Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

ขอสอบมีทั้งหมด 2 สวน ใหทําทั้งหมด

สวนที่ 1 มีทั้งหมด 50 ขอยอย ใหกากบาท (X) ขอที่คิดวาถูกตองหรือดีที่สุดเพียงขอเดียว โดยตอบ


ในกระดาษคําตอบที่จัดไวให (ขอละ 1 คะแนน)
1. สําหรับปฏิกิริยา Fission ที่เกิดขึ้นในโรงไฟฟานิวเคลียร เหตุการณใดไมไดเกิดขึ้นหลังจาก
นิวเคลียสดูดกลืนนิวตรอน
ก. นิวเคลียสปลอยนิวตรอน 2-3 ตัวโดยเฉลีย่
ข. นิวเคลียสคายพลังงานประมาณ 200 MeV
ค. นิวเคลียสแตกตัวออกเปน 3 Fission fragments ซึ่งเปนธาตุที่ตางจากเดิม
ง. ทุกเหตุการณเกิดขึ้น
2. สวนประกอบทั่วไปสําหรับปฏิกรณสวนใหญ คือ Moderator, Control rod และ Coolant ขอใด
ที่ไมถูกตอง
ก. Moderator ทําให Fission นิวตรอนมีพลังงานนอยลง เพื่อนิวตรอนเหลานี้จะมีโอกาสทําให
เกิด Fission มากขึน้
ข. Control rod คือวัสดุสําหรับดูดกลืนนิวตรอน ถูกใสเขาหรือดึงออกเพือ่ ควบคุมอัตราการ
เกิด Fission
ค. Coolant อาจจะเปนของเหลวหรือแกส เคลื่อนที่ภายในปฏิกรณเพื่อถายเทความรอน
ง. ถูกทุกขอ
3. หลักการทํางานของปฏิกรณชนิดนี้คือ พลังงานที่ไดจากปฏิกิริยา Fission ในรูปของความรอน
ถูกผานไปสูน้ําที่ไหลเวียนในปฏิกรณภายใตความดันทีส่ ูงกวาความดันบรรยากาศ และน้ําจะ
ผาน Heat exchanger/Steam generator เพื่อทําใหเกิดไอน้ําใน Secondary loop นําไปขับเคลื่อน
Turbine ปฏิกรณชนิดนี้คือ
ก. Pressurized water reactor (PWR).
ข. Boiling water reactor (BWR).
ค. Pressurized heavy water reactor (PHWR).
ง. ผิดทุกขอ

1
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

4. ปฏิกรณแบบ Pressurized water reactor (PWR) และแบบ Boiling water reactor (BWR) เปน
ปฏิกรณสองแบบที่ใชกันมากที่สุดในโรงไฟฟานิวเคลียรทั่วโลก ขอใดไมถูกตอง เกี่ยวกับการ
ทํางานของทั้งสองแบบ
ก. PWR ทําใหนา้ํ ในปฏิกรณเดือดเปนไอน้ําเพื่อนําไปขับเคลื่อน Turbine โดยตรง
ข. BWR มี 2 Coolant loops โดยที่ไอน้ําจะเกิดใน Secondary loop เพื่อขับเคลื่อน Turbine
ค. น้ําใน Primary loop ของปฏิกรณทั้งสองจะเดือดและเปลี่ยนเปนไอน้ําเหมือนกัน เพียงแตวา
ความดันใน PWR จะสูงกวาใน BWR
ง. ผิดทุกขอ
5. วัสดุในขอใดถูกใชเปน Moderator ในปฏิกรณแบบ Pressurized heavy water reactor (PHWR).
ก. Low pressurized water (H2O).
ข. High pressurized water (H2O).
ค. Heavy water (D2O).
ง. Liquid sodium.
6. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับปฏิกรณแบบ PWR
ก. Coolant ใน Primary loop ไหลผานปฏิกรณภายใตความดันที่สูงมาก
ข. Turbine จะถูกออกแบบใหสามารถทนรังสีไดสูง เนื่องจากไอน้ํามีการปนเปอน
ค. สามารถที่จะเปลี่ยนแทงเชื้อเพลิงไดโดยทีไ่ มตองหยุดเดินเครื่องปฏิกรณ
ง. ขอ ก และ ค
7. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับปฏิกรณแบบ BWR
ก. Coolant ใน Primary loop ไหลผานปฏิกรณภายใตความดันที่สูงมาก
ข. Turbine จะถูกออกแบบใหสามารถทนรังสีไดสูง เนื่องจากไอน้ํามีการปนเปอน
ค. สามารถที่จะเปลี่ยนแทงเชื้อเพลิงไดโดยทีไ่ มตองหยุดเดินเครื่องปฏิกรณ
ง. ขอ ก และ ค
8. ขอใดตอไปนีไ้ มถูกตอง เกี่ยวกับโรงไฟฟานิวเคลียร
ก. ไมมีการปลอย Greenhouse gas สูบรรยากาศในกระบวนการผลิตไฟฟา
ข. ในปจจุบนั ไดรับการออกแบบใหสามารถเดินเครื่องไดนานถึงประมาณ 18 เดือน กอนที่จะ
ทําการเปลี่ยนแทงเชื้อเพลิง
ค. มี Capacity factor เฉลี่ยสูงกวา 90% (ใน USA) จึงเหมาะทีเ่ ปน base-load
ง. ถูกทุกขอ

