Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 244

สาขา: เครื่องกล วิชา: ME11 Mechanics of Machinery/

Dynamics of Machines /Theory of


Mach

ขอที่ : 1
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ตามเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร ดวย


2 2

่ า
2
ความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางขวา จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ


ขอที่ : 2


จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร
2 2
2
ดวยความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางขวา จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป 1 of 244
คําตอบ 1 :

่ า ย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 3

ส ิท

จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร


2 2


2
ดวยความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางซาย จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

2 of 244
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 4
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ตามเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร ดวย
2 2
2
ความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางซาย จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 5


2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 6 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 8 m/s จงหาขนาดความเรงที่จุด B


3 of 244
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 6

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

4 of 244

ชิ้นตอโยง 2 หมุนดวยความเร็วคงที่ 10 rad/sec CW จงหาความเรงของ กลไกที่จุด A2


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
188.5 cm/sec2
380 cm/sec2
คําตอบ 3 : 38 cm/sec2
คําตอบ 4 : 18.85 cm/sec2
5 of 244

ขอที่ : 7
กลไกดังรูป จงหาคาความเรงของ A2 ในแนวตั้งฉากกับแกน O2A

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0 cm/sec2
คําตอบ 2 : 380 cm/sec2
คําตอบ 3 : 188.5 cm/sec2
คําตอบ 4 : 38 cm/sec2 6 of 244
ขอที่ : 8
จากภาพสมการความเรงใดถูกตอง

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
7 of 244
คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ขอที่ : 9

าว ศ

ส ภ
8 of 244

จากภาพ จงหาคาความเรงของ A ในแนวขนานกับ O2A และทิศทาง


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
38 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา O2
480 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา A
คําตอบ 3 : 488 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา A
คําตอบ 4 : 380 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา O2
9 of 244

ขอที่ : 10
2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 6 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 8 m/s จงหามุมที่ความเรงของจุด B ทํากับแขน OB

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 :

า้ ม
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว

คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 11


2 2



จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 3 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 4 m/s จงหาขนาดความเรงที่จุด B

ภ าว

10 of 244
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า
คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 12
2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 3 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 5 m/s จงหามุมที่ความเรงของจุด B ทํากับแขน OB

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

11 of 244
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 13
เมื่อทราบความเรงที่จุด C สมการใดที่สามารถใชคํานวณหาความเรงของจุด C
3 4

AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4 + 2VC3/C4ω4 ---------[1]

่ า ย
หน

n t n t
AC3 = AC4 + AC4 + AC3/C4 + AC3/C4 + 2VC3/C4ω4 ---------[2]

มจ
า้
AC3 = AC3n + AC3t + AC4/C3 + 2VC4/C3ω4 ---------[3]

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : สมการ 1 และ 2


คําตอบ 2 : สมการ 3 เทานั้น


คําตอบ 3 : สมการ 1 และ 3

กร
คําตอบ 4 : สมการ 2 และ 3


ิ ว
าว
ขอที่ : 14

ส ภ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง จากกลไก 6 ขอตอและสมการที่ใหมา

AC3 = AC4 + AC4t + AC3/C4 + 2VC3/C4ω4 ---------[1]


n

AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4n + AC3/C4t + 2VC3/C4ω4 ---------[2]

12 of 244
AC3 = AC3n + AC3t + AC4/C3 + 2VC4/C3ω4 ---------[3]

ความเรง 2V ω เรียกความเรง Coriolis มีทิศตั้งฉากกับ O4C

่ า
C3/C4 4
คําตอบ 1 :

หน

ความเรง 2V ω เรียกความเรง Coriolis มีทิศขนานกับ O4C


C3/C4 4
คําตอบ 2 :

า้ ม
ิธ์ ห
ความเรง 2V ω เรียกความเรงสัมพัทธ มีทิศตั้งฉากกับ O4C
C3/C4 4
คําตอบ 3 :

ิท
ความเรง 2V ω เรียกความเรงสัมพัทธ มีทิศขนานกับ O4C


C3/C4 4
คําตอบ 4 :

ง ว น
ขอที่ : 15

อ ส

เมื่อทราบความเรงของจุด A ความเรงของจุด A4 สามารถหาไดจากสมการ

ว กร
าว ศ

ส ภ
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.ω3 + AA4/A3
คําตอบ 1 :

13 of 244

คําตอบ 2 :
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.ω2 + AA4/A3

คําตอบ 3 : AA4n + AA4t = AA2 + 2VA4/A2.ω2 + AA4/A3


AA2n + AA2t = AA4 + 2VA2/A4.ω4 + AA2/A4


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 16
เมื่อทราบความเรงของขอตอทั้ง 4 และความเรงจุด A ความของจุด A ไดจากสมการ

จ ำ ห

4

า้
ิธ์ ห
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.ω3 + AA4/A3

จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 2VA4/A3.ω3 มีทิศตั้งฉากกับ BOA

าว ศ

2VA4/A3.ω3 มีทิศขนานกับ BOA


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : 2VA4/A3.ω3 มีทิศตั้งฉากกับ AOA
2VA4/A3.ω3 มีทิศขนานกับ AOA
คําตอบ 4 :

