ข้อสอบสามัญเครื่องกล Main Group 2/2547

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 15

1

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

ข้อสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้ทำา 5 ข้อ ดังนี้


• ให้เลือกทำา THERMODYNAMICS ข้อ 1 หรือ ข้อ 2 , FLUID MECHANICS ข้อ 3 หรือ ข้อ 4 ,
DYNAMICS ข้อ 5 หรือ ข้อ 6 , STRENGTH OF MATERIAL ข้อ 7 หรือ ข้อ 8 และ
MANUFACTURING ข้อ 9 หรือ ข้อ 10

THERMODYNAMICS
ข้อ 1. (20 คะแนน)
1.1 หม้อต้มเปื่อยคือหม้อที่ฝาหม้อเป็นเกลียวขันให้แน่นได้ โดยทีฝ
่ าหม้อมีรูเล็กๆสำาหรับระบายความ
ดัน เพื่อควบคุมความดันให้คงที่ตามต้องการ ถ้าต้องการให้นำาในหม้อมีอุณหภูมิ 300°C ความดันที่
ควบคุมคือเท่าไร?
ตอบ จากตารางนำำาที่อุณหภูมิ 300°C ความดันอิ่มตัวคือ 8581 kPa นัน่ คือต้องควบคุมความดันไว้ที่
8581 kPa

1.2 ต้มนำำา 1 กิโลกรัมจากอุณหภูมิ 40


O
C ความดัน 2,000 kPa ให้กลายเป็นไออิ่มตัวหมดพอดีที่ความดัน
2,000 kPa จงหาอุณหภูมิและความร้อนที่ต้องใช้
ตอบ จากกฎข้อที่ 1 จะเป็นระบบปิดหรือระบบเปิดก็ตาม ละเว้นพลังงานจลน์แลพลังงานศักย์จะได้
q = h2-h1
จากตารางนำำา ภาวะที่1 ของเหลวอัด h1 = 169.30 kJ/kg หรือค่าประมาณจากของเหลวอิ่มตัวคือ 167.54
kJ/kg ภาวะที่2 ไออิ่มตัวจะมีอุณหภูมิ 212.42 OC , h2 = 2799.51 kJ/kg
ความร้อน q = 2799.51-169.30 = 2630.21 kJ/kg หรือค่าประมาณ 2799.51-167.54 = 2631.97 kJ/kg

1.3 ปั๊มนำำาสูบนำำาในอัตรา 1 m /s จากความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 20


3 O
C อัดจนมีความดัน 20,000 kPa ถ้า
ปั๊มใช้กำาลังจริงที่เพลา 25,000 kW จงหาประสิทธิภาพปั๊ม สมมุติไม่มีความร้อนถ่ายเท นำำาที่ออกจาก
ปั๊มจะมีอุณหภูมิประมาณเท่าไร?
ตอบ ปั๊มนำำาตามทฤษฎีสมบูรณ์ W• = – V• ∆P
V = 1 m /s ∆P = 20,000-100 = 19,900 kPa
• 3


W = –1x 19,900 = –19,900 kW
ประสิทธิภาพปั๊ม = 19,900/25,000 = 0.796=79.6%
ถ้าไม่มีการถ่ายเทความร้อนกำาลังจริงที่เพลาคือ
2

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

• •
W = – m (v∆P + C∆T) = – V ∆P– m C∆T
• •

ซึ่ง W• = –25,000 kW, V• ∆P=19,900 kW, C =4.186 kJ/kg.K, m• = 1/0.001002 =998 kg/s จะได้
–25,000 = –19,900–998x4.186∆T
∆T = 5,100/ (1000x4.186) =1.22oC
นำำาจะมีอุณหภูมิ = 20+1.22 =21.22 oC

ข้อ 2. (20 คะแนน)


2.1 ในห้องที่มีอุณหภูมิ 30 OC ตลอดเวลา ถังทำาด้วยทองแดงมีปริมาตร 1 m3 ตอนแรกมีอากาศและนำำาอยู่
อย่างละครึ่งโดยปริมาตร ถ้าดูดอากาศออกจนหมด จะมีความดันในถังหรือไม่ ถ้ามีความดันจะเป็น
เท่าใด?
ตอบ เมื่อดูดอากาศออกหมด นำำาจะต้องกลายเป็นไอ อยู่ที่จุดอิ่มตัว ที่อุณหภูมิห้อง 30OC ความดันก็
คือ 4.246 kPa

2.2 กฎข้อที่1 ของอุณหพลศาสตร์(1st Law of Thermodynamics) หรือพลังงานสร้างขึำนมาไม่ได้ ทำาลาย


