(Expansion)
บนแผนภูมิ P-v นี้ ตามที่กลาวมาแลวงานหรือกําลังสําหรับระบบปดคือพื้นที่ของเสนที่ฉายลงบนแกน X ไม
วาจะเปนการอัด(กระบวนการ1-2) หรือการขยายตัว(กระบวนการ 1-3) จะเห็นวากระบวนการอุณหภูมิคงที่
ยอนกลับได จะใชหรือไดกําลังมากที่สุด สวนกระบวนการไอเซนโทรปกจะใชหรือไดกําลังนอยที่สุด
สําหรับกระบวนการโพลีโทรปกยอนกลับไดจะอยูตรงกลาง
จากแผนภูมิ T-s จะเห็นเสนของกระบวนการทั้งสาม เสนปะเปนกระบวนการโพลีโทรปกยอนกลับได
เชนกัน ความรอนคือพื้นที่ของเสนที่ฉายลงบนแกน X ซึ่งกระบวนการอุณหภูมิคงที่ยอนกลับไดอีกเชนกันที่
มีความรอนถายออกหรือเขามากที่สุด
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบเปดหรือปริมาตรควบคุม
W
ปริมาตรควบคุม ปริมาตรควบคุม
(ระบบเปด) (ระบบเปด)
si1,mi1
SCV1,mCV1
SCV2,mCV2
si2,mi2 se1,me1

si3,mi3 T se2,me2
Q [ในชวงเวลาภาวะ(1)ไป(2)]
TH
B

(1) รูปที่ 1.38 (2)


รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน
46 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปในระบบเปดหรือปริมาตรควบคุม ก็เชนเดียวกับระบบปด ซึ่งจากบรรณานุกรม


ทุกเลมจะสรุปไดดังตอไปนี้
สําหรับระบบเปดที่มวลไหลเขา-ออกไมเทากัน(Uniform State Uniform Flow / Transient Flow Process)
จากรูประบบเปด สามารถเขียนความสัมพันธของเอนโทรปไดดังนี้
(SCV2 - SCV1 ) +(Σmese -Σmisi ) = ∑ TQ + Sgen …………………………(1.68)
2
หรือ (SCV2 - SCV1 ) +(Σmese -Σmisi ) = ∫ δQT + Sgen …………………………(1.68a)
1

อัตราการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปสามารถเขียนไดดังนี้

∗ ∗ ∗
dS CV
dt
+ ∑ me s e − ∑ mis i = ∑
Q
T
+ Sgen ……………………….(1.69)
dS CV
dt
= อัตราการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปภายในระบบเปดหรือปริมาตรในควบคุม

∑ อัตราการถายเทของเอนโทรปเนื่องจากความรอน
Q
=
T
∗ ∗
∑ m s − ∑ m s = อัตราการถายเทเอนโทรปเนื่องจากมวลไหล
e e
i
i


อัตราการเกิดขึ้นของเอนโทรป คาบวกเสมอ และจะเทากับศูนยสําหรับกระบวนการยอนกลับได
S gen, CV =

สําหรับระบบเปดที่มวลไหลเขา-ออกเทากัน(Steady Flow Process)


ระบบเปดที่มวลไหลเขาเทากับมวลไหลออก เราหมายถึงมวลและภาวะภายในปริมาตรควบคุมไมเปลี่ยนแปลง
คือ mCV1= mCV2และ SCV1= SCV2 จากสมการ(1.68) จะได
(Σmese -Σmisi ) = ∑ TQ + Sgen ………………..(1.70)
กรณีมีชองไหลเขาออกอยางละชองจะได
m(se – si) = ∑ TQ + Sgen ………………(1.70a)
se − si = ∑T +s
q
gen ……………....(1.71)
se − si =
dq
∫ T +s gen …..…………...(1.72)
กรณีไมมีการถายเทความรอน
s e − s i = s gen ……………….(1.73)
กรณีไมมีการถายเทความรอนและยอนกลับได คือ กระบวนการไอเซนโทรปก
se = si …….……(1.74)
สําหรับกาซสมบูรณ กระบวนการไอเซนโทรปก Pvk = คงที่ Tvk-1= คงที่ และ T/P(k-1)/k=คงที่ ซึ่งไดกลาวมาแลว
ในระบบปดบทกอน ก็สามารถใชไดในระบบเปดนี้