2
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

9. Radioactive decay คือ ขบวนการซึ่ง _____


ก. นิวเคลียสที่ไมเสถียรปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาหรืออนุภาค และกลายเปนนิวเคลียสที่เสถียร
ข. นิวเคลียสที่ไมเสถียรดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาหรืออนุภาค และกลายเปนนิวเคลียสที่
เสถียรมากขึ้น
ค. นิวเคลียสที่เสถียรปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาหรืออนุภาค และกลายเปนนิวเคลียสที่ไมเสถียร
ง. ผิดทุกขอ
10. เวลาครึ่งชีวิต (t1/2) ของสารกัมมันตรังสี คือเวลาที่ทําใหครึ่งหนึ่งของจํานวนนิวเคลียสสลายตัว
และ คาคงที่ของการสลายตัว (λ) คือ ความนาจะเปนของการสลายตัวตอหนวยเวลา ซึ่งทั้งสอง
มีความสัมพันธกันคือ (ตามรูป) ขอใดที่ไมถูกตอง

ก. ไอโซโทปใดที่ปลอยรังสีอยางมาก (คาคงที่ของการสลายตัวสูง) จะสลายตัวอยางรวดเร็ว


ข. พลูโตเนียม-244 (เวลาครึ่งชีวิต 80.8 ลานป) ปลอยรังสีนอยมาก
ค. ยูเรเนียม-233 (เวลาครึ่งชีวิต 20.9 นาที) ปลอยรังสีอยางมากในเวลาสั้นๆ
ง. ถูกทุกขอ
11. โรงไฟฟาตอไปนี้ มีประเภทใดที่ใหผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด
ก. โรงไฟฟาพลังความรอนที่ใชถานหินเปนเชือ้ เพลิง
ข. โรงไฟฟาพลังความรอนที่ใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิง
ค. โรงไฟฟาพลังความรอนที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง
ง. โรงไฟฟาพลังความรอนที่ใชชีวมวลเปนเชือ้ เพลิง
12. โรงไฟฟา Combined cycle ที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง มักจะตองหาวิธีควบคุมมลพิษชนิด
ใดเปนพิเศษ
ก. SOX
ข. NOX
ค. Particulates
ง. CO

