Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 116

สาขา: สิ่งแวดลอม วิชา: EV42 Environmental Impact

Assessment

ขอที่ : 1
ขอใดเปนอัตราการเกิดน้ําเสีย เทียบกับอัตราการใชน้ํา ของประเทศไทย แบบทั่วไป
คําตอบ 1 : 70 % ของ อัตราการใชน้ํา

่ า ย
คําตอบ 2 : 80 % ของ อัตราการใชน้ํา


คําตอบ 3 : 90 % ของ อัตราการใชน้ํา


คําตอบ 4 : 100 % ของ อัตราการใชน้ํา

จ ำ

ขอที่ : 2

า้
Return period มักใชในการพิจารณาดาน

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อุตุนิยมวิทยา
คําตอบ 2 : สภาพอากาศ

ิท
คําตอบ 3 : การระบายน้ํา


คําตอบ 4 : การใชน้ํา

ขอที่ : 3

ง ว น

พ.ร.บ. ผังเมือง ใชเปนเกณฑในการประเมินเรื่องใด
คําตอบ 1 : การใชที่ดิน

ขอ
กร
คําตอบ 2 : การเกษตรกรรม


คําตอบ 3 : การระบายน้ํา



คําตอบ 4 : สภาพเศรษฐกิจ

ขอที่ : 4

ภ าว

คา Floor Area Ratio (FAR) ใชเปนเกณฑในการประเมินเรื่องใด
คําตอบ 1 : ความหนาแนนของการใชที่ดินเฉพาะโครงการที่อยูอาศัย
คําตอบ 2 : การเกษตรกรรม
คําตอบ 3 : การระบายน้ํา
คําตอบ 4 : สภาพเศรษฐกิจ

1 of 116
ขอที่ : 5
คา Building Coverage Ratio (BCR) ใชเปนเกณฑในการประเมินเรื่องใด
คําตอบ 1 : ความหนาแนนของการใชที่ดินเฉพาะโครงการที่อยูอาศัย
คําตอบ 2 : การเกษตรกรรม
คําตอบ 3 : การระบายน้ํา
คําตอบ 4 : สภาพเศรษฐกิจ

่ า ย
ขอที่ : 6


คา Open Space Ratio (OCR) ใชเปนเกณฑในการประเมินเรื่องใด


คําตอบ 1 : ความหนาแนนของการใชที่ดินเฉพาะโครงการที่อยูอาศัย

จ ำ
คําตอบ 2 : การเกษตรกรรม


คําตอบ 3 : การระบายน้ํา

า้
คําตอบ 4 : สภาพเศรษฐกิจ

ขอที่ : 7
ิธ์ ห
ิท
การประเมินสภาพการจราจรภายในโครงการ อยูในประเด็นการศึกษาดานใด


คําตอบ 1 : ดานกายภาพ

ว น
คําตอบ 2 : ดานนิเวศวิทยา


คําตอบ 3 : ดานคุณคาการใชประโยชนของมนุษย


คําตอบ 4 : ดานคุณคาตอคุณภาพชีวิตสูง

ขอ
กร
ขอที่ : 8


ขอใดเกี่ยวของกับการรอนสิทธิ์



คําตอบ 1 : เจาของพื้นที่ที่ถูกน้ําทวมจากการสรางอางเก็บน้ํา

าว
คําตอบ 2 : เจาของพื้นที่ที่เปนพื้นที่ที่จะสรางถนน


คําตอบ 3 : เจาของพื้นที่ที่จะมีการวางทอกาซ


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 9
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวเปนของเสียจากกระบวนการผลิตเฉพาะประเภท ไดแก
คําตอบ 1 : เถาที่เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล มวลชีวภาพที่เผาไหมได
คําตอบ 2 : กากตะกอนที่รีดน้ําแลวจากกระบวนการบําบัดน้ําเสีย
2 of 116
คําตอบ 3 : ทรายขัดผิวที่ใชงานแลว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 10
พลังงานจัดอยูในองคประกอบสิ่งแวดลอมประเภทใด
คําตอบ 1 : ทรัพยากรกายภาพ
คําตอบ 2 : ทรัพยากรชีวภาพ
คําตอบ 3 : การใชประโยชนของมนุษย

่ า ย

คําตอบ 4 : คุณภาพชีวิต

ขอที่ : 11

จ ำ ห

สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ จัดอยูในองคประกอบสิ่งแวดลอมประเภทใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทรัพยากรกายภาพ
คําตอบ 2 : ทรัพยากรชีวภาพ
คําตอบ 3 : การใชประโยชนของมนุษย

ิท
คําตอบ 4 : คุณภาพชีวิต

นส

ขอที่ : 12


ในการกําหนดเขตใชที่ดินบริเวณใกลสนามบินไมใหมีการทิ้งขยะหรือถมที่ดวยขยะในบริเวณรัศมี................จากโครงการ
คําตอบ 1 : 2 กม.

อ ส

คําตอบ 2 : 5 กม.

กร
คําตอบ 3 : 8 กม.


คําตอบ 4 : 10 กม.

ขอที่ : 13

าว ศ


ในการประเมินผลกระทบจากการดําเนินการโครงการเหมืองแรรัศมีที่ศึกษาการใชประโยชนที่ดินควรจะอยูในระหวาง....................จากพื้นที่โครงการ


คําตอบ 1 : 1-2 กม.
คําตอบ 2 : 3-5 กม.
คําตอบ 3 : 6-8 กม.
คําตอบ 4 : 9-10 กม.

ขอที่ : 14 3 of 116

โรงพยาบาลแหงหนึ่งขนาด 522 เตียง มีสถิติการครองเตียง 100.22 % ปริมาณการใชน้ํา 405 ลบ.ม./วัน มีความตองการสรางอาคารผูปวยอีก 1 หลัง ขนาด 144 เตียง ดังนั้นปริมาณ
น้ําเสียที่เกิดขึ้นทั้งหมดเทากับ
คําตอบ 1 : 413 ลบ.ม./วัน
คําตอบ 2 : 426 ลบ.ม./วัน
คําตอบ 3 : 533 ลบ.ม./วัน
คําตอบ 4 : 566 ลบ.ม./วัน

่ า ย
ขอที่ : 15


ในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมของโรงพยาบาลที่มีการขยายจํานวนเตียงเพิ่มขึ้น 150 เตียง จากเดิม 400 เตียง โดยระบบบําบัดน้ําเสีย ปจจุบันมี On-site treatment กอน


เขาสูระบบบําบัดน้ําเสียแบบคลองวนเวียน และจากการตรวจวิเคราะหน้ําเสียเขาระบบบําบัดน้ําเสียเทากับ 95 มก./ล. ในการประเมินการรองรับของระบบบําบัดน้ําเสียเมื่อมีการขยาย


จํานวนเตียง ใชคา BOD เพื่อการคํานวณดังนี้


คําตอบ 1 : 95 มก./ล.

า้ ม
คําตอบ 2 : 120 มก./ล.

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 162 มก./ล.
คําตอบ 4 : 250 มก./ล.

ขอที่ : 16

ส ิท

การประเมินอัตราการระบายน้ําฝนของพื้นที่กอสรางอาคารแหงหนึ่ง ใช Rational method โดยมีพื้นที่ 0.056 ตร.กม.ความเขมฝน 100 มม./ชม. สัมประสิทธิ์พื้นที่ = 0.40 ไหลลงสู


รางระบายน้ําสาธารณะรูป U ขนาด 0.4 x 0.4 ม. สามารถรองรับปริมาณน้ําได 1.60 ลบ.ม./วินาที การประเมินบงชี้วารางระบายน้ําสามารถรองรับน้ําทิ้งได

ส ง
คําตอบ 1 : ประมาณ 0.5 เทา


คําตอบ 2 : ประมาณ 1.0 เทา


คําตอบ 3 : ประมาณ 2.0 เทา

กร
คําตอบ 4 : ประมาณ 2.5 เทา


ิ ว
าว
ขอที่ : 17
การประเมินการจัดการมูลฝอยของโครงการสรางที่พักอาศัยขนาด 150 หอง โดยมีผูพักอาศัย 2 คน/หอง ปริมาณมูลฝอยที่คาดวาจะเกิดขึ้น


คําตอบ 1 : 0.3 ลบ.ม./วัน


คําตอบ 2 : 0.6 ลบ.ม./วัน
คําตอบ 3 : 0.75 ลบ.ม./วัน
คําตอบ 4 : 0.90 ลบ.ม./วัน

ขอที่ : 18
การประเมินปริมาณมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลขนาด 600 เตียง อัตราการครองเตียงโดยเฉลี่ย 96 % ปริมาณมูลฝอยที่เกิดโดยประมาณ 4 of 116
คําตอบ 1 : 60 กก./วัน
คําตอบ 2 : 120 กก./วัน
คําตอบ 3 : 150 กก./วัน
คําตอบ 4 : 180 กก./วัน

ขอที่ : 19

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

5 of 116

คําตอบ 1 : ผลกระทบสูง คือทําใหจราจรหนาแนน


คําตอบ 2 : ผลกระทบปานกลาง (คาระหวาง 0.8-1.0)
คําตอบ 3 : ผลกระทบต่ํา (ถึงแมคาที่คํานวณไดจะอยูในเกณฑยอมรับได)
คําตอบ 4 : ไมมีผลกระทบ (คานอยกวาเกณฑยอมรับได)

ขอที่ : 20

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : ผลกระทบสูง
คําตอบ 2 : ผลกระทบปานกลาง


คําตอบ 3 : ผลกระทบต่ํา
คําตอบ 4 :

าว ศ

ไมมีผลกระทบ

ขอที่ : 21

ส ภ
6 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : ไมมีผลกระทบ

ง ว
คําตอบ 2 : ผลกระทบต่ํา


คําตอบ 3 : ผลกระทบปานกลาง


คําตอบ 4 : ผลกระทบสูง

ขอที่ : 22

กร ข

โรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่งมีน้ําเสีย 1000 ลบ.ม./วัน คา BOD 500 มก/ล. จะใชระบบบําบัดบอผึ่งธรรมชาติที่มีคาออกแบบการกําจัดความสกปรก 200 กก. BOD/เฮกเตอร-วัน ซึ่ง

าว ศ

โรงงานกําหนดพื้นที่ไวประมาณ 10 ไร ดังนั้น ตองการเพิ่มอีก
คําตอบ 1 : 2 ไร


คําตอบ 2 : 3 ไร


คําตอบ 3 : 4 ไร
คําตอบ 4 : 5 ไร

ขอที่ : 23

7 of 116
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : 0.2585 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

า้
คําตอบ 2 : 2.585 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 25.85 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
คําตอบ 4 : 258.5 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

ขอที่ : 24

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
0.897 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
8.97 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
89.7 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
คําตอบ 4 : 897. ลูกบาศกเมตรตอวินาที

ขอที่ : 25 8 of 116
่ า ย
คําตอบ 1 : 0.0395 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

หน

คําตอบ 2 : 0.395 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
คําตอบ 3 : 3.95 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

มจ
า้
คําตอบ 4 : 39.5 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

ขอที่ : 26
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมถูกตอง สําหรับหลักการในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม


คําตอบ 1 : ผูศึกษาเขาหาชุมชนมากกวา ใหชุมชนเขาหาผูศึกษา

ว น
คําตอบ 2 : ใหความสําคัญมากเปนพิเศษกับผูไดรับผลกระทบจากโครงการ


คําตอบ 3 : เปดโอกาสใหมีการใชดุลยพินิจในดานเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 27


ขอใดถูกตอง สําหรับการประเมินสภาพสังคมอยางเรงดวน



คําตอบ 1 : เพื่อหาขอมูลลักษณะเดนของชุมชน ในดานความคาดหวังของชุมชนเกี่ยวกับการพัฒนา

าว
คําตอบ 2 : เพื่อหาขอมูลลักษณะของโบราณสถานในพื้นที่


คําตอบ 3 : เพื่อเก็บขอมูลประสบการณการทํา EIA ในพื้นที่


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 28
ขอใดไมใชการคาดการณจํานวนประชากร
คําตอบ 1 : วิธีโตแบบราชอาณาจักร
คําตอบ 2 : วิธีโตแบบเลขคณิต
9 of 116
คําตอบ 3 : วิธีโตแบบเรขาคณิต
ขอ ข และ ค ถูกตอง
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 29
ขอใดตอไปนี้ไมใชเทคนิควิธีการการมีสวนรวมของประชาชน
คําตอบ 1 : การสัมภาษณรายบุคคล
คําตอบ 2 : การประชุมระดับตัวแทนของกลุมบุคคลที่เกี่ยวของหรือมีสวนไดเสีย
คําตอบ 3 : การอภิปรายสาธารณะ

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 30

จ ำ ห

ขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมควรคํานึงถึง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การแยกแยะกลุมคนที่จะไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม
คําตอบ 2 : ชนิดและระดับของผลกระทบโดยมุงเนนถึงผลกระทบทางดานลบเทานั้น
คําตอบ 3 : เพิ่มกิจกรรมและมาตราการที่สงผลกระทบทางบวกตอชุมชน

ิท
คําตอบ 4 : ขอ ก และ ค ถูกตอง

นส

ขอที่ : 31


ประเด็นใดในหัวขอ (หรือประเภท) คุณคาตอคุณภาพชีวิต ที่ควรตองทําการศึกษา
คําตอบ 1 :

อ ส
เศรษฐกิจสังคม สาธารณสุข สุนทรียภาพ ประวัติศาสตร


คําตอบ 2 : เศรษฐศาสตร สาธารณสุข สันทนาการ ประวัติศาสตร

กร
คําตอบ 3 : เศรษฐกิจสังคม สาธารณสุข สุนทรียภาพ สิ่งมีชีวิตหายาก


คําตอบ 4 : อากาศ อาชีวอนามัย สันทนาการ สาธารณสุข

ขอที่ : 32

าว ศ


ขอมูลโครงสรางประชากรประกอบไปดวยขอมูลตอไปนี้ ขอใดผิด


คําตอบ 1 : อัตราการเกิด อัตราการตาย เพศ อายุ
คําตอบ 2 : อัตราการเพิ่ม/ลด จํานวน เพศ อายุ การกระจายตัว
คําตอบ 3 : อัตราการรอด อัตราการเพิ่ม/ลด จํานวน เพศ อายุ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 33 10 of 116
ถาผูประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมพบวาโครงการไมกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพชีวิต แตประชาชนในพื้นที่โครงการคิดวาจะเกิดผลกระทบ ผูประเมินควรจะ
คําตอบ 1 : ปรับรายงานใหสอดคลองกับความคิดเห็นของประชาชน
คําตอบ 2 : ประเมินความรูสึกเสี่ยงของประชาชน และหาแนวเขตการสําเหนียกถึงความเสี่ยง
คําตอบ 3 : เก็บขอมูลเพื่อยืนยันผลการศึกษา และชี้แจงใหประชาชนรับทราบ
คําตอบ 4 : รวมกับเจาของโครงการเพื่อจัดการประชุมชี้แจงกับชุมชน

ขอที่ : 34

่ า ย
ตัวแปร “ศักยภาพของประชากร” มีตัวชี้วัดดังนี้ ยกเวน


คําตอบ 1 : การศึกษา


คําตอบ 2 : การฝกอบรม

จ ำ
คําตอบ 3 : การรับขอมูลขาวสาร


คําตอบ 4 : ประวัติชุมชน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 35
ตัวแปร “ความสามารถในการสรางรายได” มีตัวชี้วัดดังนี้ ยกเวน

ิท
คําตอบ 1 : เงินออม


คําตอบ 2 : รายไดตอครัวเรือน

ว น
คําตอบ 3 : อาชีพหลัก


คําตอบ 4 : อาชีพเสริม

อ ส

ขอที่ : 36

กร
ตัวชี้วัดของชุมชน เชน สิ่งปลูกสราง ทรัพยสิน พาหนะ การอุปโภคบริโภค ที่ดินที่อยูอาศัย จะบงชี้


คําตอบ 1 : ความเจริญเติบโตของชุมชน



คําตอบ 2 : การผลิต การจางงาน

าว
คําตอบ 3 : สถานภาพทางเศรษฐกิจของประชาชน


คําตอบ 4 : การใชประโยชนทิ่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ

ขอที่ : 37

การสํารวจดานเศรษฐกิจ-สังคม ของโครงการประเภทใดตอไปนี้ที่ตองดําเนินการแบบสัมโน(census)
คําตอบ 1 : โครงการอุตสาหกรรมในรัศมี 5 กิโลเมตรจากโครงการ
คําตอบ 2 : โครงการทาอากาศยานนานาชาติ
คําตอบ 3 : พื้นที่น้ําทวมของโครงการเขื่อน/อางเก็บน้ํา
11 of 116
คําตอบ 4 : พื้นที่ตามแนวถนน 50 เมตรของโครงการทางหลวง
ขอที่ : 38
ขอในเปนแนวคิดใหมในการมีสวนรวมของประชาชน
คําตอบ 1 : ใหคาชดเชยประชาชนเจาของพื้นที่อยางเต็มที่
คําตอบ 2 : เจาของโครงการควรเลือกพื้นที่ตั้งโครงการกอนแจงใหประชาชนทราบเพราะอาจเกิดการโกงราคาของที่ดิน
คําตอบ 3 : ลดการตอตานของชุมชนโดยการสรางแนวรวมของผูสนับสนุนของโครงการเพื่อลดกระแสตอตานของชุมชน


คําตอบ 4 : เพิ่มขีดความสามารถของประชาชนในการเขามามีบทบาทโดยปรับเปลี่ยนเปนผูรวมงาน

น่ า

ขอที่ : 39


ขอใดเปนยุทธวิธีที่ใชในการมีสวนรวมของประชาชน ในโครงการพัฒนาตาง ๆ
คําตอบ 1 : นําประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการวางแผนพัฒนาโครงการตั้งแตตน

มจ
า้
คําตอบ 2 : ไมนําเสนอผลกระทบดานลบของโครงการใหประชาชนทราบ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : นําเสนอประชาชนเฉพาะขอมูลรายละเอียดที่ประชาชนจะไดประโยชน
คําตอบ 4 : เจาของโครงการเปนผูตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีที่ดีที่สุดโดยผูเชี่ยวชาญ

ขอที่ : 40

ส ิท
ว น
ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมโรงงานอุตสาหกรรมในประเด็นดานสุนทรียภาพ โดยกําหนดวา จะตองมีพื้นที่สีเขียว ประมาณ................ของพื้นที่โรงงาน


คําตอบ 1 : 5%


คําตอบ 2 : 10 %


คําตอบ 3 :


15 %

กร
คําตอบ 4 : 20 %

ขอที่ : 41


ิ ว
าว
ความเปนพิษของสารประเภทผลเฉียบพลัน หมายถึง


คําตอบ 1 : Threshold limit value


คําตอบ 2 : Lethal dose fifty
คําตอบ 3 : Toxicity level
คําตอบ 4 : Lethal value

ขอที่ : 42
ความเปนพิษระยะยาว หมายถึง
12 of 116
คําตอบ 1 : Lethal value
คําตอบ 2 : Toxicity level
คําตอบ 3 : Lethal dose fifty
คําตอบ 4 : Threshold limit value

ขอที่ : 43
เทคนิคการจําแนกอันตรายที่ใชกัน ไดแก
คําตอบ 1 : Check list

่ า ย

คําตอบ 2 : HAZOP


คําตอบ 3 : Dow Fire Explosion Index

จ ำ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
44
รูปแบบการมีสวนรวม ไดแก
คําตอบ 1 : จดหมายขาว

ิท
คําตอบ 2 : การจัดประชุมสัมมนา


คําตอบ 3 : การรวมปรึกษาหารือกับชุมชน

ว น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ง

ขอที่ : 45


ประชาพิจารณ (Public Hearing) เปนสวนหนึ่งของ

กร
คําตอบ 1 : Public participation


คําตอบ 2 : Public meeting



คําตอบ 3 : Public survey

าว
คําตอบ 4 : Public relation

ขอที่ : 46

ส ภ
Schistosomiasis รูจักกันในอีกชื่อหนึ่งคือ
คําตอบ 1 : พยาธิใบไมในเลือด
คําตอบ 2 : พยาธิใบไมในตับ
คําตอบ 3 : พยาธิตัวตืด
คําตอบ 4 : พยาธิปากขอ
13 of 116
ขอที่ : 47
ในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการพัฒนาแหลงน้ําจะมีการสํารวจปลา โดยเฉพาะปลาที่มีเกล็ด วัตถุประสงคเพื่อหาตัวออนของพยาธิชนิดใด
คําตอบ 1 : พยาธิใบไมในเลือด
คําตอบ 2 : พยาธิใบไมในตับ
คําตอบ 3 : พยาธิตัวตืด
คําตอบ 4 : พยาธิปากขอ

่ า ย

ขอที่ : 48


Schistosomiasis สามารถทําใหเกิดโรคกับคนโดย

จ ำ
คําตอบ 1 : รับประทานปลาดิบ


คําตอบ 2 : รับประทานหอยสด

า้
คําตอบ 3 : ชอนไชเขาทางผิวหนัง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : โรคที่มากับน้ํา

ิท
ขอที่ : 49


โบราณคดีจัดอยูในองคประกอบสิ่งแวดลอมประเภทใด

ว น
คําตอบ 1 : ทรัพยากรกายภาพ


คําตอบ 2 : ทรัพยากรชีวภาพ


คําตอบ 3 : การใชประโยชนของมนุษย


คําตอบ 4 : คุณภาพชีวิต

กร ข

ขอที่ : 50



ดัชนี ชี้วัดคุณภาพอนามัยดานสุขอนามัยทางสิ่งแวดลอม ไดแก

าว
คําตอบ 1 : ความหายนะของธรรมชาติ


คําตอบ 2 : ความลมเหลวของระบบเทคโนโลยีขนาดใหญ


คําตอบ 3 : อันตรายจากผลกระทบไมไดเกิดทันทีทันใด และมีระดับต่ํา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 51
ดัชนีชี้วัดสุขภาพอนามัยชุมชน ไดแก
คําตอบ 1 : การรบกวนทางสังคมและการเมือง
14 of 116
คําตอบ 2 : โรคติดตอและโรคไมติดตอทั่วไป
คําตอบ 3 : ความลมเหลวของระบบเทคโนโลยีขนาดเล็กและแยกสวน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 52
ดัชนีชี้วัดสุขภาพอนามัยทางกาย
คําตอบ 1 : ดัชนีชี้วัดสุขภาพอนามัยทางกาย
คําตอบ 2 : อันตรายจากผลกระทบที่ไมไดเกิดขึ้นในทันทีทันใด และมีระดับต่ํา

