ข้อสอบภาคีวิศวกรเครื่องกล 204 ภาคีเครื่องกล Refrigeration-CH 4.Component and piping

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 34

สาขา :เคร ื่อง กล

วิชา :Refrig erati on


เนื้อหา :Cha pt er 4 : Re friger atio n C om po ne nts, Refri ger ant P ipi ng an d D es ig n

คำาถ ามข ้อที ่ 1


ภาระของเครื่องควบแน่น (condenser) เป็นผลทางความร้อนจากอุปกรณ์ใด

ตั วเลือ ก :
1 : เครื่องระเหย (evaporator)
2 : เครื่องอัดไอ (compressor)
3 : เครื่องระเหย (evaporator) และวาล์วระเหยสารทำาความเย็น (expansion valve)
4 : เคร ื่องอ ัดไอ (c ompr es so r) แล ะเ คร ื่อง ระ เหย (ev ap orat or)

คำาถ ามข ้อที ่ 2


การเลือกเครื่องระเหย (evaporator) ไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยใด

ตั วเลือ ก :
1 : ภาระการทำาความเย็น
2 : อุณหภูมิห้องเย็น
3 : ขน าดเ คร ื่อง ควบ แน่น (co nd en ser)
4 : ชนิดสารทำาความเย็น

คำาถ ามข ้อที ่ 3


สารทำาความเย็นชนิดใดไม่อยู่ในกลุ่มฟลูออโรคาร์บอน (fluorocarbons)

ตั วเลือ ก :
1 : R-22
2 : R-134a
3 : R-7 17
4 : R-11

คำาถ ามข ้อที ่ 4


ข้อใดไม่ใช่ข้อกำาหนดที่ต้องคำานึงถึงในการออกแบบและติดตั้งท่อสารทำาความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : ความดันลดในท่อ
2 : นำ้ามันหล่อลื่นกลับเครื่องอัดไอ
3 : ความเร็วของสารทำาความเย็นภายในท่อ
4 : ชน ิดเ คร ื่องอั ดไอ

คำาถ ามข ้อที ่ 5


อุปกรณ์ระเหยสารทำาความเย็น (expansion divice) ชนิดใดที่มีราคาถูกที่สุด
ตั วเลือ ก :
1 : ลิ้นลดความดันอัตโนมัติ (automatic expansion valve)
2 : ลิ้นลดความดันชนิดควบคุมด้วยความร้อน (thermostatic expansion valve)
3 : ชน ิดท่อ รูเ ข็ม (c apill ary tu be)
4 : ชนิดลูกลอยความดันตำ่า (low side float valve)

คำาถ ามข ้อที ่ 6


เครื่องอัดไอ (compressor) ชนิดใดนิยมมาใช้ทำาความเย็นสำาหรับรถห้องเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : แบบเปิ ด (o pe n ty pe)
2 : แบบปิด (hermetic type)
3 : แบบกึ่งเปิด (semi-open type)
4 : แบบกึ่งปิด (semi-hermetic)

คำาถ ามข ้อที ่ 7


ข้อใดคือหน้าที่หลักของหอทำาความเย็น (cooling tower)

ตั วเลือ ก :
1 : ระบาย คว าม ร้ อนออกจ ากเ คร ื่อ งควบ แน่น (co nd en ser)
2 : ระบายความร้อนออกจากเครื่องระเหย (evaporator)
3 : รักษาความดันทางด้านดูด
4 : ระบายความร้อนออกจากเครื่องอัดไอ (compressor)

คำาถ ามข ้อที ่ 8


อุปกรณ์แยกนำ้ายาเหลว (accumulator) ติดตั้งระหว่างอุปกรณ์ใด

ตั วเลือ ก :
1 : เครื่องอัดไอ (compressor) - เครื่องควบแน่น (condenser)
2 : เครื่องควบแน่น (condenser) - ถังพักนำ้ายาเหลว (receiver)
3 : ถังพักนำ้ายาเหลว (receiver) - วาล์วระเหยสารทำาความเย็น (expansion valve)
4 : เคร ื่อง ระ เหย (ev ap orat or) - เค รื ่องอัด ไอ (com pre ss or)

คำาถ ามข ้อที ่ 9


นำ้ามันที่ถูกแยกออกจากอุปกรณ์แยกนำ้ามันหล่อหลื่น (oil separator) จะถูกส่งไปที่อุปกรณ์ใด

ตั วเลือ ก :
1 : เครื่องระเหย (evaporator)
2 : เคร ื่องอ ัดไอ (c ompr es so r)
3 : ถังพักนำ้ายาเหลว (receiver)
4 : เครื่องควบแน่น (condenser)

คำาถ ามข ้อที ่ 10


สารทำาความเย็นชนิดใดเมื่อรวมตัวกับนำ้าหรือความชื้นจะกัดกร่อนโลหะจำาพวกทองเหลืองและทองแดง

ตั วเลือ ก :
1 : R-134a
2 : R-404A
3 : R-12
4 : R-7 17

คำาถ ามข ้อที ่ 11


ในการออกแบบเครื่องทำาความเย็นทำาไมต้องออกแบบให้สารทำาความเย็นที่ไหลเข้าคอมเพรสเซอร์มีสถานะ
เป็นไอร้อนยวดยิ่ง (super heat vapor)

ตั วเลือ ก :
1 : เพื่อลดการเกิด OXIDE ชิ้นส่วนภายในระบบทำาความเย็น
2 : เพื่อลดกำาลังในการขับคอมเพรสเซอร์
3 : เพื ่อใ ห้ มั ่นใจ ว่า ไม ่ม ีส ารท ำาค วา มเย ็นเหลวไหลเ ข้ าเค รื ่องอัด ไอ
4 : เพื่อเพิ่มอุณหภูมิของเครื่องอัดไอให้มีอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทำางาน

คำาถ ามข ้อที ่ 12


หากวัฏจักรการทำาความเย็นทางทฎษฎีมีอุณหภูมริ ะเหย (Evaporating Temperature) สูงขึ้นจะเกิดผลกระทบ
อย่างไร

ตั วเลือ ก :
1 : เครื่องทำาความเย็นมี COP ลดลง
2 : ความร้อนที่ต้องระบายทิ้ง (Heat reject) เพิ่มขึ้น
3 : คอม เพร สเซอร ์ใ ช้พลั งงานลดล ง
4 : อุณหภูมิของสารทำาความเย็นด้านทางส่งของคอมเพรสเซอร์สูงขึ้น

คำาถ ามข ้อที ่ 13


เมื่อ Cooling load เพิ่มมากขึ้นจะส่งผลต่อ Thermostatic expansion valve (TXV) อย่างไร

ตั วเลือ ก :
1 : เพิ ่ม อัต รา การ ไหล ของส าร ทำา คว าม เย็น
2 : ลดอัตราการไหลของสารทำาความเย็น
3 : คงอัตราการไหลของสารทำาความเย็นไว้เท่าเดิม
4 : ไม่มีอะไรเกิดขึ้นเมื่อ Cooling load เปลี่ยนแปลง

คำาถ ามข ้อที ่ 14


ข้อใดไม่ใช่สารทำาความเย็นชนิด HFC (Hydrofluorocarbon)

ตั วเลือ ก :
1 : R-507
2 : R-134a
3 : R-2 2
4 : R-404A

คำาถ ามข ้อที ่ 15


ข้อใดคือจุดประสงค์ของการระบายนำ้าทิ้ง (Bleed-off) ใน Evaporative condenser

ตั วเลือ ก :
1 : เพื ่อลด คว ามเ ข้ มข ้นของนำ้า
2 : เพื่อลดอุณหภูมิของนำ้าในอ่างนำ้า
3 : เพื่อลดขนาดของปั๊มนำ้า
4 : เพื่อเพิ่ม Capacity ให้ Evaporative condenser

คำาถ ามข ้อที ่ 16


ข้อใดไม่ใช่วัสดุที่ใช้ทำาคอล์ยเย็นในระบบทำาความเย็นแอมโมเนีย

ตั วเลือ ก :
1 : ท่อทอง แด ง ค รี บอลูม ิเนีย ม
2 : ท่อสเตนเลส ครีบอลูมิเนียม
3 : ท่อเหล็กชุบสังกะสี ครีบเหล็กชุบสังกะสี
4 : ท่อสเตนเลส ครีบสเตนเลส

