ข้อสอบสามัญเครื่องกล Pump and Fan 3/2547

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

1

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

ขอสอบมีทั้งหมด 6 ขอ เลือกทํา 5 ขอ ๆ ละ 20 คะแนน


ขอ 1. จงอธิบายปรากฏการณคาวิเตชั่น และตําแหนงการเกิดคาวิเตชั่นในระบบเครื่องสูบน้ํา และสาเหตุ
จงอธิบายวาจะตรวจสอบการเกิดคาวิเตชั่นในระบบเครื่องสูบไดอยางไร
จงอธิ บายคาหั ว ดูด สุ ท ธิที่ เป น บวก (Net Positive Suction Head) ที่ เกี่ยวข องกั บ เครื่องสู บ และ
ประโยชนของการใชคา ดังกลาวในการติดตั้งเครื่องสูบน้ํา
(20 คะแนน)
ตอบ
ปรากฏการณคาวิเตชั่นเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเนื่องจากของเหลวมีคาความดันสถิตเฉพาะที่ต่ํา
กวาความดันไอของมัน ซึ่งก็จะทําใหของเหลวดังกลาวเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเปนฟองไอขึ้น
เปนจํานวนมาก เมื่อฟองไอเหลานี้เคลื่อนตัวไปอยูในต่ําแหนงที่มีความดันสูงขึ้น ฟองไอจะแตกออก และ
ของเหลวที่อยูรอบฟองไอจะไหลเขาสูชองวางที่เกิดจากการแตกตัวของฟองไออยางฉับพลัน ทําใหเกิด
การกระแทกของของเหลว กอใหเกิดการสั่นสะเทือน และเกิดการกัดกรอนของผิวโลหะที่อยูใกล นอก
จากนี้มักจะมีเสียงดังตามมาดวย
ปรากฏการณคาวิเตชั่นมักเกิดขึ้นที่บริเวณปากทางเขาและบริเวณใบพัดของเครื่องสูบน้ํา
สาเหตุของปรากฏการณคาวิเตชั่นนั้นคือ การที่ของเหลวมีความเร็วสูงมากจนสงผลใหความดัน
สถิตเฉพาะที่ของของเหลวในบริเวณนั้น ๆ ลดต่ําลงกวาความดันไอ ก็จะเกิดปรากฏการณคาวิเตชั่นขึ้น
ปรากฏการณคาวิเตชั่นมักเกิดขึ้นที่บริเวณปากทางเขาและบริเวณใบพัดของเครื่องสูบน้ํา และในระบบทอ
ที่มีการออกแบบที่ไมดี
ในการตรวจสอบวาในระบบการไหลจะมีปรากฏการณคาวิเตชั่นเกิดขึ้นหรือไม หากไมมีเครื่อง
มือเฉพาะก็อาจสามารถสังเกตไดดวยการฟงเสียงในสวนที่เกิดปรากฏการณ คาวิเตชั่น ซึ่งจะมีเสียงดัง
เหมือนกอนกรวดไหลกระแทกผิวโลหะ หรือสังเกตจากการสั่นสะเทือน และตรวจวัดจากสัญญาณการสัน่
สะเทือน
คาหัวดูดสุทธิที่เปนบวก จะถูกนิยามเปนคาความแตกตางระหวางคาความดันสแตกเนชั่นสัมบูรณ
(absolute stagnation pressure) ของของเหลวที่ชองขาเขาของเครื่องสูบกับคาความดันไอของของเหลว
โดยที่คาความแตกตางดังกลาวจะถูกแสดงอยูในรูปของคาหัวของการไหล
ประโยชนของการใชคาหัวดูดสุทธิที่เปนบวกในการติดตั้งเครื่องสูบน้ํา คือการนําเอาคาดังกลาว
มาใชเพื่อหลีกเลี่ยงปรากฏการณคาวิเตชั่น ซึ่งจะกระทําไดโดยการทําใหความดันของของเหลวในเครื่อง
จักรหรือระบบการไหลสูงกวาความดันไอของของเหลวเสมอ และพยามติดตั้งระบบทอและเครื่องสูบน้ํา
ใหคาหัวดูดสุทธิที่เปนบวกที่มีอยูใหมีคาสูงกวาคาหัวดูดสุทธิที่เปนบวกที่ตองการของเครื่องสูบน้ํา
2

