Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 141

สาขา: สิ่งแวดลอม วิชา: EV21 Air Pollution Control and Design

ขอที่ : 1
มลพิษอากาศชนิดใดที่กําหนดใหตอไปนี้เปนมลพิษอากาศแบบทุติยภูมิ (Secondary air pollutant)
คําตอบ 1 : ฝุนละอองขนาดใหญ (TSP)


คําตอบ 2 : กาซคารบอนมอนอกไซด

่ า
คําตอบ 3 : กาซไฮโดรคารบอน


คําตอบ 4 : กาซโอโซน

ขอที่ : 2

จ ำ ห

ควันขาวที่ปลอยออกจากทอไอเสียของรถจักรยานยนตมีองคประกอบของสารมลพิษประเภทใดเปนหลัก

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กาซคารบอนมอนอกไซดที่เผาไหมไมสมบูรณ
คําตอบ 2 : กาซคารบอนไดออกไซดที่เผาไหมสมบูรณ
คําตอบ 3 : สารไฮโดรคารบอน

ิท
คําตอบ 4 : ละอองไอน้ํา

นส

ขอที่ : 3

ส ง
ในทางทฤษฎี มลพิษอากาศที่ปลอยจากทอไอเสียของรถยนตที่ใชน้ํามันเบนซินแตกตางจากรถยนตที่ใชน้ํามันดีเซลอยางไร หากรถยนตทั้งสองชนิดไมมีระบบควบคุมมลพิษ


คําตอบ 1 : เครื่องยนตดีเซลปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดและโอโซนสูงกวาเครื่องยนตเบนซิน


คําตอบ 2 : เครื่องยนตดีเซลปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดและโอโซนต่ํากวาเครื่องยนตเบนซิน

กร
คําตอบ 3 : เครื่องยนตดีเซลปลอยกาซไนโตรเจนไดออกไซดและฝุนต่ํากวาเครื่องยนตเบนซิน


คําตอบ 4 : เครื่องยนตดีเซลปลอยกาซไนโตรเจนออกไซดฝุนสูงกวาเครื่องยนตเบนซิน

ขอที่ : 4

าว ศ


ประเทศใดตอไปนี้ไมยอมใหสัตยาบัน ในพิธีสารเกียวโต (Kyoto protocol)


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
รัสเซีย/ออสเตรเลีย
จีน/สหรัฐอเมริกา
จีน/รัสเซีย
คําตอบ 4 : สหรัฐอเมริกา/ออสเตรเลีย

ขอที่ : 5 1 of 141
สารเคมีชนิดใดมีกลิ่นของกาซไขเนา
คําตอบ 1 : ไฮโดรเจนซัลไฟด/เมอแคปแตน
คําตอบ 2 : เมอแคปแตน/ไดเมธิลซัลไฟด
คําตอบ 3 : ไดเมธิลซัลไฟด/ไฮโดรเจนซัลไฟด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 6

่ า ย
กาซปโตรเลียมเหลว (LPG) หรือกาซหุงตม ประกอบดวยสัดสวนของโพรเพน ตอบิวเทน เทาไร


คําตอบ 1 : 60:40


คําตอบ 2 : 20:80

จ ำ
คําตอบ 3 : 70:30


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 7
กระบวนการผลิตกรดดินประสิว กอใหเกิดมลพิษอากาศอะไร

ิท
คําตอบ 1 : ไนโตรเจนไดออกไซด


คําตอบ 2 : ไฮโดรคลอริก

ว น
คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซด


คําตอบ 4 : ไฮโดรเจนซัลไฟด

อ ส

ขอที่ : 8

กร
การใชกาซโซฮอล (gasoline : ethanol 90:10) ทําใหเกิดการปลอยสารใดตอไปนี้มากขึ้น เมื่อเทียบกับน้ํามันเบนซินทั่วไป


คําตอบ 1 : CO/คารบอนไดออกไซค



คําตอบ 2 : NOx/aldehyde

าว
คําตอบ 3 : CO/SOx


คําตอบ 4 : SOx/benzene

ขอที่ : 9

ขอใดตอไปนี้ไมปลอยไดออกซินออกสูบรรยากาศ
คําตอบ 1 : การเผาไหมของเชื้อเพลิงภายในยานพาหนะ
คําตอบ 2 : การเผาถุงพลาสติกPVC
คําตอบ 3 : การเผากระดาษทั่วไป
2 of 141
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
ขอที่ : 10
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิในการสันดาปภายในเครื่องยนต ปริมาณสารมลพิษตางๆที่ถูกปลอยสูสิ่งแวดลอมจะเปลี่ยนแปลงไปเชนไร
คําตอบ 1 : ปริมาณกาซคารบอนนอกไซดจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ปริมาณกาซไนโตรเจนไดออกไซดจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : ปริมาณสารประกอบไฮโดรคารบอนจะเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : ปริมาณกาซซัลเฟอรไดออกไซดจะลดลง

น่ า

ขอที่ : 11


ขอใดถูกที่สุด
คําตอบ 1 : ปริมาณกาซไนโตรเจนไดออกไซดในบรรยากาศมีผลทําใหปริมาณกาซโอโซนเพิ่มขึ้นได

มจ
า้
คําตอบ 2 : กาซไนโตรเจนไดออกไซดมีผลชวยลดปริมาณเปอรออกซีอะซิลไนเตรทในบรรยากาศ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : สารประกอบไฮโดรคารบอนมีผลชวยลดปริมาณกาซโอโซนในบรรยากาศ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 12

ส ิท
ว น
ขอใดจัดเปนสารมลพิษทุติยภูมิของการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิง


คําตอบ 1 : CO


คําตอบ 2 : ซัลเฟอรไดออกไซค


คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไตรออกไซค
คําตอบ 4 : NO

กร ข
ขอที่ : 13


ิ ว
าว
ขนาดของอนุภาคมลสารในขอใดที่มักจัดเปนสารมลพิษทุติยภูมิ


คําตอบ 1 : นอยกวา 0.1 ไมครอน


คําตอบ 2 : 0.1-1 ไมครอน
คําตอบ 3 : 1-10 ไมครอน
คําตอบ 4 : มากกวา 10 ไมครอน

ขอที่ : 14
ขอใดตอไปนี้ไมใชมลพิษอากาศที่มีการกําหนดอยูในมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปของประเทศไทย
3 of 141
คําตอบ 1 : แคดเมียม
คําตอบ 2 : คารบอนมอนออกไซด
คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซด
คําตอบ 4 : ฝุน PM10

ขอที่ : 15
มลพิษตั้งตนของการเกิดโอโซน คืออะไร
คําตอบ 1 : NOx และ Hydrocarbon

่ า ย

คําตอบ 2 : CO และ NOx


คําตอบ 3 : SOx และ Hydrocarbon

จ ำ
คําตอบ 4 : NOx และ SOx

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
16
ขอใดตอไปนี้ผิด
คําตอบ 1 : ตัวการสําคัญของการเกิดฝนกรด คือ ซัลเฟอรไดออกไซค และ ไนโตรเจนไดออกไซค

ิท
คําตอบ 2 : ตัวอยางการตกสะสมของกรด แบบเปยก ไดแก ฝน, น้ําคาง, หมอก ที่มีสภาพกรด


คําตอบ 3 : น้ําฝนที่มีคาพีเอช 6.0 ถือเปนสภาพฝนกรด

ว น
คําตอบ 4 : ตัวอยางการตกสะสมของกรด แบบแหง ไดแก ฝุนที่มีกรดจับที่ผิว, แกสที่ตกลงสัมผัสพื้น

ส ง

ขอที่ : 17


ขอใดตอไปนี้ไมใชตัวอยางการใชสาร CFC ในกระบวนการตางๆ ในอดีต

กร
คําตอบ 1 : ใชเปนสารทําความเย็นในตูเย็นและเครื่องปรับอากาศ


คําตอบ 2 : ใชในกระปองสเปรย



คําตอบ 3 : ใชในการผลิตโฟม

าว
คําตอบ 4 : ใชเพิ่มประสิทธิภาพการหลอเย็นเครื่องยนตของรถยนต

ขอที่ : 18

ส ภ
กาซใดตอไปนี้จัดเปนมลพิษอากาศขั้นทุติยภูมิ (Secondary Air Pollutants)
คําตอบ 1 : กาซ CO
คําตอบ 2 : กาซคารบอนไดออกไซค
คําตอบ 3 : กาซโอโซน
คําตอบ 4 : กาซซัลเฟอรไดออกไซค
4 of 141
ขอที่ : 19
สารใดตอไปนี้ไมจัดเปนสารที่กอใหเกิดสภาพบรรยากาศที่เรียกวา Photochemical Smog
คําตอบ 1 : กาซไนโตรเจนออกไซด
คําตอบ 2 : กาซโอโซน
คําตอบ 3 : สารประกอบพวกอัลดีไฮด
คําตอบ 4 : สารคีโตน

่ า ย

ขอที่ : 20


มลพิษอากาศชนิดใดที่เปนสาเหตุหลักของฝนกรด

จ ำ
คําตอบ 1 : กาซโอโชน และ กาซ CO


คําตอบ 2 : กาซ CO และ กาซคารบอนไดออกไซค

า้
คําตอบ 3 : กาซซัลเฟอรไดออกไซค และ กาซ CO

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : กาซซัลเฟอรไดออกไซค และ กาซ NOx

ิท
ขอที่ : 21


กาซใดตอไปนี้ไมใชกาซเรือนกระจก

ว น
คําตอบ 1 : กาซออกซิเจน


คําตอบ 2 : กาซโอโซน


คําตอบ 3 : กาซมีเทน


คําตอบ 4 : กาซไดไนโตรเจนออกไซค

กร ข

ขอที่ : 22



ในเขตเมืองซึ่งมีประชากรหนาแนนของประเทศไทย สารมลพิษชนิดใดถูกตรวจพบมีระดับเกินมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศบอยครั้ง

าว
คําตอบ 1 : PM10, ซัลเฟอรไดออกไซค, NOx


คําตอบ 2 : TSP, PM10,โอโซน


คําตอบ 3 : TSP, CO, Hydrocarbons
คําตอบ 4 : CO, Hydrocarbons, ซัลเฟอรไดออกไซค

ขอที่ : 23
Photochemical smog เปนปรากฏการณการเกิดกลุมหมอกในฤดูรอน เนื่องจากสารมลพิษตั้งตน (primary pollutants) ใดเปนสําคัญ
คําตอบ 1 : CO, Hydrocarbons
5 of 141
คําตอบ 2 : TSP,PM10
คําตอบ 3 : Hydrocarbons, NOx
คําตอบ 4 : โอโซน

ขอที่ : 24
ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตอง
อุตสาหกรรมกระดาษและเยื่อกระดาษเปนอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดมลพิษทางดาน PM10 , ไนโตรเจนไดออกไซด , CO , ซัลเฟอรไดออกไซด สูงที่สุดเมื่อเปรียบ


คําตอบ 1 :

่ า
เทียบกับอุตสาหกรรมประเภทอื่น ๆ


คําตอบ 2 : ฝุนละอองทั้งหมดที่ปลอยออกจากเครื่องยนตดีเซลเปนฝุนละอองที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน 10 ไมครอน (PM10)


คําตอบ 3 : การที่อุณหภูมิของโลกรอนขึ้นเนื่องจากสภาวะเรือนกระจก อาจทําใหโรคบางชนิด เชนมาลาเรีย หรือไขเหลือง กระจายไปยังพื้นที่ตาง ๆไดมากขึ้น


กาซ ซัลเฟอรไดออกไซด จะเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยมากขึ้น เมื่ออยูรวมกับ กาซไนโตรเจนไดออกไซด เนื่องจากทําใหเพิ่มความระคายเคืองตอเนื้อเยื่อในระบบ


คําตอบ 4 :
หายใจ

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 25
การเผาไหมโดยใชความรอนสูงและมีออกซิเจนมากเกินพอ สามารถลดการเกิดสารมลพิษใด

ิท
คําตอบ 1 : CO, Hydrocarbons


คําตอบ 2 : Hydrocarbons, NOx


คําตอบ 3 : TSP,PM10, SOx

ง ว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 26

อ ส
กร ข
กิจกรรมใดดังตอไปนี้ มีแนวโนมมีความเขมขนของ Dioxin และ Furan ในไอเสียสูงที่สุด
คําตอบ 1 : การเผาขยะโดยไมควบคุม


ิ ว
คําตอบ 2 : โรงงานชุบโลหะ

าว
คําตอบ 3 : การขนสงทั้งที่ใชเชื้อเพลิงเบนซิน และดีเซล
คําตอบ 4 : โรงงานปูนซีเมนตที่ใชเชื้อเพลิงลิกไนต

ขอที่ : 27
ส ภ
ฝุนละเอียด (fine particle) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่มี Aerodynamic size เล็กกวาหรือเทากับกี่ไมครอน
คําตอบ 1 : 100 ไมครอน
คําตอบ 2 : 20 ไมครอน
คําตอบ 3 : 2.5 ไมครอน
คําตอบ 4 : 1 ไมครอน 6 of 141
ขอที่ : 28
สิ่งใดที่ไมใชสารมลพิษอากาศ
คําตอบ 1 : ไอระเหยจากสีทาบาน
คําตอบ 2 : กาซโอโซน
คําตอบ 3 : ไอน้ําจากปลองโรงไฟฟา
คําตอบ 4 : ควันไฟปา

่ า ย

ขอที่ : 29


ขอใดที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษอากาศ

จ ำ
คําตอบ 1 : รถใชเชื้อเพลิงไบโอดีเซล


คําตอบ 2 : เขื่อนพลังน้ําผลิตกระแสไฟฟา

า้
คําตอบ 3 : โรงงานทอผา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : รถไฟเครื่องจักรไอน้ํา

ิท
ขอที่ : 30


สารตอไปนี้ สิ่งใดไมใชมลพิษอากาศ

ว น
คําตอบ 1 : ฝุนละออง


คําตอบ 2 : กาซไนโตรเจน


คําตอบ 3 : สารไฮโดรคารบอน


คําตอบ 4 : สารตะกั่ว

กร ข

ขอที่ : 31



ขอใดตอไปนี้ผิดเกี่ยวกับออกไซดของซัลเฟอรในอากาศ

าว
คําตอบ 1 : สวนหนึ่งเกิดจากปฏิกิริยาระหวางโอโซนกับกาซในอากาศ


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
ภ สวนหนึ่งมาจากทะเล
คําตอบ 4 : ไมมีขอผิด

ขอที่ : 32
7 of 141
ขอใดตอไปนี้ผิดเกี่ยวกับออกไซดของไนโตรเจนในอากาศ
คําตอบ 1 : สวนหนึ่งเกิดจากการยอยสลายของ Fertilization bacteria
คําตอบ 2 : สวนหนึ่งเกิดจากการยอยสลายของ Denitrification bacteria
คําตอบ 3 : สวนหนึ่งเกิดจากการยอยสลายของ Nitrification bacteria
คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก. และ ค.

ขอที่ : 33

่ า ย
ขอใดตอไปนี้ผิดเกี่ยวกับออกไซดของคารบอนในอากาศ


คําตอบ 1 : คารบอนไดออกไซดในอากาศที่หอหุมโลกสวนใหญเกิดจากการหายใจของสิ่งมีชีวิต


คําตอบ 2 : คารบอนไดออกไซดในอากาศสามารถทําใหเกิดฝนกรดที่มีคาพีเอช ประมาณ 2 - 4

จ ำ
คําตอบ 3 : บางสวนก็ถูกกําจัดไปจากอากาศโดยการหายใจของแบคทีเรีย


คําตอบ 4 : บางสวนก็เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของกาซมีเทนในอากาศ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 34
สารในขอตอไปนี้ทําใหอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นไดสูงกวาขออื่น (ใหมีความเขมขนในอากาศ1 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตรเทากันหมด)

ิท
คําตอบ 1 : มีเทน


คําตอบ 2 : CFCs

ว น
คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด

ส ง
คําตอบ 4 :

ขอ
ว กร
ขอที่ : 35

าว ศ


สารในขอตอไปนี้ทําใหชั้นโอโซนถูกทําลายไดมากกวาขออื่น (ใหมีความเขมขนในอากาศ1 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตรเทากันหมด)


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
Halon 1301
CFCs 11
CFCs 115

คําตอบ 4 :

8 of 141
ขอที่ : 36
ขอใดตอไปนี้ไมใชแหลงกําเนิดของกาซเรือนกระจก
คําตอบ 1 : ทะเล
คําตอบ 2 : เตาเผาขยะ
คําตอบ 3 : โรงปุย
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

่ า ย

ขอที่ : 37


ขอใดตอไปนี้ถูกที่สุดเกี่ยวกับการเกิดของสารมลพิษทุติยภูมิ

จ ำ
คําตอบ 1 : โอโซนในอากาศบริเวณชนบทมีแนวโนมจะมีความเขมขนสูงในตอนกลางวันและความเขมขนต่ําในตอนกลางคืน


คําตอบ 2 : ไนโตรเจนไดออกไซด ในอากาศบริเวณชนบทมีแนวโนมจะมีความเขมขนสูงในตอนกลางวันและความเขมขนต่ําในตอนกลางคืน

า้
คําตอบ 3 : โอโซนในอากาศบริเวณริมถนนมีแนวโนมจะมีความเขมขนสูงในตอนกลางวันและความเขมขนต่ําในตอนกลางคืน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทั้ง ก. และ ค.

ิท
ขอที่ : 38


จงเลือกขอที่เหมาะสมที่สุดที่จะเติมลงในชองวางของปฏิกิริยาตอไปนี้ VOC +_______----> PANs + by product

ว น
คําตอบ 1 : NO, ไนโตรเจนไดออกไซด


คําตอบ 2 : ไนโตรเจนไดออกไซด, ออกซิเจน


คําตอบ 3 : ออกซิเจน, O


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 39



ปฏิกิริยาในขอใดตอไปนี้กอใหเกิด PM2.5 ได

ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

9 of 141
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :


40

่ า
ขอใดตอไปนี้ผิดที่สุดเกี่ยวกับOH- ในอากาศ


คําตอบ 1 : ทําปฏิกิริยากับ PAHs เกิดเปนฝนกรด


คําตอบ 2 : ทําปฏิกิริยากับ SOx เกิดเปนฝนกรด
คําตอบ 3 : เปนสารโฟโตเคมิคัลชนิดหนึ่ง

จ ำ

คําตอบ 4 : มีพิษตอสุขภาพมนุษย

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 41
ลักษณะใดตอไปนี้ไมสงผลสําคัญตอมลพิษที่เกิดจากการเผาไหม

ิท
คําตอบ 1 : การเผาไหมที่ไมสมบูรณ


คําตอบ 2 : การเผาไหมในอากาศ
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ความชื้นในเชื้อเพลิงและความชื้นในอากาศ
ธาตุอยางอื่นที่นอกเหนือ C และ H ในเชื้อเพลิง

ง ว น
อ ส

ขอที่ : 42

กร
ขอใดตอไปนี้เปนตัวแทนแหลงกําเนิดที่ใหญที่สุดสําหรับมลพิษทางอากาศในแถบชุมชนเมืองและเขตอุตสาหกรรมในโลก


คําตอบ 1 : ฝุนจากลมและการกัดเซาะ



คําตอบ 2 : ของเสียจากพืชและสัตว

าว
คําตอบ 3 : การเผาไหมเชื้อเพลิง


คําตอบ 4 : ไอจากสีทาอาคาร น้ํามันเชื้อเพลิง และตัวทําละลายตาง ๆ

ขอที่ : 43

ขอใดตอไปนี้เปนตัวการสําคัญที่กอใหเกิดสารประกอบจากปฏิกิริยา Photooxidation เชน โอโซน
คําตอบ 1 : VOCs และ SOx
คําตอบ 2 : VOCs และ NOx
คําตอบ 3 : VOCs และ COx
10 of 141
คําตอบ 4 : VOCs SOx และ NOx
ขอที่ : 44
ความเขมขนเฉลี่ยของแกสคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ มีคาประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 35 ppm
คําตอบ 2 : 350 ppm
คําตอบ 3 : 3,500 ppm


คําตอบ 4 : 35,000 ppm

น่ า

ขอที่ : 45


ระยะเวลาเฉลี่ยที่โมเลกุลหนึ่งๆ ของแกสคารบอนไดออกไซดอยูในบรรยากาศ มีคาประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 15 นาที

มจ
า้
คําตอบ 2 : 15 วัน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 15 ป
คําตอบ 4 : 150 ป

ขอที่ : 46

ส ิท
ว น
จากการศึกษาของกรมควบคุมมลพิษในป พ.ศ.2548 ขอใดเปนแหลงกําเนิดหลักของฝุนละอองขนาดเล็กในเขตจังหวัดสมุทรปราการ


คําตอบ 1 : แหลงกําเนิดแบบอยูกับที่


คําตอบ 2 : แหลงกําเนิดแบบเคลื่อนที่


คําตอบ 3 : แหลงกําเนิดแบบพื้นที่
คําตอบ 4 : แหลงกําเนิดจากชุมชน

กร ข
ขอที่ : 47


ิ ว
าว
จากการศึกษาของกรมควบคุมมลพิษในป พ.ศ.2548 อุตสาหกรรมประเภทใดที่สงผลใหเกิดฝุนละอองขนาดเล็กในเขตจังหวัดสมุทรปราการมากที่สุด


คําตอบ 1 : อุตสาหกรรมเหล็ก


คําตอบ 2 : อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ
คําตอบ 3 : อุตสาหกรรมแกว
คําตอบ 4 : อุตสาหกรรมสิ่งทอ

ขอที่ : 48
ขอใดไมใชออกไซดของไนโตรเจนที่พบไดในบรรยากาศ
11 of 141
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
คําตอบ 3 :

หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 49
การไดรับกาซคารบอนมอนอกไซดผานทางการหายใจมีผลกระทบตอสุขภาพของมนุษยขอใดมากที่สุด

ิท
คําตอบ 1 : กาซคารบอนมอนอกไซดทําใหปอดทํางานผิดจังหวะจากการเขาไปแทนที่ในถุงลมปอด


คําตอบ 2 : กาซคารบอนมอนอกไซดจับกับเม็ดเลือดแดงทําใหรางกายขาดกาซออกซิเจน

ว น
คําตอบ 3 : กาซคารบอนมอนอกไซดทําใหรางกายออนเพลียจากการลดปริมาณกาซเขาสูปอด


คําตอบ 4 : กาซคารบอนมอนอกไซดทําใหเกิดมะเร็งในเม็ดเลือดจากพิษที่สรางขึ้น

อ ส

ขอที่ : 50

กร
ขอใดตอไปนี้ไมใชผลกระทบของกาซไนโตรเจนไดออกไซดที่มีตอมนุษย


คําตอบ 1 : โรคหลอดลมอักเสบ



คําตอบ 2 : โรคโลหิตจาง

าว
คําตอบ 3 : โรคปอดบวม


คําตอบ 4 : หายใจไมออก แนนหนาอก

ขอที่ : 51

ขอใดผิดที่สุดเมื่อรางกายมนุษยไดรับสารตะกั่ว
คําตอบ 1 : ตะกั่วจะถูกขับออกทางปสสาวะมากกวาทางอุจจาระ
คําตอบ 2 : ตะกั่วจะไปสะสมมากในกระดูก
คําตอบ 3 : ปวยเปนโรคกระดูกพรุน
คําตอบ 4 : ปวยเปนโรคสมองอักเสบ 12 of 141
ขอที่ : 52
ขอใดผิดที่สุดเกี่ยวกับไนโตรเจนไดออกไซด
คําตอบ 1 : เปนสารโฟโตเคมิคัลออกซิแดนท
คําตอบ 2 : กอใหเกิดรูโหวของชั้นโซนในบรรยากาศ
คําตอบ 3 : กอใหเกิดปรากฎการณเรือนกระจก


คําตอบ 4 : กอใหเกิดฝนกรด

น่ า

ขอที่ : 53


สารในขอใดเมื่อเขาสูรางกายแลวไมทําใหเกิดความผิดปกติของโลหิต
คําตอบ 1 : ซัลเฟอรไดออกไซด

มจ
า้
คําตอบ 2 : ตะกั่ว

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : คารบอนมอนนอกไซด
คําตอบ 4 : โอโซน

ขอที่ : 54

ส ิท
ว น
ขอใดผิดที่สุดเกี่ยวกับ CFC


คําตอบ 1 : กอใหเกิดรูโหวของชั้นโอโซนในบรรยากาศ


คําตอบ 2 : จัดเปนกาซเรือนกระจกชนิดหนึ่ง


คําตอบ 3 : กอใหเกิดฝนกรด
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

กร ข
ขอที่ : 55


ิ ว
าว
เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการคนพบอะไรเกี่ยวกับชั้นโอโซนในชั้นบรรยากาศโลก


คําตอบ 1 : ชั้นโอโซนไมมีผลตอการปองกันรังสีอุลตราไวโอเล็ตที่ลงมายังผิวโลก


คําตอบ 2 : สารเคมีซึ่งเปนสวนผสมของสีสเปรยและสารทําความเย็นในตูเย็น เปนตัวการทําลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ
คําตอบ 3 : ขนาดของรูรั่วของชั้นโอโซนยังคงขยายขึ้นเรื่อยๆ
คําตอบ 4 : อัตราความเสียหายของชั้นโอโซนลดต่ําลงกวาเดิม

ขอที่ : 56
ขอใดตอไปนี้เปนกิจกรรมของมนุษยที่สงผลทําใหเกิดปรากฏการณโลกรอนมากที่สุด
13 of 141
คําตอบ 1 : การใชอุปกรณควบคุมมลพิษที่ไมมีประสิทธิภาพ
คําตอบ 2 : การใชสาร CFCs
คําตอบ 3 : การเผาผลาญเชื้อเพลิง
คําตอบ 4 : การตัดไมทําลายปา

ขอที่ : 57
ขอใดตอไปนี้ถูก
คําตอบ 1 : ไนโตรเจนไดออกไซค เปนมลพิษอากาศที่สงผลเสียตอระบบทางเดินหายใจสวนบน

่ า ย

คําตอบ 2 : โอโซน เปนมลพิษอากาศที่สงผลเสียตอระบบทางเดินหายใจสวนลาง


คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซค เปนมลพิษอากาศที่สงผลเสียตอระบบทางเดินหายใจสวนลาง

จ ำ
คําตอบ 4 : ควันบุหรี่เปนมลพิษอากาศที่สงผลเสียตอระบบทางเดินหายใจสวนบน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
58
ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับโอโซน
คําตอบ 1 : หากอยูในชั้นบรรยากาศ Stratosphere จะชวยดูดซับรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย

ิท
คําตอบ 2 : หากใชโอโซนในปริมาณที่เหมาะสม ทําใหรูสึกสดชื่นขึ้นเนื่องจากโอโซน กําจัดฝุนในอากาศ


คําตอบ 3 : องคการอนามัยโลกระบุความเขมขนโอโซน ในบรรยากาศไมเกิน 60 ppb เฉลี่ยจาก 8 ชั่วโมง เนื่องจาก โอโซนเปนอันตรายตอเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิต

ว น
คําตอบ 4 : สาร ประกอบฮาโลเจน เชน CFCs เปนตัวการทําใหปริมาณโอโซน ในชั้น Stratosphere ลดลง ปจจุบันมีความพยายามใชสารประกอบที่มีอายุสั้นทดแทน

ส ง

ขอที่ : 59


การตรวจพบจุดดางบนใบพืช, ใบพืชมีสีน้ําตาลหรือสีเหลือง, และใบรวงงาย นาจะมีสาเหตุมาจากสารมลพิษใด

กร
คําตอบ 1 : Photochemical oxidants


คําตอบ 2 : ไนโตรเจนไดออกไซค, ซัลเฟอรไดออกไซค



คําตอบ 3 : สารประกอบฟลูออไรด

าว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 60

ส ภ
สารมลพิษใดตอไปนี้เปนตัวการสําคัญที่สุดทําใหอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น
คําตอบ 1 : มีเทน
คําตอบ 2 : CO
คําตอบ 3 : CFCs
คําตอบ 4 : คารบอนไดออกไซค
14 of 141
ขอที่ : 61
ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุดเกี่ยวกับฝนกรด
คําตอบ 1 : ฝนกรดหมายถึงฝนที่มี pH ต่ํากวา 7
คําตอบ 2 : แหลงกําเนิดสารมลพิษที่กอใหเกิดฝนกรดที่สําคัญ คือ โรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล
ฝนกรดไปทําลายสมดุลธาตุอาหารที่สําคัญของพืช โดยไปชะสารประกอบ N และ P ในดินใหอยูในรูปที่ละลายน้ําได กอใหเกิดปญหามลพิษทางน้ําตามเนื่องจากการ
คําตอบ 3 :
เติบโตอยางรวดเร็วของสาหราย


คําตอบ 4 : แหลงน้ําที่มีคาความเปนดางต่ําจะไดรับผลกระทบจากฝนกรดนอยกวาแหลงน้ําที่มีคาดังกลาวสูงกวา

น่ า

ขอที่ : 62


สารมลพิษใดทําใหดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ (Air Quality Index) ในประเทศไทยมีคาสูง

มจ
คําตอบ 1 : PM10

า้
คําตอบ 2 : NOx

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : CO
คําตอบ 4 : โอโซน

ขอที่ : 63

ส ิท

DDT เคยถูกใชอยางแพรหลายในอดีต แตปจจุบันการใช DDT ไมปรากฏแพรหลายเนื่องจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 :

ง ว
DDT มีความเปนพิษสูง แมจะมีศักยภาพในการฆาแมลง แตเปนเหตุทําใหมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นเสียชีวิตอยางเฉียบพลัน


คําตอบ 2 : DDT ถูกใชอยางแพรหลาย แมลงศัตรูพืชสามารถวิวัฒนาการปรับตัวใหทนตอความเปนพิษของ DDT ไดภายในไมกี่ทศวรรษ


คําตอบ 3 : DDT เปนสารประกอบที่มีความคงตัวในสิ่งแวดลอม และเขาไปสะสมในหวงโซอาหาร กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

กร ข
คําตอบ 4 : ปจจุบันสามารถคิดคนยาฆาแมลงที่มีประสิทธิภาพ และราคาถูกกวา DDT ความนิยมในการเลือกใช DDT จึงลดลง และเลิกผลิตในที่สุด

ขอที่ : 64


ิ ว
าว
ขอใดที่ไมใชผลกระทบจากมลพิษอากาศ


คําตอบ 1 : สภาวะโลกรอน


คําตอบ 2 : ผลเสียตอสุขภาพอนามัย
คําตอบ 3 : โรคโลหิตจางในเด็ก
คําตอบ 4 : การจราจรติดขัด

ขอที่ : 65
ขอใดที่ไมเกี่ยวของกับชองโหวในชั้นโอโซน
15 of 141
คําตอบ 1 : รังสียูวี
คําตอบ 2 : รังสีแกมมา
คําตอบ 3 : สาร CFC
คําตอบ 4 : มะเร็งผิวหนัง

ขอที่ : 66
สารตะกั่วมีอันตรายอยางใดตอรางกาย
คําตอบ 1 : โรคระบบหายใจ ถุงลมปอดอักเสบ
คําตอบ 2 : กระดูกผุกรอน

่ า ย

คําตอบ 3 : โรคโลหิตจาง เปนอันตรายตอระบบประสาท


คําตอบ 4 : เปนมะเร็ง

จ ำ

ขอที่ :

า้
67
ขอใดเปนผลกระทบตอสุขภาพซึ่งมีสาเหตุจากฝุนละออง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
คําตอบ 2 : เกิดการระคายเคืองที่ตา

ิท
คําตอบ 3 : อาจเปนสาเหตุของโรคหัวใจในที่สุด


คําตอบ 4 : ถูกหมดทุกขอ

ขอที่ :

ง ว น

68


ขอใดเปนผลกระทบตอสุขภาพที่เกิดเนื่องจากไนโตรเจนไดออกไซด


คําตอบ 1 : เพิ่มโอกาสในการเกิดโรคหอบหืด

กร
คําตอบ 2 : ลดประสิทธิภาพการทํางานของปอด


คําตอบ 3 : เกิดอาการระคายเคืองในทางเดินหายใจ



คําตอบ 4 : ถูกหมดทุกขอ

ขอที่ : 69

ภ าว

ผลกระทบตอสุขภาพจาก heavy metals อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะใดในรางกาย
คําตอบ 1 : ระบบประสาท
คําตอบ 2 : ระบบโลหิต
คําตอบ 3 : ตับ และ ผิวหนัง
คําตอบ 4 : ถูกหมดทุกขอ

16 of 141
ขอที่ : 70
ขอใดไมใชผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากการไดรับตะกั่ว
คําตอบ 1 : ผลกระทบตอการเรียนรูในเด็ก
คําตอบ 2 : ทําลายระบบประสาท
คําตอบ 3 : ทําลายระบบหายใจสวนบน
คําตอบ 4 : โรคโลหิตจาง

่ า ย
ขอที่ : 71


ขอใดเปนผลกระทบที่เกิดขึ้นเนื่องจากการไดรับรังสี UV


คําตอบ 1 : มะเร็งผิวหนัง

จ ำ
คําตอบ 2 : มีผลตอระบบภูมิคุมกันโรค


คําตอบ 3 : มีผลตอระบบประสาทภายในรางกาย

า้
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 72
ิธ์ ห
ิท
มลพิษอากาศในขอใดที่ไมมีผลทําใหเกิดการระคายเคืองตา


คําตอบ 1 : โอโซน

ว น
คําตอบ 2 : คารบอนมอนอกไซด


คําตอบ 3 : ไนโตรเจนออกไซด


คําตอบ 4 : ฝุนละอองตางๆ

ขอ
กร
ขอที่ : 73


โรค silicosis เกิดจากสาเหตุใด



คําตอบ 1 : ฝุนทราย

าว
คําตอบ 2 : ฝุนใยแอสเบสตอส


คําตอบ 3 : ฝุนฝาย


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 74
โรค bagassosis เกิดจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 : ฝุนทราย
คําตอบ 2 : เสนใยของกากออย
17 of 141
คําตอบ 3 : ฝุนฝาย
คําตอบ 4 : ฝุนซิลิกา

ขอที่ : 75
โรค Byssinsis เกิดจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 : ฝุนทราย
คําตอบ 2 : เสนใยกากออย
คําตอบ 3 : ฝุนฝาย

่ า ย

คําตอบ 4 : ฝุนซิลิกา

ขอที่ : 76

จ ำ ห

ขอใดเปนผลกระทบตอสุขภาพโดยตรงเนื่องจากไนโตรเจนออกไซด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มะเร็งปอด
คําตอบ 2 : เพิ่มโอกาสในการเกิดโรคปอดในผูสูงอายุ
คําตอบ 3 : เพิ่มโอกาสในการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจสวนลางในเด็ก

ิท
คําตอบ 4 : ผลตอการทํางานของระบบประสาท

นส

ขอที่ : 77


ขอใดเปนผลกระทบเนื่องจากปรากฏการณฝนกรด
คําตอบ 1 : มีตอการสังเคราะหแสงในพืช

อ ส

คําตอบ 2 : มีผลตอการสูญเสียธาตุอาหารในดิน

กร
คําตอบ 3 : ทําใหการทดแทนของพรรณไมในปาลดลง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 78

าว ศ


ขอใดไมใชผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากไนโตรเจนไดออกไซด


คําตอบ 1 : ลดประสิทธิภาพการทํางานของปอด
คําตอบ 2 : ทําใหเกิดอาการระคายเคืองในทางเดินหายใจ
คําตอบ 3 : เปนสาเหตุใหเกิดมะเร็ง
คําตอบ 4 : ทําใหมีอาการเกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจแบบเรื้อรัง