ก็ไม่ได้ เราจะต้องไปรณรงค์ในการอนุรักษ์พลังงานทำาไม เพราะพลังงานมันอนุรักษ์ตัวมันเองอยู่
แล้ว ท่านคิดว่าอย่างไร? อธิบายให้เข้าใจ
ตอบ การตอบสามารถมีได้หลายรูปแบบ หลักการกว้างๆก็คือ พลังงานทัำงหมดนัำนไม่สามารถเพิ่ม
หรือลดได้ แต่มันสามารถเปลี่ยนรูปแบบ หรือเปลี่ยนที่อยู่ได้ เช่นพลังงานไฟฟ้าหรือกำาลังไฟฟ้า ที่ให้
กับพัดลมตัำงโต๊ะ 100 W อาจจะแปลงเป็นพลังงานกล 60 W ที่สูญเสียเป็นความร้อนที่ถ่ายออกที่ผิว
มอเตอร์ 40 W ความร้อนนีำก็ถ่ายเข้าสู่อากาศภายในห้องเปลี่ยนเป็นพลังงานภายในของอากาศ แม้แต่
พลังงานกล 60 W เองในที่สุดก็เปลี่ยนเป็นพลังงานภายในของอากาศในห้องเช่นกัน จะเห็นได้ว่า
พลังงานไฟฟ้า 100 W เปลี่ยนเป็นพลังงานภายในของอากาศในห้อง 100 W เท่าเดิม เพียงแต่ว่าคุณภาพ
หรือประโยชน์ของพลังงานภายในย่อมเทียบไม่ได้กับกำาลังไฟฟ้า ดังนัำนคำาว่าอนุรักษ์พลังงานก็คือการ
อนุพลังงานที่มีคุณภาพหรือประโยชน์สูงกว่าเอาไว้ โดยใช้แต่น้อยให้ได้ประโยชน์จริงๆ ไม่ได้หมายถึง
การอนุรักษ์พลังงานรวม เพราะพลังงานรวมมันอนุรักษ์ของมันเองโดยธรรมชาติอยู่แล้ว

2.3 H2O อุณหภูมิ 100 OC ความดัน 10,000 kPa ไหลเข้าหม้อนำำาในอัตรา 1 กิโลกรัม/วินาที ไหลออกที่
อุณหภูมิ 500 OC ความดัน 10,000 kPa จงหาอัตราความร้อนที่นำาได้รับ
3

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

ตอบ อาศัยกฎข้อ 1 สำาหรับระบบเปิด ละเว้นพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ ซึ่งหม้อนำำาย่อมไม่มีงาน


หรือกำาลังจะได้ดังนีำ
• •
Q = m [he – hi]
จากตารางนำำาสภาวะนำำาไหลเข้าเป็นของเหลวอัด hi = 426.48 kJ/kg ค่าประมาณเป็นของเหลวอิ่มตัวคือ
419.02 kJ/kg นำำาไหลออกเป็นไอร้อนยวดยิ่ง he = 3373.63 kJ/kg, m• = 1 kg/s จะได้ดังนีำ

Q = 1 x (3373.63–426.48) = 2947.15 kW หรือค่าประมาณ 2954.61 kW

FLUID MECHANICS
ข้อ 3. ชุดท่อดังแสดงไว้ในรูปนัำนที่ปลายด้านหนึ่งจะติดหัวฉีดและอีกข้างยึดติดกับหน้าแปลน ท่อดัง
กล่าวมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 40 เซนติเมตร และหัวฉีดมีปลายออกมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเท่ากับ 20 เซนติเมตร เปิดสู่บรรยากาศ นำำาไหลเข้าสู่ชุดท่อผ่านตำาแหน่งที่หน้าแปลน
มีความเร็วเท่ากับ 2 เมตร/วินาที และมีความดันเท่ากับ 100 กิโลปาสกาลเกจ ปริมาตรภายใน
ของชุดท่อและหัวฉีดมีคา่ เท่ากับ 0.15 ลูกบาศก์เมตร จงหาแรงที่ยึดชุดท่อและหัวฉีดให้อยู่กับที่

0.2 เมตร หัวฉีด


2

D = 0.4 เมตร

ต อ บ
กำาหนดให้ D1  0.4 เมตร D2  0.2 เมตร V1  2 เมตร/วินาที
p1  100 kPag p2  101.3 kPa  101.3  101.3  0 kPag
  0.15 ลูกบาศก์เมตร
จงหา จงหาแรงที่ยึดชุดท่อและหัวฉีดให้อยู่กับที่
4
เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

CV

Ry

Rx
y

v v v  v v v v
สมการพืนำ ฐาน F  FB  FS   V  d    V V dA
t cv cs

 v v
t cv
 d    V dA = 0
cs

ข้อสมมุติฐาน 1. เป็นของไหลอัดไม่ได้
2. เป็นการไหลแบบคงตัว
3. คุณสมบัติของของไหลสมำ่าเสมอตลอดหน้าตัดของปริมาตรควบคุมที่ของไหล
ไหลผ่าน
4. ละทิำงแรงจากมวลในทิศ x, FB  0 x