14 of 244

ขอที่ : 17
ชิ้นสวนที่อยูในสภาพสมดุลภายใตแรงกระทําในรูปเรียกวา

คําตอบ 1 : Frame member


คําตอบ 2 : 2-force member

่ า
คําตอบ 3 :


Longitudinal member


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

จ ำ

ขอที่ : 18

า้
แรงปฏิกิริยาของชิ้นสวนในรูปคือขอใด

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :

ขอ
ว กร
คําตอบ 2 :

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 3 :

15 of 244
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
ขอที่ : 19
ชิ้นสวนที่รับแรงดังแสดงในรูป และอยูในสภาพสมดุลมีชื่อเรียกวา

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : Shell member
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :


3-force member


คําตอบ 3 : Plate member


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ส ง

ขอที่ : 20


คําตอบขอใดแสดงแรงปฏิกิริยาที่ถูกตองของคานที่รับแรงดังรูป

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : ภ
คําตอบ 2 : 16 of 244
่ า ย

คําตอบ 3 :

จ ำ ห

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 21
ชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรง จะสมดุลก็ตอเมื่อแรง 2 แรงนั้นเปนอยางไร

ิท
คําตอบ 1 : มีขนาดเทากัน


คําตอบ 2 : มีทิศทางตรงกันขาม

ว น
คําตอบ 3 : กระทําอยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 22

กร
กลไกสมดุลดังรูป ถาแรง P= 100N มากระทําที่ Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm แรงกระทํา F43 มีคาและทิศทางอยางไร


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 115 N ทิศทางขนานกับAB เขาหาจุด A
คําตอบ 2 : 60 N ทิศทางขนานกับ AB เขาหาจุด A
คําตอบ 3 : 115 N ทิศทางขนานกับ AB เขาหาจุด B
คําตอบ 4 : 60 N ทิศทางขนานกับ AB เขาหาจุด B 17 of 244
ขอที่ : 23
กลไกสมดุลยดังรูป ถาแรง P= 100N มากระทําที่ Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm แรงที่พื้นกระทําตอลูกสูบ มีคาและทิศทางอยางไร

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 58 N ทิศทางขนานกับ แรง Pเขาหาจุด B


คําตอบ 2 : 58 N ทิศทางตั้งฉากกับ แรง P เขาหาจุด B

า้ ม
คําตอบ 3 : 115 N ทิศทางขนานกับ แรง P ออกจากจุด B

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 115 N ทิศทางตั้งฉากกับ แรง P ออกจากจุด B

ขอที่ :

ิท
24


กลไกสมดุลยดังรูป ถาแรง P= 100N มากระทําที่ Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm AB =7.8 cm O2A = 5.5 cm แรงกระทําระหวางพื้นกับ Link 2 ( F12) มีคาและทิศทางอยาง


ไร

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 58 N ทิศทางขนานกับ AB แนว B ไป A


คําตอบ 2 : 58 N ทิศทางตั้งฉากกับ AB แนว O2 ไป A


คําตอบ 3 : 115 N ทิศทางขนานกับ AB แนว B ไป A
คําตอบ 4 : 115 N ทิศทางตั้งฉากกับ AB แนว O2 ไป A

ขอที่ : 25
เงื่อนไขที่ทําใหชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรงสมดุลคือขอใด
คําตอบ 1 : มีขนาดไมเทากัน
18 of 244
คําตอบ 2 : มีทิศทางเดียวกัน
กระทําอยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 26
ขอใดไมเปนเงื่อนไขที่ทําใหชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรงสมดุล
คําตอบ 1 : มีขนาดเทากัน
คําตอบ 2 : มีทิศทางเดียวกัน

่ า ย

คําตอบ 3 : กระทําอยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ :

า้
27
ชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรง จะสมดุลก็ตอเมื่อแรง 2 แรงนั้นเปนอยางไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีขนาดไมเทากัน
คําตอบ 2 : มีทิศทางเดียวกัน

ิท
คําตอบ 3 : กระทําอยูบนแนวเสนตรงที่ขนานกัน


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ :

ง ว น

28


กลไก 6 ขอตอในรูป ใหแรง F = 330 N จงคํานวณหาแรงที่ขอตอ 5 กระทํากับขอตอ 6 แรง F (ไมคิดแรงเสียดทาน)
6 56

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
335.1 N เปนแรงกด
58.2 N เปนแรงกด
325.0 N เปนแรงดึง
คําตอบ 4 : 345.6 N เปนแรงดึง

ขอที่ : 29 19 of 244

กลไก 6 ขอตอในรูป ใหแรง F = 330 N จงคํานวณหาแรงที่ขอตอ 1 กระทํากับขอตอ 6 แรง F (ไมคิดแรงเสียดทาน)


6 16
่ า ย

58.2 N
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : 335.1 N

จ ำ ห

คําตอบ 3 : 325.0 N

า้
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
345.6 N

ขอที่ : 30

ิท
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง จากกลไก 6 ขอตอในรูป

นส
ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
แรง F45 และแรง F65 มีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขาม

าว
แรง F และแรง F มีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขาม


54 65
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :
แรง F
65
เปนแรงที่ขอตอ 6 กระทํากับขอตอ 5 ที่จุด B และเปนแรงดึง