่ า ย

คําตอบ 3 : ความหมายทางธรรมชาติ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ :

า้
53
ดัชนีชี้วัดสุขภาพอนามัยทางเศรษฐกิจ ไดแก

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : โรคติดตอและโรคไมติดตอทั่วไป
คําตอบ 2 : ความหายนะทางธรรมชาติ

ิท
คําตอบ 3 : การรบกวนทางสังคมและการเมือง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ง ว น

54


ดัชนีชี้วัดทางสุขภาพอนามัย ประกอบดวย


คําตอบ 1 : สุขภาพอนามัยทางกายภาพ และสุขภาพอนามัยชุมชน

กร
คําตอบ 2 : สุขภาพอนามัยกายภาพ สุขภาพอนามัยชุมชน สุขอนามัยสิ่งแวดลอม


คําตอบ 3 : สุขภาพอนามัยกายภาพ สุขภาพอนามัยชุมชน สุขอนามัยสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย-เศรษฐกิจ



คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 55

ภ าว

ขอมูลสุขภาพอนามัยควรเก็บยอนหลังจากระยะกอนเริ่มโครงการอยางนอย
คําตอบ 1 : 2 ป
คําตอบ 2 : 3 ป
คําตอบ 3 : 4 ป
คําตอบ 4 : 5 ป

15 of 116
ขอที่ : 56
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (SIA) มีความสัมพันธอยางไรกับการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : SIA เปนสวนหนึ่งของ EIA เปนการศึกษาผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากโครงการตอคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
คําตอบ 2 : การศึกษาผลกระทบทางสังคมขอมูลที่สาธารณชนตองรับทราบจากโครงการเพื่อเปด โอกาสใหมีการพิจารณาจากมุมมองประชาชน
คําตอบ 3 : วิธีการประชาสัมพันธเพื่อสรางความเขาใจตอโครงการในกลุมสาธารณชนและชวยลดปญหาความขัดแยง
คําตอบ 4 : สํารวจกระบวนการตัดสินใจ และแหลงขอมูลประกอบการตัดสินใจ

่ า ย
ขอที่ : 57


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของสังคม (SIA) นําผลการศึกษาไปทําอะไร


คําตอบ 1 : เพื่อใหผูมีอํานาจใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจดําเนินโครงการ

จ ำ
คําตอบ 2 : เพื่อลดปญหา หรือผลกระทบ


คําตอบ 3 : เพื่อเปรียบเทียบผลที่ไดจากโครงการ

า้
คําตอบ 4 : เพื่อใหครบวงรการดําเนินโครงการเทานั้น

ขอที่ : 58
ิธ์ ห
ิท
การประเมินผลกระทบทางสังคมจะมีการประเมินกี่ขั้นตอน อะไรบาง


คําตอบ 1 : 3 ขั้นตอน คือ ประเมินกอนการดําเนินโครงการ ระหวางการดําเนินโครงการ และเมื่อสิ้นสุดการดําเนินโครงการ

ว น
คําตอบ 2 : 5 ขั้นตอน คือ ศึกษาการดําเนินโครงการ สํารวจ ออกแบบ กอสราง ประเมิน


คําตอบ 3 : 3 ขั้นตอน คือ สํารวจชุมชนประเมินระหวางดําเนินโครงการและกอสราง


คําตอบ 4 : 5 ขั้น สํารวจสภาพ ศึกษาความคิดเห็นตอการดําเนินโครงการ การตัดสินใจ ความตองการและกอสราง

ขอ
กร
ขอที่ : 59


แนวทางการศึกษาผลกระทบทางสังคมขอมูลที่สาธารณชนตองรับทราบจากโครงการเพื่อเปดโอกาสใหมีการพิจารณาจากมุมมองประชาชนคือ



คําตอบ 1 : ขอดี ขอเสีย และแนวางแกของโครงการ

าว
คําตอบ 2 : คาเวนคืนที่ดิน


คําตอบ 3 : สรางอะไร ใครดําเนินการ


คําตอบ 4 : จะดําเนินการชวงไหน ใชเงินจากแหลงไหน

ขอที่ : 60
มวลชนสัมพันธคืออะไร
คําตอบ 1 : วิธีการประชาสัมพันธเพื่อสรางความเขาใจตอโครงการในกลุมสาธารณชนและชวยลดปญหาความขัดแยงระยะยาว
คําตอบ 2 : การรวมกลุมกันของคนหมูมากและแกนนํา NGO เพื่อคัดคานโครงการ
16 of 116
คําตอบ 3 : การเปดเผยขอมูลสูสาธารณชนในชวงการดําเนินโครงการ
คําตอบ 4 : การรวมกลุมของผูนํา ประชาชนที่ไดรับผลกระทบของโครงการ

ขอที่ : 61
ขอใดไมใชขอมูลทุติยภูมิ
คําตอบ 1 : ขอมูบ จปฐ.
คําตอบ 2 : กชช 2 ค
คําตอบ 3 : รายงานประจําป

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอมูลจากการสัมภาษณ

ขอที่ : 62

จ ำ ห

การสํารวจทางสังคม (Social Survey) ทําชวงใดของโครงการ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กอนกอสรางโครงการ
คําตอบ 2 : ระหวางดําเนินโครงการ
คําตอบ 3 : หลังการดําเนินโครงการ

ิท
คําตอบ 4 : ทุกชวงของการดําเนินงานโครงการ

นส

ขอที่ : 63


การสํารวจทางสังคม (Social Survey) ทําการสํารวจดานใดบาง
คําตอบ 1 :

อ ส
สํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคมทางประชากร และกลุมเศรษฐกิจ


คําตอบ 2 : สํารวจทัศนคติ ความคิดเห็นตอโครงการ

กร
คําตอบ 3 : สํารวจกระบวนการตัดสินใจ และแหลงขอมูลประกอบการตัดสินใจ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 64

าว ศ


การสํารวจทางสังคม / Social Survey ตองใชกลุมตัวอยางนอยกี่เปอรเซ็นต


คําตอบ 1 : 15%
คําตอบ 2 : 20%
คําตอบ 3 : 25%
คําตอบ 4 : 30%

ขอที่ : 65 17 of 116
ปญหาและขอจํากัดการรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณคืออะไร
คําตอบ 1 : สิ้นเปลืองงบประมาณ และเวลา
คําตอบ 2 : มีปญหาในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ
คําตอบ 3 : ไมสามารถรวบรวมขอมูลปญหาที่แฝงอยูในชุมชนได
คําตอบ 4 : เปนวิธีการศึกษาสํารวจที่ดีอยูแลว

ขอที่ : 66

่ า ย
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม ผูประเมินควรยึดหลักการใดเปนสําคัญ


คําตอบ 1 : ผูไดรับผลกระทบยอมมีสิทธิที่จะไดรับทราบขอมูลที่เกี่ยวของ เพื่อสามารถตัดสินใจและมีโอกาสพิจารณาทางเลือกที่เจาของโครงการเสนอ


คําตอบ 2 : การเปดเผยขอมูลของโครงการตั้งแตแรกเริ่มโครงการเปนสิ่งสําคัญ

จ ำ
คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบผลที่ไดจากโครงการตองคุมคาที่สุด


คําตอบ 4 : การหาทางลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการ สําคัญที่สุด

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 67
Public hearing คือลักษณะของขอใด

ิท
คําตอบ 1 : การทําขอตกลงสาธารณะ


คําตอบ 2 : กระบวนการตรวจสอบของประชาชน

ว น
คําตอบ 3 : กระบวนการทางรับฟงสาธารณะ


คําตอบ 4 : การแกไขความขัดแยงโดยสันติวิธี

อ ส

ขอที่ : 68

กร
ขอใดคือลักษณะของ Public Information


คําตอบ 1 : การใหขอมูลทั้งหมดของโครงการสูสาธารณะ



คําตอบ 2 : การใหขอมูลทั้งหมดของโครงการสูสาธารณะ

าว
คําตอบ 3 : กระบวนการทางรับฟงสาธารณะ


คําตอบ 4 : การแกไขความขัดแยงโดยสันติวิธี

ขอที่ : 69

ขอใดคือลักษณะ Public Consultation
คําตอบ 1 : การปรึกษาหารือรวมกับประชาชน
คําตอบ 2 : การทําขอตกลงสาธารณะ
คําตอบ 3 : กระบวนการตรวจสอบของประชาชน
18 of 116
คําตอบ 4 : กระบวนการทางรับฟงสาธารณะ
ขอที่ : 70
Community base EIA เปนการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมใหความสําคัญกับชุมชน โครงการใดตองใหความสําคัญกับชุมชนที่สุด
คําตอบ 1 : โครงการกอสรางโรงแรม
คําตอบ 2 : โครงการกอสรางโรงพยาบาล
คําตอบ 3 : โครงการกอสรางเขื่อน


คําตอบ 4 : โครงการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสีย

น่ า

ขอที่ : 71


การมีสวนรวมของประชาชนมีความจําเปนกับการทํา EIA อยางไร
คําตอบ 1 : เปนการเปดโอกาสใหทุกคนรับทราบขอมูล

มจ
า้
คําตอบ 2 : เปนการเตรียมความพรอมทางสังคม ใหเขามามีสวนรวมอยางแทจริง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การรักษาสิ่งแวดลอมตัดผานกระบวนการรวมตัดสินใจ
คําตอบ 4 : การจัดการสิ่งแวดลอมตองทําดําเนินการตอไดอยางยั่งยืน

ขอที่ : 72

ส ิท
ว น
ประชาชนมีสวนรวมในการเก็บขอมูลไดลักษณะใด


คําตอบ 1 : การระบุกลุมเปาหมายหรือชุมชนที่ไดรับผลกระทบ


คําตอบ 2 : การกําหนดวิธีการดําเนินการและสุมตัวอยาง


คําตอบ 3 : การกําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข
ขอที่ : 73


ิ ว
าว
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมไดกําหนดไว 4 หมวด หมวดใดเกี่ยวของโดยตรงกับการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม


คําตอบ 1 : หมวดกายภาพ


คําตอบ 2 : หมวดชีวภาพ
คําตอบ 3 : หมวดการใชประโยชนของมนุษย
คําตอบ 4 : หมวดคุณภาพชีวิต

ขอที่ : 74
Project Cycle คืออะไร
19 of 116
คําตอบ 1 : การประเมินผลกระทบ 3 ขั้นตอน กอน ระหวาง และเมื่อสิ้นสุดโครงการ
คําตอบ 2 : การประเมินผลกระทบ 5 ขั้นตอน คือ ศึกษา สํารวจ ออกแบบ กอสราง และประเมินผล
คําตอบ 3 : การประเมิน 3 ขั้นตอน คือ ศึกษา ออกแบบ กอสราง
คําตอบ 4 : การประเมิน 5 ขั้นตอน คือ ศึกษา กอสราง ระหวางประเมินผลทันที ประเมินผลภายหลัง

ขอที่ : 75
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม สิ่งแรกที่ผูศึกษาตองกระทํา คืออะไร
คําตอบ 1 : หาความรูเกี่ยวกับโครงการใหมากที่สุดเพื่อสามารถตอบคําถามประชาชนที่อยูในขายผูไดรับผลกระทบได

่ า ย

คําตอบ 2 : พื้นที่ดําเนินการ และงบประมาณ ในการดําเนินโครงการกําหนด


คําตอบ 3 : ปญหาของโครงการ และความตองการพัฒนาของรัฐบาล

จ ำ
คําตอบ 4 : นโยบายการพัฒนาของรัฐเกี่ยวกับโครงการ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
76
ปญหาและขอจํากัดการรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณคืออะไร
คําตอบ 1 : สิ้นเปลืองงบประมาณ และเวลา

ิท
คําตอบ 2 : มีปญหาในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ


คําตอบ 3 : ไมสามารถรวบรวมขอมูลปญหาที่แฝงอยูในชุมชนได

ว น
คําตอบ 4 : เปนวิธีการศึกษาสํารวจที่ดีอยูแลว

ส ง

ขอที่ : 77


ขอใดเปนการเกิดการปนเปอนในชั้นหินอุมน้ํา

กร
คําตอบ 1 : Dissolved in soil Moisture


คําตอบ 2 : Floating on top of the capillary fringe



คําตอบ 3 : Adsorbed onto the soil matrix

าว
คําตอบ 4 : Adsorbed onto the aquifer materials

ขอที่ : 78

ส ภ
ขอใดไมจําเปนตอการเก็บขอมูลการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 1 : ตองมีแผนผังแสดงตําแหนงทอ ความลาดชันและความสูง ที่แสดงทิศทางการไหล
คําตอบ 2 : ตองมีแผนผังแสดงจุดเก็บตัวอยางน้ําเสีย
คําตอบ 3 : ตองมีแผนผังของโรงงานทั้งหมด ตั้งแตขอบรั้วโรงงาน
คําตอบ 4 : ตองมีแผนผังของแนวทอระบายน้ําเสียทั้งหมด
20 of 116
ขอที่ : 79
ขอใดถูกตอง สําหรับการเลือกที่ตั้งโรงปรับปรุงคุณภาพน้ํารวม
คําตอบ 1 : เปนพื้นที่น้ําทวมถึงก็ได ถามีการสรางกําแพงกันน้ํา ที่ตรวจสอบระดับน้ําทวมสูงสุดในรอบ 100 ป แลว
คําตอบ 2 : ตองสรางกําแพงกันน้ําทวมเสมอ ไมวาจะอยูบริเวณใด
คําตอบ 3 : ควรมีระดับพื้นที่ต่ํากวาพื้นที่ชุมชน
คําตอบ 4 : ขอ ก และ ค ถูกตอง

่ า ย

ขอที่ : 80


ขอใดถูกตองสําหรับการฆาเชื้อโรคในน้ําทิ้งที่ปลอยออกจากโรงพยาบาล

จ ำ
คําตอบ 1 : ตองทําลายจุลินทรียทุกประเภท


คําตอบ 2 : มักใชทอเหล็กกลาเทานั้น เมื่อใชคลอรีนในรูปสารละลายในการฆาเชื้อโรค

า้
คําตอบ 3 : การใชกาซคลอรีน ปลอดภัยกวาการใชสารประกอบคลอรีน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ิท
ขอที่ : 81


ขอใดเปนความเร็วการไหลที่เหมาะสมของการใชถังดักกรวดทรายแบบรางสี่เหลี่ยมผืนผา

ว น
คําตอบ 1 : 0.03 เมตร/วินาที


คําตอบ 2 : 0.3 เมตร/วินาที


คําตอบ 3 : 3 เมตร/วินาที


คําตอบ 4 : 30 เมตร/วินาที

กร ข

ขอที่ : 82



บอปรับเสถียรแบงเปน 4 ประเภท คือ

าว
คําตอบ 1 : บอแอนแอโรบิก บอเอเอส บอแฟกคัลเททีฟ บอบม


คําตอบ 2 : บอเอเอส บึงประดิษฐ บอแฟกคัลเททีฟ บอบม


คําตอบ 3 : บอเอเอส บอแอนแอโรบิก บอแอโรบิก บออีคิว
คําตอบ 4 : บอแอนแอโรบิก บอแอโรบิก บอแฟกคัลเททีฟ บอบม

ขอที่ : 83
ขอใดไมใชการบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพ
คําตอบ 1 : การใชจุลินทรียยอยสลายคารบอน โดยการใชอากาศ
21 of 116
คําตอบ 2 : การใชจุลินทรียยอยสลายคารบอน โดยการใชอากาศ
คําตอบ 3 : การใชตะแกรงกรองเศษใบไม
คําตอบ 4 : การนําตะกอนสูบกลับหมุนวนมาใชใหมในถังเติมอากาศ

ขอที่ : 84
แนวทางการแกไขปญหาฝุนละอองของโครงการอูตอเรือ ขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : ติดตั้งระบบดักฝุนแบบไซโคลน
คําตอบ 2 : กอสรางอาคารปกคลุมถาวรสําหรับอาคารพนสี

่ า ย

คําตอบ 3 : ปลูกตนไมกําบังทิศทางลมตลอดแนวรั้ว


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

จ ำ

ขอที่ :

า้
85
ขอมูลที่ควรพิจารณาในการประเมินมาตรการปองกันอัคคีภัยในตัวอาคาร ยกเวน

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระบบระบายความรอน
คําตอบ 2 : ตําแหนงที่ตั้งตูอุปกรณดับเพลิง

ิท
คําตอบ 3 : บันไดหนีไฟ


คําตอบ 4 : ขอบังคับตามกฎหมาย

ขอที่ :

ง ว น

86


การลดผลกระทบดานเสียงนั้นวิธีการที่ดีที่สุดคือ


คําตอบ 1 : ลดที่แหลงกําเนิดเสียง

กร
คําตอบ 2 : จัดการกับตัวกลางการเคลื่อนที่ของเสียง


คําตอบ 3 : ใสอุปกรณปองกันที่ผูรับเสียง



คําตอบ 4 : ถูกมากกวาหนึ่งขอ

ขอที่ : 87

ภ าว

ผลกระทบของการตัดถนนเขาสูปาสงวนขอใดที่ไมสามารถปองกันได
คําตอบ 1 : สัตวปาถูกรถชน
คําตอบ 2 : สัตวมีอาหารนอยลง
คําตอบ 3 : เกิดสิ่งกอสรางอื่นๆตามมา
คําตอบ 4 : ทําใหสัตวปาอพยพหนี

22 of 116
ขอที่ : 88
ในการพิจารณากรณีเกิดเหตุเพลิงไหมควรใหครอบคลุมประเด็นตางๆตอไปนี้ ขอใดผิด
คําตอบ 1 : ระบบการเคลื่อนยายผูปวย ระบบการขอความชวยเหลือ
คําตอบ 2 : ความสามารถและความเพียงพอของอุปกรณปองกัน จุดรวบรวมพล
คําตอบ 3 : ระบบระบายควัน แผนผังแสดงตําแหนงติดตั้งอุปกรณ
คําตอบ 4 : ความสอดคลองกับขอกําหนดกฎหมาย แผนปฏิบัติการฉุกเฉิน

่ า ย
ขอที่ : 89


ขอใดเปนอุปกรณที่ใชดักฝุนที่มีประสิทธิภาพสูง


คําตอบ 1 : EP

จ ำ
คําตอบ 2 : Bag filter


คําตอบ 3 : multi-cyclone

า้
คําตอบ 4 : after burner

ขอที่ : 90
ิธ์ ห
ิท
ในการลดผลกระทบอันเกิดจากอนุภาคมลสารในกาซที่เกิดจากกระบวนการสันดาปที่อุณหภูมิสูงและมีปริมาตรของกาซสูง ควรมีการติดตั้งอุปกรณตอไปนี้


คําตอบ 1 : Bag filter house

ว น
คําตอบ 2 : Electrostatic precipitator


คําตอบ 3 : Wet scrubber


คําตอบ 4 : Catalytic converter

ขอ
กร
ขอที่ : 91


บันไดปลาโจน เปนมาตรการเพื่อใชในการลดผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ



คําตอบ 1 : การวายทวนน้ําของปลา

าว
คําตอบ 2 : การวางไขของปลา


คําตอบ 3 : การลดปริมาณอาหารของปลา


คําตอบ 4 : การลดอัตราการไหลของน้ําที่ปลอยจากเขื่อน

ขอที่ : 92
ขอใดไมสามารถลดผลกระทบจากการผลิตพลังงานไฟฟาจากถานหินอันเนื่องมาจากกาซซัลเฟอร ไดออกไซด
คําตอบ 1 : เลือกใชถานหินที่มี S ต่ํา
คําตอบ 2 : ลดกาซซัลเฟอรไดออกไซดดวย Flue gas desulfurization unit
23 of 116
คําตอบ 3 : ติดตั้งเครื่อง Electrostatic precipitator
คําตอบ 4 : ลดกําลังการผลิตไฟฟาในชวงที่มีสภาพอากาศแบบ inversion

ขอที่ : 93
การปองกันผลกระทบจากเสียงทําไดโดย
คําตอบ 1 : การลดระดับเสียงจากแหลงกําเนิด
คําตอบ 2 : การควบคุมทางเดินของเสียง
คําตอบ 3 : การควบคุมที่จุดที่ไดรับผลกระทบ

่ า ย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 94

จ ำ ห

ขอใดไมใชวิธีการลดผลกระทบทางน้ํา ที่เกิดจากโรงไฟฟา

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การใชระบบการกรอง กอนนําน้ําเขาสูระบบหลอเย็น
คําตอบ 2 : การมีบอพักน้ํากอนการปลอยออกสูภายนอก
คําตอบ 3 : การเติมคลอรีนลงไปในน้ําที่สูบเขามาในระบบของโรงไฟฟา

ิท
คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก. และ ค.

นส

ขอที่ : 95


การควบคุมมลพิษของอากาศที่ปลอยออกจากเตาเผาขยะ ทําไดโดยวิธีการใด
คําตอบ 1 : การติดตั้งหองเผาทุติยภูมิ

อ ส

คําตอบ 2 : การมีเครื่องดักจับฝุน

กร
คําตอบ 3 : การควบคุมอุหณภูมิและสัดสวนของอากาศในการเผาไหมใหเหมาะสม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 96

าว ศ


หลักเกณฑการติดตั้งเครื่องดับเพลิงมือถือ มีหลักการจัดวางเพื่อใหครอบคลุมพื้นที่อยางไร


คําตอบ 1 : 1 เครื่องตอพื้นที่ 1000 ตารางเมตร
คําตอบ 2 : แตละเครื่องตองวางหางกันไมเกิน 45 เมตร
คําตอบ 3 : สวนที่สูงสุดของเครื่องดับเพลิงมือถือสูงไมเกิน 2 เมตร จากพื้น
คําตอบ 4 : ถูกทั้ง ก. และ ข.

