ข้อสอบสามัญเครื่องกล Boiler 3/2549

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 3/2549

ขอสอบมีทั้งหมด 2 สวน ใหทําทั้งหมด


สวนที่ 1 มีทั้งหมด 50 ขอยอยใหกากบาท (X) ขอที่คิดวาถูกตองหรือดีที่สุดเพียงขอเดียว โดยตอบ
ในกระดาษ คําตอบที่จัดไวให (ขอละ 1 คะแนน)
1. ขอใดไมใชหนาที่ของ Soot Blower
ก. เพื่อปองกันความเสียหายแบบ High Temp. Corrosion
ข. เพื่อทําความสะอาด พื้นที่รับความรอน ลดการสะสมของ Deposits
ค. เพื่อทําความสะอาด พื้นที่รับความรอน ดานสัมผัสน้ํา
ง. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการถายเทความรอน
2. อะไรคื อ หน า ที่ ห ลั ก ของ Steam –Air Preheater ที่ ติ ด ตั้ ง ไว ด าน Air ก อ นเข า Main Gas-Air
Preheater
ก. เพื่อชวยใหการเผาไหมสมบูรณ
ข. เพื่อปองกันความเสียหายแบบ Low Temp. Corrosion
ค. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหกับหมอไอน้ํา
ง. เพื่อลดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม
3. วัสดุที่ใชในการผลิต ทอ สําหรับหมอไอน้ํา SA 213 T22 มี Composition หลักเปนเชนไร
ก. Carbon-0.5 Mo.
ข. 1.25 Cr. – 0.5 Mo.
ค. 2 Cr. -0.5 Mo.
ง. 2.25 Cr. – 1 Mo.
4. ขอควรระวังในการเขาตรวจสภาพใน Steam Drum
ก. ระวังสิ่งของตกหลนภายใน Drum
ข. การทํา PT.หามใชสารระเหยที่ติดไฟ
ค. ระวังการเกิด Arc Strike ที่ผิว Drum
ง. ถูกทุกขอ
5. ASME Section ใดที่ใชในการอางอิง สําหรับงาน Welding and Brazing
ก. ASME Section I
ข. ASME Section II
ค. ASME Section V
ง. ASME Section IX

1
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

6. ชิ้นสวนใด ของ Fuel Firing Equipment ที่หากชํารุดแลวจะเกิดความเสี่ยงตอการใชงานมากที่สุด


ก. Flame Scanner ชํารุด
ข. Oil Heater รั่ว
ค. Oil Gun มีรอย Crack
ง. Igniter จุดไมติด
7. การตรวจหาคา Acid Dew Point ดาน Flue Gas Outlet จําเปนตองตรวจวัดหาคาใดเปนหลัก
ก. NOXและSO2
ข. H2OและSO2
ค. NOXและSO3
ง. H2OและSO3
8. ในหลายประเทศ มักจะระบุขนาดของ Boiler เปน MW ความหมายของมัน คือ
ก. คาเทียบเทาของอัตราไอน้ําที่ผลิตไดเปน ตัน/ชั่วโมง
ข. คา Evaporation Ratio ของ Boiler
ค. อัตราความรอนที่น้ําปอนไดรับในการเปลี่ยนไปเปนไอน้ํา
ง. ไมถูกทั้ง 3 ขอ
9. ปกติ Fired-tube Boiler ผลิตไอน้ําไดไมเกิน
ก. 18 bar
ข. 28 bar
ค. 36 bar
ง. 48 bar
10. ตะกรัน และตะกอนที่อยูใน Boiler เกิดจาก
ก. ของแข็งละลายในน้ําปอน
ข. กาซละลายในน้ําปอน
ค. สะเก็ดของ Oxides ของโลหะ
ง. ถูกทุกขอ
11. ทําไมไอเสียที่ออกจาก Boiler ที่ใชน้ํามัน จึงถูกจํากัดไมใหต่ํากวา 150°C
ก. ถาสูงกวานั้น ประสิทธิภาพ Boiler จะต่ํามาก
ข. ถาต่ํากวานั้น ไอน้ําอาจควบแนนแลวรวมตัวกับไอเสียเกิดฝนกรด
ค. ถาสูงกวานั้น จะทําใหไอเสียลอยออกปลองเร็วเกินไป
ง. ไมถกู ทุกขอ