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 47

ตัวอยางที่ 1.40 ไอน้ําไหลเขากังหันไอน้ํา ภาวะ 1 MPa, 300oC ความเร็ว 50 m/s ไหลออกที่ความดัน 150 kPa
ดวยความเร็ว 200 m/s จงหางานที่ไดตอหนวยมวล ถาทอดานไอน้ําไหลเขามีเสนผาศูนยกลาง 200 mm จงหา
กําลังที่ไดเปน kW
วิธีทํา ทางปฏิบัติเราจะหาไดจากกฎขอที่1เทานั้นคือ
q = Δh+Δke+Δpe+w หรือละเวนพลังงานศักยก็จะได
q = Δh+Δke+w
เนื่องจากไมไดวัดมาพอเพียง ทางปฏิบัติเราจึงหาไมได เพราะขาด ความรอน(q ) และ ภาวะไอน้ําที่ออกมามี
คุณสมบัติไมครบคือมีความดันอยางเดียว ดังนั้นเราจะหาไดเฉพาะที่สมบูรณตามทฤษฎีคือไอเซนโทรปก นั่นก็
คือ q = 0, se = si เราก็จะหา w ได
w = hi-he+νi2/2-νe2/2
Pi=1 MPa, Ti=300oC, νi=50m/s T i

กังหัน w
e
Pe=150 kPa, νe=200m/s ( ก) s (ข)
รูปที่ 1.39
จากตารางน้ํา ภาวะที่1 hi= 3051.15 kJ/kg, si= 7.1228 kJ/kg/K, vi=0.25794 m3/kg
ภาวะที่2 Pe= 0.15 MPa,(Te=111.37oC) , se=si= 7.1228 kJ/kg/K ตรวจสอบจากตารางพบวาเปนจุดอิ่มตัวคือมี
ของเหลวไอผสมกัน เราจึงตองหาคุณภาพไอ(quality=xe) ,มากอนจาก
xe= (se-sf)/sfg จากตารางน้ํา sf= 1.4336 kJ/kg.K, sfg= 5.7897 kJ/kg.K
xe= (7.1228-1.4336)/5.7897=0.9827
he= hf+ xehfg จากตารางน้ํา hf= 467.1 kJ/kg, hfg= 2226.5 kJ/kg
he= 467.1+0.98x2226.5 =2655.0 kJ/kg
แทนทั้งหมดลงในสมการจะได
w = 3051.15-2665.0+502/(2x1000)-2002/(2x1000)=377.5 kJ/kg
ทอมีเสนผาศูนยกลาง 200mm= 0.2 m พื้นที่หนาตัด A =πD2/4=π(0.2)2/4=0.0314 m2

อัตราไหลเขาของไอน้ํา V = Aν =0.0314x50 m3/s=1.57 m3/s
∗ ∗
อัตรามวลไหลเขาของไอน้ํา m = V /v= 1.57/0.2579 = 6.09 kg/s
∗ ∗
กําลังที่ได W = m w = 6.09 kg/s x377.5 kJ/kg = 2298 kW
ตัวอยางที่ 1.41 วาลวลดความดันในระบบทําความเย็น คือการทําใหเกิดความเสียดทานมากๆ เพื่อใหความดัน
ลดลง ซึ่งเปนกระบวนการยอนกลับไมได ในระบบทําความเย็นน้ํายา R134a ความดันตอนเขาวาลวลดความดัน