ขอที่ : 79 18 of 141
London smog เกิดจากสาเหตุใด และมีผลกระทบตอสุขภาพอยางไร
คําตอบ 1 : ไนโตรเจนออกไซด ทําใหเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ
คําตอบ 2 : ซัลเฟอรไดออกไซดทําใหเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ
คําตอบ 3 : ไนโตรเจนออกไซดทําใหเกิดการทําลายระบบประสาทและเปนอัมพาตในที่สุด
คําตอบ 4 : ซัลเฟอรไดออกไซดทําใหเกิดการทําลายระบบประสาทและเปนอัมพาตในที่สุด

ขอที่ : 80

่ า ย
ถาหากรางกายไดรับโอโซนจะมีอาการอยางไร


คําตอบ 1 : ทําใหเกิดการหายใจติดขัด มีผลกับคนที่เปนโรคหอบหืด


คําตอบ 2 : เกิดอาการปวดหัว ตัวรอน

จ ำ
คําตอบ 3 : เกิดอาการแพตามผิวหนัง เปนผื่นแดง


คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 81
ขอใดเปนผลกระทบตอสุขภาพเมื่อรางกายไดรับกาซคารบอนมอนอกไซด

ิท
คําตอบ 1 : CO ไปจับฮีโมโกลบินแทนที่ ออกซิเจน ทําใหรางกายขาดออกซิเจน


คําตอบ 2 : เกิดระคายเคืองของทางเดินหายใจ

ว น
คําตอบ 3 : เสนประสาทสวนปลายเกิดอัมพาตที่นิ้ว แขน ขา และมือ


คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

อ ส

ขอที่ : 82

กร
การที่สารมลพิษอากาศที่เปนโฟโตเคมีคัลออกซิแดนท (Photochemical oxidants) โดยเฉพาะกาซโอโซนมีผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนทั่วไปและกลุมผูปวยโรคทางเดิน


หายใจ จะมีผลตอการพิจารณาเหตุผลในการกําหนดคามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศขอใดตอไปนี้มากที่สุด



คําตอบ 1 : ตองกําหนดคามาตรฐานอากาศในบรรยากาศโดยคํานึงถึงคาความเขมขนสูงสุดใน 1 ชั่วโมง

าว
คําตอบ 2 : ตองกําหนดคามาตรฐานอากาศในบรรยากาศโดยคํานึงถึงคาความเขมขนสูงสุดใน 8 ชั่วโมงทํางาน


คําตอบ 3 : ตองกําหนดคามาตรฐานอากาศในบรรยากาศโดยคํานึงถึงคาความเขมขนสูงสุดรายวัน (24 ชั่วโมง)


คําตอบ 4 : ตองกําหนดคามาตรฐานอากาศในบรรยากาศโดยคํานึงถึงคาความเขมขนสูงสุดรายเดือน

ขอที่ : 83
ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตองมากที่สุด
คําตอบ 1 : ผลกระทบของสารมลพิษอากาศที่มีตอพืชแตกตางกันไปตามประเภทของสารมลพิษอากาศ และระดับความรุนแรงที่มีตอมนุษยและพืชจะมีลักษณะคลายคลึงกัน
คําตอบ 2 : ผลกระทบของสารมลพิษอากาศที่มีตอพืชแตกตางกันไปตามประเภทของสารมลพิษอากาศ และระดับความรุนแรงที่มีตอมนุษยและพืชไมเทากัน
คําตอบ 3 : ผลกระทบของสารมลพิษอากาศที่มีตอพืชไมขึ้นกับประเภทของสารมลพิษอากาศ แตความรุนแรงจะมีกับมนุษยมากกวาพืช 19 of 141

คําตอบ 4 : ผลกระทบของสารมลพิษอากาศที่มีตอพืชไมขึ้นกับประเภทของสารมลพิษอากาศ แตความรุนแรงจะมีกับพืชมากกวามนุษย


ขอที่ : 84
ผลกระทบของฝนกรดที่มาจากมลพิษอากาศสงผลใหระบบนิเวศ เชน ปาไม ไดรับความเสียหาย อยากทราบวาขอใดตอไปนี้อธิบายการเกิดฝนกรดไดถูกตองมากที่สุด
ซัลเฟอรไดออกไซค และ NOx เปนกาซหลักที่ทําใหเกิดฝนกรด โดยทําปฏิกิริยากับ OH ในบรรยากาศ โดยความเร็วของการเกิดออกซิเดชั่นของซัลเฟอรไดออกไซ
คําตอบ 1 :
ค ต่ํากวา NOx ประมาณ 1 เทา
ซัลเฟอรไดออกไซค และ NOx เปนกาซหลักที่ทําใหเกิดฝนกรด โดยทําปฏิกิริยากับ OH ในบรรยากาศ โดยความเร็วของการเกิดออกซิเดชั่นของซัลเฟอรไดออกไซ
คําตอบ 2 :


ค สูงกวา NOx ประมาณ 10 เทา

่ า
คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซค และ NOx เปนกาซหลักที่ทําใหเกิดฝนกรด โดยทําปฏิกิริยากับ OH ในบรรยากาศ


คําตอบ 4 : ซัลเฟอรไดออกไซค และ NOx เปนกาซหลักที่ทําใหเกิดฝนกรด โดยทําปฏิกิริยากับ น้ํา ในบรรยากาศ

ขอที่ : 85

จ ำ ห
า้ ม
ลักษณะเชนใดของฝุนที่สงผลรายแรงที่สุดตอสุขภาพของมนุษย

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ขนาดของฝุน โดยเฉพาะอยางยิ่งฝุนที่ขนาดเล็กกวา 10 ไมโครเมตร
คําตอบ 2 : ความสามารถของฝุนในการดูดซับสารอินทรียที่เปนพิษบนพื้นผิวของฝุน
คําตอบ 3 : ความทนทานของฝุนจากการกัดเซาะ

ิท
คําตอบ 4 : แหลงกําเนิดจากปรากฏการณที่ควบคุมไมได เชน ฝุนจากการกัดเซาะโดยลม

นส

ขอที่ :


86


บริเวณใดของโลกที่ไดรับผลกระทบเนื่องจากรังสี UV สองผานลงมายังพื้นโลกมากผิดปกติ


คําตอบ 1 : เสนศูนยสูตร


คําตอบ 2 :

กร
ขั้วโลกใต
คําตอบ 3 : ขั้วโลกเหนือ


คําตอบ 4 : ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต

ขอที่ : 87

าว ศ


ขอใดเปนสาเหตุหลักที่ทําใหประเทศไทยเปลี่ยนมาใชน้ํามันเบนซินชนิดไรสารตะกั่ว


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
เนื่องจากปริมาณสารตะกั่วในบรรยากาศทั่วไปมีคาสูงจนถึงขั้นวิกฤติ
เนื่องจากสารตะกั่วมีราคาสูงขึ้น
เนื่องจากสารตะกั่วเปนพิษตอ Catalytic Converter ในรถยนตรุนใหม
คําตอบ 4 : เนื่องจากมีการคนพบสารเพิ่มคาออกเทนที่ดีกวา คือ สารปรอท

ขอที่ : 88 20 of 141
มลพิษชนิดใดกอใหเกิดผลกระทบทางดานทัศนวิสัย
คําตอบ 1 : ซัลเฟอรไดออกไซค
คําตอบ 2 : Photochemical Oxidants
คําตอบ 3 : ฝุนละออง
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 89

่ า ย
Sick Building Syndrome (SBS) หมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : สภาวะที่ผูใชอาคารจํานวนหนึ่งมีอาการผิดปกติเปนระยะเวลานานโดยไมทราบสาเหตุแนชัด


คําตอบ 2 : สภาวะที่ผูใชอาคารจํานวนหนึ่งมีอาการผิดปกติเปนระยะเวลานานจากการไดรับมลพิษอากาศชนิดหนึ่ง

จ ำ
คําตอบ 3 : สภาวะที่ผูใชอาคารจํานวนหนึ่งมีอาการผิดปกติรุนแรงแบบเฉียบพลันโดยไมทราบสาเหตุแนชัด


คําตอบ 4 : สภาวะที่อาคารมีความผิดปกติจนทําใหเกิดมลพิษปกคลุมไปทั่วอาคาร

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 90
ขอใดไมใชมลพิษอากาศที่สงผลกระทบที่สําคัญตอพืช

ิท
คําตอบ 1 : HF


คําตอบ 2 : PAN

ว น
คําตอบ 3 : CO


คําตอบ 4 : Ozone

อ ส

ขอที่ : 91

กร
มนุษยไดรับผลกระทบจากมลพิษอากาศโดยตรงจากชั้นบรรยากาศใดมากที่สุด


คําตอบ 1 : โทรโพสเฟยร (Troposhere)



คําตอบ 2 : เมโสเฟยร (Mesosphere)

าว
คําตอบ 3 : เทอรโมสเฟยร (Theremosphere)


คําตอบ 4 : ไอโอโนสเฟยร (Ionoshere)

ขอที่ : 92

เหตุผลใดที่ทําใหสารคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) มีการสะสมอยูในบรรยากาศไดดี
คําตอบ 1 : ความสามารถในการทําปฏิกิริยาไดดีของสารคลอโรฟลูออโรคารบอนในบรรยากาศ
คําตอบ 2 : ความคงตัวของสารคลอโรฟลูออโรคารบอนในบรรยากาศ
คําตอบ 3 : ความสามารถในการดูดกลืนแสงอาทิตยของสารคลอโรฟลูออโรคารบอนในบรรยากาศ
21 of 141
คําตอบ 4 : ความสามารถในการลอยตัวของสารคลอโรฟลูออโรคารบอนในบรรยากาศ
ขอที่ : 93
สภาพของบรรยากาศชนิดใดมีแนวโนมทําใหเกิด inversion มากที่สุด
คําตอบ 1 : พื้นที่ลุมภายหลังฝนหยุดตกใหม ฟามีเมฆนอย มีความเร็วลมต่ํา
คําตอบ 2 : บริเวณริมทะเลตอนกลางวันที่ฟาใสไมมีเมฆปกคลุม มีความเร็วลมต่ํา
คําตอบ 3 : บริเวณพื้นที่หุบเขาเวลากลางคืนที่มีอากาศเย็นมีความเร็วลมต่ํา


คําตอบ 4 : บริเวณเมืองทองฟาแจมใสมีความเร็วลมต่ํา

น่ า

ขอที่ : 94


การแพรกระจายตัวของกลุมควัน (Plume) แบบ Fanning เกิดขึ้นจากเงื่อนไขของสภาพบรรยากาศแบบใด
คําตอบ 1 : อุณหภูมิอากาศในแนวดิ่งเหนือพื้นดินลดลงตามความสูงเร็วกวาอุณหภูมิแบบ Dry adiabatic

มจ
า้
คําตอบ 2 : อุณหภูมิอากาศในแนวดิ่งเหนือพื้นดินเพิ่มขึ้นตามความสูงเร็วกวาอุณหภูมิแบบ Dry adiabaticเฉพาะดานลางของปลอง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : อุณหภูมิอากาศในแนวดิ่งเหนือพื้นดินเพิ่มขึ้นตามความสูงทั้งในระดับดานลางและดานบนของปลองทําใหจํากัดการเคลื่อนที่ของกลุมควันในแนวดิ่ง
คําตอบ 4 : อุณหภูมิอากาศในแนวดิ่งเหนือพื้นดินลดลงตามความสูงชากวาอุณหภูมิแบบ Dry adiabatic

ขอที่ : 95

ส ิท
ว น
การใช Gaussian equation มาอธิบายการกระจายตัวของกลุมควันจากปลองมีความหมายอยางไร


คําตอบ 1 : การเคลื่อนที่ของกลุมควันมีการกระจายตัวแบบเบไปทางซายในแนวแกน Y และเบขวาในแนวแกน Z


คําตอบ 2 : การเคลื่อนที่ของกลุมควันมีการกระจายตัวแบบเบไปทางขวาในแนวแกน Y และเบซายในแนวแกน Z


คําตอบ 3 : กลุมควันที่ปลอยออกจากปลองมีการกระจายตัวแบบสมมาตรในแนวแกน Y และ Z
คําตอบ 4 :

กร ข
กลุมควันที่ปลอยออกจากปลองมีการกระจายตัวเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศ

ขอที่ : 96


ิ ว
าว
ในทางอุตุนิยมวิทยารังสีที่เห็นดวยตาเปลา ที่มีชวงคลื่นสั้นที่สุด คือขอใด


คําตอบ 1 : รังสีอุลตราไวโอเลต


คําตอบ 2 : รังสีอินฟราเรด
คําตอบ 3 : รังสีแสงสีมวง
คําตอบ 4 : รังสีแสงสีแดง

ขอที่ : 97
คาอัลบีโด (Albedo) เฉลี่ยของโลกมีคาประมาณเทาใด
22 of 141
คําตอบ 1 : รอยละ 0.03
คําตอบ 2 : รอยละ 0.3
คําตอบ 3 : รอยละ 3
คําตอบ 4 : รอยละ 30

ขอที่ : 98
ปจจัยใดไมมีผลตอคาอัลบีโด (Albedo)
คําตอบ 1 : เมฆ

่ า ย

คําตอบ 2 : รังสีจากดวงอาทิตย


คําตอบ 3 : ออกซิเจน และโอโซน

จ ำ
คําตอบ 4 : การระเหย

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
99
ขอใดเปนลมที่พัดในทิศสวนทางกัน
คําตอบ 1 : ลมตะวันตก/ลมสลาตัน

ิท
คําตอบ 2 : ลมตะเภา/ลมวาว


คําตอบ 3 : ลมตะเภา/ลมสลาตัน

ว น
คําตอบ 4 : ลมวาว/ลมตะวันตก

ส ง

ขอที่ : 100


ขอใดผิดเมื่อเสถียรภาพของบรรยากาศมาก

กร
คําตอบ 1 : การลอยตัวของพลูมลดลง


คําตอบ 2 : ความเขมขนของมลภาวะในระดับพื้นดินสูงขึ้น



คําตอบ 3 : การกระจายตัวของมลภาวะลดลง

าว
คําตอบ 4 : ความเร็วลมสูงขึ้น

ขอที่ : 101

ส ภ
กําหนดคาการลดอุณหภูมิตามระดับความสูง (Lapse rate) เทากับ 3.5 องศาฟาเรนไฮ/1000 ฟุต ถามีมวลอากาศอยูทีระดับพื้นผิวมีอุณหภูมิ 67 องศาฟาเรนไฮ จงหาความสูงที่มวล
อากาศจะลอยขึ้นไดสูงสุด
คําตอบ 1 : 19143 ฟุต
คําตอบ 2 : 10000 ฟุต
คําตอบ 3 : 5430 ฟุต
คําตอบ 4 : 2345 ฟุต 23 of 141
ขอที่ : 102
ขอใดถูกเกี่ยวกับลมประจําถิ่น
คําตอบ 1 : ในเวลากลางวันลมมักจะพัดเขาหาภูเขา
คําตอบ 2 : ในเวลากลางวันลมมักจะพัดจากฝงออกไปสูทะเล
คําตอบ 3 : ในเวลากลางคืนลมมักจะพัดจากทะเลเขามาหาฝง


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

น่ า

ขอที่ : 103


ขอใดถูกที่สุด
คําตอบ 1 : ในสภาพอินเวอรชั่น (Inversion) อากาศจะมีความเสถียรต่ํา

มจ
า้
คําตอบ 2 : อินเวอรชั่นมักเกิดในเวลากลางวันและหายไปในเวลากลางคืน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : สารมลพิษจะแพรกระจายไดดีในตําแหนงที่บรรยากาศมีความเสถียรต่ํา
คําตอบ 4 : ความเสถียรของบรรยากาศแบบ Pasquill ที่ระดับ B มีความเสถียรมากกวาระดับ F

ขอที่ : 104

ส ิท
ว น
ขอใดไมใชคุณสมบัติของแบบจําลองการแพรกระจายมลพิษในบรรยากาศตามหลักการของ Eulerian


คําตอบ 1 : แสดงความเขมขนของสารมลพิษในรูปความเร็วในการไหลของอากาศ


คําตอบ 2 : ประสบปญหาclosure problemในการแกสมการทางคณิตศาสตร


คําตอบ 3 : ตัวแปรตนหลักในแบบจําลองสามารถวัดไดจริง
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

กร ข
ขอที่ : 105


ิ ว
าว
ขอใดไมใชคุณสมบัติของแบบจําลองการแพรกระจายมลพิษในบรรยากาศตามหลักการของ Lagrangian


คําตอบ 1 : แสดงความเขมขนของสารมลพิษในรูปการแทนที่ของกลุมอนุภาคในอากาศ


คําตอบ 2 : ประสบปญหาclosure problemในการแกสมการทางคณิตศาสตร
คําตอบ 3 : ผลการคํานวณสามารถจําลองการแพรกระจายของมลพิษไดเฉพาะสถานการณใดสถานการณหนึ่งเทานั้น
คําตอบ 4 : ตัวแปรตนหลักในแบบจําลองไมสามารถวัดไดจริง

ขอที่ : 106
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับแบบจําลองทางคณิตศาสตรแบบ Gaussian
24 of 141
คําตอบ 1 : ใชหลักการของ Lagrangian
คําตอบ 2 : อยูภายใตสมมุติฐานที่วาสภาพทางอุตุนิยมวิทยาตองคงที่เสมอ
คําตอบ 3 : อยูภายใตสมมุติฐานที่วามลพิษตองลอยถึงจุดสมดุลกอนแลวจึงถูกพัดไปตามทิศทางลม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 107
ขอใดตอไปนี้เปนสภาพที่เกิดเสถียรภาพบรรยากาศแบบ Unstable
คําตอบ 1 : ambient lapse rate เปนแบบ Superadiabatic

่ า ย

คําตอบ 2 : มวลอากาศไมมีการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง


คําตอบ 3 : ambient lapse rate เปนแบบ Subadiabatic

จ ำ
คําตอบ 4 : มวลอากาศที่ถูกผลักขึ้นหรือลงในแนวดิ่งจะเคลื่อนที่กลับมาที่ระดับเดิม

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
108
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับความสูงผสม (mixing height)
คําตอบ 1 : ความสูงผสมเปนขอบเขตการผสมในแนวดิ่งของบรรยากาศจากพื้นดินถึงระดับดังกลาว

ิท
คําตอบ 2 : ความสูงผสมเปนขอบเขตที่บรรยากาศเหนือขึ้นไปมีความปนปวนสูง


คําตอบ 3 : ความสูงผสมเปนขอบเขตการผสมของอากาศที่มีคาไมเปลี่ยนแปลงตามเวลา

ว น
คําตอบ 4 : ความสูงผสมเปนขอบเขตการผสมของอากาศที่เกิดขึ้นเฉพาะชวงเวลาที่ลมสงบเทานั้น

ส ง

ขอที่ : 109


แบบจําลองคุณภาพอากาศแบบกลอง ใชหลักการของสมดุลวัสดุ จงเลือกขอที่ทําใหสมการตอไปนี้เปนสมการทั่วไปที่สมบูรณ อัตราการไหลเขา – อัตราการไหลออก + อัตราการเกิด

กร
ขึ้น – อัตราการถูกทําลาย = _____________


คําตอบ 1 : ความเขมขนของมลสารในกลอง



คําตอบ 2 : อัตราการสะสม

าว
คําตอบ 3 : ความเขมขนของมลสารที่ออกจากกลอง


คําตอบ 4 : อัตราการแปรสภาพ

ขอที่ : 110

ขอใดตอไปนี้ไมใชขอสมมุติของแบบจําลองคุณภาพอากาศแบบกลอง
คําตอบ 1 : ความสูงของกลองคือความสูงผสม
คําตอบ 2 : ความปนปวนของอากาศทําใหความเขมขนของมลพิษมีคาเทากันหมดทุกจุดภายในกลอง
คําตอบ 3 : ความเขมขนของมลพิษกอนที่จะเขากลองมีคาเปนศูนยเสมอ
คําตอบ 4 : ความเร็วลมที่พัดคงที่ 25 of 141
ขอที่ : 111
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับแบบจําลองคุณภาพอากาศแบบกลอง
คําตอบ 1 : ใชขอสมมุติใหความเร็วลมในกลองมีคาไมเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง
คําตอบ 2 : ใชขอสมมุติใหไมมีการเคลื่อนที่ของมลพิษออกทางดานขางหรือดานบนของกลอง
คําตอบ 3 : ตําแหนงของแหลงกําเนิดมลพิษภายในปลองไมมีผลตอการคํานวณ


คําตอบ 4 : ความเขมขนของมลพิษที่ออกจากกลองอาจเทาหรือไมเทากับความเขมขนของมลพิษที่อยูภายในกลองก็ได

น่ า

ขอที่ : 112


เทศบาลแหงหนึ่งมีพื้นที่เปนสี่เหลี่ยมผืนผา ดานที่ตั้งฉากกับทิศลมระยะทางประมาณ 6.5 กม. ดานที่ขนานกับทิศลมระยะทางประมาณ 12 กม. หากทราบวาในเขตเทศบาลมีอัตราการ


ปลอยซัลเฟอรไดออกไซค เทากับ 5 กรัมตอวินาทีตอตารางกิโลเมตร มีความเร็วลม 1 ม.ตอวินาที และความสูงผสม 700 ม. จงคํานวณหาความเขมขนของซัลเฟอรไดออกไซค ใน

า้ ม
เขตเทศบาลโดยใชแบบจําลองแบบกลอง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.086 ไมโครกรัมตอลบ.ม.
คําตอบ 2 : 86 ไมโครกรัมตอลบ.ม.
คําตอบ 3 : 0.046 ไมโครกรัมตอลบ.ม.

ิท
คําตอบ 4 : 46 ไมโครกรัมตอลบ.ม.

นส

ขอที่ :


113


การคํานวณระดับฝุนรวมโดยใชแบบจําลองแบบกลองในเขตเมืองของจังหวัดหนึ่งแบงเปน 3 สภาพอากาศ ไดคาในชวงฤดูฝน คือ เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน เทากับ 96


ไมโครกรัมตอลบ.ม. สวนในชวงฤดูหนาว คือ เดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ มีคา 212 ไมโครกรัมตอลบ.ม. และในชวงที่เหลือมีคาเทากับ 144 ไมโครกรัมตอลบ.ม. จงหาคาเฉลี่ย


ตลอดปของระดับฝุนรวมในเมืองดังกลาว

กร
คําตอบ 1 : 151 ไมโครกรัมตอลบ.ม.


คําตอบ 2 : 155 ไมโครกรัมตอลบ.ม.



คําตอบ 3 : 160 ไมโครกรัมตอลบ.ม.

าว
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอที่จะคํานวณ

ขอที่ : 114

ส ภ
เมืองใหญแหงหนึ่งคาเฉลี่ยของระดับความเขมขนของ PM10 ประมาณ 100 ไมโครกรัมตอลบ.ม. โดยลมที่พัดเขาสูเมืองมีระดับความเขมขนของ PM10 ประมาณ 15 ไมโครกรัมตอ
ลบ.ม. หากคณะผูบริหารของเมืองตองการลดระดับความเขมขนของ PM10 ใหเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของคาปจจุบัน จะตองวางแผนในการลดอัตราการปลอย PM10 ในเขตเมืองลงรอย
ละเทาใด โดยคํานวณบนพื้นฐานของแบบจําลองแบบกลอง
คําตอบ 1 : รอยละ 50
คําตอบ 2 : รอยละ 52
คําตอบ 3 : รอยละ 55 26 of 141
คําตอบ 4 : รอยละ 59
ขอที่ : 115
ในสภาวะอากาศแบบที่การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามระดับความสูงจากพื้นโลกเปนแบบ Inversion สารมลพิษที่ถูกปลอยออกจากปลองมีพฤติกรรมอยางไร
คําตอบ 1 : มวลอากาศคอนขางเสถียร มีการลอยขึ้นอยางชา ๆ
คําตอบ 2 : มวลอากาศเสถียรและมีแนวโนมจะจมตัวลงสูพื้นดิน
คําตอบ 3 : มวลอากาศไมเสถียร มีความปนปวนในแนวดิ่งสูง


คําตอบ 4 : มวลอากาศเสถียร ปนปวนในแนวดิ่งต่ําและมีแนวโนมเคลื่อนที่ในแนวราบ

น่ า

ขอที่ : 116


เหตุการณความเจ็บปวยอยางฉับพลัน และ ความเสียหายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในหมูบานสบปาด จ.ลําปาง อันเนื่องจากมลพิษอากาศจากโรงไฟฟาแมเมาะ ในเดือนตุลาคม 2535 เกิดขึ้นใน


ชวงใดของวัน และการกระจายตัวของ plume อากาศเสียที่ปลอยจากปลองโรงไฟฟาในขณะนั้นมีลักษณะเปนแบบใด
คําตอบ 1 : เชาตรู 6.00-7.00 น., fanning

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : เชา 9.00-10.00 น., fumigation
คําตอบ 3 : กลางวัน 12.00-14.00 น., Looping
คําตอบ 4 : กลางคืน, Trapping

ส ิท

ขอที่ : 117

ง ว
ลักษณะทางอุตุนิยมวิทยาขอใด เปนปจจัยสําคัญที่เสี่ยงตออุทกภัยในภาคใตระหวางเดือนพฤศจิกายน และ ธันวาคม ของทุกป


คําตอบ 1 : ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกําลังแรงจากประเทศจีนปะทะรองความกดอากาศต่ําที่ปกคลุมภาคใต


คําตอบ 2 : หยอมความกดอากาศต่ํากําลังแรงเคลื่อนตัวจากทะเลจีนใตผานภาคใต

กร ข
คําตอบ 3 : พายุหมุนจากทะเลจีนใตตอนลาง (อาวไทย)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ิ ว
าว
ขอที่ : 118
Mixing height มีระดับสูงสุดในชวงฤดูใดของป และจะเกิดผลอะไรเมื่อระดับ mixing height สูงขึ้น


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ ชวงฤดูหนาว, ทําใหการกระจายตัวของสารมลพิษทั้งแนวราบและแนวดิ่งลดลง ปริมาณสารมลพิษในบรรยากาศเขมขนขึ้น
ชวงฤดูหนาว, ทําใหการกระจายตัวของสารมลพิษแนวดิ่งลดลง แตการกระจายในแนวราบมากขึ้น ทําใหจํากัดสารมลพิษไวในชั้นแคบ ๆ ไมแพรกระจายสูพื้นดิน
ชวงฤดูรอน, ทําใหการกระจายตัวของสารมลพิษในแนวดิ่งเพิ่มขึ้น สารมลพิษถูกเจือจางโดยอากาศภายนอกอยางรวดเร็ว
คําตอบ 4 : ชวงฤดูรอน, ทําใหการกระจายตัวของสารมลพิษในแนวดิ่งเพิ่มขึ้น สารมลพิษขยายตัวและสรางปญหาในวงกวาง

ขอที่ : 119
Heat Island หรือ สภาวะเกาะความรอน มีสภาพตรงกับขอใด 27 of 141

คําตอบ 1 : พื้นที่ในเขตเมืองมีอุณหภูมิสูงกวาพื้นที่ชนบทโดยรอบ
คําตอบ 2 : มีความปนปวนต่ํา และมวลอากาศเสียคงตัวสูง
คําตอบ 3 : สารมลพิษลอยตัวต่ํา และไมเคลื่อนที่
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 120
ขอใดคือลักษณะการเปลี่ยนแปลงของความเร็วและทิศทางของลมใน Ekman layer ซึ่งอยูในชวงความสูงประมาณ 1 เมตรจากพื้นดิน ถึง ประมาณ 100 เมตรจากพื้นดิน
คําตอบ 1 : เมื่อความสูงจากผิวดินเพิ่มขึ้น ความเร็วลมเพิ่มขึ้น ทิศทางลมจะหมุนตามเข็มนาฬิกา

่ า ย

คําตอบ 2 : เมื่อความสูงจากผิวดินเพิ่มขึ้น ความเร็วลมเพิ่มขึ้น ทิศทางลมจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา


คําตอบ 3 : เมื่อความสูงจากผิวดินเพิ่มขึ้น ความเร็วลมคงที่ ทิศทางลมหมุนตามเข็มนาฬิกา

จ ำ
คําตอบ 4 : เมื่อความสูงจากผิวดินเพิ่มขึ้น ความเร็วลมลดลง ทิศทางลมหมุนทวนเข็มนาฬิกา

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
121
ลมมรสุมประจําถิ่นของประเทศไทย ไดแกขอใด
คําตอบ 1 : พายุดีเปรสชั่น

ิท
คําตอบ 2 : ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในฤดูรอน


คําตอบ 3 : ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในฤดูหนาว

ว น
คําตอบ 4 : ลมบก-ลมทะเล

ส ง

ขอที่ : 122


ในเวลากลางวัน หากความเร็วลมเพิ่มจาก 3 เมตร/วินาที เปน 6 เมตร/วินาที ความเขมขนมลพิษที่ทายลมจากการเผากองมูลฝอยบนพื้นดิน จะเปลี่ยนแปลงอยางไร

กร
คําตอบ 1 : ลดลงครึ่งหนึ่ง


คําตอบ 2 : เทาเดิม



คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา

าว
คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา

ขอที่ : 123

ส ภ
การเผากองขยะมูลฝอยในเวลาใด มีผลกระทบมากที่สุดตอคุณภาพอากาศ
คําตอบ 1 : เวลากลางคืนเมฆมาก
คําตอบ 2 : เวลากลางคืนเมฆนอย
คําตอบ 3 : เวลากลางวันแดดจัด
คําตอบ 4 : เวลากลางวันแดดออน
28 of 141
ขอที่ : 124
อัตราการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบรรยากาศตามความสูง ที่ลดลงเร็วกวาคามาตรฐาน (dry adiabatic lapse rate) เชนเทากับ –2 องศาเซลเซียส/100 เมตร มีชื่อเรียกสภาพบรรยากาศ
นี้วาอะไร
คําตอบ 1 : Inversion
คําตอบ 2 : Isothermal
คําตอบ 3 : Subadiabatic


คําตอบ 4 : Superadiabatic

น่ า

ขอที่ : 125


ในเวลากลางวัน แดดจัด ลมปานกลาง ควันไฟที่ออกจากปลอง (Plume) จะมีลักษณะการลอยตัวแบบใด

มจ
คําตอบ 1 : Looping

า้
คําตอบ 2 : Coning

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Fanning
คําตอบ 4 : Fumigation

ขอที่ : 126

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

29 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ก. 0.86 เทาของคาเดิม
คําตอบ 2 : ข. 0.64 เทาของคาเดิม
คําตอบ 3 : ค. 0.47 เทาของคาเดิม
คําตอบ 4 : ง. 0.39 เทาของคาเดิม

ขอที่ : 127
30 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ก. 124 เมตร
คําตอบ 2 : ข. 106 เมตร
คําตอบ 3 : ค. 93 เมตร 31 of 141

คําตอบ 4 : ง. 87 เมตร
ขอที่ : 128
กาซซัลเฟอรไดออกไซด ถูกปลอยออกจากปลองระบายไอเสียดวยอัตรา 120 กรัม/วินาที ปลองนี้มี effective height = 100 เมตร ความเร็วลมที่ความสูง 100 เมตร เทากับ 5 เมตร/
วินาที สภาพอากาศเปน Stability Class D จงคํานวณหาความเขมขนของมลพิษที่เสนกึ่งกลาง ณ ระดับพื้นดิน ที่จุดหางจากปลอง 2 กม.