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

ขอ 2. หากมีเครื่องสูบ น้ํ าเครื่องหนึ่ งมีคาหัวดูดสุ ทธิที่ เปน บวกซึ่ งเปนที่ ตองการ (Net Positive Suction
Head Required, NPSHR) เทากับ 4 เมตร ถาความสูญเสียจากความเสียดทานทางทอดานดูดมีคา 0.8
เมตร จงคํานวณวาจะสามารถติดตั้งเครื่องสูบน้ําสูงกวาระดับผิวน้ํ าที่ดูดไดเทาไรโดยยังไมเกิด
ปรากฏการณคาวิเตชั่น หากกําหนดใหคาความดันบรรยากาศเทากับ 101 กิโลปาสกาล และน้ํามี
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และจงหาคาหัวดูดสุทธิที่เปนบวกที่มีอยู (Net Positive Suction Head
Available, NPSHA) เมื่อเครื่องสูบน้ําทํางานใหอัตราการไหลเทากับ 60 ลิตรตอนาที ทอเขาของ
เครื่องสูบน้ํามีเสนผานศูนยกลางเทากับ 150 มิลลิเมตร และอานคาความดันบนมาตรวัดความดันที่
ทอดานเขาของเครื่องสูบน้ําไดเทากับ –7 กิโลปาสกาล หากกําหนดใหคาความดันบรรยากาศเทา
กับ 101 กิโลปาสกาล และน้ํามีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส (20 คะแนน)

ตอบ
กําหนดให NPSHR = 4 เมตร ∆hl = 0.8 เมตร
และเมื่อ NPSHA ≥ NPSHR
patm p
NPSHA = − ∆z − hl − ν
ρg ρg
pν ของน้ําที่ 25 ซ ช 3.17 x 103 ปาสกาล
เมื่อแทนคาสมการจะได
101× 103 3.17 × 103
4 = − ∆z − 0.8 −
103 × 9.81 103 × 9.81
∆z = 5.17 เมตร
ดังนั้น เครื่องสูบน้ําจะติดตัง้ ไดสูงไมเกิน 5.17 เมตร Ans

เมื่อ อัตราการไหล Q = 60 ลิตร/นาที D = 0.15 เมตร p1g = -7 กิโลปาสกาลเกจ


Q 60 ×10−3 / 60
V = = = 0.056 เมตร/วินาที
A π / 4(0.15) 2
ps 0 − pν ps + 1/ 2 ρV 2 − pν psg + patm + 1/ 2 ρV − pν
2

NPSHA = = =
ρg ρg ρg
101×103 − 7 ×103 + 1/ 2 × 103 × (0.056) 2 − 3.17 × 103
=
103 × 9.81
NPSHA = 9.26 เมตร Ans
3

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

ขอ 3. จงอธิบายวา หากตองเลือกพัดลมแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal fan) มาใชงานขับเคลื่อนอากาศใน


งานทางวิศวกรรม ทานจะมีหลักเกณฑในการเลือกพัดลมชนิดไหน ระหวาง พัดลมแบบใบโคงไป
ดานหนา (Forward curve blade) พัดลมแบบใบโคงไปดานหลัง (Forward curve blade) พัดลมแบบ
ใบตรง (Radial blade) โดยพิจารณาจากขอดีและขอดอยของหัวขอตอไปนี้เปนอยางนอย รูปราง
สมรรถนะ กําลังงาน เสียง และชนิดอากาศที่ขับเคลื่อน (ใหพิจารณาและอธิบายประกอบกับเสน
โคงสมรรถนะของพัดลม) (20 คะแนน)