2
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

12. น้ําปอนเขา Boiler มีคา TDS = 150 ppm ในขณะที่ Boiler อนุญาตใหมีคาไดไมเกิน 3,500 ppm
จะตอง Blow down คิดเปนรอยละเทาไรของอัตราไอน้ําที่ผลิตได
ก. 2.57%
ข. 7.69%
ค. 10.12%
ง. 4.48%
13. Boiler ลูกหนึ่ง ใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิง ซึ่งมีคาความรอนสูง 40.5 MJ/ลิตร ราคาลิตรละ 18
บาท ไอน้ําที่ผลิตไดเปนไอน้ําอิ่มตัวที่ 9 bar อัตรา 6 ตัน/ชั่วโมง น้ําปอนเขามีอุณหภูมิ 60°C
ประสิทธิภาพ Boiler = 80% จงคํานวณหาตนทุนราคาไอน้ําที่ผลิตไดเปนบาท/ตัน
ก. 1,402 บาท/ตัน
ข. 1,581 บาท/ตัน
ค. 451 บาท/ตัน
ง. 873 บาท/ตัน
14. การทดสอบความดันของระบบทอดวยของเหลว ควรใชความดันกี่เทาของความดันใชงาน ตาม
ASME VIII ป 1994 ตาม อางอิง : ประกาศกรมโรงงานกระทรวงอุตสาหกรรม
ก. 1.1
ข. 1.5
ค. 2.5
ง. 3.5
15. ในการเชื่อมแบบ TIG ใชกาซใดเปน FLUX
ก. Argon
ข. Nitrogen
ค. Hydrogen
ง. Carbon dioxide
16. ขอใดไมใชคณ ุ สมบัติในการเลือกกําหนดขนาดทอ
ก. Fluid Property
ข. Quantity
ค. Pressure
ง. Velocity

3
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

17. สิ่งที่สรางปญหาในการเชื่อมที่ทําใหรอยเชื่อมเกิดการบกพรองไดงาย คือ กาซใด


ก. Hydrogen
ข. Oxygen
ค. Carbon dioxide
ง. Nitrogen
18. แนวเชื่อมที่เชือ่ มตอระหวางรอยตอของชิ้นงานสองชิ้นตอชนกัน โดยเวนชองวางระหวางชิ้น
งาน โดยชิ้นงานจะบากเปนรูปตัววี หมายถึงการเชื่อมในขอใด
ก. Plug Weld
ข. Fillet Weld
ค. Butt Weld
ง. Lap Weld
19. E60XX ตัวเลข (60) แสดงถึงอะไร
ก. Shear Strength 60,000 psi
ข. Compression Strength 60,000 psi
ค. Tensile Strength 60,000 psi
ง. Impact Strength 60,000 psi
20. ตัวที่ทําใหเกิดความแตกตางในคา Tensile Strength ของเหล็กทัว่ ไป คือ
ก. Chemical Compound
ข. Color
ค. Density
ง. Hardness
21. ใน PROCESS มี PRESSURE 7 บาร (hf = 721.4 kJ/kg) ปลอยคอนเดนเสท 100 kg/hr ออกจาก
สตีมแทรป สูบรรยากาศ 0 บาร (hf = 419.00 kJ/kg. ; hfg = 2257 kJ/kg) ปริมาณ Flash Steam
เทากับเทาไร
ก. 0 kg/hr
ข. 133.9 kg/hr
ค. 580.8 kg/hr
ง. 319.6 kg/hr