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

32 of 141
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
ขอที่ : 129

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

กาซซัลเฟอรไดออกไซด ถูกปลอยออกจากปลองระบายไอเสียดวยอัตรา 120 กรัม/วินาที ปลองนี้มี effective height = 100 เมตร ความเร็วลมที่ความสูง 100 เมตร
33 of เท
141ากับ 5 เมตร/
วินาที สภาพอากาศเปน Stability Class D จงคํานวณหาความเขมขนของมลพิษ ณ ระยะหาง 200 m. จากเสนกึ่งกลางของ plume ในแนวตั้งฉากที่ระดับพื้นดิน เมื่อระยะทาง x เทา
เดิม
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
34 of 141
คําตอบ 2 :

่ า ย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 130

ิท
สมการ Gaussian สมมติให พลูมมีการยกตัวขึ้นจากความสูงปลองจริงเปนระยะทางหนึ่งที่เรียกวาระยะยกตัวของพลูม ขอใดไมใชปจจัยโดยตรงที่มีผลตอระยะยกตัวของพลูม

นส

คําตอบ 1 : อุณหภูมิของกาซในปลอง


คําตอบ 2 : อุณหภูมิของบรรยากาศ


คําตอบ 3 : ความเร็วของกาซในปลอง
คําตอบ 4 : ความสูงจริงของปลอง

ขอ
ขอที่ : 131

ว กร


ขอใดไมถูกตอง

าว
คําตอบ 1 : ถาโลกไมหมุนรอบตัวเอง, มวลอากาศมีแนวโนมที่จะพัดจากเขตที่มีความดันบรรยากาศสูงไปยังเขตที่มีความดันต่ํากวา


คําตอบ 2 : ถาโลกไมหมุนรอบตัวเอง, มวลอากาศมีแนวโนมที่จะพัดจากเขตที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังเขตที่มีอุณหภูมิสูงกวา


คําตอบ 3 : Coriolis force เกิดขึ้นเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
คําตอบ 4 : Coriolis force ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของกระแสอากาศในแนวดิ่ง

ขอที่ : 132
การจําแนกความคงตัวของบรรยากาศ (atmospheric stability) เมื่ออุณหภูมิที่ผิวพื้นเปน 25 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิที่ระดับความสูง 1500 เมตร เปน 25 องศาเซลเซียส คือ
คําตอบ 1 : คงตัว (stable)
35 of 141
คําตอบ 2 : ไมคงตัว (unstable)
คําตอบ 3 : สะเทิน (neutral)
คําตอบ 4 : อินเวอรชั่น (inversion)

ขอที่ : 133
ลม NW หมายถึง
คําตอบ 1 : ลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
คําตอบ 2 : ลมที่พัดไปทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

่ า ย

คําตอบ 3 : ลมที่พัดไปทิศตะวันตกเบนไปทางทิศเหนือ 22.5 องศา


คําตอบ 4 : ลมที่พัดมาจากทิศตะวันตกเบนไปทางทิศเหนือ 22.5 องศา

จ ำ

ขอที่ :

า้
134
ในขอใดตอไปนี้ที่ควรเปนสมการแสดงความเร็วของลมที่แปรตามความสูงเหนือผิวน้ําที่ราบเรียบ

คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
ภ าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 135

รูปของสมการ Gaussian เมื่อแหลงกําเนิดไมมีความสูง และผูรับผลกระทบอยูที่ระดับผิวพื้นในแนวทิศทางลมคือ

คําตอบ 1 : 36 of 141
คําตอบ 2 :

่ า ย
คําตอบ 3 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 136

ส ิท

ถา Adiabatic Lapse Rate โดยประมาณ คือ 0.01 องศาเซลเซียส/ม. ในตอนบายของฤดูรอน อุณหภูมิที่ผิวพื้นวัดได 33 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิที่ความสูง 1000 เมตรวัดได


20 องศาเซลเซียส ถาปลอยอากาศเสียออกจากแหลงกําเนิดที่อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส ความสูงที่อากาศเสียดังกลาวจะลอยขึ้นสูงสุดจะเปนเทาใด
คําตอบ 1 : ไมลอย

ส ง

คําตอบ 2 : มากกวา 0 แตนอยกวา 500 เมตร


คําตอบ 3 : มากกวา 500 เมตร แตนอยกวา 2000 เมตร

กร
คําตอบ 4 : มากกวา 2000 เมตร


ิ ว
าว
ขอที่ : 137
ในการประมาณความเขมขนสารมลพิษทางอากาศที่ตําแหนงตางๆจากแหลงกําเนิดที่มีความสูงและมีการปลอยสารมลพิษอยางตอเนื่อง โดยใชสมการ Gaussian ลักษณะในขอใดถูก


ตอง


คําตอบ 1 : ณ ตําแหนงเดิมและขอมูลทางอุตุนิยมวิทยาคงเดิมถาอัตราการปลอยมลพิษเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาความเขมขนสารมลพิษจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาเสมอ
คําตอบ 2 : ณ ตําแหนงเดิมถาเพิ่มความสูงของปลองใหสูงขึ้นแตขอมูลทางอุตุนิยมวิทยายังคงเดิมความเขมขนสารมลพิษจะลดลงเสมอ
คําตอบ 3 : ณ ตําแหนงเดิมถาเฉพาะความคงตัวของบรรยากาศเปลี่ยนไปโดยบรรยากาศคงตัวมากขึ้นความเขมขนสารมลพิษจะมากขึ้นเสมอ
คําตอบ 4 : ณ ตําแหนงเดิมถาเปรียบเทียบในเวลากลางวันและกลางคืน ในเวลากลางคืนจะมีความเขมขนสูงกวาในเวลากลางวันเสมอ

ขอที่ : 138 37 of 141

เมื่อใชสมการ Gaussian ประมาณคาความเขมขนสูงสุดในระดับผิวพื้นซึ่งจะอยูในแนวทิศทางลม (ใตลม) จากแหลงกําเนิดที่มีความสูงนั้น อิทธิพลของความเร็วลมในระดับผิวพื้น ใน


ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะลดลงเสมอในสัดสวนที่คงที่
คําตอบ 2 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะลดลงเสมอแตสัดสวนไมคงที่
คําตอบ 3 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะมากขึ้นเสมอ
คําตอบ 4 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดอาจจะลดลง เพิ่มขึ้น หรือเทาเดิม ก็ได

่ า ย
ขอที่ : 139


บรรยากาศแบบใดที่จะทําให ณ ตําแหนงหนึ่งที่หางจากแหลงกําเนิดสารมลพิษที่มีความสูง เปนระยะทางเทากัน จะ เห็น ความกวางของพลูมในแนวระดับและแนวดิ่งแคบที่สุด


คําตอบ 1 : เวลากลางวัน ฟาโปรง ลมออน แดดจัด

จ ำ
คําตอบ 2 : เวลาเชา ลมแรง มีเมฆบางสวน


คําตอบ 3 : เวลากลางคืน ลมแรง ฟาปด

า้
คําตอบ 4 : เวลากลางคืน ฟาโปรง ลมออน

ขอที่ : 140
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมใชสมมติฐานในการพัฒนา สมการ Gaussian


คําตอบ 1 : ความเขมขนของสารมลพิษมาจากแหลงกําเนิดชนิดตอเนื่องตลอดเวลา (continuous point source)

ว น
คําตอบ 2 : มีเฉพาะความเร็วลมตามทิศทางลมซึ่งอยูบนแกน x


คําตอบ 3 : ความเร็วลมเปนคาไมคงที่ขึ้นอยูกับตําแหนง x, y, z


คําตอบ 4 : อัตราการแพรในแนวแกน x จะมีขนาดนอยมากเมื่อเทียบกับอัตราการเคลื่อนยาย

ขอ
กร
ขอที่ : 141


หลักการในขอใดที่ถูกตองที่สุดในการพัฒนาสมการ Gaussian



คําตอบ 1 : หลักการของ สมดุลของพลังงาน และการแพร

าว
คําตอบ 2 : หลักการของ สมดุลของมวล และการแพร


คําตอบ 3 : หลักการของ แรงโนมถวงของโลก และการแพร


คําตอบ 4 : หลักการ สมดุลของพลังงาน และ สมดุลของมวล

ขอที่ : 142
ในการประมาณความเขมขนสารมลพิษทางอากาศที่ตําแหนงตางๆจากแหลงกําเนิดที่มีความสูงและมีการปลอยสารมลพิษอยางตอเนื่อง โดยใชสมการ Gaussian ลักษณะในขอใดถูก
ตอง
คําตอบ 1 : ณ ตําแหนงเดิมและขอมูลทางอุตุนิยมวิทยาคงเดิมถาอัตราการปลอยมลพิษเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาความเขมขนสารมลพิษจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาเสมอ
38 of 141
คําตอบ 2 : ณ ตําแหนงเดิมถาเพิ่มความสูงของปลองใหสูงขึ้นแตขอมูลทางอุตุนิยมวิทยายังคงเดิมเทาความเขมขนสารมลพิษจะลดลงเสมอ
คําตอบ 3 : ณ ตําแหนงเดิมถาเฉพาะความคงตัวของบรรยากาศเปลี่ยนไปโดยบรรยากาศคงตัวมากขึ้นความเขมขนสารมลพิษจะมากขึ้นเสมอ
คําตอบ 4 : ณ ตําแหนงเดิมถาเปรียบเทียบในเวลากลางวันและกลางคืน ในเวลากลางคืนจะมีความเขมขนสูงกวาในเวลากลางวันเสมอ

ขอที่ : 143
เมื่อใชสมการ Gaussian ประมาณคาความเขมขนสูงสุดในระดับผิวพื้นซึ่งจะอยูในแนวทิศทางลม (ใตลม) นั้น อิทธิพลของความเร็วลมในระดับผิวพื้น ในขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะลดลงเสมอในสัดสวนที่คงที่
คําตอบ 2 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะลดลงเสมอแตสัดสวนไมคงที่
คําตอบ 3 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะมากขึ้นเสมอ

่ า ย

คําตอบ 4 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดอาจจะลดลง เพิ่มขึ้น หรือเทาเดิม ก็ได

ขอที่ : 144

จ ำ ห

บรรยากาศแบบใดที่จะทําให ณ ตําแหนงหางจากแหลงกําเนิดสารมลพิษที่มีความสูง เปนระยะทางเทากัน จะ เห็น ความกวางของพลูมในแนวระดับและแนวดิ่งแคบที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เวลากลางวัน ฟาโปรง ลมออน แดดจัด
คําตอบ 2 : เวลาเชา ลมแรง มีเมฆบางสวน
คําตอบ 3 : เวลากลางคืน ลมออน ฟาครึ้ม

ิท
คําตอบ 4 : เวลากลางคืน ฟาโปรง ลมแรง

นส

ขอที่ : 145


ขอใดไมใชสมมติฐานในการพัฒนา สมการ Gaussian
คําตอบ 1 :

อ ส
ความเขมขนของสารมลพิษมาจากแหลงกําเนิดชนิดตอเนื่องตลอดเวลา (continuous point source)


คําตอบ 2 : มีเฉพาะความเร็วลมตามทิศทางลมซึ่งอยูบนแกน x

กร
คําตอบ 3 : ความเร็วลมเปนคาไมคงที่ขึ้นอยูกับตําแหนง x, y, z


คําตอบ 4 : อัตราการแพรในแนวแกน x จะมีขนาดนอยมากเมื่อเทียบกับอัตราการเคลื่อนยายของมวลสารเนื่องจากลมดังนั้นจึงสามารถตัดฟงชั่นการแพรในแนวแกน x ออกได

ขอที่ : 146

าว ศ


หลักการในขอใดที่นาจะถูกตองที่สุดในการพัฒนาสมการ Gaussian


คําตอบ 1 : หลักการของ แรงโนมถวงของโลก และการแพร
คําตอบ 2 : หลักการของ สมดุลของมวล และการแพร
คําตอบ 3 : หลักการของ แรงโนมถวงของโลก และการแพร
คําตอบ 4 : หลักการ สมดุลของพลังงาน และ สมดุลของมวล

ขอที่ : 147 39 of 141

ในการประมาณความเขมขนสารมลพิษทางอากาศที่ตําแหนงตางๆจากแหลงกําเนิดที่มีความสูงและมีการปลอยสารมลพิษอยางตอเนื่อง โดยใชสมการ Gaussian ลักษณะในขอใดถูก


ตอง
คําตอบ 1 : ณ ตําแหนงเดิมและขอมูลทางอุตุนิยมวิทยาคงเดิมถาอัตราการปลอยมลพิษเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาความเขมขนสารมลพิษจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาเสมอ
คําตอบ 2 : ณ ตําแหนงเดิมถาเพิ่มความสูงของปลองใหสูงขึ้นแตขอมูลทางอุตุนิยมวิทยายังคงเดิมความเขมขนสารมลพิษจะลดลงเสมอ
คําตอบ 3 : ณ ตําแหนงเดิมถาเฉพาะความคงตัวของบรรยากาศเปลี่ยนไปโดยบรรยากาศคงตัวมากขึ้นความเขมขนสารมลพิษจะมากขึ้นเสมอ
คําตอบ 4 : ณ ตําแหนงเดิมถาเปรียบเทียบในเวลากลางวันและกลางคืน ในเวลากลางคืนจะมีความเขมขนสูงกวาในเวลากลางวันเสมอ

่ า ย
ขอที่ : 148


เมื่อใชสมการ Gaussian ประมาณคาความเขมขนสูงสุดในระดับผิวพื้นซึ่งจะอยูในแนวทิศทางลม (ใตลม) นั้น อิทธิพลของความเร็วลมในระดับผิวพื้น ในขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะลดลงเสมอในสัดสวนที่คงที่

จ ำ
คําตอบ 2 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะลดลงเสมอแตสัดสวนไมคงที่


คําตอบ 3 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดจะมากขึ้นเสมอ

า้
คําตอบ 4 : เมื่อความเร็วลมเพิ่มขึ้นความเขมขนสารมลพิษสูงสุดอาจจะลดลง เพิ่มขึ้น หรือเทาเดิม ก็ได

ขอที่ : 149
ิธ์ ห
ิท
ถา Adiabatic Lapse Rate โดยประมาณ คือ 0.01 C/m ในขณะหนึ่งอุณหภูมิที่ผิวพื้นวัดได 20oC และอุณหภูมิที่ความสูง 1000 เมตรวัดได 30C ถาปลอยอากาศเสียออกจากแหลง


กําเนิดที่อุณหภูมิ 32C ความสูงที่อากาศเสียดังกลาวจะลอยขึ้นสูงสุดจะเปนเทาใด


คําตอบ 1 : ไมลอย
คําตอบ 2 : มากกวา 0 แตนอยกวา 500 เมตร

ง ว

คําตอบ 3 : มากกวา 500 เมตร แตนอยกวา 1000 เมตร


คําตอบ 4 : มากกวา 1000 เมตร

กร ข

ขอที่ : 150



ลมสินคา (Trade Wind) หมายถึงขอใด

าว
คําตอบ 1 : ลมที่พัดจากเสนรุงที่ 60 องศาเหนือมายังเสนศูนยสูตร


คําตอบ 2 : ลมที่พัดจากเสนรุงที่ 30 องศาเหนือมายังเสนศูนยสูตร


คําตอบ 3 : ลมที่พัดจากเสนรุงที่ 60 องศาเหนือมายังเสนรุงที่ 30 องศาเหนือ
คําตอบ 4 : ลมที่พัดจากเสนรุงที่ 30 องศาเหนือมายังเสนรุงที่ 60 องศาเหนือ

ขอที่ : 151
ขอใดเปนเกณฑในการแบงชั้นบรรยากาศของโลก
คําตอบ 1 : Temperature Gradient
40 of 141
คําตอบ 2 : Pressure Gradient
คําตอบ 3 : ความสูงจากระดับน้ําทะเล
คําตอบ 4 : องคประกอบของบรรยากาศ

ขอที่ : 152
ขอใดตอไปนี้เปนลักษณะของชั้นบรรยากาศ Troposphere
คําตอบ 1 : มีชั้นโอโซนที่ทําหนาที่ปองกันรังสี UV จากดวงอาทิตย
คําตอบ 2 : มีความปนปวนในบรรยากาศสูง มีไอน้ําสูง
คําตอบ 3 : มีการแตกตัวเปนไอออนดวยแสง (photoionization) ของโมเลกุลแกส

่ า ย

คําตอบ 4 : มีอุณหภูมิต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับชั้นบรรยากาศอื่นๆ

ขอที่ : 153

จ ำ ห

ขอใดตอไปนี้เปนลักษณะของชั้นบรรยากาศ Stratosphere

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีชั้นโอโซนที่ทําหนาที่ปองกันรังสี UV จากดวงอาทิตย
คําตอบ 2 : มีความปนปวนในบรรยากาศสูง มีไอน้ําสูง
คําตอบ 3 : มีการแตกตัวเปนไอออนดวยแสง (photoionization) ของโมเลกุลแกส

ิท
คําตอบ 4 : มีอุณหภูมิต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับชั้นบรรยากาศอื่นๆ

นส

ขอที่ : 154


ขอใดตอไปนี้เปนลักษณะของชั้นบรรยากาศ Mesosphere
คําตอบ 1 :

อ ส
มีชั้นโอโซนที่ทําหนาที่ปองกันรังสี UV จากดวงอาทิตย


คําตอบ 2 : มีความปนปวนในบรรยากาศสูง มีไอน้ําสูง

กร
คําตอบ 3 : มีการแตกตัวเปนไอออนดวยแสง (photoionization) ของโมเลกุลแกส


คําตอบ 4 : มีอุณหภูมิต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับชั้นบรรยากาศอื่นๆ

ขอที่ : 155

าว ศ


ขอใดตอไปนี้เปนลักษณะของชั้นบรรยากาศ Thermosphere


คําตอบ 1 : มีชั้นโอโซนที่ทําหนาที่ปองกันรังสี UV จากดวงอาทิตย
คําตอบ 2 : มีความปนปวนในบรรยากาศสูง มีไอน้ําสูง
คําตอบ 3 : มีการแตกตัวเปนไอออนดวยแสง (photoionization) ของโมเลกุลแกส
คําตอบ 4 : มีอุณหภูมิต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับชั้นบรรยากาศอื่นๆ

ขอที่ : 156 41 of 141

มลพิษอากาศที่ปลอยจากทอไอเสียของจากยานพาหนะมีความสัมพันธกับคาสัดสวนของอากาศกับเชื้อเพลิง (Air/Fuel Ratio) ขอใดตอไปนี้เกิดขึ้นเมื่อมีคาสัดสวนของอากาศกับ


เชื้อเพลิงสูง
คําตอบ 1 : มีการปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดและไฮโดรคารบอนสูง
คําตอบ 2 : มีการปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดและไฮโดรคารบอนต่ํา
คําตอบ 3 : มีการปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดสูงแตไฮโดรคารบอนต่ํา
คําตอบ 4 : มีการปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดต่ําแตไฮโดรคารบอนสูง

่ า ย
ขอที่ : 157


การใชอุปกรณควบคุมปริมาณฝุนประเภทไซโคลน (Cyclone) มีประสิทธิภาพต่ํากับฝุนที่มีขนาดของอนุภาคโดยเฉลี่ยเทาใด จงเลือกจากตัวเลือกที่กําหนดให


คําตอบ 1 : 100 ไมครอน

จ ำ
คําตอบ 2 : 50 ไมครอน


คําตอบ 3 : 20 ไมครอน

า้
คําตอบ 4 : 5 ไมครอน

ขอที่ : 158
ิธ์ ห
ิท
การเพิ่มประสิทธิภาพของไซโคลนในการควบคุมปริมาณฝุนสามารถทําไดโดยวิธีใดจึงจะไดผลดีที่สุด


คําตอบ 1 : ใชไซโคลนที่มีขนาดใหญขึ้นเพื่อใหสามารถรับภาระของกระแสอากาศไดมากขึ้น

ว น
คําตอบ 2 : ใชไซโคลนที่มีขนาดเล็กลงเพื่อใหอากาศผานไดเร็วเปนการเพิ่มโมเมนตัมใหสูงขึ้น


คําตอบ 3 : บังคับใหอากาศผานไซโคลนที่มีความสูงมากขึ้นเพื่อเพิ่มระยะทางและแรงเฉื่อยของฝุน


คําตอบ 4 : บังคับใหกระแสอากาศผานเขาสูชุดของไซโคลนที่ตอแบบอนุกรม

ขอ
กร
ขอที่ : 159


กระบวนการใดไมเกี่ยวของกับการใชระบบกําจัดฝุนดวย Electrostatic precipitator



คําตอบ 1 : การปรับสภาพอากาศเสียดวยการทําใหเปยก

าว
คําตอบ 2 : การทําใหเกิดประจุ (Ionization) กับอากาศที่ผานขั้ว Electrodes


คําตอบ 3 : การทําใหอนุภาคเกาะติดกับแผนรับประจุไฟฟา


คําตอบ 4 : การนําอนุภาคที่เกาะติดออกจากแผนรับประจุไฟฟา

ขอที่ : 160
อุปกรณควบคุมมลพิษอากาศชนิดใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุดสําหรับกาซออกไซดของซัลเฟอร (SOx) ที่เกิดขึ้นจากการเผาไหมเชื้อเพลิงของแหลงกําเนิดชนิดอยูกับที่ (Stationary
sources)
คําตอบ 1 : Electrostatic precipitator เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการกําจัดมลพิษสูง
42 of 141
คําตอบ 2 : Baghouse เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการกําจัดมลพิษสูงและคาใชจายต่ํา
คําตอบ 3 : Cyclone เนื่องจากมีคาใชจายต่ํา ไมมีอุปกรณที่ตองเคลื่อนที่ทําใหบํารุงรักษางาย
คําตอบ 4 : Absorption tower เนื่องจากมีคาใชจายต่ําแตอาจตองบําบัดน้ําเสียที่มีสภาพเปนกรด

ขอที่ : 161
การออกแบบอุปกรณควบคุมมลพิษอากาศโดยใช Electrostatic precipitator จําเปนตองคํานึงถึงปจจัยหนึ่งที่สําคัญคือ “Particle resistivity” ขอใดตอไปนี้ใชอธิบายความหมาย
ของ “Particle resistivity” ไดใกลเคียงที่สุด
คําตอบ 1 : การที่อนุภาคไมสามารถเคลื่อนที่ผานแทงใหประจุ (Electrodes) ได

่ า ย
คําตอบ 2 : การที่อนุภาคมีความตานทานทางไฟฟาสูงหรือต่ําเกินไปจนมีผลตอการรับประจุของอนุภาค


คําตอบ 3 : การที่ความตานทานทางไฟฟาจากแทงใหประจุ (Electrodes) รบกวนการเคลื่อนที่ของอนุภาคเขาสูแผนเก็บ (Collectors)


คําตอบ 4 : การที่อากาศเสียมีกาซผสมทําใหรบกวนประสิทธิภาพของการกําจัดสารมลพิษจากแผนเก็บ (Collectors)

จ ำ

ขอที่ : 162

า้
การควบคุมมลพิษอากาศในรถยนตสวนบุคคลที่ใชน้ํามันเบนซินเปนเชื้อเพลิงมีการใชอุปกรณที่เรียกวา Catalytic converter เขามาชวย อยากทราบวาขอความตอไปนี้ขอใดกลาวไว

ิธ์ ห
ถูกตองเกี่ยวกับ Catalytic converter ที่ใชในยานพาหนะ
คําตอบ 1 : Catalytic converter เปนอุปกรณชวยเรงปฏิกิริยาของการเผาไหมเชื้อเพลิงในเครื่องยนตใหเผาไหมไดอยางรวดเร็ว

ิท
คําตอบ 2 : Catalytic converter เปนอุปกรณเรงใหรอบหมุนของเครื่องยนตทํางานคลายเทอรโบสําหรับเพิ่มปริมาณอากาศที่เขาสูหองเผาไหม


คําตอบ 3 : Catalytic converter เปนอุปกรณชวยเรงใหเกิดปฏิกิริยาของกาซที่ปลอยจากหองเผาไหมโดยเฉพาะ NOx และ CO ใหอยูในรูปของกาซที่ไมใชกาซมลพิษ


คําตอบ 4 : Catalytic converter เปนอุปกรณชวยดักอนุภาคที่ปลอยจากทอไอเสียและนํากลับเขาไปเผาไหมใหมเพื่อลดปริมาณของอนุภาคที่ปลอยออกจากยานพาหนะ

ง ว

ขอที่ : 163


เหตุใดการกําจัดอนุภาคที่เกิดจากการเผาไหมถานหินที่มีองคประกอบของซัลเฟอรต่ํา ดวยวิธีการแยกโดยไฟฟาสถิต จึงมีประสิทธิภาพต่ํา
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

กร ข
อนุภาคมีความตานทานทางไฟฟาสูง
อนุภาคมีความตานทานทางไฟฟาต่ํา
คําตอบ 3 :


ิ ว
อนุภาคไมเกิดความตานทานทางไฟฟา

าว
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 164

ส ภ
จากสมการของ Langmuir isothermสามารถเขียนใหอยูในรูปสมการของ Freundlich isotherm เมื่อความดันบรรยากาศเปนอยางไร
คําตอบ 1 : ต่ํามาก
คําตอบ 2 : สูงมาก
คําตอบ 3 : กลางๆ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
43 of 141

ขอที่ : 165
ขอเสียของการกําจัดซัลเฟอรไดออกไซด ดวยระบบ Lime Scrubbing FGD แบบ Semi-dry คือ
คําตอบ 1 : เกิดสลัดจจํานวนมาก
คําตอบ 2 : เกิดตะกรันในระบบ
คําตอบ 3 : มีคาใชจายสิ้นเปลืองเรื่องสารเคมี
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพต่ํา

่ า ย
ขอที่ : 166


ขอใดถูกเกี่ยวกับไอเสียของรถยนตดีเซลที่ไมไดติดตั้งระบบควบคุม


คําตอบ 1 : ความเขมขนของNOในไอเสียจะมากขึ้นเมื่อเรงเครื่องจากสภาพเดินเบา

จ ำ
คําตอบ 2 : ความเขมขนของNOในไอเสียจะมากขึ้นเมื่อชะลอเครื่องจากสภาพกําลังวิ่ง


คําตอบ 3 : ความเขมขนของHCในไอเสียจะมากขึ้นเมื่อชะลอเครื่องจากสภาพกําลังวิ่ง

า้
คําตอบ 4 : ความเขมขนของHCในไอเสียจะมากขึ้นเมื่อเรงเครื่องจากสภาพเดินเบา

ขอที่ : 167
ิธ์ ห
ิท
ขอใดผิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการกําจัดสารมลพิษของไซโคลน


คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพการกําจัดเพิ่มขึ้นเมื่ออัตราไหลของแกสเพิ่มขึ้น

ว น
คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพการกําจัดเพิ่มขึ้นเมื่ออนุภาคที่ตองการกําจัดใหญขึ้น


คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพการกําจัดเพิ่มขึ้นเมื่อเสนผาศูนยกลางของไซโคลนยาวขึ้น


คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพการกําจัดเพิ่มขึ้นเมื่อใหความเร็วเขาของกาซเพิ่มขึ้น

ขอ
กร
ขอที่ : 168


หากตองการกําจัดฝุนขนาดเล็กกวา 1 ไมครอนในควันจากปลองควันควรใชอุปกรณใด



คําตอบ 1 : ไซโคลน

าว
คําตอบ 2 : หอฉีดน้ํา


คําตอบ 3 : หองตกตะกอน


คําตอบ 4 : ถุงกรอง

ขอที่ : 169
หากตองการกําจัดควันดําในไอเสียรถควรทําอยางไร
คําตอบ 1 : หมุนเวียนไอเสีย
คําตอบ 2 : ใชความดันฉีดน้ํามันสูง
44 of 141
คําตอบ 3 : ติดตั้งcatalytic converter
คําตอบ 4 : ติดตั้ง FGD

ขอที่ : 170
ขอใดไมสามารถกําจัดสารประกอบไฮโดรคารบอนในไอเสียรถได
คําตอบ 1 : ติดตั้งcatalytic converter
คําตอบ 2 : ติดตั้งthermal reactor
คําตอบ 3 : ลดสัดสวนของอากาศตอเชื้อเพลิง

่ า ย

คําตอบ 4 : เพิ่มอุณหภูมิเผาไหม

ขอที่ : 171

จ ำ ห

ขอใดเปนทางเลือกที่เหมาะสมนอยที่สุดในการจัดการคุณภาพอากาศในชุมชน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กําหนดใหมีการปองกันการฟุงกระจายของฝุนจากรถบรรทุกโดยใชผาใบปดคลุม
คําตอบ 2 : การยายโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมดที่อยูในเขตชุมชนไปตั้งรวมกันในพื้นที่หางไกลชุมชน
คําตอบ 3 : การกวดขันตรวจจับยานพาหนะที่มีการระบายควันดําเกินมาตรฐาน

ิท
คําตอบ 4 : การรณรงคใหผูขับขี่ยานพาหนะมีการเอาใจใสดูแลรักษาเครื่องยนตใหอยูในสภาพดี

นส

ขอที่ : 172


ขอใดตอไปนี้ไมใชการควบคุมไอเสียรถยนตดวยการปรับปรุงระบบปอนน้ํามัน
คําตอบ 1 :

อ ส
การวัดระดับออกซิเจนในไอเสียเพื่อปรับสวนผสมใหเหมาะสม


คําตอบ 2 : การใชระบบฉีดน้ํามันในกระบอกสูบโดยตรง

กร
คําตอบ 3 : การทําใหไอดีรอนขึ้นถึงอุณหภูมิที่เหมาะสมกอนเขากระบอกสูบ


คําตอบ 4 : การหมุนเวียนไอเสียกลับไปยังหองสันดาป

ขอที่ : 173

าว ศ


กลไกหรือแรงใดมีความสําคัญในการจับอนุภาคที่มีขนาดเล็กกวา 0.1 ไมครอน


คําตอบ 1 : การกระทบเนื่องจากความเฉื่อย(Inertial Impaction)
คําตอบ 2 : การแพร (Diffusion)
คําตอบ 3 : การสกัดกั้นโดยตรง(Direct Interception)
คําตอบ 4 : แรงไฟฟาสถิตย (Electrostatic Attraction)

ขอที่ : 174 45 of 141


อัตราเร็วตกทับถม (Deposition Velocity) ของอนุภาคในอากาศที่มี Aerodynamic size ตางกัน มีลักษณะเปนอยางไร
คําตอบ 1 : สําหรับอนุภาคที่มี Aerodynamic size มากกวา 2.5 ไมครอน อัตราเร็วตกทับถมมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เมื่อ ขนาดอนุภาคใหญขึ้น
คําตอบ 2 : สําหรับอนุภาคที่มี Aerodynamic size นอยกวา 2.5 ไมครอน อัตราเร็วตกทับถมมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เมื่อ ขนาดอนุภาคลดลง
คําตอบ 3 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ
คําตอบ 4 : ไมสามารถทํานายความสัมพันธระหวาง Aerodynamic size ของอนุภาคและอัตราเร็วตกทับถมไดเนื่องจากอนุภาคมีความถวงจําเพาะแตกตางกัน

ขอที่ : 175

่ า ย
Cut diameter ที่ใชบอกประสิทธิภาพของอุปกรณกําจัดฝุน หมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : ขนาดของฝุนที่อุปกรณชนิดนี้สามารถกําจัดได 50%


คําตอบ 2 : ขนาดใหญที่สุดของฝุนที่อุปกรณชนิดนี้สามารถกําจัดได 50% จากขนาดทั้งหมด

จ ำ
คําตอบ 3 : ขนาดเล็กที่สุดของฝุนที่อุปกรณชนิดนี้สามารถกําจัดได


คําตอบ 4 : ขนาดของอนุภาคที่มีประสิทธิภาพในการกําจัดสูงสุดของอุปกรณนั้นๆ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 176
หากตองการปรับปรุงให wet scrubber สามารถกําจัดฝุนขนาดเล็กลงดียิ่งขึ้น ควรทําอยางไรเปนอันดับแรก

ิท
คําตอบ 1 : ใหอากาศเสียอยูใน scrubber นานขึ้นโดยเพิ่มขนาดถังหรือติดตั้งถังเพิ่มเติม


คําตอบ 2 : ลดขนาดหยดหรือละอองของเหลวใหเล็กลง

ว น
คําตอบ 3 : ใชน้ําปูนขาวแทนน้ําธรรมดา


คําตอบ 4 : พยายามควบคุมใหอากาศไหลแบบราบเรียบใหมากที่สุด

อ ส

ขอที่ : 177

กร
Activated Carbon ใชกําจัดสารมลพิษที่อยูในรูปกาซไดดวยวิธีใด


คําตอบ 1 : การดูดติดผิวโดยแรงแวนเดอวาลล



คําตอบ 2 : การดูดติดผิวจากการเกิดพันธะเคมี

าว
คําตอบ 3 : การดูดติดผิวโดยไฟฟาสถิต


คําตอบ 4 : ถูกทั้ง ก และ ข

ขอที่ : 178

Catalytic Incinerator มีขอไดเปรียบเหนือ Thermal Incinerator อยางไร
คําตอบ 1 : สามารถทําใหเกิดการเผาไหมสมบูรณในอุณหภูมิต่ํากวา
คําตอบ 2 : ใชเชื้อเพลิงนอยกวา
คําตอบ 3 : ลดปริมาณ NOx ที่อาจเกิดขึ้นจากการเผาไหมเนื่องจากทํางานในอุณหภูมิต่ํา
46 of 141
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 179
ขอใดเปนวิธีควบคุมมลพิษในอากาศบนทองถนนกรุงเทพฯ ที่เหมาะสมที่สุด
คําตอบ 1 : ใสหนากากกันควันพิษ
คําตอบ 2 : ติดตั้งระบบบําบัดอากาศเสีย โดยดูดอากาศเสียจากถนนไปบําบัดใหสะอาด
คําตอบ 3 : ติดตั้งอุปกรณควบคุมมลพิษจากไอเสียรถยนต


คําตอบ 4 : เพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อลดมลพิษ

น่ า

ขอที่ : 180


เชื้อเพลิงชนิดใดตอไปนี้สะอาดที่สุด กลาวคือเมื่อสันดาปแลวเกิดมลพิษอากาศนอยที่สุด
คําตอบ 1 : กาซธรรมชาติ

มจ
า้
คําตอบ 2 : ถานหิน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : น้ํามันเตา
คําตอบ 4 : ฟน

ขอที่ : 181

ส ิท
ว น
เตาเผาศพมีผลกระทบตอคุณภาพอากาศในเรื่องควันดําและกลิ่น ขอใดตอไปนี้เปนวิธีแกไขปญหาที่เหมาะสมที่สุด


คําตอบ 1 : ตอปลองใหสูงขึ้น


คําตอบ 2 : ติดตั้งถุงกรอง


คําตอบ 3 : ติดตั้งเครื่องฟอกอากาศ
คําตอบ 4 : ปรับปรุงเตาเผาและเชื้อเพลิง

กร ข
ขอที่ : 182


ิ ว
าว
อุปกรณดักฝุนจําพวกหองตกฝุน (Settling chamber) และไซโคลน ใชปจจัยที่เหมือนกันในการดักฝุนคือ


คําตอบ 1 : ขนาดของอุปกรณใหญเพียงพอ


คําตอบ 2 : รูปรางของอนุภาคฝุน
คําตอบ 3 : น้ําหนักของอนุภาคฝุน
คําตอบ 4 : อัตราไหลอากาศไมสูงกวาคาที่ออกแบบ

ขอที่ : 183
ขอใดผิดเกี่ยวกับPM10
47 of 141
คําตอบ 1 : หมายถึงอนุภาคในอากาศที่มีเสนผาศูนยกลางเทากับ 10 ไมครอน
คําตอบ 2 : มีความเขมขนมากกวา PM2.5 เสมอ
คําตอบ 3 : จัดเปนสารมลพิษทุติยภูมิชนิดหนึ่ง
คําตอบ 4 : บางสวนเกิดจากการกลั่นตัวของสารประกอบกํามะถันในอากาศ

ขอที่ : 184
ขอใดตอไปนี้ผิดที่สุดเกี่ยวกับออกไซดของกํามะถันในอากาศ
คําตอบ 1 : ปรากฏในรูปฝุนมากกวาอยูในรูปกาซ

่ า ย

คําตอบ 2 : กอใหเกิดฝนกรดได


คําตอบ 3 : กอใหเกิดฝุน PM2.5 ได

จ ำ
คําตอบ 4 : ทําลายผลผลิตทางการเกษตร

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
185
ขอใดตอไปนี้ผิดที่สุดเกี่ยวกับออกไซดของไนโตรเจนในอากาศ
คําตอบ 1 : กอใหเกิดฝุน PM2.5 ได

ิท
คําตอบ 2 : กอใหเกิดฝนกรดได


คําตอบ 3 : ทําใหเปนโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจได

ว น
คําตอบ 4 : ลดลงเมื่อเพิ่มอุณหภูมิการเผาไหมของแหลงกําเนิด

ส ง

ขอที่ : 186


สารใดตอไปนี้ไมพบในสวนประกอบของควันดําจากไอเสียรถบรรทุก

กร
คําตอบ 1 : black carbon


คําตอบ 2 : hydrocarbons



คําตอบ 3 : heavy metal

าว
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 187

ส ภ
สารตอไปนี้พบมากที่สุดในสวนประกอบของควันขาวจากไอเสียรถมอเตอรไซค
คําตอบ 1 : black carbon
คําตอบ 2 : hydrocarbons
คําตอบ 3 : heavy metal
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
48 of 141
ขอที่ : 188
ขอตอไปนี้ไมจัดเปนวิธีการควบคุมมลพิษจากการจราจร
คําตอบ 1 : เปลี่ยนจากการใชมอเตอรไซค 4 จังหวะ เปน 2 จังหวะ
คําตอบ 2 : ลดปริมาณกํามะถันที่เปนสวนประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิง
คําตอบ 3 : ใชแอลกอฮอลผสมกับน้ํามันเบนซิน แทนการใชน้ํามันเบนซินลวนๆเปนเชื้อเพลิง
คําตอบ 4 : ใชน้ํามันพืชแทนการใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง

่ า ย

ขอที่ : 189


ขอใดตอไปนี้ผิดที่สุดเกี่ยวกับการใชน้ํามันไบโอดีเซลแทนน้ํามันดีเซล

จ ำ
คําตอบ 1 : ลดการเกิดควันดํา


คําตอบ 2 : ลดการเกิดคารบอนไดออกไซด

า้
คําตอบ 3 : ลดการเกิดซัลเฟอรไดออกไซด

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ลดการเกิดคารบอนมอนนอกไซด

ิท
ขอที่ : 190


ขอตอไปนี้ใชควบคุมปริมาณซัลเฟอรไดออกไซด จากแหลงกําเนิดโดยเฉพาะโรงไฟฟา

ว น
คําตอบ 1 : Fuel gas recirculation


คําตอบ 2 : Dry adsorption


คําตอบ 3 : Flue gas desulfurization


คําตอบ 4 :


Water injection

ว กร
ขอที่ : 191



ขอตอไปนี้ไมไดทําขึ้นเพื่อใชควบคุมปริมาณฝุนจากแหลงกําเนิด

าว
คําตอบ 1 : Packed tower


คําตอบ 2 : Settling chamber


คําตอบ 3 : Cyclone
คําตอบ 4 : Fabric filter

ขอที่ : 192
สารใดตอไปนี้ไมไดใชควบคุมปริมาณกาซจากแหลงกําเนิด
คําตอบ 1 : activated carbon
49 of 141
คําตอบ 2 : silica gel
คําตอบ 3 : resin
คําตอบ 4 : sand

ขอที่ : 193
จงคํานวนหาความหนาแนน หนวยเปน กก./ลบ.ม. ของอากาศปกติ ที่อุณหภูมิ 140 C และเปนอากาศแหง

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 0.783 กก./ลบ.ม.

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 0.850 กก./ลบ.ม.
คําตอบ 3 : 0.932 กก./ลบ.ม.


คําตอบ 4 : 1.204 กก./ลบ.ม.