คำาถ ามข ้อที ่ 17


สภาวะอากาศภายนอกแบบใดที่ทำาให้ Evaporative Condenser มีสมรรถภาพสูงสุด

ตั วเลือ ก :
1 : วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะแห้งสูง
2 : วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะแห้งตำ่า
3 : วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะเปียกสูง
4 : วันที่อ าก าศ มีอุณ หภ ูม ิก ระ เปา ะเปี ยก ตำ่า
คำาถ ามข ้อที ่ 18
สาเหตุใดที่ทำาให้ระบบทำาความเย็นมีความดันด้านส่ง (Discharge Pressure) สูงมากเกินไป

ตั วเลือ ก :
1 : มีป ริ มา ณส าร ทำา คว ามเย็น ในร ะบบ สู งม ากเ กิน ไป
2 : คอนเดนเซอร์มีขนาดใหญ่เกินไป
3 : มีปริมาณนำ้าหล่อเย็นของคอนเดนเซอร์มากเกินไป
4 : ความดันด้านดูด (Suction Presure) ตำ่าเกินไป

คำาถ ามข ้อที ่ 19


ถ้าย้ายตำาแหน่งกระเปาะ (bulb) ของ Thermostatic Expansion Valve จากด้านปลายของ Evaporator ไปไว้
ตรงกลางของ Evaporator จะเกิดอะไรขึ้น

ตั วเลือ ก :
1 : มี su ctio n su pe rh eat มาก ขึ ้น
2 : มี Suction Superheat น้อยลง
3 : ไม่มีอะไรเกิดขึ้น
4 : Liquid Flooded ลงคอมเพรสเซอร์

คำาถ ามข ้อที ่ 20


หลักในการเลือกขนาดของคอมเพรสเซอร์เพื่อมาใช้งานในระบบทำาความเย็นคือข้อใด

ตั วเลือ ก :
1 : ต้อง มี ขนา ดเพียงพอที ่จ ะร ับภ าร ะคว าม ร้อนจา กร ะบบได ้
2 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะใช้สำาหรับเพิ่มความดันของสารทำาความเย็นให้เพียงพอที่จะนำาไปใช้งานได้
3 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะถ่ายเทความร้อนออกจากระบบได้
4 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทำาความเย็นในระบบได้

คำาถ ามข ้อที ่ 21


หลักในการเลือกขนาดของคอนเดนเซอร์เพื่อมาใช้งานในระบบทำาความเย็นคือข้อใด

ตั วเลือ ก :
1 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะรับภาระความร้อนจากระบบได้
2 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะใช้สำาหรับเพิ่มความดันของสารทำาความเย็นให้เพียงพอที่จะนำาไปใช้งานได้
3 : ต้อง มี ขนา ดเพียงพอที ่จ ะถ ่า ยเทคว าม ร้ อนออกจ าก ระบบไ ด้
4 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทำาความเย็นในระบบได้
คำาถ ามข ้อที ่ 22
หลักในการเลือกขนาดของอีแวปโพเรเตอร์เพื่อมาใช้งานในระบบทำาความเย็นคือข้อใด

ตั วเลือ ก :
1 : ต้อง มี ขนา ดเพียงพอที ่จ ะร ับภ าร ะคว าม ร้อนจา กร ะบบได ้
2 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะใช้สำาหรับเพิ่มความดันของสารทำาความเย็นให้เพียงพอที่จะนำาไปใช้งานได้
3 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะถ่ายเทความร้อนออกจากระบบได้
4 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทำาความเย็นในระบบได้

คำาถ ามข ้อที ่ 23


หลักในการเลือกขนาดของรีซีฟเวอร์เพื่อมาใช้งานในระบบทำาความเย็นคือข้อใด

ตั วเลือ ก :
1 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะรับภาระความร้อนจากระบบได้
2 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะใช้สำาหรับเพิ่มความดันของสารทำาความเย็นให้เพียงพอที่จะนำาไปใช้งานได้
3 : ต้องมีขนาดเพียงพอที่จะถ่ายเทความร้อนออกจากระบบได้
4 : ต้อง มี ขนา ดเพียงพอที ่จ ะร องร ับปร ิม าณ สา รท ำาค วา มเย ็นใน ระ บบได ้

คำาถ ามข ้อที ่ 24


การละลายนำ้าแข็งในระบบทำาความเย็นเกิดขึ้นในบริเวณใด

ตั วเลือ ก :
1 : อีแวป โพเรเ ตอร ์
2 : คอมเพรสเซอร์
3 : คอนเดนเซอร์
4 : รีซีฟเวอร์

คำาถ ามข ้อที ่ 25

ตั วเลือ ก :
1 : 8 oC
2 : 8.5oC
3 : 9o C
4 : 9.5oC
คำาถ ามข ้อที ่ 26

ตั วเลือ ก :
1 : 3 m2
2 : 30 m 2
3 : 300 m2
4 : 3,000 m2

คำาถ ามข ้อที ่ 27


สารทำาความเย็นชนิดใดเป็นสารประเภท HCFC

ตั วเลือ ก :
1 : R-11
2 : R-12
3 : R-13
4 : R-2 2

คำาถ ามข ้อที ่ 28


หากเครื่องควบแน่นแบบระเหย (Evaporative Condenser) เกิดตะกรันหรือมีสิ่งสกปรกอุดตันทำาให้อัตราการ
ถ่ายเทความร้อนลดลง เครื่องทำาความเย็นจะเกิดกระทบผลอย่างไร

ตั วเลือ ก :
1 : ควา มด ันที ่ส าร ทำา คว าม เย็น กลั่น ตัว จะ สู งขึ ้น
2 : ความดันที่สารทำาความเย็นระเหยจะลดลง
3 : ผลทำาความเย็น (Refrigerating Effect) มากขึ้น
4 : คอมเพรสเซอร์ใช้พลังงานลดลง

คำาถ ามข ้อที ่ 29


หากนำาใช้วาล์วลดความดัน (Expansion Valve) ที่มีขนาด (Capacity) ใหญ่กว่าที่ขนาดที่เหมาะสมไปติดตั้ง
กับเครื่องทำาความเย็นจะทำาให้เกิดผลกระทบอย่างไร

ตั วเลือ ก :
1 : ความดันที่สารทำาความเย็นกลั่นตัวจะสูงขึ้น
2 : ความดันที่สารทำาความเย็นระเหยจะสูงขึ้น
3 : สารท ำาค วา มเย ็นจะ ไหลเข ้าเ คร ื่อง ระ เหย (E va po rat or) น้อยห รือ มา กเ กินไป สลับ
กัน ไป (Hu ntin g)
4 : มีสารทำาความเย็นเหลวไหลเข้าคอมเพรสเซอร์เป็นจำานวนมากตลอดการทำางาน

คำาถ ามข ้อที ่ 30


คอมเพรสเซอร์ชนิดใดที่เหมาะสำาหรับตู้เย็นใช้งานภายในบ้าน (ไม่ใช้ในเชิงพาณิชย์)

ตั วเลือ ก :
1 : Semi-hermetic Compressor
2 : Screw Compressor
3 : Open Type Compressor
4 : Herm etic Co mpre ss or

คำาถ ามข ้อที ่ 31


ข้อใดเป็นกลุ่มของอุปกรณ์ลดความดัน

ตั วเลือ ก :
1 : Cap illar y Tu be , T he rmo stati c E xp an si on Va lv e, Ha nd E xp an si on V al ve
2 : Automatic Expansion Valve, Hand Expansion Valve, Solenoid Valve
3 : Capillary Tube, High Pressure Switch, Thermostatic Expansion Valve
4 : Thermostat, Globe Regulating Valve, Automatic Expansion Valve

คำาถ ามข ้อที ่ 32


สิ่งที่ใช้แยกว่าสารทำาความเย็นใดเป็น Zeotropic หรือ Azeotropic คืออะไร

ตั วเลือ ก :
1 : จำานวนชนิดสารทำาความเย็นที่นำามาผสม
2 : จำานวนโมเลกุลของฟลูออรีน
3 : Tem per atur e Gli de
4 : ค่า GWP