ตอบ
คาความดัน และ ประสิทธิภาพ

ความ
ดันรว

คว

กําลังงาน
าม
ดัน
สถ
ิต

รวม
ธิภาพ
ส ทิ
ประ
งาน ประ
กําลัง สิท ธิภา
พสถ
ิต

อัตราการไหล

สมรรถนะพัดลมที่มีใบพัดแบบใบโคงไปทางดานหนา

พัดลมที่มใี บพัดแบบใบโคงไปทางดานหนา
ขอดี รูปรางเล็ก กะทัดรัด ความเร็วรอบต่ํา ที่อัตราการไหลเดียวกัน เสียงไมสูงที่อัตราไหลเดียว
กันเมื่อเทียบกับพัดลมแบบอื่น แตที่ความเร็วรอบเดียวกันเสียงจะดังกวาพั ดลมแบบอื่น อากาศที่ขับ
เคลื่อนเปนอากาศสะอาด ราคาถูกกวาพัดลมที่มีใบพัดแบบใบโคงไปทางดานหลัง
ขอดอย มีชวง surge ที่อัตราการไหลที่ต่ํา และ กําลังงานจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเพิ่มอัตราการไหล
ทําใหอาจเกิด overload ไดถาเลือกมอเตอรไมเหมาะสม แลวเกิดการทํางานตางจากจุดออกแบบ
4

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

ความ
ด ันรวม
ความ
ดันสถ
คาความดัน และ ประสิทธิภาพ

ิต

กําลังงาน
รว
าพ
ส ทิ ธิภ
ประ


ังงา
กําล

ปร
ะส
ิทธ
ิภา
พส
ถิต
อัตราการไหล

สมรรถนะพัดลมที่มีใบพัดแบบที่มีปลายตรงชี้ตามแนวรัศมี

พัดลมที่มีใบพัดแบบใบตรง
ขอดี ใชกับอากาศขับเคลื่อนที่ไมสะอาดได
ขอดอย มีชวง surge ที่อัตราการไหลที่ต่ํา และ กําลังงานจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเพิ่มอัตราการไหล
ทําใหอาจเกิด overload ไดถาเลือกมอเตอรไมเหมาะสม แลวเกิดการทํางานตางจากจุดออกแบบ รูปราง
ใหญ ความเร็วรอบสูง เสียงจะดัง
ว ม
ความดันร
ถิต
ความดันส
คาความดัน และ ประสิทธิภาพ

กําลังงาน

รวม

ิ ธิภาพ
ังงาน ประ ส
กําล
พสถิต
ระ ส ิทธิภา

อัตราการไหล

สมรรถนะพัดลมที่มีใบพัดแบบใบโคงไปดานหลัง

พัดลมที่มีใบพัดแบบใบโคงไปทางดานหลัง
ขอดี เสียงเงียบ ประสิทธิภาพสูง รูปรางใหญกวา อากาศที่ขับเคลื่อนเปนอากาศสะอาด กําลังงาน
ลดลงเมื่ออัตราไหลเพิ่มขึ้น ทําใหไมเกิด overload ไดถาเกิดการทํางานตางจากจุดออกแบบ
ขอดอย ราคาแพง อัตรารอบสูง
5

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

ขอ 4. พัดลมเครื่องหนึ่งทํางานโดยดูดเอาอากาศเขาพัดลมโดยตรง (ไมมีการตอทอดานเขา) แตมีการตอ


ทอทางดานออกเขากับ พัดลม พัดลมทํางานอยูที่อัตราเร็วรอบเทากับ 500 รอบตอนาที ใหอัตราการ
ไหลเทากับ 10,000 ลูกบาศกฟุตตอนาที คาความดันรวมที่วัดที่ปากทางออกของพัดลมมีคาเทากับ
1.75 นิ้วน้ําเกจ หากทอออกมีพื้นที่ภาคตัดขวางเทากับ 6.5 ตารางฟุต จงหาคาความดันสถิตของ
พัดลม และถาหากพัดลมดังกลาวเปลี่ยนอัตราเร็วรอบเปน 700 รอบตอนาที จงหาคาอัตราการไหล
และความดันสถิตของพัดลมที่เงื่อนไขการทํางานใหม กําหนดใหความหนาแนนอากาศมีคาเทากับ
0.00233 สลักตอลูกบาศกฟุต (20 คะแนน)