3
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

13. ระบุชนิดมลพิษที่สําคัญจากโรงไฟฟาพลังความรอนที่ใชเชื้อเพลิง Fossil


ก. SOX
ข. NOX
ค. Particulates
ง. ทั้ง 3 ตัว
14. ระบุชนิดมลพิษที่สําคัญที่ปลอยออกจากโรงไฟฟานิวเคลียร
ก. รังสีที่ปลอยออก
ข. กากเชื้อเพลิงกัมมันตภาพ
ค. ความรอนที่ปลอยออก
ง. ทั้ง 3 ตัว
15. SOX โดยทั่วไปเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงจําพวกใด
ก. ถานหิน
ข. ถานหินและน้าํ มัน
ค. กาซธรรมชาติ
ง. ชีวมวล
16. ผลกระทบที่สําคัญของ SOX ตอสิ่งแวดลอม คือ
ก. Greenhouse effect
ข. ฝนกรด
ค. กอใหเกิดปญหาตอสุขภาพ
ง. ทั้ง 3 อยาง
17. NOX ประกอบดวยกาซอะไรบาง
ก. NO และ N2O
ข. NO2 และ NO3
ค. NO และ NO2
ง. ทุกตัวใน 3 ขอขางตน
18. ในบรรดาสารประกอบ NOX ทั้งหมด มีตัวไหนที่เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิง Fossil
ก. NO
ข. NO2
ค. N2
ง. N2O3

4
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

19. NOX มีกี่ชนิด


ก. ชนิดเดียว
ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนิด
ง. 4 ชนิด
20. ปจจัยอะไรตอไปนี้ ที่มีผลกระทบตอการเกิด NOX
ก. N ในเชื้อเพลิง และปริมาณ O2 ที่เขาเผาไหม
ข. N ในเชื้อเพลิง ปริมาณ O2 ที่เขาเผาไหม และอุณหภูมกิ ารเผาไหม
ค. N ในเชื้อเพลิง ปริมาณอากาศที่เขาเผาไหม อุณหภูมิการเผาไหม และ Flame chilling
ง. N ในเชื้อเพลิง ปริมาณอากาศที่เขาเผาไหม อุณหภูมิการเผาไหม และระยะเวลาการเผาไหม
21. Load-duration curve คืออะไร
ก. กราฟแสดงคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุดเปนรายชัว่ โมง
ข. กราฟความตองการพลังไฟฟาเฉลี่ยเปนรายเดือน
ค. กราฟความตองการพลังไฟฟากับระยะเวลา ซึ่งจะแสดงระยะเวลาความตองการที่พลังไฟฟา
แตละคา
ง. กราฟแสดงคาพลังไฟฟาที่โรงไฟฟาผลิตไฟฟาในแตละชวงเวลา
22. คา Load factor คือ
ก. อัตราสวนระหวางคาพลังไฟฟาเฉลี่ยกับคาพลังไฟฟาสูงสุดในระยะเวลาเดียวกัน
ข. ตัวประกอบปรับแกคาพลังไฟฟาที่ผูใชตองการเพื่อใหไดคาจริง
ค. ตัวประกอบทีแ่ สดงถึงคาพลังไฟฟาที่โรงไฟฟาผลิต
ง. อัตราสวนระหวางคาความตองการพลังไฟฟาและคาพลังไฟฟาที่โรงไฟฟาผลิตได
23. ตนทุนคาไฟฟาขึ้นกับจํานวน kWh ที่ผลิตไดในแตละป และ
ก. ราคาคากอสรางโรงไฟฟา
ข. คาเชื้อเพลิงโรงไฟฟาในแตละป
ค. Operating cost ในแตละปของโรงไฟฟา
ง. ขอ ก. ถึง ค.