คำาถ ามข ้อที ่ 33


ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการเปลี่ยนสารทำาความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : Dr op-i n ไม่ จำา เป็น ต้องเปลี ่ยนส าร หล่อลื ่นที่ ใช ้อยู่ ในร ะบบเ ดิ ม
2 : Retrofitting ไม่จำาเป็นต้องเปลี่ยนสารหล่อลื่นที่ใช้อยู่ในระบบเดิม
3 : Retrofitting มีความหมายเดียวกับ Recovery
4 : Drop-in จำาเป็นต้องเปลี่ยนอุปกรณ์บางอย่างในระบบ
คำาถ ามข ้อที ่ 34
สารทำาความเย็นใดไม่สามารถเติมเข้าระบบในสถานะก๊าซ

ตั วเลือ ก :
1 : R717
2 : R22
3 : R134a
4 : R40 4a

คำาถ ามข ้อที ่ 35

ตั วเลือ ก :
1 : เลือกวาล์ว Nominal Size 10 มิลลิเมตร
2 : เลือ กว าล์ว No min al Si ze 13 มิ ลลิเ มต ร
3 : เลือกวาล์ว Nominal Size 20 มิลลิเมตร
4 : เลือกวาล์ว Nominal Size 25 มิลลิเมตร
คำาถ ามข ้อที ่ 36

ตั วเลือ ก :
1 : 0.0 36 8 ลู กบา ศก ์เม ตรต ่อช ั่ว โม ง
2 : 0.0347 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
3 : 0.01 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
4 : 0.0224 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
คำาถ ามข ้อที ่ 37

ตั วเลือ ก :
1 : SDC-U50BS.BSG
2 : SDC-U 75 BS.B SG
3 : SDC-U85BS.BSG
4 : SDC-U100BS.BSG

คำาถ ามข ้อที ่ 38


ข้อใดใช้เป็นสารทำาความเย็นขั้นที่สองในอุตสาหกรรมอาหาร

ตั วเลือ ก :
1 : R717
2 : R22
3 : R502
4 : Pr op yl en e Gl yc ol

คำาถ ามข ้อที ่ 39


ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับระบบทำาความเย็นที่ออกแบบใช้สารทำาความเย็นมาระบายความร้อนให้กับ
คอมเพรสเซอร์โดยใช้ระบบ Thermosiphon

ตั วเลือ ก :
1 : คาปาซิตี้ของคอล์ยเย็นต้องใหญ่กว่าเดิม
2 : คาป าซิ ตี ้ของค อนเดนเซอร์ ต้อ งใ หญ ่กว ่าเ ดิม
3 : คาปาซิตี้ของคอล์ยเย็นต้องเล็กกว่าเดิม
4 : คอมเพรสเซอร์ต้องมีคาปาซิตี้มากกว่าเดิม
คำาถ ามข ้อที ่ 40
ข้อใดไม่มีผลต่อขนาดของคอล์ยเย็นในห้องเย็น
ตั วเลือ ก :
1 : ปริมาณสินค้า
2 : จำานวนหลอดไฟในห้อง
3 : จำานวนรถ Forklift
4 : ขน าด ของคอ มเพ รส เซอร์

คำาถ ามข ้อที ่ 41


R-22 เป็นสารทำาความเย็นประเภทใด

ตั วเลือ ก :
1 : CFC
2 : HFC
3 : HCF C
4 : HFFC

คำาถ ามข ้อที ่ 42


R-502 เป็นสารทำาความเย็นประเภทใด

ตั วเลือ ก :
1 : CFC
2 : HFC
3 : HCFC
4 : HFFC

คำาถ ามข ้อที ่ 43


R-134a เป็นสารทำาความเย็นประเภทใด

ตั วเลือ ก :
1 : CFC
2 : HFC
3 : HCFC
4 : HFFC

คำาถ ามข ้อที ่ 44


R-507 เป็นสารทำาความเย็นประเภทใด
ตั วเลือ ก :
1 : CFC
2 : HFC
3 : HCFC
4 : HFFC

คำาถ ามข ้อที ่ 58


ระบบทำาความเย็นที่มีอากาศในระบบ จะทำาให้เกิดปัญหาดังต่อไปนี้

ตั วเลือ ก :
1 : ควา มด ันท างส ่งส ูงก ว่ าปก ติ
2 : สารทำาความเย็นมีคุณสมบัติทำาความเย็นได้น้อยลงเพราะมีอากาศผสมอยู่
3 : สารทำาความเย็นไหลเข้าคอล์ยเย็นได้ยากเพราะอากาศขวางอยู่
4 : คอมเพรสเซอร์ดูดสารทำาความเย็นได้น้อยลงเพราะอากาศขวางอยู่ในท่อทางดูด

คำาถ ามข ้อที ่ 59


ในระบบทำาความเย็นที่ใช้สารทำาความเย็น HFC ฮีทเตอร์อุ่นนำ้ามันที่เครื่องอัดนำ้ายามีประโยชน์อะไร

ตั วเลือ ก :
1 : ป้อ งกัน ไม ่ใ ห้ สา รท ำาค วา มเย ็นละล าย ผส มก ับน ำ้าม ันหล ่อลื่น ในเค รื ่องอั ดนำ้า ยา มา ก
เก ินไปใน ขณะ หยุ ดเค รื ่อง
2 : ป้องกันไม่ให้นำ้ามันหล่อลื่นมีอุณหภูมิเย็นเกินไปในขณะที่เครื่องทำางาน
3 : รักษาให้ข้อเหวี่ยงมีอุณหภูมิที่เหมาะสมในขณะทำางานเพื่อให้การหล่อลื่นมีประสิทธิภาพ
4 : รักษาลิ้นทางดูดทางส่งให้มีอุณหภูมิที่เหมาะสมในขณะทำางานเพือ่ ให้การดูดสารทำาความเย็นมี
ประสิทธิภาพ

คำาถ ามข ้อที ่ 60


ระบบทำาความเย็นโดยทั่วไปในประเทศไทย ที่ใช้การระบายความร้อนด้วยอากาศ มีอุณหภูมิกลั่นตัวออกแบบ
เท่าไร

ตั วเลือ ก :
1 : 50 o C
2 : 40oC
3 : 30oC
4 : 20oC

คำาถ ามข ้อที ่ 61


ระบบทำาความเย็นโดยทั่วไปในประเทศไทย ที่ใช้การระบายความร้อนด้วยนำ้า มีอุณหภูมิกลั่นตัวออกแบบ
เท่าไร
ตั วเลือ ก :
1 : 50oC
2 : 40 o C
3 : 30oC
4 : 20oC

คำาถ ามข ้อที ่ 62


ระบบทำาความเย็นที่ใช้สารทำาความเย็น HFC ที่มีขนาดท่อ Suction ใหญ่เกินไป ถึงแม้ว่าจะมีข้อดีคือ ความ
ดันสูญเสียภายในท่อตำ่า แต่มีข้อเสียคือ

ตั วเลือ ก :
1 : นำ้า มัน หล่อลื ่นจา กคอล ์ยเย็น ไม ่ส าม ารถ ไหล กลับ ไปเค รื่อ งอัดน ำ้าย า
2 : สิน้ เปลืองสารทำาความเย็นในระบบมากขึ้น
3 : สูญเสียความร้อนผ่านผนังท่อทางดูดที่มีพื้นที่ผิวมากขึ้น
4 : สิน้ เปลืองค่าฉนวนหุ้มท่อทางดูดมากขึ้น

คำาถ ามข ้อที ่ 63

ตั วเลือ ก :
1 : 42. 8
2 : 1,920
3 : 0.0234
4 : 27.75

คำาถ ามข ้อที ่ 64


ตั วเลือ ก :
1 : 7.2
2 : 7.5
3 : 10
4: 5

คำาถ ามข ้อที ่ 65


คอมเพรสเซอร์ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศและตู้เย็นตามบ้านเรือนมักเป็นแบบ

ตั วเลือ ก :
1:
ประกอบปิด(Semi-hermetic)
2:
หุ ้มป ิด (H erm etic)
3:
เปิด(Open-type)
4:
ประกอบปิด(Semi-hermetic)หรือแบบเปิด(Open-type)

คำาถ ามข ้อที ่ 66


คอมเพรสเซอร์แบบชนิด 8 สูบมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 114 mm ช่วงชัก 114 mm หมุนด้วยความเร็ว 20
รอบ/วินาที จงคำานวณอัตราปริมาตรช่วงชัก(Piston displacement rate/Swept Volume rate)