ตอบ
กําหนดให N = 500 รอบ/นาที Q = 10000 CFM pt outlet = 1.75 in.WG. A = 6.5 ft2
จงหาคาความดันสถิตของพัดลม psF
จาก หนังสือกลศาสตรของไหล โดย สมศักดิ์ ไชยะภินันท สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
บทที่ 9 หนา 523-524
นิยาม ของ ความดันรวมของพัดลม ptF เปน
ptF = pt 2 − pt1 หรือ ptF = pt outlet − pt inlet
นิยามของความดันจากความเร็วของพัดลม pν F เปน
pν F = pν 2 = pν outlet
นิยาม ของ ความดันสถิตของพัดลม psF เปน
psF = ptF − pν F
ดังนั้น
Q 10000
V = = = 1538.46 fpm = 25.64 fps
A 6.5

1/ 2 ρV 2 1/ 2 × 0.00233 × 25.642
pν outlet = = = 0.01227 ft WG.
ρ H 2O g 1.94 × 32.2
pν outlet = 0.01227 ×12 = 0.1473 in.WG.
เนื่องจากพัดลมในโจทยขอนี้ไมมีการตอทอลมขาเขา
ที่ตําแหนงขาเขาคาความดันรวมเขียนไดเปน
pt inlet = ps inlet + pν inlet
เมื่อไมมีทอขาเขา pν inlet =0
6

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

และเนื่องจากวัดคาความดันเทียบกับความดันเกจ
ดังนั้นความดันรวมที่ขาเขาจะเทากับความดันบรรยากาศ ซึ่งมีคาเปน 0 เมื่อเทียบกับความดันเกจ
pt inlet = ps inlet = 0 in.WG.
ความดันสถิตของพัดลมจึงมีคาเปน
psF = ptF − pν F = ( pt outlet − pt inlet ) − pv outlet
psF = (1.75 − 0) − 0.1473 = 1.603 in.WG. Ans

จากกฎของพัดลม
Q1 N1
=
Q2 N 2
N 700
Q2 = 2 Q1 = 10000 = 14000 CFM Ans
N1 500
ps1 N12
และ =
ps 2 N 2 2
N22 7002
ps 2 = 2 ps1 = 1.603 = 3.141 in.WG. Ans
N1 5002

ขอ 5. จงระบุและอธิบายถึงขอแตกตางระหวางเครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal Compressor)


กับ เครื่องอัดอากาศแบบการขจัดเปนบวก (Positive Displacement Compressor) ในหัวขอตอไปนี้
หลักการทํางาน รูปราง สมรรถนะ(ความสัมพันธของความดันที่ทําไดกับอัตราการไหล) ขอดีและ
ขอดอย และขอควรระวังในการติดตั้ง และอุปกรณประกอบที่สําคัญ (20 คะแนน)

ตอบ
หลักการทํางาน รูปราง และสมรรถนะ
เครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยงจะทํางานโดยอัดอากาศใหมีความดันสูงขึ้นโดยการดูดเอาอากาศ
ผานใบครีบนําทางเขาสูตัวใบพัดที่ตรงจุดศูนยกลางใบพัด แลวจึงถูกเรงความเร็วของอากาศผานใบพัดซึ่ง
จะถูกสงออกตามแนวรัศมีของใบพัดตามความโคงของใบพัด และอากาศที่มีความเร็วสูงจะถูกเปลี่ยนพลัง
งานจลนใหมาอยูในรูปของพลังงานศักย หรืออีกนัยหนึ่งเพิ่มเปนความดันโดยใชตัวเปลือกนอกในสวนที่
ถูกออกแบบเปน diffuser โดยทั่วไปสมรรถนะของเครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยง ความดันจะแปรตาม
7

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

อัตราการไหลเปนเสนโคง ที่เมื่ออัตราการไหลเพิ่มขึ้นความดันมักลดลง และจะมีชวงการทํางานอยูใน