ขอที่ :

าว ศ


194


50 of 141
จงคํานวณความดันของอากาศที่เกิดจากอากาศเคลื่อนที่ (Velocity Pressure หรือ VP) หนวยเปนปาสคาล ณ สภาวะอางอิง เมื่อความเร็ว (V) ของลมขณะนั้นเทากับ 10 เมตรตอ
วินาที
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 58.40 ปาสคาล
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 60.20 ปาสคาล

ส ิท

คําตอบ 3 : 70.38 ปาสคาล


คําตอบ 4 : 80.45 ปาสคาล

ส ง

ขอที่ : 195

กร ข
ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานหรือกลไกการจับมลพิษที่สําคัญของเครื่องควบคุมแบบหองตกตะกอน
คําตอบ 1 : แรงโนมถวง


คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลาง
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

าว ศ

แรงทางไฟฟาสถิตย
การชน การสกัดกั้น และการแพร

ขอที่ : 196
ส ภ
ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานหรือกลไกการจับมลพิษที่สําคัญของเครื่องควบคุมแบบไซโคลน
คําตอบ 1 : แรงโนมถวง
คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลาง
คําตอบ 3 : แรงทางไฟฟาสถิตย
คําตอบ 4 : การชน การสกัดกั้น และการแพร 51 of 141
ขอที่ : 197
ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานหรือกลไกการจับมลพิษที่สําคัญของเครื่องควบคุมแบบ ESP
คําตอบ 1 : แรงโนมถวง
คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลาง
คําตอบ 3 : แรงทางไฟฟาสถิตย
คําตอบ 4 : การชน การสกัดกั้น และการแพร

่ า ย

ขอที่ : 198


ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานหรือกลไกการจับมลพิษที่สําคัญของเครื่องควบคุมแบบ Wet Scrubber

จ ำ
คําตอบ 1 : แรงโนมถวง


คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลาง

า้
คําตอบ 3 : แรงทางไฟฟาสถิตย

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : การชน การสกัดกั้น และการแพร

ิท
ขอที่ : 199


ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานหรือกลไกการจับมลพิษที่สําคัญของเครื่องควบคุมแบบ Bag Filter

ว น
คําตอบ 1 : แรงโนมถวง


คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลาง


คําตอบ 3 : แรงทางไฟฟาสถิตย


คําตอบ 4 : การชน การสกัดกั้น และการแพร

กร ข

ขอที่ : 200



ความเขมขนของกาซคารบอนมอนอกไซด 2 พีพีเอ็มเทียบเทากับเทาไหรในหนวยของไมโครกรัมตอลบ.ม.

าว
คําตอบ 1 : 2.45 ไมโครกรัมตอลบ.ม.


คําตอบ 2 : 24.5 ไมโครกรัมตอลบ.ม.


คําตอบ 3 : 240.5 ไมโครกรัมตอลบ.ม.
คําตอบ 4 : 2454 ไมโครกรัมตอลบ.ม.

ขอที่ : 201
จงเลือกแนวโนมของสภาพที่จะเกิดกาซโอโซนในชั้นบรรยากาศบริเวณใกลเขตเมือง
คําตอบ 1 : กาซโอโซนสวนใหญเกิดในสภาพที่ไมมีแดด เวลากลางวันมีการปลอยกาซไนโตรเจนออกไซดมาก
52 of 141
คําตอบ 2 : กาซโอโซนสวนใหญเกิดในสภาพที่ลมสงบ เวลากลางคืนมีการปลอยกาซซัลเฟอรไดออกไซดมาก
คําตอบ 3 : กาซโอโซนสวนใหญเกิดในสภาพที่มีแดด เวลากลางวันมีการปลอยกาซไนโตรเจนออกไซดมาก
คําตอบ 4 : กาซโอโซนสวนใหญเกิดในสภาพที่ลมแรง เวลากลางคืนมีการปลอยกาซซัลเฟอรไดออกไซดมาก

ขอที่ : 202
วิธีตรวจวัดกาซโอโซนในบรรยากาศตามมาตรฐานของกฎหมายไทยไดแก
คําตอบ 1 :


Chemiluminescense

่ า
คําตอบ 2 : UV Fluorescense Spectrometry


คําตอบ 3 : Photocatalytic Reaction


คําตอบ 4 : Non-dispersive Infrared spectroscopy

จ ำ

ขอที่ :

า้
203
เหตุใดการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองจากปลองระบายอากาศตามวิธีของ U.S.EPA Method 5 ตองทําการเก็บตัวอยางใหความเร็วของกระแสอากาศอากาศภายในปลองเทียบเทากับ

ิธ์ ห
ความเร็วของการเก็บตัวอยาง (Isokinetic) ในขณะที่การเก็บกาซในปลองระบายอากาศอาจไมจําเปนตองทําแบบ Isokinetic
คําตอบ 1 : ฝุนละอองในปลองระบายอากาศมีการกระจายตัวเทากันในพื้นที่หนาตัดของปลองแตกาซมีการเคลื่อนที่ตามความเร็วของกระแสอากาศในปลอง

ิท
คําตอบ 2 : ฝุนละอองในปลองระบายอากาศมีการเคลื่อนที่ดวยความเร็วไมเทากันในพื้นที่หนาตัดของปลองแตกาซมีการเคลื่อนที่ตามความเร็วของกระแสอากาศในปลอง


คําตอบ 3 : ฝุนละอองในปลองระบายอากาศมีการเคลื่อนที่แบบแปรปรวนตามความยาวของปลองแตกาซมีการกระจายตัวตามพื้นที่หนาตัดของปลอง


คําตอบ 4 : ฝุนละอองในปลองระบายอากาศมีการกระจายตัวแบบบราวเนี่ยนตามความยาวของปลองแตกาซมีการกระจายตัวตามแนวยาวของปลอง

ง ว

ขอที่ :


204


อุปกรณชนิดใดตอไปนี้ใชควบคุมอัตราการไหลของอากาศในอุปกรณเก็บตัวอยางไดมีประสิทธิภาพมากที่สุด

กร
คําตอบ 1 : Mass flow controller


คําตอบ 2 : Dry gas meter



คําตอบ 3 : Rotameter

าว
คําตอบ 4 : Wet test meter

ขอที่ : 205

ส ภ
การเก็บตัวอยางอากาศในสภาวะที่มีอุณหภูมิ (T1) และความดัน (P1) สูงหรือต่ํากวามาตรฐานมีผลตอปริมาตรของอากาศที่เก็บตัวอยางได (V1) จึงจําเปนตองปรับคาใหไดตาม
สภาวะมาตรฐาน (Standard Temperature and Pressure – STP) ดังนั้น ปริมาตรอากาศที่สภาวะมาตรฐาน (V2) สามารถคํานวณไดโดยใชใดสูตรดังตอไปนี้

คําตอบ 1 :

53 of 141
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย

คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ขอที่ : 206

ิธ์ ห
เครื่องมือที่ใชวัดความกดอากาศที่เรียกวา บาโรมิเตอร มี 2 แบบคือ
คําตอบ 1 : แบบปรอท และแบบตลับ
คําตอบ 2 : แบบแอนดรอยด และแบบน้ํา

ิท
คําตอบ 3 : แบบแอนดรอยด และแบบน้ํา

นส
คําตอบ 4 : แบบคิว และแบบปรอท

ง ว

ขอที่ : 207


ขอใดไมเกี่ยวของกับการเก็บตัวอยางอากาศ และวิเคราะหหาปริมาณฝุนละออง

กร ข
คําตอบ 1 : Hi-Vol sampler
คําตอบ 2 : passive sampler


คําตอบ 3 : smoke shade reflectance

าว ศ

คําตอบ 4 : beta gauge

ส ภ
ขอที่ : 208
ถาสังเกตเห็นควันขาวจากปลองโรงไฟฟา หมายถึง
คําตอบ 1 : ฝุนในระบบมากขึ้น
คําตอบ 2 : ปกติ
คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซดในระบบมากขึ้น
คําตอบ 4 : ไนโตรเจนไดออกไซดในระบบมากขึ้น

54 of 141
ขอที่ : 209
อุปกรณใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการเก็บ วิเคราะห และหาองคประกอบของตัวอยางกลิ่น
คําตอบ 1 : Tedlar bag/GC
คําตอบ 2 : Flux chamber/ GC
คําตอบ 3 : Tedlar bag/olfactometer
คําตอบ 4 : Flux chamber/GC-MS

่ า ย
ขอที่ : 210


ขอใดเปนวิธีการตรวจวัดฝุนละอองจากปลอง


คําตอบ 1 : US EPA method 5

จ ำ
คําตอบ 2 : US EPA method 6


คําตอบ 3 : US EPA method 7

า้
คําตอบ 4 : US EPA method 8

ขอที่ : 211
ิธ์ ห
ิท
ตามวิธี US EPA method 3 สมการการคํานวณหาน้ําหนักโมเลกุลของอากาศในปลอง ประกอบดวยปริมาณกาซใดบาง

นส

คําตอบ 1 :

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 212
โอโซนความเขมขน 0.08 สวนในลานสวนโดยปริมาตร มีคาเทากับขอใด
คําตอบ 1 : 0.157 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร 55 of 141

คําตอบ 2 : 0.157 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 3.84 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 3.84 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 213
วิธีใดถูกระบุใหใชในการตรวจวัดปริมาณตะกั่วในอากาศตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 :


US EPA Method 6

่ า
คําตอบ 2 : Atomic-absorption


คําตอบ 3 : Non - Dispersive Infrared


คําตอบ 4 : Chemiluminescence

จ ำ

ขอที่ :

า้
214
วิธีใดถูกระบุใหใชในการตรวจวัดปริมาณกาซคารบอนมอนนอกไซดในอากาศตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Gravimetric-high volume
คําตอบ 2 : Atomic-absorption

ิท
คําตอบ 3 : Non - Dispersive Infrared


คําตอบ 4 : Chemiluminescence

ขอที่ :

ง ว น

215


วิธีใดถูกระบุใหใชในการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองรวม(TSP)ในอากาศตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : Gravimetric-high volume

กร
คําตอบ 2 : Atomic-absorption


คําตอบ 3 : Non - Dispersive Infrared



คําตอบ 4 : hemiluminescence

ขอที่ : 216

ภ าว

วิธีใดถูกระบุใหใชในการตรวจวัดปริมาณโอโซนในอากาศตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : Gravimetric-high volume
คําตอบ 2 : Atomic-absorption
คําตอบ 3 : Non - Dispersive Infrared
คําตอบ 4 : Chemiluminescence

56 of 141
ขอที่ : 217
ขอใดถูกที่สุดในการวิเคราะหสารอินทรียระเหยงาย (VOC) ดวยเครื่องGC
คําตอบ 1 : นิยมใช flame ionization detector ในการวิเคราะหสารประกอบไนโตรเจน
คําตอบ 2 : นิยมใช electron capture detector ในการวิเคราะหสารประกอบไนโตรเจนและฮาโลเจน
คําตอบ 3 : นิยมใช mass spectrometry ในการวิเคราะหสารประกอบคีโตนและแอลกอฮอล
คําตอบ 4 : นิยมใช atomic emission ในการวิเคราะหสารประกอบไฮโดรคารบอนและอีเทอร

่ า ย
ขอที่ : 218


ขอใดผิดที่สุดเกี่ยวกับการตรวจวัดการระบายมลพิษทางอากาศจากรถจักรยานยนต


คําตอบ 1 : ในการตรวจวัดกาซ CO ตองทําในขณะที่เรงเครื่อง

จ ำ
คําตอบ 2 : ในการตรวจวัดกาซ HC ตองทําในขณะที่เครื่องเดินเบา


คําตอบ 3 : ในการตรวจวัดกาซ ควันขาว ตองทําในขณะที่เรงเครื่อง

า้
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 219
ิธ์ ห
ิท
ขอใดถูกที่สุดเกี่ยวกับการตรวจวัดการระบายควันดําจากรถยนตดีเซล


คําตอบ 1 : หากรถจอดอยูกับที่ ไมมีภาระ ตองตรวจวัดขณะเรงเครื่องจนสุดคันเรง

ว น
คําตอบ 2 : หากรถมีภาระ ตองตรวจวัดขณะที่เครื่องเดินเบา


คําตอบ 3 : หากรถมีภาระ ตองตรวจวัดขณะที่เครื่องมีความเร็วรอบรอยละ70ของความเร็วรอบที่ใหกําลังสูงสุด


คําตอบ 4 : ใชระบบกระดาษกรองเทานั้นในการตรวจวัด

ขอ
กร
ขอที่ : 220


ขอใดผิดที่สุดเกี่ยวกับการตรวจวัดการระบายมลพิษทางอากาศจากรถยนตเบนซิน



คําตอบ 1 : ในการตรวจวัดกาซ HC ตองทําในขณะที่เครื่องเดินเบา

าว
คําตอบ 2 : ในการตรวจวัดกาซ CO ตองทําในขณะที่เรงเครื่อง


คําตอบ 3 : ใชเครื่องมือ NDIR ในการวัดกาซHC


คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 221
ขอใดไมใชวิธีการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากโรงโม บด ยอยหิน ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : หากจุดตรวจอยูบริเวณปลอง จะวัดฝุนรวมดวยวิธี smoke opacity meter
คําตอบ 2 : หากจุดตรวจอยูบริเวณปลอง จะวัดฝุนรวมดวยวิธี US EPA Method 5
57 of 141
คําตอบ 3 : หากจุดตรวจอยูบริเวณที่หางจากขอบจุดกําเนิด1เมตร จะวัดฝุนรวมดวยวิธี US EPA Method 5
คําตอบ 4 : หากจุดตรวจอยูบริเวณที่หางจากขอบจุดกําเนิด1เมตร จะวัดความทึบแสงดวยวิธี smoke opacity meter

ขอที่ : 222
ขอใดตอไปนี้เปนการเก็บตัวอยางอากาศจากปลองเพื่อวิเคราะหหาความเขมขนอนุภาคมลสารแบบ isokinetic sampling
คําตอบ 1 : ดูดอากาศเขาใน probe ซึ่งปรับอุณหภูมิใหเทากับอุณหภูมิของแกสในปลอง
คําตอบ 2 : ดูดอากาศเขาใน probe ดวยความเร็วที่เทากับความเร็วของแกสในปลอง
คําตอบ 3 : เก็บตัวอยางดวยความเร็วการดูดอากาศคงที่

่ า ย

คําตอบ 4 : เก็บตัวอยางอากาศโดยควบคุมอุณหภูมิแกสใหคงที่

ขอที่ : 223

จ ำ ห

ขอใดตอไปนี้เปนวิธีการตรวจวัดระดับโอโซน ในบรรยากาศทั่วไป ตามมาตรฐานสําหรับการตรวจวัดอากาศในบรรยากาศทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การตรวจวัดวิธี Pararosaniline
คําตอบ 2 : การตรวจวัดวิธี Gravimetric Hi-volume
คําตอบ 3 : การตรวจวัดวิธี Chemiluminescence

ิท
คําตอบ 4 : การตรวจวัดระบบ Nondispersive infrared

นส

ขอที่ : 224


เครื่องมือวิเคราะหแบบดึงกาซเขาไปวิเคราะหของระบบการตรวจวัดมลพิษอากาศอยางตอเนื่อง (Extractive Continuous Emission Monitoring System) จะทําการวิเคราะหไดถูก


ตองแมนยําเพียงใด ขึ้นอยูกับปจจัยใด
คําตอบ 1 :

ขอ
สภาพกาซตัวอยางที่ไมมีฝุนละออง

กร
คําตอบ 2 : ความชื้นในกาซตองถูกกําจัดออก


คําตอบ 3 : อุณหภูมิของกาซตองเหมาะสมกับเครื่องมือวิเคราะห



คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 225

ภ าว

ขอใดตอไปนี้เปนวิธีตรวจวัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ตามประกาศคณะกรรมการสงแวดลอมแหงชาติ
คําตอบ 1 : UV-Fluorescence
คําตอบ 2 : Pararosaniline
คําตอบ 3 : Chemiluminescence
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 และ ขอ 2

58 of 141
ขอที่ : 226
วิธีตอไปนี้ทุกวิธีจัดวาเปนวิธีตรวจวัดฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM10) ยกเวนวิธีใด
คําตอบ 1 : Atomic Absorption Spectrometer
คําตอบ 2 : Beta Ray
คําตอบ 3 : Dichotomous
คําตอบ 4 : Gravimetric

่ า ย
ขอที่ : 227


ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตอง


คําตอบ 1 : ถุงเก็บตัวอยางอากาศแบบ Tedlar จะใชไดดี เมื่อเก็บตัวอยางกลิ่นในอากาศ ที่อุณหภูมิใกลเคียงกับอุณหภูมิหองและความเขมขนของสารเคมีนอยกวา 1 ppm.

จ ำ
คําตอบ 2 : ถังเก็บตัวอยางกลิ่นแบบ Summa Canister ผนังภายในถังจะเคลือบดวยสารที่มีฤทธิ์เปนกรด เพื่อปองกันไมใหสารเคมีทําปฏิกิริยากับผิวของผนังภายในถัง


การนําตัวอยางอากาศออกจากถังเก็บตัวอยางแบบ Summa Canister จะตองใชแรงดันอยางนอย 1.5 เทาของความดันบรรยากาศ ซึ่งจะทําใหปริมาณสารที่ตองการ
คําตอบ 3 :

า้
วิเคราะหลดลง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ิท
ขอที่ : 228


ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตองที่สุด


การเก็บตัวอยางกลิ่นในอากาศ โดยนําอากาศผานตัวกลางที่ทําหนาที่เปนตัวจับสารเคมีที่ทําใหเกิดกลิ่นในตัวอยางอากาศ จะใชกับตัวอยางอากาศที่มีปริมาณสารที่ทํา


คําตอบ 1 :


ใหเกิดกลิ่นในปริมาณที่เขมขนเทานั้น


ในการใชถาน (Charcoal) เปนสารดูดซับสารเคมีที่ทําใหเกิดกลิ่นในตัวอยางอากาศ นิยมใชความรอนชวยในการดึงโมเลกุลของสารเคมีที่ทําใหเกิดกลิ่นออกมา เพื่อ
คําตอบ 2 :


นําไปวิเคราะห


การเก็บตัวอยางสารเคมีในอากาศ โดยวิธีโครโอเจนิค (Cryogenic Techniques) เปนวิธีที่นําเอาหลอดรูปรางตัววี (V) แชในสารที่ใหอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิหอง แต

กร
คําตอบ 3 :
ตองมีอุณหภูมิสูงกวาจุดเยือกแข็งของสารเคมีที่ตองการตรวจวัด


ขอควรระวังในการใชวิธี Impingers ในการเก็บตัวอยางอากาศ ก็คือตองมีการเตรียมสารละลายที่ใชในการจับสารเคมีที่ทําใหเกิดกลิ่นอยางพอเพียง และในบางกรณี
คําตอบ 4 :
ควรแช Impingers ในน้ําแข็งหรือหรือทําใหเย็น

าว ศ


ขอที่ : 229


Beta ray เปนเทคนิคการตรวจวัดPM10 แบบตอเนื่อง เทคนิคดังกลาวมีหลักการทํางานอยางไร
คําตอบ 1 : วัดแสงสองผาน
คําตอบ 2 : วัดแสงถูกดูดกลืน
คําตอบ 3 : วัดความยาวคลื่นของแสงในบรรยากาศ
คําตอบ 4 : วัดแสงสะทอนกลับ

ขอที่ : 230 59 of 141

Dichotomous (Dichot) ถูกประกาศใหเปนวิธีการตรวจวัดเทียบเทา (Equivalent Method) ใชตรวจวัดสารมลพิษใดในบรรยากาศ และจัดเปน High volume sampler หรือ Low
volume sampler
คําตอบ 1 : ฝุนรวม, High volume sampler
คําตอบ 2 : ฝุนรวม, Low volume sampler
คําตอบ 3 : ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน, High volume sampler
คําตอบ 4 : ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน, Low volume sampler

่ า ย
ขอที่ : 231


Passive Sampling นิยมใชเพื่อจุดประสงคใด และเก็บตัวอยางโดยใชกลไกใดเปนหลัก


คําตอบ 1 : เพื่อหาความเขมขนของสารมลพิษในอากาศ, ใชหลักการ inertial impaction และ Gravity Settling

จ ำ
คําตอบ 2 : เพื่อหาการกระจายขนาดของฝุนในอากาศ, ใชหลักการ inertial impaction และ Gravity Settling


คําตอบ 3 : เพื่อหาปริมาณสารมลพิษในรูปกาซที่แพรกระจายในสิ่งแวดลอมซึ่งเครื่องมือตรวจจับไดในระยะเวลาใด ๆ, ใชหลักการ Molecule diffusion

า้
คําตอบ 4 : เพื่อหาปริมาณสารมลพิษที่ตกทับถมบนพื้นที่ศึกษา, ใชหลักการ Gravity Settling และ Molecule diffusion

ขอที่ : 232
ิธ์ ห
ิท
อุปกรณชนิดใดที่ใชในการสอบเทียบอัตราการดูดอากาศ (flowrate) ของ TSP High volume air sampler


คําตอบ 1 : Orifice head และ manometer

ว น
คําตอบ 2 : Bubble meter


คําตอบ 3 : Displacement bottle


คําตอบ 4 : Wet gas meter หรือ Dry gas meter

ขอ
กร
ขอที่ : 233


จงลําดับขั้นตอนตรวจวัดปริมาณฝุนในอากาศจากปลองแบบไมตอเนื่อง ตามวิธีการของ US EPA 1. หาน้ําหนักโมเลกุล และ ความชื้นของอากาศ 2. หาความเร็วและอัตราการไหล



ของกาซภายในปลอง 3. หาตําแหนงและจํานวนจุดเก็บตัวอยาง 4. เก็บตัวอยางฝุนภายในปลอง

าว
คําตอบ 1 : 1-2-3-4


คําตอบ 2 : 1-3-2-4


คําตอบ 3 : 3-4-1-2
คําตอบ 4 : 3-2-1-4

ขอที่ : 234
กระดาษกรองชนิดใดเหมาะสมที่สุดในการเก็บตัวอยาง Semivolatile Organic Compounds ในบรรยากาศในรูปของแข็ง เนื่องจากกระดาษกรองไมดูดซับสารมลพิษในรูปกาซ
คําตอบ 1 : Silica fiber filter
60 of 141
คําตอบ 2 : Quartz fiber filter
คําตอบ 3 : Teflon filter
คําตอบ 4 : Mixed Cellulose Ester Membrane

ขอที่ : 235
การเปรียบเทียบระบบการตรวจวัดมลพิษอยางตอเนื่อง (Continuous Emission Monitoring System: CEMs) แบบ Extractive และแบบ In-situ ในดานตาง ๆตอไปนี้ ขอใดเปน
การเปรียบเทียบที่ถูกตอง
คําตอบ 1 : ความเขมขน : Extractive System เปนการวัดความเขมขนแตละจุดของพื้นที่ In-Situ System เปนการวัดความเขมขนเฉลี่ยทําเปนตารางตลอดพื้นที่

่ า ย
คําตอบ 2 : สวนวิเคราะห :Extractive System อยูในสภาพบรรยากาศทั่วไป In-Situ System อยูในหองที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้น


คําตอบ 3 : การบํารุงรักษา : Extractive System สวนประกอบของระบบบางสวน In-Situ System สวนประกอบของระบบหลายสวน


คําตอบ 4 : การเปรียบเทียบ: Extractive System (Calibration)ใชกาซภายในเซล In-Situ System ใชกาซมาตรฐานแบบถัง

จ ำ

ขอที่ : 236

า้
หากทานตรวจวัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ไดความเขมขนเทากับ 30 สวนในลานสวน ทานสามารถรายงานความเขมขนในหนวย มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร (มก./ลบ.ม.) ไดดังนี้

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 30 มก./ลบ.ม.
คําตอบ 2 : 11.5 มก./ลบ.ม.

ิท
คําตอบ 3 : 78.5 มก./ลบ.ม.


คําตอบ 4 : 90 มก./ลบ.ม.

ขอที่ : 237

ง ว น

การตรวจวัดฝุนละอองในปลองโรงงาน มีหลักการในการเก็บตัวอยางใหถูกตองคือ
คําตอบ 1 :

ขอ
ใช Hi-vol sampler เก็บตัวอยางปริมาตรมากเพียงพอ

กร
คําตอบ 2 : ใช Isokinetic sampling


คําตอบ 3 : ตองเก็บตัวอยางในชวงที่ปลอยมลพิษสูงสุด เชน เริ่มเดินเครื่อง



คําตอบ 4 : ตองเก็บตัวอยางในสภาวะความดันและอุณหภูมิมาตรฐาน

ขอที่ : 238

ภ าว

การตรวจวัดกาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศตามมาตรฐานของไทยสามารถทําไดดวยวิธีใดตอไปนี้
วิธีพาราโรซานิลีน (Pararosaniline) ดวยการใชสารละลายดูดซับและนําไปวิเคราะหทางเคมี หรือวิธี ยูวีฟลูออเรสเซนต (UV-Fluorescence) ดวยคุณสมบัติของ
คําตอบ 1 :
กาซซัลเฟอรไดออกไซดที่ดูดกลืนแสงยูวีได
วิธีเคมิลูมิเนสเซนต (Chemiluminescence) ดวยเครื่องมืออัตโนมัติ หรือวิธียูวีฟลูออเรสเซนต (UV-Fluorescence) ดวยคุณสมบัติของกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่
คําตอบ 2 :
ดูดกลืนแสงยูวีได
วิธียูวีฟลูออเรสเซนต (UV-Fluorescence)หรือ นัลดีสเฟอรซีฟอินฟราเรด (Non-dispersive infrared)ดวยคุณสมบัติของกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่ดูดกลืนแสงยูวี
คําตอบ 3 :
และอินฟราเรดไดดี
61 of 141
คําตอบ 4 : วิธีเคมิลูมิเนสเซนต (Chemiluminescence) ดวยเครื่องมืออัตโนมัติ หรือวิธีโซเดียม-อารเซนไนท (Sodium-Arsenite)
ขอที่ : 239
การตรวจวัดฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนในบรรยากาศดวยวิธีมาตรฐาน Gravimetric-High Volume เครื่องมือมีหลักการทํางานตามลําดับเปนอยางไร
อากาศเขาทางเขา --->อากาศถูกเรงผานชองเปดขนาดเล็ก --->ฝุนขนาดใหญกวา 10 ไมครอนถูกดักดวยแผนดักฝุน --->ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนผานเขาสู
คําตอบ 1 :
ชองเปดที่มีกระดาษกรองและเกาะติด
อากาศเขาทางเขา ---> ฝุนขนาดใหญกวา 10 ไมครอนถูกดักดวยแผนดักฝุน ---->อากาศถูกเรงผานชองเปดขนาดเล็ก ---> ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนผานเขาสู
คําตอบ 2 :


ชองเปดที่มีกระดาษกรองและเกาะติด

่ า
คําตอบ 3 : อากาศเขาทางเขา --->อากาศถูกเรงผานชองเปดขนาดเล็ก ---> ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนผานเขาสูชองเปดที่มีกระดาษกรองและเกาะติด


คําตอบ 4 : อากาศเขาทางเขา ---> ฝุนขนาดใหญกวา 10 ไมครอนถูกดักดวยแผนดักฝุน ---> ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนผานเขาสูชองเปดที่มีกระดาษกรองและเกาะติด

ขอที่ : 240

จ ำ ห
า้ ม
วิธีการตรวจวัดกาซคารบอนมอนอกไซดในบรรยากาศตามมาตรฐานของไทยมีหลักการทํางานอยางไร

ิธ์ ห
หลักการดูดแสงอินฟราเรดของกาซคารบอนมอนอกไซด โดยดูดอากาศเขาเครื่องมือและทําใหอากาศแยกเปนสองทาง ทางหนึ่งผานเขาระบบกําจัดกาซคารบอน
คําตอบ 1 : มอนอกไซดใหหมดเพื่อใชเปนเซลอางอิง (Reference cell) สวนอีกทางหนึ่งเปนเซลตัวอยาง ความแตกตางที่ไดจากการวัดทั้งสองเซลไดเปนความเขมขนของกาซ
คารบอนมอนอกไซด

ิท
หลักการทําปฏิกิริยากับแสงอินฟราเรดของกาซคารบอนมอนอกไซด โดยดูดอากาศเขาเครื่องมือผานเซลอางอิง (Reference cell) ความเขมขนของกาซคารบอน
คําตอบ 2 :


มอนอกไซดจะแปรผันกับปริมาณแสงอินฟราเรดที่สองผานอากาศในเซลอางอิง


หลักการทําปฏิกิริยาในระบบ Chemiluminescence โดยทําใหกาซคารบอนมอนอกไซดแยกผานเขาเซลอางอิง (Reference cell) และเซลตัวอยางตามลําดับ ความ


คําตอบ 3 :
แตกตางที่ไดจากการวัดจากการผานทั้งสองเซลไดเปนความเขมขนของกาซคารบอนมอนอกไซด


หลักการทําปฏิกิริยาในระบบ Chemiluminescence โดยดูดอากาศเขาเครื่องมือผานเซลอางอิง (Reference cell) ความเขมขนของกาซคารบอนมอนอกไซดจะแปร


คําตอบ 4 :
ผันกับปริมาณความเขมขนของแสงฟลูออเรทเซนตที่เปลงออกมา

ขอ
กร
ขอที่ : 241


หลักการใดตอไปนี้กลาวถึงการตรวจวัดกาซไนโตรเจนออกไซดจากปลองโรงงานอุตสาหกรรมตามวิธีของ U.S.EPA Method 7 ไดถูกตองมากที่สุด



หลักการเก็บตัวอยางอากาศโดยใชชุดเก็บตัวอยางจากปลอง (Stack) ดวยการทําปฏิกิริยากาซไนโตรเจนออกไซดกับกรดฟนอลไดซัลฟอนิกและวิเคราะหดวยวิธีดูด

าว
คําตอบ 1 :
กลืนแสง


หลักการเก็บตัวอยางอากาศโดยใชชุดเก็บตัวอยางจากปลอง (Stack) ดวยการทําปฏิกิริยากาซไนโตรเจนออกไซดกับกรดฟนอลไดซัลฟอนิกและวิเคราะหดวยวิธี
คําตอบ 2 :


Chemiluminescence
หลักการเก็บตัวอยางอากาศโดยใชชุดเก็บตัวอยางจากปลอง (Stack) ดวยการดูดซึมกาซไนโตรเจนออกไซดในตัวอยางดวยสารละลายเจือจางของกรดซัลฟุริก-
คําตอบ 3 :
ไฮโดรเจนเปอรออกไซดที่บรรจุอยูในภาชนะแกวกอนนําไปทําปฏิกิริยากับกรดฟนอลไดซัลฟอนิกและวิเคราะหดวยวิธีพาราโรซานิลีน (Pararosaniline)
หลักการเก็บตัวอยางอากาศโดยใชชุดเก็บตัวอยางจากปลอง (Stack) ดวยการดูดซึมกาซไนโตรเจนออกไซดในตัวอยางดวยสารละลายเจือจางของกรดซัลฟุริก-
คําตอบ 4 :
ไฮโดรเจนเปอรออกไซดที่บรรจุอยูในภาชนะแกวกอนนําไปทําปฏิกิริยากับกรดฟนอลไดซัลฟอนิกและวิเคราะหดวยวิธีดูดกลืนแสง

ขอที่ : 242
62 of 141
Opacity ของ White Smoke รายงานในหนวยใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : Ringlemann number
คําตอบ 2 : Pararosaniline number
คําตอบ 3 : Percent Opacity
คําตอบ 4 : Percent Polarization

ขอที่ : 243

่ า ย
U.S. EPA Method 6 เปนวิธีการตรวจวัดมลพิษชนิดใดจากปลองโรงงานอุตสาหกรรม


คําตอบ 1 : ไนโตรเจนไดออกไซค


คําตอบ 2 : ซัลเฟอรไดออกไซค

จ ำ
คําตอบ 3 : ความทึบแสง (Opacity)


คําตอบ 4 : Dioxins และ Furans

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 244
U.S. EPA Method 7 เปนวิธีการตรวจวัดมลพิษชนิดใดจากปลองโรงงานอุตสาหกรรม

ิท
คําตอบ 1 : ไนโตรเจนไดออกไซค


คําตอบ 2 : ซัลเฟอรไดออกไซค

ว น
คําตอบ 3 : ความทึบแสง (Opacity)


คําตอบ 4 : Dioxins และ Furans

อ ส

ขอที่ : 245

กร
U.S. EPA Method 9 เปนวิธีการตรวจวัดมลพิษชนิดใดจากปลองโรงงานอุตสาหกรรม


คําตอบ 1 : ไนโตรเจนไดออกไซค



คําตอบ 2 : ซัลเฟอรไดออกไซค

าว
คําตอบ 3 : ความทึบแสง (Opacity)


คําตอบ 4 : Dioxins และ Furans

ขอที่ : 246

U.S. EPA Method 23 เปนวิธีการตรวจวัดมลพิษชนิดใดจากปลองโรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 1 : ไฮโดรเจนซัลไฟด
คําตอบ 2 : HF
คําตอบ 3 : HCl
63 of 141
คําตอบ 4 : Dioxins และ Furans
ขอที่ : 247
U.S. EPA Method 26 เปนวิธีการตรวจวัดมลพิษชนิดใดจากปลองโรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 1 : ไฮโดรเจนซัลไฟด
คําตอบ 2 : HF
คําตอบ 3 : HCl


คําตอบ 4 : Dioxins และ Furans

น่ า

ขอที่ : 248


ขอใดเปนวิธีการตรวจวัดสารอินทรียระเหย (VOCs) ที่รั่วระเหยจากอุปกรณตางๆ
คําตอบ 1 : U.S. EPA Method 5

มจ
า้
คําตอบ 2 : U.S. EPA Method 8

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : U.S. EPA Method 20
คําตอบ 4 : U.S. EPA Method 21

ขอที่ : 249

ส ิท
ว น
ในป พ.ศ. 2550 ไดมีการกําหนด มาตรฐานคุณภาพอากาศ สําหรับสารอินทรียระเหย (VOCs) 9 ชนิดสําหรับประเทศไทย ขอใดที่ไมรวมอยูใน VOCs 9 ชนิด ดังกลาว


คําตอบ 1 : Xylene


คําตอบ 2 : Benzene


คําตอบ 3 :


Butadiene

กร
คําตอบ 4 : Vinyl Chloride

ขอที่ : 250


ิ ว
าว
ในป พ.ศ. 2550 ไดมีการกําหนด มาตรฐานคุณภาพอากาศ สําหรับสารอินทรียระเหย (VOCs) 9 ชนิดสําหรับประเทศไทย ซึ่งเปนคาเฉลี่ย 1 ป ขอใด เปนวิธี หา คาเฉลี่ย 1ป ที่ระบุใน
คามาตรฐานดังกลาว


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
ภ นําผลการตรวจวิเคราะหตัวอยางอากาศแบบตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงของทุกๆ วัน ในรอบ 1 ป (อยางนอย 95% ของจํานวนวันใน 1 ป) มาหาคามัชฌิมเลขคณิต
(Arithmetic Mean)
นําผลการตรวจวิเคราะหตัวอยางอากาศแบบตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงของทุกๆ วัน ในรอบ 1 ป (อยางนอย 90% ของจํานวนวันใน 1 ป) มาหาคามัชฌิมเลขคณิต
(Arithmetic Mean)
นําผลการตรวจวิเคราะหตัวอยางอากาศแบบตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงของทุกๆ วัน ในรอบ 1 ป (อยางนอย 80% ของจํานวนวันใน 1 ป) มาหาคามัชฌิมเลขคณิต
คําตอบ 3 :
(Arithmetic Mean)
คําตอบ 4 : นําผลการตรวจวิเคราะหตัวอยางอากาศแบบตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงของทุกๆ เดือน (อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง) มาหาคามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean)
64 of 141
ขอที่ : 251
ในป พ.ศ. 2550 ไดมีการกําหนด มาตรฐานคุณภาพอากาศ สําหรับสารอินทรียระเหย (VOCs) 9 ชนิดสําหรับประเทศไทย ดยการตรวจวัดใชวิธีการตรวจวิเคราะหตัวอยางอากาศแบบ
ตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง โดยอางอิง วิธีที่ U.S. Environmental Protection Agency แนะนําใหใช วิธีการเก็บตัวอยางและวิเคราะหฺดังกลาว คือ
คําตอบ 1 : Pararosaniline
คําตอบ 2 : Sodium Arsenite
คําตอบ 3 : NDIR


คําตอบ 4 : TO-14 หรือ TO-15

น่ า

ขอที่ : 252


มลพิษอากาศประเภทใดไมอยูในมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศของประเทศไทย

มจ
คําตอบ 1 : ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (หรือ PM-10)

า้
คําตอบ 2 : กาซไนโตรเจนไดออกไซด

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : กาซคารบอนไดออกไซด
คําตอบ 4 : กาซโอโซน

ขอที่ : 253

ส ิท

ประเทศใดตอไปนี้ไมยอมใหสัตยาบัน ในพิธีสารเกียวโต (Kyoto protocol)
คําตอบ 1 : ออสเตรเลีย

ง ว

คําตอบ 2 : สหรัฐ


คําตอบ 3 : จีน

กร ข
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก. และ ข.