4
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

22. จากขอ 21. ปริมาณคอนเดนเสทจริงจะเทากับ


ก. 419.2 kg/hr
ข. 680.4 kg/hr
ค. 866.1 kg/hr
ง. 1000 kg/hr
23. ขอใดไมใชสาเหตุของแครี่โอเวอร
ก. การเกิด Priming
ข. การเกิด Foaming
ค. ระดับน้ําในหมอไอน้ําสูงเกินไป
ง. มีการแยกน้ําทีก่ ลั่นตัวแลวออกจากทอพักรวม (Header)
24. ทอไฟใหญทที่ ําแบบลอนเพื่อวัตถุประสงคใด
ก. เพื่อดักเขมาหรือขี้เถาไมใหฟุงกระจายออกปลอง
ข. เพื่อใหเกิดความสวยงามและปองกันการลอกเลียนแบบหมอไอน้ํา
ค. เพื่อใหมีความแข็งแรงและเพิ่มพื้นที่ถายเทความรอนใหมากขึ้น
ง. เพื่อลดตนทุนในการผลิตหมอไอน้ําลง
25. การระบายน้ําทิ้งทางวาลวถายน้ําขณะใชงาน มีวัตถุประสงคอยางไร
ก. ลดความรอนในหมอไอน้ําลง
ข. ลดความเขมขนของสารละลายภายในหมอไอน้ํา
ค. ระบายแกสไอเสียออกจากหมอไอน้ํา
ง. ระบายตะกรันออกจากหมอไอน้ํา
26. การติดตั้งลิ้นนิรภัยกับหมอไอน้ําใหสามารถใชงานไดโดยปลอยภัย มีหลักเกณฑอยางไร
ก. ทอทางออกของลิ้นนิรภัยตองเล็กกวาทอทางเขา
ข. ตองติดตั้งวาลวคั่นระหวางหมอไอน้ํากับลิน้ นิรภัย
ค. หมอไอน้ําขนาดเล็กซึ่งมีพื้นที่ผิวรับความรอนไมเกิน 20 ตารางเมตร ไมจําเปนตองติดตั้งลิ้นนิรภัย
ง. อัตราการระบายไอของลิ้นนิรภัยตองมากกวาอัตราการผลิตไอน้ําของหมอไอน้ํา
27. ขอใดที่มิใชหนาที่ของเครื่องควบคุมระดับน้ํา
ก. รักษาระดับน้ําภายในหมอไอน้ําใหอยูในระดับปกติ
ข. รักษาความดันภายในหมอไอน้ําใหอยูในระดับปกติ
ค. ตัดเชื้อเพลิงไมใหปอนเขาหองเผาไหมเมื่อระดับน้ําต่ํากวาปกติ
ง. สงสัญญาณเปนแสงหรือเสียงเมื่อระดับน้ําต่ํากวาปกติ

5
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

28. ผลของไอเปยก (Wet Steam) กับไออิ่มตัวแหง (Dry Saturated Steam) ขอใดถูกตอง


ก. ไออิ่มตัวที่เกิดจากหมอไอน้ํามักเปนไอเปยก เหมาะที่จะใชขับดันกังหันไอน้ําโดยตรง
ข. การติดตั้งอุปกรณแยกไอ (Steam Seperator) ที่ตนทางของทอเมนไอน้ําจะทําใหสนิ้
เปลืองไอน้ําเพิม่ ขึ้น
ค. ไออิ่มตัวแหง เหมาะกับงานที่ใชถายเทความรอน เชน อบ นึ่ง ฆาเชื้อ
ง. การใชไออิ่มตัวแหง จะทําใหเสียคาใชจายเกี่ยวกับเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น
29. หมอไอน้าํ แบบลูกหมูถาเกิดบวมที่ดานลางของทอไฟใหญ ทานคิดวาสาเหตุของการบวมเกิดขึน้
ไดอยางไร
ก. ตะกอนมาก
ข. ตะกรันมาก
ค. น้ําแหง
ง. ระบายน้ําใตหมอไอน้ําบอยเกินไป
30. การปรับปรุงคุณภาพน้ําใหเหมาะสมเพื่อปอนเขาหมอไอน้ํา มีผลอยางไรตอการใชหมอไอน้ํา
ก. ปองกันการกัดกรอนภายในหมอไอน้ํา
ข. ชวยใหไอน้ํามีละอองน้ําหรือสิ่งสกปรก (Carry Over) ติดไปนอย
ค. ปองกันการเกิดตะกรันในหมอไอน้ํา
ง. ถูกทุกขอ

โจทย ขอสอบขอนี้จะมีคําถาม 5 ขอ จากขอมูลของถังตอไปนี้จงตอบคําถามขอ 31. ถึงขอ 35.