5
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

24. ในการคิดตนทุนคาไฟฟา คาใชจายแปรผัน (Variable cost) ตัวหนึ่ง คือ


ก. คาเสื่อมราคาไฟฟา
ข. เงินเดือน คาจางพนักงาน
ค. คาประกัน
ง. คาเชื้อเพลิง
25. ในการคิดคํานวณคาเชื้อเพลิงของโรงไฟฟามักอาศัยขอมูลจาก
ก. ขนาดโรงไฟฟา
ข. Load-duration curve
ค. คาเฉลี่ยของพลังไฟฟาที่ผลิตได
ง. ระยะเวลาการเดินเครื่องผลิตไฟฟา
26. อัตราคาไฟฟามี 2 สวน คือ คา Demand และคาพลังงาน คา Demand กําหนดจากตนทุนดาน
ไหน
ก. คาใชจายสวนที่คงที่ (Fixed costs) ในการ Operate โรงไฟฟา
ข. คาใชจายสวนที่แปรผัน (Variable costs)
ค. คาใชจายทั้งหมดหักออกดวยคาการบริหารจัดการ
ง. คาบริหารจัดการและคาติดตัง้ โรงไฟฟา
27. มักกําหนดขนาดของโรงไฟฟาเกินคาความตองการสูงสุดไวเล็กนอย 15-20% เหตุผลที่ไมเผื่อ
ขนาดไวมากเพราะ
ก. ถาเผื่อขนาดไวมาก สวนที่เกินจะไมมีโอกาสใชงาน
ข. ทําให Fixed cost สูง
ค. ตองเสียคาซอมบํารุงมากกวาปกติ
ง. ทําใหเสียคาเชือ้ เพลิงมากกวาปกติ
28. เหตุผลที่คาไฟชวง Peak สูงกวาชวง Off-peak เพราะ
ก. รายไดจาการขายไฟชวง Off-peak มีคานอย
ข. ประสิทธิภาพของโรงไฟฟาต่ําลงในชวง Off-peak ทําใหตน ทุนสูงขึน้
ค. เปนไปตามกฎ Supply และ Demand ชวงไหนคนแยงใชกัน ไฟก็มีราคาแพง
ง. ชวง Peak ตองใชเชื้อเพลิงมาก คาไฟจึงแพง

6
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

29. ในการเดินเครือ่ งผลิตไฟฟาเพื่อรับ Base load มักเลือกชนิดโรงไฟฟาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด


เพราะ
ก. Fixed cost คงที่ตลอด
ข. ผลิตไฟฟาไดมากที่สุด
ค. ตนทุนการผลิตไฟฟามีคาต่ําสุด
ง. มีคา Heat rate สูง
30. โรงไฟฟา 4 แบบ ขนาดเทากัน เงินลงทุนโรงไฟฟาชนิดใดมีจํานวนมากที่สุด
ก. โรงไฟฟากังหันกาซ
ข. โรงไฟฟา Combined cycle
ค. โรงไฟฟาถานหิน
ง. โรงไฟฟาพลังน้ํา
31. โรงไฟฟา Cogeneration คือ
ก. โรงไฟฟาที่มีทั้งระบบผลิตไฟฟาและความรอน
ข. โรงไฟฟาที่ผลิตไฟฟาและความรอนจากเครื่องตนกําลังชุดเดียวกัน โดยใชเชื้อเพลิงจาก
แหลงเดียวกัน
ค. โรงไฟฟาที่ผลิตไฟฟาแลวนําไอเสียรอนที่เกิดขึ้นไปผลิตไฟฟาเพิ่ม
ง. โรงไฟฟาที่ใช 2 Power Cycles ทํางานควบกันแบบ Combined Cycle
32. โรงไฟฟา Cogeneration ที่เปนแบบ Topping Cycle คือ
ก. โรงไฟฟาที่ใชความรอนจากเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาโดยใช Power Cycle กอน หลังจากนั้นจึง
นําความรอนที่เหลือไปใชใน Process
ข. โรงไฟฟาที่ใชความรอนจากเชื้อเพลิง สนองตอบตอความตองการใน Process กอน หลัง
จากนั้นจึงนําความรอนที่เหลือไปผลิตไฟฟา
ค. โรงไฟฟาที่แบงความรอนจากเชื้อเพลิงสวนหนึ่งไปผลิตไฟฟาโดยใช Power Cycle และอีก
สวนหนึ่งใชไปใน Process
ง. โรงไฟฟาที่ใช 2 Power Cycles ทํางานควบกัน (Binary Power Cycles)
33. โรงไฟฟา Cogeneration ที่ใชมากในโรงงานอุตสาหกรรม เปนแบบ
ก. Combined Cycle
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Steam Turbine Cogeneration
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration

7
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

34. โรงไฟฟา Cogeneration ชนิดใด ที่ใหความรอนในปริมาณและอัตราพอๆ กับไฟฟา


ก. Gas Turbine Cogeneration
ข. Steam Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration
35. Back Pressure Steam Turbine เปน Turbine แบบ
ก. มีความดันตานกลับ
ข. มีความดันที่ทางออกต่ํากวาความดันบรรยากาศ
ค. มีความดันตานการไหลของไอน้ํา
ง. มีความดันที่ทางออกเทากับ หรือสูงกวาความดันบรรยากาศ
36. Steam Turbine ที่มีไอน้ําไหลเขาหลายทางมักใชในระบบ Cogeneration แบบไหน
ก. Steam Turbine Cogeneration
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle Cogeneration
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration
37. ระบบ Cogeneration ชนิดใดที่ใหความรอนมากกวาไฟฟาเกิน 10 เทา
ก. Steam Turbine Cogeneration
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle Cogeneration
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration
38. สาเหตุที่ระบบ Cogeneration เปนที่นิยมใชในปจจุบนั
ก. ใหความรอนและไอน้ําในขณะเดียวกัน
ข. ใชเชื้อเพลิงไดหลากหลายชนิด
ค. มีประสิทธิภาพสูงกวาโรงไฟฟาธรรมดา
ง. ใหความยืดหยุน ในการควบคุมการเดินเครือ่ งทํางาน

8
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

39. Steam Turbine ที่ใชในระบบ Steam Turbine Cogeneration เปนแบบ


ก. Back-pressure Turbine
ข. Extraction Turbine
ค. Pass-out Turbine
ง. ถูกทุกขอ
40. ระบบ Cogeneration ชนิดใดที่ประสิทธิภาพลดลงมาก เมื่อเดินเครื่องที่ Part Load
ก. Gas Turbine Cogeneration
ข. Steam Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle Cogeneration
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration
41. โรงงานแหงหนึ่งตองการความรอนและไฟฟาอยางละ 1 MW เทากัน ควรใชระบบ
Cogeneration ชนิดใด
ก. Steam Turbine Cogeneration
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Internal Combustion Engine Cogeneration
ง. Combined Cycle Cogeneration
42. โรงไฟฟา Cogeneration แหงหนึ่งผลิตไฟฟาและความรอนไดอยางละ 1 MW เทากัน โดยใช
เชื้อเพลิงดวยอัตรา 4 MW ประสิทธิภาพของโรงไฟฟานี้มีคาเทาใด
ก. 40%
ข. 45%
ค. 50%
ง. 60%
43. โรงไฟฟา Cogeneration แหงหนึ่ง ผลิตไฟฟาได 1 MW และผลิตความรอน 1 MW Heat to
Power Ratio มีคาเทาใด
ก. 1
ข. 2
ค. 4
ง. 6

9
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

44. ระบบ Cogeneration ชนิดใดที่สงไอน้ําเขา Steam Turbine ที่ 2 ระดับความดัน


ก. Steam Turbine Cogeneration
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle Cogeneration
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration
45. ตนทุนคาไฟฟาที่ผลิตจากระบบ Cogeneration คิดจาก
ก. Annual Operating Cost กับไฟฟาและความรอนที่ผลิตได
ข. Annual Operating Cost กับไฟฟาที่ผลิตได
ค. เงินลงทุนระบบ Cogeneration และไฟฟาที่ผลิตได
ง. เงินลงทุนระบบ Cogeneration, Annual Operating Cost และไฟฟาที่ผลิตได
46. โรงไฟฟา Gas Turbine Cogeneration ตางจากโรงไฟฟา Combined Cycle Cogeneration ตรงที่วา
ก. โรงไฟฟาชนิดแรก มี By-pass Stack
ข. โรงไฟฟาชนิดหลัง มี Steam Turbine ดวย
ค. โรงไฟฟาชนิดแรก ผลิตไอน้าํ ไดที่ความดัน 2 คา
ง. โรงไฟฟาชนิดหลังไมใช Condenser
47. ในประเทศไทย มีการนําความรอนจากหมอเผาปูนซีเมนตมาผลิตไฟฟาและความรอนใชในโรง
งาน ระบบ Cogeneration ที่ใชเปนแบบ
ก. Internal Combustion Engine Cogeneration
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle Cogeneration
ง. Steam Turbine Cogeneration