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


48 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

1.017 MPa ซึ่งเปนของเหลวอิ่มตัวที่อุณหภูมิ 40oC ออกจากวาลวความดันเหลือ 0.1013 MPa สมมุติวาลวหุม


ฉนวน(แมจะไมหุมฉนวนจากประสบการณทราบกันดีวาความรอนถายเทนอยมากเมื่อเทียบกับสิ่งอื่นๆ) จงหา
การเปลี่ยนแปลงของเอนโทรป
วิธีทํา จากกฎขอที่1 ละเวนพลังงานจลนพลังงานศักยจะไดδq = dh +δw ทั้ง δq และ δw ก็เปนศูนย การลด
ความดันจากความเสียดทาน dh = 0 หรือ he = hi โดยการเปดตาราง อาร-134a ไดดังนี้
ที่ภาวะ i 40oC หรือความดัน 1.017 MPa, si = 1.1909 kJ/kg.K hi = 256.54 kJ/kg
ที่ภาวะ e ความดัน 0.1013 MPa he = hi =256.54 kJ/kg จะเห็นวาเปนของเหลวไอผสมอุณหภูมิ –26.3 oC he =
hfe +x hefg หรือ x = (he - hfe)/ hefg = (256.54-165.8)/216.36 =0.419
se = sfe +x sefg = 0.8690+0.419(0.8763) = 1.24 kJ/kg.K
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป se–si = 1.24 – 1.1909 = 0.0453 kJ/kg.K
ตัวอยางที่ 1.42 การลดความดันถาตองการใหยอนกลับไดในระบบทําความเย็น ก็จะตองใชกังหันแทนวาลว
ลดความดัน ในระบบทําความเย็นน้ํายา R-134a ความดันตอนเขากังหันความดัน 1.017 MPa ซึ่งเปนของเหลว
อิ่มตัวที่อุณหภูมิ 40o C ออกจากกังหันความดันเหลือ 0.1013 MPa สมมุติไมมีความรอนถายเท จงหางานที่ได
วิธีทํา กระบวนการยอนกลับไดไมมีความรอนถายเท คือ se = si
โดยการเปดตาราง อาร-134a ไดดังนี้
ที่ภาวะ i 40oC หรือความดัน 1.017 MPa, si = 1.1909 kJ/kg.K hi = 256.54 kJ/kg
ที่ภาวะ e ความดัน 0.1013 MPa se = si =1.1909 kJ/kg จะเห็นวาเปนของเหลวไอผสมอุณหภูมิ–26.3 oC
se = sfe +x sefg หรือ x = (se - sfe)/ sefg = (1.1909-0.8690)/0.8763 = 0.37
he = hfe +x hefg = 165.80+0.37(216.36) = 245.85 kJ/kg
และจากกฎขอที่1 ละเวนพลังงานจลนพลังงานศักยและไมมีความรอนถายเทจะได
w = hi-he = 256.54-245.85 =10.69 kJ/kg
ขอสังเกต จะเห็นวานอกจากลดอุณหภูมิ ยังไดงานออกมา
14 สูตรสําหรับการคํานวณงานหรือกําลังที่สมบูรณหรือยอนกลับไดในระบบเปดที่มวลไหลเขา-
ออกเทากัน
ในระบบปด เราสามารถคํานวณงานหรือกําลังที่สมบูรณหรือสมดุลเควไซ ซึ่งก็คืองานที่ยอนกลับไดนั่นเอง
2
ซึ่งไดวา w = ∫ Pdv
1

ในระบบเปดหรือปริมาตรในควบคุมที่มวลไหลเขา-ออกเทากัน(Steady Flow Process) จากบรรณานุกรมทุก


เลม พบวาจะใชสูตรนี้ไมได ตองใชสูตรตอไปนี้แทน
δw = - vdP- dke-dpe …………………(1.75)
e
w = - ∫ vdP- Δke-Δpe……………....(1.75a)
i

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 49

โดยทั่วไปพลังงานจลนและพลังงานศักยมักจะนอยมาก ตามที่เคยกลาวมาบอยๆเราจะได
e
w = - ∫ vdP ………………..(1.75b)
i

หรือในกรณีตองการหากําลัง(พลังงานตอหนวยเวลา)
o o e
W = − m ∫ vdP ….. ……………..(1.75c)
i

สูตรสําหรับคํานวณงานหรือกําลังนี้ ไดมาจากกระบวนการยอนกลับได นั่นก็คืองานที่สมบูรณหรือในอุดมคติ