ขอที่ : 97 24 of 116
ในการออกแบบที่จอดรถของอาคารนั้น ขนาดตามมาตรฐานคือ
คําตอบ 1 : กวาง 2.50 เมตร ยาว 5 เมตร
คําตอบ 2 : กวาง 2.50 เมตร ยาว 6 เมตร
คําตอบ 3 : กวาง 3.00 เมตร ยาว 5 เมตร
คําตอบ 4 : กวาง 3.00 เมตร ยาว 6 เมตร

ขอที่ : 98

่ า ย
ในการประเมินผลกระทบดานพื้นที่สีเขียวของโรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่ง ซึ่งมีพื้นที่ 1,600 ไร พื้นที่ปลูกตนไมบริเวณตาง ๆ รวม 200 ไร โดยกําหนดพื้นที่สีเขียวไมต่ํากวา 10%


ประเมินผลกระทบไดวา


คําตอบ 1 : พื้นที่สีเขียวยังไมเพียงพอ


คําตอบ 2 : พื้นที่สีเขียวเพียงพอแลว

มจ
คําตอบ 3 : พื้นที่สีเขียวสูงกวาเกณฑที่กําหนด

า้
คําตอบ 4 : ขอ ข. และ ค. ถูกตอง

ิธ์ ห
ขอที่ : 99

ิท
การตรวจวัดคุณภาพน้ําทางกายภาพ คืออะไร


คําตอบ 1 : การตรวจสอบสารโลหะหนัก


คําตอบ 2 : การตรวจสอบอุณหภูมิน้ํา
คําตอบ 3 : การตรวจสอบปริมาณโคลิฟอรม ในน้ํา

ง ว

คําตอบ 4 : การตรวจสอบปริมาณแพลงคตอน

ขอ
กร
ขอที่ : 100
พารามิเตอรใดตอไปนี้ สามารถตรวจวัดไดแบบในที่ (สามารถรูคาไดทันที)
คําตอบ 1 :


ิ ว
คาออกซิเจนละลาย

าว
คําตอบ 2 : คาดัชนีปริมาตรตะกอน


คําตอบ 3 : คาบีโอดี


คําตอบ 4 : คาสารแขวนลอยทั้งหมด

ขอที่ : 101
พารามิเตอรใดตอไปนี้ สามารถตรวจวัดไดภายใน 30 นาที
คําตอบ 1 : คา BOD3
คําตอบ 2 : คา SV30
คําตอบ 3 : คา COD 25 of 116

คําตอบ 4 : คา TKN ที่ 30 องศาเซนเซียส


ขอที่ : 102
ขอใดไมจําเปนในแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมของโครงการดานการพัฒนาแหลงน้ํา
คําตอบ 1 : จุดเก็บตัวอยาง
คําตอบ 2 : ความถี่ของการเก็บตัวอยาง
คําตอบ 3 : ผูรับผิดชอบในการเก็บตัวอยาง


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

น่ า

ขอที่ : 103


ขอใดเปนปจจัยจากการเก็บตัวอยาง ที่มีผลทําใหการวิเคราะหในหองปฏิบัติการมีความถูกตองและแมนยํา
คําตอบ 1 : การเลือกใชอุปกรณการเก็บตัวอยางที่เหมาะสม

มจ
า้
คําตอบ 2 : การเลือกวิธีวิเคราะหที่สูงกวาระดับการปนเปอนเสมอ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ ก และ ข
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 104

ส ิท
ว น
ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : ในการเก็บตัวอยางน้ําในอางเก็บน้ําตามธรรมชาติ ควรหางจากฝงประมาณ 20 เมตร


คําตอบ 2 : กรณีเก็บ ตัวอยางจาก point source ควรเก็บเหนือจุด point source 5 จุด และ ใตจุด อีก 1 จุด


คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ ก และ ข
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

กร ข
ขอที่ : 105


ิ ว
าว
ขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : การรักษาตัวอยางสัตวน้ํา ตองเก็บที่ อุณหภูมิ -18 องศาเซนเซียส


คําตอบ 2 : การแชเย็นตะกอนดินที่ อุณหภูมิ 4 องศาเซนเซียส วิธีนี้ สามารถเก็บรักษาไดไมเกิน 3 เดือน
คําตอบ 3 : การแชเย็นตะกอนดินที่ อุณหภูมิ 4 องศาเซนเซียส วิธีนี้ สามารถเก็บรักษาไดไมเกิน 28 เดือน
คําตอบ 4 : ขอ ก และ ค ถูกตอง

ขอที่ : 106
ขอใดถูกตองสําหรับ มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ในรายงาน EIA สําหรับโครงการอุตสาหกรรม
26 of 116
คําตอบ 1 : ในการตรวจวัดความเขมขนของกาซไนโตรเจนไดออกไซดใหเก็บตัวอยางใสถุง แลวนํามาวิเคราะหภายหลังได
คําตอบ 2 : การรายงานผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศระบายจากปลอง แบบอัตโนมัติอยางตอเนื่อง ตองมีขอมูลเกินกวารอยละ 80 ของชวงเวลาทั้งหมดในแตละวัน
คําตอบ 3 : มาตราสวนแผนที่ที่เหมาะสม คือ 1 : 500,000 สําหรับแสดงจุดตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 107
ขอใดเปน ถูกตองสําหรับ การติดตาม เฝาระวังปญหา การใชสารเคมีในสวนสม
คําตอบ 1 : ในกรณีสวนสมที่มีพื้นที่มากกวา 10 ไรขึ้นไป เกษตรกรเจาของสวนจะตองจัดทําบอเก็บกักน้ําที่รับจากสวนสม

่ า ย

คําตอบ 2 : ในกรณีที่เลิกดําเนินการสวนสมใหทําการรื้อ ถอนตนสมและกําจัดในสวนทั้งหมด


คําตอบ 3 : ควรจัดใหมีการตรวจสุขภาพคนงานโดยแพทยทุก 2 ป และรายงานผลใหสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทราบ

จ ำ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
108
ขอใดเปนหนวยวัดความเค็ม (Salinity)
คําตอบ 1 : mg/kg

ิท
คําตอบ 2 : psu


คําตอบ 3 : MPN

ว น
คําตอบ 4 : NTU

ส ง

ขอที่ : 109


ขอใดเปนหนวยวัดความขุน

กร
คําตอบ 1 : mg/kg


คําตอบ 2 : psu



คําตอบ 3 : MPN

าว
คําตอบ 4 : NTU

ขอที่ : 110

ส ภ
High Volume Sampler เปนเครื่องวัด
คําตอบ 1 : ปริมาณฝุนละอองในอากาศ
คําตอบ 2 : โลหะหนัก
คําตอบ 3 : ยาฆาแมลง
คําตอบ 4 : ความเค็ม
27 of 116
ขอที่ : 111
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ
คําตอบ 1 : ใชในการปรับแตงแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่ใชในการทํานายผลกระทบ
คําตอบ 2 : ตรวจวัดระดับของผลกระทบที่เกิดจากโครงการ
คําตอบ 3 : การกําหนดชวงระยะเวลาการตรวจวัดขึ้นอยูกับชวงระยะเวลาของลมมรสุม
คําตอบ 4 : ปจจุบันกฎหมายใหมีการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบ passive แทน active sampling

่ า ย

ขอที่ : 112


การเก็บตัวอยางคุณภาพอากาศในบรรยากาศเพื่อประเมินผลกระทบดานมลพิษอากาศจากโครงการสนามบิน เก็บตัวอยางครั้งละ

จ ำ
คําตอบ 1 : 2 วัน ติดตอกัน วันธรรมดาและวันหยุดราชการ


คําตอบ 2 : 3 วัน ติดตอกัน วันธรรมดาและวันหยุดราชการ

า้
คําตอบ 3 : 4 วัน ติดตอกัน วันธรรมดาและวันหยุดราชการ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 5 วัน ติดตอกัน วันธรรมดาและวันหยุดราชการ

ิท
ขอที่ : 113


CEM คืออะไร

ว น
คําตอบ 1 : การติดตามตรวจสอบคุณภาพของมลสารทางอากาศจากจุดปลอยอยางตอเนื่อง


คําตอบ 2 : แบบจําลองการปลอยอากาศเสียจากแหลงกําเนิดอยางตอเนื่อง


คําตอบ 3 : การคํานวณอัตราการปลอยมลสารทางอากาศอยางตอเนื่อง


คําตอบ 4 : การลดปริมาณการปลอยมลสารทางอากาศ

กร ข

ขอที่ : 114



แผนการติดตามตรวจสอบสุขภาพอนามัยชุมชนของโรงงานอุตสาหกรรมครอบคลุม

าว
คําตอบ 1 : บันทึกการเกิดอุบัติเหตุ


คําตอบ 2 : บันทึกการรองเรียนถึงการติดตามผล


คําตอบ 3 : การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําผิวดิน และน้ําใตดินในชุมชน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 115
แผนการติดตามตรวจสอบสุขภาพอนามัยทางสิ่งแวดลอมของโรงงานอุตสาหกรรมควรครอบคลุม
คําตอบ 1 : การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําผิวดิน น้ําใตดิน ดิน
28 of 116
คําตอบ 2 : การติดตามตรวจสอบขั้นตอนตาง ๆ ที่ทําใหเกิดของเสีย
คําตอบ 3 : การวิเคราะหตัวอยางเนื้อปลา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 116
ดัชนีชี้วัดเพื่อตรวจสุขภาพอนามัยดานสุขอนามัยทางสิ่งแวดลอม ประกอบดวย
คําตอบ 1 : พาหะนําโรค
คําตอบ 2 : พาหะนําโรค

่ า ย

คําตอบ 3 : พาหะนําโรค


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ :

า้
117
ดัชนีชี้วัดเพื่อตรวจสอบสุขภาพอนามัยชุมชน ประกอบดวย

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สถานการณทางดานสุขภาพอนามัยตามสถิติสาธารณสุข
คําตอบ 2 : ลักษณะกลุมของคนที่เขามาในพื้นที่

ิท
คําตอบ 3 : ลักษณะทางดานประชากรศาสตร


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ :

ง ว น

118


ดัชนีชี้วัดเพื่อตรวจสอบสุขภาพอนามัยทางกาย ไดแก


คําตอบ 1 : ลักษณะทางดานสุขภาพอนามัยตามสถิติระดับทองถิ่น ภาค ประเทศ

กร
คําตอบ 2 : ความปลอดภัยและความมั่นคงทางกายภาพ


คําตอบ 3 : สุขภาพอนามัยชุมชนและสังคม รวมทั้งวัฒนธรรมและวิถีชีวิต



คําตอบ 4 : การบริการดานสุขภาพอนามัยอื่น ๆ

ขอที่ : 119

ภ าว

ขอใดถูกเกี่ยวกับ Chronic effects
คําตอบ 1 : เกิดอาการภายใน 24 ชั่วโมง หรือแทบจะทันที หลังการไดรับสารพิษ
คําตอบ 2 : ใชเวลานานในการแสดงอาการ หลังไดรับสารพิษ
คําตอบ 3 : ภาวะอาการที่เกิดคอนขางสั้น
คําตอบ 4 : เกิดจากการไดรับสารพิษในปริมาณสูง

29 of 116
ขอที่ : 120
สารพิษสองชนิดเมื่อเขาสูรางกายแลวเกิด Biotransformation ทําใหเกิดความเปนพิษตอรางกายเพิ่มขึ้นอยางมาก เรียกลักษณะ Biotransformation นี้วา
คําตอบ 1 : Synergistic
คําตอบ 2 : Antagonistic
คําตอบ 3 : Sympathetic
คําตอบ 4 : Dioxins

่ า ย
ขอที่ : 121


คนงานในโรงงานที่ผลิตพวกแบตเตอรี่ซึ่งมีสารเคมีจําพวกแคดเมียม อาจปวยเปนโรค


คําตอบ 1 : มินามาตะ (Minamata)

จ ำ
คําตอบ 2 : คาเซอิ (Casei)


คําตอบ 3 : อิไต อิไต (Itai Itai)

า้
คําตอบ 4 : ทรอมา (Trauma)

ขอที่ : 122
ิธ์ ห
ิท
ขอใดถูกเกี่ยวกับปรอท


คําตอบ 1 : สามารถพบไดทั้งในฟอรมของเมอคิวรี่ (Hg0) และเมธิลเมอคิวรี่ (Methyl-mercury)

ว น
คําตอบ 2 : เปนสารพิษ


คําตอบ 3 : ถูกเฉพาะขอ ข


คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก และ ข ถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 123


ขอใดถูกเกี่ยวกับ Acute effects



คําตอบ 1 : เกิดอาการภายใน 24 ชั่วโมง หรือแทบจะทันที หลังการไดรับสารพิษ

าว
คําตอบ 2 : ใชเวลานานในการแสดงอาการ หลังไดรับสารพิษ


คําตอบ 3 : ภาวะอาการที่แสดง ยาวนาน


คําตอบ 4 : เกิดจากการไดรับสารพิษชา ๆ

ขอที่ : 124
มนุษยสามารถรับเอาสารเคมี/สารพิษ เขาสูรางกายได
คําตอบ 1 : 1 ทาง
คําตอบ 2 : 2 ทาง
30 of 116
คําตอบ 3 : 3 ทาง
คําตอบ 4 : 4 ทาง

ขอที่ : 125
สารพิษสองชนิดที่เมื่อรางกายไดรับเขาไปแลวเกิด Biotransformation และไมทําใหเกิดความเปนพิษตอรางกาย เรียกลักษณะ Biotransformation นี้วา เรียกลักษณะนี้วา
คําตอบ 1 : Synergistic
คําตอบ 2 :


Antagonistic

่ า
คําตอบ 3 : Sympathetic


คําตอบ 4 : Dioxins

ขอที่ : 126

จ ำ ห

ขอใดผิดเกี่ยวกับ Dioxins

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เปนสารกอมะเร็ง
คําตอบ 2 : เปนสารประกอบพวกโพลีคลอริเนเต็ด
คําตอบ 3 : นอกจากเกิด Dioxins แลวมักเกิด Furans ดวย

ิท
คําตอบ 4 : คือ 2,3,7,8-Tetrachlorinated dibenzo (p) dioxin

นส

ขอที่ : 127


โรคที่เกิดจากปรอท คือโรค
คําตอบ 1 : มินามาตะ (Minamata)

อ ส

คําตอบ 2 : คาเซอิ (Casei)

กร
คําตอบ 3 : อิไต อิไต (Itai Itai)


คําตอบ 4 : ทรอมา (Trauma)

ขอที่ : 128

าว ศ


รางกายสามารถเก็บ (storage) สารพิษประเภทไมมีขั้ว (non-polar) ไวใน


คําตอบ 1 : กระดูก
คําตอบ 2 : ไขมัน
คําตอบ 3 : กระแสโลหิต
คําตอบ 4 : มาม

ขอที่ : 129 31 of 116


ขอใดผิด
คําตอบ 1 : Inhalation - Respiratory tract - Nose
คําตอบ 2 : Ingestion - gastrointestinal tract - Oral
คําตอบ 3 : Dermal contact - skin
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดผิด

ขอที่ : 130

่ า ย
คน ๆ หนึ่งไดรับสารเคมี 2 ชนิดเขาสูรางกาย ชนิดหนึ่งไมมีผลกระทบตอสุขภาพเลย แตอีกชนิดหนึ่งมีผลกระทบตอสุขภาพ เมื่อเขาสูรางกายแลวเกิด Biotransformation ทําให


ผลลัพธที่ไดมีผลตอสุขภาพของมนุษยอยางมาก เรียกลักษณะ Biotransformation นี้วา


คําตอบ 1 : Synergistic


คําตอบ 2 :


Antagonistic


คําตอบ 3 : Additive

า้
คําตอบ 4 : Potentiation

ขอที่ : 131
ิธ์ ห
ิท
LD50 คือ


คําตอบ 1 : อัตราการตายของสัตวทดลองหลังไดรับสารพิษปริมาณ 50%


คําตอบ 2 : อัตราการตายของคนหลังไดรับสารพิษปริมาณ 50%
คําตอบ 3 : ปริมาณของสารพิษขนาดหนึ่งที่ทําใหสัตวทดลองตาย 50%

ง ว

คําตอบ 4 : ปริมาณของสารพิษขนาดหนึ่งที่ทําใหคนตาย 50%

ขอ
กร
ขอที่ : 132


แคดเมียมมักจะถูกเก็บสะสมไวในสวนใดของรางกาย



คําตอบ 1 : กระดูก

าว
คําตอบ 2 : กลามเนื้อ


คําตอบ 3 : ชั้นไขมัน


คําตอบ 4 : กระแสโลหิต

ขอที่ : 133
โรคที่เกิดจากแคดเมียม คือ
คําตอบ 1 : โลหิตจาง
คําตอบ 2 : กระดูกพรุน
คําตอบ 3 : หัวใจ 32 of 116

คําตอบ 4 : พารกินสัน
ขอที่ : 134
Chronic effects หมายถึง
คําตอบ 1 : เกิดอาการทันที หลังการไดรับสารพิษ
คําตอบ 2 : ใชเวลานานในการแสดงอาการ หลังไดรับสารพิษ
คําตอบ 3 : ภาวะที่เกิดคอนขางสั้น


คําตอบ 4 : เกิดจากการไดรับสารพิษในปริมาณสูง

น่ า

ขอที่ : 135


ขอใดไมใชเทคนิคของการประเมินอันตรายรายแรงหรือความเสี่ยงในการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : Checklist

มจ
า้
คําตอบ 2 : Fault tree diagram

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : HAZOP
คําตอบ 4 : GIS

ขอที่ : 136

ส ิท
ว น
ขอใดที่ไมใชคุณลักษณะของโอโซน


คําตอบ 1 : มลสารปฐมภูมิ


คําตอบ 2 : มลสารทุติยภูมิ


คําตอบ 3 : มลสารที่อยูในมาตรฐานคุณภาพอากาศของบรรยากาศ
คําตอบ 4 :

กร ข
มลสารที่เกิดจากปฏิกิริยาโฟโตเคมิคัล

ขอที่ : 137


ิ ว
ภ าว

33 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 15 ม.

ิท
คําตอบ 2 : 20 ม.


คําตอบ 3 : 25 ม.


คําตอบ 4 : 40 ม.

ง ว

ขอที่ : 138

ขอ
วกร
าว ศ


คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
34 of 116
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 139

่ า ย
คําตอบ 1 : 0.0055

หน

คําตอบ 2 : 0.0066

มจ
คําตอบ 3 : 0.0077

า้
คําตอบ 4 : 0.0088

ิธ์ ห
ขอที่ : 140

ิท
ขอใดเปนที่อยูอิเลคทรอนิกส ของ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : http://www.onpp.go.th/


คําตอบ 2 :


http://www.onepp.go.th/


คําตอบ 3 : http://www.onep.go.th/


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอ
กร
ขอที่ : 141
WQI ยอมาจากคําวาอะไร
คําตอบ 1 :


ิ ว
Water Quality Index

าว
คําตอบ 2 : Water Quantity Index


คําตอบ 3 : Wastewater Quality Index


คําตอบ 4 : Water Quality Indicator

ขอที่ : 142
ขอใดตอไปนี้เปน Environmental Non-Governmental Organization (ENGO)
คําตอบ 1 : มูลนิธิคุมครองสัตวปาและพืชพรรณแหงประเทศไทย
คําตอบ 2 : ชมรมดูนก
คําตอบ 3 : ศูนยขอมูลทองถิ่นเพื่อการพัฒนา 35 of 116

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
ขอที่ : 143
โดยธรรมชาติ น้ําฝนที่ปราศจากสิ่งเจือปนจะ
คําตอบ 1 : เปนกลาง โดยมี pH ประมาณ 7
คําตอบ 2 : เปนกรด โดยมี pH ประมาณ 5
คําตอบ 3 : เปนดาง โดยมี pH ประมาณ 8


คําตอบ 4 : แลวแตฤดูกาล

น่ า

ขอที่ : 144


ประเทศไทยไดรับอิทธิพลจาก
คําตอบ 1 : ลมมรสุม

มจ
า้
คําตอบ 2 : ดีเพรสชั่น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : โซนรอน
คําตอบ 4 : ไตฝุน

ขอที่ : 145

ส ิท
ว น
การทํา EIA ของไทย ในปจจุบัน ประกอบดวยการศึกษาครอบคลุมระบบสิ่งแวดลอม ดานใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : ทรัพยากรกายภาพและชีวภาพ


คําตอบ 2 : คุณคาการใชประโยชนของมนุษยและคุณภาพชีวิต


คําตอบ 3 : มนุษยและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : ขอ ก และ ข

กร ข
ขอที่ : 146


ิ ว
าว
IEE หรือ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน หมายถึงการศึกษาเรื่องใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : การศึกษาในขั้นประกอบการพิจารณาทางเลือกโครงการ


คําตอบ 2 : การคาดการณผลกระทบที่โครงการจะมีตอประชาชนในพื้นที่ ระหวางการกอสราง
คําตอบ 3 : การพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมโดยสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : ถูกเฉพาะขอ ข และ ค

ขอที่ : 147
ขอใดถูกตองสําหรับขอกําหนดในการทํา EIA สําหรับ โรงปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิ่งปฏิกูล
36 of 116
คําตอบ 1 : ตองทํา IEE ในทุกกรณี
คําตอบ 2 : ตองทํา EIA ในทุกกรณี
คําตอบ 3 : ตองทํา IEE กอน แลวตามดวยการทํา EIA ในทุกกรณี
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 148
ขอใด เปน หนาที่ของเจาของโครงการ สําหรับการทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : มีหนาที่ประสานงานกับ สผ. และศึกษาจัดทํารายงานการวิเคราะหผล

่ า ย

คําตอบ 2 : วางแผนการดําเนินงานการทํา EIA ไวลวงหนากอนกําหนดการกอสรางโครงการ


คําตอบ 3 : เสนอขอคิดเห็นในระหวางการพิจารณารายงาน

จ ำ
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
149
คําวา “ผลกระทบ” ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม นั้นหมายถึง
คําตอบ 1 : ผลกระทบทางลบที่อาจเกิดจากโครงการ

ิท
คําตอบ 2 : ผลกระทบทางบวกที่อาจเกิดจากโครงการ


คําตอบ 3 : ขอ ก และ ข ถูก

ว น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ส ง

ขอที่ : 150


ขอใดผิดเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA)

กร
คําตอบ 1 : มีวัตถุประสงคเพื่อปองกันสุขภาพของชุมชน


คําตอบ 2 : ชวยทําใหการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) สมบูรณยิ่งขึ้น



คําตอบ 3 : ขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบทางสุขภาพควรเปดเผยตอสาธารณะ