แรง F มีทิศตั้งฉากกับ O A
45 4
คําตอบ 4 :
20 of 244
ขอที่ : 31

กลไกสมดุลดังรูป ถาแรง P= 100 N มากระทําที่ Link 4 ดังรูปและ O B= 10 cm ,AB= 7.8 cm, O A = 5.5 cm คาโมเมนตควบคูที่ Link 2 เพื่อให
2 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ระบบสมดุลเทากับเทาไร

ิท
3.18 N-m CW

คําตอบ 1 :

ง ว น

31.8 N-m CCW


คําตอบ 2 :

63.7 N-m CCW


กร ข
คําตอบ 3 :

63.7 N-mว ศ
ิ ว
ภ า CW

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 32

21 of 244

ขอใดที่กลาวไวถูกตอง
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ขอตอ 5 และขอตอ 3 เปนขอตอรับ 2 แรงทั้งคู

จ ำ

คําตอบ 2 : ขอตอ 5 และขอตอ 2 เปนขอตอรับ 2 แรงทั้งคู

า้
คําตอบ 3 : แรงที่ขอตอ 5 รับ เปนแรงดึง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอตอรับ 2 แรงในกลไกนี้

ิท
ขอที่ : 33


สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.3 ระหวางสลักรัศมี 25 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง


เคลื่อนที่ไปทางซาย ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : ก. 299 Nm CW
คําตอบ 2 : ข. 299 Nm CCW


คําตอบ 3 : ค. 287 Nm CCW


คําตอบ 4 : ง. 287 Nm CW

ขอที่ : 34

22 of 244
สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.3 ระหวางสลักรัศมี 25 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง
เคลื่อนที่ไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

คําตอบ 1 : ก. 299 Nm CW

่ า
คําตอบ 2 : ข. 299 Nm CCW
คําตอบ 3 : ค. 287 Nm CCW

หน

คําตอบ 4 : ง. 287 Nm CW

มจ
า้
ขอที่ : 35

ิธ์ ห
สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.4 ระหวางสลักรัศมี 20 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง
เคลื่อนที่ไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : ก. 238 Nm CW

กร
คําตอบ 2 : ข. 238 Nm CCW


คําตอบ 3 : ค. 255 Nm CCW



คําตอบ 4 : ง. 255 Nm CW

ขอที่ : 36

ภ าว

สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.4 ระหวางสลักรัศมี 20 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง
เคลื่อนที่ไปทางซาย ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

23 of 244
คําตอบ 1 : ก. 238 Nm CW
คําตอบ 2 : ข. 238 Nm CCW
คําตอบ 3 : ค. 255 Nm CCW
คําตอบ 4 : ง. 255 Nm CW

ขอที่ :


37

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

24 of 244

Press Mechanism มีแรง P ที่รูขนาดและทิศทางกระทํากับชิ้นงาน 7 ดังรูป เวคเตอรของแรงที่กระทํา F 67 จะเปนไปดังภาพไหน .


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

25 of 244
่ า ย
คําตอบ 1 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 2 :

าว ศ

ส ภ
26 of 244
่ า ย

คําตอบ 3 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 4 :


ิ ว
ภ าว

27 of 244
ขอที่ : 38
Press Mechanism มีแรง P ที่รูขนาดและทิศทางกระทํากับชิ้นงาน 7 ดังรูป เวคเตอรของแรงที่กระทําที่ link 4 จะเปนไปดังภาพไหน .

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

28 of 244
่ า ย
คําตอบ 1 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

29 of 244
่ า ย

คําตอบ 3 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 4 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

ขอที่ : 39

จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมื่อ Slider C มีแรงจาก แขน AC ขนาด 120 N ทํามุม 30? กับแนวระดับกระทํา
30 of 244
่ า ย

คําตอบ 1 :


60 N


คําตอบ 2 : 70 N


คําตอบ 3 : 80 N


คําตอบ 4 :

า้
90 N

ิธ์ ห
ขอที่ : 40
ใน pin joint ที่มี Friction รูปของแรงตางๆที่กระทําที่ Pin Joint ที่ถูกตองคือรูป

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 :

าว ศ

ส ภ
31 of 244
่ า ย
คําตอบ 2 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 3 :

วกร
าว ศ

ส ภ
32 of 244
่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 41


การเขียนคา Friction circle ใน force diagram คา รัศมีของ Friction Circle ควรมีขนาด =?