ที่ไดออกมาหรือตองใช ถาเปนเครื่องที่ไดงานหรือกําลังออกมาจะมากที่สุด แตถาเปนเครื่องที่ตองใสงานหรือ
กําลังเขาไปเชนเครื่องอัด จะใชนอยที่สุด
อยางไรก็ตามสูตรดังกลาวแสดงใหทราบวา งานตอหนึ่งหนวยมวล ขึ้นกับปริมาตรจําเพาะ (v) ถายิ่งเล็กเชน
ของเหลวหรือการสูบน้ําจะใชงานนอยกวา เครื่องอัดอากาศซึ่งอากาศเปนไอมีปริมาตรจําเพาะใหญ
กระบวนการไอเซนโทรปก(ยอนกลับไดไมมีการถายเทความรอน)สําหรับของเหลว
เราสามารถพิสูจนไดวา สําหรับของเหลวในชวงอุณหภูมิไมกวางนัก คาความรอนจําเพาะจะคงที่ กระบวนการ
ไอเซนโทรปกก็คือกระบวนการที่อุณหภูมิคงที่นั้นเอง
จากความสัมพันธของคุณสมบัติของสาร ds = du/T + Pdv สําหรับของเหลว คา v นอยมากอยูแลวคา dv
จะยิ่งนอย ดังนั้น ds = du/T = CdT/T นั่นคือ ds = 0 คือ dT เขาใกล 0 นั่นคืออุณหภูมิจะคงที่
ดังนั้นในการใชปม สูบน้ํา อุณหภูมิน้ําจึงมักไมขึ้นสูง แมกระบวนการที่เกิดขึ้นจริงจะยอนกลับไมได ds จะ
เพิ่มขึ้น นั่นคือ dT หรืออุณหภูมิจะตองเพิ่มขึ้น จึงมักจะไมไดเห็นมันขึ้นสูงมาก ซึ่งแสดงไดดังนี้
q = Δh +Δke + Δpe + w ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลนและพลังงานศักยจะนอยมากดังนั้นจะได
q = Δh + w จะได
q = Δu +ΔPv + w
Δu = q – ΔPv – w = q – vΔP – w (เนื่องจาก v ของเหลวคอนขางคงที่)
ΔT = [q – vΔP – w ] / c…………………..(1.76)
จากสมการจะเห็นวา งาน(w)ที่ใสใหกับปมจะตองมีคาลบแตขางหนางาน มีคาลบอยู ดังนั้นเทอม – w จะมีคา
บวกคืองานที่ใสทําใหอุณหภูมิน้ําเพิ่ม แตเทอม – vΔP มีคาลบจะทําใหการเพิ่มอุณหภูมิลดลง ซึ่งตามที่กลาว
ขางตน ถาเปนกระบวนการยอนกลับไดมันก็จะเทากันแตเครื่องหมายตรงกันขามกันคือจะเทากับศูนยคือ
อุณหภูมิไมเพิ่ม สวนเทอมความรอน(q) นั้นมักจะนอยมาก แตถามีก็มักจะมีคาลบ(ความรอนถายออก)ก็ยิ่งทําให
การเพิ่มของอุณหภูมิยิ่งนอยลง
ตัวอยางที่ 1.43 ปมน้ําสูบน้ําในอัตรา 0.2 m3/s จากความดัน 100 kPa ทําใหความดันเพิ่มเปน 600 kPa ถาปมมี
ประสิทธิภาพ 75% จงหากําลังมอเตอรที่ตองใช และอุณหภูมิน้ําที่เพิ่มขึ้น
e
∗ ∗
วิธีทํา ปมน้ําอุดมคติหรือไอเซนโทรปก จากสมการ (1.75c) WS = − m ∫ vdP
i

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


50 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

∗ ∗ o
เนื่องจากน้ําความหนาแนนหรือปริมาตรจําเพาะคอนขางคงที่ WS = − m v(Pe − Pi ) = − V(Pe − Pi )
o
W S = - 0.2(600-100) = -100 kW
o
กําลังมอเตอรที่ตองใช W = 100 / 0.75 = 133.3 kW
อุณหภูมิน้ําที่เพิ่มขึ้น ΔT = [q – vΔP – w ] / c
q ความรอนถายเทนอยมาก, v = 0.001 m3/kg, ΔP = 600-100 =500 kPa, c = 4.187 kJ/kg.K
o o
w = W / m = 133.3/(0.2/0.001) = 0.67 kJ/kg
ΔT = [q – vΔP – w ] / c =[ 0 – 0.001x500 – (-0.67)] / 4.187 = 0.17OC
ขอสังเกต จะเห็นวาพลังงาน(กําลัง)ที่ใสเขาสวนใหญจะเปลี่ยนเปนความดัน บางสวน(สวนที่ยอนกลับ
ไมได)เทานั้นที่เปลี่ยนเปนอุณหภูมิ(พลังงานภายใน) แตถาวาลวหนาปมถูกปดไมใหน้ําไหล ก็จะกลายเปน
ระบบปดไป ซึ่งก็จะเปน q = Δu + w หรือ ΔT = [q – w ] / c นั่นก็หมายถึงกําลังที่ใสทั้งหมดก็จะทําใหน้ํา
ที่อยูภายในตัวปมมีอุณหภูมิสูงขึ้น
การใชสูตร งานยอนกลับไดระบบเปด สําหรับกระบวนการตางๆเมื่อใชกาซสมบูรณ
กระบวนการไอเซนโทรปก
สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปกของกาซสมบูรณ Pvk = C (คงที่) หรือ
e
P1/kv = C1/k=c หรือ v = c
แทนลงไปในสูตร w = - ∫ vdP จะได
P 1/k i
e
w =- ∫ (
c
1/k
) dP
i
P

c 1 1
w=− (P e (1 − k ) − Pi(1 − k ) )
1
1−
k
−ck
w=
k −1
(P e
(k −1)/k
− Pi
(k −1)/k
) …………..………….(1.77)
−ck (k −1)/k
w= Pi [(P e /P i ) (k −1)/k − 1]
k −1
1/k
แต c = P v แทนลงจะได
i i
−k 1/k (k −1)/k
w= Pi v iPi [(P e /P i ) (k −1)/k − 1]
k −1
−k −k
w=
k −1
v iPi [(P e /P i ) (k −1)/k − 1] =
k −1
RTi [(P e /P i ) (k −1)/k − 1] …………(1.78)
1/k 1/k
จากสมการ(1.77) ถาแทน c = P v และ c = P v ก็จะไดสมการอีกรูปหนึ่งคือ
i i e e
−k −k
w=
k −1
1/k
(Pe v e Pe
(k −1)/k
…..… (1.79)
− Pi1/k v iPi(k −1)/k ) =
k −1
(Pe v e − Pi v i )