าว
คําตอบ 4 : โครงการที่ตองทํา EIA จําเปนตองทํา HIA ดวย

ขอที่ : 151

ส ภ
ขอใดไมใชเทคนิคที่ใชในการทํา Scoping
คําตอบ 1 : Ad hoc
คําตอบ 2 : Matrix
คําตอบ 3 : Network
คําตอบ 4 : Quadrat
37 of 116
ขอที่ : 152
ขอใดไมใชวิธีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : Matrix
คําตอบ 2 : Checklist
คําตอบ 3 : Ad-hoc
คําตอบ 4 : FEMA

่ า ย

ขอที่ : 153


ขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกัน

จ ำ
คําตอบ 1 : Q=CIA กับ ปญหาน้ําทวม


คําตอบ 2 : Gaussian กับการศึกษาการแพรกระจายมลพิษทางอากาศ

า้
คําตอบ 3 : Overlay กับการประเมินผลกระทบทางสุนทรียภาพ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : V/C ratio กับการประเมินผลกระทบดานเศรษฐศาสตร

ิท
ขอที่ : 154


มาตรฐานเสียงทั่วไปในคาบ 24 ชั่วโมงตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษมีคาเปนเทาใด

ว น
คําตอบ 1 : 65 dB(A)


คําตอบ 2 : 70 dB(A)


คําตอบ 3 : 75 dB(A)


คําตอบ 4 :


80 dB(A)

ว กร
ขอที่ : 155



ขอใดเปนกฎหมายฉบับแรกที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมของประเทศไทย

าว
คําตอบ 1 : พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2517


คําตอบ 2 : พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2518


คําตอบ 3 : พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2521
คําตอบ 4 : พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535

ขอที่ : 156
การระบุผลกระทบโดยใช Matrix
คําตอบ 1 : ระบุไดเฉพาะทิศทางแตไมบอกขนาดของผลกระทบ
38 of 116
คําตอบ 2 : ระบุไดแตขนาด แตไมบอกทิศทางของผลกระทบ
คําตอบ 3 : ระบุไดทั้งทิศทางและขนาดของผลกระทบ
คําตอบ 4 : ระบุไดทั้งทิศทาง ขนาด และความรุนแรงของผลกระทบ

ขอที่ : 157
การระบุผลกระทบโดยใช Network
คําตอบ 1 : ระบุไดเฉพาะทิศทางแตไมบอกขนาดของผลกระทบ
คําตอบ 2 : ระบุไดแตขนาด แตไมบอกทิศทางของผลกระทบ

่ า ย

คําตอบ 3 : ระบุไดทั้งทิศทางและขนาดของผลกระทบ


คําตอบ 4 : ระบุไดทั้งทิศทาง ขนาด และความรุนแรงของผลกระทบ

จ ำ

ขอที่ :

า้
158
ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามแนวทางของกฎหมายไทยจะแบงองคประกอบของสิ่งแวดลอมเปน 4 ดาน คือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กายภาพ ชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย สุขภาวะ
คําตอบ 2 : กายภาพ ชีวภาพ สังคม คุณภาพชีวิต

ิท
คําตอบ 3 : กายภาพ ชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย คุณภาพชีวิต


คําตอบ 4 : กายภาพ ชีวภาพ สังคม สุขภาวะ วัฒนธรรม

ขอที่ :

ง ว น

159


องคประกอบของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมดาน Health Impact Assessment โดยทั่วไป


คําตอบ 1 : สุขภาวะทางกายภาพ ทางสังคม ทางจิต ทางปญญา

กร
คําตอบ 2 : สุขภาวะทางกายภาพ ทางสังคม ทางคุณภาพชีวิต ทางปญญา


คําตอบ 3 : สุขภาวะทางกายภาพ ทางชีวภาพ ทางสังคม ทางจิต



คําตอบ 4 : สุขภาวะทางสังคม ทางจิตใจ ทางคุณภาพชีวิต ทางปญญา

ขอที่ : 160

ภ าว

การประเมินผลกระทบในระดับนโยบาย ไดแก
คําตอบ 1 : Strategic Environmental Assessment
คําตอบ 2 : Policy Environmental Assessment
คําตอบ 3 : National Environmental Assessment
คําตอบ 4 : Political Environmental Assessment

39 of 116
ขอที่ : 161
ขอใดไมใชองคประกอบสิ่งแวดลอมที่สําคัญตองมีการศึกษาในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมจากโครงการกอสรางเขื่อน
คําตอบ 1 : ชนิดและประเภทของสัตวปา
คําตอบ 2 : โรคประจําถิ่น
คําตอบ 3 : การประกอบอาชีพของประชาชน
คําตอบ 4 : มลพิษทางอากาศ

่ า ย
ขอที่ : 162


ขอใดไมใชประโยชนของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตนที่สําคัญ


คําตอบ 1 : ใชเลือกที่ตั้งโครงการ

จ ำ
คําตอบ 2 : ใชเลือกทางเลือกของกระบวนการตาง ๆ ของโครงการ


คําตอบ 3 : ทําใหทราบวาควรทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมที่เกิดตอองคประกอบสิ่งแวดลอมใดในรายละเอียดเพิ่มเติม

า้
คําตอบ 4 : ทําใหทราบมาตรการการปองกันและมาตรการติดตามตรวจสอบโครงการ

ขอที่ : 163
ิธ์ ห
ิท
ในกรณีที่ตองการเปรียบเทียบผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในแตละองคประกอบจากกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการ ควรใชวิธีการประเมินผลกระทบแบบใด


คําตอบ 1 : Ad Hoc Committee

ว น
คําตอบ 2 : Matrix


คําตอบ 3 : Checklist


คําตอบ 4 : Network

ขอ
กร
ขอที่ : 164


ขอใดไมใชประโยชนทางตรงของมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม



คําตอบ 1 : ทําใหทราบประสิทธิภาพของมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

าว
คําตอบ 2 : ทําใหทราบผลกระทบสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจริงจากการกอสรางหรือดําเนินการโครงการ


คําตอบ 3 : ทําใหทราบถึงคุณภาพสิ่งแวดลอมวาไดมาตรฐานหรือไม


คําตอบ 4 : ทําใหสามารถลดผลกระทบสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น

ขอที่ : 165
วัตถุประสงคของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม ยกเวนขอใดดังตอไปนี้
คําตอบ 1 : การศึกษาสภาพแวดลอมเบื้องตนในพื้นที่กอนมีโครงการ
คําตอบ 2 : การประเมินผลกระทบทางดานลบของโครงการ
40 of 116
คําตอบ 3 : การหามาตรการในการลดผลกระทบกอนมีโครงการ
คําตอบ 4 : การหามาตรการในการติดตามและตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม

ขอที่ : 166
SEA ยอมาจาก
คําตอบ 1 : Socio - Economic Assessment
คําตอบ 2 :


Social Environmental Assessment

่ า
คําตอบ 3 : Strategic Environmental Assessment


คําตอบ 4 : Socio Economic Analysis

ขอที่ : 167

จ ำ ห

HIA ยอมาจาก

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Human Impact Analysis
คําตอบ 2 : Human Impact Assessment
คําตอบ 3 : Health Impact Analysis

ิท
คําตอบ 4 : Health Impact Assessment

นส

ขอที่ : 168


SIA ยอมาจาก
คําตอบ 1 : Strategic Impact Assessment

อ ส

คําตอบ 2 : Strategic Impact Analysis

กร
คําตอบ 3 : Social Impact Assessment


คําตอบ 4 : Social Impact Analysis

ขอที่ : 169

าว ศ


WSC ยอมาจาก


คําตอบ 1 : Water soil conservation
คําตอบ 2 : Water soil classification
คําตอบ 3 : Watershed conservation
คําตอบ 4 : Watershed classification

ขอที่ : 170 41 of 116


ประโยชนของ EIA
คําตอบ 1 : เครื่องมือในการจัดการสิ่งแวดลอม
คําตอบ 2 : กระบวนการทํานายผลที่เกิดขึ้นจากโครงการ
คําตอบ 3 : ใชเปนกลไกในการตัดสินใจโครงการ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 171

่ า ย
ประเทศไทยมีการใหจัดทํารายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโดย


คําตอบ 1 : กําหนดประเภท ขนาดโครงการ จัดทํารายงาน EIA


คําตอบ 2 : กําหนดประเภท ขนาดโครงการ จัดทํารายงาน EIA และ IEE

จ ำ
คําตอบ 3 : กําหนดประเภทขนาดโครงการ จัดทํา EIA, IEE และรายงานขอมูลสิ่งแวดลอม


คําตอบ 4 : จัดทํารายงาน IEE กอนทํารายงาน EIA

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 172
องคประกอบหลักการทํารายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

ิท
คําตอบ 1 : ทรัพยากรกายภาพ ชีวภาพ การใชประโยชนมนุษย คุณภาพชีวิต


คําตอบ 2 : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ว น
คําตอบ 3 : ทรัพยากรสิ่งแวดลอมและคุณคาสิ่งแวดลอม


คําตอบ 4 : ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ สังคม

อ ส

ขอที่ : 173

กร
ตัวเลขบนและลางของเสนทแยงมุมใน Matrix ของ Leopold หมายถึง


คําตอบ 1 : ขนาดของผลกระทบ และ ความสําคัญของผลกระทบ



คําตอบ 2 : ขนาดของผลกระทบ และ ทิศทางของผลกระทบ

าว
คําตอบ 3 : ทิศทางของผลกระทบ และ พิสัยของผลกระทบ


คําตอบ 4 : ขนาดของผลกระทบ และ พิสัยของผลกระทบ

ขอที่ : 174

โรงงานใดตอไปนี้ ตองมีบุคลากรดานสิ่งแวดลอมประจําโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2545
คําตอบ 1 : โรงงานที่มีปริมาณความสกปรกกอนเขาระบบบําบัดตั้งแต 20 กก./วัน
คําตอบ 2 : โรงงานอุตสาหกรรมน้ํามันปโตรเลียมทุกชนิด
คําตอบ 3 : โรงงานเยื่อกระดาษที่มีกําลังการผลิตตั้งแต 10 กก. ขึ้นไป
42 of 116
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
ขอที่ : 175
ขอใดตอไปนี้ เปนวิธีการที่เหมาะสมในการบริหารจัดการแหลงน้ําตามธรรมชาติ
คําตอบ 1 : ติดตั้งเครื่องเติมอากาศใตน้ํา
คําตอบ 2 : ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําอยางสม่ําเสมอ
คําตอบ 3 : ดูแลใหมีคาบีโอดีในน้ําไมเกิน 1 กรัมตอลิตร


คําตอบ 4 : เติมสารละลาย NaOH เพื่อใหคา pH มีคาเกิน 10

น่ า

ขอที่ : 176


สําหรับโครงการเขื่อนหรืออางเก็บน้ํา ขนาดใดตองทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : มีปริมาตรเก็บกัก 1000 ลานลิตร

มจ
า้
คําตอบ 2 : มีปริมาตรเก็บกัก 10000 ลานลิตร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : มีปริมาตรเก็บกัก 100000 ลานลิตร
คําตอบ 4 : มีปริมาตรเก็บกัก 1 ลานลานลิตร

ขอที่ : 177

ส ิท
ว น
แหลงน้ําประเภทที่ 5 ตามมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน คือแหลงน้ําที่สามารถใชเพื่อ


คําตอบ 1 : ขยายพันธุตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตระดับพื้นฐาน


คําตอบ 2 : อนุรักษระบบนิเวศนของแหลงน้ํา


คําตอบ 3 : การอุตสาหกรรม
คําตอบ 4 : การคมนาคม

กร ข
ขอที่ : 178


ิ ว
าว
อนุสัญญาแรมซาร เกี่ยวของกับระบบนิเวศนประเภทใด


คําตอบ 1 : Deep sea


คําตอบ 2 : Wetland
คําตอบ 3 : Local village
คําตอบ 4 : Dam

ขอที่ : 179
ตาม มาตรา 43 ในพรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ไดกําหนดหลักเกณฑการประกาศ เขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม คือขอใด
43 of 116
คําตอบ 1 : พื้นที่ที่มีลักษณะเปนพื้นที่ทายน้ํา
คําตอบ 2 : พื้นที่ที่มีคุณคาทางธรรมชาติศิลปกรรมอันควรแกการอนุรักษ และไดถูกประกาศเปนเขตอนุรักษแลว
คําตอบ 3 : พื้นที่ที่มีระบบนิเวศนตามธรรมชาติที่แตกตางจากพื้นที่อื่นโดยทั่วไป
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 180
ขอใดไมใชเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมในปจจุบัน
คําตอบ 1 : เกาะสมุย จังหวัดสุราษฏรธานี

่ า ย

คําตอบ 2 : หมูเกาะพีพี จังหวัดกระบี่


คําตอบ 3 : ปาดูนลําพัน จังหวัดมหาสารคาม

จ ำ
คําตอบ 4 : เกาะสาก เมืองพัทยา

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
181
พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 เอ คืออะไร
คําตอบ 1 : พื้นที่ลุมน้ําที่จําเปนจะตองสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารและเปนทรัพยากรปาไมของประเทศ

ิท
คําตอบ 2 : พื้นที่ภายในลุมน้ําซึ่งมีคาดัชนีชั้นคุณภาพลุมน้ําที่คํานวณไดจากสมการอยูนอยกวา 2.2


คําตอบ 3 : พื้นที่ภายในลุมน้ํา ซึ่งมีคาดัชนีคุณภาพของลุมน้ํามากกวา 3.99

ว น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ส ง

ขอที่ : 182


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับ CITES

กร
คําตอบ 1 : คํายอของอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศ ซึ่งชนิดสัตวปา และพืชปาที่ใกลจะสูญพันธุ


คําตอบ 2 : เรียกอีกชื่อหนึ่งวา อนุสัญญาวอชิงตัน



คําตอบ 3 : คํายอของอนุสัญญาวาดวยการควบคุมพืช GMO

าว
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 183

ส ภ
ขอใดไมใชพื้นที่ปาไมที่ถูกแบงโดย UNESCO เพื่อการดําเนินการโครงการมนุษยกับชีวมณฑล
คําตอบ 1 : Core zone
คําตอบ 2 : Buffer zone
คําตอบ 3 : Transitional zone
คําตอบ 4 : Respiration zone
44 of 116
ขอที่ : 184
ประเทศไทย แบงพื้นที่ลุมน้ําออกเปนกี่ลุมน้ํา
คําตอบ 1 : 15
คําตอบ 2 : 25
คําตอบ 3 : 35
คําตอบ 4 : 45

่ า ย

ขอที่ : 185


ลุมน้ําใดในประเทศไทย เปนลุมน้ําที่ใหญที่สุด (กินพื้นที่มากที่สุด)

จ ำ
คําตอบ 1 : มูล


คําตอบ 2 : ชี

า้
คําตอบ 3 : ปง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : วัง

ิท
ขอที่ : 186


ลุมน้ําใดในประเทศไทย เปนลุมน้ําที่เล็กที่สุด (กินพื้นที่นอยที่สุด)

ว น
คําตอบ 1 : กก


คําตอบ 2 : สะแกกรัง


คําตอบ 3 : ปตตานี


คําตอบ 4 : ทะเลสาบสงขลา

กร ข

ขอที่ : 187



ขอใดถูกตองสําหรับขอกําหนดในการทํา EIA สําหรับ โครงการโรงพยาบาล

าว
คําตอบ 1 : ตองทํา EIA ในทุกกรณี


คําตอบ 2 : ตองทํา EIA ในกรณีที่มีเตียงสําหรับผูปวยคางคืน เกิน 60 เตียงขึ้นไป


คําตอบ 3 : ไมตองทํา EIA ในกรณีที่มีเตียงสําหรับผูปวยคางคืน 40 เตียง เมื่อตั้งอยูริมฝงแมน้ํา
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 188
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน
คําตอบ 1 : มาตรฐานแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 ตองมีคา DO ไมต่ํากวา 6.0 มก./ล และมีคา BOD ไมเกินกวา 1.5 มก/ล.
45 of 116
คําตอบ 2 : มาตรฐานแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 ตองมีคา DO ไมเกินกวา 4.0 มก./ล และมีคา BOD ไมเกินกวา 2.0 มก/ล.
คําตอบ 3 : มาตรฐานแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 ตองมีคา DO ไมเกินกวา 2.0 มก./ล และมีคา BOD ไมเกินกวา 4.0 มก/ล.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 189
ขอใดตอไปนี้ ไมใชตัวแปรในการแบงคุณภาพน้ําชายฝง
คําตอบ 1 : แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด
คําตอบ 2 : แบคทีเรียกกลุมฟคอลโคลิฟอรม

่ า ย

คําตอบ 3 : แอมโมเนีย


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

จ ำ

ขอที่ :

า้
190
นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ มีความมุงหมาย คือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : จัดการทรัพยากรธรรมชาติ
คําตอบ 2 : สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติใหควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ิท
คําตอบ 3 : ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดทดแทนได


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ง ว น

191


ขอใดไมอยูในรางจรรยาบรรณวิชาชีพการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : ไมกระทําการใด ๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ

กร
คําตอบ 2 : ไมละทิ้งงานที่ไดรับทําโดยไมมีเหตุผลอันสมควร


คําตอบ 3 : ไมคัดลอกรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมทั้งหมดหรือบางสวนจากรายงาน EIA ของโครงการอื่น



คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 192

ภ าว

ขอใดเปนคามาตรฐานของ PM10
คําตอบ 1 : 100 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 100 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 120 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 120 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

46 of 116
ขอที่ : 193
คามาตรฐานความเขมขนของ PM10 (24 ชั่วโมง) ตามมาตรฐานคุณภาพอากาศของไทยมีคา
คําตอบ 1 : 0.11 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 0.12 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 0.13 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 0.15 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

่ า ย
ขอที่ : 194


คามาตรฐานความเขมขนของ SO2 (24 ชั่วโมง) ตามมาตรฐานคุณภาพอากาศของไทยมีคา


คําตอบ 1 : 0.25 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

จ ำ
คําตอบ 2 : 0.30 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 0.35 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

า้
คําตอบ 4 : 0.50 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 195
ิธ์ ห
ิท
คามาตรฐานความเขมขนของ NO2 (1 ชั่วโมง) ตามมาตรฐานคุณภาพอากาศของไทยมีคา


คําตอบ 1 : 0.25 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ว น
คําตอบ 2 : 0.30 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 0.32 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 4 : 0.35 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ขอ
กร
ขอที่ : 196


คามาตรฐานความเขมขนของ CO (1 ชั่วโมง) ตามมาตรฐานคุณภาพอากาศของไทยมีคา



คําตอบ 1 : 10 ppm

าว
คําตอบ 2 : 20 ppm


คําตอบ 3 : 30 ppm


คําตอบ 4 : 40 ppm

ขอที่ : 197
อุตสาหกรรมกลั่นน้ํามันปโตรเลียมจะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมเมื่อ
คําตอบ 1 : มีกําลังการผลิต 50 ตันขึ้นไป
คําตอบ 2 : มีกําลังการผลิต 75 ตั้นขึ้นไป
47 of 116
คําตอบ 3 : มีกําลังการผลิต 99 ตันขึ้นไป
คําตอบ 4 : ทุกขนาด

ขอที่ : 198
การจัดทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม สามารถกระทําไดโดย
คําตอบ 1 : บุคคลซึ่งไดรับอนุญาตใหเปนผูชํานาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 2 : บุคคลซึ่งไดรับการอนุมัติจากเจาของโครงการใหทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 3 : บุคคลซึ่งไดรับใบ ก.ว. และเคยผานการทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมมาแลว

่ า ย

คําตอบ 4 : อาจารยมหาวิทยาลัยซึ่งมีความชํานาญในเรื่องการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและเคยมีประสบการณในการทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมมาแลว

ขอที่ : 199

จ ำ ห

โครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังความรอนจะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม คือ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีกําลังผลิตกระแสไฟฟาตั้งแต 5 MW ขึ้นไป
คําตอบ 2 : มีกําลังผลิตกระแสไฟฟาตั้งแต 10 MW ขึ้นไป
คําตอบ 3 : มีกําลังผลิตกระแสไฟฟาตั้งแต 15 MW ขึ้นไป

ิท
คําตอบ 4 : มีกําลังผลิตกระแสไฟฟาตั้งแต 20 MW ขึ้นไป

นส

ขอที่ : 200


โครงการกอสรางโรงแรมหรือสถานประกอบการที่พักตากอากาศจะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : 40 หอง ขึ้นไป

อ ส

คําตอบ 2 : 50 หอง ขึ้นไป

กร
คําตอบ 3 : 69 หอง ขึ้นไป


คําตอบ 4 : 80 หอง ขึ้นไป

ขอที่ : 201

าว ศ


โครงการประเภทใดที่ตั้งอยูในพื้นที่เขตลุมน้ําชั้น 2 บี ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแลว ที่ไมจําเปนตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : โรงแรมขนาด 60 หอง
คําตอบ 2 : การทําเหมืองแร
คําตอบ 3 : เขื่อนเก็บกักน้ําที่มีปริมาตร 90,000,000 ลบ.ม.
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 202 48 of 116


อาคารที่ตั้งอยูริมแมน้ํา ฝงทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด ซึ่งเปนบริเวณที่อาจจะกอใหเกิดผลกระทบกระเทือนตอคุณภาพสิ่งแวดลอมจะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม เมื่อ
คําตอบ 1 : ใชพื้นที่ในการกอสราง 10,000 ตร.ม. ขึ้นไป
คําตอบ 2 : มีพื้นที่รวมทุกชั้น 10,000 ตร.ม. ขึ้นไป
คําตอบ 3 : มีความสูง 20 เมตร ขึ้นไป
คําตอบ 4 : มีขนาด 75 หอง ขึ้นไป

ขอที่ : 203

่ า ย
โครงการกอสรางโรงพยาบาลในพื้นที่ทั่วไป ที่จะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม คือ


คําตอบ 1 : โรงพยาบาลที่มีขนาด 100 หอง


คําตอบ 2 : โรงพยาบาลที่มีเตียงผูปวย 80 หอง

จ ำ
คําตอบ 3 : โรงพยาบาลที่มีเตียงผูปวย 30 เตียง


คําตอบ 4 : โรงพยาบาลที่มีเตียงผูปวย 60 เตียง

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 204
ในขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สําหรับโครงการของเอกชน ผูใดมีหนาที่ตรวจสอบรายงานในขั้นแรก