และจากเงื่อนไขในข้อสมมุติฐานที่ 2 เทอมที่เกี่ยวข้องกับ  t จะกลายเป็นศูนย์


เมื่อพิจารณาสมการการอนุรักษ์มวล จะได้
v v
 V dA   V A  V A
CS
1 1 2 2 0

2
A1 D1 0.42
V2  V1  V1 2  (2) 2  8 เมตร/วินาที
A2 D2 0.2
จากนัำนจึงพิจารณาแรงจากสมการโมเมนตัม
v v
ในทิศ x FS x   u V dA
cs

pa ACVx  pa ACVx  p1g A1  p2 g A2  Rx  V2 V2 A2  V1 ( V1 A1 )


Rx   V22 A2  V12 A1  p2 g A2  p1g A1

  
 103   8    0.2   103   2    0.4   0  100 103   0.4 
2 2 2 2 2

4 4 4
 15079.63 นิวตัน
v v
ในทิศ y FSy  FBy   V dA
cs

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547


5

แรงผิวในทิศ y ที่เกิดขึนำ จะมีจากจากผลต่างของแรงที่เกิดจากความดันบรรยากาศที่กระทำาต่อปริมาตร


ควบคุมในทิศ y และแรงจากมวลในปริมาตรควบคุมที่อยู่ในทิศ y และจะไม่มีองค์ประกอบของ
ความเร็วของนำำาในทิศทาง y ที่ผนังปริมาตรควบคุม ดังนัำนความสัมพันธ์ของแรงในแนว y จะลดรูปลง
เป็น
 pa ACVy  pa ACVy  Ry  W   g   0
Ry  W   g 
แต่เนื่องจากไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับนำำาหนักของตัวชุดท่อและหัวฉีด จีงอนุมานให้นำาหนักของชุดท่อและหัว
ฉีด (W ) มีค่าเท่ากับ 0
 103  9.81 0.15
Ry  1471.50 นิวตัน
แรงรวมทัำงหมดที่กระทำาต่อปริมาตรควบคุมจะมีค่าเป็น
v v v
R  15079.63i  1471.50 j นิวตัน
v
เนื่องจากปริมาตรควบคุมที่เขียนยึดติดกับตัวชุดท่อและหัวฉีด ดังนัำนแรง R ก็คือแรงที่กระทำาต่อตัวชุด
ท่อและหัวฉีดเพื่อยึดให้อยู่กับที่ คำาตอบจึงเป็น
v v v
R  15079.63i  1471.50 j นิวตัน Ans

ข้อ 4. นำำามันซึ่งมีคา่ ความหนาแน่นเท่ากับ 800 กิโลกรัม/เมตร 3 และมีคา่ ความหนืดคิเนเมติกเท่ากับ 6.8


x 10-6 เมตร 2/วินาที ถูกส่งผ่านท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 76 เซนติเมตรด้วยความเร็ว
เฉลี่ยเท่ากับ 1.1 เมตร/วินาที ท่อส่งดังกล่าวมีความขรุขระเทียบเท่ากับท่อ commercial steel ถ้า
หากว่าสถานีส่งนำำามันอยู่ห่างกันเท่ากับ 300 กิโลเมตร จงหาค่าการสูญเสียของนำำามันที่ไหลอยู่ใน
ระบบท่อระหว่างสถานีส่งนำำามันสองสถานี และจงหาค่ากำาลังงานที่ต้องใช้ในการส่งนำำามันจาก
สถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง

ตอบ
CV 2
CV 1

3 1 2

กำาหนดให้ D  0.76 เมตร ท่อเหล็ก commercial steel V  1.1 เมตร/วินาที


L  300 103 เมตร 2
  6.8  106 เมตร /วินาที   800
กิโลกรัม/เมตร 3
6
เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

จงหา จงหาค่าการสูญเสียของนำำามันที่ไหลอยู่ในระบบท่อระหว่างสถานีส่งนำำามันสองสถานี
และจงหาค่ากำาลังงานที่ต้องใช้ในการส่งนำำามันจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง
 p1 V12   p2 V22 
สมการพืนำ ฐาน   1  gz1    2  gz2   hl T
  2    2 

L V2 V2 L V2
hl T  f , hl m  K  f e
D 2 2 D 2
 Q  W shaft  W shear  W other  p V
2
r r
     e  d    (u    gz ) V d 
dt dt dt dt t cv cs
 2
2
เมื่อ e  u  V  gz
2
สำาหรับปริมาตรควบคุมที่ 1 (CV 1)

ข้อสมมุติฐาน 1. เป็นการไหลแบบพัฒนาเต็มที่แล้ว
2
V2 V
2. 1 1   2 2 เนื่องจากท่อไม่ได้เปลี่ยนขนาด
2 2
3. ท่ออยู่ในแนวนอน z1  z2
4. ความหนืดมีค่าคงที่
5. เป็นการไหลแบบคงตัว
6. มีแต่การสูญเสียหลัก
L V2
ค่าการสูญเสียรวมเท่ากับ hl T  f
D 2
 2 
A D  (0.76) 2  0.454 m2
4 4

เนื่องจาก f  f  ReD , e D 
VD VD 1.1 0.76
ReD     1.229 105
  6.8 10 6

จากค่าความขรุขระของท่อเหล็ก commercial steel e  0.046 มม.