สมการ(1.79) นั้นถาแทนคาสูตรกาซสมบูรณ Peve = RTe และ Pivi = RTi จะไดดังนี้


−k
(T e − Ti ) = −CP (T e − Ti ) …………….….(1.80)
-kR
w= (RTe − RTi ) =
k −1 k -1
ซึ่งก็หมายความวาสําหรับไอหรือกาซในกระบวนการยอนกลับไดไมมีการถายเทความรอนนั้น พลังงาน(กําลัง)
เขาออกทั้งหมด จะไปทําใหอุณหภูมิเปลี่ยน ซึ่งตางจากของเหลว

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 51

กระบวนการอุณหภูมิคงที่ยอนกลับได
งานระบบเปดยอนกลับได
e
สําหรับกาซสมบูรณ อุณหภูมิคงที่ Pv = RT = C (คงที่) หรือ v = C/P แทนคาลงในสูตร w = - ∫ vdP แลว
i

อินทีเกรทจะได
w = - Cln(Pe/Pi) = - RTi ln(Pe/Pi) ………………………….(1.81)
กระบวนการโพลีโทรปกยอนกลับได Pvn = C (คงที่)
ทฤษฎีนี้ถือวามีความรอนถายเทจํานวนหนึ่ง ซึ่งทําใหอยูระหวางไอเซนโทรปกกับอุณหภูมิคงที่ มักจะเขียนวา
Pvn= C (คงที่) ซึ่ง n อยูระหวาง 1 ถึง k ( Pv1 → Pvn →Pvk )
e
1/n
โดยการแทนคา v = c / P ลงในสูตร w = - ∫ vdP แลวอินทีเกรทเหมือนใน ไอเซนโทรปกจะได
i
−n −n
w=
n −1
v iPi [(P e /P i ) (n −1)/n − 1] =
n −1
RTi [(P e /P i ) (n −1)/n − 1] ….……….(1.82)
−n
w=
n −1
(P e v e − Pi v i ) ………………………………(1.83)
n = ln(P1/P2) / ln(v2/v1) ………………………………(1.84)
ตัวอยางที่ 1.44 จงเปรียบเทียบงานในการอัดมวล 1 กก. จาก ความดัน 100 kPa กลายเปน 1 MPa ก)น้ําเปน
ของเหลวอิ่มตัว ข) น้ําเปนไออิ่มตัว
วิธีทํา ทางปฏิบัติเราตองสรางเครื่องมาจริงแลววัด ทางทฤษฎีอุดมคติ เราสามารถใชสูตรงานที่ยอนกลับได คือ w
e
= - ∫ vdP ชวย
i

ก) น้ําของเหลวอิ่มตัวจากตาราง vi = vf ที่100 kPa= 0.001043 m3/kg เนื่องจากเปนของเหลวขณะอัดปริมาตร


ไมคอยเปลี่ยนจะได
w = - vi(Pe-Pi) = vI(Pi-Pe) =(0.001043m3/kg)[(100-1000)kPa]= - 0.94 (m3/kg)(kN/m2)
w = - 0.94 kJ/kg
ข) ภาวะที่1(i) ไอน้ําอิ่มตัว ความดัน 100kPa ,vg=1.694m3/kg
ภาวะที่2(e) ความดัน 1000kPa ถาใชทฤษฎีสมบูรณยอนกลับไดไมมีการถายเทความรอนหรือไอเซนโทรปก
คือใชสมการ w = k−−k1 v iPi [(P e /Pi ) (k −1)/k − 1]
ถาประมาณโดยใชคา k จากตารางที่ ผ-2 สําหรับไอน้ําคือ 1.327
−1.327
w= 1.694x100[ (1000/100) (1.327 −1)/1.327 − 1] = -525 kJ/kg
1.327 − 1
จะเห็นไดวา การอัดไอจะตองใชกําลังมากกวาการอัดของเหลวมากกวา 500เทา
การหางานสามารถหาอีกวิธีที่ละเอียดกวา คือจากกฎขอที่1 โดยละเวนพลังงานจลนและพลังงานศักยคือ
q = Δh+w =he-hi+w