ตั วเลือ ก :
1 : 0. 18 6 m3 / s
2 : 0.00116 m3 / s
3 : 0.186 m3
4 : ไม่สามารถหาคำาตอบได้ เพราะไม่ทราบค่าปริมาตรช่องว่างที่หัวสูบ (clearance Volume)

คำาถ ามข ้อที ่ 67


คอยล์ทำาความเย็น (Cooling Coil) ที่มคี รีบ(Fins)อลูมิเนียม 4 ครีบ/นิ้ว(4 Fins/ inch) จะมีระยะห่างระหว่าง
ครีบ(Fin spacing) เท่ากับประมาณ

ตั วเลือ ก :
1 : 1.6 mm
2 : 0.20 mm
3 : 6 mm
4 : ไม่สามารถหาคำาตอบได้เพราะไม่ทราบค่าความหนาของครีบอลูมิเนียม
คำาถ ามข ้อที ่ 68
ในการเลือกขนาดอัตราระบายความร้อนของคอนเดนเซอร์ ตำาราบางเล่มจะใช้หลักจากประสบการณ์
(Thumb’s Rule) เรียกว่า อัตราการระบายความร้อนที่คอนเดนเซอร์ต่ออัตราทำาความเย็น(HRR=Ratio of
Heat Rejected at the condenser to the refrigerating capacity) ถ้า HRR = 1.25 อาจจะกล่าวได้ว่า ระบบ
ทำาความเย็นมีประสิทธิภาพวัฏจักรหรือสัมประสิทธ์สมรรถนะ(COP)ประมาณ

ตั วเลือ ก :
1 : 1.25
2 : 0.8
3: 4
4 : ไม่สามารถหาคำาตอบได้เพราะไม่ทราบค่ากำาลังของคอมเพรสเซอร์

คำาถ ามข ้อที ่ 69

ตั วเลือ ก :
1 : 5 kW
2 : 10 kW
3 : 15 kW
4 : 20 k W

คำาถ ามข ้อที ่ 70


เครื่องทำาความเย็นทั่วไปที่ระบายความร้อนด้วยนำ้า (water cooled) มักจะอาศัยหอทำาความเย็น (Cooling
Tower) ทำานำ้าให้เย็นเพื่อกลับมาใช้ใหม่ โดยอาศัยการระเหย อัตราระเหยของนำ้าจะประมาณร้อยละเท่าใดของ
อัตรานำ้าระบายความร้อน (นำ้าหล่อเย็น) หมุนเวียนต่อหน่วยเวาลา

ตั วเลือ ก :
1 : 0.1
2: 1
3: 3
4: 5
คำาถ ามข ้อที ่ 71
ในระบบทำาความเย็นแบบธรรมดา(Single stage) การออกแบบท่อทางเดินของสารทำาความเย็น(นำ้ายา)
ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้องที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : ท่อทองแดงเหมาะสมที่สุดไม่ว่าจะใช้กับสารทำาความเย็นชนิดใดเช่น แอมโมเนีย R-22 R-134a เป็นต้น
เพราะท่อทองแดงผิวจะเรียบความเสียดทานจึงน้อย
2 : ท่อสารทำาความเย็นเหลวหรือท่อที่ต่อระหว่างคอนเดนเซอร์และอุปกรณ์ลดความดัน ต้องระวังเรื่องความ
เสียดทานและการวนกลับของนำ้ามันหล่อลื่น(Oil Return)
3 : ท่อทุกท่อต้องคำานึงถึงความเสียดทานและการวนกลับของนำ้ามันหล่อลื่น(Oil Return)เสมอ
4 : ท่อท ี่เข ้า และ ออก จา กคอ มเพ รส เซอร์ ต้อ งค ำานึง ถึง คว าม เส ียดท านแล ะก ารวน กลับ
ของน ำ้า มันหล ่อลื่น (Oil Ret urn)

คำาถ ามข ้อที ่ 72


ข้อใดคือหลักการของ Evaporator

ตั วเลือ ก :
1 : เป็นกระบวนการคายความร้อนที่ความดันตำ่า อุณหภูมิตำ่า
2 : สารทำาความเย็นจะเกิดการควบแน่นที่ Evaporator
3 : สารทำาความเย็นจะถูกเพิ่มความดันก่อนเข้า Evaporator
4 : สารท ำาค วา มเย ็นได ้ร ับคว าม ร้อนแล ะร ะเหย กลายเป ็นไอ

คำาถ ามข ้อที ่ 73


ข้อใดเป็นผลจากการรวมตัวกับนำ้ามันของสารทำาความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : ความสามารถในการถ่ายเทความร้อนที่เครื่องควบแน่นเพิ่มขึ้น
2 : ความหนืดของนำ้ามันที่ผสมกับสารความเย็นเพิ่มขึ้น
3 : การร วม ตั วของน ำ้า มัน หล่อลื ่นกับ สา รคว าม เย็น ท ำาใ ห้ คว าม สา มารถ ใน กา รหล ่อลื่น
ลดลง
4 : การผสมกันระหว่างนำ้ามันหล่อลื่นกับสารทำาความเย็นทำาให้การหล่อลื่นดีขึ้น
คำาถ ามข ้อที ่ 74

ตั วเลือ ก :
1 : 0.1 8 k g/ s
2 : 0.21kg/s
3 : 0.25kg/s
4 : 0.29kg/s
คำาถ ามข ้อที ่ 75
ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์พื้นฐานของระบบทำาความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : compressor
2 : fl as h t an k
3 : evaporator
4 : condenser

คำาถ ามข ้อที ่ 76


สารชนิดใดที่ไม่ใช่ตัวกลางถ่ายเทความร้อนออกจากเครื่องควบแน่นโดยทั่วไป

ตั วเลือ ก :
1 : อากาศ
2 : นำ้า
3 : นำ้าเ กลือ
4 : นำ้าและอากาศ

คำาถ ามข ้อที ่ 77


ข้อใดเป็นหลักการของท่อแคพิลลารี (Capillary tube)

ตั วเลือ ก :
1 : เพิ่มความดันของสารความเย็นจากเครื่องควบแน่น (Condenser) มายังเครื่องระเหย (Evaporator)
2 : เป็น กร ะบวน กา ร Thr ottlin g
3 : เป็นกระบวนการเพิ่มอุณหภูมิให้กับสารทำาความเย็น
4 : เป็นการเพิ่มความดันของสารทำาความเย็น โดยให้งานกับระบบ

คำาถ ามข ้อที ่ 78


สารทำาความเย็นใดไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : HFC
2 : CFC
3 : CO2
4 : NH3

คำาถ ามข ้อที ่ 79


Condenser ระบบใดที่ให้ประสิทธิภาพในการควบแน่นมากที่สุด
ตั วเลือ ก :
1 : Air – Cooled Condenser
2 : Water – Cooled Condenser
3 : Eva po rati ve Co nd en ser
4 : Submerged – water - Cooled Condenser

คำาถ ามข ้อที ่ 80


ข้อใดเป็นผลที่เกิดเมื่อสารทำาความเย็นเหลวไหลเข้าเครื่องอัดไอ

ตั วเลือ ก :
1 : ทำาใ ห้เ คร ื่องอ ัดไอพ ัง
2 : ทำาให้ความดันด้านดูดลดลง
3 : ประสิทธิภาพการอัดเพิ่มขึ้น
4 : ทำาให้นำ้ามันซึ่งรั่วออกมาปนกับสารทำาความเย็นมากขึ้น

คำาถ ามข ้อที ่ 81


ข้อใดคืออุปกรณ์ควบคุมการไหลของสารความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : Exp an si on va lv e
2 : Shut – off – valve
3 : Evaporator
4 : Condenser

คำาถ ามข ้อที ่ 82


ประสิทธิภาพของคอมเพรสเซอร์ (volumetric efficiency) จะดีขึ้นเมื่อใด

ตั วเลือ ก :
1 : อัต รา ส่ วนก ำาลั งอัด (Co mpr es sio n r atio) ลดลง
2 : อุณหภูมิอิ่มตัวที่คอนเดนเซอร์สูงขึ้น
3 : อุณหภูมิอิ่มตัวที่เครื่องระเหยลดลง
4 : สารทำาความเย็นที่ออกจากเครื่องระเหยมี degree of superheat สูงขึ้น