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : r = sin K
คําตอบ 2 : r = MSin K
คําตอบ 3 : r = MR 33 of 244
คําตอบ 4 : r =M tan K
ขอที่ : 42
จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมื่อ Slider C มีแรงจาก แขน AC ขนาด 100 N ทํามุม 40? กับแนวระดับกระทํา

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 50.24 N
คําตอบ 2 : 64.28 N
คําตอบ 3 : 76.60 N

ิท
คําตอบ 4 :


83.90 N

ขอที่ :

จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมืว


43

ง น

่อแขน AC มีแรงสถิตยขนาดเทากับ 200 N ทํามุม 30? กับแนวระดับ

ร ข อ
ว ก
า ว ศ


คําตอบ 1 :
ภ 50 N
คําตอบ 2 : 100 N
คําตอบ 3 : 150 N
คําตอบ 4 : 200 N
34 of 244

ขอที่ : 44
จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมื่อแขน AC มีแรงสถิตยขนาดเทากับ 250 N ทํามุม 45? กับแนวระดับ

่ า ย
หน

คําตอบ 1 :


276.78 N


คําตอบ 2 : 250 N

า้
คําตอบ 3 : 200 N


คําตอบ 4 : 176.78 N

ขอที่ :

น) มีคธ
ใหสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหวางขอตอ 6 (Slider) และขอตอ 1 (แทิท
45 ์ ิ
จงคํานวณมุมของแรงเสียดทาน φ และเติมแรงลงในผังวัตถุอิสว น ส า μ =0.1

ส ง ระ (ขอตอ6) ใหถูกตองเมื่อขอตอ 6 กําลังจะเคลื่อนที่ไปทางขวา

ร ข อ
ว ก
า ว ศ

ส ภ
-1 35 of 244

φ=tan 0.1=5.7?
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน

-1
φ=tan 0.1=5.7?

มจ
า้
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
-1
φ=sin 0.1=5.7?
กร ข

ิ ว
คําตอบ 3 :

ภ าว

-1 36 of 244
φ=sin 0.1=5.7?
คําตอบ 4 :

่ า ย
ห น

ขอที่ : 46

ใหสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหวางขอตอ 6 (Slider) และขอตอ 1 (แทน) มีคา μ =0.1


ม จ
จงคํานวณมุมของแรงเสียดทาน φ และเติมแรงลงในผังวัตถุอิสระ (ขอตอ6) ใหถูกตองเมื่อขอตอ 6้า
ิธ์ ห กําลังจะเคลื่อนที่ไปทางซาย

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

ิ ว
า ว
ส ภ
คําตอบ 1 :

-1 37 of 244

φ=tan 0.1=5.7?
่ า ย

-1


φ=tan 0.1=5.7?

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

-1


φ=sin 0.1=5.7?

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :

ส ภ
-1
φ=sin 0.1=5.7?
38 of 244
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ :

กลไก 6 ขอตอในรูป ขอตอ 3 กําลังจะเคลื่อนที่สัมพัทธกับขอตอ 4 ในทิศจาก O →A โดยสัมประสิทธิ์แรงเสียำ


47

ห น
4
ม จ ดทานระหว างขอตอทั้งสอง คือ μ



ิธ์ ห
= 0.15 จงคํานวณหามุมของแรงเสียดทานสถิต φ

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข
φ = 8.5?

ิ ว

คําตอบ 1 :

ภ า

φ = 5.7?
คําตอบ 2 :

φ = 9.6?
คําตอบ 3 :

39 of 244
φ = 7.4?
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 48

่ า ย
กลไก 6 ขอตอในรูป เมื่อให F = 341 N จงคํานวณขนาดของแรง F สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตยระหวางขอตอ 6 (Slider) และขอตอ 1 คือ μ


6 16


= 0.1 เมื่อขอตอ 6 กําลังจะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

F = 59.5 N



16


คําตอบ 1 :

F =า

คําตอบ 2 :ภ 94.2 N
16

F = 58.2 N
คําตอบ 3 :
16
40 of 244
F = 42.4 N
คําตอบ 4 :
16

ขอที่ :


49

่ า
2 2
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที )

หน
ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A
และ B เทากับ
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : ก. 134.5 N down to the right


คําตอบ 2 : ข. 134.5 N up to the left


คําตอบ 3 : ค. 134.5 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 134.5 N up to the right

ขอที่ : 50

มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที2) ความยาวกานตอ AB41เทof า244
กับ 200
มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A และ B เทากับ
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ก. 134.5 N down to the right

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : ข. 134.5 N up to the left

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ค. 134.5 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 134.5 N up to the right

ขอที่ : 51

ส ิท

2 2


มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที )

ส ง
ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A
และ B เทากับ
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
42 of 244
คําตอบ 1 : ก. 154 N down to the right
คําตอบ 2 : ข. 154 N up to the left
คําตอบ 3 : ค. 154 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 154 N up to the right

ขอที่ : 52
2

่ า ย 2
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที )

หน
ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A
และ B เทากับ
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : ก. 154 N down to the right
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

ข. 154 N up to the left
ค. 154 N down to the left


คําตอบ 4 : ง. 154 N up to the right

ขอที่ : 53 ส
แขนกลแขนหนึ่งเคลื่อนที่โดยที่จุดศูนยถวงมวลมีความเรง แรงเฉื่อยจะเกิดขึ้นกับแขนกลตรงจุดไหนและทิศทางใด
คําตอบ 1 : เกิดขึ้นที่จุดศูนยถวงมวลและมีทิศตรงขามกับความเรง
คําตอบ 2 : เกิดที่จุดศูนยถวงมวลและมีเทิศทางเดียวกับความเรง
คําตอบ 3 : เกิดขึ้นที่ปลายของแขนกลและมีทิศตรงขามกับความเรง 43 of 244
คําตอบ 4 : เกิดขึ้นที่ปลายของแขนกลและมีทิศทางเดียวกับความเรง
ขอที่ : 54
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน จงหาความเร็วเชิงมุมของลูกตุม
กอนกระทบชิ้นงาน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 2.02 rad/sec