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


52 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

จะเห็นวาทางปฏิบัติเราก็จะหาไมไดเพราะไมทราบ q และ he แตเราตองการเพียงที่จะเปรียบเทียบฉะนั้นเรา


อาจจะใชทฤษฎีที่สมบูรณเหมือนกันคือไอเซนโทรปก q = 0 และ se = si ซึ่งภาวะเขาเราทราบคาคุณสมบัติทุก
อยางอยูแลวคือ hi =2675.5 kJ/kg si=7.3594 kJ/kg.K สวนภาวะออก Pe=1 MPa
se = si = 7.3594 kJ/kg.K จากตารางไอรอนยวดยิ่ง หา he = 3195.5 kJ/kg
แทนคาทั้งหมดจะไดดังนี้
w = hi-he= 2675.5 –3195.5 = –520 kJ/kg คานี้ถูกตองที่สุดเพราะไดจากการเปดตาราง
e
การวิเคราะหเครื่องอัดอากาศ(Air Compressor)โดยใชสูตร w = - ∫ vdP
i

จากสูตร ถาตองการอัดอากาศอัตรามวลเดียวกัน ชวงความดัน dP เทากัน จะเห็นวา กําลังที่ตองใชขึ้นกับ


ปริมาตรจําเพาะ(v)เทานั้น นั่นก็คือถามีการระบายความรอนออกทําใหอุณหภูมิอากาศลดลง ปริมาตรจําเพาะก็
ลดลง กําลังก็ลดลงดวย สรุปไดวาในกระบวนการยอนกลับได(สมบูรณ)เหมือนกันสําหรับคอมเพรสเซอรหรือ
เครื่องอัด ถามีการถายความรอนออกยิ่งมากยิ่งดี นั่นคือกระบวนการอุณหภูมิคงที่(Isothermal Process) คือ
กระบวนการที่ถายความรอนออกมากที่สุด จนอุณหภูมิไมเปลี่ยน ก็จะเปนกระบวนการที่ใชกําลังนอยที่สุดใน
การอัด สวนกระบวนการยอนกลับไดที่ไมมีการถายเทความรอน(แอเดียแบติก)หรือไอเซนโทรปก จะเปน
กระบวนการที่ใชกําลังมากที่สุด
ตัวอยางที่ 1.45 อากาศภาวะ 27 oC 100 kPa อัดดวยคอมเพรสเซอร(ระบบเปด)จนมีความดัน 450 kPa อุณหภูมิ
227 oC จงหางานที่ตองใชอัดตอหนวยมวล ก) งานจริง ข)ใชทฤษฎีไอเซนโทรปก ค)ใชทฤษฎีอุณหภูมิคงที่
ยอนกลับได ง)ใชทฤษฎีโพลีโทรปกยอนกลับได Pv1.3 = คงที่ จ) จงหาประสิทธิภาพของคอมเพรสเซอร
e
วิธีทํา ก) งานจริงไมสามารถคํานวณโดยใชสูตร w = - ∫ vdP ตองใชกฏขอที่1สําหรับระบบเปดโดยละเวน
i

พลังงานจลนและพลังงานศักยคือ q = Δh+w =he-hi+w


จะเห็นไดวาโจทยมักจะไมไดกําหนดความรอน q มา นิยมใหเปนศูนย ในที่นี้จะสมมุติใหเปน 10%ของงานจะ
ไดดังนี้
0.1w =he-hi+w w-0.1w = hi-he w =( hi-he)/0.9 = CP,av( Ti-Te)/0.9
วิธีที่1 ใชคาประมาณสมมุติให CP คงที่ จากตารางที่ ผ-2 คาประมาณที่ 25OC คือ CP,a= 1.004 kJ/kg.K
w = 1.004[(27+273)-(227+273)] / 0.9 = 1.004[(27-227] / 0.9 = - 223.11 kJ/kg
งานจริง 223.11 kJ/kg
วิธีที่2 ใชคาละเอียด จากตารางที่ ผ-4.1 ที่ Ti = 27+273 = 300 K, hi =300.473 kJ/kg และ Te = 227+273 = 500K,
he =503.360 kJ/kg
w = (300.473-503.360)/0.9 = -225.43 kJ/kg
งานจริง 225.43 kJ/kg
ข) ใชทฤษฎีไอเซนโทรปก คือการอัดจาก27 oC 100 kPa เปน 450 kPaแบบยอนกลับไดไมมีการถายเทความรอน

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 53

−k
วิธีทํา ประมาณโดยใชสูตร w=
k −1
RTi [(P e /P i ) (k −1)/k − 1]