คำาถ ามข ้อที ่ 83


เพราะเหตุใด Evaporative condenser จึงต้องมีการระบายนำ้าทิ้ง (Bleed –off)

ตั วเลือ ก :
1 : เพื ่อลด คว ามเ ข้ มข ้นของนำ้า
2 : เพื่อลดอุณหภูมิของนำ้า
3 : เพือ่ ลดขนาดของปั๊มนำ้า
4 : เพือ่ เพิ่มอัตราการถ่ายเทความร้อน

คำาถ ามข ้อที ่ 84


คอมเพรสเซอร์เครื่องหนึ่งมี 2 ลูกสูบ เส้นผ่านศูนย์กลางลูกสูบเท่ากับ 60 mm ระยะชักของลูกสูบ เท่ากับ 80
mm ทำางานด้วยความเร็วรอบ 1450 rpm จะมีอัตราการดูดเท่ากับเท่าใด

ตั วเลือ ก :
1 : 10.2 m3/h
2 : 21.7 m3/h
3 : 39 .4 m3/ h
4 : 48.5 m3/h

คำาถ ามข ้อที ่ 85


คอนเดนเซอร์ในข้อใดต่อไปนี้ มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบต่อพื้นที่ผิวระบายความร้อนที่ใช้

ตั วเลือ ก :
1 : แบบท่อซ้อนท่อ (double pipe)
2 : แบบเปลือ กแล ะท ่อ (s hell an d t ub e)
3 : แบบท่อครีบระบายความร้อนด้วนอากาศ (finned tube, air-cooled type)
4 : แบบระบายความร้อนโดยธรรมชาติ

คำาถ ามข ้อที ่ 86


ระบบทำาความเย็นมีภาระการทำาความเย็น 20 kW มี COP เท่ากับ 4.0 จะต้องใช้กำาลังขับที่คอมเพรสเซอร์
เท่ากับเท่าใด

ตั วเลือ ก :
1 : 0.2 kW
2 : 4 kW
3 : 5 kW
4 : 6 .67kW

คำาถ ามข ้อที ่ 87


ระบบทำาความเย็นมีภาระการทำาความเย็น 21 kW มี COP เท่ากับ 3.0 จะมีการถ่ายเทความร้อนที่
คอนเดนเซอร์เท่ากับเท่าใด

ตั วเลือ ก :
1 : 25 kW
2 : 28 k W
3 : 30 kW
4 : 33 kW

คำาถ ามข ้อที ่ 88


ระบบทำาความเย็นมีภาระการทำาความเย็น 15 kW มีการถ่ายเทความร้อนที่คอนเดนเซอร์เท่ากับ 20 kW จะมี
COP เท่ากับเท่าใด

ตั วเลือ ก :
1 : 3.0
2 : 3.5
3 : 4.0
4 : 4.5

คำาถ ามข ้อที ่ 89


นำ้าแข็งที่เกาะที่ผิวท่อของเครื่องระเหยในห้องเย็นทำาให้

ตั วเลือ ก :
1 : ทำาให้ห้องเย็นจัดมากขึ้น
2 : อัต รา กา รถ่ ายเท ควา มร ้อนลดล ง
3 : ทำาให้ลมหมุนเวียนดีเพราะผิวนำ้าแข็งลื่น
4 : ทำาความสะอาดคอล์ยเย็นง่าย

คำาถ ามข ้อที ่ 90


โดยปกติแล้วคอนเดนเซอร์แบบเปลือกและท่อ (Shell and tube condenser) ใช้สารอะไรเป็นตัวกลาง ในการ
ระบายความร้อน

ตั วเลือ ก :
1 : นำ้า
2 : อากาศ
3 : สารทำาความเย็น
4 : นำ้ามันหล่อลื่น

คำาถ ามข ้อที ่ 91


ท่อรูเข็ม (Capillary tube) ทำาหน้าที่เหมือนกับอุปกรณ์ใดในข้อต่อไปนี้

ตั วเลือ ก :
1 : คอมเพรสเซอร์
2 : คอนเดนเซอร์
3 : เครื่องระเหย (Evaporator)
4 : วาล์วล ดค วา มด ัน (Ex pa ns io n v al ve)
คำาถ ามข ้อที ่ 92
ข้อใดคือคุณสมบัติของสารทำาความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : กัดกร่อนโลหะ
2 : ติดไฟ
3 : ไม่ เป็นวั ตถ ุร ะเบ ิด
4 : มีค่าความร้อนแฝงต่อหน่วยนำ้าหนักตำ่า

คำาถ ามข ้อที ่ 93


ข้อใดคือสารทำาความเย็นทุติยภูมิ (Secondary refrigerant)

ตั วเลือ ก :
1 : นำ้าเ กลือ
2 : แอมโมเนีย
3 : R-22
4 : R-134a

คำาถ ามข ้อที ่ 94


สารทำาความเย็นในข้อใดทำาลายโอโซน และถูกห้ามใช้ในประเทศที่พัฒนาแล้ว

ตั วเลือ ก :
1 : R-1 2
2 : R-134a

3:
4:

คำาถ ามข ้อที ่ 95


ในทางทฤษฎีแล้วกระบวนการที่เกิดขึ้นในอุปกรณ์ใดต่อไปนี้เป็นกระบวนการที่มคี ่า enthalpy คงที่

ตั วเลือ ก :
1 : คอมเพรสเซอร์
2 : คอนเดนเซอร์
3 : เครื่องระเหย (Evaporator)
4 : วาล์วล ดค วา มด ัน (Ex pa ns io n v al ve)
คำาถ ามข ้อที ่ 96
ขณะที่ระบบทำาความเย็นทำางาน สารทำาความเย็นภายในเครื่องระเหย (Evaporator) เป็นอย่างไร

ตั วเลือ ก :
1 : รับความร้อนและเปลี่ยนสถานะจากไอเป็นของเหลว
2 : คายความร้อนและเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นไอ
3 : เดือดและเปลี่ยนสถานะจากไอเป็นของเหลว
4 : เดือด แล ะเปลี่ ยนส ถาน ะจ าก ของเหลวเป็น ไอ

คำาถ ามข ้อที ่ 97


ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุทำาให้ความดันทางด้านส่งมีค่าสูงขึ้น

ตั วเลือ ก :
1 : คอนเดนเซอร์มีขนาดใหญ่เกินไป
2 : เติ มส ารทำา ควา มเย ็นเข้า ไปใน ระ บบม าก เก ินไป
3 : หอทำาความเย็น (Cooling tower) มีขนาดใหญ่เกินไป
4 : ปั๊มนำ้าคอนเดนเซอร์มีขนาดใหญ่เกินไป

คำาถ ามข ้อที ่ 98


ถ้ามีความดันตก (Pressure drop) ในท่อดูด (Suction line) มากขึ้นจะทำาให้

ตั วเลือ ก :
1 : คอมเพรสเซอร์ทำางานน้อยลง
2 : คอม เพร สเซอร ์ทำา งาน มา กข ึ้น
3 : คอมเพรสเซอร์มสี มรรถนะดีขึ้น
4 : คอมเพรสเซอร์มีอัตราส่วนกำาลังอัดลดลง

คำาถ ามข ้อที ่ 99


ถ้ามีความดันตก (Pressure drop) ในท่อส่ง (discharge line) มากขึ้นจะทำาให้

ตั วเลือ ก :
1 : คอมเพรสเซอร์ทำางานน้อยลง
2 : คอม เพร สเซอร ์ทำา งาน มา กข ึ้น
3 : คอมเพรสเซอร์มสี มรรถนะดีขึ้น
4 : คอมเพรสเซอร์มีอัตราส่วนกำาลังอัดลดลง

คำาถ ามข ้อที ่ 10 0


เมื่อภาระการทำาความเย็นเพิ่มมากขึ้นจะส่งผลต่อ Thermostatic Expansion Valve (TXV) อย่างไร

ตั วเลือ ก :
1 : ลดอัตราการไหลของสารทำาความเย็น
2 : คงอัตราการไหลของสารทำาความเย็น
3 : เพิ ่ม อัต รา การ ไหล ของส าร ทำา คว าม เย็น
4 : ไม่มอี ะไรเกิดขึ้นเมื่อภาระการทำาความเย็นเปลี่ยนแปลง