P = ความดันออกแบบ 7 kg/cm2
S = คาความเคนของแผน SA 516-70 @ 340 °C = 1,225 kg/cm2
E = ประสิทธิภาพของรอยตอที่ตรวจสอบเปนจุดของตัวถังและหัวถังครึ่งทรงกลมกับตัวถัง = 0.85
E = ประสิทธิภาพของหัวถังไรตะเข็บ = 1.00
R = รัศมีภายใน 1,200 mm
D = เสนผานศูนยกลางภายใน 2,400 mm
t = ความหนาผนังที่ตองการ, mm
C.A = คาเผื่อการกัดกรอน 3.2 mm

6
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

31. จงหาความหนาที่ตองการของผนังตัวถัง ( t )
ก. 11.3 mm
ข. 8.1 mm
ค. 12.7 mm
ง. 15.6 mm
32. จงหาความดันทํางานที่ยอมใหไดสูงสุด ( P ) สําหรับตัวถัง ความหนาจากขอ (1) เมือ่ ถังอยูใน
สภาพใหม
ก. 9.75 kg/cm2
ข. 7.0 kg/cm2
ค. 10.95 kg/cm2
ง. 13.43 kg/cm2
33. จงหาถาหัวถังทําออกมาโดยไมมีสวนทําออกมาโดยไมมสี วนตรงเผื่อออกมา จงหาความหนาที่
ตองการของหัวถังครึ่งทรงกลม ( t ) ที่นอยที่สุด
ก. 4.05 mm
ข. 7.25 mm
ค. 5.60 mm
ง. 7.94 mm
34. จงหาความดันทํางานทีย่ อมใหไดสูงสุด ( P ) สําหรับหัวถังความหนาจากขอ (1.3) เมื่ออยูใน
สภาพใหม
ก. 13.76 kg/cm2
ข. 12.57 kg/cm2
ค. 7.02 kg/cm2
ง. 9.71 kg/cm2
35. จงหาความหนาที่ตองการของหัวถังครึ่งทรงรีไรตะเข็บทีน่ อยที่สุด
ก. 9.6 mm
ข. 11.11 mm
ค. 10.1 mm
ง. 14.25 mm

7
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

36. ในการออกแบบความหนาของผนังถัง ( Thickness of vessel wall) ขอใดหมายถึง “ความหนา