สําหรับอากาศใชคาประมาณจากตารางที่ ผ-2 k = 1.4 แทนคาทั้งหมดลงไปจะได


w = -1.4/(1.4-1)x0.287x(27+273)[(450/100)(1.4-1)/1.4-1]= -161.8 kJ/kg
งานสมบูรณแบบไอเซนโทรปกที่ตองใช 161.8 kJ/kg
ค)ใชทฤษฎีอุณหภูมิคงที่ยอนกลับได (มีความรอนถายออกมากจนอุณหภูมิคงที่)
งานระบบเปดยอนกลับได สําหรับกาซสมบูรณ จากสูตร w = - RTi ln(Pe/Pi)
w = -0.287x(27+273)ln(450/100) = -129.5 kJ/kg
งานสมบูรณแบบอุณหภูมิคงที่ยอนกลับไดที่ตองใช 129.5 kJ/kg
ง) ใชทฤษฎีโพลีโทรปกยอนกลับได Pv1.3 = คงที่ จาก
สมการ w = n−−n1 v iPi [(P e /Pi ) (n −1)/n − 1] = n−−n1 RTi [(P e /Pi ) (n −1)/n − 1]
แทนคา n = 1.3 , R=0.287 kJ/kg.K, Ti = 300 K Pe =450 kPa, Pi =100 kPa
w = -1.3/(1.3-1)x0.287x(27+273)[(450/100)(1.3-1)/1.3-1]= -154.8 kJ/kg
งานสมบูรณแบบโพลีโทรปกยอนกลับไดที่ตองใช 154.8 kJ/kg
สรุป งานจริง 225.43 kJ/kg งานไอเซนโทรปก 161.87 kJ/kg งานอุณหภูมิคงที่ยอนกลับได 129.5 kJ/kg
และงานโพลีโทรปกยอนกลับได 154.8 kJ/kg
จ) การหาประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่ตองใสงานหรือกําลังเขาไป จากบทที่ผานมา
ประสิทธิภาพของเครื่องที่ใสพลังงานเขา = พลังงานที่ตองใชในอุดมคติ / พลังงานที่ตองใชจริง
งานที่ตองใชจริง 225.43 kJ/kg สวนงานในอุดมคติมีหลายแบบ ประสิทธิภาพก็ตองมีหลายแบบ ดังนี้
ประสิทธิภาพไอเซนโทรปก = 161.87 / 225.43 = 0.72 (72%)
ประสิทธิภาพอุณหภูมิคงที่ยอนกลับได = 129.5/225.43=0.57 (57%)
ประสิทธิภาพโพลีโทรปกที่ยอนกลับได = 154.8/225.43 =0.69 (69%)
ในการใชงานจริงทางปฏิบัติ นิยมใชประสิทธิภาพไอเซนโทรปก เพราะใกลความเปนจริงมากกวาอุณหภูมิคงที่
และที่สําคัญคา k สําหรับอากาศคือ 1.4 แนนอน ไมเหมือนคา n ในโพลีโทรปก การเปรียบเทียบประสิทธิภาพ
ระหวางผูผลิตแตละราย สามารถเปนมาตรฐานเดียวกันไดงายกวา
P (e) Pv Pvn Pvk T (e) Pvn Pvk
Pe

Pi (i) (e) Pv (i)

v s
(ก) รูปที่ 1.40 (ข)

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


54 วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

e
บนแผนภูมิP-v รูปที่ 1.40 (ก) งานยอนกลับได - ∫ vdP ก็คือพื้นที่ ที่เสน(i)-(e) ฉายลงบนแกน P ดังรูป จะเห็น
i

วากระบวนการอุณหภูมิคงที่ หรือPv = คงที่ พื้นที่ที่แลเงาจะมีพื้นที่นอยสุด แสดงวาใชงานนอยสุด สวน Pvk มี


พื้นที่มากสุด แสดงถึงการตองใชงานมากที่สุด ก็เปนไปตามที่คํานวณไดในตัวอยาง
บนแผนภูมิ T-s รูปที่ 1.40(ข) พื้นที่ ที่เสน(i)-(e) ฉายลงบนแกน s แสดงถึงความรอนถายเท พื้นที่แลเงาแสดง
กระบวนการอุณหภูมิคงที่ มีความรอนถายออกมากที่สุด
e
การวิเคราะหกังหันกาซ(Gas Turbine)โดยใชสูตร w = - ∫ vdP
i

จากสูตร ถาใชอากาศอัตรามวลเทากัน ชวงลดความดัน dP เทากัน จะเห็นวา กําลังที่ไดขึ้นกับ ปริมาตรจําเพาะ