ขอที่ : 254


ิ ว
าว
ในพิธีสารเกียวโตไมไดคลอบคลุมกาซในขอใด


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

65 of 141
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 255


ขอใดเกี่ยวของกับโอโซนนอยที่สุด


คําตอบ 1 :


Dobson unit


คําตอบ 2 : Chapman reaction


คําตอบ 3 : Kyoto protocol

า้
คําตอบ 4 : Montreal protocol

ขอที่ : 256
ิธ์ ห
ิท
กรมโรงงานอุตสาหกรรมกําหนดสภาวะอางอิงในการคํานวณความเขมขนของสารมลพิษอากาศเทียบที่ ปริมาตร ออกซิเจนสวนเกินรอยละ เทาไร


คําตอบ 1 :


5


คําตอบ 2 : 6


คําตอบ 3 : 7


คําตอบ 4 :


8

ขอที่ : 257

กร ข

ขอใดตอไปนี้ไมถูกกําหนดไวในมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม



คําตอบ 1 : CO เฉลี่ย 1 ชั่วโมง

าว
คําตอบ 2 : ซัลเฟอรไดออกไซดเฉลี่ย 1 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : TSP เฉลี่ย 1 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : โอโซน เฉลี่ย 1 ชั่วโมง

ขอที่ : 258
ไอเสียจากเตาเผาขยะมูลฝอยไมติดเชื้อในขอใดที่ไมไดมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : มีไนโตรเจนไดออกไซด ความเขมขน 100 มก./ลบ.ม.
คําตอบ 2 : มีซัลเฟอรไดออกไซด ความเขมขน 40 ppm
66 of 141
คําตอบ 3 : มี TSP ความเขมขน 100 มก./ลบ.ม.
คําตอบ 4 : มีไดออกซินความเขมขน 28 มก./ลบ.ม.

ขอที่ : 259
อากาศในขอใดที่ไมไดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : มี CO ความเขมขนเฉลี่ย 1 ชั่วโมง 20 ppm
คําตอบ 2 : มีซัลเฟอรไดออกไซด ความเขมขนเฉลี่ย 1 ชั่วโมง 0.01 ppm
คําตอบ 3 : มีไนโตรเจนไดออกไซดความเขมขนเฉลี่ย 1 ชั่วโมง 0.10 ppm

่ า ย

คําตอบ 4 : มี TSP ความเขมขนเฉลี่ย 24 ชั่วโมง0.4 มก./ลบ.ม.

ขอที่ : 260

จ ำ ห

ขอใดผิดเกี่ยวกับในการคํานวณปริมาณสารมลพิษในไอเสียที่ปลอยจากปลองตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ตองคํานวณที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลซียส
คําตอบ 2 : ตองคํานวณที่ปริมาตรอากาศสวนเกินในการเผาไหม (Excess air) 40%
คําตอบ 3 : ตองคํานวณที่ความดัน 760 มิลลิเมตรปรอท

ิท
คําตอบ 4 : ไมมีขอผิด

นส

ขอที่ : 261


ไดออกซินที่ระบุไวในมาตรฐานคุณภาพไอเสียที่ปลอยจากเตาเผาขยะมูลฝอยไมติดเชื้อหมายถึงสารใด
คําตอบ 1 : PCDD

อ ส

คําตอบ 2 : PCDF

กร
คําตอบ 3 : PAHs


คําตอบ 4 : ทั้งก.และข.

ขอที่ : 262

าว ศ


สารมลพิษในขอใดไมไดถูกระบุไวในคามาตรฐานคุณภาพไอเสียที่ปลอยจากเตาเผาขยะมูลฝอยติดเชื้อตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : ตะกั่ว
คําตอบ 2 : ปรอท
คําตอบ 3 : แคดเมียม
คําตอบ 4 : โครเมียม

ขอที่ : 263 67 of 141


สารมลพิษในขอใดถูกระบุไวในคามาตรฐานคุณภาพไอเสียที่ปลอยจากเตาเผาขยะมูลฝอยติดเชื้อตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : ตะกั่ว
คําตอบ 2 : ความทึบแสง
คําตอบ 3 : ไฮโดรเจนฟลูออไรด
คําตอบ 4 : ทั้งก.และค.

ขอที่ : 264

่ า ย
ขอใดคือวิธีตรวจวัดไอน้ํามันเบนซินจากคลังเชื้อเพลิง


คําตอบ 1 : Gas Chromatography


คําตอบ 2 : Total Gaseous Organic Concentration Using a Flame Ionization Analyzer

จ ำ
คําตอบ 3 : Determination of Total Gaseous Organic Concentration Using a Nondispersive Infrared Analyzer


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 265
โรงไฟฟาใหมแหงหนึ่งมีคาเฉลี่ยการปลอยทิ้งฝุนละอองรวมเทากับ300 ppm ซึ่งเกินมาตรฐาน ตองติดตั้งเครื่องมือใดตอไปนี้จึงจะสามารถลดการปลอยทิ้งฝุนละอองรวมใหได

ิท
มาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : ไซโคลนที่มีประสิทธิภาพในการกําจัดฝุน50%


คําตอบ 2 : หอฉีดน้ําที่มีประสิทธิภาพในการกําจัดฝุน55%
คําตอบ 3 : เครื่องตกตะกอนที่มีประสิทธิภาพในการกําจัดฝุน60%

ง ว

คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 266
เตาเผามูลฝอยซึ่งเปนแหลงกําเนิดมลพิษอากาศที่สําคัญประเภทหนึ่งที่มีการกําหนดอัตราการระบายมลพิษออกสูบรรยากาศ ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่ง


แวดลอม แบงประเภทของเตาเผาออกเปนกี่ขนาด และใชเกณฑใดในการแบงขนาด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

แบงเปน 2 ขนาด และใชเกณฑปริมาณมูลฝอยที่กําจัดตอวันเปนตัวแบง
แบงเปน 3 ขนาด และใชเกณฑปริมาณมูลฝอยที่กําจัดตอวันเปนตัวแบง

ส ภ
คําตอบ 3 : แบงเปน 2 ขนาด และใชเกณฑขนาดหองเผาเปนตัวแบง
คําตอบ 4 : แบงเปน 3 ขนาด และใชเกณฑขนาดหองเผาเปนตัวแบง

ขอที่ : 267
การวัดปริมาณมลพิษอากาศที่ระบายออกจากโรงไฟฟาตามประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรม ตองวัดในสภาวะที่มีอากาศสวนเกินในการเผาไหม (Excess Air) เทากับเทาใด
คําตอบ 1 : 20%
คําตอบ 2 : 30% 68 of 141

คําตอบ 3 : 40%
คําตอบ 4 : 50%

ขอที่ : 268
ความเขมขนของฝุนละอองจากโรงโม บด หรือยอยหิน ที่ไมมีการติดตั้งระบบดูดฝุน ตามประกาศของกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี่ และสิ่งแวดลอม ตองมีคามาตรฐานความทึบ
แสงที่กระบวนการผลิตไมเกินเทาใด เมื่อตรวจวัดที่ระยะหาง 1 เมตรจากแหลงกําเนิด
คําตอบ 1 : 10%

่ า ย
คําตอบ 2 : 20%


คําตอบ 3 : 30%


คําตอบ 4 : 40%

จ ำ

ขอที่ : 269

า้
ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตอง

ิธ์ ห
นายจางจะตองจัดใหมีการตรวจวัดความเขมขนของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศ บริเวณที่ทํางานและสถานที่เก็บอยางชาไมเกิน 6 เดือนตอหนึ่งครั้ง และใหรายงาน
คําตอบ 1 :
ผลใหกระทรวงมหาดไทยภายใน 30 วัน

ิท
กรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม ไดวางหลักเกณฑเกี่ยวกับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงโมหิน วาจะตองเสนอระบบการปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมประกอบ
คําตอบ 2 :


การขออนุมัติดวย


คําตอบ 3 : เมื่อตองการรองเรียนเหตุเดือดรอนรําคาญเนื่องจากมลพิษทางอากาศสามารถใชพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ


ตามประกาศของกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยี่และสิ่งแวดลอม ในการคํานวณความเขมขนของสารมลพิษอากาศเทียบที่สภาวะอางอิง คืออุณหภูมิ 25 C ความดัน


คําตอบ 4 :
1 บรรยากาศ ปริมาตรอากาศในการเผาไหมหรือออกซิเจนสวนเกิน (Excess Oxygen) รอยละ 8

อ ส

ขอที่ :

กร
270
ขอใดไมใชมลพิษจากยานพาหนะประเภทตางๆ ที่มีการตรวจวัดโดยตํารวจบนทองถนน


คําตอบ 1 : กาซคารบอนไดออกไซด

าว ศ

คําตอบ 2 : เสียงดัง
คําตอบ 3 : คารบอนมอนอกไซด


คําตอบ 4 : ควันดํา

ขอที่ : 271

เจาพนักงานของรัฐผูใดที่มีหนาที่ตรวจจับควันดํารถยนตบนทองถนน และมีอํานาจสั่งปรับ
คําตอบ 1 : ตํารวจจราจร
คําตอบ 2 : เจาหนาที่เทศกิจของ กทม.
คําตอบ 3 : เจาหนาที่ของกรมควบคุมมลพิษ
69 of 141
คําตอบ 4 : เจาหนาที่ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ขอที่ : 272
โรงไฟฟาใหมแหงหนึ่งมีปลองควัน 2 ปลอง ปลองหนึ่งใชเชื้อเพลิงจากถานหิน สวนอีกปลองหนึ่งใชเชื้อเพลิงจากน้ํามัน หากความรอนที่ไดจากถานหิน (heat input) เปน 3 เทาของ
ความรอนที่ไดจากน้ํามัน จงหาวาคามาตรฐานควบคุมการปลอยออกไซดของไนโตรเจนสําหรับโรงไฟฟาแหงนี้เปนเทาใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 128.3 ppm
คําตอบ 2 : 222.5 ppm


คําตอบ 3 : 307.5 ppm

าว ศ

คําตอบ 4 : 395.2 ppm

ส ภ
ขอที่ : 273
มลพิษทางอากาศ 3 ชนิดที่ปรากฏอยูในมาตรฐานปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงานผลิต สง หรือจําหนาย พลังงานไฟฟาตามประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรม
คือ
คําตอบ 1 : กาซซัลเฟอรไดออกไซด, ฝุนละออง, ไนโตรเจนไดออกไซด
คําตอบ 2 : กาซซัลเฟอรไดออกไซด, ฝุนละออง, คารบอนมอนอกไซด
คําตอบ 3 : ฝุนละออง, คารบอนมอนอกไซด,ไนโตรเจนไดออกไซด
คําตอบ 4 : กาซซัลเฟอรไดออกไซด, คารบอนมอนอกไซด,ไนโตรเจนไดออกไซด
70 of 141
ขอที่ : 274
ในปจจุบันคามาตรฐานปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากแหลงกําเนิดในประเทศไทยมักกําหนดในรูป
คําตอบ 1 : ความเขมขน สวนในลานสวน โดยน้ําหนัก
คําตอบ 2 : ความเขมขน สวนในลานสวน โดยปริมาตร
คําตอบ 3 : อัตราการปลอยสูงสุด มวลสารมลพิษตอหนวยเวลา
คําตอบ 4 : อัตราการปลอยสูงสุด ปริมาตรสารมลพิษตอหนวยเวลา

่ า ย

ขอที่ : 275


ในกฎกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2 (2535) ในขอ 16 หามการระบายมลพิษอากาศ เวนแตทําอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางจนอากาศที่ระบายออกมีปริมาณของสารเจือปนไม


เกินกวาคามาตรฐานที่รัฐมนตรีกําหนด แตทั้งนี้ตองไมใชวิธีใด

มจ
คําตอบ 1 : Recycling

า้
คําตอบ 2 : Refining

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Diffusion
คําตอบ 4 : Dilution

ขอที่ : 276

ส ิท

คามาตรฐาน ฝุนรวม ในบรรยากาศสําหรับประเทศไทยสําหรับคาเฉลี่ย 1 วัน คือ
คําตอบ 1 : 50 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร

ง ว

คําตอบ 2 : 100 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 120 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร

กร ข
คําตอบ 4 : 330 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 277


ิ ว
าว
มาตรฐาน สารตะกั่ว ในบรรยากาศสําหรับประเทศไทยใชคาเฉลี่ยในเวลาเทาใด


คําตอบ 1 : 24 ชั่วโมง


คําตอบ 2 : 1 เดือน
คําตอบ 3 : 3 เดือน
คําตอบ 4 : 1 ป

ขอที่ : 278
มาตรฐานไนโตรเจนไดออกไซด ในบรรยากาศสําหรับประเทศไทยใชคาเฉลี่ยในเวลาเทาใด
71 of 141
คําตอบ 1 : 1 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 24 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 1 เดือน
คําตอบ 4 : 1 ป

ขอที่ : 279
ขอใดเปนสภาวะอางอิงโดยทั่วไปสําหรับการรายงานผลการตรวจวัดสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน
คําตอบ 1 : ก. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ที่ความชื้นจริง
คําตอบ 2 : ข. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสที่ความชื้น 15 %

่ า ย

คําตอบ 3 : ค. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ที่ความชื้น 15 %


คําตอบ 4 : ง. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสที่ความชื้น 0 %

จ ำ

ขอที่ :

า้
280
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2538 เรื่องกําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ฝุนขนาดเล็กในประกาศ

ิธ์ ห
ดังกลาวหมายถึง
คําตอบ 1 : ฝุนเล็กกวา 2.5 ไมครอน

ิท
คําตอบ 2 : ฝุนเล็กกวา 5 ไมครอน


คําตอบ 3 : ฝุนเล็กกวา 10 ไมครอน


คําตอบ 4 : ฝุนเล็กกวา 100 ไมครอน

ง ว

ขอที่ :


281


มีโลหะหนักชนิดเดียวที่ปรากฏอยูในมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.

กร
2538 โลหะหนักดังกลาวคือ
คําตอบ 1 : ปรอท
คําตอบ 2 : ตะกั่ว


ิ ว
าว
คําตอบ 3 : แคดเมี่ยม
คําตอบ 4 : ดีบุก

ขอที่ : 282
ส ภ
คาเฉลี่ยเวลาตามมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศสําหรับประเทศไทยในขอใดถูก
คําตอบ 1 : คามาตรฐาน 1 ป และ 1 ชั่วโมง สําหรับ CO
คําตอบ 2 : คามาตรฐาน 1 ป และ 1 ชั่วโมง สําหรับซัลเฟอรไดออกไซด
คําตอบ 3 : คามาตรฐาน 1 ป และ 24 ชั่วโมง สําหรับ PM10
คําตอบ 4 : คามาตรฐาน 1 ป และ 24ชั่วโมง สําหรับไนโตรเจนไดออกไซด 72 of 141
ขอที่ : 283
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 4 (ลงวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2514) ขอ 77 กําหนดใหปลองควันมีความสูงพอสมควรและความดําของเขมาควันที่ปากปลองไมเกินรอยละ 40
ตามมาตราวัดใด
คําตอบ 1 : % Bosch
คําตอบ 2 : % Hartridge
คําตอบ 3 : % Ringlemann


คําตอบ 4 : % Transmission

น่ า

ขอที่ : 284


ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยฝุนละอองจากโรงโมบดหรือยอยหิน วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2539 ที่กระบวนการผลิต


เชน เครื่องโม ยอยหิน สายพาน ตะแกรงรอน ไวไมเกินรอยละ 20 เมื่อตรวจวัดที่ระยะหาง 1 เมตร โดยรอบจากขอบจุดกําเนิด ตามมาตราวัดใด

า้ ม
คําตอบ 1 : % Bosch

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : % Hartridge
คําตอบ 3 : % Ringleman
คําตอบ 4 : % Smoke Opacity Meter

ส ิท

ขอที่ : 285


ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟา วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2538 ถามีการใชเชื้อเพลิงหลาย


ชนิด คามาตรฐานกําหนดตามเกณฑใด
คําตอบ 1 :

อ ส
เฉลี่ยตามสัดสวนของมวลของชนิดของเชื้อเพลิงแตละชนิดที่ใช


คําตอบ 2 : เฉลี่ยตามสัดสวนของความรอนของชนิดของเชื้อเพลิงแตละชนิดที่ใช

กร
คําตอบ 3 : ใชตามคาเฉลี่ยตามจํานวนของคามาตรฐานของเชื้อเพลิงทุกชนิดที่ใช


คําตอบ 4 : ใชตามคาสูงสุดตามคามาตรฐานของเชื้อเพลิงทุกชนิดที่ใช

ขอที่ : 286

าว ศ


ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2544 เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งน้ํามันเบนซินจากคลังน้ํามันเชื้อเพลิง กําหนดคา


มาตรฐานของสารใด
คําตอบ 1 : Total Hydrocarbons เทียบเทา benzene
คําตอบ 2 : Total Hydrocarbons เทียบเทา methane
คําตอบ 3 : Total Volatile Organic Compounds: Total VOCs
คําตอบ 4 : Total Hydrocarbons เทียบเทา ethylene

73 of 141
ขอที่ : 287
ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กําหนดใหนายจางจัดใหมีสถานที่ทํางานที่ถูกสุขลักษณะ โดยถาพบวา ถามีสารเคมีติดไฟ ในปริมาณความเขมขน เกินกวา เทาใด จะ
ตอง ทําการระบายอากาศหรือขจัดหรือทําความสะอาดสถานที่นั้นจนกวาจะอยูในสภาพที่ปลอดภัย
คําตอบ 1 : รอยละ 10 ของความเขมขนต่ําสุดที่จะติดไฟหรือระเบิดได
คําตอบ 2 : รอยละ 20 ของความเขมขนต่ําสุดที่จะติดไฟหรือระเบิดได
คําตอบ 3 : รอยละ 50 ของความเขมขนต่ําสุดที่จะติดไฟหรือระเบิดได
คําตอบ 4 : เทากับความเขมขนต่ําสุดที่จะติดไฟหรือระเบิดได

่ า ย

ขอที่ : 288


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2513 (ลงวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2513) ขอ 24 โรงงาน ตองจัดใหมีการระบายอากาศที่เหมาะสมโดยใหมีพื้นที่ประตู หนาตางและชอง


ลมรวมกันโดยไมนับที่ติดตอกันระหวางหองไมนอยกวาเทาใด


คําตอบ 1 : 1 ใน 10 สวนของพื้นที่ของหองปฏิบัติงาน

า้ ม
คําตอบ 2 : 1 % ของพื้นที่ของหองปฏิบัติงาน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 3 ใน 10 สวนของพื้นที่ของหองปฏิบัติงาน
คําตอบ 4 : 3 % ของพื้นที่ของหองปฏิบัติงาน

ขอที่ : 289

ส ิท

การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยไดกําหนดคามาตรฐานการปลอยสารมลพิษอากาศจากปลองโรงงานภายในนิคมอุตสาหกรรม ทําใหปริมาณสารมลพิษที่จะปลอยออกได (เชน


กิโลกรัมตอวัน) ของแตละโรงงานขึ้นกับ

ส ง
คําตอบ 1 : กําลังการผลิต และอัตราการใชเชื้อเพลิง ของโรงงาน


คําตอบ 2 : พื้นที่โรงงาน และความสูงปลองของโรงงาน


คําตอบ 3 : กําลังการผลิต และพื้นที่โรงงาน ของโรงงาน

กร
คําตอบ 4 : พื้นที่โรงงานและอัตราการใชเชื้อเพลิง ของโรงงาน


ิ ว
าว
ขอที่ : 290
ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กําหนดใหนายจางจัดใหมีสถานที่ทํางานที่ถูกสุขลักษณะมีปริมาณออกซิเจนไมต่ํากวา


คําตอบ 1 : รอยละ 20


คําตอบ 2 : รอยละ 18
คําตอบ 3 : รอยละ 16
คําตอบ 4 : รอยละ 14

ขอที่ : 291
คาปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากปลองโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2536) สําหรับฝุนละอองจากการผลิตทั่วไป ตองมีคาไมเกินเทาไร
74 of 141
คําตอบ 1 : 120 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 300 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 330 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 400 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 292
คาปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากปลองโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2536)สําหรับฝุนละอองจากหมอไอน้ําที่ใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิง


ตองมีคาไมเกินเทาไร
คําตอบ 1 : 120 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

น่ า

คําตอบ 2 : 300 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 330 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

มจ
คําตอบ 4 : 400 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 293
คาปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากปลองโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2543)สําหรับซัลเฟอรไดออกไซด จากการเผาไหมที่ใชน้ํามันเตา
เปนเชื้อเพลิง ตองมีคาไมเกินเทาไร
คําตอบ 1 : 1,250 สวนในลานสวน

ส ิท

คําตอบ 2 : 2,300 สวนในลานสวน

ง ว
คําตอบ 3 : 3,300 สวนในลานสวน


คําตอบ 4 : 4,000 สวนในลานสวน

ขอ
กร
ขอที่ : 294
คามาตรฐานการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (ประกาศในป พ.ศ.2540) สําหรับฝุนละอองรวม จากเตาเผา


ขนาดใหญกวา 50 ตันตอวัน มีคาเทาไร

าว ศ

คําตอบ 1 : 30 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 33 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 120 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 4 : 140 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 295
คามาตรฐานการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (ประกาศในป พ.ศ.2540) สําหรับฝุนละอองรวม จากเตาเผา
ขนาดตั้งแต 1-50 ตันตอวัน มีคาเทาไร
คําตอบ 1 : 120 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร 75 of 141
คําตอบ 2 : 300 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 330 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 400 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 296
การออกแบบอุปกรณฝุนชนิดสครับเบอรแบบเปยกที่พนน้ําดานบนลงสูดานลางมีกลไกหรือแรงใดตอไปนี้เขามาเกี่ยวของสําหรับประยุกตใชในการทํางานของอุปกรณ
คําตอบ 1 : แรงไฟฟาสถิตและแรงโนมถวง
คําตอบ 2 : แรงโนมถวงและแรงแมเหล็กไฟฟา

่ า ย

คําตอบ 3 : แรงไฟฟาสถิตและแรงหนีศูนยกลาง


คําตอบ 4 : แรงโนมถวงและการกระทบ

จ ำ

ขอที่ :

า้
297
กลไกประเภทใดที่เกี่ยวของกับการใชระบบกําจัดฝุนดวยถุงกรอง (Baghouse)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การเหวี่ยงใหเกิดแรงหนีศูนยกลาง
คําตอบ 2 : การตกเนื่องจากแรงโนมถวง

ิท
คําตอบ 3 : การกระทบ


คําตอบ 4 : การดึงดูดดวยแรงไฟฟาสถิต

ขอที่ :

ง ว น

298


การที่ตัวเลขเรยโนลยของฝุนละอองมีคานอยกวา 1.0 หมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : การเคลื่อนตัวหรือการไหลของฝุนละอองในระบบเปนแบบลามินาร (Laminar flow)

กร
คําตอบ 2 : การเคลื่อนตัวหรือการไหลของฝุนละอองในระบบเปนแบบ (Transition)


คําตอบ 3 : การเคลื่อนตัวหรือการไหลของฝุนละอองในระบบเปนแบบปนปวน (Turbulent flow)



คําตอบ 4 : การเคลื่อนตัวหรือการไหลของฝุนละอองในระบบเปนแบบแรงเฉื่อย (Inertial flow)

ขอที่ : 299

ภ าว

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเรขาคณิต (geometric standard deviation, )ของการกระจายขนาดฝุนเทากับ
คําตอบ 1 : 50% size/84.13% size
คําตอบ 2 : 84.13% size/50% size
คําตอบ 3 : 15.87% size/50% size
คําตอบ 4 : 50% size

76 of 141
ขอที่ : 300
คาปรับแกคันนิงแฮม ใชปรับแกความเร็วตกสุดทายของอนุภาคตามลักษณะอะไร
คําตอบ 1 : ความหนืด
คําตอบ 2 : ขนาดอนุภาค
คําตอบ 3 : การแพร
คําตอบ 4 : ความดัน

่ า ย
ขอที่ : 301


ขอใดไมใชแรงที่กระทําตออนุภาคฝุนที่กําลังตกตะกอนในอากาศ


คําตอบ 1 : แรงจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา

จ ำ
คําตอบ 2 : แรงโนมถวงของโลก


คําตอบ 3 : แรงลอยตัว

า้
คําตอบ 4 : แรงลาก (drag force)

ขอที่ : 302
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับ Cunningham correction factor


คําตอบ 1 : สําหรับอนุภาคขนาดใหญ Cunningham correction factor มีคาเขาใกล 1

ว น
คําตอบ 2 : เมื่อปรับดวย Cunningham correction factor แลว คาความเร็วตกตะกอนสุดทายของอนุภาคจะลดลง


คําตอบ 3 : การปรับคาความเร็วตกตะกอนสุดทายดวย Cunningham correction factor ไมมีผลกับอนุภาคขนาดใหญ


คําตอบ 4 : Cunningham correction factor ใชเพื่อชดเชยแรงตานหรือแรงลากที่กระทําตออนุภาคที่มีคาลดลง

ขอ
กร
ขอที่ : 303


ขอใดไมใชกลไกหลักในการจับอนุภาคเมื่ออนุภาคในกระแสการไหลวิ่งเขาหาตัวจับอนุภาค



คําตอบ 1 : การชน (Impaction)

าว
คําตอบ 2 : การจับเนื่องจากการสัมผัส (Interception)


คําตอบ 3 : การเกาะตัวเปนกอน (Flocculation)


คําตอบ 4 : การแพร (Diffusion)

ขอที่ : 304
ขอใดไมใชแนวทางการควบคุมไอเสียรถยนตดวยวิธีการปรับปรุงระบบเผาไหม
คําตอบ 1 : การหมุนเวียนไอเสียกลับไปยังหองสันดาป
คําตอบ 2 : การเพิ่มปริมาตรหองสันดาป
77 of 141
คําตอบ 3 : การลดพื้นที่ผิวหองสันดาป
คําตอบ 4 : การใชเครื่องยนตแยกชั้นไอดี

ขอที่ : 305
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับระบบดูดซับดวยคารบอนแบบ fixed-bed
คําตอบ 1 : mass transfer zone คือคารบอนสวนที่มีการดูดซับเกิดขึ้นอยู
คําตอบ 2 : ในขณะเดินระบบ mass transfer zone จะเคลื่อนที่จากดานที่แกสเขาไปยังดานที่แกสออก
คําตอบ 3 : เมื่อคารบอนทั้งหมดดูดซับมลสารไวจนเต็มความสามารถแลวจะตองหยุดเพื่อทําการฟนสภาพคารบอน

่ า ย

คําตอบ 4 : ความกวางของ mass transfer zone เปนฟงกชั่นของอัตราการถายโอนมลสารจากแกสสูผิวของคารบอน

ขอที่ : 306

จ ำ ห

ขอใดตอไปนี้ไมเหมาะสมจะใช ควบคุม NO จากแหลงกําเนิด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Wet scrubbers
คําตอบ 2 : Flue gas recirculation
คําตอบ 3 : Selective Non-Catalytic Reduction

ิท
คําตอบ 4 : Selective Catalytic Reduction

นส

ขอที่ : 307


หากตองการจะทําลายสารไดออกซินที่อยูในควันที่เกิดจากการเผาขยะตองเผาควันดังกลาวดวยอุณหภูมิสูงเทาใด
คําตอบ 1 : 2000 องศาฟาเรนไฮต

อ ส

คําตอบ 2 : 1400 องศาฟาเรนไฮต

กร
คําตอบ 3 : 1000 องศาฟาเรนไฮต


คําตอบ 4 : 600 องศาฟาเรนไฮต

ขอที่ : 308

าว ศ


วิธีใดตอไปนี้ที่กําจัดสารไฮโดรเจนคลอไรดไดไมดี


คําตอบ 1 : Wet scrubber
คําตอบ 2 : Dry scrubber
คําตอบ 3 : Electrostatic precipitators
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 309 78 of 141


การเผาพลาสติกกอใหเกิดสารมลพิษชนิดใดสูสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : dioxins
คําตอบ 2 : furan
คําตอบ 3 : hydrogen chloride
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 310

่ า ย
ขอใดตอไปนี้ถูกตองสําหรับการควบคุมปริมาณ VOC จากแหลงกําเนิด


คําตอบ 1 : VOC ความเขมขนต่ําควรใชกับระบบBiofilter


คําตอบ 2 : VOC ความเขมขนสูงควรใชกับระบบ Condensers,

จ ำ
คําตอบ 3 : VOC ความเขมขนสูงควรใชกับระบบ Cryogenic systems


คําตอบ 4 : ถูกทั้ง ข และ ค

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 311
โรงงานแหงหนึ่งเผาน้ํามันเชื้อเพลิงปริมาณ 12,000 ลิตรตอวัน น้ํามันมีกํามะถัน(S) เจือปน 2% โดยน้ําหนัก ถามวา โรงงานนี้จะปลอยมลพิษกาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) วันละ

ิท
เทาไร และหากเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิงไปใชลิกไนต ซึ่งมีกํามะถัน (S) 1.5% (สมมติใหน้ํามันมีความถวงจําเพาะ 1.00 และ ความรอนจําเพาะ 9,000 กิโลแคลอรี่ตอลิตร, ลิกไนตมีความ


รอนจําเพาะ 3,000 กิโลแคลอรี่ตอกิโลกรัม, MW.ของ S = 32 และ MW. ของ O = 16)


คําตอบ 1 : 120 กก./วัน

ง ว
คําตอบ 2 : 240 กก./วัน


คําตอบ 3 : 480 กก./วัน


คําตอบ 4 : 580 กก./วัน

ขอที่ : 312

กร ข

โรงงานแหงหนึ่งเผาน้ํามันเชื้อเพลิงปริมาณ 12,000 ลิตรตอวัน น้ํามันมีกํามะถัน(S) เจือปน 2% โดยน้ําหนัก ถามวา โรงงานจะปลอยกาซซัลเฟอรไดออกไซด เพิ่มขึ้นเปนปริมาณ

าว ศ

เทาไรตอวัน (สมมติใหน้ํามันมีความถวงจําเพาะ 1.00 และ ความรอนจําเพาะ 9,000 กิโลแคลอรี่ตอลิตร, ลิกไนตมีความรอนจําเพาะ 3,000 กิโลแคลอรี่ตอกิโลกรัม, MW.ของ S = 32
และ MW. ของ O = 16)


คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น 600 กก./วัน


คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น 1,080 กก./วัน
คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้น 150 กก./วัน
คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้น 270 กก./วัน

ขอที่ : 313
Scrubber แบบใดใชจับฝุนละอองที่มีขนาดใหญกวา 5 ไมครอน
79 of 141
คําตอบ 1 : Tray Tower Scrubber
คําตอบ 2 : Mechanically Aided Scrubber
คําตอบ 3 : Wet-Ionizing Scrubber
คําตอบ 4 : Spray Tower Scrubber

ขอที่ : 314
Scrubber แบบใดที่มีประสิทธิภาพสูงมากในการจับอนุภาคที่มีขนาดเล็กกวา 1 ไมครอน
คําตอบ 1 : Venturi Scrubbers

่ า ย

คําตอบ 2 : Spray Tower Scrubber


คําตอบ 3 : Fiber Bed Scrubber

จ ำ
คําตอบ 4 : Wet-Ionizing Scrubber

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
315
ถาคา pH ของของเหลวที่ไหลออกจาก Scrubber มีคานอยกวา 6 จะมีผลกับการทํางานของ Scrubber อยางไร
คําตอบ 1 : ทําใหการดูดซึมกาซซัลเฟอรไดออกไซค ลดลง

ิท
คําตอบ 2 : ทําใหการดูดซึมกาซ HF ลดลง


คําตอบ 3 : ทําใหเครื่อง Scrubber เกิดการกัดกรอนเร็วขึ้น

ว น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ง

ขอที่ : 316


ขอใดตอไปนี้เปนขอไดเปรียบของเครื่องดักฝุนแบบไฟฟาสถิตย

กร
คําตอบ 1 : ตนทุนต่ํา


คําตอบ 2 : สามารถปรับใหเดินเครื่องในสภาวะที่แปรเปลี่ยนได



คําตอบ 3 : ดักจับฝุนที่มีฤทธิ์กัดกรอนหรือ Tar Mist ได

าว
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพในการจับฝุนไมขึ้นกับปริมาณฝุนที่เขาสูเครื่อง (Inlet Loading)

ขอที่ : 317

ส ภ
นิยมใชโลหะชนิดใดเปนสารเรงปฎิกิริยาในเตาเผาแบบ Catalytic Incinerator
คําตอบ 1 : อลูมิเนียม
คําตอบ 2 : พลาตินัม
คําตอบ 3 : เหล็ก
คําตอบ 4 : สังกะสี
80 of 141
ขอที่ : 318
ในเตาเผาแบบ Catalytic Incinerator อุณหภูมิของกาซที่ผาน Catalyst ออกมาแลวไมควรเกินเทาไร หากตองการใหประสิทธิภาพในการเผาทําลายสูงกวา 90%
คําตอบ 1 : 600 C
คําตอบ 2 : 700 C
คําตอบ 3 : 800 C
คําตอบ 4 : 900 C

่ า ย

ขอที่ : 319


ขอใดเปนวิธีการลด Fuel NOx ในกระบวนการเผาไหม

จ ำ
คําตอบ 1 : ใชการเผาไหมแบบหมุนเวียนไอเสียกลับ


คําตอบ 2 : การพนน้ําหรือไอน้ําเขาไปในเปลวไฟจากการเผาไหม

า้
คําตอบ 3 : ใชเชื้อเพลิงกาซในการเผาไหม

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 320


ขอใดเปนลักษณะรูปแบบการไหลแบบ Laminar

ว น
คําตอบ 1 : ความปนปวนของของไหลสูง


คําตอบ 2 : Drag Coefficient มีคาคงที่


คําตอบ 3 : Reynolds Number มีคามากกวา 1,000


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

กร ข

ขอที่ : 321



โดยปกติการติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศควรกระทําเมื่อใด

าว
คําตอบ 1 : ก. กอนการกอสรางโครงการ


คําตอบ 2 : ข. พรอมการกอสรางโครงการ


คําตอบ 3 : ค. หลังการกอสรางโครงการ
คําตอบ 4 : ง. เมื่อมีการรองเรียน

ขอที่ : 322
ถาอัตราการปลอยสารมลพิษ คาจากแหลงกําเนิด คือ 10 g/s ถาระบบควบคุมเก็บสารมลพิษไวได 1 g/s จงหาประสิทธิภาพระบบควบคุม
คําตอบ 1 : ก. 90 %
81 of 141
คําตอบ 2 : ข. 99 %
คําตอบ 3 : ค. 1 %
คําตอบ 4 : ง. 10 %

ขอที่ : 323
ถาความเขมขน SO2 จากแหลงกําเนิดคือ 200 ppm ผานเขาไปในระบบควบคุมที่มีประสิทธิภาพ 50 % จํานวน 2 ชุด ที่ตอกันอยูอยางอนุกรม จงหาความเขมขน SO2 ที่ปลอยออกสู
สิ่งแวดลอม