ิท
คําตอบ 1 : สํานักงานงบประมาณแผนดินและกรมโยธาธิการ


คําตอบ 2 : สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

ว น
คําตอบ 3 : คณะกรรมการผูชํานาญการ


คําตอบ 4 : คณะการรมการกลั่นกรอง สํานักงานนายกรัฐมนตรี

อ ส

ขอที่ : 205

กร
โครงการใดตอไปนี้จะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : การชลประทาน ที่มีพื้นที่การชลประทานตั้งแต 60,000 ไร



คําตอบ 2 : สนามบินพาณิชย ทุกขนาด

าว
คําตอบ 3 : ทาเรือพาณิชย ทุกขนาด


คําตอบ 4 : สนามกอลฟขนาดไมต่ํากวา 1,000 ไร

ขอที่ : 206

อุตสาหกรรมกลั่นน้ํามันปโตรเลียม จะตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม เมื่อ
คําตอบ 1 : แยกกาซธรรมชาติได 100 ตันตอวันขึ้นไป
คําตอบ 2 : ใชวัตถุดิบซึ่งไดจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียม 100 ตันตอวันขึ้นไป
คําตอบ 3 : มีการใชพลังงานในกระบวนการผลิตมากกวา 10 MW ขึ้นไป
49 of 116
คําตอบ 4 : ตองทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมในทุกกรณี
ขอที่ : 207
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการสรางนิคมอุตสาหกรรม จะครอบคลุมถึง
คําตอบ 1 : นิคมอุตสาหกรรมที่มีพื้นที่ 1,000 ไรขึ้นไป
คําตอบ 2 : นิคมอุตสาหกรรมที่มีจํานวนโรงงานมากกวา 100 โรงขึ้นไป ณ เวลายื่นเสนอโครงการ
คําตอบ 3 : นิคมอุตสาหกรรมที่ปลอยมลพิษในรูปของคารบอนนอยกวา 2 ตันตอวัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า

ขอที่ : 208


การพิจารณาวาโครงการใดเขาขายตองจัดทําการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม ตองคํานึงถึง
คําตอบ 1 : ประเภท ขนาด

มจ
า้
คําตอบ 2 : ประเภท ขนาด งบประมาณ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ประเภท งบประมาณ เจาของโครงการ
คําตอบ 4 : ประเภท องคประกอบทางดานสิ่งแวดลอม

ขอที่ : 209

ส ิท
ว น
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย มีความสัมพันธกับกระทรวงใด


คําตอบ 1 : กระทรวงอุตสาหกรรม


คําตอบ 2 : กระทรวงสาธารณสุข


คําตอบ 3 : กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : กระทรวงอุตสาหกรรม

กร ข
ขอที่ : 210


ิ ว
าว
ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2536 การตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมควรกระทําที่ตําแหนงใด


คําตอบ 1 : ที่ปลองควันในชวงเวลาดําเนินการ


คําตอบ 2 : ที่บริเวณที่ปลอยมลพิษเฉลี่ยในชวงเวลาดําเนินการ
คําตอบ 3 : ที่บริเวณจุดที่ไดรับผลกระทบสูงสุด
คําตอบ 4 : ที่บริเวณในรัศมี 2 กิโลเมตรจากโรงงาน

ขอที่ : 211
มาตรฐานเสียงของประเทศไทยที่ไดแจกแจงไวใน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2540 คือ
50 of 116
คําตอบ 1 : Leq 8 ชม. ไมมากกวา 70 dB(A)
คําตอบ 2 : Leq 24 ชม. ไมมากกวา 70 dB(A)
คําตอบ 3 : LA ไมมากกวา 100 dB(A)
คําตอบ 4 : LA ไมมากกวา 110 dB(A)

ขอที่ : 212
โครงการของสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจซึ่งตองขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของราชการจะตองจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : ในขณะของบประมาณแผนดิน

่ า ย

คําตอบ 2 : ในชวงวางแผนโครงการ


คําตอบ 3 : ในระยะทําการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ

จ ำ
คําตอบ 4 : ในชวงออกแบบโครงการ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
213
Scoping เปนขั้นตอนหนึ่งของขั้นตอนการศึกษาซึ่งหมายถึง
คําตอบ 1 : การพิจารณากลั่นกรองกิจกรรมที่ควรศึกษา EIA

ิท
คําตอบ 2 : การกําหนดตัวแปรสําคัญ ๆ ของแตละประเด็นการศึกษา


คําตอบ 3 : การกําหนดขั้นตอนของการศึกษา

ว น
คําตอบ 4 : การกําหนดกรอบและประเด็นสําคัญเพื่อใชในการศึกษา

ส ง

ขอที่ : 214


การถมที่ดินในทะเลที่ตองมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมจะตองมีขนาดอยางต่ํา

กร
คําตอบ 1 : 10 ไร


คําตอบ 2 : ใชที่ดินไมต่ํากวา 2,000 ลูกบาศกเมตร



คําตอบ 3 : มีความยาวไมต่ํากวา 100 เมตร ตามแนวชายฝง

าว
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 215

ส ภ
ในฐานะผูวาราชการจังหวัดที่อยูในเขตควบคุมมลพิษ
คําตอบ 1 : ทานตองกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมสูงกวามาตรฐานของประเทศ
คําตอบ 2 : ทานตองเสนอแผนปฏิบัติการเพื่อลดและกําจัดมลพิษ
คําตอบ 3 : ทานตองรวมกับเอกชนเพื่อดําเนินการจัดการน้ําเสียและขยะมูลฝอย
คําตอบ 4 : ทานตองมีแผนในการจัดเก็บคาบําบัดน้ําเสียและจัดการขยะมูลฝอย
51 of 116
ขอที่ : 216
โครงการตอไปนี้ไมตองมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : การวางสายสงไฟฟาแรงสูง
คําตอบ 2 : การสรางถนนผานพื้นที่ลุมน้ําชั้น 2
คําตอบ 3 : การทําเหมืองขนาดเล็กกวา 10 ตารางเมตร
คําตอบ 4 : โครงการ Ecotourism ซึ่งตองใชชาง 200 เชือก

่ า ย

ขอที่ : 217


โครงการตอไปนี้จะตองมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม

จ ำ
คําตอบ 1 : ทาเรือขนาดไมนอยกวา 500 ตันกรอส อางเก็บน้ําขนาดไมนอยกวา 10 ลานลูกบาศกเมตร สนามบินที่รับเครื่องบินขนาดไมต่ํากวา 12 ที่นั่ง


คําตอบ 2 : ทาเรือขนาดไมนอยกวา 5 ตันกรอส อางเก็บน้ําขนาดไมนอยกวา 10 ลานลูกบาศกเมตร สนามบินที่รับเครื่องบินขนาดไมต่ํากวา 12 ที่นั่ง

า้
คําตอบ 3 : ทาเรือขนาดไมนอยกวา 500 ตันกรอส อางเก็บน้ําขนาดไมนอยกวา 10 ลานลูกบาศกเมตร สนามบินทุกขนาด

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ทาเรือไมจํากัดขนาด อางเก็บน้ําขนาดไมนอยกวา 10 ลานลูกบาศกเมตร สนามบินทุกขนาด

ิท
ขอที่ : 218


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2524) กําหนดใหเปนหนาที่ผูไดรับใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน ตองจัดใหทุกคนซึ่งอยูบริเวณทํางานที่มีเสียงดังเกิน


กวา................เดซิเบลเอ ซึ่งเปน เสียงดังอันเปนอันตรายตอแกวหู อุดหูดวยที่อุดหูที่มีประสิทธิภาพ
คําตอบ 1 : 90 dB(A)

ง ว

คําตอบ 2 : 85 dB(A)


คําตอบ 3 : 80 dB(A)

กร ข
คําตอบ 4 : 70 dB(A)

ขอที่ : 219


ิ ว
าว
มลสารใดที่ไมไดกําหนดในมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ


คําตอบ 1 : ตะกั่ว


คําตอบ 2 : คารบอนมอนอกไซด
คําตอบ 3 : ไฮโดรคารบอน
คําตอบ 4 : ไนโตรเจนไดออกไซด

ขอที่ : 220
มาตรฐานความรอนในสถานที่ประกอบการเรื่องความปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย “ภายในสถานที่ประกอบการที่มีลูกจางทํางานอยู จะมีสภาพความรอนที่ทําใหอุณหภูมิ
ของรางกาย ของลูกจางสูงเกินกวา...............มิได” 52 of 116

คําตอบ 1 : 35 oC
คําตอบ 2 : 36 oC
คําตอบ 3 : 37 oC
คําตอบ 4 : 38 oC

ขอที่ : 221
Council on Environmental Quality เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นในประเทศ
คําตอบ 1 : คานาดา

่ า ย

คําตอบ 2 : สหรัฐอเมริกา


คําตอบ 3 : อังกฤษ

จ ำ
คําตอบ 4 : ยุโรป

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
222
โครงการหรือกิจการที่อยูในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกําหนดใหเปนพื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 B ตอง จัดทํารายงาน
คําตอบ 1 : IEE

ิท
คําตอบ 2 : EIA


คําตอบ 3 : รายงานขอมูลดานสิ่งแวดลอม

ว น
คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับประเภทโครงการหรือกิจการที่กําหนดใหทํา EIA

ส ง

ขอที่ : 223


ปริมาณความเขมของแสงสวางที่ตองการในงานที่ไมตองการความละเอียด เชน การขนยาย การบรรจุ ไมนอยกวา..............

กร
คําตอบ 1 : 20 ลักซ


คําตอบ 2 : 50 ลักซ



คําตอบ 3 : 100 ลักซ

าว
คําตอบ 4 : 200 ลักซ

ขอที่ : 224

ส ภ
ในการประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศของโรงงานผลิตน้ําตาล ปจจัยหนึ่งที่ตองนํามาประเมิน ดวยดานฝุนละอองที่เกิดจากการเดินเครื่อง Boiler คือ
คําตอบ 1 : Combustion process
คําตอบ 2 : Soot Blow
คําตอบ 3 : Heat exchange
คําตอบ 4 : Multicyclone efficiency
53 of 116
ขอที่ : 225
วัตถุอันตรายแบงตามความจําเปนแกการควบคุม (ตามมาตรา 18 หมวด 2 การควบคุมวัตถุอันตราย) มี (
คําตอบ 1 : 2 ประเภท
คําตอบ 2 : 3 ประเภท
คําตอบ 3 : 4 ประเภท
คําตอบ 4 : 5 ประเภท

่ า ย

ขอที่ : 226


แหลงน้ําผิวดินเพื่อใชประโยชนสําหรับการวายน้ําและกีฬาทางน้ํา ไดแก

จ ำ
คําตอบ 1 : ประเภทที่ 1


คําตอบ 2 : ประเภทที่ 2

า้
คําตอบ 3 : ประเภทที่ 3

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ประเภทที่ 4

ิท
ขอที่ : 227


แหลงน้ําผิวดินเพื่อใชประโยชนสําหรับการอนุรักษระบบนิเวศลําน้ํา ไดแก

ว น
คําตอบ 1 : ประเภทที่ 1


คําตอบ 2 : ประเภทที่ 2


คําตอบ 3 : ประเภทที่ 3


คําตอบ 4 : ประเภทที่ 4

กร ข

ขอที่ : 228



ดัชนีคุณภาพน้ําที่ไมไดกําหนดในประเภทของแหลงน้ําผิวดิน แตกําหนดไวในคุณภาพน้ําบางประการ ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา ไดแก

าว
คําตอบ 1 : Sulfide


คําตอบ 2 : Ammonia


คําตอบ 3 : Carbon dioxide
คําตอบ 4 : Chlorine

ขอที่ : 229
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตราย ไดแก
คําตอบ 1 : เศษพลาสติกหรือยางสังเคราะหที่เปนโพลีเมอร
54 of 116
คําตอบ 2 : เศษไขสัตว น้ํามันสัตว น้ํามันพืช
คําตอบ 3 : เศษโลหะ และโลหะผสมที่ไมอยูในรูปของเกลือโลหะ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 230
มาตรฐานน้ําทิ้งจากที่ดินจัดสรรกําหนดไวสําหรับ
คําตอบ 1 : ไมไดกําหนดไว
คําตอบ 2 : ที่ดินจัดสรรเกิน 100 แปลง แตไมเกิน 500 แปลง

่ า ย

คําตอบ 3 : ที่ดินจัดสรรเกิน 500 แปลงขึ้นไป


คําตอบ 4 : ทั้ง ข. และ ค.

จ ำ

ขอที่ :

า้
231
คามาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด กําหนดไว

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ประเภท ก. ข. ค.
คําตอบ 2 : ประเภท ก. ข. ค. ง.

ิท
คําตอบ 3 : ประเภท ก. ข. ค. ง. จ.


คําตอบ 4 : ไมไดกําหนดไว

ขอที่ :

ง ว น

232


ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 พ.ศ. 2535 กําหนดวา อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ตองมีระบบ จายพลังงานไฟฟาสํารองสําหรับเครื่องหมายแสดงทางฉุกเฉิน ทางเดิน ระบบ


สัญญาณเตือนเพลิงไหม ไมนอยกวา...................ชั่วโมง (

กร
คําตอบ 1 : 30 นาที


คําตอบ 2 : 1 ชั่วโมง



คําตอบ 3 : 2 ชั่วโมง

าว
คําตอบ 4 : 3 ชั่วโมง

ขอที่ : 233

ส ภ
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : อาคารสูงตองมีที่เก็บน้ําสํารองเพื่อใชในการดับเพลิง
คําตอบ 2 : ทุกชั้นของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ตองมีตูหัวฉีดน้ําดับเพลิง (FHC)
คําตอบ 3 : ระบบทอน้ําดับเพลิงของอาคารสูงทาดวยสีน้ําเงิน
คําตอบ 4 : หัวรับน้ําดับเพลิงที่ติดตั้งอยูภายนอกอาคาร จะมีเสนผาศูนยกลาง 2.5 นิ้ว
55 of 116
ขอที่ : 234
Sprinkle System เปนระบบดับเพลิงอัตโนมัติที่ถูกบังคับใหติดตั้งในอาคารขนาดใด
คําตอบ 1 : อาคารสูง
คําตอบ 2 : อาคารขนาดใหญพิเศษ
คําตอบ 3 : อาคารขนาดใหญ
คําตอบ 4 : ขอ ก. และ ข. ถูก

่ า ย

ขอที่ : 235


ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง

จ ำ
คําตอบ 1 : อาคารสูงตองมีบันไดหนีไฟจากชั้นสูงสุดหรือดาดฟาสูพื้นดินอยางนอย 2 บันได


คําตอบ 2 : บันไดหนีไฟของอาคารสูง ตองทําดวยวัสดุทนไฟกวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร

า้
คําตอบ 3 : อาคารสูงตองมีดาดฟาและพื้นที่บนดาดฟาขนาดกวาง 6 เมตร เปนที่วางเพื่อใชหนีไฟทางอากาศได

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ประตูบันไดหนีไฟของอาคารสูงตองมีขนาดกวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา1.90 เมตร เปนชนิดผลักออก

ิท
ขอที่ : 236


ขอใดเปนลักษณะของอาคารสูง

ว น
คําตอบ 1 : มีความสูงตั้งแต 23 เมตรขึ้นไป


คําตอบ 2 : มีความสูงตั้งแต 20 เมตรขึ้นไป


คําตอบ 3 : มีความสูงตั้งแต 23 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น 1000 ตารางเมตร ขึ้นไป


คําตอบ 4 : มีความสูงตั้งแต 20 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น 1000 ตารางเมตร ขึ้นไป

กร ข

ขอที่ : 237



ปายบอกชั้นและปายบอกทางหนีไฟของอาคารที่สูงขนาด 4 ชั้น ขึ้นไป ตองมีขนาดเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 5 เซนติเมตร ขึ้นไป


คําตอบ 2 : 10 เซนติเมตร ขึ้นไป


คําตอบ 3 : 15 เซนติเมตร ขึ้นไป
คําตอบ 4 : 20 เซนติเมตร ขึ้นไป

ขอที่ : 238
ตามขอกําหนดตามกฎหมาย อาคารสูงหรืออาคารใหญพิเศษ ตองมีคาสูงสุดของอัตราพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลัง ตอพื้นที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคารไมเกินเทาใด
คําตอบ 1 : 10 ตอ 1
56 of 116
คําตอบ 2 : 12 ตอ 1
คําตอบ 3 : 15 ตอ 1
คําตอบ 4 : 20 ตอ 1

ขอที่ : 239
ระบบลิฟทโดยสารและลิฟทดับเพลิงที่ใชกับอาคารสูงตามกฎหมายจะตองมีขนาดมวลบรรทุกไมนอยกวากี่กิโลกรัม
คําตอบ 1 : 530 กิโลกรัม
คําตอบ 2 : 630 กิโลกรัม

่ า ย

คําตอบ 3 : 730 กิโลกรัม


คําตอบ 4 : 830 กิโลกรัม

จ ำ

ขอที่ :

า้
240
โครงการที่ตองจัดทํารายงานขอมูลสิ่งแวดลอมตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับปาอนุรักษเพิ่มเติมโดยผูพิจารณาคือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม
คําตอบ 2 : กรมปาไม

ิท
คําตอบ 3 : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด


คําตอบ 4 : องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ขอที่ :

ง ว น

241


โครงการกอสรางโรงฆาสัตว ซึ่งขอใชประโยชนในพื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มเติม จะตองจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมประเภท


คําตอบ 1 : IEE

กร
คําตอบ 2 : EIA


คําตอบ 3 : รายงานขอมูลดานสิ่งแวดลอม



คําตอบ 4 : ไมจําเปนตองจัดทํารายงาน

ขอที่ : 242

ภ าว

โครงการปลูกสรางปาชุมชน ซึ่งขอใชประโยชนในพื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มเติม จะตองจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมประเภท
คําตอบ 1 : IEE
คําตอบ 2 : EIA
คําตอบ 3 : รายงานขอมูลดานสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : ไมจําเปนตองจัดทํารายงาน

57 of 116
ขอที่ : 243
โครงการกอสรางวัดซึ่งขอใชประโยชนในพื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มเติม จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมประเภท
คําตอบ 1 : IEE
คําตอบ 2 : EIA
คําตอบ 3 : รายงานขอมูลดานสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : ไมจําเปนตองจัดทํารายงาน

่ า ย
ขอที่ : 244


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการศึกษาความเปนไปไดโครงการกําจัดขยะโดยวิธีฝงกลบ (Feasibility study) กําหนดใหจัดทํารายงานประเภทใด


คําตอบ 1 : รายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน

จ ำ
คําตอบ 2 : รายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม


คําตอบ 3 : รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวม

า้
คําตอบ 4 : ไมไดกําหนดวาเปนประเภทที่ตองทํารายงานผลกระทบ

ขอที่ : 245
ิธ์ ห
ิท
ผูใดมีสิทธิขอรับใบอนุญาตทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : สถาบันวิจัยที่เปนนิติบุคคล

ว น
คําตอบ 2 : สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา


คําตอบ 3 : สภาการเหมืองแร


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอ
กร
ขอที่ : 246


หนวยงานใดมีหนาที่รับผิดชอบดูแลการทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโดยตรง



คําตอบ 1 : กรมควบคุมมลพิษ

าว
คําตอบ 2 : สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม


คําตอบ 3 : กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม


คําตอบ 4 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ขอที่ : 247
การปลอยน้ําทิ้งออกจากโรงงานตองตรวจดูเกณฑของ
คําตอบ 1 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 2 : กรมควบคุมมลพิษ
58 of 116
คําตอบ 3 : กรมอนามัย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 248
ประเภทคุณภาพน้ําทะเลชายฝงมีกี่ประเภท
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 :


5

่ า
คําตอบ 3 : 7


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 249

จ ำ ห

ประเภทคุณภาพแหลงน้ําผิวดินมีกี่ประเภท

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 7

ิท
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

นส

ขอที่ : 250


อากาศที่สามารถจะระบายออกจากโรงงานตองวัดคาอะไรบาง
คําตอบ 1 : ปริมาณปรอท

อ ส

คําตอบ 2 : ปริมาณกรดกํามะถัน

กร
คําตอบ 3 : ปริมาณไฮโดรเจนคลอไรด


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 251

าว ศ


ขอใดคือดัชนีหรือตัวชี้วัดทางสิ่งแวดลอม


คําตอบ 1 : คาพีเอช
คําตอบ 2 : มาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งจากอาคาร
คําตอบ 3 : พรบ สาธารณสุข
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 252 59 of 116


ขอใดคืออาคารตามประกาศของกรมเจาทา
คําตอบ 1 : แพปลา
คําตอบ 2 : รานอาหาร
คําตอบ 3 : ศูนยการคา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 253

่ า ย
มาตรใดที่กลาวถึงการกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผล


กระทบสิ่งแวดลอมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบ


คําตอบ 1 : มาตรา 46


คําตอบ 2 : มาตรา 47

มจ
คําตอบ 3 : มาตรา 48

า้
คําตอบ 4 : มาตรา 49

ิธ์ ห
ขอที่ : 254

ิท
โรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลที่มีเตียงสําหรับผูปวยไวคางคืน รวมกันทุกชั้นของอาคารหรือกลุมของอาคารตั้งแต.................จัด


อยูในอาคารประเภท ก.