ชวงที่ออกแบบ เนื่องจากจะมีปญหาของ surge อยูทางดานอัตราการไหลต่ํา และchoke ที่ดานอัตราการ
ไหลสูง และสมรรถนะความสามารถในการเพิ่มความดันจะแปรตามความเร็วรอบของเครื่องอัด
เครื่องอัดอากาศแบบการขจัดเปนบวก จะทํางานโดยกักอากาศอยูในชองที่มีปริมาตรที่ปดและทําการ
เพิ่มความดันโดยการเปลี่ยนแปลงปริมาตรใหเล็กลง ลักษณะของเสนสมรรถนะจะเปนเสนที่คอนขางชัน
โดยที่คาความดันจะแปรตามอัตราการไหลคอนขางนอย และเสนความดันจะสามารถเพิ่มขึ้นไดอยางตอ
เนื่องตางกับลักษณะเสนโคงสมรรถนะของเครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยง และเครื่องอัดอากาศแบบการ
ขจัดเปนบวก ถาเปนแบบชักกลับไปมาก็จะทําใหการไหลของอากาศเปนการไหลแบบชวง ๆ เครื่องอัด
อากาศที่การขจัดเปนบวกจะสามารถใหความดันไดสูงกวาแบบแรงเหวี่ยงที่อัตรารอบเดียวกัน และจะ
สามารถใชกับอากาศที่ไมสะอาดไดดีกวา
เครื่องอัดทั้งสองแบบ ตองมีระบบและอุปกรณกําจัดความชื้นของอากาศ และสําหรับเครื่องอัดอากาศ
แบบการขจัดเปนบวกจะตองติดตั้งมีวาลวนิรภัยปลดปลอยความดันเพื่อปองกันการที่ความดันสูงเกินคา
ออกแบบจนเกิดอันตรายได

ขอ 6. จงระบุและอธิบายถึงขอแตกตางระหวางเครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal Compressor)


กับ เครื่องอัดอากาศแบบไหลตามแกน (Axial Flow Compressor) ในหัวขอตอไปนี้
หลักการทํางาน รูปราง สมรรถนะ(ความสัมพันธของความดันที่ทําไดกับอัตราการไหล) ขอดีและขอ
ดอย และขอควรระวังในการติดตั้ง และอุปกรณประกอบที่สําคัญ (20 คะแนน)

ตอบ
เครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยงมีการทํางานโดยจะดูดอากาศผานเขาสูใบพัดที่ตรงจุดศูนยกลาง
ของใบพัดแลวถูกปลอยออกตามแนวรัศมีของใบพัดและความโคงของใบพัด ดังนั้นการไหลของอากาศจะ
เปนแบบการไหลตามแนวรัศมี ในขณะที่การไหลในเครื่องอัดอากาศแบบไหลตามแกน อากาศจะไหลเขา
สูใบพัดของเครื่องอัดอากาศตามแนวแกนการหมุน เครื่องอัดทั้งสองแบบมักจะมีใบครีบนําทาง และอาจมี
เสตจมากกวาหนึ่งได เนื่องจากเครื่องอัดทั้งสองเปนเครื่องอัดแบบพลวัตรทั้งคู สมรรถนะของเครื่องอัด
ในรูปของความดันกับอัตราการไหล จะมีคาแปรตามกันเปนเสนโคงที่ลดลงเมื่ออัตราการไหลเพิ่มขึ้น
และตางมีคาความดันมากขึ้นเมื่อเพิ่มอัตราความเร็วรอบของใบพัดใหสูงขึ้น เครื่องอัดทั้งสองตางมีปญหา
ของการ surge อยูทางดานอัตราการไหลต่ํา และchoke ที่ดานอัตราการไหลสูงเหมือนกัน ทําใหชวงการ
ทํางานบนเสนสมรรถนะจะอยูในชวงที่ออกแบบเทานั้น ไมเหมือนกับของเสนสมรรถนะของเครื่องสูบ
8

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 5 (Pump / Fan / Compressor) ครั้งที่ 3/2547

และเครื่องอัดอากาศแบบไหลตามแกนจะใหคาอัตราการไหลมากกวาเครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยงใน
ขนาดเดียวกันและในเงื่อนไขการทํางานที่อัตราเร็วรอบเทากัน และในทํานองเดียวกันเครื่องอัดอากาศ
แบบแรงเหวี่ยงจะใหคาความดันสูงกวาเครื่องอัดอากาศแบบไหลตามแกนในขนาดและอัตราความเร็ว
รอบเดียวกัน การติดตั้งตองมีอุปกรณปองกันความชื้นและความสกปรกของอากาศที่เขาสูเครื่องอัด

You might also like