กร ข

คําตอบ 2 : 3.33 rad/sec



คําตอบ 3 : 1.85 rad/sec

าว
คําตอบ 4 : 1.8 rad/sec

ขอที่ : 55

ส ภ
44 of 244
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน จงหาความเร็วเชิงเสนของลูกตุม
กอนกระทบชิ้นงาน
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 1.85 m/sec

ง ว น

คําตอบ 2 : 1.65 m/sec


คําตอบ 3 : 3.33 m/sec

กร ข
คําตอบ 4 : 6.66 m/sec

ขอที่ : 56


ิ ว
ภ าว

45 of 244
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน แลวเหวี่ยงขึ้นไปเปนมุม 20
องศา จงหาพลังงานที่กระทํากับชิ้นงาน(Energy Absorbed)
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 133.3 Joules

ง ว น

คําตอบ 2 : 129.3 Joules


คําตอบ 3 : 102.7 Joules

กร ข
คําตอบ 4 : 186.2 Joules

ขอที่ : 57


ิ ว
ภ าว

46 of 244
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน จงหาพลังงานที่เหลือหลังจาก
การกระแทก (Energy Absorbed)
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 126.5 Joules

ง ว น

คําตอบ 2 : 26.5 Joules


คําตอบ 3 : 129.3 Joules

กร ข
คําตอบ 4 : 37.8 Joules

ขอที่ : 58


ิ ว
าว
แขนกลแขนหนึ่งเคลื่อนที่โดยที่จุดศูนยถวงมวลมีความเรง a แรงเฉื่อยจะเกิดขึ้นกับแขนกลในทิศทางใด
G


คําตอบ 1 :
ภ ทิศทางทํามุม 45?กับความเรง a
G

คําตอบ 2 :
ทิศทางเดียวกับความเรง a 47 of 244

G
ทิศทางตรงขามกับความเรง a
คําตอบ 3 :
G

ทิศทางตั้งฉากกับความเรง a

G

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 59



แขนกลแขนหนึ่งเคลื่อนที่โดยที่จุดศูนยถวงมวลมีความเรง a แรงเฉื่อยจะเกิดขึ้นกับแขนกลในทิศทางใด

ิธ์ ห
G

คําตอบ 1 : ทิศทางตั้งฉากกับแนวของแขนกล

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : ทิศทางตามแนวของแขนกล

ทิศทางตรงขามกับความเรง a
G
ส ง

คําตอบ 3 :

ทิศทางเดียวกับความเรง a ร
ก ข

ิ ว G


คําตอบ 4 :

ภ า
ขอที่ : 60

จงคํานวณแรงเฉื่อย (inertia force) และแรงบิดเฉื่อย (inertia torque) ของขอตอ 3
2 2 2
ให I = 0.011 kg.m , m = 1 kg และจากรูปเหลี่ยมของความเรง A = 94 m/s , α =190 rad/s ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 48 of 244

G3 3 G3 3
่ า ย
หน
แรง เฉื่อย f = 94 N
3
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m
3

ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

แรง เฉื่อย f = 94 N
3

แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m 49 of 244

3
แรง เฉื่อย f = 94 N
่ า ย

3

แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m


จ ำ ห

3

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
แรง เฉื่อย f = 94 N
3

กร ข

ิ ว
าว
แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m
3


คําตอบ 4 :

50 of 244
ขอที่ : 61
2 2
กลไก 4 ขอตอในรูป จากรูปเหลี่ยมของความเรงจะได A = 94 m/s , α =190 rad/s ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
G3 3


ให I = 0.011 kg.m , m = 1 kg จะไดแรงเฉื่อยของขอตอ 3 คือ f = 94 N จงหารัศมีวงกลมของแรงเฉื่อย h
่ า
G3 3 3

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
h = 0.022 m
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

51 of 244
h = 0.022 m
่ า ย
h = 0.022 m
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น
h = 0.022 m
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ส ภ
ขอที่ : 62
52 of 244
2 2
กลไก 4 ขอตอในรูปให m = 2.1 kg , I = 0.018 kg.m และจากรูปเหลี่ยมของความเรง จะได A = 49 m/s จงคํานวณแรงเฉื่อย f
2 G2 G2 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
f = 102.9 N
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :
2

นส
f = 97.86 N
ง ว

2


คําตอบ 2 :

f = 107.60 N
กร ข
คําตอบ 3 :
2


ิ ว
า วN
ส ภ
f = 10.29
คําตอบ 4 :
2

ขอที่ : 63
53 of 244
2 2
กลไก 4 ขอตอ ในรูป ให m =2.1 kg, I = 0.018 kg.m และจากรูปเหลี่ยมของความเรงจะได A = 49 m/s จงคํานวณแรงบิดเฉื่อย t รอบจุด G
2 G2 G2 2 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
t = 2.88 N.m
คําตอบ 1 :
2

ส ิท
คําตอบ 2 :
t = 2.09 N.m
2

ง ว น
อ ส
t = 0.88 N.m
2
กร ข

คําตอบ 3 :