่ า ย
คําตอบ 1 : ก. 0 ppm


คําตอบ 2 : ข. 20 ppm


คําตอบ 3 : ค. 50 ppm


คําตอบ 4 : ง. 100 ppm

มจ
า้
ขอที่ : 324

ิธ์ ห
ในการฟนสภาพคุณสมบัติในการดูดซับกาซหรือไอของสารดูดซับ นิยมใชกระบวนการในขอใด
คําตอบ 1 : ก. เผาดวยเปลวไฟความรอนสูง

ิท
คําตอบ 2 : ข. ลางดวยกรดแกและตามดวยน้ํา


คําตอบ 3 : ค. ลางดวยดางแกและตามดวยน้ํา


คําตอบ 4 : ง. อัดดวยไอน้ํารอน

ง ว

ขอที่ :


325


วัตถุดิบในขอใดที่นิยมใชเปนสารดูดซับ

กร
คําตอบ 1 : ก. ถาน, ไม, อะลูมินา


คําตอบ 2 : ข. ถาน, อะลูมินา, ซิลิกา เจล



คําตอบ 3 : ค. ถาน, ไม, ผากรอง

าว
คําตอบ 4 : ง. ถาน, ซิลิกา เจล, ผากรอง

ขอที่ : 326

ส ภ
ถาอากาศเสียจากแหลงกําเนิดผานเขาไปในระบบควบคุมที่มีประสิทธิภาพ 80 % จํานวน 2 ชุด ที่ตอกันอยูอยางอนุกรม จงหาประสิทธิภาพรวมสําหรับระบบควบคุม (รวมทั้ง 2 ระบบ)นี้
คําตอบ 1 : ก. 160 %
คําตอบ 2 : ข. 100 %
คําตอบ 3 : ค. 96 %
คําตอบ 4 : ง. 90 %
82 of 141
ขอที่ : 327
โดยปกติในการบอกขนาดของฝุนเพื่อการออกแบบระบบบําบัด เชน คาที่ใชบอกขนาดที่ไดจากเครื่องมือเก็บตัวอยางดวยแรงเฉื่อย เชน Cascade Impactor คือ
คําตอบ 1 : ก. Martin’s diameter
คําตอบ 2 : ข. Feret’s diameter
คําตอบ 3 : ค. Equivalent Diameter
คําตอบ 4 : ง. Aerodynamic Diameter

่ า ย

ขอที่ : 328


การเพิ่มประสิทธิภาพของแผนกรองแบบเสนใย (เชน ที่ใชติดตั้งหนาเครื่องปรับอากาศ) คือ

จ ำ
คําตอบ 1 : ก. ลดชองวางระหวางเสนใยที่ใชทําแผนกรอง


คําตอบ 2 : ข. ใชแผนกรองที่มีความหนานอยลง

า้
คําตอบ 3 : ค. ลดพื้นที่ของถุงกรองลง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ง. เพิ่มอุณหภูมิอากาศที่เขาแผนกรองใหสูงขึ้น

ิท
ขอที่ : 329


ถาคามาตรฐานที่จุดปลอยสําหรับ SO2 จากปลองคือ 300 ppm โดยความเขมขน SO2 จากแหลงกําเนิด คือ 3% โดยปริมาตร จงประมาณประสิทธิภาพระบบควบคุมที่ตองการ

ว น
คําตอบ 1 : ก. 90 %


คําตอบ 2 : ข. 99 %


คําตอบ 3 : ค. 99.9 %


คําตอบ 4 : ง. 99.99 %

กร ข

ขอที่ : 330



ในเตาเผาความรอนสูงในงานการควบคุมกาซและไอ นั้นเราสามารถลดอุณหภูมิ ในหองเผาไหมโดยยังคงไดประสิทธิภาพเทาเดิมคือ

าว
คําตอบ 1 : ก. เพิ่มอัตราสวนอากาศตอเชื้อเพลิงใหสูงกวาสัดสวนการเผาไหมจากสมการทางเคมี


คําตอบ 2 : ข. ลดอัตราสวนอากาศตอเชื้อเพลิงใหต่ํากวาสัดสวนการเผาไหมจากสมการทางเคมี


คําตอบ 3 : ค. เพิ่มอุณหภูมิอากาศกอนที่จะเขาหองเผาไหม
คําตอบ 4 : ง. ติดตั้งชั้นสารเรงปฏิกิริยา (catalyst bed) ในหองเผาไหม

ขอที่ : 331
ในระบบดูดกลืน (absorption) ใชหลักการหรือกระบวนการที่สําคัญคือ
คําตอบ 1 : ก. การละลาย และ การชนระหวางหยดของเหลวกับกาซ
83 of 141
คําตอบ 2 : ข. การชนระหวางหยดของเหลวกับกาซ และ ปฏิกิริยาเคมี
คําตอบ 3 : ค. การละลาย และ ปฏิกิริยาเคมี
คําตอบ 4 : ง. ปฏิกิริยาเคมี และ การฟุงกระจายของกาซที่ตองการดูดกลืน

ขอที่ : 332
ระบบควบคุมในขอใดที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการใชเปนระบบควบคุม SO2
คําตอบ 1 : ก. Adsorption
คําตอบ 2 : ข. Absorption

่ า ย

คําตอบ 3 : ค. Incineration


คําตอบ 4 : ง. Ammonia injection

จ ำ

ขอที่ :

า้
333
ระบบควบคุมในขอใดที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการใชเปนระบบควบคุม NOx

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ก. Adsorption
คําตอบ 2 : ข. Absorption

ิท
คําตอบ 3 : ค. Incineration


คําตอบ 4 : ง. Ammonia injection

ขอที่ :

ง ว น

334


อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชหลักการการแยกฝุนออกจากอากาศเสียโดยใชแรงโนมถวงจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อ


คําตอบ 1 : ก. อัตราการไหลของอากาศจากแหลงกําเนิดมากขึ้น

กร
คําตอบ 2 : ข. ความเขมขนฝุนขาเขาลดลง(สัดสวนองคประกอบของขนาดฝุนเหมือนเดิม)


คําตอบ 3 : ค. ความสูงของอุปกรณเพิ่มขึ้นในขณะที่ความยาวและความกวางคงเดิม



คําตอบ 4 : ง. ความยาวของอุปกรณเพิ่มขึ้นในขณะที่ความสูงและความกวางคงเดิม

ขอที่ : 335

ภ าว

อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชหลักการการแยกฝุนออกจากอากาศเสียโดยใชแรงโนมถวงจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อ
คําตอบ 1 : ก. ฝุนมีขนาดเล็กลงในขณะที่ลักษณะอื่นๆยังคงเหมือนเดิม
คําตอบ 2 : ข. ความเขมขนฝุนขาเขาเพิ่มขึ้น(สัดสวนองคประกอบของขนาดฝุนเหมือนเดิม)
คําตอบ 3 : ค. ความหนาแนนของฝุนเพิ่มขึ้นขณะที่ลักษณะอื่นๆยังคงเหมือนเดิม
คําตอบ 4 : ง. อุณหภูมิของอากาศที่เขาระบบลดลงขณะที่ลักษณะอื่นๆยังคงเหมือนเดิม

84 of 141
ขอที่ : 336
โดยปกติอุปกรณควบคุมฝุนจะมีประสิทธิภาพลดลงถาอัตราการไหลที่เขาระบบสูงขึ้นยกเวน
คําตอบ 1 : ก. ไซโคลน
คําตอบ 2 : ข. Settling Chamber
คําตอบ 3 : ค. Electrostatic Precipitator
คําตอบ 4 : ง. ระบบถุงกรอง

่ า ย
ขอที่ : 337


ขนาดของอุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชหลักการการแยกฝุนออกจากอากาศเสียโดยใชแรงโนมถวงในขอใดจะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อ ใชกับฝุนขนาด 1.5 µm และมี


density 2 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร อัตราการไหล 100 ลูกบาศกเมตรตอนาที


คําตอบ 1 : สูง 10 เมตร กวาง 5 เมตร ยาว 5 เมตร

มจ
คําตอบ 2 : สูง 5 เมตร กวาง 5 เมตร ยาว 10 เมตร

า้
คําตอบ 3 : สูง 10 เมตร กวาง 5 เมตร ยาว 10 เมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : สูง 5 เมตร กวาง 10 เมตร ยาว 10 เมตร

ิท
ขอที่ : 338


แรงที่ แอคติเวตเทตคารบอน กระทํากับ ไอของตัวทําละลายในกระบวนการดูดซับคือ


คําตอบ 1 : ก. พันธะทางเคมี
คําตอบ 2 : ข. พันธะทางกายภาพ

ง ว

คําตอบ 3 : ค. พันธะเนื่องจากการแพร


คําตอบ 4 : ง. พันธะเนื่องจากการละลาย

กร ข

ขอที่ : 339



กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่ง มีระบบระบายอากาศ 1000 ลูกบาศกเมตรตอนาที ผานเขาไปยังหองอบแหงชิ้นงานหลังการพนสี Toluene (MW = 92) ระเหยจาก

าว
ชิ้นงานเขาผสมกับระบบระบายอากาศในอัตรา 10 ลูกบาศกเมตรตอนาที ความเขมขนของ Toluene ในระบบระบายอากาศนั้นคือ
คําตอบ 1 : ก. 10 ppm

ส ภ
คําตอบ 2 : ข. 100 ppm
คําตอบ 3 : ค. 1,000 ppm
คําตอบ 4 : ง. 10,000 ppm

ขอที่ : 340

85 of 141
่ า ย

คําตอบ 1 : ก. 95%

ำ ห
คําตอบ 2 : ข. 98%


คําตอบ 3 : ค. 99%


คําตอบ 4 : ง. 99.9%

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 341
ขอใดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับเครื่องควบคุมมลพิษอากาศประเภทหองตกตะกอน

ิท
คําตอบ 1 : ก. ประสิทธิภาพแปรผกผันกับความยาวของหอง
คําตอบ 2 : ข. ประสิทธิภาพแปรผันตามความหนาแนนของอนุภาค

นส

คําตอบ 3 : ค. ประสิทธิภาพแปรผันตามความสูงของหอง


คําตอบ 4 : ง. ประสิทธิภาพแปรผันตามความเร็วแนวราบของอนุภาค

อ ส

ขอที่ :

กร
342
ขอใดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับการคํานวณคา Penetration ของเครื่องควบคุมมลพิษอากาศประเภทอนุภาค


คําตอบ 1 : ก. Penetration เทากับจํานวนอนุภาคที่ไมถูกกําจัดดวยเครื่องหารดวยจํานวนอนุภาคที่เขาสูเครื่อง ตอหนวยเวลา

าว ศ

คําตอบ 2 : ข. Penetration เทากับจํานวนอนุภาคที่ถูกกําจัดดวยเครื่องหารดวยจํานวนอนุภาคที่เขาสูเครื่อง ตอหนวยเวลา
คําตอบ 3 : ค. Penetration เทากับจํานวนอนุภาคที่เขาสูเครื่องหารดวยจํานวนอนุภาคที่ออกจากเครื่อง ตอหนวยเวลา


คําตอบ 4 : ง. Penetration เทากับสวนกลับของประสิทธิภาพของเครื่อง

ขอที่ : 343 ส
ในการใชงานดานคุณภาพอากาศ หนวย ppm สามารถเทียบไดกับคาใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : ก. มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 2 : ข. ไมโครกรัมตอลิตร
คําตอบ 3 : ค. ไมโครโมลตอโมล
86 of 141
คําตอบ 4 : ง. โมลตอลิตร
ขอที่ : 344
ในการใชงานดานคุณภาพอากาศ สัดสวนโมลของแกสหนึ่งๆ ในอากาศเทียบเทาไดกับคาใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : ก. สัดสวนความดันของแกสนั้นในอากาศ
คําตอบ 2 : ข. สัดสวนปริมาตรของแกสนั้นในอากาศ
คําตอบ 3 : ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.


คําตอบ 4 : ง. ไมมีขอใดถูก

น่ า

ขอที่ : 345


ขอใดตอไปนี้แสดงถึงความหมายของ PM-2.5 และ PM-10
คําตอบ 1 : ฝุนที่วัดในชวงเวลา 2.5 ชั่วโมง และในชวงเวลา 10 ชั่วโมง

มจ
า้
คําตอบ 2 : ฝุนที่ขนาดเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 2.5 และ 10 ไมครอน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ปริมาณฝุนทั้งหมดที่สะสมในถุงเก็บตัวอยางขนาด 2.5 และ 10 ลิตร
คําตอบ 4 : การตรวจสอบและควบคุมปริมาณของฝุนในชวงเวลา 2.5 เดือนและ 10 เดือน

ขอที่ : 346

ส ิท
ว น
ฝุนที่มีขนาดเฉลี่ย 10 ไมโครเมตรในบรรยากาศ มีความหนาแนนของฝุนอยูที่ 500 kg/m3 และมีความดันบรรยากาศเทากับ 1 atm จะมีคา settling velocity เทากับขอใด


คําตอบ 1 : 0.0000059 m/s


คําตอบ 2 : 0.0016 m/s


คําตอบ 3 :


0.0029 m/s

กร
คําตอบ 4 : 0.017 m/s

ขอที่ : 347


ิ ว
าว
ถาคามาตรฐานที่จุดปลอยสําหรับ ซัลเฟอรไดออกไซค จากปลองคือ 300 ppm โดยความเขมขน ซัลเฟอรไดออกไซค จากแหลงกําเนิด คือ 3% โดยปริมาตร จงประมาณ
ประสิทธิภาพระบบควบคุมที่ตองการ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ 90 %
99 %
99.9 %
คําตอบ 4 : 99.99 %

ขอที่ : 348
ในเตาเผาความรอนสูงในงานการควบคุมกาซและไอนั้น เราสามารถลดอุณหภูมิ ในหองเผาไหมโดยยังคงไดประสิทธิภาพเทาเดิมดวยวิธีใด 87 of 141

คําตอบ 1 : เพิ่มอัตราสวนอากาศตอเชื้อเพลิงใหสูงกวาสัดสวนการเผาไหมจากสมการทางเคมี
คําตอบ 2 : ลดอัตราสวนอากาศตอเชื้อเพลิงใหสูงกวาสัดสวนการเผาไหมจากสมการทางเคมี
คําตอบ 3 : เพิ่มอุณหภูมิอากาศกอนที่จะเขาหองเผาไหม
คําตอบ 4 : ติดตั้งชั้นสารเรงปฏิกิริยา (catalyst bed) ในหองเผาไหม

ขอที่ : 349
ในระบบดูดกลืน (absorption) ใชหลักการหรือกระบวนการที่สําคัญคือ
คําตอบ 1 : การละลาย และ การชนระหวางหยดของเหลวกับกาซ

่ า ย

คําตอบ 2 : การชนระหวางหยดของเหลวกับกาซ และ ปฏิกิริยาเคมี


คําตอบ 3 : การละลาย และ ปฏิกิริยาเคมี

จ ำ
คําตอบ 4 : ปฏิกิริยาเคมี และ การฟุงกระจายของกาซที่ตองการดูดกลืน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
350
ระบบควบคุมในขอใดที่นาจะมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการใชเปนระบบการควบคุม ซัลเฟอรไดออกไซค
คําตอบ 1 : Adsorption

ิท
คําตอบ 2 : Absorption


คําตอบ 3 : Incineration

ว น
คําตอบ 4 : Ammonia injection

ส ง

ขอที่ : 351


ระบบควบคุมในขอใดที่นาจะมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการใชเปนระบบการควบคุม NOx

กร
คําตอบ 1 : Adsorption


คําตอบ 2 : Absorption



คําตอบ 3 : Incineration

าว
คําตอบ 4 : Ammonia injection

ขอที่ : 352

ส ภ
อุตสาหกรรมหนึ่งใชอุปกรณบําบัดสารมลพิษในบรรยากาศ 2 ชนิดตออยางอนุกรม คือ cyclone และ Wet Collector เพื่อบําบัดอากาศเสียจากแหลงกําเนิดขนาด 10,000 ลูกบาศก
เมตรตอนาที อุณหภูมิ 130 องศาเซลเซียส และปริมาณ ฝุนที่เขาสู cyclone มีความเขมขน 8 กรัมตอลูกบาศกเมตร โดยคามาตรฐานฝุนจากปลองกําหนดไวไมเกิน 0.08 กรัมตอ
ลูกบาศกเมตร โดย cyclone มีประสิทธิภาพ of 50% จงหาประสิทธิภาพของ ระบบทั้งหมด (cyclone
คําตอบ 1 : 95%
คําตอบ 2 : 98%
คําตอบ 3 : 99% 88 of 141
คําตอบ 4 : 99.9%
ขอที่ : 353
โดยปกติอุปกรณควบคุมฝุนโดยทั่วไปถาอัตราการไหลที่เขาระบบสูงขึ้นประสิทธิภาพจะลดลงยกเวน
คําตอบ 1 : ไซโคลน
คําตอบ 2 : Settling Chamber
คําตอบ 3 : Electrostatic Precipitator


คําตอบ 4 : ระบบถุงกรอง

น่ า

ขอที่ : 354


อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชหลักการการแยกฝุนออกจากอากาศเสียโดยใชแรงโนมถวงจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อ
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของอากาศจากแหลงกําเนิดมากขึ้น

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความเขมขนฝุนขาเขาลดลง(สัดสวนองคประกอบของขนาดฝุนเหมือนเดิม)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความลึกของอุปกรณเพิ่มขึ้นในขณะที่ความยาวและความกวางคงเดิม
คําตอบ 4 : ความยาวของอุปกรณเพิ่มขึ้นในขณะที่ความลึกและความกวางคงเดิม

ขอที่ : 355

ส ิท
ว น
อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชหลักการการแยกฝุนออกจากอากาศเสียโดยใชแรงโนมถวงจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อ


คําตอบ 1 : ฝุนมีขนาดเล็กลงในขณะที่ลักษณะอื่นๆยังคงเหมือนเดิม


คําตอบ 2 : ความเขมขนฝุนขาเขาเพิ่มขึ้น(สัดสวนองคประกอบของขนาดฝุนเหมือนเดิม)


คําตอบ 3 : ความหนาแนนของฝุนเพิ่มขึ้นขณะที่ลักษณะอื่นๆยังคงเหมือนเดิม
คําตอบ 4 :

กร ข
อุณหภูมิของอากาศที่เขาระบบลดลงขณะที่ลักษณะอื่นๆยังคงเหมือนเดิม

ขอที่ : 356


ิ ว
าว
ขนาดของอุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชหลักการการแยกฝุนออกจากอากาศเสียโดยใชแรงโนมถวงในขอใดจะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อ ใชกับฝุนขนาด 1.5 µm และมี
density 2 กรัมตอลุกบาศกเซนติเมตร อัตราการไหล 100 ลูกบาศกเมตรตอนาที


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ สูง 10 เมตร กวาง 5 เมตร ยาว 5 เมตร
สูง 5 เมตร กวาง 5 เมตร ยาว 10 เมตร
สูง 10 เมตร กวาง 5 เมตร ยาว 10 เมตร
คําตอบ 4 : สูง 5 เมตร กวาง 10 เมตร ยาว 10 เมตร

ขอที่ : 357
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับอนุภาคฝุนที่เริ่มตนจากการลอยอยูนิ่งในอากาศ 89 of 141

คําตอบ 1 : แรงลาก (Drag Force) จะมีคาเพิ่มขึ้นจนเทากับแรงลอยตัว


คําตอบ 2 : แรงลาก (Drag Force) จะมีคาเพิ่มขึ้นจนเทากับแรงโนมถวง
คําตอบ 3 : แรงลาก (Drag Force) จะมีคาเพิ่มขึ้นจนเทากับผลรวมของแรงโนมถวงกับแรงลอยตัว
คําตอบ 4 : แรงลาก (Drag Force) จะมีคาเพิ่มขึ้นจนเทากับผลตางของแรงโนมถวงกับแรงลอยตัว

ขอที่ : 358
ขอใดคือ Stokes’ Law

่ า ย

คําตอบ 1 :

จ ำ ห

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท

คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 359

อ ส

ขอใดคือสมการสําหรับหาคา Reynold Number สําหรับการเคลื่อนที่ของอนุภาค

คําตอบ 1 :

ว กร
าว ศ


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
90 of 141
ขอที่ : 360
ขอใดคือสมการสําหรับหาคา Drag Coefficient ในกรณีที่การเคลื่อนที่อยูในชวง Turbulent Region

คําตอบ 1 :

่ า ย

คําตอบ 2 :

จ ำ ห

คําตอบ 3 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ิท
ขอที่ : 361


ขอใดคือสมการสําหรับหาคา Aerodynamic Diameter ของอนุภาค

คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 362
การควบคุมการปลอยกาซออกไซดของไนโตรเจนจากกระบวนการเผาไหมในอุตสาหกรรมสามารถทําไดดวยปรับปรุงการเผาไหมโดยการลดปริมาณออกซิเจนที่ปลอยเขาสูเปลวไฟ
ปฐมภูมิ (Primary flame zone) ขอใดตอไปนี้เกี่ยวของกับการลดปริมาณออกซิเจนที่กลาวมาขางตน
91 of 141
คําตอบ 1 : ลดอากาศสวนเกิน (Overall excess air)
คําตอบ 2 : ปรับรูปรางของเปลวไฟ
คําตอบ 3 : เพิ่มระยะเวลาในการเผาไหม
คําตอบ 4 : ใชเชื้อเพลิงที่มีปริมาณเบนซีนสูง ในการเผาไหมเพื่อใหเผาไหมไดสมบูรณ

ขอที่ : 363
ขอใดไมใชคุณสมบัติที่ดีของตัวกลางในหอบรรจุตัวกลาง (Packed Tower)
คําตอบ 1 : ทําใหเกิดความดันลดนอย
คําตอบ 2 : มีพื้นผิวเปยกตอปริมาตรสูง

่ า ย

คําตอบ 3 : ทนตอสารเคมี และมีราคาต่ํา


คําตอบ 4 : มีน้ําหนักเบาและดูดซับน้ําไดดี

จ ำ

ขอที่ :

า้
364
ขอใดเปนการปรับปรุงกระบวนการเผาไหมเพื่อลดการเกิด NOx

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เพิ่มการเวียนแกสที่เกิดจากการสันดาปกลับมาผสม
คําตอบ 2 : เพิ่มอุณหภูมิสูงสุดในหองเผาไหม

ิท
คําตอบ 3 : เพิ่มปริมาณ ออกซิเจน ในชวงที่เกิดอุณหภูมิสูงสุด


คําตอบ 4 : เพิ่มระยะเวลาที่เกิดอุณหภูมิสูงสุด

ขอที่ :

ง ว น

365


ขอใดไมใชแนวทางการควบคุมไอเสียรถยนตดวยวิธีการบําบัดไอเสีย


คําตอบ 1 : การใช Catalytic Converter

กร
คําตอบ 2 : การปอนอากาศเขาทอไอเสีย


คําตอบ 3 : การเพิ่มอุณหภูมิหองสันดาป



คําตอบ 4 : การควบคุมไอเสียใหคงอุณหภูมิสูง

ขอที่ : 366

ภ าว

การใช catalytic converter ควบคุมไอเสียจากทอไอเสียมีวัตถุประสงคเพื่ออะไร
คําตอบ 1 : เปลี่ยนแกส CO และ HC ไปเปน ออกซิเจน และ มีเทน
คําตอบ 2 : เปลี่ยนแกส CO และ HC ไปเปน คารบอนไดออกไซค และ มีเทน
คําตอบ 3 : เปลี่ยนแกส NO, CO, และ HC ไปเปน ไนโตรเจน ออกซิเจน และ น้ํา
คําตอบ 4 : เปลี่ยนแกส NO, CO, และ HC ไปเปน ไนโตรเจน คารบอนไดออกไซค และน้ํา

92 of 141
ขอที่ : 367
หากตองการประหยัดปริมาณสารใหความเย็นของ condenser ที่ตอกับเครื่องดูดไอสารเคมีโดยยังรักษาอัตราและประสิทธิภาพการดักจับสารเคมีใหเทาเดิมจะตองทําอยางไร
คําตอบ 1 : ลดอัตราการไหลของไอสารเคมี
คําตอบ 2 : ลดอุณหภูมิขาเขาของสารใหความเย็น
คําตอบ 3 : เพิ่มอุณหภูมิขาออกของไอสารเคมี
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย
ขอที่ : 368


ควรเลือกใชวิธีใดในการควบคุมสารมลพิษในควันจากการเผาไหมชนิดหนึ่ง ซึ่งประกอบไปดวยสารระเบิดงายและฝุนขนาด 0.3-10 ไมโครเมตร ทั้งนี้ไมมีสวนประกอบของกรดซัลฟูริก


ในควันดังกลาว


คําตอบ 1 :


Mechanical collector


คําตอบ 2 : Fabric filter

า้
คําตอบ 3 : Wet scrubber

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Electrostatic precipitator

ิท
ขอที่ : 369


วิธีใดตอไปนี้เปนวิธีการกําจัด NOx และ SOx พรอมกันจากกาซไอเสีย


คําตอบ 1 : วิธี Catalytic Reduction โดยเติมแอมโมเนีย
คําตอบ 2 : วิธี Non-Catalytic Reaction โดยเติมแอมโมเนีย

ง ว

คําตอบ 3 : วิธีฉายลําอิเลคตรอน โดยเติมแอมโมเนีย


คําตอบ 4 : วิธี Oxidation Reduction โดยเติมโอโซน

กร ข

ขอที่ : 370



จงคํานวณหาพื้นที่รวมของ plate ที่ทําใหประสิทธิภาพการกําจัดฝุนของ electrostatic precipitator (ESP) เทากับ 0.98 หรือ 98% ทั้งนี้อัตราการไหลเขาของอากาศเทากับ100

าว
ลูกบาศกเมตรตอนาที และคา effective drift velocity เทากับ 5 ลูกบาศกเมตรตอนาที

ส ภ
คําตอบ 1 : 96.5 ตารางเมตร
93 of 141
คําตอบ 2 : 83.1 ตารางเมตร
คําตอบ 3 : 78.2 ตารางเมตร
คําตอบ 4 : 60.4 ตารางเมตร

ขอที่ : 371
จงคํานวณหากําลังไฟฟาที่ทําใหประสิทธิภาพการกําจัดฝุนของ electrostatic precipitator (ESP) เทากับ 0.98 หรือ 98% ทั้งนี้อัตราการไหลเขาของอากาศเทากับ 90,000
ลูกบาศกฟุตตอนาทีและคา effective drift velocity เทากับ 5 ลูกบาศกเมตรตอนาที

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 10.67 กิโลวัตต
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 13.91 กิโลวัตต
คําตอบ 3 : 15.36 กิโลวัตต

นส

คําตอบ 4 : 18.40 กิโลวัตต

ส ง

ขอที่ : 372


จงคํานวณหาพื้นที่รวมของถุงผาที่ทําใหอัตราไหลในการกําจัดฝุนของ bag house เทากับ 24,500 ลูกบาศกฟุตตอนาที ทั้งนี้ คา superficial filtering velocity ของ baghouse เทา

กร
กับ 1.5 ft/min.


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 12,450 ตารางฟุต
คําตอบ 2 : 16,333 ตารางฟุต
คําตอบ 3 : 19,281 ตารางฟุต
คําตอบ 4 : 22,573 ตารางฟุต 94 of 141
ขอที่ : 373
อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดฝุนโดยใชแรงโนมถวงของโลก คือขอใด
คําตอบ 1 : Cyclone
คําตอบ 2 : Venturi scrubber
คําตอบ 3 : Settling chamber
คําตอบ 4 : Electrostatic precipitator

่ า ย

ขอที่ : 374


อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชการชนระหวางเสนใยกับฝุน คือขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : Bag filter


คําตอบ 2 : Venturi scrubber

า้
คําตอบ 3 : Settling chamber

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Electrostatic precipitator

ิท
ขอที่ : 375


อุปกรณบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดฝุนโดยหลักการแรงหนีศูนยกลาง คือขอใด

ว น
คําตอบ 1 : Cyclone


คําตอบ 2 : Venturi scrubber


คําตอบ 3 : Wet scrubber


คําตอบ 4 :


Electrostatic precipitator

ว กร
ขอที่ : 376



อุปกรณหรือวิธีบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดกาซและไอโดยการดูดซับที่ผิวของของแข็ง คือขอใด

าว
คําตอบ 1 : Adsorption


คําตอบ 2 : Venturi scrubber


คําตอบ 3 : Wet scrubber
คําตอบ 4 : Absorption

ขอที่ : 377
อุปกรณหรือวิธีบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดสารอินทรียที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือขอใด
คําตอบ 1 : Venturi scrubber
95 of 141
คําตอบ 2 : Absorption
คําตอบ 3 : Incinerator
คําตอบ 4 : Cyclonic scrubber

ขอที่ : 378
อุปกรณหรือวิธีบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดฝุนโดยหลักการชนกับหยดน้ําที่ความเร็วสูง คือขอใด
คําตอบ 1 :


Absorption

่ า
คําตอบ 2 : Electrostatic precipitator


คําตอบ 3 : Wet scrubber


คําตอบ 4 : Venturi scrubber

จ ำ

ขอที่ :

า้
379
อุปกรณหรือวิธีบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดกาซและไอเทานั้น คือขอใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Settling chamber
คําตอบ 2 : Electrostatic precipitator

ิท
คําตอบ 3 : Adsorption


คําตอบ 4 : Cyclonic scrubber

ขอที่ :

ง ว น

380


ระบบในการทําความสะอาดถุงกรองในขอใดที่มีประสิทธิภาพการทําความสะอาดถุงกรองไดดีที่สุด


คําตอบ 1 : Pulse jet

กร
คําตอบ 2 : Shaker


คําตอบ 3 : Reverse air



คําตอบ 4 : Venturi scrubber

ขอที่ : 381

ภ าว

ความเร็วกาซที่มักพบใน ไซโคลน คือขอใด
คําตอบ 1 : 3 เมตร/วินาที
คําตอบ 2 : 15-20 เมตร/วินาที
คําตอบ 3 : 3 เมตร/นาที
คําตอบ 4 : 15-20 เมตร/นาที

96 of 141
ขอที่ : 382
อุปกรณหรือวิธีบําบัดสารมลพิษทางอากาศที่ใชในการบําบัดฝุนเทานั้น คือขอใด
คําตอบ 1 : Settling chamber
คําตอบ 2 : FGD
คําตอบ 3 : Adsorption
คําตอบ 4 : Incineration

่ า ย
ขอที่ : 383


วิธีการใดไมเหมาะสมในการควบคุมกาซแอมโมเนีย และ ไฮโดรเจนซัลไฟด


คําตอบ 1 : Absorption

จ ำ
คําตอบ 2 : Adsorption


คําตอบ 3 : Wet scrubber

า้
คําตอบ 4 : Cyclonic scrubber

ขอที่ : 384
ิธ์ ห
ิท
เชื้อเพลิงที่มักจะใชสําหรับ เตาเผาความรอนสูงในการควบคุมกาซและไอคือขอใด


คําตอบ 1 : น้ํามันเตา, กาซหุงตม

ว น
คําตอบ 2 : กาซหุงตม, กาซธรรมชาติ


คําตอบ 3 : กาซธรรมชาติ, น้ํามันเตา


คําตอบ 4 : ถานหิน, น้ํามันเตา

ขอ
กร
ขอที่ : 385


ในระบบการดูดซับไอของตัวทําละลายดวยสารดูดซับนั้น กระบวนการฟนสภาพสารดูดซับเพื่อนําสารดูดซับกลับมาใชในระบบใหมคือขอใด



คําตอบ 1 : ใหความรอน ควบแนนไอตัวทําละลาย ทิ้งชั้นสารดูดซับใหเย็นลง

าว
คําตอบ 2 : ลางชั้นสารดูดซับดวยกรดแกและตามดวยน้ํา ทิ้งชั้นสารดูดซับใหแหง


คําตอบ 3 : ลางชั้นสารดูดซับดวยดางแกและตามดวยน้ํา ทิ้งชั้นสารดูดซับใหแหง


คําตอบ 4 : ไลดวยอากาศสะอาด

ขอที่ : 386
ในระบบดูดกลืน (absorption) ใชหลักการหรือกระบวนการที่ระบบจะใหประสิทธิภาพสูงสุดคือขอใด
คําตอบ 1 : การแพรของกาซเขาไปในหยดของเหลว
คําตอบ 2 : การชนระหวางหยดของเหลวกับกาซ
97 of 141
คําตอบ 3 : ปฏิกิริยาเคมี
คําตอบ 4 : การละลาย

ขอที่ : 387
วิธีการควบคุมออกไซดของไนโตรเจนที่ปลอยจากเตาเผาที่นาจะไดผลมากที่สุดคือขอใด
คําตอบ 1 : Absorption
คําตอบ 2 :


Adsorption

่ า
คําตอบ 3 : Wet scrubber


คําตอบ 4 : Low NOx Burner

ขอที่ : 388

จ ำ ห

ระบบควบคุมในขอใดที่นาจะมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการใชเปนระบบควบคุม CO

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Adsorption
คําตอบ 2 : Settling chamber
คําตอบ 3 : Incineration

ิท
คําตอบ 4 : Ammonia injection

นส

ขอที่ : 389


ในระบบ absorption มีกระบวนการไลกาซ ที่ละลายในน้ําออก เรียกวาขอใด
คําตอบ 1 : Desorption

อ ส

คําตอบ 2 : Stripping

กร
คําตอบ 3 : Recycling


คําตอบ 4 : Reverse injection

ขอที่ : 390

าว ศ


ขอใดไมใชคุณสมบัติทั่วไปของหองตกตะกอนอนุภาค เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องควบคุมอนุภาคประเภทอื่น ๆ


คําตอบ 1 : มีประสิทธิภาพสูง
คําตอบ 2 : ราคาคากอสรางต่ํา
คําตอบ 3 : เกิดความดันสูญเสียนอย
คําตอบ 4 : ใชพื้นที่ติดตั้งมาก

ขอที่ : 391 98 of 141


ขอใดไมใชคุณสมบัติทั่วไปของไซโคลน เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องควบคุมอนุภาคประเภทอื่น ๆ
คําตอบ 1 : เกิดความดันสูญเสียไมสูงนัก
คําตอบ 2 : ใชจับฝุนขนาดใหญกวา 1 ไมครอนไดดี
คําตอบ 3 : ใชกับแกสที่มีอุณหภูมิสูงได
คําตอบ 4 : ใชงานและดูแลบํารุงรักษางาย

ขอที่ : 392

่ า ย
ขอใดไมใชคุณสมบัติทั่วไปของ Venturi Scrubber เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องควบคุมอนุภาคประเภทอื่น ๆ


คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพการจับฝุนไมขึ้นกับสภาพตานทานไฟฟาของฝุน


คําตอบ 2 : การใชงานจะมีน้ําเสียเกิดขึ้น ซึ่งตองนําไปบําบัดตอไป

จ ำ
คําตอบ 3 : เกิดความดันสูญเสียคอนขางต่ํา


คําตอบ 4 : ใชในการควบคุมอนุภาคและแกสไดในขั้นตอนเดียว

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 393
ขอใดไมใชคุณสมบัติทั่วไปของถุงกรอง เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องควบคุมอนุภาคประเภทอื่น ๆ

ิท
คําตอบ 1 : ตองการพื้นที่ติดตั้งคอนขางมาก


คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพสูง โดยเฉพาะกับฝุนขนาดเล็ก

ว น
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพการจับฝุนไมขึ้นกับสภาพตานทานไฟฟาของฝุน


คําตอบ 4 : ใชในการจับฝุนในแกสที่มีความชื้นสูง

อ ส

ขอที่ : 394

กร
ขอใดไมใชคุณสมบัติทั่วไปของ Electrostatic Precipitator เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องควบคุมอนุภาคประเภทอื่น ๆ