3
e 0.046  10
 3
 6.05  105
D 760  10

เมื่อนำาค่า ReD และค่า e D ไปหาค่า f จากแผนภาพ Moody จะได้ f  0.0175


ดังนัำน ค่าการสูญเสียมีค่าเท่ากับ
7
เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

L V2 300 103 1.12


hl T  f  0.0175  4179.28 เมตร 2/วินาที2 Ans
D 2 0.76 2

จากสมการพลังงานที่ใช้กับท่อระหว่างสองสถานี จะถูกลดรูปลงเหลือ
L V2
p1  p2   f
D 2

และหากนำาสมการกฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ใช้กับเครื่องสูบ (ปริมาตรควบคุมที่ 2 (CV 2)


โดยมีข้อสมมุติฐานดังต่อไปนีำ
2
V12 V
ข้อสมมุติฐาน 1. 1  3 3 กำาหนดให้ท่อเข้าและออกของเครื่องสูบมีขนาดเท่ากัน
2 2
2. ท่อเข้าออกเครื่องสูบอยู่ในแนวนอนมีระดับเท่ากัน z1  z3
3. เป็นการไหลแบบคงตัว
4. ให้ความดันที่ออกจากเครื่องสูบเท่ากับ p1 และความดันที่เข้าเครื่องสูบ ( p3 )เท่ากับ
p2
Q
5. ให้เครื่องสูบมีประสิทธิภาพ 100 % หรือ m&(u2  u1 )  0
dt
W p p  L V2 
  m&( 1  3 )  VA( p1  p2 )  VA   f 
dt    D 2 
W  (.76) 2 300 103 1.12
  800(1.1) (0.0175)
dt 4 0.76 2
 1668.4 10 วัตต์
3

กำาลังงานที่ต้องใช้ในการส่งนำำามันจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งมีค่าเท่ากับ 1668.4 กิโลวัตต์ Ans

DYNAMICS
ข้อ 5. นักกระโดดร่มนายหนึ่งกระโดดร่มลงมาจากเครื่องบินที่บินอยู่ที่ระดับความสูง 1,600 เมตร ด้วย
ความเร็ว 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยในช่วงแรกยังไม่ได้กางร่ม ซึ่งเมื่อกางร่มแล้วเขาทราบดีว่า
จะเป็นการตกลงในแนวดิ่ง เมื่อเริ่มกระโดดเขาอยู่ห่างจากเป้าหมาย 500 เมตรตามระยะบนพืำนดิน
จงหาว่านักกระโดดร่มจะต้องเริ่มกางร่มเมื่อกระโดดลงมาเป็นเวลาเท่าไร และอยู่สูงจากพืำนดิน
เป็นระยะทางเท่าไร
8
เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

ตอบ
km m
¤ÇÒÁàÃçÇàÃÔèÁµé¹ã¹á¹ÇÃÒº
u ox := 200
hr
¤ÇÒÁàÃçÇàÃÔèÁµé¹ã¹á¹Ç´Ôè§
u oy := 0
s

x
àÇÅÒ·Õèãªé㹡ÒÃà´Ô¹·Ò§à»ç¹ÃÐÂÐ
x := 500m ; t :=
u ox

àÇÅÒ·Õèãªé¡è͹¡ÃеءÃèÁ t = 9 ÇÔ¹Ò·Õ
1
ÃÐÂзҧ·Õ赡ŧÁÒã¹àÇÅÒ
y := u oy ⋅ t + 9
2
g ⋅ ÇÔ¹Ò·Õ
t
2

¤ÇÒÁÊÙ§¨Ò¡¾×é¹
h := 1600m − y ; h = 1203m

ข้อ 6. กล่องใบหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม บรรทุกทรงกลมมวล 10 กิโลกรัมที่ห้อยด้วยเชือกที่ยาวเท่ากัน 2


o o
เส้นดังรูป กล่องดังกล่าวกำาลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือในแนวระดับ
60 60
ด้วยความเร่ง ถ้าเชือกทัำงสองเส้นสามารถรับแรง ดึงขาดได้ 100
นิวตัน จงหาความเร่งสูงสุดที่กล่องสามารถทำาได้โดยที่เชือกจะไม่
ขาด

ตอบ
ÁÇŢͧ·Ã§¡ÅÁ
m2 := 10kg ÁØÁ¢Í§àª×Í¡
θ := 60deg

áç´Ö§ÊÙ§ÊØ´·ÕèÂÍÁä´é
Tm := 100N

¾Ô¨ÒóÒÊÁ´ØÅã¹á¹Ç´Ôè§
Tm ⋅ cos ( 60deg ) − T1 ⋅ cos ( 60deg ) a ⋅ m2

m2 ⋅ g − Tm ⋅ sin ( θ )
T1 := T1 = 13.237N
sin ( θ )