คําตอบ 1 : 100 เตียงขึ้นไป

ง ว
คําตอบ 2 : 80 เตียงขึ้นไป


คําตอบ 3 : 50 เตียงขึ้นไป


คําตอบ 4 : 30 เตียงขึ้นไป

ขอที่ : 255

กร ข

มาตรฐานการควบคุมระบายน้ําทั้งจากอาคารประเภท ข. จะมีเหมือนกับมาตรฐานการควบคุมระบายน้ําทิ้งจากอาคารประเภท ก. ยกเวนคาพารามิเตอรตอไปนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว
pH และ BOD


BOD และ TKN

ส ภ
คําตอบ 3 : BOD และ SS
คําตอบ 4 : BOD และ TDS

ขอที่ : 256
แหลงน้ําผิวดินที่กําหนดไว สําหรับการประมง ควรเปนแหลงน้ําผิวดิน
คําตอบ 1 : ประเภท 1
คําตอบ 2 : ประเภท 2 60 of 116

คําตอบ 3 : ประเภท 3
คําตอบ 4 : ประเภท 4

ขอที่ : 257
แหลงน้ําแหลงน้ําประเภทใดที่กําหนดไวสําหรับการเกษตร
คําตอบ 1 : ประเภท 1
คําตอบ 2 : ประเภท 2
คําตอบ 3 : ประเภท 3

่ า ย

คําตอบ 4 : ประเภท 4

ขอที่ : 258

จ ำ ห

แหลงน้ําผิวดินที่กําหนดไว สําหรับการประมง ควรเปนแหลงน้ําผิวดิน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ประเภท 1
คําตอบ 2 : ประเภท 2
คําตอบ 3 : ประเภท 3

ิท
คําตอบ 4 : ประเภท 4

นส

ขอที่ : 259


แหลงน้ําแหลงน้ําประเภทใดที่กําหนดไวสําหรับการเกษตร
คําตอบ 1 : ประเภท 1

อ ส

คําตอบ 2 : ประเภท 2

กร
คําตอบ 3 : ประเภท 3


คําตอบ 4 : ประเภท 4

ขอที่ : 260

าว ศ


การผลิตทรายบก กอใหเกิดผลกระทบใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : พื้นที่ขอบบอเกิดการพังทลายหรือยุบตัวของดิน
คําตอบ 2 : บอน้ําตื้นบริเวณใกลเคียง จะมีปริมาณน้ํานอยลงหรือไมมีเลยในฤดูแลง
คําตอบ 3 : กอใหเกิดการฟุงกระจายของฝุน ในระหวางการขนสง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 261 61 of 116


ผลกระทบจากการเลี้ยงกุงกุลาดําในพื้นที่น้ําจืด มีอะไรบาง
คําตอบ 1 : มีการแพรกระจายของโซเดียมอิออน เฉพาะในแนวดิ่ง
คําตอบ 2 : เกิดการสะสมความเค็มเฉพาะดานขาง
คําตอบ 3 : ชั้นน้ําใตดินที่เปนน้ําจืดอยูใกลผิวดินจะมีความเค็มเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 262

่ า ย
ขอใดไมใช ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากการผลิตเกลือสินเธาว


คําตอบ 1 : ผลกระทบตอระบบนิเวศนของแหลงประมงน้ําจืด


คําตอบ 2 : สัตวน้ําจืดที่ไมสามารถทนความเค็มตายได

จ ำ
คําตอบ 3 : การเกิดปญหาแผนดินทรุด


คําตอบ 4 : ผลิตเกลือทะเลไดลดลง

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 263
แหลงน้ําที่เรียกวา \\\"ทะเลสาบสงขลา\\\" คืออะไร

ิท
คําตอบ 1 : ทะเลสาบน้ําจืด


คําตอบ 2 : ทะเลสาบน้ําเค็ม

ว น
คําตอบ 3 : ทะเลสาบน้ํากรอย


คําตอบ 4 : ทะเลสาบน้ําอุน

อ ส

ขอที่ : 264

กร
พารามิเตอรใดใชในการแบงมาตรฐานแหลงน้ําผิวดินในประเทศไทย


คําตอบ 1 : DO



คําตอบ 2 : COD

าว
คําตอบ 3 : ไนเตรท-ไนโตรเจน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 265

ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหน้ํามันไดรั่วไหลลงสูแหลงน้ํา
คําตอบ 1 : อุบัติเหตุเรือขนสงน้ํามันชนกับเรือทั่วไป
คําตอบ 2 : การลักลอบปลอยน้ําลางถังน้ํามัน
คําตอบ 3 : เกิดจากการขนถายน้ํามันทางทะเล
62 of 116
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 266
ขอใดเปนพารามิเตอรที่ใชตรวจวัดคุณภาพอากาศ ในการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมในระหวางดําเนินการโครงการ รถไฟฟา
คําตอบ 1 : PM.10 TSP NOx HC
คําตอบ 2 : Frequency and Peak Mode สําหรับ TSP
คําตอบ 3 : Leq (24) TSP


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

น่ า

ขอที่ : 267


ขอใดเปนปจจัยคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ตรวจวัดคุณภาพน้ํา
คําตอบ 1 : TSP BOD TSS CO

มจ
า้
คําตอบ 2 : pH BOD TSS DO

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : TSP BOD TSS HC
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 268

ส ิท
ว น
สาเหตุสําคัญของปญหาน้ําทะเลกัดเซาะคุกคาม คือ


คําตอบ 1 : การลดลงของพื้นที่ปาชายเลน


คําตอบ 2 : การใชประโยชนจากชายฝงทะเลที่ไมยั่งยืน


คําตอบ 3 : การสรางเขื่อนเก็บน้ําในแมน้ําตาง ๆ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข
ขอที่ : 269


ิ ว
าว
ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : ใชแผนที่มาตราสวน 1:100,000 เปนขอมูลพื้นฐาน


คําตอบ 2 : ใชแผนที่มาตราสวน 1:50,000 เปนขอมูลพื้นฐาน
คําตอบ 3 : ใชแผนที่มาตราสวน 1:25,000 เปนขอมูลพื้นฐาน
คําตอบ 4 : ใชแผนที่มาตราสวน 1:1,000 เปนขอมูลพื้นฐาน

ขอที่ : 270
หนวยความดังของเสียงคือ
63 of 116
คําตอบ 1 : dB
คําตอบ 2 : dB (A)
คําตอบ 3 : dB (B)
คําตอบ 4 : dB (C)

ขอที่ : 271
เครื่องมือที่ใชวัดความดังของเสียง คือ
คําตอบ 1 : Sound level meter

่ า ย

คําตอบ 2 : Noise level meter


คําตอบ 3 : Voice level meter

จ ำ
คําตอบ 4 : Voice level recorder

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
272
แนวแตกของชั้นหินใตเปลือกโลก เรียกวา
คําตอบ 1 : Broken rock

ิท
คําตอบ 2 : Broken lines


คําตอบ 3 : Fault rock

ว น
คําตอบ 4 : Fault lines

ส ง

ขอที่ : 273


ภาคใคของประเทศไทยที่มีความเสี่ยงในการไดรับผลกระทบตอแผนดินไหวมากที่สุด

กร
คําตอบ 1 : ภาคอีสาน


คําตอบ 2 : ภาคตะวันตก



คําตอบ 3 : ภาคตะวันออก

าว
คําตอบ 4 : ภาคใต

ขอที่ : 274

ส ภ
ปจจัยสําคัญในการเคลื่อนตัวและแพรกระจายของมลสารในอากาศคือ
คําตอบ 1 : แสงอาทิตย
คําตอบ 2 : ความเร็วลม
คําตอบ 3 : ทิศทางลม
คําตอบ 4 : ขอ ข และ ค
64 of 116
ขอที่ : 275
การตรวจวัดระดับเสียงโดยทั่วไป ระดับความสูงของไมโครโฟนควรอยูหางจากระดับพื้นในระยะกี่เมตร
คําตอบ 1 : 0.1-0.5 เมตร
คําตอบ 2 : 0.5-1.0 เมตร
คําตอบ 3 : 1.0-1.2 เมตร
คําตอบ 4 : 1.2- 1.5 เมตร

่ า ย

ขอที่ : 276


EPNL มีความหมายตรงกับขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : คาการวัดระดับเสียงจากเครื่องจักรที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม


คําตอบ 2 : คาการวัดระดับเสียงจากทอไอเสียรถยนต

า้
คําตอบ 3 : คาการวัดระดับเสียงจากเครื่องบิน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : คาการวัดระดับเสียงจากแหลงกําเนิดที่เคลื่อนที่

ิท
ขอที่ : 277


ถามีแหลงกําเนิดเสียงจากทั้ง 4 แหลง ดังตอไปนี้ ณ ที่แหงเดียวกันระดับเสียงรวมมีคาเทาใด

ง ว น

คําตอบ 1 : 58 เดซิเบล เอ


คําตอบ 2 : 60 เดซิเบล เอ

กร ข
คําตอบ 3 : 62.3 เดซิเบล เอ
คําตอบ 4 : 63.2 เดซิเบล เอ


ิ ว
าว
ขอที่ : 278


ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง


คําตอบ 1 : L90 คาระดับเสียงของบริเวณนั้นที่รอยละ 10 ของเวลาที่ทําการตรวจวัดทั้งหมดมีคาเกินกวาคา L90 หรือเรียกวาเสียงพื้นฐาน (background noise)
คําตอบ 2 : L90 คาระดับเสียงของบริเวณนั้นที่รอยละ 90 ของเวลาที่ทําการตรวจวัดทั้งหมดมีคาเกินกวาคา L90 หรือเรียกวาเสียงพื้นฐาน (background noise)
คําตอบ 3 : L10 คาระดับเสียงของบริเวณนั้นที่รอยละ 90 ของเวลาที่ทําการตรวจวัดทั้งหมดมีคาเกินกวาคา L90 หรือเรียกวาเสียงพื้นฐาน (background noise)
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 279
V/C ratio มีความหมายตรงกับขอใด 65 of 116
คําตอบ 1 : ใชบอกความคุมทุนของโครงการ
คําตอบ 2 : ใชบอกความคุมทุนของโครงการรวมกับคาใชจายดานสิ่งแวดลอม
คําตอบ 3 : คาที่ใชบอก ความคลองตัวของการจราจร
คําตอบ 4 : อัตราสวนที่บอกปริมาณรถประเภทตางๆ บนถนน

ขอที่ : 280

่ า ย
ผลกระทบจากน้ําหลอเย็น ซึ่งจะปลอยสูแหลงน้ําธรรมชาติ จะตองมีคุณสมบัติดังนี้


คําตอบ 1 : อุณหภูมิตองไมสูงกวาแหลงน้ําธรรมชาติ


คําตอบ 2 : อุณหภูมิสูงกวาแหลงน้ําธรรมชาติไดไมเกิน 3 องศาเซลเซียส และมีของแข็งละลาย(TDS) ไมเกิน 10%

จ ำ
คําตอบ 3 : อุณหภูมิสูงกวาแหลงน้ําธรรมชาติไดไมเกิน 3 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : อุณหภูมิสูงกวาแหลงน้ําธรรมชาติไดไมเกิน 10 องศาเซลเซียส และมีของแข็งละลาย (TDS) ไมเกิน 10%

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 281
โรงงานแหงหนึ่งปลอย SO2 ออกจากปลองควัน 2 ตัน/ชม. ปลอยควันลง 60 เมตร บริเวณที่ปริมาณความเขมขนของ SO2 สูงเกินมาตรฐาน จะมีรัศมีประมาณ

ิท
คําตอบ 1 : 100 เมตร


คําตอบ 2 : 500 เมตร

ว น
คําตอบ 3 : 1 กิโลเมตร


คําตอบ 4 : 2 กิโลเมตร

อ ส

ขอที่ : 282

กร
ทานคิดวาผลกระทบจากการทําเหมืองแรตอสภาพแวดลอมตอไปนี้เรื่องใดไมสามารถจะปองกันได (Irreversible)


คําตอบ 1 : ทําใหเกิดปญหามลพิษทางน้ํา



คําตอบ 2 : ทําใหคุณสมบัติทางฟสิกสของดินเปลี่ยนไป

าว
คําตอบ 3 : ทําใหมีสภาพการใชที่ดินที่ไมเหมาะสม


คําตอบ 4 : ทําใหเสียดินชั้นบนซึ่งมีคุณคาทางการเกษตร

ขอที่ : 283

ในการประเมินผลกระทบคุณภาพอากาศเพื่อใหทราบระดับความเขมขนของมลสารทางอากาศจากโรงงานที่มีผลตอ receptor ควรใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรแบบใด
คําตอบ 1 : Box model
คําตอบ 2 : ISCST model
คําตอบ 3 : QUAL2E model
66 of 116
คําตอบ 4 : Streeter Phelp model
ขอที่ : 284
ในการประเมินปริมาณการปลอยมลสารจาก (Emissions) กิจกรรมตาง ๆ ตองการทราบขอมูลตอไปนี้
คําตอบ 1 : Emission factor และ emission reduction efficiency
คําตอบ 2 : Emission factor, activity rate และ emission reduction efficiency
คําตอบ 3 : Activity rate และ emission factor


คําตอบ 4 : Emission reduction efficiency และ activity rate

น่ า

ขอที่ : 285


การกําหนดมาตรฐานเสียงในพื้นที่อาศัย มักใชเสกลเสียงใด
คําตอบ 1 : Ldn

มจ
า้
คําตอบ 2 : Leq

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Lnp
คําตอบ 4 : Lx

ขอที่ : 286

ส ิท
ว น
ถามีการรายงานผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนวามีคา L10 = 80 dBA ผลการตรวจวัดนี้มีความหมายวาอยางไร


คําตอบ 1 : 90% ของขอมูลที่ทําการตรวจวัดเสียง มีระดับเสียงมากกวา 80 dBA


คําตอบ 2 : 10% ของขอมูลที่ทําการตรวจวัดเสียง มีระดับเสียงมากกวา 80 dBA


คําตอบ 3 : ระดับเสียงเฉลี่ยมีคา 80 dBA
คําตอบ 4 :

กร ข
10% ของขอมูลที่ทําการตรวจวัดเสียง มีระดับเสียงเทากับ 80 dBA

ขอที่ : 287


ิ ว
าว
ในการตรวจวัดระดับเสียงในสถานประกอบการแหงหนึ่ง ควรตั้งเครื่องวัดเสียงที่ความสูงระดับใด


คําตอบ 1 : ความสูงจากระดับพื้น 1.5 เมตร


คําตอบ 2 : ความสูงระดับเดียวกับที่หูของคนงาน
คําตอบ 3 : ความสูงจากระดับพื้น 1.8 เมตร
คําตอบ 4 : ความสูงจากระดับพื้น 1.2 เมตร

ขอที่ : 288
การตั้งเครื่องวัดเสียงใหอยูชิดกับกําแพง จะทําใหผลการตรวจวัดเปนอยางไร
67 of 116
คําตอบ 1 : ดังกวาระดับเสียงจริง
คําตอบ 2 : เบากวาระดับเสียงจริง
คําตอบ 3 : เทากับระดับเสียงจริง
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 289
ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากการปลอยน้ําเสียจากโรงแรมตอคุณภาพน้ําโดยไมผานระบบบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 1 : กอใหเกิดการลดลงของกาซออกซิเจนละลายน้ํา

่ า ย

คําตอบ 2 : กอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของโลหะหนัก


คําตอบ 3 : กอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของสารอินทรีย

จ ำ
คําตอบ 4 : กอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของเชื้อโรค

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
290
ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากปญหา Oil Spill
คําตอบ 1 : ลดการถายเทของออกซิเจนจากอากาศสูน้ํา

ิท
คําตอบ 2 : อันตรายตอนกและสัตวน้ํา


คําตอบ 3 : เกิดสภาพ Eutrophication

ว น
คําตอบ 4 : กอใหเกิดทัศนอุจาด

ส ง

ขอที่ : 291


อะไรตอไปนี้ที่ไมใชสิ่งที่มีผลกระทบตอคุณภาพอากาศที่สําคัญของโรงไฟฟาที่ใชก็าซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง

กร
คําตอบ 1 : การปลอยก็าซซัลเฟอรไดออกไซด


คําตอบ 2 : การปลอยก็าซไนโตรเจนไดออกไซด



คําตอบ 3 : การปลอยก็าซเรือนกระจก

าว
คําตอบ 4 : การรั่วไหลของก็าซมีเทน

ขอที่ : 292

ส ภ
วิธีการใดคือการควบคุมผลกระทบทางน้ําใน ในระหวางการกอสรางของโครงการ
คําตอบ 1 : การปดคลุมกองวัสดุที่ใชในการกอสรางเชน กองหิน กองทราย
คําตอบ 2 : การจัดเก็บสารเคมี และน้ํามันเชื้อเพลิงอยางถูกตองและเหมาะสม
คําตอบ 3 : การขุดบอรองรับน้ําในพื้นที่โครงการ กอนปลอยออกสูภายนอก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
68 of 116
ขอที่ : 293
คา NEF เปนคาที่วัดผลกระทบจากโครงการกอสราง
คําตอบ 1 : ถนน
คําตอบ 2 : โรงงาน
คําตอบ 3 : เหมืองแร
คําตอบ 4 : สนามบิน

่ า ย

ขอที่ : 294


NEF ที่เปนคาระดับเสียงจากโครงการสนามบินที่ยอมรับได

จ ำ
คําตอบ 1 : > 40


คําตอบ 2 : 30 - 40

า้
คําตอบ 3 : < 30

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมไดกําหนดไว

ิท
ขอที่ : 295


พื้นที่ไวตอการรับเสียงมาก ไดแก

ว น
คําตอบ 1 : พื้นที่สวนสาธารณะ


คําตอบ 2 : โรงเรียน


คําตอบ 3 : ผานที่พักอาศัย


คําตอบ 4 : สถานที่ราชการ

กร ข

ขอที่ : 296



Ldn คือ พารามิเตอรที่บงถึง

าว
คําตอบ 1 : ระดับเสียงปกติ


คําตอบ 2 : ระดับเสียงรบกวน


คําตอบ 3 : ระดับเสียงอันตราย
คําตอบ 4 : ระดับเสียงกลางวันกลางคืน

ขอที่ : 297
Wind rose เปนขอมูลที่ใชในการประเมิน
คําตอบ 1 : คุณภาพอากาศ
69 of 116
คําตอบ 2 : ระดับเสียง
คําตอบ 3 : การสั่นสะเทือน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 298
ในการทําเหมืองแรประเด็นที่พิจารณาหนึ่งคือ การเกิดกรดในมูลดินทราย จงบอกถึงชื่อสารที่จะกอให เกิดกรด คือ
คําตอบ 1 : เหล็ก
คําตอบ 2 : ตะกั่ว

่ า ย

คําตอบ 3 : แมงกานีส


คําตอบ 4 : แมงกานีส

จ ำ

ขอที่ :

า้
299
Water logging เปนพารามิเตอรหนึ่งที่พิจารณาประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทาเรือ
คําตอบ 2 : เหมืองแร

ิท
คําตอบ 3 : ชลประทาน


คําตอบ 4 : ประมง

ขอที่ :

ง ว น

300


ความเปนอันตรายของแอมโมเนียที่มีตอสัตวน้ําอยูในรูป


คําตอบ 1 : Unionized ammonia (NH3)

กร
คําตอบ 2 : Ammonia – Nitrogen (NH3-N)


คําตอบ 3 : Ionized ammonia (NH4+)



คําตอบ 4 : แอมโมเนียไมไดเปนอันตรายตอสัตวน้ํา

ขอที่ : 301

ภ าว

ในการพิจารณาเขตอุตสาหกรรมในบริเวณลุมน้ําแหงหนึ่ง ซึ่งมีพื้นที่ 100 เอเคอร และความเขมของ ฝนในบริเวณดังกลาว 0.20 นิ้ว/ชม. โดยใช Rational method ซึ่งคา runoff
coefficient สําหรับพื้นที่ ลุมน้ําเทากับ 0.20 และพื้นที่อุตสาหกรรม = 0.65 ประเมินปริมาณน้ําบา (runoff) ไดวา
คําตอบ 1 : ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น 10 %
คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้น 15 %
คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้น 22.5 %
70 of 116
ขอที่ : 302
โรงไฟฟาชีวมวลใชกากออยเปนเชื้อเพลิง เมื่อทําการประเมินฝุนละอองที่ระบายออกจากหมอไอน้ํา มีอัตราการใชกากออย 113,300 กก./ชม. โดยคา Emission Factor (A1-42
USEPA) ของเชื้อเพลิง กากออยเทากับ 8 กก./ตัน และมีการใชเครื่องกําจัดฝุนละออง Multicyclone ประสิทธิภาพ 88% และ Wet scrubber ประสิทธิภาพ 70 % ฝุนที่ระบายออก
จากปลองควันประเมินไดเทากับ
คําตอบ 1 : 8.0 กรัม/วินาที
คําตอบ 2 : 9.0 กรัม/วินาที


คําตอบ 3 : 10.0 กรัม/วินาที

่ า
คําตอบ 4 : 12.0 กรัม/วินาที

หน

ขอที่ : 303


Cutting residues เปนของเสียที่เกิดจากโครงการ

า้ ม
คําตอบ 1 : การเจาะสํารวจหาปโตรเลียม

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : การกอสรางถนน
คําตอบ 3 : การกอสรางสนามบิน
คําตอบ 4 : การทําเหมืองแร

ส ิท

ขอที่ : 304


Blowont preventor (BOP) เปนอุปกรณที่ใชในการควบคุมการระเบิดของโครงการ
คําตอบ 1 : การทําเหมืองแร

ส ง

คําตอบ 2 : การกอสรางทางหลวง


คําตอบ 3 : การเจาะสํารวจปโตรเลียม

กร
คําตอบ 4 : การผลิตน้ํามัน


ิ ว
าว
ขอที่ : 305
ในการประเมินผลกระทบคุณภาพน้ําซึ่งคาดวาเกิดจากสารอาหารที่มากับน้ําทิ้ง ซึ่งกอใหเกิดสภาพ

ส ภ
คําตอบ 1 : Blue Babies Syndrome
คําตอบ 2 : Eutrophication
คําตอบ 3 : DO depletion
คําตอบ 4 : Toxic substances

ขอที่ : 306
การประเมินผลกระทบตอคุณภาพน้ําของแหลงน้ําผิวดินที่เปนแหลงรองรับน้ําทิ้งประเภทอินทรีย ควรจะประเมิน 71 of 116

คําตอบ 1 : ลักษณะสมบัติน้ําทิ้ง
คําตอบ 2 : BOD loading
คําตอบ 3 : DO Sag curve
คําตอบ 4 : ผลกระทบตอปลา

ขอที่ : 307
การประเมินผลกระทบโครงการจัดสรรที่ดินดานการบําบัดน้ําเสีย โดยโครงการนี้ประกอบดวย 200 ครัวเรือน มีอัตราการใชน้ํา 1000 ลิตร/ครัวเรือน/วัน คา BOD ที่ใชในการออกแบบ


150 มก./ล. อัตราการระบายน้ําเสียBOD loading เทากับ
คําตอบ 1 : 24.0 kg/d

น่ า

คําตอบ 2 : 25.5 kg/d


คําตอบ 3 :


27.0 kg/d


คําตอบ 4 : 28.5 kg/d

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 308
โรงแรมขนาด 157 หอง มีระบบบําบัดน้ําเสียแบบ Extended Aeration Activated Sludge โดยปริมาณน้ําใช 750 ลิตร/หอง คา BOD เขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย 250 มก./ล. ระยะ

ิท
เวลาเติมอากาศ 20 ชั่วโมง ถาตองการรักษาระบบโดยคา F/M อยูในชวง 0.10 วัน-1 จะตองรักษาความเขมขนของตะกอนเทาใด


คําตอบ 1 : 2000 มก./ล.