คำาถ ามข ้อที ่ 10 1


การละลายนำ้าแข็งที่อีแวปโพเรเตอร์วิธีใดใช้เวลานานที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : การละลายนำ้าแข็งด้วยนำ้า
2 : การละลายนำ้าแข็งด้วยไฟฟ้า
3 : การละลายนำ้าแข็งด้วยไอสารทำาความเย็นอุณภูมสิ ูง (Hot gas)
4 : การล ะลา ยนำ้า แข ็ง ด้วยว ิธีธ รร มช าติ โดย กา รห ยุดเ คร ื่องท ำาค วา มเย ็น

คำาถ ามข ้อที ่ 10 2

ตั วเลือ ก :
1 : นำามาใช้ไม่ได้เพราะใช้สารทำาความเย็นต่างชนิดกัน
2 : ใช้ ได ้แ ต่ ต้ องเพิ่ มขน าด (กำา ลัง )มอเต อร ์ขับ
3 : ใช้ได้แต่ต้องเปลีย่ นอุปกรณ์ลดความดันเป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์
4 : ใช้ได้โดยไม่มีข้อแม้

คำาถ ามข ้อที ่ 10 3


คอมเพรสเซอร์แบบชนิด 6 สูบมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 mm ช่วงชัก 250 mm หมุนด้วยความเร็ว 20
รอบ/วินาที จงคำานวณอัตราปริมาตรช่วงชัก (Piston displacement rate/Swept Volume rate)

ตั วเลือ ก :

1:
2:

3:
4 : ไม่สามารถหาคำาตอบได้เพราะไม่ทราบค่าประสิทธิภาพเชิงปริมาตร

คำาถ ามข ้อที ่ 10 4


คอยล์ทำาความเย็น (Cooling Coil) หรือคอยล์ของเครื่องระเหย (Evaporator Coil) ของเครื่อง ปรับอากาศ
และเครื่องทำาความเย็นสำาหรับห้องอุณหภูมิตำ่ามากๆจะมีข้อแตกต่างที่สำาคัญคือ

ตั วเลือ ก :
1 : คอยล์ของเครื่องปรับอากาศจะเล็กยาวกว่า
2 : คอยล์ของเครื่องทำาความเย็นมักทำาด้วยเหล็ก
3 : คอยล์ ของเค รื ่องทำา คว าม เย็นจ ะมี ระ ยะ ระห ว่ างค รีบ โลห ะห่ าง กัน มา กก ว่า
4 : คอยล์ของเครื่องปรับอากาศจะมีระยะระหว่างครีบโลหะห่างกันมากกว่า

คำาถ ามข ้อที ่ 10 5


ในการเลือกขนาดอัตราระบายความร้อนของคอนเดนเซอร์ ถ้าเผื่ออัตราระบายความร้อนให้เพิ่มขึ้น หรือให้
ขนาดคอนเดนเซอร์ใหญ่ขึ้น 25% จะมีผลอันใดต่อระบบทำาความเย็น

ตั วเลือ ก :
1 : คอมเพรสเซอร์จะต้องทำางานหนักขึ้นเพราะต้องอัดสารทำาความเย็นเข้ามากขึ้น
2 : นำ้ามันจะค้างอยู่ในคอนเด็นเซอร์เพราะความเร็วของสารทำาความเย็นลดลง
3 : ไม่ควรทำาอย่างยิ่งเพราะไอบางส่วนอาจเล็ดลอดออกไปยังอุปกรณ์ลดความดัน
4 : สั มป ระ สิ ทธิ์ สม รรถ นะ (CO P) ของร ะบบท ำาค วา มเย ็นจะเพ ิ่ มข ึ้น

คำาถ ามข ้อที ่ 10 6

ตั วเลือ ก :
1 : 14 k W
2 : 28.6 kW
3 : 30 kW
4 : 3 kW

คำาถ ามข ้อที ่ 10 7


ในการเลือกขนาดหอทำาความเย็น (Cooling Tower) ในทางปฎิบัติ ค่าที่ต้องทราบอย่างน้อยที่สุดคือ

ตั วเลือ ก :
1 : อุณหภูมิกระเปาะเปียกของอากาศภายนอก อัตราการไหลของนำ้า ขนาดทำาความเย็นของเครื่องทำาความ
เย็น อุณหภูมินำ้าเข้า และอุณหภูมินำ้าออก
2 : อุณห ภู มิ กร ะเป าะเป ียก ของอา กา ศภา ยนอก อัต รา การ ไหล ของนำ้า อุ ณหภ ูม ิน ำ้าเข ้า
แล ะอ ุณห ภู มิน ำ้าออ ก
3 : อัตราการไหลของนำ้า ขนาดทำาความเย็นของเครื่องทำาความเย็น อุณหภูมินำ้าเข้า และอุณหภูมินำ้าออก
4 : อุณหภูมิอากาศภายนอก อัตราการไหลของนำ้า ขนาดทำาความเย็นของเครื่องทำาความเย็น อุณหภูมินำ้าเข้า
และอุณหภูมินำ้าออก
คำาถ ามข ้อที ่ 10 8

ตั วเลือ ก :
1 : สำาหรับชุดควบแน่น ให้อุณหภูมิอากาศที่ใช้ระบายความร้อนคงที่ ถ้าอุณหภูมิอิ่มตัวด้านดูดลดลง ขนาด
ความสามารถในการทำาความเย็นจะเพิ่มขึ้น
2 : สำาหรับชุดควบแน่น ให้อุณหภูมิอากาศที่ใช้ระบายความร้อนลดลง และให้อุณหภูมิอิ่มตัวด้านดูดลดลง
ขนาดความสามารถในการทำาความเย็นจะลดลง
3 : สำา หร ับหน ่วยแ ฟนคอยล ์ ให ้อ ุณห ภู มิอ าก าศ เข้ าหน่ วยแฟน คอยล์ คงที ่ แ ละ ให ้
อุณ หภ ูม ิอิ่ มต ัว ด้ านดู ดลดลง ขนา ดค วา มส ามา รถใ นก ารท ำาค วา มเ ย็นจ ะเพิ่ มข ึ้น
4 : สำาหรับหน่วยแฟนคอยล์ ให้อุณหภูมิอากาศเข้าหน่วยแฟนคอยล์คงที่ และให้อุณหภูมิอิ่มตัวด้านดูดลดลง
ขนาดความสามารถในการทำาความเย็นจะลดลง

คำาถ ามข ้อที ่ 10 9


ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split type, Air conditioner) การออกแบบท่อทางเดินของสารทำาความ
เย็น (นำ้ายา) ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้องหรือใกล้เคียงที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : ท่อสารทำาความเย็นด้านดูดหรือท่อที่ต่อระหว่างคอมเพรสเซอร์และเครื่องระเหย(Evaporator) ถ้า
ออกแบบมีขนาดเล็กเกินไป จะมีผลทำาให้ความดันด้านสูง(High Pressure Side) สูงขึ้น
2 : ท่อ สา รท ำาค วา มเ ย็นด ้านด ูดห รือท ่อที่ ต่อ ระ หว ่าง คอม เพร สเซอร ์แ ละเ คร ื่อง
ระเห ย(Ev ap or ator) ถ้า ออก แบบ มี ขนาดเล ็กเ กินไป จ ะมี ผลท ำาใ ห้ ขนา ดทำา คว าม เย็นลด
ลงไ ด้
3 : ท่อทุกท่อต้องคำานึงถึงความเสียดทานและการวนกลับของนำ้ามันหล่อลื่น(Oil Return)เสมอ
4 : ท่อสารทำาความเย็นเหลวหรือท่อที่ต่อระหว่างคอนเดนเซอร์และอุปกรณ์ลดความดัน ต้องออกแบบให้
Superheat เล็กน้อย จึงจะไม่เกิดการกลายเป็นไอบางส่วน(Flash gas)
คำาถ ามข ้อที ่ 11 0
หน้าที่ของ Thermostatic Expansion Valve

ตั วเลือ ก :
1 : ลดคว าม ดัน โดย ควบ คุ มใ ห้ De gre e S up erh eat คงท ี่
2 : ลดความดันโดยความคุมให้ Evaporating Pressure คงที่
3 : ลดความดันพร้อมควบคุมอัตราการไหลให้คง
4 : ลดความดันโดยอาศัยเทอร์มอสแตตช่วยปรับอัตราการไหลให้เปลี่ยนตามภาระการทำาความเย็น