¾Ô¨ÒóÒÊÁ´ØÅã¹á¹ÇÃдѺ
Tm ⋅ sin ( 60deg ) + T1 ⋅ sin ( 60deg ) m2 ⋅ g

Tm ⋅ cos ( 60 ⋅ deg ) − T1 ⋅ cos ( 60 ⋅ deg )


a :=
m2

m
¤ÇÒÁàÃè§ÊÙ§ÊØ´·ÕèÂÍÁä´éâ´Âàª×Í¡äÁè¢Ò´¤×Í
a = 4.338
2
s
9

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

STRENGTH OF MATERIAL
ข้อ 7. จงใช้หลักการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ตอบคำาถามต่อไปนีำ (20 คะแนน)
1.1 มอดุลัสภาคตัด (section modulus) คืออะไร หาค่าได้อย่างไร
ตอบ มอดุลัสภาคตัด คือ สมบัติเชิงเรขาคณิตของภาคตัด มีหน่วยเป็น m m 3 ถ้าภาคตัดสมมาตร
แกนสะเทินผ่านกึ่งกลางภาคตัด มอดุลัสภาคตัดมีเพียงค่าเดียว แต่ถ้าภาคตัดไม่สมมาตร มอดุลัสภาคตัด
จะมีสองค่า มอดุลัสภาคตัดหาค่Iาได้จากสมการ
z =Y
max

1.2 สมมติฐานที่ใช้กับทฤษฎีการบิดอย่างง่าย (simple torsion theory) มีอะไรบ้าง


ตอบ สมมติฐานที่ใช้ทฤษฎีการบิดอย่างง่ายคือ
1. เพลาตรง และมีขนาดภาคตัดเท่ากันตลอดคามยาว
2. วัสดุเพลามีเนืำอเอกพันธ์
3. วัสดุมีความยืดหยุ่น
4. ความเค้นเฉือนที่เกิดขึำนอยู่ภายในช่วงยืนหยุ่น
5. ภาคตัดกลมยังคงเป็นภาคตัดกลมหลังการบิด
6. ภาคตัดที่เป็นระนาบตรงก่อนการบิดก็ยังคงเป็นระนาบตรงหลังการบิด
7. เส้นรัศมีทุกเส้นบิดไปเป็นมุมเท่ากัน

1.3 Complementary shear stresses คืออะไร


ตอบ ความเค้นเฉือนที่อยู่บนระนาบ 2 ระนาบที่ตัำงฉากกัน และมีค่าเท่ากัน

1.4 Principal plane และ principal stresses คืออะไร


ตอบ ในระบบความเค้น 2 มิติ จะมีระนาบ 2 ระนาบที่ตัำงฉากกัน และบนระนาบนีำ ความเค้นเฉือนมี
ค่าเป็นศูนย์ ระนาบนีำมีชื่อเรียกว่า principal planes และความเค้นตัำงฉากบนระนาบเรียกว่า principal
stresses

1.5 มอดุลัสยืดหยุน
่ (modulus of elasticity) มอดุลัสเฉือน (shear modulus) และ อัตราส่วนของ
ปัวส์ซอง (Poisson’s ratio) มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ตอบ มอดุลัสยืดหยุน่ (modulus of elasticity) มอดุลัสเฉือน (shear modulus) และอัตราส่วนของปัวส์
ซอง (Poisson’s ratio) มีความสัมพันธ์กันดังนีำคือ
E = 2G(1+υ)
10

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

1.6 พลังงานความเครียด (strain energy) และ proof strain energy คืออะไร


ตอบ พลังงานความเครียด คือ พลังงานที่สะสมอยู่ในแท่งวัสดุเมื่อวัสดุนัำนได้รับแรงจากภายนอก
ส่วน proof strain energy คือ พลังงานความเครียดสูงสุดที่ชิำนวัสดุนัำนสามารถรับไว้ได้โดยไม่เกิด
ความเครียดถาวร

1.7 Flexible rigidity หมายความถึงอะไร


ตอบ EI

1.8 การใช้งานของคาน บางครัำงอาจสร้างคานจากวัสดุสองชนิด เช่น คานที่สร้างขึำนจากท่อน


ไม้สองท่อนประกบแผ่นเหล็กกล้า แล้วจึงยึดติดกันด้วยสลักเกลียวให้แน่น ท่านมีหลักการ
อย่างไรในการคำานวณปัญหาเกี่ยวกับคานที่ทำาด้วยวัสดุสองชนิดโดยใช้ทฤษฎีการดัดอย่าง
ง่าย
ตอบ วิธีการแก้ปัญหาในกรณีนีำก็คือ การเปลี่ยนภาคตัดของวัสดุชนิดหนึ่งให้เป็นภาคตัดของวัสดุ
ชนิดหนึ่งให้เป็น equivalent section ของวัสดุอีกชนิดหนึ่ง เช่นเปลี่ยนภาคตัดคานเดิมในโจทย์ให้เป็น
ภาคตัดใหม่ซึ่งเป็นไม้ทัำงหมด แล้วจึงคำานวณโดยใช้ทฤษฎีการดัดอย่างง่าย