(v)เทานั้น นั่นก็คือถามีการระบายความรอนออกทําใหอุณหภูมิอากาศลดลง ปริมาตรจําเพาะก็ลดลง กําลังก็
ลดลงดวย สรุปไดวาในกระบวนการยอนกลับได(สมบูรณ)เหมือนกันสําหรับ กังหันกาซ ถามีการถายความรอน
ออกที่ตัวกังหันยิ่งมากยิ่งไมดี แตในทางตรงกันขาม ถาใหความรอนเขาจะดี
ตัวอยางที่ 1.46 อากาศภาวะ 1600K , 3 MPa ไหลเขากังหันกาซ(ระบบเปด)และออกมาในภาวะ 100 kPa
อุณหภูมิ 850 K จงหางานที่ไดตอหนวยมวล ก) งานจริง ข)ใชทฤษฎีไอเซนโทรปก ค)ใชทฤษฎีอุณหภูมิคงที่
ยอนกลับได ง) ใชทฤษฎีโพลีโทรปกยอนกลับได Pv1.3 = คงที่ จ) จงหาประสิทธิภาพของกังหัน
e
วิธีทํา ก) งานจริงไมสามารถคํานวณโดยใชสูตร w = - ∫ vdP ตองใชกฏขอที่1สําหรับระบบเปดโดยละ
i

เวนพลังงานจลนและพลังงานศักยคือ q = Δh+w =he-hi+w


สมมุติใหไมมีการถายเทความรอน(q= 0) หางานจริงไดดังนี้
w =( hi-he) = CP,av( Ti-Te)
จะใชวิธีคํานวณคาโดยประมาณ สมมุติคาความรอนจําเพาะคงที่จากตาราง ที่อุณหภูมิ 25OC CP,a= 1.004
kJ/kg.K
งานจริง w = 1.004(1600-850) = 753 kJ/kg
ข) ใชทฤษฎีไอเซนโทรปก ความหมายคือการขยายตัว(ลดความดัน)จาก1600K 3 MPa เปน 100 kPa แบบ
ยอนกลับไดไมมีการถายเทความรอน
คาประมาณสมมุติคาความรอนจําเพาะคงที่ โดยใชสูตร
−k
w= RTi [(P e /P i ) (k −1)/k − 1]
k −1
สําหรับอากาศใชคาประมาณจากตารางที่อุณหภูมิ 25OC ซึ่ง k = 1.4 แทนคาทั้งหมดลงไปจะได
w = -1.4/(1.4-1)x0.287x1600[(100/3000)(1.4-1)/1.4-1] = 999.02 kJ/kg
งานสมบูรณแบบไอเซนโทรปก 999.02 kJ/kg
ค) ใชทฤษฎีอุณหภูมิคงที่ยอนกลับได (ตองใสความรอนเขามากจนอุณหภูมิคงที่ T =คงที่)
e
งานระบบเปดยอนกลับได w = - ∫ vdP
i

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน


วิชาที่ 1 อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) 55

สําหรับกาซสมบูรณ อุณหภูมิคงที่ Pv = RT = C (คงที่) หรือ v = C/P แทนคาแลวอินทีเกรทจะได


w = - Cln(Pe/Pi) = - RTi ln(Pe/Pi) = -0.287x1600 ln(100/3000) = 1562 kJ/kg
งานสมบูรณแบบอุณหภูมิคงที่ยอนกลับได 1562 kJ/kg
ง) ใชทฤษฎีโพลีโทรปกยอนกลับไดจากสมการ
−n
w= RTi [(P e /P i ) (n −1)/n − 1]
n −1
w = -1.3/(1.3-1)x0.287x1600[(100/3000)(1.3-1)/1.3-1] = 1082.15 kJ/kg
จ) การหาประสิทธิภาพของเครื่องหรืออุปกรณที่ไดงานหรือกําลังออกมา
ประสิทธิภาพของเครื่อง/อุปกรณที่ไดพลังงาน = พลังงานที่ไดจริง / พลังงานที่ไดในอุดมคติ
ประสิทธิภาพไอเซนโทรปก = 753/999.02 = 0.75 (75%)
ประสิทธิภาพอุณหภูมิคงที่ = 753/1562 = 0.48 (48%)
ประสิทธิภาพโพลีโทรปก = 753/1082.15 = 0.70 (70%)
ทางปฏิบัติเราจะใชประสิทธิภาพไอเซนโทรปก เพราะอุณหภูมิคงที่หรือโพลีโทรปกจะเกิดขึ้นไดตองใสความ
รอนเพิ่มเขาไปที่กังหันดวย ซึ่งไมตรงกับความจริง

รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน

You might also like