10
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

48. โรงงานแหงหนึ่ง เดิมผลิตไอน้ําใชเองดวยอัตรา QH โดยมีประสิทธิภาพ ηh และซื้อไฟฟาจาก


ภายนอกดวยอัตรา E โดยมีประสิทธิภาพการผลิต ηe ประสิทธิภาพรวมของการผลิตพลังงาน
ทั้ง 2 ชนิดขางตน มีคาเทาใด
ก.

ข.

ค.

ง.

49. โรงไฟฟา Cogeneration ที่ใชในนิคมอุตสาหกรรมสวนใหญเปนแบบ


ก. Steam Turbine Cogeneration
ข. Gas Turbine Cogeneration
ค. Combined Cycle Cogeneration
ง. Internal Combustion Engine Cogeneration
50. เชื้อเพลิงที่ใชใน Internal Combustion Engine Cogeneration มักเปน
ก. ธรรมชาติ
ข. น้ํามันเบนซิน
ค. น้ํามันดีเซล
ง. น้ํามันเตา

11
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

สวนที่ 2 มีทั้งหมด 2 ขอ ใหตอบในชุดขอสอบเทานั้น (ขอละ 25 คะแนน)


ขอ 1. โรงไฟฟากังหันกาซโรงหนึ่งประกอบดวยกังหันกาซ 1 ชุด ทํางานตาม Air Standard Cycle
โดยดูดอากาศจากบรรยากาศที่ความดัน 1 bar อุณหภูมิ 33 o C อัดดวย Compressor ที่มีอัตรา
สวนการอัด 8 เทา รับความรอนจากการเผาไหม จนอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 1,100 o C กอนที่จะ
ขยายตัวผาน กังหันกาซ ปลอยกาซรอนออกปลองที่ความดันบรรยากาศ
กําหนดให
คาความรอนจําเพาะของอากาศ Cp = 1.005 kJ/kg-K และ k = 1.4

ก. กรณีที่ไมคิดประสิทธิภาพ Isentropic ของทั้ง Compressor และ Gas Turbine


จงคํานวณหาคา
ก.1 Net Work ของ Cycle ตอ kg ของอากาศ
ก.2 Heat Input ของ Cycle ตอ kg ของอากาศ
ก.3 Cycle Efficiency

ตอบ
หาอุณหภูมิอากาศหลังอัด T2
T2 = T1{P2/P1} (k-1)/k = (33+273) (8) (1.4-1)/1.4 = 554.3 K

หาความรอนเขาระบบ
Qin = 2Q3 = cp (T3 – T2) 1.005 x ((1100+273)- 554.3) = 822.79 kJ/kg Å ก.2
หาอุณหภูมิอากาศหลังการขยายตัว T4
T4 = T3/{P2/P1} (k-1)/k = 1373 / (8) (1.4-1)/1.4 = 757.95 K

หาความรอนออกจากระบบ
Qout = 4Q1 = cp (T1 – T4) = 1.005 x (303 – 757.95) = - 454.21 kJ/kg

Net work, W
W = Qin + Qout = 822.79 - 454.21 = 368.57 kJ/kg Å ก.1

Cycle Efficiency = W/Qin = 365.55 / 822.79 = 0.4479 = 44.8 % Å ก.3

12
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

ข. หากคิดประสิทธิภาพIsentropic ของทั้ง Compressor และ Gas Turbine มีคาเทากับ 90 %


จงคํานวณหาคา
ข.1 Net Work ของ Cycle ตอ kg ของอากาศ
ข.2 Heat Input ของ Cycle ตอ kg ของอากาศ
ข.3 Cycle Efficiency