าว ศ

t = 2.28 N.m

2


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 64

54 of 244
คําตอบ 1 : เกิดขึ้นที่จุด CG และมีทิศตรงขามกับความเรง

่ า ย
คําตอบ 2 : เกิดขึ้นที่จุด CG และมีทิศเดียวกันกับความเรง


คําตอบ 3 : เกิดขึ้นที่ปลายแขนกล และมีทิศเดียวกันกับความเรง


คําตอบ 4 : เกิดขึ้นที่ปลายแขนกล และมีทิศตรงกันขามกับความเรง

จ ำ

ขอที่ : 65

า้
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 3 เมตร/(วินาที2) ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตร

ิธ์ ห
และมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : ก. 89.1 N down to the right


คําตอบ 2 : ข. 89.1 N up to the left


คําตอบ 3 : ค. 89.1 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 89.1 N up to the right

ขอที่ : 66

2 2
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 3 เมตร/(วิ55นofาที
244
) ความ
ยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : ก. 49.5 N down to the right

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ข. 49.5 N up to the left
คําตอบ 3 : ค. 49.5 N down to the left

ิท
คําตอบ 4 : ง. 49.5 N up to the right

ขอที่ :

มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที ว


67
น ส

2 2


) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 3 เมตร/(วินาที ) ความ

ข อ
ยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก

พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ

ว ก
า ว ศ

ส ภ
56 of 244
คําตอบ 1 : ก. 54.2 N down to the right
คําตอบ 2 : ข. 54.2 N up to the left
คําตอบ 3 : ค. 54.2 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 54.2 N up to the right

ขอที่ : 68
2

่ า ย
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 3 เมตร/(วินาที ) ความ
2

ยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ


หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
ก. 103.8 N down to the right

าว
คําตอบ 2 : ข. 103.8 N up to the left


คําตอบ 3 : ค. 103.8 N down to the left


คําตอบ 4 : ง. 103.8 N up to the right

ขอที่ : 69

57 of 244
ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางตามเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 3 จะเปนไป
ดังภาพไหน .
่ า ย
หน
คําตอบ 1 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

58 of 244
ขอที่ : 70
ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางซาย ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 3 จะเปนไป
ดังภาพไหน .

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 3 :

59 of 244
คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 71


ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 300 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 2 จะเปนไป


ดังภาพไหน .

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

60 of 244
คําตอบ 3 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 4 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
ขอที่ : 72

กร ข
ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 3 จะเปนไป


ดังภาพไหน .

าว ศ

ส ภ
61 of 244
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 3 :

ภ าว

62 of 244
คําตอบ 4 :

่ า ย
หน

ขอที่ : 73


ขอใดคือคุณสมบัติของแรงเฉื่อยออฟเซตสมมูลยที่ไมถูกตอง

มีขนาดเทากับ a
G
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

มีทิศตรงขามกับ
ส ิท
าน
คําตอบ 2 :

ง ว

ทําใหเกิดโมเมนตรอบจุดศูนยถวงมวลโดยมีทิศตรงข มกับทิศการหมุนของ


คําตอบ 3 :

มีระยะเยื้องศูนยออกจากจุดร
ก ข

คําตอบ 4 : ศูนยถวงมวลเทากับ

า ว ศ


ขอที่ : 74

สมีขนาดเทากับ ma
ขอใดคือคุณสมบัติของแรงเฉื่อยออฟเซตสมบูรณที่ไมถูกตอง

คําตอบ 1 :
G
คําตอบ 2 : มีทิศตรงขามกับ
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดโมเมนตรอบจุดศูนยถวงมวลโดยมีทิศตรงขามกับทิศการหมุนของ
63 of 244
คําตอบ 4 : มีระยะเยื้องศูนยออกจากจุดศูนยถวงมวลเทากับ
ขอที่ : 75
ขอใดคือคุณสมบัติของแรงเฉื่อยออฟเซตสมบูรณที่ถูกตอง

คําตอบ 1 : มีขนาดเทากับ a
G
มีทิศทางเดียวกับตรงขามกับ


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : ทําใหเกิดโมเมนตรอบจุดศูนยถวงมวลโดยมีทิศทางเดียวกับกับทิศการหมุนของ

น ่ า
มีระยะเยื้องศูนยออกจากจุดศูนยถวงมวลเทากับ

ำ ห
คําตอบ 4 :

ม จ
จงคํานวณหาแรง F กําหนดให m = 2.3 kg, I = 0.005 kg-m , m = 0 kg และ m =2.7 kg,A ้า
ขอที่ : 76

14 2 G2
2

ิธ์ 3 ห 4 G4
2
= 950m/s และ P= 18000 N

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

ิ ว
า ว

ส = 2805 N
F
14
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : F = 2805 N 64 of 244

14
F = 3737.3 N
คําตอบ 3 :
14

F = 3737.3 N

14

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 77

า้
จงคํานวณหาแรงเฉื่อย f2กําหนดให m2= 2.3 kg ,IG2= 0.005 kg-m2, m3= 0 kg และm4= 2.7 kg ,AG2= 1776.5 m/s2 และ P = 18000 N