คําตอบ 2 : 2500 มก./ล.

ง ว
คําตอบ 3 : 3000 มก./ล.


คําตอบ 4 : 4000 มก./ล.

ขอ
กร
ขอที่ : 309
โรงแรมขนาด 157 หอง มีระบบบําบัดน้ําเสียแบบ Extended Aeration Activated Sludge กําหนดคา BOD เขาระบบบําบัดน้ําเสีย 250 มก./ล. และน้ําทิ้งออกจากระบบบําบัด 20


มก./ล. ถาใหคาออกซิเจนที่ตองการ 2 เทา ของ BOD ที่ถูกกําจัด ปริมาตรของถังเติมอากาศ 76.5 ลบ.ม. กําลังงานที่ใชในการกวนน้ํา 1.15 แรงมา อัตราการเติม O2 1.4 กก. O2/



ชม. ใชจํานวน 1 เครื่อง ถาทานเปนผูประเมินดานการบําบัดน้ําเสียจะพิจารณาดังนี้

าว
คําตอบ 1 : ปริมาณ O2 เพียงพอ


คําตอบ 2 : ปริมาณ O2 ไมเพียงพอ


คําตอบ 3 : ขอมูลไมเพียงพอในการประเมิน
คําตอบ 4 : เพิ่มเครื่องเติมอากาศอีก 1 เครื่อง

ขอที่ : 310
โรงพยาบาลมีจํานวนเตียง 666 เตียง อัตราใชน้ํา 1000 ลิตร/เตียง/วัน คา BOD เขาระบบ 250 มก./ล. ถังเติมอากาศเปนแบบคลองวนเวียน มีระดับการกักเก็บน้ําที่ระยะ 1.30 ม.
ความกวางของคลอง 3.00 ม. คา MLSS 2500 มก./ล. คา F/M ตามเกณฑ 0.05-0.15 ประเมินไดวา
72 of 116
คําตอบ 1 : F/M อยูในเกณฑกําหนด
คําตอบ 2 : F/M ไมอยูในเกณฑกําหนด
คําตอบ 3 : ไมสามารถประเมินคา F/M
คําตอบ 4 : คา MLSS นอยไป

ขอที่ : 311
ในการประเมินระบบบําบัดน้ําเสียของโรงพยาบาลแหงหนึ่งตองมีการฆาเชื้อโรคในขั้นสุดทายกอนระบายน้ําทิ้งลงสูทอสาธารณะ ถาถังคลอรีนที่กอสรางมีปริมาตร 22.2 ลบ.ม. โดยโรง


พยาบาลมีขนาด 666 เตียง อัตราใชน้ํา 1000ลิตร/เตียง/วัน ระยะเวลาเก็บกักที่กําหนดตามาตรฐานคือไมนอยกวา 30 นาที ดังนั้น คาที่ออกแบบพิจารณาใหดังนี้
คําตอบ 1 : ต่ํากวาคามาตรฐาน

น่ า

คําตอบ 2 : ประมาณ 1.0 เทาคามาตรฐาน


คําตอบ 3 : ประมาณ 1.5 เทาคามาตรฐาน

มจ
คําตอบ 4 : ประมาณ 2 เทาคามาตรฐาน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 312
ถาผลการตรวจวัดระดับเสียงในชุมชนเปนดังตารางตอไปนี้ จงหาคา Ldn ของพื้นที่ที่ทําการตรวจวัดนี้

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 74.3 dBA 73 of 116

คําตอบ 2 : 71.2 dBA


คําตอบ 3 : 72.6 dBA
คําตอบ 4 : 70.0 dBA

ขอที่ : 313
ถาผลการตรวจวัดระดับเสียงในชุมชนเปนดังตารางตอไปนี้ ชวงเวลาที่วิธีการคํานวณหาคา Ldn ใหบวกคาระดับเสียงที่ตรวจวัดไดเพิ่มอีก 10 dBA กอนนําไปคํานวณ คือชวงเวลาใด
ตอไปนี้

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 22:00 – 7:00 น.
คําตอบ 2 : 23:00 – 7:00 น.

ส ภ
คําตอบ 3 : 22:00 – 6:00 น.
คําตอบ 4 : 23:00 – 5:00 น.

ขอที่ : 314

74 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว
เกินมาตรฐาน


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ต่ํากวามาตรฐาน
เทากับมาตรฐาน
ไมสามารถเปดเทียบกับมาตรฐานได

ขอที่ : 315
75 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระดับเสียงรบกวน

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : ระดับเสียงมีผลทําใหเกิดความเจ็บปวดตอคน


คําตอบ 3 : ระดับเสียงอันตรายตามมาตรฐานที่กําหนดไว


คําตอบ 4 : ระดับเสียงรบกวนตอคนทํางาน

ขอ
กร
ขอที่ : 316


ิ ว
ภ าว

76 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : 200 เมตร
คําตอบ 2 : 120 เมตร

ขอ
กร
คําตอบ 3 : 80 เมตร


คําตอบ 4 : 60 เมตร

ขอที่ : 317

าว ศ

ส ภ
77 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : ทําใหอาคารถูกทําลาย

กร
คําตอบ 2 : ทําใหหินพังทลาย


คําตอบ 3 : บานเรือนในเหมืองเสียหาย



คําตอบ 4 : ไมเปนอันตราย

ภ าว

ขอที่ : 318

78 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : สามารถระบายน้ําทิ้งลงลําน้ําได

ง ว
คําตอบ 2 : ระบายน้ําทิ้งอัตรา 400 ลบ.ม./วันมก./ล. กอนระบายลงลําน้ํา


คําตอบ 3 : ระบายน้ําทิ้งลงลําน้ําในอัตราสวน 430 ลบ.ม./วัน


คําตอบ 4 : ระบายน้ําทิ้งลงไดในอัตราสวน 360 ลบ..ม./วัน

ขอที่ :

กร ข

319

าว ศ

ส ภ
79 of 116
คําตอบ 1 : ไมทําใหเกิดเสียงรบกวน
คําตอบ 2 : ทําใหเกิดเสียงรบกวน
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดเสียงอันตราย
คําตอบ 4 : ทําใหเกิดเสียงระดับเจ็บปวด

ขอที่ : 320

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คาฝุนละอองจากโครงการประมาณ 1/4 เทาของคามาตรฐาน

ส ิท

คําตอบ 2 : คาฝุนละอองจากโครงการประมาณ 1/3 เทาของคามาตรฐาน

ง ว
คําตอบ 3 : คาฝุนละออง 1/2 เทา ของคามาตรฐาน


คําตอบ 4 : ไมสามารถประเมินคาได

ขอ
กร
ขอที่ : 321


ิ ว
ภ าว

80 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : ไมเพียงพอกับคาที่ตองการ
คําตอบ 2 : ประมาณ 2.0 เทาของคาที่ตองการ

นส

คําตอบ 3 : ประมาณ 2.4 เทาของคาที่ตองการ


คําตอบ 4 : ไมสามารถประเมินได

อ ส
กร ข
ขอที่ : 322


ิ ว
ภ าว

81 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : ใกลเคียงระดับเสียงรบกวน

กร ข

คําตอบ 2 : กอใหเกิดเสียงรบกวน

าว ศ

คําตอบ 3 : กอใหเกิดระดับเสียงอันตราย
คําตอบ 4 : กอใหเกิดระดับเสียงที่กอความเจ็บปวด

ขอที่ : 323
ส ภ
82 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : เหมาะสม เพราะทําใหปริมาณโคลิฟอรมหลงเหลือเขาใกลศูนย

ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : ไมเหมาะสม เพราะปริมาณโคลิฟอรมหลงเหลืออยูมาก


คําตอบ 3 : ควรเพิ่มเวลาสัมผัสเปน 100 นาที


คําตอบ 4 : ไมสามารถประเมินได

ง ว
อ ส
ขอที่ : 324

กร ข

ิ ว
ภ าว

83 of 116
คําตอบ 1 : เกือบ 100 %
คําตอบ 2 : 90 %
คําตอบ 3 : 85 %
คําตอบ 4 : 80 %

ขอที่ : 325

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 60 kg/d

กร ข

คําตอบ 2 : 71.3 kg/d



คําตอบ 3 : 100 kg/d

าว
คําตอบ 4 : 118.8 kg/d

ขอที่ : 326

ส ภ
84 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1 คัน/ชม.
คําตอบ 2 : 2 คัน/ชม.

ส ิท
คําตอบ 3 : 3 คัน/ชม.


คําตอบ 4 : 4 คัน/ชม.

ง ว

ขอที่ : 327

ขอ
วกร
าว ศ

ส ภ
85 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 1 : BOD ที่ประเมินไดใกลเคียงกับคา BOD ที่กําหนดไว


คําตอบ 2 : BOD ที่ประเมินได สูงกวาคาที่กําหนดไวมาก


คําตอบ 3 : BOD ที่ประเมินได นอยกวาคาที่กําหนดไวมาก


คําตอบ 4 : ประเมินไมได

กร ข

ขอที่ : 328

าว ศ

ส ภ
86 of 116
คําตอบ 1 : > 40
คําตอบ 2 : 30 - 40
คําตอบ 3 : < 30
คําตอบ 4 : ประเมินไมได

ขอที่ : 329

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 0.13 g/Nm3

อ ส

คําตอบ 2 : 0.15 g/Nm3

กร
คําตอบ 3 : 0.17 g/Nm3


คําตอบ 4 : 0.20 g/Nm3

ขอที่ : 330

าว ศ

ส ภ
87 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ไมได
คําตอบ 2 : ไดมากเกินพอ

ิท
คําตอบ 3 : ไดเพียงพอ

นส
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ง ว

ขอที่ : 331


โรงงานอุตสาหกรรมที่มีการเผาไหมถานหิน ควรมีการประเมินผลกระทบในดานใดเปนพิเศษ

กร ข
คําตอบ 1 : คุณภาพอากาศ
คําตอบ 2 : ไอออนโนสเฟยร


คําตอบ 3 : คุณภาพดานเทราไซคิก

าว ศ

คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวาหนึ่ง


ขอที่ :


332
โรงงานอุตสาหกรรมประเภทที่ 105 ควรมีการประเมินผลกระทบในดานเทคนิคใดเปนพิเศษ
คําตอบ 1 : คุณภาพอากาศ
คําตอบ 2 : คุณภาพทางอุทกธรณี
คําตอบ 3 : คุณภาพน้ําผิวดิน
คําตอบ 4 : คุณภาพดิน

88 of 116
ขอที่ : 333
เหมืองแรโพแทซในเขตจังหวัดอุดรธานี เปนพื้นที่เหมืองที่ประกอบดวย
คําตอบ 1 : แร Sylvite (KCl)
คําตอบ 2 : แร Halite (NaCl)
คําตอบ 3 : แร Sylvite และ Halite
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

่ า ย
ขอที่ : 334


หางแรในการทําเหมืองโพแทซ ประกอบดวยแรดังตอไปนี้เปนสวนใหญ


คําตอบ 1 : แร Sylvite (KCl)

จ ำ
คําตอบ 2 : แร Halite (NaCl)


คําตอบ 3 : แร MgCl

า้
คําตอบ 4 : แร CaCl

ขอที่ : 335
ิธ์ ห
ิท
คา TDS ในน้ําทิ้งซึ่งจะระบายออกจากโรงงานลงสูแหลงน้ํากรอยที่มีคาความเค็มเกิน 2000 มก./ล. หรือลงสู ทะเล คา TDS ในน้ําทิ้งจะมีคามากกวาคา TDS ที่มีอยูในแหลงน้ํากรอย


หรือทะเลไดไมเกิน 5000 มก/ล. โรงงานแหงหนึ่งมีน้ําทิ้งที่มีคา TDS 8000 มก/ล. ลงในน้ํากรอยที่มีคา TDS 5000 มก/ล แสดงวาโรงงานนี้


คําตอบ 1 : ไมสามารถระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ํานั้นได
คําตอบ 2 : สามารถระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ําทิ้งนั้นได

ง ว

คําตอบ 3 : สามารถระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ํานั้นไดบางสวน


คําตอบ 4 : ไมสามารถประเมินได

กร ข

ขอที่ : 336



Peak particle velocity (mm/sec) เปนตัวแปรที่วัด

าว
คําตอบ 1 : ความดังของเสียง


คําตอบ 2 : ความเร็วของเสียง


คําตอบ 3 : ความเร็วของอนุภาค
คําตอบ 4 : ความสั่นสะเทือน

ขอที่ : 337
ความสั่นสะเทือนที่มีผลตอโครงสราง โดยทั่วไปใชมาตรฐาน
คําตอบ 1 : DIN 4150
89 of 116
คําตอบ 2 : RICHER MEISER
คําตอบ 3 : Velocity Transducer
คําตอบ 4 : Peak particle velocity

ขอที่ : 338
น้ําบาดาลที่มีสารหนูมากกวา 0.01 mg/L จะทําใหผูดื่มน้ําบาดาลเปนโรคอะไร
คําตอบ 1 : Fluorosis
คําตอบ 2 :


Hyperkeratosis

่ า
คําตอบ 3 : Diarrhea


คําตอบ 4 : Blue baby disease

ขอที่ : 339

จ ำ ห

น้ําบาดาลเค็มเกิดจากการละลายของแรชนิดใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Anhydrite
คําตอบ 2 : Chlorite
คําตอบ 3 : Halite

ิท
คําตอบ 4 : Iodine

นส

ขอที่ : 340


การศึกษาการปนเปอนในแหลงน้ําบาดาล วิศวกรตองคํานวณหาอะไร
คําตอบ 1 : Capture Zone

อ ส

คําตอบ 2 : Plume

กร
คําตอบ 3 : DNAPLs


คําตอบ 4 : Groundwater flow

ขอที่ : 341

าว ศ


ขอใดมิใชการบําบัดหรือการกําจัด MTBE ในน้ําบาดาล


คําตอบ 1 : Activated carbon adsorption
คําตอบ 2 : Air stripping
คําตอบ 3 : Aeration tank
คําตอบ 4 : Metabolized by acclimated bacteria

ขอที่ : 342 90 of 116


น้ําที่ชะละลายขยะที่เปนไม จะทําใหเกิดกรดประเภทใด
คําตอบ 1 : Lignin acid
คําตอบ 2 : Brown leach ate acid
คําตอบ 3 : Brown leach ate acid
คําตอบ 4 : Lignin - tannin acid

ขอที่ : 343

่ า ย
น้ํากรอยมีปริมาณสารละลายในน้ําทั้งหมด (TDS) อยูในชวง เทาไร


คําตอบ 1 : 0 - 1,000 มล/ล


คําตอบ 2 : 10,000 - 100,000 มล/ล

จ ำ
คําตอบ 3 : 1,000 - 10,000 มล/ล


คําตอบ 4 : 500 - 1,000 มล/ล

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 344
น้ําใด มิใช Point source groundwater contaminants

ิท
คําตอบ 1 : LNAPLs


คําตอบ 2 : PCE

ว น
คําตอบ 3 : Nitrate


คําตอบ 4 : MTBE

อ ส

ขอที่ : 345

กร
เครื่องมือที่ทํางานดวยระบบ NDIR เปนเครื่องมือที่ใชวัด....................

คําตอบ 1 :


ิ ว
คําตอบ 2 :

ภ าว
คําตอบ 3 :ส
คําตอบ 4 :
91 of 116
ขอที่ : 346

่ า ย

คําตอบ 1 :

จ ำ ห

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท

คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 347

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
15.1 kg/d
21.6 kg/d
คําตอบ 3 : 42.0 kg/d
คําตอบ 4 : 60.0 kg/d

92 of 116
ขอที่ : 348

คําตอบ 1 : 90 มก/ล.

่ า
คําตอบ 2 : 100 มก/ล.


คําตอบ 3 : 120 มก/ล.
คําตอบ 4 : 250 มก/ล.

จ ำ ห
ขอที่ : 349

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
0.042 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
0.036 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
0.024 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 0.063 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

93 of 116
ขอที่ : 350
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : คาที่ไดไมเกินคามาตรฐาน โดยคาที่ไดมีผลตางความเขมขน 0.288 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : คาที่ไดไมเกินคามาตรฐาน โดยคาที่ไดมีผลตางความเขมขน 0.306 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

ว น
คําตอบ 3 : คาที่ไดเกินคามาตรฐาน โดยคาที่ไดมีผลตางความเขมขน 0.306 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 4 : คาที่ไดเกินคามาตรฐาน โดยคาที่ไดมีผลตางความเขมขน 0.288 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร

อ ส

ขอที่ : 351

ว กร
าว ศ

ส ภ
94 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น

Asphatic plant


คําตอบ 2 : Riveting hammer


คําตอบ 3 : Drag shovel

กร
คําตอบ 4 : Drop hammer


ิ ว
าว
ขอที่ : 352

ส ภ
95 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 54.8 เดซิเบล

ง ว น
คําตอบ 2 : 73.8 เดซิเบล

อ ส

คําตอบ 3 : 55.9 เดซิเบล

กร
คําตอบ 4 : 72.9 เดซิเบล


ิ ว
าว
ขอที่ : 353

ส ภ
96 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 9.2 เดซิเบล

ง ว น

คําตอบ 2 : 7.4 เดซิเบล


คําตอบ 3 : 8.1 เดซิเบล
คําตอบ 4 : 6.7 เดซิเบล

กร ข
ขอที่ : 354


ิ ว
าว
อนุมูลหลักของสารอนินทรียที่ละลายในน้ําบาดาลประกอบดวย


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

97 of 116
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 355

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 0.22 / วัน

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 0.23 / วัน
คําตอบ 3 : 0.24 / วัน


คําตอบ 4 : 0.26 / วัน

ขอที่ :

าว ศ


356


98 of 116
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : 0.41 / วัน

า้
คําตอบ 2 : 0.42 / วัน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.43 / วัน
คําตอบ 4 : 0.44 / วัน

ขอที่ :

ส ิท

357

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.2 มก./ล.
คําตอบ 2 : 2.2 มก./ล.
คําตอบ 3 : 3.2 มก./ล. 99 of 116
คําตอบ 4 : 4.2 มก./ล.
ขอที่ : 358

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 2.2 วัน


คําตอบ 2 : 2.3 วัน


คําตอบ 3 : 2.4 วัน

ง ว
คําตอบ 4 : 2.5 วัน

ขอที่ :

อ ส

359

วกร
าว ศ

ส ภ
100 of 116
คําตอบ 1 : 5.5 มก./ล.
คําตอบ 2 : 5.6 มก./ล.
คําตอบ 3 : 5.8 มก./ล.
คําตอบ 4 : 5.9 มก./ล.

ขอที่ : 360

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 23.2 กม. ทายน้ํา

ง ว น
คําตอบ 2 : 33.2 กม. ทายน้ํา

อ ส

คําตอบ 3 : 43.2 กม. ทายน้ํา

กร
คําตอบ 4 : 53.2 กม. ทายน้ํา


ิ ว
าว
ขอที่ : 361

ส ภ
101 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 1.8 มก./ล.

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 2.8 มก./ล.
คําตอบ 3 : 3.8 มก./ล.

ิท
คําตอบ 4 : 4.8 มก./ล.

นส

ขอที่ : 362

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 2.5 มก./ล.
คําตอบ 2 : 3.5 มก./ล.
102 of 116
คําตอบ 3 : 4.5 มก./ล.
คําตอบ 4 : 5.5 มก./ล.
ขอที่ : 363

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :

อ ส
Taxi/Idle, ปลอยกาซคารบอนมอนอกไซคและกาซไนโตรเจนไดออกไซค ออกมามากที่สุด


คําตอบ 2 : Take off, ปลอยกาซคารบอนมอนอกไซคและกาซไฮโดรเจนออกมามากที่สุด

กร
คําตอบ 3 : Taxi/Idle, ปลอยกาซคารบอนมอนอกไซคและกาซไฮโดรเจนออกมามากที่สุด


คําตอบ 4 : Take off, ปลอยกาซคารบอนมอนอกไซคและกาซไนโตรเจนไดออกไซค ออกมามากที่สุด

ขอที่ : 364

าว ศ

ส ภ
103 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 12.2 มก./ล.

ิท
คําตอบ 2 : 14.2 มก./ล.


คําตอบ 3 : 16.2 มก./ล.


คําตอบ 4 : 18.2 มก./ล.