คําตอบ 1 : ไมสามารถใชกับฝุนที่มีฤทธิกัดกรอน



คําตอบ 2 : ราคาคากอสรางสูง

าว
คําตอบ 3 : ความดันสูญเสียนอย


คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพสูง โดยเฉพาะกับฝุนขนาดเล็ก

ขอที่ : 395

ขอใดไมใชระบบที่เกี่ยวของกับการควบคุมแกสซัลเฟอรไดออกไซค จากโรงไฟฟาแมเมาะ จ.ลําปาง
คําตอบ 1 : ระบบจับแกสซัลเฟอรไดออกไซค ดวยการดูดกลืน (absorber system)
คําตอบ 2 : ระบบควบคุมละอองกรดซัลฟูริก
คําตอบ 3 : ระบบเตรียมน้ําหินปูน
99 of 141
คําตอบ 4 : ระบบแยกน้ําออกจากยิปซัม
ขอที่ : 396
ขอใดเปนสารที่นิยมใชทําปฏิกิริยาในการกําจัดไนโตรเจนในแกสไอเสีย
คําตอบ 1 : คลอรีน
คําตอบ 2 : ปูนขาว
คําตอบ 3 : แอมโมเนียและยูเรีย


คําตอบ 4 : แอมโมเนียและปูนขาว

น่ า

ขอที่ : 397


การปรับปรุงการเผาไหมโดยใชวิธีหมุนเวียนไอเสียกลับมาที่หองเผาไหม มีวัตถุประสงคหลักเพื่อลดการเกิดมลพิษใด
คําตอบ 1 : CO

มจ
า้
คําตอบ 2 : Hydrocarbon

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซค
คําตอบ 4 : NOx

ขอที่ : 398

ส ิท
ว น
วิธีหนึ่งของการลดการเกิดซัลเฟอรไดออกไซค จากเชื้อเพลิง คือการใชวิธีทางกายภาพแยกสารที่มีซัลเฟอรเปนองคประกอบออกจากถานหิน สารดังกลาวนี้คือสารใด


คําตอบ 1 : Pyrite


คําตอบ 2 : สารประกอบซัลเฟต


คําตอบ 3 : สารอินทรียระเหยงาย
คําตอบ 4 : แคลเซียมซัลไฟต

กร ข
ขอที่ : 399


ิ ว
าว
โดยทั่วไป สารที่เหมาะกับการกําจัดดวยวิธีการดูดซับดวยถานกัมมันตควรมีมวลโมเลกุลเทาใด


คําตอบ 1 : มวลโมเลกุลใกลเคียงกับมวลโมเลกุลของอากาศ


คําตอบ 2 : มวลโมเลกุลมากกวา 45 กรัมตอโมล
คําตอบ 3 : มวลโมเลกุลนอยกวา 45 กรัมตอโมล
คําตอบ 4 : การกําจัดไมขึ้นกับมวลโมเลกุล

ขอที่ : 400
วัสดุกรองชนิดใดตอไปนี้ทนอุณหภูมิไดสูงที่สุดในการใชงานเพื่อกําจัดฝุน
100 of 141
คําตอบ 1 : ใยแกว
คําตอบ 2 : สักหลาด
คําตอบ 3 : เซรามิก
คําตอบ 4 : เหล็ก

ขอที่ : 401
ขอใดคือกลไกสําคัญที่สุดของการจับฝุนขนาดเล็กกวา 0.5 ไมครอน ดวยถุงกรอง
คําตอบ 1 : การชนและการสกัดกั้นของเสนใยผา

่ า ย

คําตอบ 2 : การแพรแบบสุม


คําตอบ 3 : แรงไฟฟาสถิตย

จ ำ
คําตอบ 4 : การชน และการสกัดกั้นของชั้นฝุน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
402
ขอใดคือ Multicyclones ที่มีวัตถุประสงคหลักเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการกําจัดฝุนขนาดเล็ก
คําตอบ 1 : ไซโคลนขนาดเล็กเทากันหลายตัวที่ตอแบบขนาน

ิท
คําตอบ 2 : ไซโคลนขนาดใหญเทากันหลายตัวตอกันแบบขนาน


คําตอบ 3 : ไซโคลนขนาดเล็กเทากันหลายตัวที่ตอแบบอนุกรม

ว น
คําตอบ 4 : ไซโคลนขนาดใหญเทากันหลายตัวตอกันแบบอนุกรม

ส ง

ขอที่ : 403


ขอใดเกี่ยวของนอยที่สุดกับการควบคุมฝุนที่มีคาความตานทานทางไฟฟาสูงดวยเครื่องควบคุมดวยไฟฟาสถิตย (ESP)

กร
คําตอบ 1 : ฝุนรับประจุลบที่ใสใหโดยอิเล็กโทรดไดยาก


คําตอบ 2 : ฝุนถายประจุลบใหกับแผนเก็บไดยาก



คําตอบ 3 : อาจเกิดปญหา Back Corona

าว
คําตอบ 4 : อาจเกิดปญหาฝุนที่ถูกจับไวแลวฟุงกลับเขาสูกระแสแกส

ขอที่ : 404

ส ภ
ขอใดคือผลของการเพิ่มความเร็วแกสที่เขาสูไซโคลน โดยที่ปจจัยอื่นๆ ไมถูกเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 1 : ความดันสูญเสียเพิ่มขึ้น และประสิทธิภาพลดลง
คําตอบ 2 : ความดันสูญเสียเพิ่มขึ้น และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : ความดันสูญเสียเพิ่มขึ้น แตไมสามารถบอกไดวาประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น แตไมสามารถบอกไดวาความดันสูญเสียจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
101 of 141
ขอที่ : 405
ขอใดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับชวงคาทั่วไปของคาความดันสูญเสียของไซโคลน
คําตอบ 1 : ความดันสูญเสียของไซโคลนชนิดประสิทธิภาพสูง มีคาประมาณ 15-20 ซม.น้ํา
คําตอบ 2 : ความดันสูญเสียของไซโคลนชนิดประสิทธิภาพสูง มีคาประมาณ 25-40 ซม.น้ํา
คําตอบ 3 : ความดันสูญเสียของไซโคลนชนิดประสิทธิภาพต่ํา มีคาประมาณ 15-20 ซม.น้ํา
คําตอบ 4 : ความดันสูญเสียของไซโคลนชนิดประสิทธิภาพต่ํา มีคาประมาณ 10-25 ซม.น้ํา

่ า ย

ขอที่ : 406


ขอใดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับอุณหภูมิเฉลี่ยในการใชงานอยางตอเนื่องที่วัสดุแตละชนิดสามารถทนได

จ ำ
คําตอบ 1 : วัสดุกรองแบบ Ceramic สามารถใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณไมเกิน 800 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : วัสดุกรองแบบ Polyester สามารถใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณไมเกิน 130 องศาเซลเซียส

า้
คําตอบ 3 : วัสดุกรองแบบ Fiberglass สามารถใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณไมเกิน 380 องศาเซลเซียส

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : วัสดุกรองแบบ Stainless Steel สามารถใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณไมเกิน 550 องศาเซลเซียส

ิท
ขอที่ : 407


เมื่อพิจารณาความสัมพันธทั่วไประหวางขนาดอนุภาคกับประสิทธิภาพการกําจัดดวยกลไกตางๆ (รวมทุกกลไก) ของเครื่องควบคุม จะพบวาชวงขนาดอนุภาคชวงหนึ่งที่ประสิทธิภาพต่ํา


มาก ชวงขนาดดังกลาวมีคาประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 0.01 ไมครอนถึง 0.3 ไมครอน

ง ว

คําตอบ 2 : 0.01 ไมครอนถึง 1 ไมครอน


คําตอบ 3 : 0.1 ไมครอนถึง 0.5 ไมครอน

กร ข
คําตอบ 4 : 0.5 ไมครอนถึง 1 ไมครอน

ขอที่ : 408


ิ ว
าว
ขอใดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับถังดูดซับที่ใชถานกัมมันต


คําตอบ 1 : ความเร็วแกสสูงสุดที่ผานชั้นตัวกลางไมควรเกิน 120 ฟุตตอนาที ความเร็วแกสต่ําสุดที่ผานชั้นตัวกลางไมควรต่ํากวา 80 ฟุตตอนาที


คําตอบ 2 : ความเร็วแกสสูงสุดที่ผานชั้นตัวกลางไมควรเกิน 100 ฟุตตอนาที ความเร็วแกสต่ําสุดที่ผานชั้นตัวกลางไมควรต่ํากวา 20 ฟุตตอนาที
คําตอบ 3 : การกําหนดความเร็วแกสที่สูงหรือต่ําเกินไปจะทําใหเกิดปญหาการไหลไมกระจายสม่ําเสมอทั่วพื้นที่หนาตัดของชั้นตัวกลาง
คําตอบ 4 : การกําหนดความเร็วสูงสุดของการไหลของแกสที่ผานถังถือเปนการกําหนดพื้นที่หนาตัดของชั้นตัวกลางต่ําสุดและความลึกของชั้นตัวกลางสูงสุด

ขอที่ : 409
ขอใดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับกลไกการทํางานของเครื่องควบคุมฝุนดวยไฟฟาสถิตย
102 of 141
คําตอบ 1 : กลไกหลักในการใหประจุสําหรับอนุภาคขนาดเล็กกวา 1 ไมครอน คือการใหประจุจากการแพร (diffusion charging)
กลไกหลักในการใหประจุสําหรับอนุภาคขนาดเล็กกวา 1 ไมครอน คือการใหประจุจากสนามไฟฟา (field charging) รวมกับการใหประจุจากการแพร (diffusion
คําตอบ 2 : charging)
คําตอบ 3 : กลไกหลักในการใหประจุสําหรับอนุภาคขนาดเล็กกวา 0.15 ไมครอน คือการใหประจุจากสนามไฟฟา (field charging)
กลไกหลักในการใหประจุสําหรับอนุภาคขนาดเล็กกวา 0.15 ไมครอน คือการใหประจุจากสนามไฟฟา (field charging) รวมกับการใหประจุจากการแพร (diffusion
คําตอบ 4 :
charging)

ขอที่ : 410


ขอใดเปนระบบกําจัดกลิ่น
คําตอบ 1 : Biofiltration

น่ า

คําตอบ 2 : Carbon Adsorption


คําตอบ 3 :


Ozone Oxidation


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 411
ขอใดเปนอุณหภูมิและระยะเวลาที่ใชโดยทั่วไปในการเผาของเตาเผาแบบ Thermal Incinerator

ิท
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ 450-600 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 1-5 วินาที


คําตอบ 2 : อุณหภูมิ 650-1,000 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 0.1-0.5 วินาที


คําตอบ 3 : อุณหภูมิ 1,200-1,400 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 1-5 วินาที
คําตอบ 4 :

ง ว
อุณหภูมิ 1,200-1,400 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 0.1-0.5 วินาที

อ ส

ขอที่ : 412

กร
ขอใดเปนหลักการที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีการกําจัดกํามะถันและไนโตรเจนพรอมกัน

คําตอบ 1 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

103 of 141
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 413

น่ า
คําตอบ 1 : ให Burner ทุกตัวเผาไหมแบบมีเชื้อเพลิงเขมขน

จ ำ ห

คําตอบ 2 : ให Burner ทุกตัวเผาไหมแบบมีอากาศเขมขน

า้
คําตอบ 3 : ให Burner บางตัวเผาไหมแบบมีเชื้อเพลิงเขมขน และบางตัวเผาไหมแบบมีเชื้อเพลิงเจือจาง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ให Burner บางตัวเผาไหมแบบมีความเขมขนเชื้อเพลิงไมคงที่

ิท
ขอที่ : 414

นส
ง ว

คําตอบ 1 : มีการออกแบบเพื่อใหแกสจากการเผาไหมหมุนเวียนกลับมาผสมที่ Burner อีก


คําตอบ 2 : มีการออกแบบเพื่อใหแกสจากการเผาไหมหมุนเวียนอยูภายในหองเผา


คําตอบ 3 : มีการออกแบบเพื่อใหสวนผสมอากาศและเชื้อเพลิงหมุนเวียนเปนเกลียว

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ

ขอที่ : 415

ส ภ
จงคํานวณพื้นที่ผิวทั้งหมดของถุงกรอง (Fabric filter) ที่ใชเปนอุปกรณควบคุมฝุนภายใน Bag house ชนิดที่ใชการพนอากาศเปนกลไกทําความสะอาดถุงกรอง เมื่อกําหนดใหถุง
กรองที่ใชมีเสนผานศูนยกลาง 0.2 เมตร ถุงกรองยาว (สูง) ประมาณ 2.0 เมตร และจํานวนถุงกรองมีจํานวน 120 ถุงบรรจุอยูภายใน Bag house
คําตอบ 1 : 24 ตร.ม.
คําตอบ 2 : 48 ตร.ม.
คําตอบ 3 : 151 ตร.ม.
คําตอบ 4 : 240 ตร.ม. 104 of 141
ขอที่ : 416
การกําจัดกาซมลพิษจากหองพนสีดวยการเผาไหมที่ใชกาซธรรมชาติในอัตรา 0.2 ลบ.ม.ตอวินาทีดวยอุณหภูมิประมาณ 760 องศาเซลเซียส จงคํานวณหาความตองการอากาศที่ใช
ในการเผาไหมในหนวยของลบ.ม.ตอชั่วโมง หากการคํานวณทางทฤษฎีพบวาตองใชอากาศในการเผาไหมประมาณ 10.3 ลบ.ม. สําหรับกาซ 1 ลบ.ม.ที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน
คําตอบ 1 : 2.06 ลบ.ม.ตอนาที
คําตอบ 2 : 12.36 ลบ.ม.ตอนาที
คําตอบ 3 : 20.60 ลบ.ม.ตอนาที


คําตอบ 4 : 123.60 ลบ.ม.ตอนาที

น่ า

ขอที่ : 417


อุตสาหกรรมมีการใชคารบอนเตตระคลอไรด ในกระบวนการผลิต ผลการตรวจวัดและการคํานวณพบวามีกาซคารบอนเตตระคลอไรดอยูในอากาศที่ตองการบําบัดประมาณ 1,000 กก.


ตอวัน การใชถานกัมมันตสามารถดูดซับกาซไดในอัตรา 66 กก. ตอ 220 กก.ของถานกัมมันต (ในสภาวะอิ่มตัว) อยากทราบวาตองมีการใชถานกัมมันตทั้งหมดเทาไหรตอวัน

า้ ม
คําตอบ 1 : 300 กก.ของถานกัมมันตตอวัน

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 3000 กก.ของถานกัมมันตตอวัน
คําตอบ 3 : 333 กก.ของถานกัมมันตตอวัน
คําตอบ 4 : 3333 กก.ของถานกัมมันตตอวัน

ส ิท

ขอที่ : 418


การออกแบบให Electrostatic precipitator (EP) มีประสิทธิภาพในการบําบัดอนุภาคแขวนลอยสามารถพิจารณาจาก Deutsch equation หากกําหนดใหการออกแบบ


Electrostatic precipitator มีประสิทธิภาพการเก็บรวบรวมอนุภาคไดรอยละ 98 โดยกระแสอากาศที่เขาสูระบบมีประมาณ 10,000 ลบ.ม.ตอนาที ความเร็วของอนุภาค 5 เมตรตอนาที


(Drift velocity - w) อยากทราบวาตองใชพื้นที่ของแผนเก็บรวบรวมเทาไหร (A)

ขอ
กร
คําตอบ 1 : 5,824 ตร.ม.


คําตอบ 2 : 6,824 ตร.ม.



คําตอบ 3 : 7,824 ตร.ม.

าว
คําตอบ 4 : 8,824 ตร.ม.

ขอที่ : 419

ส ภ
การใชระบบบําบัดกาซซัลเฟอรไดออกไซดดวยระบบ Limestone scrubbing หรือ Lime scrubbing มีขอที่ตองพิจารณาแตกตางกัน ขอใดตอไปนี้เปนขอดีและขอดอยของทั้งสอง
ระบบ
Limestone ทําปฏิกิริยาในการบําบัดกาซซัลเฟอรไดออกไซดไดดีกวา Lime (CaO) ทําใหสามารถใช Limestone ไดอยางมีประสิทธิภาพในการระบบ Limestone
คําตอบ 1 :
scrubbing แตมีปญหา คือ Limestone มีราคาแพงกวาทําใหมีคาใชจายสูง
คําตอบ 2 : Lime มีประสิทธิภาพในการบําบัดที่ปริมาณเทากันดีกวา Limestone แตมีปญหา คือ Lime มีราคาแพงกวาทําใหมีคาใชจายสูง
ระบบ Limestone มีปญหาดานการกัดกรอนและอุดตันในระบบงายกวาระบบ Lime scrubbing เนื่องจากปฏิกิริยาในการบําบัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ทําใหมีตะกอน
105 of 141
คําตอบ 3 :
แคลเซี่ยมซัลไฟด สะสมอยูเปนจํานวนมากกวาระบบ Lime scrubbing
คําตอบ 4 : ระบบ Limestone scrubbing และ Lime scrubbing ไมมีความแตกตางของระบบในดานคาใชจายและประสิทธิภาพในการบําบัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด

ขอที่ : 420
ขอใดตอไปนี้ไมใชพารามิเตอรทางกายภาพของการออกแบบไซโคลนมาตรฐาน (Standard cyclone)
คําตอบ 1 : เสนผานศูนยกลางของชองทางออกกาซออกจากไซโคลน (Diameter of gas exit)
คําตอบ 2 : ความสูงของทางเขาสูไซโคลน (Height of inlet)
คําตอบ 3 : จํานวนแผนบังคับใหกาซหมุนวน (Number of controlled plate)

่ า ย

คําตอบ 4 : ความยาวของตัวไซโคลน (Length of body)

ขอที่ : 421

จ ำ ห

การออกแบบหองตกตะกอน (settling chamber) ความเร็วที่ไมทําใหเกิดการฟุงกลับของอนุภาค (throughput velocity) มีคาเทาใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : นอยกวา 10 ft/sec
คําตอบ 2 : มากกวา 10 ft/sec
คําตอบ 3 : มากกวา 50 ft/sec

ิท
คําตอบ 4 : มากกวา pickup velocity

นส

ขอที่ : 422


ในการออกแบบอุปกรณกําจัดฝุน ขนาดของอนุภาคที่ใชคือขอใด
คําตอบ 1 : Average diameter

อ ส

คําตอบ 2 : Aerodynamic diameter

กร
คําตอบ 3 : Geometric mean diameter


คําตอบ 4 : Number median diameter

ขอที่ : 423

าว ศ


การเพิ่มขนาดของทออากาศออกของไซโคลนจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงความดันลด (Pressure drop) และประสิทธิภาพของไซโคลนอยางไร


คําตอบ 1 : ลดลง และลดลง
คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น และเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : ลดลง และเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้น และลดลง

ขอที่ : 424 106 of 141


ระบบถุงกรองอากาศที่ใชเสนใยชนิดใดไมสามารถทําความสะอาดถุงกรองดวยวิธีเขยา
คําตอบ 1 : Nylon
คําตอบ 2 : Acrylic
คําตอบ 3 : Fiber glass
คําตอบ 4 : Teflon

ขอที่ : 425

่ า ย
คํานวณความจุสูงสุดในการดูดซับสารมลพิษ (breakthrough capacity) สําหรับเบดที่มีความลึก 3 ฟุต ความจุอิ่มตัวรอยละ 39 MTZ = 4 นิ้ว CB = [0.5Cs(MTZ) + Cs


(D+MTZ)]/D


คําตอบ 1 : 3.68%


คําตอบ 2 :


3.68%


คําตอบ 3 : 8.63%

า้
คําตอบ 4 : 86.3%

ขอที่ : 426
ิธ์ ห
ิท
คํานวณหาความยาวของหองตกตะกอน (settling chamber) เพื่อกําจัดอนุภาคขนาด 50 ไมครอนทั้งหมดทฤษฎีตาม ดวยอัตราการไหลของกาซ 10 ลูกบาศกเมตรตอวินาที กําหนด


ใหหองตกตะกอนมีความกวาง 1.5 ม จํานวน 9 ชั้น และความเร็วในการตกตะกอนของอนุภาค 0.148 เมตรตอวินาที


คําตอบ 1 : 1 เมตร

ง ว
คําตอบ 2 : 3 เมตร


คําตอบ 3 : 5 เมตร


คําตอบ 4 : 7 เมตร

ขอที่ : 427

กร ข

การออกแบบถุงกรอง (fabric filter) หนวยของอัตราสวนของอากาศตอพื้นที่ผา (air to cloth ratio) คือ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

อัตราการไหลเชิงปริมาตรของอากาศ
ปริมาตรอากาศตอพื้นที่ผา

ส ภ
คําตอบ 3 : ไมมีหนวย
คําตอบ 4 : อัตราการไหลเชิงปริมาตรของอากาศตอพื้นที่ผา

ขอที่ : 428
แผนกรองชนิดหนึ่งมีประสิทธิภาพในการจับอนุภาคมลสารรอยละ 70 หากนําแผนกรองชนิดนี้มาซอนกัน 4 ชั้น จะไดประสิทธิภาพรวมของการจับอนุภาคเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : รอยละ 99.19
คําตอบ 2 : รอยละ 81.00 107 of 141

คําตอบ 3 : รอยละ 75.99


คําตอบ 4 : รอยละ 70.00

ขอที่ : 429
จงหาประสิทธิภาพในการบําบัดฝุนขนาด 3 ไมครอนของไซโคลนตัวหนึ่งที่มีคาเสนผาศูนยกลางแบงขนาด (Cut Diameter, Dcut) เทากับ 6 ไมครอน
คําตอบ 1 : รอยละ 10
คําตอบ 2 : รอยละ 20
คําตอบ 3 : รอยละ 30

่ า ย

คําตอบ 4 : รอยละ 40

ขอที่ : 430

จ ำ ห

เครื่อง ESP ของโรงงานมีประสิทธิภาพ 97% และตองการเพิ่มประสิทธิภาพเปน 99.5% จะตองลดอัตราไหลของแกสที่เขาระบบลงเทาใด โดยสมมุติวาคาอื่นๆ ไมมีการเปลี่ยนแปลง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ลดลงเหลือรอยละ 50 ของอัตราไหลเดิม
คําตอบ 2 : ลดลงเหลือรอยละ 54 ของอัตราไหลเดิม
คําตอบ 3 : ลดลงเหลือรอยละ 60 ของอัตราไหลเดิม

ิท
คําตอบ 4 : ลดลงเหลือรอยละ 66 ของอัตราไหลเดิม

นส

ขอที่ : 431


โรงงานแหงหนึ่งมีแกสระบายออกการกระบวนการผลิตโดยอนุภาคฝุนในแกสแบงไดเปน 3 ขนาดคือ 3, 5 และ 10 ไมครอน แตละขนาดมีสัดสวนโดยน้ําหนักเทาๆ กัน แกสนี้ถูกบําบัด


โดยผานเขาไปในไซโคลนที่มีเสนผาศูนยกลางแบงขนาด (Cut Diameter) เทากับ 5 ไมครอน จงหาประสิทธิภาพการบําบัดรวมของไซโคลน
คําตอบ 1 : รอยละ 28

ขอ
กร
คําตอบ 2 : รอยละ 52


คําตอบ 3 : รอยละ 74



คําตอบ 4 : รอยละ 91

ขอที่ : 432

ภ าว

โรงงานแหงหนึ่ง มีแกสออกจากระบบการผลิต 100 ลบ.ม.ตอนาที แกสดังกลาวมีความเขมขนของไฮโดรเจนซัลไฟด 1.2% (โดยปริมาตร) ในการออกแบบหอบรรจุตัวกลางที่บําบัด
ไฮโดรเจนซัลไฟด ดวยประสิทธิภาพ 95% โดยใชน้ําประปาเปนตัวจับมลสาร และใหระบบบําบัดทํางานภายใตอุณหภูมิ 30 0C และความดัน 1 atm และคา Henry’s Law constant
ของไฮโดรเจนซัลไฟด ที่ 30 0C มีคา 609 atm จงคํานวณคา (L/G) minimum
คําตอบ 1 : 232
คําตอบ 2 : 334
คําตอบ 3 : 579
คําตอบ 4 : 681 108 of 141
ขอที่ : 433

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

จงออกแบบถุงกรองแบบอากาศไหลยอน (Reverse Air Fabric Filters) เพื่อที่จะใชกรองอากาศที่มีอัตราการไหล 20,000 ลบ.ฟุต/นาทีผานหนวยกรองทั้งหมด109โดยมี ความเขมขน
of 141
ของฝุนแปง = 2.5 กรัม/ลบ.ฟุต กําหนดใหเวลาในการทําความสะอาดถุงกรอง = 3 นาที เวลาในการกรอง = 60 นาที จํานวน Compartment = 3 พื้นที่ผากรองตอหนึ่ง
Compartment = 4,000 ตร.ฟุต จงคํานวนหา จํานวนถุงกรองทั้งหมดที่ตองใช ถาถุงกรองหนึ่งถุงมีความยาว 10 ฟุต
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

110 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

111 of 141
คําตอบ 1 : 364 ถุง
คําตอบ 2 : 372 ถุง
คําตอบ 3 : 382 ถุง
คําตอบ 4 : 384 ถุง

ขอที่ :


434

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

จงออกแบบถุงกรองแบบอากาศไหลยอน (Reverse Air Fabric Filters) เพื่อที่จะใชกรองอากาศที่มีอัตราการไหล 20,000 ลบ.ฟุต/นาทีผานหนวยกรองทั้งหมด112โดยมี ความเขมขน
of 141
ของฝุนแปง = 2.5 กรัม/ลบ.ฟุต กําหนดใหเวลาในการทําความสะอาดถุงกรอง = 3 นาที เวลาในการกรอง = 60 นาที จํานวน Compartment = 3 พื้นที่ผากรองตอหนึ่ง
Compartment = 4,000 ตร.ฟุต
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

113 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

114 of 141
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
หน
คําตอบ 4 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 435

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

115 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

116 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

117 of 141
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
คําตอบ 3 :

หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 436
ปกติความสูงสูงสุดของชั้นสารดูดซับสําหรับแอคติเวตเทตคารบอน ในแนวดิ่งคือขอใด
คําตอบ 1 : 8 เมตร

ิท
คําตอบ 2 : 4 เมตร
คําตอบ 3 : 2 เมตร

นส

คําตอบ 4 : 1 เมตร

ส ง

ขอที่ : 437


ชื่อของรูปรางของไซโคลนมาตรฐาน (standard cyclone) คือขอใด

กร
คําตอบ 1 : Stairmand, Swift


คําตอบ 2 : Swift, Stoke

าว ศ

คําตอบ 3 : Stoke, Stairmand
คําตอบ 4 : Venturi, Stoke

ขอที่ : 438
ส ภ
ปกติสัดสวนอัตราการไหลของสารละลายตอกาซ (L/G) ในระบบ ดูดกลืนคือ
คําตอบ 1 : 1-2 ลิตร/ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 10-20 ลิตร/ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 1-2 ลูกบาศกเมตร/ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 10-20 ลูกบาศกเมตร/ลูกบาศกเมตร
118 of 141
ขอที่ : 439
ขอมูลที่สําคัญในงานการออกแบบระบบดูดซับ (adsorption) คือ กราฟ (isotherms) ที่แสดงถึงความจุของสารดูดซับตอสารถูกดูดซับในแกนตั้งที่อุณหภูมิหนึ่ง และ ความเขมขนใน
แนวแกนนอนในหนวยที่หลากหลาย ยกเวนในขอใด
คําตอบ 1 : ความดันยอยในหนวยปอนดตอตารางนิ้ว
คําตอบ 2 : ความดันยอยในหนวยสัดสวนโดยโมล
คําตอบ 3 : ความดันยอยในหนวยสัดสวนโดยปริมาตร


คําตอบ 4 : ความดันยอยในหนวยพีพีเอ็มโดยน้ําหนัก

น่ า

ขอที่ : 440


ปกติในการออกแบบระบบดูดซับโดยใชแอคติเวตเทตคารบอนมักออกแบบใหมีปริมาณแอคติเวตเทตคารบอนเปน 1.5 หรือ 2 เทา ของความตองการ ในทางทฤษฎี สวนหนึ่งเพื่อครอบ


คลุม ปรากฏการณใด

า้ ม
คําตอบ 1 : Diffusion zone

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : Mass transfer zone
คําตอบ 3 : Flooding zone
คําตอบ 4 : Isotherm zone

ส ิท

ขอที่ : 441


ขอใดที่ไมใชดัชนีที่ใชกําหนดขนาดความสูงของหอดูดกลืนแบบไหลสวนทางในแนวตั้ง
คําตอบ 1 : ชนิดของกาซและของเหลว

ส ง

คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพของระบบที่ตองการ


คําตอบ 3 : ความเร็วกาซที่จะเกิดการไหลยอนกลับ (flooding velocity)

กร
คําตอบ 4 : ชนิดของ packing material ที่ใช


ิ ว
าว
ขอที่ : 442
ดัชนีที่ใชออกแบบระบบถุงกรองและยังใชเปนดัชนีในการวิเคราะหความเปนไปไดในการประเมินหรือปรับปรุงประสิทธิภาพของถุงกรองคือ

ส ภ
คําตอบ 1 : อัตราสวนอัตราการไหลของอากาศ(ผานระบบถุงกรอง) ตอ พื้นที่ถุงกรองทั้งหมด
คําตอบ 2 : อัตราสวนความเร็วอากาศผานระบบถุงกรอง ตอ พื้นที่ถุงกรองทั้งหมด
คําตอบ 3 : อัตราสวนความดันลดของระบบถุงกรอง ตอ พื้นที่ถุงกรองทั้งหมด
คําตอบ 4 : อัตราสวนความดันลดของระบบถุงกรอง ตอ ปริมาตรถุงกรองทั้งหมด

ขอที่ : 443
ขอใดไมใชลักษณะการทํางานของระบบถุงกรอง 119 of 141

คําตอบ 1 : ถุงกรองตองมีการทําความสะอาดเปนชวง ๆ เพื่อปองกันความดันลดอันอาจจะสูงเกินระดับที่ทนได


คําตอบ 2 : การทํางานของระบบถุงกรองคลายการทํางานของตะแกรงรอน ฝุนที่มีขนาดใหญกวารูชองวางของผาเทานั้นที่ถูกดักเก็บไว
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพของระบบถุงกรองขึ้นกับองคประกอบของกาซนอยมาก
คําตอบ 4 : ในขณะใชงานถามีการแปรเปลี่ยนอัตราการไหลของอากาศผานระบบถุงกรองเล็กนอย ประสิทธิภาพของระบบถุงกรองจะไมเปลี่ยนแปลงมากนัก

ขอที่ : 444
ดัชนีที่ใชออกแบบ EP และยังใชเปนดัชนีในการวิเคราะหความเปนไปไดในการประเมินหรือปรับปรุงประสิทธิภาพของ EP คือ
คําตอบ 1 : อัตราสวนอัตราการไหลของอากาศผาน EP ตอ พื้นที่ electrode ทั้งหมด

่ า ย

คําตอบ 2 : อัตราสวนความเร็วอากาศผาน EP ตอ พื้นที่ electrode ทั้งหมด


คําตอบ 3 : อัตราสวนความดันลดของ EP ตอ พื้นที่ electrode ทั้งหมด

จ ำ
คําตอบ 4 : อัตราสวนความดันลดของ EP ตอ ปริมาตร EP

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
445
ในการออกแบบใชงานระบบการดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ําที่ความเร็วกาซสูง มักจะมีปญหาที่ละอองน้ําขนาดเล็กจะเล็ดลอดพรอมไปกับอากาศเสียที่ผานการบําบัดดังนั้นจึงมีการติด
ตั้งอุปกรณใดเพิ่มเติมกอนการปลอยออก

ิท
คําตอบ 1 : Demister


คําตอบ 2 : Moisture Trap


คําตอบ 3 :


V-tube


คําตอบ 4 : Adsorber

อ ส

ขอที่ : 446

กร
ขอมูลที่สําคัญในงานการออกแบบระบบดูดซับ (adsorption) คือ กราฟ (isotherms) ที่แสดงถึงความจุของสารดูดซับตอสารถูกดูดซับซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด


คําตอบ 1 : อุณหภูมิ และ ปริมาณความชื้น



คําตอบ 2 : อุณหภูมิ และ ความเขมขนของสารถูกดูดซับ

าว
คําตอบ 3 : ปริมาณความชื้น และ ความเขมขนของสารถูกดูดซับ


คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารถูกดูดซับ และ ความดัน

ขอที่ : 447

ดัชนีที่ใชกําหนดขนาด(เสนผานศูนยกลาง) หอดูดกลืน แบบไหลสวนทางในแนวตั้งคือ
คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพที่ตองการ
คําตอบ 2 : ความเร็วกาซที่จะเกิดการไหลยอนกลับ (flooding velocity)
คําตอบ 3 : ความชื้นในหอดูดกลืน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิในหอดูดกลืน 120 of 141
ขอที่ : 448
การเพิ่มประสิทธิภาพของไซโคลนนั้นหลักการในขอใดจะมีผลใหประสิทธิภาพของระบบไซโคลนเพิ่มขึ้น
คําตอบ 1 : การเพิ่มขนาดของเสนผานศูนยกลางของทรงกระบอกหลักของไซโคลนในขณะที่ลักษณะอื่น ๆ คงที่
คําตอบ 2 : ลดขนาดของไซโคลนลง
คําตอบ 3 : ลดความเร็วของกาซขาเขาไซโคลน


คําตอบ 4 : การเพิ่มขนาดของพื้นที่หนาตัดของไซโคลนในขณะที่ลักษณะอื่น ๆ คงที่

น่ า

ขอที่ : 449


ในการใชงานชุดไซโคลนขนาดเล็ก(Multi-Cyclones)ที่ทุกตัวมีขนาดเทากันและตอกันอยางขนาน ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : ความดันลดครอมไซโคลนยอย จะเทากับ ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบ

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบจะเทากับ “n” เทา ของ ความดันลดครอมไซโคลนยอย เมื่อ “n” คือจํานวนของ ไซโคลนยอย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความดันลดครอมไซโคลนยอยจะเทากับ “n” เทา ของ ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบ เมื่อ “n” คือจํานวนของ ไซโคลนยอย
คําตอบ 4 : ความดันลดครอมไซโคลนยอย จะนอยกวา ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบ

ขอที่ : 450

ส ิท
ว น
ประสิทธิภาพของ EP ขึ้นกับลักษณะความตานทานทางไฟฟาของฝุนซึ่งความตานทานทางไฟฟาของฝุนจะตองไมมากและนอยเกินไปจึงอาจปรับปรุงประสิทธิภาพไดโดยการปรับปรุง


ความตานทานทางไฟฟาของฝุน เชน ขอใด


คําตอบ 1 : การพรมน้ําเพื่อลดความตานทานทางไฟฟาของฝุน


คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพ EP ลดลง เมื่ออัตราการไหลอากาศผาน EP มากขึ้น

กร ข
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพ EP เพิ่มขึ้น เมื่อพื้นที่ electrode มากขึ้น
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพ EP เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิอากาศผาน EP มากขึ้น


ิ ว
าว
ขอที่ : 451

ส ภ
คําตอบ 1 : < 1000 ตารางเมตร 121 of 141

คําตอบ 2 : อยูระหวาง 1000 – 2000 ตารางเมตร


คําตอบ 3 : อยูระหวาง 2000 – 4000 ตารางเมตร
คําตอบ 4 : มากกวา 4000 ตารางเมตร

ขอที่ : 452

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : นอยกวา 2000 ลิตรตอนาที
คําตอบ 2 : ระหวาง 2000 ถึง 4000 ลิตรตอนาที

ิท
คําตอบ 3 : ระหวาง 4000 ถึง 6000 ลิตรตอนาที


คําตอบ 4 : มากกวา 6000 ลิตรตอนาที

ขอที่ : 453

ง ว น

จงประมาณพื้นที่ผาทั้งหมดที่ baghouse ตองการสําหรับอากาศเสียจากกระบวนการผลิต ทีมีอัตราการไหล 300 ลูกบาศกเมตรตอนาที และ filtration velocity of 0.6 เมตรตอนาที.
คําตอบ 1 : 180 ตารางเมตร