ออกแบบ”
ก. ความหนาที่คํานวณได โดยสูตรกอนที่จะบวกคาเผื่อการกัดกรอน
ข. ผลรวมของความหนาที่ตองการกับคาเผื่อการกัดกรอน
ค. ความหนาทีเ่ ลือกใชงานทางการคา
ง. ผลรวมของความหนาที่ตองการใชงาน
37. ขอใดผิดกฎขอบังคับ และคุณลักษณะเฉพาะ (Regulation and Specification)
ก. กาซและของเหลวที่สามารถลุกไหม หรือเปนพิษสามารถนําขอตอขยายตัว (Expansion
joint) มาใชได
ข. รอยตอเชื่อมแบบตอชนในถังที่บรรจุสารอันตราย ตองตรวจสอบดวยรังสีตลอดแนว
ค. ถังรับแรงดัน ที่ใชกับไอน้ํา ความหนาทีน่ อ ยที่สุดของตัวถัง และหัวถังเทากับ 2.4 mm.
ง. ถังรับแรงดัน ที่ใชกับน้ํา ความหนาที่นอยที่สุดของตัวถัง และหัวถังเทากับ 2.4 mm.
38. มุมสัมผัสของถังอัดความดัน รูปแนวนอนกับแทนรองรับถัง (Saddle) ตามขอแนะนํา ASME คือขอใด
ก. นอยสุด 60 องศา (ยกเวนถังขนาดเล็ก)
ข. นอยสุด 90 องศา (ยกเวนถังขนาดเล็ก)
ค. นอยสุด 120 องศา (ยกเวนถังขนาดเล็ก)
ง. นอยสุด 150 องศา (ยกเวนถังขนาดเล็ก)
39. จะสามารถดัดแผนเหล็กหนา 6 มม. กวาง 25 มม. ใหมวนเปนวงกลม โดยใหปลายซอนกัน
แลวยึดดวยหมุดย้ํา (rivets) ไดขนาดเสนผานศูนยกลางเล็กสุดเทาใด แผนเหล็กจึงจะไมยึดตัว
ถาวร กําหนดให แผน เหล็กมีจุดคราก (yield strength) 350 MN/M2 และ Young’s Modulus
2 × 105 MN/m2
ก. 3.61 เมตร
ข. 3.43 เมตร
ค. 3.17 เมตร
ง. 3.08 เมตร
40. จงคํานวณหาความหนาของแผนเหล็กที่ใชทําผนังหมอไอน้ําขนาดเสนผาศูนยกลาง 2.25 เมตร
โดยมีความดัน ไอน้ํา 8.5 bar อยูภายใน กําหนดใหแผน เหล็กมีคากําลังดึงสู งสุ ด (ultimate
tensile strength) 470 MN/m2 สมมติ ป ระสิ ท ธิภ าพของข อต อแนวยาวมี คา 70% และให ใช
factor of safety เทากับ 5 ในการคํานวณ

8
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

ก. 10.1 ซม.
ข. 1.12 ซม.
ค. 1.45 ซม.
ง. 1.84 ซม.
41. สตีมแทรปทั่ว ๆ ไป แบงออกเปนกีแ่ บบ อะไรบาง
ก. 3 แบบ สตีมการด, เทอรโมไดนามิคส, แบบเชิงกล
ข. 4 แบบ เทอรโมไดนามิคส, เทอรโมสแตติกส, แบบเชิงกล และแบบออริฟส
ค. 3 แบบ เทอรโมไดนามิคส, เทอรโมสแตติกส, แบบเชิงกล
ง. 2 แบบ สตีมการด, เทอรโมไดนามิคส, แบบเชิงกล
42. ทอเมนไอน้ําขนาด 150 มม. ควรจะมีทอรวบรวมคอนเดนเสท (Drip Leg) ขนาดเทาใด
ก. 150 มม.
ข. 100 มม.
ค. 50 มม.
ง. 200 มม.
43. ในการหาขนาดของ STEAM TRAP เราตองคํานึงถึงอะไรบาง
ก. ปริมาณ CONDENSATE และคา U P
ข. ขนาดของทอ DRAIN เพียงอยางเดียว
ค. เลือกขนาดนอยกวาปริมาณ CONDENSATE เพื่อประหยัดพลังงาน
ง. วัสดุที่ใชงาน
44. STEAM TRAP ควรจะทําหนาที่ดังตอไปนี้
ก. ระบาย CONDENSATE
ข. ระบายอากาศ
ค. ไมใหไอน้ํารั่วออกไป
ง. ถูกทุกขอ
45. TRAP ชนิดใดระบาย CONDENSATE ที่อุณหภูมิสูงที่สุด
ก. FLOAT TRAP
ข. THERMODYNAMIC
ค. THERMOSTATIC TRAP
ง. LIQULD EXPANSION