ตอบ
Isentropic Compressor work, WCI = cp (T1 – T2) = 1.005 x (33+273 - 554.3 ) = - 249.54 kJ/kg
Compressor work, WC = cp (T1 – T2’) = WCI/Eff = - 249.54/0.9 = -277.27 kJ/kg
T2’ = 277.27 / 1.005 – 306 = 581.89 K

Isentropic Turbine work, WTI = cp (T3 – T4) = 1.005 x (1100+273 - 757.95 ) = 618.11 kJ/kg
Turbine work, WT = cp (T3 – T4’) = WTI X Eff = 618.11 x 0.9 = 556.31 kJ/kg

Net work, W = WT + WC = 556.31 - 277.27 = 279.03 kJ/kg Å ข.1

Qin = 2’Q3 = cp (T3 – T2’) 1.005 x ((1100+273) – 581.89) = 795.06 kJ/kg Å ข.2

Cycle Efficiency = W/Qin = 279.03 / 795.06 = 0.4479 = 35.06 % Å ข.3

ขอ 2. โรงไฟฟาพลังงานรวมกังหันกาซโรงหนึ่ง (Gas Turbine Cogeneration Plant) ประกอบดวย


กังหันกาซ 1 ชุด ทํางานตาม Air Standard Cycle โดยดูดอากาศจากบรรยากาศที่ความดัน 1
bar อุณหภูมิ 33 o C อัดดวย Compressor ที่มีอัตราสวนการอัด 8 เทา รับความรอนจากการ
เผาไหม จนอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 1,100 o C กอนที่จะขยายตัวผาน กังหันกาซผลิตไฟฟา 10 MW
ปลอยกาซรอนเขาสู Heat Recovery Steam Generator, HRSG เพื่อถายเทความรอนใหน้ํา
ผลิตไอน้ําอิ่มตัว (Saturated Steam) ที่ความดัน 10 bar สําหรับกระบวนการทางความรอน
โดยกาซรอนปลอยออกปลองที่อุณหภูมิ 120 o C
กําหนดให
น้ําเลี้ยงเขา HRSG ที่สภาวะอิ่มตัว (Saturated Water) ที่ความดัน 10 bar มีคา Enthalpy = 763
kJ/kg และ ไออิ่มตัว (Saturated Steam) ที่ความดัน 10 bar มีคา Enthalpy = 2,778 kJ/kg

13
เฉลยขอสอบหมวดวิชาเลือก 2 (Power Plant / Gas Turbine) ครั้งที่ 3/2549

จงคํานวณหา ปริมาณไอน้ําที่โรงนี้สามารถผลิตไดเปน ton/hr

ตอบ
หาอุณหภูมิอากาศหลังการขยายตัว T4
T4 = T3/{P2/P1} (k-1)/k = 1373 / (8) (1.4-1)/1.4 = 757.95 K
หาอุณหภูมิอากาศหลังอัด T2
T2 = T1{P2/P1} (k-1)/k = (33+273) (8) (1.4-1)/1.4 = 554.3 K
หาความรอนเขาระบบ
Qin = 2Q3 = cp (T3 – T2) 1.005 x ((1100+273)- 554.3) = 822.79 kJ/kg
หาอุณหภูมิอากาศหลังการขยายตัว T4
T4 = T3/{P2/P1} (k-1)/k = 1373 / (8) (1.4-1)/1.4 = 757.95 K
หาความรอนออกจากระบบ
Qout = 4Q1 = cp (T1 – T4) = 1.005 x (303 – 757.95) = - 454.21 kJ/kg

Net work, W
W = Qin + Qout = 822.79 - 454.21 = 368.57 kJ/kg

Mass อากาศ (กาซรอน)


Mg = Power/Net work = 10,000/368.57 = 27.13 kg/s

Heat from hot gas, Qg = Mg X cp X (Tin – Tout)


Qg = 27.13 x 1.005 x (757.95 - (120 + 273)) = 9,951.4 kW

Steam mass. Ms = Qg/(h2 – h1) = 9,951.4/(2778 – 763) = 4.94 kg/s = 4.94 x 3.6 = 17.78 ton/h Å

14

You might also like