1.9 ความเค้นเฉือนบนภาคตัดคานเกิดขึำนได้อย่างไร
ตอบ บนภาคตัดคานที่อยู่ภายใต้การดัด จะมีแรงเฉือนในแนวดิ่งกระทำาบนภาคตัดเสมอ แรงเฉือนนีำ
พยายามทำาให้เกิดการ slide ระหว่างภาคตัดในแนวดิ่งที่อยู่ติดกันบนคาน และขณะเดียวกันก็จะทำาให้
เกิด complementary shear stresses ขึนำ ในแนวระดับ เพื่อป้องกันไม่ให้ภาคตัดหมุน

1.10 ทฤษฎีของออยเล่อร์ (Euler) มีสมมติฐานอย่างไร


ตอบ สมมติฐานของทฤษฎีของออยเล่อร์ที่ใช้ในการหาโหลดมีดังนีำ

ข้อ 8. ลวดเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.7 mm ล้อมรอบด้วยลวดทองเหลืองหกเส้น แต่ละเส้นมี


ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 mm ถ้าความเค้นใช้งานในทองเหลืองเท่ากับ 62 MPa, จงคำานวณหา
(ก) ความสามารถในการรับแรงดึงของลวดทัำงหมด และ (ข) มอดุลัสรวมของลวด โดยกำาหนดให้
มอดุลัสยืดหยุน่ ของเหล็กและทองเหลือง เท่ากับ 200 และ 86 GPa ตามลำาดับ.
11

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

ตอบ

MANUFACTURING
ข้อ 9. จงอธิบายประเภทและองค์ประกอบที่สำาคัญของการแปรรูปวัสดุโดยวิธี Machining และยก
ตัวอย่างความสำาคัญของงาน machining ในการผลิตผลิตภัณฑ์สำาเร็จรูปที่มีการจำาหน่ายในท้อง
ตลาด

ตอบ
1. ประเภทของแปรรูปวัสดุโดยการ machining แบ่งเป็น
1.1 กระบวนการแปรรูปแบบคายเศษ ซึ่งได้แก่
- การกลึง (Turning) ซึงเป็นการขึำนรูปโดยขึำนงานหมุน Cutting Tool อยู่กับที่เป็นลักษณะการขึำน
รูปแบบทรงกลม
- การคว้าน (Boring) เป็นการขึำนรูปโดย การทำาให้รูของชัำนงานโตกว่าเดิมซึ่งจะใช้การกลึงหรือเจาะ
คว้านก็ได้
- การเจาะ (Drilling) เป็นการทำาให้ชิำนงานมีรูตามที่ต้องการ
- การทำาเกลียว (Threading / Tapping) เป็นการทำาให้รูหรือผิวภายนอกของ ชินำ งานเป็นเกลียวสำาหรับ
ยึด Bolt หรือ Nut
12

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

- การปาดหน้า (Facing) เป็นการทำาให้ผวิ หน้าชัำนงาน มีความเรียบ


- การไส (Shaping / planning) เป็นทางลดขนาดชิำนงานด้วยวิธีการปาดหน้า
- การแทงขึำนรูป (Broaching) เป็นการดันผิวโลหะ ให้เป็นรูปทรงที่ต้องการ
- การเลื่อย ( Sawing) เป็นการตัดชิำนงานให้มีขนาดสัำน หรือเล็กลง
- การขัดสี เจียรนัย (Grinding / Lapping) เป็นการทำาผิวหน้าชิำนงานให้มีความเรียบ
1.2 กระบวนการแปรรูปแบบไม่คายเศษ ได้แก่
- Ultrasonic Machining เป็นขึำนแปรรูปโดยใช้แรงสั่นสะเทือนความถี่สูง
- การใช้แรงฉีดนำำาและผงขัด
- Electro Chemical Machining (ECM) เป็นการใช้ประจุไฟฟ้าร่วมกับเคมี
- Electric Discharge Machine (EDM) เป็นการใช้ประจุไฟฟ้า ทำาให้ชนิำ งานหลอมละลาย และมีการ
ไหลของของเหลวที่เป็นสื่อไฟฟ้าไปไล่เศษชิำนงาน
- Wire Cut เป็นการตัดโลหะโดยใช้เส้นลวดเป็นสื่อไฟฟ้า