9
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

46. STEAM TRAP ที่เหมาะใน PROCESS ที่เปนการควบคุมอุณหภูมิควรจะเปนแบบใด


ก. FLOAT TRAP
ข. INVERTED BUCKET TRAP
ค. THERMOSTATIC TRAP
ง. THERMODYNAMIC TRAP
47. TRAP ชนิดใดที่มีการระบายอากาศไดดีที่สดุ
ก. INVERTED BUCKET TRAP
ข. THERMODYNAMIC TRAP
ค. THERMOSTATIC TRAP
ง. ถูกทุกขอ
48. เหตุใดจึงไมควรใช FLOAT TRAP ในการ DRAIN CONDENSATE จากทอ STEAM MAIN
ก. เพราะตัวใหญเทอะทะ
ข. เพราะเสี่ยงตอการเกิด WATER HAMMER
ค. เพราะ LOAD คอนขางคงที่
ง. เพราะระบาย CONDENSATE ที่อุณหภูมไิ อน้ํา
49. ทอประปาภายในบานมีขนาด 25 มม. เดินทอประปาเขาไปในหองน้ําโดยใชขนาดทอประปา 15 มม.
สามารถจายน้ําได 3 ลิตรตอนาที จงคํานวณหาความเร็วของน้ําไหลในทอประปาขนาด 25 มม.
ก. 0.1 m/s
ข. 0.28 m/s
ค. 10 m/s
ง. 3.57 m/s
50. วัสดุชนิดใดทีใ่ ชสตีมแทรปที่สามารถรับความดันไดสูงสุด
ก. เหล็กหลอ
ข. Forged Steel
ค. เหล็กหลอเหนียว
ง. Carbon Steel

10
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

สวนที่ 2 มีทั้งหมด 3 ขอ เลือกทําเพียง 2 ขอ ใหตอบในชุดขอสอบเทานั้น


ขอ 1. หมอไอน้ําชนิดทอน้ํา (Water tubes) – Drum type ประกอบดวยอุปกรณหลัก ๆ อะไรบาง จง
อธิบายและระบุหนาที่ของแตละอุปกรณโดยสังเขป (25 คะแนน)

ตอบ
ควรระบุอุปกรณ ไดอยางนอย10 รายการขึ้นไป โดยเฉพาะที่มี *
*Forced Draft Fan ทําหนาที่ในการดูดอากาศเพื่ออัดเขาสูหองเผาไหมโดยผานเครื่อง
อุนอากาศ
*Gas-Air Preheater ทําหนาที่ในการอุนอากาศกอนเขาหองเผาไหมโดยทําการแลก
เปลี่ยนความรอนกับ กาซที่เผาไหมแลว (Flue Gas) และ เพิ่มประ
สิทธิภาพใหกับ Boiler
*Burner ทําหนาที่ในการควบคุมการเผาไหม โดยการฉีดเชื้อเพลิงและ
อากาศในปริมาณที่เหมาะสมเขาสูหองเผาไหม
*Waterwall (Evaporator) ทําหนาที่เพิ่มความรอนใหแกน้ําเพื่อใหกลายเปนไอที่ Saturated
เพื่อสงเขาสู Steam Drum
*Steam Drum ทํ าหน าที่ ใ นการแยกไอน้ํ าออกจากน้ํ าที่ ไ ด ม าจาก Waterwall
(Evaporator) เพื่อสงเขาสู Superheater สวนน้ําจะถูกสงกลับไป
เพื่อรับความรอนอีกครั้ง
*Superheater ใชเพิ่มความรอนใหแกไอน้ําให โดยมีอุณหภูมิสูงกวา Saturated
Temp.
Reheater ทําหนาที่เพิ่มความรอนใหแก Superheater ที่ผานการใชงานแลว
เพื่อนํากลับไปใชงานอีก
Desuperheater ทําหนาที่ในการควบคุมอุณหภูมิของ Superheater หรือ Reheater
ใหไดตามที่ออกแบบไว
*Economizer ทําหนาที่ในการอุนน้ํากอนเขา Steam Drum และ เพิ่มประสิทธิ
ภาพใหกับ Boiler
Gas Recirculation Fan ทําหนาที่ดูด กาซที่เผาไหมแลว (Flue Gas) บางสวนกลับเขาสูเตา
เพื่อควบคุมอุณหภูมิของ Steam