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
า วN

คําตอบ 1 : ภ
f = 4086
2

f = 2805 N
คําตอบ 2 :
2
65 of 244
f = 4237.3 N
คําตอบ 3 :
2

f = 3737.3 N
2


คําตอบ 4 :

น ่ า
ขอที่ : 78

จ ำ ห

2 2 2



จงคํานวณหาแรงเฉื่อย f กําหนดให m = 3.6 kg ,I = 0.04 kg-m และจากรูปเหลี่ยมของความเรง A = 1775 m/s ,α = 8333.33 rad/s ทิศทาง

ิธ์ ห
3 3 G3 G3 3
ทวนเข็มนาฬิกา

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

ิ ว
fภ า ว

คําตอบ 1 :
= 6390 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางตรงขาม
3 G3

f = 6.39 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางเดียวกัน


คําตอบ 2 :
3 G3
66 of 244
f = 5390 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางตรงขาม
คําตอบ 3 :
3 G3

f = 5.39 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางเดียวกัน


3 G3


คําตอบ 4 :

น ่ า
ขอที่ :

จงคํานวณหาแรงบิดเฉื่อยของขอตอ 3 m = 3.6 kg ,I = 0.04 kg-m และจากรูปเหลี่ยมของความเรง A =จ


79
ำ ห

2 2 2



1775 m/s ,α = 8333.33 rad/s ทิศทาง

ิธ์ ห
3 G3 G3 3
ทวนเข็มนาฬิกา

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข
แรงบิดเฉื่อว ศ
ิ ว
ภ า ย t = 333.33 N.m ทิศตามเข็มนาฬิกา


คําตอบ 1 :
3

แรงบิดเฉื่อย t = 333.33 N.m ทิศทวนเข็มนาฬิกา


คําตอบ 2 :
3

67 of 244
แรงบิดเฉื่อย t = 639.03 N.m ทิศตามเข็มนาฬิกา
คําตอบ 3 :
3

แรงบิดเฉื่อย t = 639.03 N.mทิศทวนเข็มนาฬิกา


3


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 80

จ้ ำ ห

้ ม
มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี

m = 10 kg, R = 110 mm ิธ์ ห




A A

น ส
R = 75 mm, θ = 100 R = 90 mm, θ = 220

ο ο

B B C C

มวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุลอ ส ง


ก ร ข

ิ ว
า ว
ส ภ
68 of 244
m = 14.7 kg, m = 18.7 kg
คําตอบ 1 :
B C

m = 10.9 kg, m = 13.9 kg


B C


คําตอบ 2 :

น่ า

m = 18.7 kg, m = 14.7 kg

B C


คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
m = 13.9 kg, m = 10.9 kg
คําตอบ 4 :
B C

ส ิท
ขอที่ : 81

ง ว น
อ ส

มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี้

กร
m = 10 kg, R = 110 mm

ิ ว
าว
A A

ส ภ
m = 12 kg, θ = 100
B B
o

o
m = 15 kg, θ = 220
C C
69 of 244

แขนมวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุล


่ า ย

R = 68.0 mm, R = 83.4 mm
B C


คําตอบ 1 :

จ ำ
R = 83.40 mm, R = 68.0 mm
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
B C

R = 91.7 mm, R = 112.0 mm


B C
ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
R = 112.0 mm, R = 91.7 mm


B C

กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 82

ส ภ
มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี้

m = 10 kg, R = 110 mm
A A

m = 15 kg, θ = 100οm = 12 kg, θ = 220ο 70 of 244

B B C C
แขนมวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุล

่ า ย
หน
R = 73 mm, R = 140 mm
จ ำ

B C

า้
คําตอบ 1 :

R = 140 mm, R = 73 mm
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :
B C

นส
R = 54 mm, R = 104 mm
ง ว

B C


คําตอบ 3 :

R = 104 mm, R = 54 mm ข
ก ร
คําตอบ 4 :
B


ิ ว C

า ว
ขอที่ : 83
ส ภ
มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี้

m = 10 kg, R = 110 mm 71 of 244

A A
R = 70 mm, θ = 100ο
B B

R = 100 mm, θ = 220ο


C C

มวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุล


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
m = 16.8 kg, m = 15.7 kg
ง ว น

B C


คําตอบ 1 :

m = 15.7 kg, m = 16.8 kgร


ก ข
B


ิ ว C


คําตอบ 2 :

m =า

คําตอบ 3 :ภ 12.5 kg, m = 11.7 kg
B C

m = 11.7 kg, m = 12.5 kg


คําตอบ 4 :
B C
72 of 244
ขอที่ : 84

สมมุติวา มีน้ําหนัก W1,W2 &W3 อยูที่ตําแหนง R1 , R2 และ R3 และตองการหาคา WA , WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาว ดังรูป

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

73 of 244
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : Wa =7.88, Wb =4.5

า้
คําตอบ 2 : Wa =3.5, Wb =2.5

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Wa =7.58, Wb =4.33
คําตอบ 4 : Wa =2.5, Wb =3.5

ขอที่ : 85

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

74 of 244

สมมุติวา มีน้ําหนัก W1,W2 &W3 อยูที่ตําแหนง R1 , R2 และ R3 และตองการหาคา WA , WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาว ดังรูป
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