2. ความสำาคัญของงาน Machining
งาน Machining ใช้ในการผลิตชิำนส่วนที่ใช้ในสินค้าต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำาวันจำานวนมาก
เช่น รถยนต์ คอมเพรสเซอร์ของตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ ปั๊มนำำา เครื่องซักผ้า รวมทัำงเครื่องจักรอุปกรณ์
ต่างๆ
งานที่ผ่านขบวนการหล่อส่วนใหญ่จะต้องนำามา Machine จึงจะสามารถนำาไปใช้ประกอบเป็น
อุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ได้ โลหะที่ผา่ นขบวนการทุบขึำนรูป (Forging) ก็มักจะต้องนำาไป Machine
ต่อจึงจะเป็นชิำนส่วนที่นำาไปใช้ประโยชน์ตามที่ออกแบบไว้ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเช่น เฟืองเกียร์
ประเภทต่างๆ ชิำนส่วนช่วงล่างของรถยนต์เป็นต้น
งาน Machining เป็นขบวนการซึ่งเพิ่มคุณค่าของวัสดุทัำงโลหะและอโลหะ เนื่องจากปัจจุบัน
ความละเอียดของงาน Machining สามารถทำาได้ในระดับไมครอน จึงส่งผลให้ชิำนส่วนหรือผลิตภัณฑ์
ต่างๆมีคุณภาพและความคงทนสูงขึนำ ตัวอย่างเช่นการผลิตนาฬิกา ซึ่งมีชิำนส่วนซึ่งผ่านงาน
Machining ชนิดละเอียด สามารถผลิตเป็นนาฬิกาที่มีคุณภาพสูงและมีความคงทนในการใช้งานเป็น
อย่างดี
13

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

ข้อ 10. หากท่านได้รับหน้าที่เป็นผู้จัดการหน่วยงานบริหารคุณภาพของบริษัทผลิต Compressor ตู้เย็น


ซึ่งมีขบวนการผลิตชิำนส่วนภายในโรงงานและมีการจัดซืำอชิำนส่วนจาก Supplier นำามาประกอบ
เป็น Compressor สำาเร็จรูป บริษัทมีพนักงานรวม 500 คน ท่านจะมีหลักในการบริหารงานและมี
แผนงานในการทำางานที่สำาคัญอย่างไร

ตอบ
1. หลักในการบริหารงานของผู้จัดการหน่วยงานบริหารคุณภาพ
1) สำาหรับโรงงานที่มีพลังงาน 500 คน และมีขบวนการทัำงผลิตชิำนส่วนและประกอบ
สินค้าสำาเร็จรูป จำาเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่ด้านควบคุมและประกันคุณภาพประมาณ 25
คน โดยอาจแบ่งเป็นหน่วยงานควบคุมคุณภาพ 20 คน และหน่วยงานประกัน
คุณภาพ 5 คน ดังนีำ
1.1 หน่วยงานตรวจสอบชิำนส่วนและวัตถุดิบ ทำาหน้าที่ควบคุมคุณภาพชิำนส่วนและ
วัตถุดิบที่สั่งซืำอจากหน่วยงานนอกบริษัท
1.2 หน่วยงานควบคุมคุณภาพสายการผลิตชิำนส่วน ทำาหน้าที่สุ่มตรวจชิำนงานใน
ขบวนการผลิตรวมทัำงการประสานงานกับฝ่ายผลิตเพื่อแก้ไขปัญหาคุณภาพรวมทัำง
การพัฒนาและปรับปรุงให้ชิำนส่วนต่างๆ มีคุณภาพดีขึำน
1.3 หน่วยงานควบคุมคุณภาพสายการประกอบ Compressor ทำาหน้าที่ตรวจสอบคุณ-
ภาพผลิตภัณฑ์สำาเร็จรูป รวมทัำงการสุ่มตรวจจุดสำาคัญๆ ในขบวนการประกอบ เช่น
จุดที่ต้องมีการตรวจสอบแรงขัน Nut Screw รวมทัำงการสุ่มตรวจผลิตภัณฑ์สำาเร็จรูป
ให้เป็นไปตามข้อกำาหนดเป็นต้น
2) หลักการบริหารงานทั่วไป ซึ่งจะส่งเสริมให้มีการพัฒนาระดับคุณภาพของการทำางาน
และสินค้าให้ดียิ่งขึำน เช่น
2.1 การส่งเสริมการทำากิจกรรม 5 ส Safety ควบคู่ไปกับการทำากิจกรรม QC Circle
รวมทัำงการกำาหนดให้มีการเสนอข้อเสนอแนะ โดยมีการปรับปรุงงานอย่างเป็นรูป
แบบโดยมีการกำาหนดรางวัลเพื่อเป็นการส่งเสริมและสร้างกำาลังใจ
2.2 มีการทำาให้ทุกฝ่ายตัำงแต่ Top Management จนถึงพนักงานประจำาเครื่องทุกคน
ตระหนักในความสำาคัญของคุณภาพและร่วมลงมือ ในการสร้างให้เกิดคุณภาพที่ดีใน
ทุกขัำนตอนของการทำางานใช้หลัก PDCA อย่างต่อเนื่อง ในการดำาเนินงานเพื่อให้เกิด
14
ผลที่ดีขึำนเป็นลำาดับ รวมทัำงมีการเก็บข้อมูลเพื่อนำาไปวิเคราะห์หาวิธีแก้ไขปัญหาได้
อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิผล

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

3) มีการพัฒนาบุคลากรโดยจัดให้มีการอบรมในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ
เช่น QC , 7 Tools หลักการใช้สถิติต่างๆ รวมทัำงการฝึกทักษะต่างๆ เช่น การใช้
เครื่องมือวัดอย่างถูกวิธี
2. แผนงานในการทำางานที่สำาคัญ คือการวางแผนและดำาเนินการให้ได้รับการรับรองระบบ
คุณภาพ เช่นระบบ ISO – 9002 โดยรับหน้าที่เป็น QMR และปฏิบัติตามขัำนตอนดังนีำ
1. ศึกษาและเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับระบบคุณภาพ ISO-9002 เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจ
โดยละเอียด
2. ดำาเนินการให้มีการแต่งตั้งทีม ISO-9002 โดยเป็นหัวหน้างานในแต่ละแผนกแต่ละหน่วยงานที่
มีความเกี่ยวข้องกับระบบ ISO-9002 ประมาณ 15-20 คน
3. จัดอบรมหลักสูตร ISO-9002 ให้แก่ทีมงาน
4. วางนโยบายบริษัทและจัดทำาแผนงาน ISO-9002 ในระยะเวลา 1.5 ปี
5. ประกาศและประชาสัมพันธ์ให้พนักงานและองค์กรรับทราบ
6. จากนัำนให้ผู้รับผิดชอบข้อกำาหนดต่างๆ จัดทำาเอกสารตามข้อกำาหนดที่ระบุไว้ให้มีความสัมพันธ์
กับกระบวนการผลิต
7. แต่งตั้งผู้ช่วย QMR และทีมงานคณะกรรมการ ISO-9002 ของบริษัทตามผังองค์กรของ
บริษัท
8. เมื่อจัดทำาเอกสารคู่มือคุณภาพ (QM), เอกสารระเบียบปฏิบัติ (QP), เอกสารวิธีปฏิบัติงาน
(WI), เอกสารแบบฟอร์มต่างๆ (FM) รวมทั้งเอกสารสนับสนุนอื่นๆ เช่น มาตรฐานงาน

ผลิต เมื่อจัดทำาเอกสารเหล่านี้เสร็จแล้วตรวจสอบอีกครั้ง
9. จัดอบรมแก่พนักงานทั้งหมดโดยให้ทีมงานเป็นผู้อบรมตามเอกสาร QM, QP, WI, FM. หลัง
จากนั้นประกาศใช้เอกสารดังกล่าวและทดลองทำางานตามระบบที่จัดทำาไว้ระยะหนึ่ง
10. กำาหนดแผนงานตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal Audit) และจัดทีมงานตรวจติดตาม
คุณภาพภายใน โดยทีมงานดังกล่าวต้องผ่านการฝึกอบรมผู้ตรวจติดตามคุณภาพภายในก่อน
11. จัดให้มีการประชุมตรวจติดตามคุณภาพภายในโดย QMR เป็นประธาน แจ้งให้พนักงาน
ทุกในบริษัททราบ
12. ตรวจติดตามคุณภาพภายในเพื่อทราบปัญหาการดำาเนินการตามระบบ ISO-9002 ในกรณีถ้า
พบปัญหาให้ออกใบขอแก้ไขปัญหา (ใบ Corrective Action Requirement) โดยวิเคราะห์
15
ว่าปัญหาของระบุเกิดจากอะไรเช่น เกิดจากผู้ปฏิบัติหรือเกิดจากเอกสารที่จัดทำาขึ้นมา ถ้าเกิด
จากผู้ปฏิบัติงานให้จัดอบรมใหม่ ถ้าเกิดจากเอกสารให้ออกใบ CAR เพื่อแก้ไขเอกสาร
13. QMR สรุปจำานวนใบ CAR และแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องแก้ไขปัญหาโดยด่วน

เฉลยข้อสอบกลุ่มวิชาบังคับ ครั้งที่ 2/2547

14. ทำาการคัดเลือกบริษัทที่รับรองระบบคุณภาพ ISO-9002 เพื่อทำาการตรวจรับรองระบบ


คุณภาพในโรงงาน
15. เมื่อบริษัทที่ออกใบรับรองมาตรวจเพื่อออกใบรับรองระบบมาตรวจ และอาจพบข้อ
บกพร่องหลัก 1-2 ข้อ และข้อบกพร่องย่อมให้ QMR ทำาการแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าว
และแจ้งให้บริษัทที่ออกใบรับรองทราบ และบริษัทดังกล่าวจะแจ้งผลการตรวจกลับมา
16. ดำาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง และประสานงานกับผู้ตรวจรับรองระบบคุณภาพ ISO-9002
จนได้รับประกาศนียบัตรรับรองระบบ

You might also like