11
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

Induced Draft Fan ทํ า หน า ที่ ใ นการดู ด กั บ ก า ซที่ เผาไหม แ ล ว (Flue Gas) ออกสู
Stack และ ทําใหความดันของ กาซที่เผาไหมแลวภายใน Boiler
ต่ํากวา บรรยากาศ
*Duct ทําหนาที่เปนชองทางไหลของอากาศและกาซที่เผาไหมแลว ปอง
กันการรั่วออกสูภายนอก
*Expansion Joint ทํ าหน าที่ ป อ งกั น ความเสี ยหายของ Duct และ โครงสรางของ
หมอน้ํา เมื่อเกิดการขยายและหดตัว
*Damper ทําหนาที่ควบคุมปริมาณการไหลอากาศและกาซที่เผาไหมแลว
*Stack ทําหนาที่ระบายกาซที่เผาไหมแลวออกสูบรรยากาศที่ความสูง
เพียงพอที่จะไมใหเกิดเปนมลภาวะตอบริเวณใกลเคียง
*Soot Blower ทําหนาที่ทําความสะอาด พื้นที่รับความรอน ลดการสะสมของ
Deposits เพิ่มประสิทธิภาพในการถายเทความรอน
*Boiler Feed Water Pump ทําหนาที่สูบน้ําเลี้ยงหมอน้ําใหมีความดันและอัตราการ
ไหลเปนไปตามที่ออกแบบ
Boiler Circulating Pump ทํ า หน า ที่ สู บ น้ํ า จาก Steam Drum เพื่ อ ส ง ต อ ไปยั ง Waterwall
(Evaporator)เพื่อรับความรอนอีกครั้ง
*Safety Valve เป น อุ ป กรณ ด านความปลอดภั ย ทํ าหน าที่ ระบายความดั น ใน
กรณีที่ความดันในระบบสูงเกินกวาที่กําหนดไว ปองกัน ความ
เสียหายตอ Pressure Parts

ขอ 2. Boiler ลูกหนึ่ง ประสิทธิภาพ 80% ผลิตไอน้ําอิ่มตัว (Saturated Steam) ที่ความดัน 9 bar ดวย
อัตรา 6 ตั น /ชั่วโมง (ton/h) จากน้ํ าปอน (Feed Water) 60°C ถาอัตราการ Blow down มีคา
เปนรอยละ 3 ของอัตราไอน้ําที่ผลิตได พลังงานที่สูญเสียไปกับการ Blow down มีคาเทียบได
เป น ร อ ยละเท า ไร ของพลั ง งานจากเชื้ อ เพลิ ง ซึ่ ง เป น น้ํ า มั น เตาที่ มี ค า ความร อ นสู ง
40.5 MJ/liter ใหน้ําชดเชยมีอุณหภูมิ 30°C (25 คะแนน)

ตอบ
Blow down loss = mbd (hbd − ha )
mbd = 0.03 × 6,000 = 180 kg / h
hbd = 743 kJ / kg , ha = 125.7 kJ / kg

12
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 6 (Boiler / Pressure Vessel / Piping) ครัง้ ที่ 2/2549

∴ Blow down loss = 180 (743-125.7) เทียบเปนรอยละของ Energy input


m s ∆h
จาก ηb = = 0.8
m f HHV
Energy input จากเชื้อเพลิง = m f HHV
m s ∆h 6 × 10 3 (2,774 − 251.1)
= = = 18,921,750 kJ / h
0.8 0.8
180 × 617.3
∴ % Blow down loss = = 0.00587 = 0.6%
18,921,750

ขอ 3. ในโรงงานอุตสาหกรรมมักนิยมใชระบบทอในการขนถายวัสดุตา งๆ ทอโลหะที่ใชกันแพร


หลายคือ ทอเหล็ก จงอธิบายถึงทอเหล็กชนิดตางๆ ที่ใชกันทั่วไป 5 ชนิด (25 คะแนน)

ตอบ 1. ทอเหล็กดํา (Black Steel Pipe)


2. ทอสแตนเลส (Stainless Steel Pipe)
3. ทอโลหะผสม (Alloy Steel Pipe)
4. ทอเหล็กหลอ (Cast Iron)
5. ทอเหล็กหลอเหนียว (Ductile Iron)

13

You might also like