ง ว

ขอที่ :


365

กร ข

ิ ว
ภ าว

104 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 1 : ชวงที่เครื่องบินปลอยมลสารทางอากาศมากที่สุด และนานที่สุด คือ ชวง Taxi/Idle


คําตอบ 2 : ปริมาณกาซในชวง Taxi/Idle ถือวาเปนกรณีไมเลวราย (Non-Worst Case)


คําตอบ 3 : หากสภาวะของเครื่องบินอยูในชวงสภาพอากาศแบบเลวราย (Worst Case) แลวคาปริมาณ มลพิษทางอากาศจะเกินมาตรฐาน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 366



ความกระดางที่เกิดขึ้นในน้ําชะขยะที่ไหลลงสูแหลงน้ําบาดาลเกิดจาก

คําตอบ 1 :

ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
105 of 116
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 367
ขอใดถูกตอง เมื่อพูดถึงเรื่องของ Mangrove forest


คําตอบ 1 : กลุมสังคมพืชที่ขึ้นอยูตามบริเวณชายฝงปากแมน้ํา ทะเลสาบ ปากอาว

่ า
คําตอบ 2 : ระดับน้ําทะเลจะเปนตัวกําหนดการกระจายของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในปาชายเลน


คําตอบ 3 : พันธุไมปาชายเลนที่สําคัญ ไดแก โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ :

า้
368

ิธ์ ห
พื้นที่ชุมน้ํามีความสําคัญตอสิ่งแวดลอม และมนุษย ในดานใดบาง
คําตอบ 1 : รักษาสมดุลของชายฝง
คําตอบ 2 : ทําหนาที่สนับสนุนการไหลของน้ําลงสูชั้นน้ําใตดิน

ิท
คําตอบ 3 : ถูกเฉพาะขอ ก และ ข


คําตอบ 4 : เปนแหลงตอกับทะเลลึก

ขอที่ :

ง ว น

369


เมื่อตองเก็บตัวอยางน้ํา เพื่อวิเคราะหคุณภาพน้ําผิวดิน พารามิเตอรใดเปนตัวแปรทางดานชีววิทยา


คําตอบ 1 :

กร
Benthos
คําตอบ 2 : Plankton


คําตอบ 3 : BOD



คําตอบ 4 : ถูกเฉพาะขอ ก และ ข

ขอที่ : 370

ภ าว

เมื่อตองการประเมินผลกระทบตอระบบนิเวศวิทยา ควรพิจารณาในประเด็นใด ตอไปนี้
คําตอบ 1 : ผลกระทบตอเสนทางการอพยพของสิ่งมีชีวิตที่ตองการอพยพยายถิ่น
คําตอบ 2 : การเปลี่ยน Keystone Umbrella
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสิ่งมีชีวิตเฉพาะทางลบ
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสิ่งมีชีวิตเฉพาะทางบวก

106 of 116
ขอที่ : 371
พิธีสารคารตาเฮนา คืออะไร
คําตอบ 1 : พิธีสารวาดวยการรักษาพื้นที่ชุมน้ํา
คําตอบ 2 : พิธีสารวาดวยความปลอดภัยทางชีวภาพ
คําตอบ 3 : พิธีสารวาดวยการฟนฟูพื้นที่สึนามิ
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

่ า ย
ขอที่ : 372


พื้นที่ปาไมในขอใด ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย


คําตอบ 1 : พื้นที่เขตอุทยานแหงชาติ

จ ำ
คําตอบ 2 : เขตรักษาพันธุสัตวปา


คําตอบ 3 : เขตหามลาสัตวปา

า้
คําตอบ 4 : วนอุทยาน

ขอที่ : 373
ิธ์ ห
ิท
ธรรมชาติที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงและฟนฟูคืนสูสภาพเดิมไดโดยระบบของตัวเอง คือขอใด


คําตอบ 1 : ปาไม

ว น
คําตอบ 2 : โปงพุรอน


คําตอบ 3 : ชายหาด


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอ
กร
ขอที่ : 374


ขอใดเปน แหลงมรดกทางธรรมชาติ ของประเทศไทย ที่ไดรับการเสนอบรรจุในทะเบียนรายชื่อของ ศูนยมรดกโลก



คําตอบ 1 : พื้นที่อนุรักษชายฝงทะเลอันดามัน

าว
คําตอบ 2 : อุทยานแหงชาติแกงกระจาน


คําตอบ 3 : กลุมพื้นที่ปาเทือกเขาเพชรบูรณ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 375
ปาไมของประเทศไทยสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
คําตอบ 1 : ปาไมไมผลัดใบ กับปาไมผลัดใบ
คําตอบ 2 : ปาชายเลน และปาดิบชื้น
107 of 116
คําตอบ 3 : ปาพรุ และปาดิบเมืองรอน
คําตอบ 4 : ปาเบจพรรณและปาทศพรรณ

ขอที่ : 376
ความหลากหลายทางชีวภาพนั้น มีองคประกอบอยูดวยกัน 3 อยาง คือ
คําตอบ 1 : ความหลากหลายในเรื่องชนิด ความหลากหลายของพันธุกรรม ความหลากหลายของระบบนิเวศ
คําตอบ 2 : ความหลากหลายของถิ่นตามธรรมชาติ ความหลากหลายของพันธุกรรม ความหลากหลายของของการทดแทน
คําตอบ 3 : ความหลากหลายในเรื่องชนิด ความหลากหลายของของการทดแทน ความหลากหลายของถิ่นตามธรรมชาติ

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 377

จ ำ ห

ขอใดเปนคําจํากัดความของ พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : พื้นที่ที่ควรสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารมีสภาพเปนปาสมบูรณ
คําตอบ 2 : ที่ดอน ที่สามารถใชประโยชนไดทั้งกิจการปาไม เหมืองแรและปลูกพืช
คําตอบ 3 : พื้นที่ที่ควรสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธาร ที่สภาพปาสวนใหญพื้นที่ถูกทําลาย

ิท
คําตอบ 4 : ที่ราบหรือที่ลุมหรือเนินลาดเอียงเล็กนอย สามารถใชประโยชนดานการเกษตรกรรม

นส

ขอที่ : 378


การสุมเก็บขอมูลในระบบนิเวศปาไม ใชวิธีการ
คําตอบ 1 :

อ ส
วางแปลงสี่เหลียมจัตุรัส โดยวิธีการสุมและวางแปลงใหมีระยะหางเทา ๆ กัน 2 ทิศทาง


คําตอบ 2 : วางแปลงสี่เหลียมผืนผา โดยวิธีการสุมและวางแปลงใหมีระยะหางเทา ๆ กัน 2 ทิศทาง

กร
คําตอบ 3 : วางแปลงสี่เหลียมขนมเปยกปูน โดยวิธีการสุมและวางแปลงใหมีระยะหางเทา ๆ กัน 2 ทิศทาง


คําตอบ 4 : วางแปลงสี่เหลียมคางหมู โดยวิธีการสุมและวางแปลงใหมีระยะหางเทา ๆ กัน 2 ทิศทาง

ขอที่ : 379

าว ศ


วิธีการหนึ่งในการศึกษาทางดานนิเวศวิทยาคือ


คําตอบ 1 : Line Transect
คําตอบ 2 : Line Boundary
คําตอบ 3 : Line Intersect
คําตอบ 4 : Line Transitioning

ขอที่ : 380 108 of 116


ขอใดเกี่ยวของกับดัชนีความหลากหลาย
คําตอบ 1 : ทรัพยากรกายภาพ
คําตอบ 2 : ทรัพยากรชีวภาพ
คําตอบ 3 : คุณคาการใชประโยชนของมนุษย
คําตอบ 4 : คุณคาคุณภาพชีวิต

ขอที่ : 381

่ า ย
ผลกระทบดานชีววิทยาตอไปนี้ประเด็นไหนสําคัญที่สุดและปองกันยากที่สุด


คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแปลงถิ่นที่อยูอาศัยเนื่องจากการชะลางพังทลายและการทับถมของตะกอน


คําตอบ 2 : การแบงแยกแหลงที่อยูอาศัย

จ ำ
คําตอบ 3 : เสียงหรือสิ่งกอสรางที่รบกวนสิ่งมีชีวิต


คําตอบ 4 : การกระจายของสารเคมีที่ทําใหสัตวบางชนิดเปนหมัน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 382
ในการศึกษาผลกระทบตอระบบนิเวศนน้ําจืด ควรมีการสํารวจขอมูลพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตตอไปนี้

ิท
คําตอบ 1 : แพลงตอน-สัตวหนาดิน


คําตอบ 2 : แพลงตอน-สัตวหนาดิน-พืชน้ํา

ว น
คําตอบ 3 : แพลงตอน-สัตวหนาดิน-สัตวน้ํา


คําตอบ 4 : แพลงตอน-สัตวหนาดิน-สัตวน้ํา-พืชน้ํา

อ ส

ขอที่ : 383

กร
ในการสํารวจปริมาณแพลงตอนและสัตวน้ํา จะรายงานในหนวยตอไปนี้


คําตอบ 1 : จํานวนตัว/ตร.ม. และจํานวนตัว/ลบ.ม. ตามลําดับ



คําตอบ 2 : จํานวนตัว/ลบ.ม. และจํานวนตัว/ลบ.ม. ตามลําดับ

าว
คําตอบ 3 : จํานวนตัว/ลบ.ม. และกิโลกรัม/ไร ตามลําดับ


คําตอบ 4 : จํานวนตัว/ตร.ม. และจํานวนตัว/ตร.ม. ตามลําดับ

ขอที่ : 384

ในการสุมตัวอยางสัตวประเภทนกในบริเวณพื้นที่ที่จะกอสรางโครงการเขื่อนเพื่อหาความหนาแนนหรือความชุกชุม ควรใชวิธีการ
คําตอบ 1 : นับทั้งหมด
คําตอบ 2 : สุมตัวอยางโดยใชแปลงสี่เหลี่ยม
คําตอบ 3 : สุมตัวอยางโดยใชวิธีจับ-ทําเครื่องหมาย-ปลอย
109 of 116
คําตอบ 4 : สุมตัวอยางโดยใชวิธีจับนกทั้งหมดจากพื้นที่ที่ทราบขนาด
ขอที่ : 385
ใหเรียงลําดับความหลากหลายทางชีวภาพ (species diversity) ของระบบนิเวศนปาดงดิบ ทุงนา สวนผลไม และปาโปรง จากมากไปหานอย
คําตอบ 1 : ปาโปรง > ทุงนา > สวนผลไม > ปาดงดิบ
คําตอบ 2 : ทุงนา > สวนผลไม > ปาโปรง > ปาดงดิบ
คําตอบ 3 : ปาดงดิบ > ปาโปรง > สวนผลไม > ทุงนา


คําตอบ 4 : สวนผลไม > ปาดงดิบ > ปาโปรง > ทุงนา

น่ า

ขอที่ : 386


Abundance ตางจาก Diversity อยางไร
คําตอบ 1 :


Abundance คือจํานวนตัวหรือตนของสิ่งมีชีวิตของแตละชนิด สวน Diversity คือจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด

า้
คําตอบ 2 : Abundance คือจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดสวน Diversity คือจํานวนตัวหรือตนของสิ่งมีชีวิตของแตละชนิด

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ไมตางกัน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 387

ส ิท
ว น
กอนมีโครงการพื้นที่หนึ่งมีจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิต ๑๐ ชนิด ชนิดละ ๑๐ ตัว/ตน แตหลังจากโครงการมีจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตเทาเดิม แตมีหนึ่งชนิดมีจํานวนตัว/ตน เพิ่มขึ้นเปน 82


ตัวและชนิดอื่นมีอยางละ ๒ ตัว อะไรคือสมมุติฐานที่นาเปนไปได


คําตอบ 1 : เปนกระบวนการทางธรรมชาติในพื้นที่ ซึ่งไมไดเกิดจากผลกระทบ


คําตอบ 2 : เกิด Natural Succession หลังจากพื้นที่ไดรับผลกระทบ

กร ข
คําตอบ 3 : มีผลกระทบบางอยางเกิดขึ้น ซึ่งสงเสริมใหเกิด dominant specie
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง


ิ ว
าว
ขอที่ : 388
Benthos หมายถึง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :ส ภ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน้ํา
สัตวหนาดิน
สัตวน้ํา
คําตอบ 4 : ปลาประเภทหนึ่ง

ขอที่ : 389
Flora และ Fauna จัดอยูในประเภท 110 of 116

คําตอบ 1 : Terrestrial Ecology


คําตอบ 2 : Aquatic Ecology
คําตอบ 3 : Ecosystem
คําตอบ 4 : Natural resource

ขอที่ : 390
Plankton จัดอยูในประเภท
คําตอบ 1 : Terrestrial Ecology

่ า ย

คําตอบ 2 : Aquatic Ecology


คําตอบ 3 : Ecosystem

จ ำ
คําตอบ 4 : Natural resource

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
391
นิเวศวิทยา (Ecology) หมายถึง
คําตอบ 1 : การศึกษาทางวิทยาศาสตรวาดวยความสัมพันธระหวางพืช สัตว และทรัพยากรกายภาพ

ิท
คําตอบ 2 : การศึกษาทางวิทยาศาสตรวาดวยความสัมพันธระหวางพืช สัตว และทรัพยากรชีวภาพ


คําตอบ 3 : การศึกษาทางวิทยาศาสตรวาดวยความสัมพันธระหวางพืช สัตว และสิ่งแวดลอม

ว น
คําตอบ 4 : การศึกษาทางวิทยาศาสตรวาดวยความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมของสิ่งมีชีวิตเหลานั้น

ส ง

ขอที่ : 392


ในการประเมินผลเชิงนิเวศ สิ่งที่ควรนํามาพิจารณาประกอบดวย

กร
คําตอบ 1 : การศึกษาประชากรของชนิดพันธุ (Species population)


คําตอบ 2 : สังคมหรือกลุมสิ่งมีชีวิต (biotic communities)



คําตอบ 3 : การศึกษาประชากรของชนิดพันธุและระบบนิเวศตาง ๆ

าว
คําตอบ 4 : การศึกษาประชากรของพันธุ สังคมหรือกลุมสิ่งมีชีวิต และระบบนิเวศตาง ๆ

ขอที่ : 393

ส ภ
ทรัพยากรชีวภาพโดยนัยของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ไดแก
คําตอบ 1 : กลุมสิ่งมีชีวิตบนบกและกลุมสิ่งมีชีวิตในน้ํา
คําตอบ 2 : กลุมสิ่งมีชีวิตในน้ํา กลุมสิ่งมีชีวิตบนบก และกลุมแบคทีเรียทั้งในน้ําและบนบก
คําตอบ 3 : กลุมสิ่งมีชีวิตในน้ํา กลุมสิ่งมีชีวิตบนบก และความสัมพันธในเชิงนิเวศวิทยา
คําตอบ 4 : กลุมสิ่งมีชีวิตในน้ํา กลุมสิ่งมีชีวิตบนบก และนิเวศวิทยา
111 of 116
ขอที่ : 394
พืชและสัตวโดยแทจริงแลว โดยนัยของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม หมายถึง
คําตอบ 1 : องคประกอบเชิงนิเวศของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 2 : องคประกอบเชิงชีวภาพของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 3 : ทรัพยากรชีวภาพของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม
คําตอบ 4 : ทรัพยากรเชิงนิเวศของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

่ า ย

ขอที่ : 395


ในการปะเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม การประเมินภาวะคุกคาม (threats) ตอแตละประชากรของชนิดพันธุ (individual species populations) และการสูญเสียชนิดพันธุเดน หรือชนิด


พันธุหลักเดี่ยวชนิดหนึ่ง ( a single dominant or key species) เปนสิ่งสําคัญเพราะ

มจ
คําตอบ 1 : การสูญเสียดังกลาวเปนภาวะคุกคามที่เกิดขึ้นบอยที่สุด หรือเปนเรื่องธรรมดาที่สุดที่เกิดขึ้นตอชนิดพันธุ( species)

า้
คําตอบ 2 : สิ่งมีชีวิตแตละชนิดพันธุมีบทบาทสําคัญในชุมชนหรือสังคมนั้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : สิ่งมีชีวิตที่เปนชนิดพันธุเดนหรือชนิดพันธุหลักเปนตัวบงชี้ความอยูรอดของชุมชนหรือสังคมนั้น
คําตอบ 4 : สิ่งมีชีวิตแตละชนิดพันธุและชนิดพันธุเดนหรือชนิดพันธุหลักเปนตัวบงชี้ความอยูรอดของชุมชนหรือสังคมนั้น

ขอที่ : 396

ส ิท

ในการประเมินผลเชิงนิเวศ (ecological assessment) นั้น ควรดําเนินการรวมกับองคประกอบอื่น ๆ ของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบสิ่งแวด


ลอม ไดแก
คําตอบ 1 :


ลักษณะภูมิอากาศ / ลมฟาอากาศ (climates)



คําตอบ 2 : ดิน และ น้ํา


คําตอบ 3 : ลม ฟา อากาศ ดิน และ น้ํา

กร
คําตอบ 4 : ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรกายภาพ


ิ ว
าว
ขอที่ : 397
ขอบเขตของการประเมินผลเชิงนิเวศขึ้นอยูกับธรรมชาติของโครงการพัฒนาที่นําเสนอผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ขนาดและธรรมชาติของพื้นที่หรือบริเวณที่ไดรับผลกระทบ เวลา และ


ทรัพยากรที่ปรากฏอยู และระดับซึ่งระบบสิ่งแวดลอม เชน ดินและน้ําที่เขาไปเกี่ยวของดวย ซึ่งความจํากัด/อุปสรรค/ความยุงยากเชิงนิเวศ (ecological constraints) ที่เดนชัดที่สุด


ไดแก
คําตอบ 1 : การมีอยูหรือดํารงอยูของชนิดพันธุและระบบนิเวศระดับภาคที่สําคัญ (regional importance)
คําตอบ 2 : การมีอยูหรือดํารงอยูของชนิดพันธุและระบบนิเวศระดับชาติที่สําคัญ (national importance)
คําตอบ 3 : การมีอยูหรือดํารงอยูของชนิดพันธุและระบบนิเวศที่สําคัญระดับโลก (world importance)
คําตอบ 4 : การมีอยูหรือดํารงอยูของชนิดพันธุและระบบนิเวศที่สําคัญระดับภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ

112 of 116
ขอที่ : 398
ทางเลือกในการศึกษา (study options) การประเมินผลเชิงนิเวศโดยปกติสามารถทําไดดี โดยใชประโยชนจากขอมูล/ขาวสารที่มีอยูแลว (existing information) อยางไรก็ตาม
ขอมูลดังกลาวเปนเพียงภาพคราว ๆ และอาจไมทันสมัย ดังนั้นจึงไมเพียงพอตอการประเมินผลกระทบที่ถูกตอง (accurate assessment) และตอการกําหนดมาตรการลดผลกระทบ ดัง
นั้นจึงตองมีการศึกษาภาคสนาม ไดแก
คําตอบ 1 : สํารวจถิ่นที่อยูอาศัย (habitat survey) เกี่ยวกับองคประกอบของชนิดพันธุ (species composition) ของชุมชนหรือสังคม
การสํารวจเพื่อหารายละเอียดเกี่ยวกับชนิดพันธุที่สําคัญ (species importance) ในชุมชนหรือสังคม รวบรวมขอมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) ของพืชพรรณ
คําตอบ 2 :
และขอมูลความชุกชุม (abundance data)
คําตอบ 3 : การสํารวจเพื่อการเก็บตัวอยางที่ละเอียดเขมขน เพื่อใหไดขอมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับประชากรของชนิดพันธุและหรือชุมชนหรือสังคมนั้น ๆ
คําตอบ 4 : ดําเนินการสํารวจทั้งขอ ก. ข. และ ค.

่ า ย
หน

ขอที่ : 399


เกณฑหรือขอกําหนดทั่วไปที่ใชสําหรับประเมินนัยสําคัญของผลกระทบเชิงนิเวศ (ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม) ไดแก

า้ ม
คําตอบ 1 : คุณภาพของถิ่นที่อยูอาศัย (habitat quality) ผลกระทบจะมีนัยสําคัญมากกวาถาถิ่นที่อยูอาศัยมีความสําคัญเชิงนิเวศ

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ชนิดพันธุ (species) ผลกระทบจะมีนัยสําคัญมากกวา ถาชนิดพันธุที่ถูกกระทบมีความสําคัญเชิงนิเวศ
คําตอบ 3 : ระยะเวลา (duration) ผลกระทบจะใหญกวาถาพื้นที่ใหญหรือจํานวนสิ่งมีชีวิตมากกวาถูกกระทบ
คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก. ข. ค. รวมทั้งขนาดหรือกําลัง (magnitude) ของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม ซึ่งถายิ่งมากเทาใดผลกระทบก็ยิ่งมีนัยสําคัญมากขึ้น

ส ิท

ขอที่ : 400

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : เพื่อรักษาไวซึ่งความอยูรอดของสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุเดนหรือชนิดพันธุหลัก (Dominator key species)
คําตอบ 2 : เพื่อรักษาไวซึ่งระบบนิเวศธรรมชาติ (Natural ecosystem)
คําตอบ 3 : เพื่อรักษาไวซึ่งความเปนชุมชนหรือสังคมสิ่งมีชีวิต (Biotic community)
คําตอบ 4 : เพื่อรักษาไวซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)

ขอที่ : 401 113 of 116


ระดับใดคือระดับเริ่มตนของการศึกษานิเวศวิทยา
คําตอบ 1 : individual
คําตอบ 2 : community
คําตอบ 3 : population
คําตอบ 4 : ecosystem

ขอที่ : 402

่ า ย
ขอใดเปนผลของกิจกรรมมนุษยที่มีผลตอ net primary productivity


คําตอบ 1 : เรงใหมี eutrophication


คําตอบ 2 : Green house effect

จ ำ
คําตอบ 3 : deforestation


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 403
ถาระบบนิเวศของสระน้ําที่เคยสมดุล ถาพืชทั้งหลายตายหมดในระยะเวลาอันสั้น สารอาหารใดที่จะถูกใชหมดเปนอันดับแรก

ิท
คําตอบ 1 : carbon dioxide


คําตอบ 2 : Nitrate

ว น
คําตอบ 3 : oxygen


คําตอบ 4 : Phosphate

อ ส

ขอที่ : 404

กร
หวงโซอาหาร (food chain) ในธรรมชาติมีไมเกิน 6 ลําดับขั้นของการกิน ทานคิดวาเปน เพราะขอใด


คําตอบ 1 : อาหารมีอยูจํากัด



คําตอบ 2 : มีการสูญเสียพลังงานคอนขางสูง

าว
คําตอบ 3 : ผูลาไมสามารถลาเหยื่อได


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 405

วิวัฒนาการตามแนวคิดของลามารค การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตเปน ผลจากปจจัยใน ขอใด
คําตอบ 1 : สิ่งแวดลอม
คําตอบ 2 : พันธุกรรม
คําตอบ 3 : การแขงขันเพื่อการอยูรอด
114 of 116
คําตอบ 4 : ถูกกําหนดโดย creator
ขอที่ : 406
ฟอสซิลสวนใหญขุดพบในหินประเภทใด
คําตอบ 1 : หินแกรนิต
คําตอบ 2 : หินตะกอน
คําตอบ 3 : ลาวาจากภูเขาไฟ


คําตอบ 4 : ดินใตทะเล

น่ า

ขอที่ : 407


องคประกอบระบบนิเวศใดๆประกอบดวย
คําตอบ 1 : องคประกอบที่มีชีวิต

มจ
า้
คําตอบ 2 : องคประกอบที่ไมมีชีวิต

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : องคประกอบที่มีชีวิตและไมมีชีวิต
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 408

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 3.1 มก./ล.
คําตอบ 2 : 4.1 มก./ล.
คําตอบ 3 : 5.1 มก./ล.
115 of 116
คําตอบ 4 : 6.1 มก./ล.
ขอที่ : 409
ในบรรยากาศโลกยุคโบราณกอนกําเนิดสิ่งมีชีวิต ไมพบกาซในขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
คําตอบ 3 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

116 of 116

You might also like