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 300 ตารางเมตร


คําตอบ 3 : 400 ตารางเมตร



คําตอบ 4 : 500 ตารางเมตร

ขอที่ : 454

ภ าว

122 of 141
คําตอบ 1 : ประมาณ 1000 ตารางเมตร
คําตอบ 2 : ประมาณ 2000 ตารางเมตร
คําตอบ 3 : ประมาณ 3600 ตารางเมตร
คําตอบ 4 : ประมาณ 6500 ตารางเมตร

ขอที่ : 455

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0.003

ง ว น

0.0003


คําตอบ 3 : 0.00003


คําตอบ 4 : 0.000003

ขอที่ : 456

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 1,600 ตารางเมตร
123 of 141
คําตอบ 2 : 16,000 ตารางเมตร
คําตอบ 3 : 160,000 ตารางเมตร
คําตอบ 4 : 1,600,000 ตารางเมตร

ขอที่ : 457

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

124 of 141
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : นอยลง
125 of 141
คําตอบ 2 : เทาเดิม
มากขึ้น
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 458
ขอใดเปนหนวยของคา Packing Factor ของตัวกลางใน Packed Column
คําตอบ 1 : ไมมีหนวย
คําตอบ 2 : ตารางเมตร

่ า ย

คําตอบ 3 : ลูกบาศกเมตรตอตารางเมตร


คําตอบ 4 : ตารางเมตรตอลูกบาศกเมตร

จ ำ

ขอที่ :

า้
459
คาใดตอไปนี้มีความสําคัญในการพิจารณาออกแบบเกี่ยวกับการฟนสภาพระบบดูดซับโดยใชไอน้ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อัตราความตองการไอน้ําตอมวลของสารดูดซับ
คําตอบ 2 : อัตราความตองการไอน้ําตอน้ําหนักสารที่ถูกดูดซับที่นํากลับมาได

ิท
คําตอบ 3 : อัตราความตองการไอน้ําตอความดันที่ตองใช


คําตอบ 4 : อัตราความตองการไอน้ําตออุณหภูมิที่ตองใช

ขอที่ :

ง ว น

460

ขอ
ว กร
คําตอบ 1 : อานจาก Colburn Diagram



คําตอบ 2 : ใชการคํานวณจาก Flooding Curve

าว
คําตอบ 3 : ใชขอมูลจากผูผลิตตัวกลาง


คําตอบ 4 : หาจากการนําตัวกลางมาทําการทดลองเองในหองปฏิบัติการ

ขอที่ : 461

คําตอบ 1 : อานจาก Colburn Diagram
คําตอบ 2 : ใชการคํานวณจาก Flooding Curve 126 of 141

คําตอบ 3 : ใชขอมูลจากผูผลิตตัวกลาง
คําตอบ 4 : หาจากการนําตัวกลางมาทําการทดลองเองในหองปฏิบัติการ

ขอที่ : 462

่ า ย
คําตอบ 1 : 0.0145 นิ้วน้ํา

หน

คําตอบ 2 : 0.0145 ซม.น้ํา

มจ
คําตอบ 3 : 145 นิ้วน้ํา

า้
คําตอบ 4 : 145 ซม.น้ํา

ขอที่ : 463
ิธ์ ห
ิท
ประเด็นของอุณหภูมิและความชื้นของกระแสอากาศมีผลตอการออกแบบระบบ Bag house อยางไร


อุณหภูมิของอากาศที่เพิ่มสูงขึ้นทําใหความหนืดของกระแสอากาศและปริมาตรอัตราการไหลของอากาศเพิ่มสูงขึ้น ความชื้นมีผลทําใหอุดตันถุงกรองไดงาย จึงทําให


คําตอบ 1 :
ความตานทานการไหลของอากาศเพิ่มมากขึ้น (Pressure drop)

ง ว
อุณหภูมิของอากาศที่เพิ่มสูงขึ้นทําใหความหนืดของกระแสอากาศลดลงแตปริมาตรอัตราการไหลของอากาศเพิ่มขึ้น ความชื้นมีผลทําใหอุดตันถุงกรองไดงาย จึงทํา
คําตอบ 2 :


ใหความตานทานการไหลของอากาศเพิ่มมากขึ้น (Pressure drop)


อุณหภูมิของอากาศที่เพิ่มสูงขึ้นทําใหความหนืดของกระแสอากาศและปริมาตรอัตราการไหลของอากาศลดลง ความชื้นมีผลทําใหอุดตันถุงกรองไดงาย จึงทําใหความ
คําตอบ 3 :


ตานทานการไหลของอากาศเพิ่มมากขึ้น (Pressure drop)

กร
อุณหภูมิของอากาศที่เพิ่มสูงไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของความหนืดของกระแสอากาศและปริมาตรอัตราการไหลของอากาศ แตความชื้นมีผลทําใหอุดตันถุงกรอง
คําตอบ 4 :
ไดงายจึงทําใหความตานทานของกระแสอากาศเพิ่มมากขึ้น (Pressure drop)


ิ ว
าว
ขอที่ : 464


ทําไมการออกแบบอุปกรณดูดซับสารอินทรียระเหยงาย (Volatile organic compounds) ดวยสารดูดซับประเภทถานกัมมันต บางครั้งมีการผานอุปกรณลดอุณหภูมิกับกาซกอนเขาสู


ถังดูดซับเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซับ
คําตอบ 1 : เพราะปริมาณของสารอินทรียระเหยงายสามารถถูกดูดซับไดเพิ่มขึ้นตอหนวยน้ําหนักของถานกัมมันตเมื่ออุณหภูมิของกาซลดลง
คําตอบ 2 : เพราะสารอินทรียระเหยงายอาจทําปฏิกิริยาทางเคมีจนเกิดอันตรายไดงายที่อุณหภูมิสูง จึงจําเปนตองปรับใหอุณหภูมิของกาซลดลง
คําตอบ 3 : เพราะสามารถปองกันการระเหยของสารอินทรียระเหยงายออกจากระบบกอนผานเขาหาตัวดูดซับเมื่ออุณหภูมิของกาซลดลง
คําตอบ 4 : เพราะความเร็วของสารอินทรียระเหยงายเคลื่อนที่ผานตัวดูดซับลดลงทําใหมีเวลาสัมผัสกับตัวดูดซับไดนานขึ้นเมื่ออุณหภูมิของกาซลดลง

ขอที่ : 465 127 of 141

วิธีใดตอไปนี้ใชทําใหตัวดูดซับกลับมาใชไดใหมหลังจากอิ่มตัวแลว (Absorbent regeneration)


คําตอบ 1 : การใชไอน้ําผานตัวดูดซับ
คําตอบ 2 : การใชกาซเฉื่อย (หรืออากาศ) ที่เย็นผานตัวดูดซับ
คําตอบ 3 : การเพิ่มความดันใหกับตัวดูดซับ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 466

่ า ย
ขอใดมีผลตอประสิทธิภาพการทํางานของระบบดูดซับกาซมลพิษ


คําตอบ 1 : ความชื้น


คําตอบ 2 : ความเร็วกาซ

จ ำ
คําตอบ 3 : ความดัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 467
ขอใดกอใหเกิดปญหาในระบบการดักฝุนดวยระบบไฟฟาสถิตย (ESP)

ิท
คําตอบ 1 : อนุภาคความตานทานต่ํา


คําตอบ 2 : ความเร็วกาซต่ํา

ว น
คําตอบ 3 : การฟุงกลับของอนุภาคที่ดักจับได


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

อ ส

ขอที่ : 468

กร
วิธีแกไขปญหามลพิษควันขาวจากรถจักรยานยนต ที่ดีที่สุดคือขอใด


คําตอบ 1 : หามรถจักรยานยนตรับจาง



คําตอบ 2 : ใสไสกรองควันขาว

าว
คําตอบ 3 : ใชน้ํามันเครื่องลดควันขาว (low smoke)


คําตอบ 4 : ใชรถจักรยานยนตสี่จังหวะ

ขอที่ : 469

ขอใดตอไปนี้เปนคํากลาวที่ถูกตองเกี่ยวกับสมรรถนะของไซโคลน
คําตอบ 1 : ความเขมขนของฝุนมากขึ้น, ความดันสูญเสียเพิ่มขึ้น, ประสิทธิภาพ ลดลง
คําตอบ 2 : เพิ่มอุณหภูมิของอากาศที่เขา, ความดันสูญเสียลดลง, ประสิทธิภาพลดลง
คําตอบ 3 : เพิ่มขนาดหรือความหนาแนนของอนุภาค, ความดันสูญเสียเพิ่มขึ้น, ประสิทธิภาพลดลง
128 of 141
คําตอบ 4 : เพิ่มขนาดของทออากาศออก, ความดันสูญเสียเพิ่มขึ้น, ประสิทธิภาพลดลง
ขอที่ : 470
ในกรณีที่มีปญหาลมออน ไมมีแรงดูด เกิดขึ้นกับระบบระบายอากาศ ควรตรวจสอบหาสาเหตุกอนวา เกิดจากสาเหตุใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : แหลงกําเนิดมลพิษเปลี่ยนแปลงไป เชนถูกยายที่
คําตอบ 2 : พัดลมตอขั้วไฟฟาผิดทาง
คําตอบ 3 : มีสิ่งกีดขวางที่ปลายปลองระบายอากาศเสีย


คําตอบ 4 : รูรั่ว รอยแตกในทอ

น่ า

ขอที่ : 471


ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตอง
คําตอบ 1 :

มจ
Biofilter จะมีประสิทธิภาพในการบําบัดสารบางชนิดไดสูงกวา 99 % ถาปริมาณความเขมขนของคารบอนทั้งหมดในอากาศไมเกิน 2,000 ppm.

า้
คําตอบ 2 : Activated Carbon- Adsorption สามารถนํามาใชรวมกับ Chemical Scrubbling เพื่อกําจัดสาร Methyl Sulfide ได

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ASTM กําหนดคาสเกลที่ใชอางอิงเรื่องกลิ่น (ASTM Standard Practice E-544) โดยแบงออกเปน 5 ระดับ
คําตอบ 4 : Ozone –Oxidation Process ที่ใชในกระบวนการกําจัดกลิ่นเปนวิธีการเฉพาะ ไมสามารถใชรวมกับวิธีการกําจัดกลิ่นแบบอื่น ๆได

ขอที่ : 472

ส ิท
ว น
ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตอง


คําตอบ 1 : หมอไอน้ําแบบ Circulating Fluidized Bed แตกตางกับหมอไอน้ําแบบ Bubbling Fludized Bed ในสวนของเนื้อที่บริเวณ Free Board


คําตอบ 2 : การควบคุมการเผาไหมใน Oil Burner เพื่อใหการเผาไหมสมบูรณ อากาศสวนเกินที่เหมาะสมคือ 30%


คําตอบ 3 : High Pressure Air Current Burner นิยมใชในเตาเผาเหล็กกลา เตาหลอมแกว เตาเผาซีเมนต แตมีขอเสียคือมีเสียงรบกวนขณะเผาไหม
คําตอบ 4 :

กร ข
การสะสมของไฮโดรคารบอน ที่บริเวณหองเผาไหมใน Oil Burner สวนมากมีสาเหตุมาจากอากาศสวนเกินที่ไมเหมาะสม

ขอที่ : 473


ิ ว
าว
ขอเสียของเชื้อเพลิงชนิดกาซคือ


คําตอบ 1 : ควบคุมการเผาไหมยาก


คําตอบ 2 : การขนสง เก็บกัก ทําไดยากและอุปกรณประกอบมีราคาแพง
คําตอบ 3 : มีมลพิษมาก
คําตอบ 4 : มีโลหะหนักในกาซจากการเผาไหมสูง

ขอที่ : 474
กาซที่มีสัดสวนสูงสุดในกาซธรรมชาติคือ
129 of 141
คําตอบ 1 : มีเทน
คําตอบ 2 : โพรเพน
คําตอบ 3 : บิวเทน
คําตอบ 4 : อีเทน

ขอที่ : 475
โดยทั่วไปในกาซหุงตม (LPG) เปนสวนผสมของกาซ 2 ชนิด คือ
คําตอบ 1 : มีเทน โพรเพน

่ า ย

คําตอบ 2 : โพรเพน บิวเทน


คําตอบ 3 : บิวเทน อีเทน

จ ำ
คําตอบ 4 : อีเทน มีเทน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
476
LPG ไมมีกลิ่นจึงมีการเติมสารที่ทําใหเกิดกลิ่น ถา LPG รั่วไหลคือ
คําตอบ 1 : Hydrogen Sulfide

ิท
คําตอบ 2 : Ammonia


คําตอบ 3 : Ethyl mercaptan

ว น
คําตอบ 4 : Ethanol

ส ง

ขอที่ : 477


การจําแนกน้ํามันเตาเปนแบบ ชนิดเบา ปานกลาง และหนัก พิจารณาจากสมบัติในขอใด

กร
คําตอบ 1 : ความถวงจําเพาะ


คําตอบ 2 : % ซัลเฟอร



คําตอบ 3 : % เถา

าว
คําตอบ 4 : ความหนืด

ขอที่ : 478

ส ภ
จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ
เราตองการอากาศในการเผาไหมมีเทนดังกลาวหมดพอดีคิดเปนปริมาตรเทาใด

คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-5 ลูกบาศกเมตร


130 of 141
คําตอบ 2 : อยูในชวง 5-10 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : อยูในชวง 10-15 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : มากกวา 15 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 479
จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ
ปริมาตร คารบอนไดออกไซค ที่เกิดขึ้นจะ ที่อุณหภูมิปกติ คือ

่ า ย
คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-3 ลูกบาศกเมตร

หน
จ ำ
คําตอบ 2 : อยูในชวง 3-5 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : อยูในชวง 5-10 ลูกบาศกเมตร

า้
คําตอบ 4 : มากกวา 10 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 480
ิธ์ ห
ิท
จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทนปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ


ปริมาตร กาซไนโตรเจนในอากาศหลังการเผาไหม ที่อุณหภูมิปกติ คือ

ง ว น

คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-3 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : อยูในชวง 3-5 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

กร
อยูในชวง 5-10 ลูกบาศกเมตร
มากกวา 10 ลูกบาศกเมตร


ิ ว
าว
ขอที่ : 481


จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ


ปริมาตรไอน้ําในอากาศหลังการเผาไหมที่อุณหภูมิปกติ คือ

คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-3 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : อยูในชวง 3-5 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : อยูในชวง 5-10 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : มากกวา 10 ลูกบาศกเมตร 131 of 141
ขอที่ : 482
จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ
เราตองการอากาศในการเผาไหมมีเทนดังกลาวหมดพอดี ปริมาตรอากาศ(ที่อุณหภูมิปกติ)ที่เปนผลจากการเผาไหมเมื่อเผาไหมหมดพอดีโดยรวมปริมาตรไอน้ําที่เกิดขึ้น (ปริมาตร
อากาศชื้น) คือ


คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-5 ลูกบาศกเมตร

่ า
คําตอบ 2 : อยูในชวง 5-10 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : อยูในชวง 10-15 ลูกบาศกเมตร

ำ ห
คําตอบ 4 : มากกวา 15 ลูกบาศกเมตร

มจ
า้
ขอที่ : 483

ิธ์ ห
จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ
เราตองการอากาศในการเผาไหมมีเทนดังกลาวหมดพอดี ปริมาตรอากาศ(ที่อุณหภูมิปกติ)ที่เปนผลจากการเผาไหมเมื่อเผาไหมหมดพอดีโดยไมรวมปริมาตรไอน้ําที่เกิดขึ้น (ปริมาตร
อากาศแหง) คือ

ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
อยูในชวง 1-5 ลูกบาศกเมตร
อยูในชวง 5-10 ลูกบาศกเมตร

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 : อยูในชวง 10-15 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 4 : มากกวา 15 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 484

ว กร


จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ

าว
เราตองการอากาศในการเผาไหมมีเทนดังกลาวหมดพอดี ความเขมขนกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นโดยคิดจากปริมาตรอากาศแหง คือ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ อยูในชวง 1-10 % โดยปริมาตร
อยูในชวง 10-15 % โดยปริมาตร
คําตอบ 3 : อยูในชวง 15-20 % โดยปริมาตร
คําตอบ 4 : มากกวา 20 % โดยปริมาตร

132 of 141
ขอที่ : 485
จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ
เราตองการอากาศในการเผาไหมมีเทนดังกลาวหมดพอดี ความเขมขนกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นโดยคิดจากปริมาตรอากาศแหง โดยคิดที 7% excess oxygen คือ

คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-10 % โดยปริมาตร


คําตอบ 2 : อยูในชวง 10-15 % โดยปริมาตร


คําตอบ 3 : อยูในชวง 15-20 % โดยปริมาตร

น่ า
คําตอบ 4 : มากกวา 20 % โดยปริมาตร

ขอที่ : 486

จ ำ ห

จากการคํานวณความตองการอากาศในการเผาไหมเชื้อเพลิงชนิดกาซในทางทฤษฎีเปนไปตามสมการดานลาง ถาตองการเผาไหม มีเทน ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ที่อุณหภูมิปกติ

า้
เราตองการอากาศในการเผาไหมมีเทนดังกลาวหมดพอดี ความเขมขนกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นโดยคิดจากปริมาตรอากาศแหง โดยคิดที 50% excess air คือ

ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : อยูในชวง 1-10 % โดยปริมาตร


คําตอบ 2 : อยูในชวง 10-15 % โดยปริมาตร


คําตอบ 3 : อยูในชวง 15-20 % โดยปริมาตร

ง ว
คําตอบ 4 : มากกวา 20 % โดยปริมาตร

ขอที่ :

อ ส

487

กร
ประสิทธิภาพของอุปกรณบําบัดฝุนจะขึ้นอยูกับปจจัยใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ขนาดของฝุน และ รูปรางฝุน
คําตอบ 2 :


ิ ว
ขนาดของฝุน และ ความหนาแนนฝุน

าว
คําตอบ 3 : ความหนาแนนฝุนและ อุณหภูมิฝุน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิฝุนและขนาดของฝุน

ขอที่ : 488
ส ภ
โดยทั่วไประบบบําบัดฝุน ที่ขนาดใกลเคียงกัน ชนิดใดจะใหประสิทธิภาพต่ําที่สุด
คําตอบ 1 : ระบบคัดแยกโดยการตกเนื่องจากน้ําหนักฝุน (Gravity Settling Chambers)
คําตอบ 2 : ไซโคลน (Cyclone Separator)
คําตอบ 3 : ถุงกรอง (Fabric Filter)
คําตอบ 4 : อีพี (EP) 133 of 141
ขอที่ : 489
ชนิดฝุนแบบใดที่ไมเหมาะในการใชไซโคลนเปนระบบบําบัด
คําตอบ 1 : ฝุนเบา และ ไมกลม
คําตอบ 2 : ฝุนหนัก และ กลม
คําตอบ 3 : ฝุนหนักและ ไมกลม
คําตอบ 4 : ฝุนเบาและ กลม

่ า ย

ขอที่ : 490


ขอเสียของ ไซโคลน คือ

จ ำ
คําตอบ 1 : ใชพลังงานสูงมากขณะใชงาน


คําตอบ 2 : ตองการคาซอมบํารุงมาก

า้
คําตอบ 3 : มีคาใชจายในการติดตั้งสูงมาก

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพไวตอการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลของอากาศเขาระบบไซโคลน

ิท
ขอที่ : 491


โดยทั่วไปความหนืดของอากาศเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิคอนขางนอยดังนั้น ในขณะที่ใชงาน Settling Chamber ถาอุณหภูมิอากาศเสียทีเขาระบบมีอุณหภูมิสูงขึ้นในขณะที่อัตรา


การไหลยังเทาเดิมอาจจะทํานายไดวาประสิทธิภาพของ Settling Chamber นาจะ
คําตอบ 1 : ลดลง

ง ว

คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : เทาเดิม

กร ข
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 492


ิ ว
าว
ในขณะที่ใชงาน Settling Chamber ถาความเขมขนฝุนขาเขาเพิ่มขึ้นในขณะที่อุณหภูมิกาซและอัตราการไหลกาซยังคงที่ ประสิทธิภาพของ Settling Chamber นาจะ


คําตอบ 1 : ลดลง


คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : เทาเดิม
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 493
ในขณะที่ใชงานไซโคลนถาอุณหภูมิอากาศเสียทีเขาระบบสูงขึ้นในขณะที่อัตราการไหลยังเทาเดิมประสิทธิภาพของ ไซโคลน นาจะ
134 of 141
คําตอบ 1 : ลดลง
คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : เทาเดิม
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 494
ดัชนีที่ใชวัดเพื่อติดตามตรวจสอบการทํางานของชุดไซโคลนขนาดเล็ก (Multi-Cyclones) คือ
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของกาซ ในรูปความดัน หรือความดันลดรวมของระบบ
คําตอบ 2 : อัตราการไหลของกาซ ในรูปความดัน หรือความดันลดแยกแตละไซโคลน

่ า ย

คําตอบ 3 : ความเขมขนฝุนที่เขาไซโคลน


คําตอบ 4 : องคประกอบของกาซที่เขาไซโคลน

จ ำ

ขอที่ :

า้
495
ถาพบวาในขณะที่ใชงานระบบ ดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ํา (Wet Collectors) ถาความเขมขนฝุนขาเขาเพิ่มขึ้นในขณะที่ มีอุณหภูมิกาซ อัตราการไหลกาซ และอัตราการพนน้ํายังคง

ิธ์ ห
ที่ประสิทธิภาพของ Wet Collectors นาจะ
คําตอบ 1 : ลดลง

ิท
คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : เทาเดิม


คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ง ว

ขอที่ :


496


ถามีการตรวจวัด “อัตราการไหลของน้ําตออัตราการไหลกาซ” อยางตอเนื่อง เพื่อติดตามตรวจสอบการทํางานของระบบดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ํา (Wet Collectors) ถาพบวาคาดัง

กร
กลาวมีคาลดลงอาจทํานายไดวา
คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพระบบยังเทาเดิม
คําตอบ 2 :


ิ ว
ประสิทธิภาพระบบลดลง

าว
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพระบบมากขึ้น
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 497
ส ภ
อุปกรณตรวจวัดที่ควรวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของ Wet Collectors คือ
คําตอบ 1 : หัววัดความดัน, มานอมิเตอร ทั้งสวนของอากาศและน้ํา
คําตอบ 2 : Gas Analyzer
คําตอบ 3 : Thermometer, Thermocouple ทั้งสวนของอากาศและน้ํา
คําตอบ 4 : Volt และ Amp. meter 135 of 141
ขอที่ : 498
ในการใชงานระบบ venturi scrubber ขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : ถาเพิ่มความดันลดบริเวณคอคอดของ venturi scrubber ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ถาเพิ่มอัตราการไหลของกาซบริเวณคอคอดของ venturi scrubber ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : ถาเพิ่มความยาวบริเวณคอคอดของ venturi scrubber ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : การใชน้ําที่สะอาดกวาจะทําให ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้น

่ า ย

ขอที่ : 499


ดัชนีที่ใชออกแบบระบบถุงกรองและยังใชเปนดัชนีในการวิเคราะหความเปนไปไดในการประเมินหรือปรับปรุงประสิทธิภาพของถุงกรองคือ

จ ำ
คําตอบ 1 : อัตราสวนอัตราการไหลของอากาศ(ผานระบบถุงกรอง) ตอ พื้นที่ถุงกรองทั้งหมด


คําตอบ 2 : อัตราสวนความเร็วอากาศผานระบบถุงกรอง ตอ พื้นที่ถุงกรองทั้งหมด

า้
คําตอบ 3 : อัตราสวนความดันลดของระบบถุงกรอง ตอ พื้นที่ถุงกรองทั้งหมด

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : อัตราสวนความดันลดของระบบถุงกรอง ตอ ปริมาตรถุงกรองทั้งหมด

ิท
ขอที่ : 500


ดัชนีที่ควรวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของ ระบบถุงกรอง คือ

ว น
คําตอบ 1 : ความดันลดของระบบถุงกรองทั้งระบบ และความดันลดแยกแตละสวน (compartment)


คําตอบ 2 : อุณหภูมิกาซกอนเขา ระบบถุงกรอง


คําตอบ 3 : อัตราสวนอัตราการไหลของอากาศผานระบบถุงกรอง


คําตอบ 4 : องคประกอบของกาซหลังจากผาน ถุงกรอง

กร ข

ขอที่ : 501



ขอใดที่ไมใชลักษณะการทํางานของระบบถุงกรอง

าว
คําตอบ 1 : ถุงกรองตองมีการทําความสะอาดเปนชวง ๆ เพื่อปองกันความดันลดอันอาจจะสูงเกินระดับที่ทนได


คําตอบ 2 : การทํางานของระบบถุงกรองคลายการทํางานของตะแกรงรอน ฝุนที่มีขนาดใหญกวารูชองวางของผาเทานั้นที่ถูกดักเก็บไว


คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพของระบบถุงกรองขึ้นกับอุณหภูมิ และความชื้น และองคประกอบของกาซนอยมาก
คําตอบ 4 : ในขณะใชงานถามีการแปรเปลี่ยนอัตราการไหลของอากาศผานระบบถุงกรอง ประสิทธิภาพของระบบถุงกรองจะไมเปลี่ยนแปลงมากนัก

ขอที่ : 502
ในการใชแผนกรอง (filter pad) ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : เสนใยที่นํามาทําแผนกรองยิ่งเล็กยิ่งมีประสิทธิภาพดีขึ้น
136 of 141
คําตอบ 2 : เสนใยที่นํามาทําแผนกรองยิ่งใหญยิ่งมีประสิทธิภาพดีขึ้น
คําตอบ 3 : แผนกรองยิ่งบางยิ่งมีประสิทธิภาพดีขึ้น
คําตอบ 4 : ยิ่งฝุนขนาดเล็กลงประสิทธิภาพแผนกรองยิ่งดีขึ้น

ขอที่ : 503
ดัชนีที่ใชออกแบบ EP และยังใชเปนดัชนีในการวิเคราะหความเปนไปไดในการประเมินหรือปรับปรุงประสิทธิภาพของ EP คือ
คําตอบ 1 : อัตราสวนอัตราการไหลของอากาศผาน EP ตอ พื้นที่ electrode ทั้งหมด
คําตอบ 2 : อัตราสวนความเร็วอากาศผาน EP ตอ พื้นที่ electrode ทั้งหมด

่ า ย

คําตอบ 3 : อัตราสวนความดันลดของ EP ตอ พื้นที่ electrode ทั้งหมด


คําตอบ 4 : อัตราสวนความดันลดของ EP ตอ ปริมาตร EP

จ ำ

ขอที่ :

า้
504
ดัชนีที่ควรวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของ EP คือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : แรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และ อัตราการสปารค
คําตอบ 2 : ความดันลดของระบบ EP ทั้งระบบ

ิท
คําตอบ 3 : อุณหภูมิกาซกอนเขา EP


คําตอบ 4 : อัตราสวนอัตราการไหลของอากาศผานระบบ EP

ขอที่ :

ง ว น

505


อุปกรณตรวจวัดที่ควรวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของ EP คือ


คําตอบ 1 : หัววัดความดัน, มานอมิเตอร

กร
คําตอบ 2 : Gas Flow Meter


คําตอบ 3 : Thermometer, Thermocouple



คําตอบ 4 : Volt และ Amp. Meter

ขอที่ : 506

ภ าว

ขอใดไมถูกตองสําหรับการใชงาน EP
คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพของ EP ขึ้นกับลักษณะความตานทานทางไฟฟาของฝุน
คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพ EP ลดลง เมื่ออัตราการไหลของอากาศผาน EP มากขึ้น
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพ EP เพิ่มขึ้น เมื่อพื้นที่แผนเก็บฝุนมากขึ้น
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพ EP เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิอากาศผาน EP มากขึ้น

137 of 141
ขอที่ : 507
ขอสังเกตเบื้องตนที่แสดงวาระบบดูดซับยังทํางานอยูคือ
คําตอบ 1 : หยดน้ําที่เกิดขึ้นเกาะตามทอขาออก
คําตอบ 2 : อุณหภูมิของชั้นสารดูดซับที่ต่ํากวาอุณหภูมิบรรยากาศ
คําตอบ 3 : อุณหภูมิของชั้นสารดูดซับที่สูงกวาอุณหภูมิบรรยากาศ
คําตอบ 4 : ความดันลดครอมระบบไมเปลี่ยนแปลง

่ า ย
ขอที่ : 508


อุปกรณตรวจวัดที่ควรวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของ ระบบดูดซับ คือ


คําตอบ 1 : หัววัดความดัน, มานอมิเตอร

จ ำ
คําตอบ 2 : Gas Analyzer


คําตอบ 3 : Thermometer, Thermocouple

า้
คําตอบ 4 : Volt และ Amp. Meter

ขอที่ : 509
ิธ์ ห
ิท
ดัชนีสําคัญในการพิจารณาประสิทธิภาพในการเผาทําลายคือ


คําตอบ 1 : อุณหภูมิ กับ เวลาที่กาซอยูในหองเผาไหม

ว น
คําตอบ 2 : อุณหภูมิ กับ ความชื้นในหองเผาไหม


คําตอบ 3 : ความชื้น กับ เวลาที่กาซอยูในหองเผาไหม


คําตอบ 4 : คารบอนไดออกไซด และ ออกซิเจนในหองเผาไหม

ขอ
กร
ขอที่ : 510


ดัชนีสําคัญในการวัดติดตามการทํางานของระบบการเผาทําลายคือ



คําตอบ 1 : อุณหภูมิกาซขาเขาหองเผาไหม

าว
คําตอบ 2 : อุณหภูมิกาซขาออกหองเผาไหม


คําตอบ 3 : ความชื้นกาซในหองเผาไหม


คําตอบ 4 : ออกซิเจนในหองเผาไหม

ขอที่ : 511
อุปกรณตรวจวัดที่ควรวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของ Incinerator คือ
คําตอบ 1 : หัววัดความดัน, มานอมิเตอร
คําตอบ 2 : Gas Analyzer
138 of 141
คําตอบ 3 : Thermometer, Thermocouple
คําตอบ 4 : Volt และ Amp. Meter

ขอที่ : 512
ดัชนีสําคัญในการวัดติดตามการทํางานของระบบการดูดกลืนคือ
คําตอบ 1 : อุณหภูมิกาซขาเขาหอดูดกลืน
คําตอบ 2 : อุณหภูมิกาซขาออกหอดูดกลืน
คําตอบ 3 : ความชื้นกาซขาออกจากหอดูดกลืน

่ า ย

คําตอบ 4 : พีเอช (pH) ของสารละลายที่ออกจากหอดูดกลืน

ขอที่ : 513

จ ำ ห

อุปกรณตรวจวัดที่ควรใชวัดตอเนื่องเพื่อติดตามการทํางานของระบบการดูดกลืนคือ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : หัววัดความดัน, มานอมิเตอร ทั้งสวนของอากาศและน้ํา
คําตอบ 2 : Gas Analyzer
คําตอบ 3 : Thermometer, Thermocouple ทั้งสวนของอากาศและน้ํา

ิท
คําตอบ 4 : Volt และ Amp. Meter

นส

ขอที่ : 514


ในการใชงานชุดไซโคลนขนาดเล็ก(Multi-Cyclones)ที่ทุกตัวมีขนาดเทากันและตอกันอยางขนาน ในขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 :

อ ส
ความดันลดครอมไซโคลนยอย จะเทากับ ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบ


คําตอบ 2 : ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบจะเทากับ “n” เทา ของ ความดันลดครอม ไซโคลนยอย เมื่อ “n” คือจํานวนของ ไซโคลนยอย

กร
คําตอบ 3 : ความดันลดครอมไซโคลนยอยจะเทากับ “n” เทา ของ ความดันลดครอม ชุดไซโคลนทั้งระบบ เมื่อ “n” คือจํานวนของ ไซโคลนยอย


คําตอบ 4 : ความดันลดครอมชุดไซโคลนทั้งระบบจะประมาณ 10 เทาของความดันลดครอม ไซโคลนยอย

ขอที่ : 515

าว ศ


หลักในการดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ํา (Wet Collectors) จะมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อ


คําตอบ 1 : การใส packing material ใน หอ Wet Collectors ในระดับที่สูงเพียงพอ
คําตอบ 2 : ยิ่งชั้นของ packing material ใน หอ Wet Collectors ยิ่งสูงขึ้นประสิทธิภาพยิ่งมากขึ้น
คําตอบ 3 : พยายามทําใหมีปฏิกิริยาเคมีระหวางฝุนและหยดน้ํามากที่สุด
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพไมเกี่ยวของกับการใส packing material ใน หอ Wet Collectors

ขอที่ : 516 139 of 141


ประสิทธิภาพในการดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ํา (Wet Collectors) จะเพิ่มขึ้นเมื่อ
คําตอบ 1 : หอดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ํา (Wet Collectors) มีเสนผาศูนยกลางมากขึ้น
คําตอบ 2 : หอดักจับฝุนละอองดวยหยดน้ํา (Wet Collectors) มีความสูงมากขึ้น
คําตอบ 3 : ลดปริมาณน้ําที่พนจับลง
คําตอบ 4 : พยายามเพิ่มอัตราการไหลใหมากขึ้น

ขอที่ : 517

่ า ย
หากอัตราไหลของของเหลวใน Wet Scrubber มีคาลดลงจากปกติ อาจเกิดจากสาเหตุใด


คําตอบ 1 : เกิดการอุดตันที่หัวฉีด


คําตอบ 2 : อัตราไหลของแกสมีคาสูงเกินไป

จ ำ
คําตอบ 3 : อุณหภูมิของแกสมีคาสูงกวาปกติ


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 518
การเกิดกลิ่นของสารเคมีบริเวณทอออกของเครื่องควบคุมแบบระบบดูดซับ นาจะเปนเพราะสาเหตุใดตอไปนี้

ิท
คําตอบ 1 : เกิดการ Breakthrough ในชั้นสารดูดซับ


คําตอบ 2 : เกิดการแตกตัวของสารดูดซับ

ว น
คําตอบ 3 : ชั้นสารดูดซับมีการอุดตัน


คําตอบ 4 : เกิดการไหลลัดวงจรของแกส

อ ส

ขอที่ : 519

กร
หากความดันสถิตลด (Static Pressure Drop) ระหวางชั้นสารดูดซับกับพัดลมมีคาเพิ่มขึ้น อาจเกิดจากสาเหตุใด


คําตอบ 1 : พัดลมมีกําลังไมเพียงพอ



คําตอบ 2 : ระบบทอถูกออกแบบไมเหมาะสม

าว
คําตอบ 3 : ชั้นสารดูดซับเกิดปญหา Channeling


คําตอบ 4 : ชั้นสารดูดซับเกิดการอุดตัน

ขอที่ : 520

หากความดันสถิตลด (Static Pressure Drop) ระหวางชั้นสารดูดซับกับพัดลมมีคาลดลง อาจเกิดจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 : พัดลมมีกําลังไมเพียงพอ
คําตอบ 2 : ระบบทอถูกออกแบบไมเหมาะสม
คําตอบ 3 : ชั้นสารดูดซับเกิดปญหา Channeling
140 of 141
คําตอบ 4 : ชั้นสารดูดซับเกิดการอุดตัน
ขอที่ : 521
หากความดันและอุณหภูมิของไอน้ําในระหวางการฟนสภาพสารดูดซับไมเหมาะสม อาจเกิดปญหาใด
คําตอบ 1 : คา HEEL ต่ํากวาที่ออกแบบ
คําตอบ 2 : คา Working Charge ต่ํากวาที่ออกแบบ
คําตอบ 3 : ความสามารถในการดูดซับที่สมดุลของสารดูดซับลดลง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

141 of 141

You might also like