คำาถ ามข ้อที ่ 11 1

ตั วเลือ ก :

1:
2:

3:

4:

คำาถ ามข ้อที ่ 11 2


ความรู้เกี่ยวกับคอยล์ของเครื่องระเหย (Evaporator Coil) แบบมีครีบอลูมิเนียม ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
หรือใกล้เคียงความจริงที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : ระยะห่างระหว่างครีบของคอยล์ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศจะมากที่สุด
2 : อัตราอากาศไหลและอื่นๆคงเดิม ถ้าเพิ่มจำานวนแถวตามแนวลึก(Rows Deep) ขนาดทำาความเย็นจะเพิ่ม
ขึ้น และสภาวะของอากาศที่ผ่านคอยล์ออกมาจะมีอุณหภูมิตำ่าลง แต่อัตราส่วนความชื้น(Humidity Ratio)จะ
เพิ่มขึ้น
3 : ทุ กอย ่าง คงเด ิม ถ้ าเพ ิ่ม อั ตร าไ หลหร ือค วา มเ ร็วล มผ ่าน คอยล์ ขนา ดทำา คว าม เย็นจ ะ
เพิ่ มแ ต่ส ภา วะ ของอ าก าศ ที ่ผ่ านคอ ยล์ออก มา จะม ีอ ุณห ภู มิ และ อั ตร าส ่วน คว าม ชื้น (H um
idit y R atio) เพิ ่ม ขึ ้น
4 : ทุกอย่างคงเดิม ถ้าเพิ่มอัตราไหลหรือความเร็วลมผ่านคอยล์ ขนาดทำาความเย็นจะเพิ่ม และสภาวะของ
อากาศที่ผ่านคอยล์ออกมาจะมีอุณหภูมติ ำ่าลง แต่อัตราส่วนความชื้น(Humidity Ratio)เพิ่มขึ้น

คำาถ ามข ้อที ่ 11 3


ปั๊มนำ้าเย็น (Chilled Water)ในระบบปรับอากาศหรือปั๊มแอมโมเนียเหลวในระบบทำาความเย็นที่ใช้
Force(Pump) Circulation ถ้าลดอัตราการไหลหมุนเวียนลงเหลือ 50% กำาลังที่ปั๊มต้องใช้จะเหลือประมาณ
เท่าใด?

ตั วเลือ ก :
1 : เท่าเดิม
2 : 50%
3 : 25%
4 : 12. 5%

คำาถ ามข ้อที ่ 11 4

ตั วเลือ ก :
1 : 1000 + 500 kW
2 : 1000 + 500 + 200 kW
3 : 10 00 + 5 00 + 5 0 kW
4 : 1000 + 500 + 200 + 50 kW
คำาถ ามข ้อที ่ 11 5

ตั วเลือ ก :
1 : 10 00 + 5 00 k W
2 : 1000 + 500 + 200 kW
3 : 1000 + 500 + 50 kW
4 : 1000 + 500 + 200 + 50 kW

คำาถ ามข ้อที ่ 11 6

ตั วเลือ ก :
1
:

2:

3
:
4
:

คำาถ ามข ้อที ่ 11 7


ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split type, Air conditioner) การออกแบบท่อทางเดินของสารทำาความ
เย็น (นำ้ายา) ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้องหรือใกล้เคียงความจริงที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : ถ้าชุดควบแน่น (Condensing Unit) ตัง้ อยู่บนพื้นดิน ส่วนหน่วยแฟนคอยล์(Fan Coil Unit) แขวนบนชัน้
ที่ 5 ท่อสารทำาความเย็นด้านดูดหรือท่อที่ต่อระหว่างคอมเพรสเซอร์และเครื่องระเหย(Evaporator) ต้องระวัง
เรื่องการกลับของนำ้ามันหล่อลื่น
2 : ท่อสารทำาความเย็นเหลว (Liquid Line) คือ ท่อที่ต่อระหว่างคอมเพรสเซอร์และคอนเดนเซอร์
3 : เครื่องขนาดทำาความเย็น 100 kW ความเสียดทานในท่อสารทำาความเย็นด้านส่งที่ออกจาก
คอมเพรสเซอร์(Discharge Line)เท่ากับ 10 kPa ท่อขนาดและความยาวเดิมนี้ ถ้านำามาใช้กับเครื่องทำาความ
เย็นขนาด 200 kW โดยสภาวะทุกอย่างเหมือนเดิม ความเสียดทานจะเปลี่ยนเป็นประมาณ 20 kPa
4 : ถ้า ชุ ดค วบแน ่น (Co nd en si ng U nit) ตั้ งอยู ่บนพื้นด ิน ส่ วนหน่ว ยแฟน คอยล์ (F an
Co il Un it) แข วนบนชั ้นที่ 3 ท่อส าร ทำา คว ามเย็น ด้ านดู ดหร ือท่อที ่ต ่อร ะห ว่ าง
คอ มเพ รสเซอ ร์ แล ะเค รื ่องร ะเ หย (Ev ap or ator) ส่วนท ี่ออก มา จา กเ คร ื่อง ระ เหย ควร
ออก แบบ ให้เป ็นรูป ตั วยู คว ำ่าลง โ ดย ส่ วนบนต้อง สู งกว ่า คอยล์เ ย็นของหน ่วยแ ฟนคอยล ์
เพื่อ ไม ่ใ ห้ขอ งเหลวไหล โดยน ำ้าห นัก หร ือแ รง โน้ม ถ่ วงกล ับเข้ าด ้านด ูด ของ
คอ มเพ รสเซอ ร์ ขณะ ที่ คอม เพร สเซอ ร์หย ุดท ำางาน

คำาถ ามข ้อที ่ 11 8


ตู้เย็นที่ใช้ตามบ้านเรือนทั่วไปแบบไร้นำาแข็งเกาะ (No Frost) คล้ายเครื่องทำาความเย็นที่ใช้สำาหรับห้องเย็น
ขนาดเล็กทั่วไป โดยภายในช่องแช่แข็งจะมีคอยล์เครื่องระเหย (Evaporator Coil)และพัดลมหมุนเวียน เพียง
แต่การระบายความร้อนที่คอนเดนเซอร์ด้วยอากาศของตู้เย็นนั้น ไม่ต้องใช้พัดลม การควบคุมอุณหภูมิภายใน
ตู้เย็นทำาอย่างไร?

ตั วเลือ ก :
1 : ใช้เทอร์มอสแตตควบคุมอุณหภูมิโดยการตัดต่อหรือหยุด-เดินพัดลม
2 : ใช้โซลีนอยด์วาล์วควบคุมอัตราไหลของสารทำาความเย็น เช่นในเวลากลางคืนก็ให้อัตราไหลตำ่าลง
3 : ใช้เทอ ร์ มอ สแ ตท ควบ คุ มก าร ตัด ต่อ หร ือหยุ ด-เดิน คอม เพร สเซอร ์
4 : ใช้ Thermostatic Expansion Valve ควบคุมการไหลของสารทำาความเย็นตามภาระความเย็นที่ตู้เย็น
ต้องการ

คำาถ ามข ้อที ่ 11 9


Thermostatic Expansion Valve ขนาดใหญ่มักจะมี External Equalizer External Equalizer นั้นมีไว้เพื่อ
อะไร?
ตั วเลือ ก :
1 : เพื่อความคุมให้ Degree Superheat คงที่
2 : เพื่อความคุมให้ Evaporating Presssure คงที่
3 : เพื ่อไ ม่ ให ้คว าม ดันล ดใน คอยล ์เค รื ่องร ะเหย (Pr es su re d ro p i n ev ap or ator co il)
มาม ีผ ลต ่อ ก าร ควบค ุม De gre e S up erh eat
4 : เพื่อลดความดันของตัววาล์ว โดยให้สารทำาความเย็นบางส่วนไหลผ่านทางด้าน External Equalizer
คำาถ ามข ้อที ่ 12 0
คอมเพรสเซอร์แบบมอเตอร์แแยกใช้มู่เล่และสายพาน ซึ่งปรับรอบการหมุนด้วยการเปลี่ยนขนาดมู่เล่ ถ้า
ทำาความเย็นได้ 1000 kW ใช้มอเตอร์ขับ 500 kW คอมเพรสเซอร์หมุน 800 รอบ/นาที ถ้าต้องการลดขนาด
ทำาความเย็นลงเป็น 500 kW ขนาดมอเตอร์จะลดลงเป็นเท่าไร และคอมเพรสเซอร์จะต้องหมุนในอัตราเท่าไร?
ถ้าสภาวะการทำางานเหมือนเดิมทั้งหมดเช่น Saturated Suction (Evaporating) Temperature c และ
Condensing Temperature เป็นต้น

ตั วเลือ ก :
1 : มอเต อร ์ขับ 25 0 k W และ คอ มเพ รส เซอร์ หม ุน 40 0 รอบ /นาที
2 : มอเตอร์ขับ 125 kW และคอมเพรสเซอร์หมุน 400 รอบ/นาที
3 : มอเตอร์ขับ 62.5 kW และคอมเพรสเซอร์หมุน 400 รอบ/นาที
4 : มอเตอร์ขับ 12.5 kW และคอมเพรสเซอร์หมุน 400 รอบ/นาที

คำาถ ามข ้อที ่ 12 1


เครื่องควบแน่นแบบระเหย (Evaporative Condenser) ลักษณะดังนี้
ตั วเลือ ก :
1 : นำ้าไหลในท่อสารทำาความเย็นปล่อยไหลนอกท่อ
2 : ทั้งนำ้าและสารทำาความเย็นต่างไหลอยู่ในท่อและมีพัดลมดูดอากาศผ่าน
3 : สารท ำาค วา มเย ็นไหล ในท่อน ำ้าพ่น ไหลนอกท่อ แล ะม ีพ ัดลม ดู ดอา กา ศผ่ าน
4 : นำ้าไหลในท่อและมีพัดลมดูดอากาศผ่าน

คำาถ ามข ้อที ่ 12 2


คอมเพรสเซอร์ของเครื่องทำาความเย็นนำามาจากประเทศหนึ่งใช้ระบบไฟฟ้า 415/3/60 ถ้านำามาใช้ในโรงงาน
แห่งหนึ่งซึ่งใช้ระบบไฟฟ้า 380/3/50 ข้อความใดถูกต้องที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : ควา มสา มาร ถใน กา รทำา คว ามเย็นเหล ือปร ะมา ณ 83%
2 : กำาลังขับกลายเป็น 415/380 เท่าของเดิม
3 : ไม่สามารถใช้งาน
4 : ความสามารถในการทำาความเย็นเหลือประมาณ 91%

คำาถ ามข ้อที ่ 12 3


ตั วเลือ ก :
1 : ปั๊มมี Compression ratio 4 ต่อ 1
2 : ถ้าคอมเพรสเซอร์ดูดอัด 1 ลิตรปั๊มหมุนเวียน 4 ลิตร
3 : ปั๊มต้องมีเฮดเป็น 4 เท่าของคอมเพรสเซอร์
4 : ถ้า มวลที่ กลา ยเป็นไอ ในเค รื ่องร ะเหย 1 k g ปั๊ มต ้อง หม ุนเวียนไ ด้ 4 k g
คำาถ ามข ้อที ่ 12 4

ตั วเลือ ก :
1 : 81 ลิตร/วินาที
2 : 72 ลิต ร/วิน าที
3 : 48 ลิตร/วินาที
4 : หาไม่ได้ข้อมูลยังไม่พอ หรือไม่มีข้อใดใกล้เคียงเลย

คำาถ ามข ้อที ่ 12 5


ในระบบทำาความเย็น คอนเดนเซอร์ที่ระความร้อนด้วยนำ้ามักจะกำาหนด Fouling Factor Fouling Factor คือ
อะไร?

ตั วเลือ ก :
1 : คือค่าการนำาความร้อนของคอนเดนเซอร์อันเกิดจากสิ่งสกปรก
2 : คือค่าความหนาของท่อทองแดงที่จะทำาคอนเดนเซอร์
3 : คือค่าอัตราการเกิดตะไคร่นำ้าและตะกรันด้านนอกของคอนเดนเซอร์
4 : คือ ค่ าค วา มต ้า นทาน ควา มร ้อนอันเ กิด จา กต ะก รัน

คำาถ ามข ้อที ่ 12 6


ในขบวนการถ่ายเทความร้อนที่คอล์ยเย็น ถ้าค่า Overall Coefficient of Heat Transfer เท่ากับ 50 วัตต์ต่อตา
รางเมตร-เคลวิน ค่า Log Mean Temperature Different เท่ากับ 8 เคลวิน ปริมาณความร้อนที่ต้องการถ่ายเท
เท่ากับ 20,934 กิโลจูลต่อชั่วโมง จงหาพื้นที่ผิวของคอล์ยเย็นที่ใช้ในการถ่ายเทความร้อนจำานวนนี้

ตั วเลือ ก :
1 : 14. 5 ตาร างเ มต ร
2 : 0.015 ตารางเมตร
3 : 49.6 ตารางเมตร
4 : 52.3 ตารางเมตร
คำาถ ามข ้อที ่ 12 7
เครื่องทำาความเย็นขนาด 17.58 kW-R ใช้สารทำาความเย็น R22 อุณหภูมิไอระเหยอยู่ที่ 1.7 deg.C อุณหภูมิ
ควบแน่นที่คอนเดนเซอร์ 48.9 deg.C ท่อระหว่างคอมเพรสเซอร์กับคอนเดนเซอร์มีความยาวรวม 9.14 m
ต้องเลือกใช้ท่อขนาดเท่าใด เมื่อต้องการให้ Pressure Drop ไม่เกิน 41.4 kPa กำาหนดให้ใช้ตารางด้านล่าง

ตั วเลือ ก :
1 : 13 mm
2 : 16 mm
3 : 19 m m
4 : 22 mm

คำาถ ามข ้อที ่ 12 8


เครื่องปรับอากาศขนาด 3.5 kW-R ใช้คอมเพรสเซอร์แบบเปิด ทำางานภายใต้อุณหภูมิไอระเหย –17.8 deg.C
อุณหภูมิควบแน่น 37.8 deg.C จงหาภาระของคอนเดนเซอร์

ตั วเลือ ก :
1 : 4.34 kW
2 : 4.5 k W
3 : 4.64 kW
4 : 63 kW

คำาถ ามข ้อที ่ 12 9


ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type Air Conditioner) คอมเพรสเซอร์และคอนเดนเซอร์พร้อม
พัดลมจะรวมอยู่ในชุดเดียวกัน เรียกว่าชุดควบแน่น (Condensing Unit) ผู้ผลิตรายใหญ่ๆ มักจะทดสอบหาส
มรรถนะการทำางานโดยหาขนาดความสามารถในการทำาความเย็น มีตัวแปรคืออุณหภูมิอากาศที่ใช้ระบาย
ความร้อน อุณหภูมิอมิ่ ตัวด้านดูด หรืออุณหภูมิระเหย และอุณหภูมิอากาศเข้าหน่วยแฟนคอยล์ ข้อความต่อ
ไปนี้ข้อใดถูกต้องหรือใกล้เคียงที่สุด

ตั วเลือ ก :
1 : ให้ อุณห ภู มิ อา กา ศที ่ใ ช้ ระ บาย คว าม ร้ อนคงที ่ ถ้ าอุณห ภู มิ อิ่ มต ัว ด้ านดู ดลดลง
ขนา ดค วา มส ามา รถใ นก าร ทำา คว าม เย็นจ ะลดล ง
2 : ให้อุณหภูมิอากาศที่ใช้ระบายความร้อนคงที่ ถ้าอุณหภูมิอิ่มตัวด้านดูดลดลง ขนาดความสามารถในการ
ทำาความเย็นจะเพิ่มขึ้น
3 : ให้อุณหภูมิอากาศที่ใช้ระบายความร้อนลดลง และให้อุณหภูมิอิ่มตัวด้านดูดลดลง ขนาดความสามารถใน
การทำาความเย็นจะลดลง
4 : ให้อุณหภูมิอากาศที่ใช้ระบายความร้อนเพิ่มขึ้น แต่ให้อุณหภูมิอมิ่ ตัวด้านดูดลดลง ขนาดความสามารถใน
การทำาความเย็นจะเพิ่มขึ้น

You might also like