75 of 244
คําตอบ 1 : Wa= 7.88 ; Wb=4.5
คําตอบ 2 : Wa= 3.5 ; Wb=2.5
คําตอบ 3 : Wa= 7.58 ; Wb=4.33
คําตอบ 4 : Wa= 7.59 ; Wb=4.08

ขอที่ : 86
สมมุติวา มีน้ําหนัก W1,W2 &W3 อยูที่ตําแหนง R1 , R2 และ R3 และตองการหาคา WA , WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาว ดังรูป

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

76 of 244
คําตอบ 1 : Wa= 6.49 ; Wb= 3.14
คําตอบ 2 : Wa= 3.25 ; Wb= 1.57
คําตอบ 3 : Wa =7.58 ; Wb= 4.33
คําตอบ 4 : Wa = 2.078 ; Wb= 4.08

ขอที่ : 87
จากรูป ถาระบบไมสมดุล จะเกิดอะไรขึ้นที่ฐานรองเพลา

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : แรงเขยา
คําตอบ 2 : โมเมนตเขยา
คําตอบ 3 : แรงเขยาและโมเมนตเขยา
คําตอบ 4 : แรงหนีศูนยกลาง

ขอที่ : 88
77 of 244

การทําสมดุลสถิต จะทําเพื่อกําจัดแรงอะไรใหหมดไป
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : แรงหนีศูนยกลางเขยา

า้
คําตอบ 2 : โมเมนตเขยา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แรงเขยา
คําตอบ 4 : แรงเฉื่อยเขยา

ขอที่ : 89

ส ิท
จากรูป การทําสมดุลจะทําใหกําจัดแรงอะไรออกไปจากระบบ

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : โมเมนตเขยา
คําตอบ 2 : แรงเขยา
คําตอบ 3 : แรงหนีศูนยกลาง
78 of 244
คําตอบ 4 : แรงเขยาและโมเมนตเขยา
ขอที่ : 90

จากรูป การทําสมดุลจะทําใหกําจัดแรงอะไรออกไปจากระบบ

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : โมเมนตเขยา


คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลางเขยา


คําตอบ 3 : แรงเฉื่อยเขยา

ง ว
คําตอบ 4 : แรงเขยา

ขอที่ :

อ ส

91

ว กร
าว ศ

ส ภ
จงคํานวณหามวล m ที่ทําใหระบบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนอยูในระนาบเดียวกันดวยความเร็วเชิงมุม ω
e 1 2 e

ให m = 1.5 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 20 cm และ R = 25 cm 79 of 244

1 2 1 2 e
่ า ย
หน
จ ำ

m = 2 kg

า้
คําตอบ 1 :
e

m = 2.5 kg ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
e

ส ิท
ง ว น

m = 5 kg


e


คําตอบ 3 :

m = 3 kg
ว กร


e

าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 92 ส ภ
จงคํานวณหามุม θ ที่ทําใหระนาบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนในระนาบเดียวกันดวยความเร็วเชิงมุม ω
e 1 2 e

ให m = 1.5 kg, m = 2 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 20 cm และ R = 25 cm 80 of 244

1 2 e 1 2 e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
θ = 30ο+180ο+53.1ο
คําตอบ 1 : e

ส ิท
θ = 30ο+180ο+36.9ο
e
ง ว น

คําตอบ 2 :

ร ขอ

θ = 30 +90 +53.1
ο ο ο


e



คําตอบ 3 :

า ว

คําตอบ 4 :ภ
θ = 30
e
ο ο
+90 +36.9 ο

ขอที่ : 93
81 of 244
จงคํานวณหามวล m ที่ทําใหระบบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนอยูในระนาบเดียวกัน
e 1 2 e

ให m = 3 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 30 cm และ R = 20 cm โดย θ = 60? และθ = 180?


1 2 1 2 e 1 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

m = 3 kg

e


คําตอบ 1 :

m = 2 kg
ว กร
คําตอบ 2 :
e

าว ศ


คําตอบ 3 :
ภ m = 2.5 kg
e

คําตอบ 4 :
m = 3.5 kg 82 of 244

e
ขอที่ : 94

มวล m ทําใหระบบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนอยูในระนาบเดียวกัน


e 1 2 e

ให m = 3 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 30 cm และ R = 20 cm โดย θ = 60ο และθ = 180ο


่ า ย
1 2 1 2 e 1 2

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
θ = 300ο
e


คําตอบ 1 :

สθ = 280ο
e
คําตอบ 2 :

83 of 244
θ = 180ο
คําตอบ 3 : e

θ = 270ο

e

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 95

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
สมมติวา มีน้ําหนัก W1, W2, W3 อยูที่ตําแหนง R1, R2, R3 และตองการหาคา WA, WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาวดังรูป

กร ข

ิ ว
ภ าว

84 of 244
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 :

า้ ม
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
ขอที่ : 96

กร ข

ิ ว
ภ าว

มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา m = 4 kg, m = 8 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร
B C
มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวนเข็มนาฬิกา) เปน θ = 120? และ θ = 210? จงหาขนาด m ที่ทําใหระบบสมดุล 85 of 244

B C A
่ า ย
คําตอบ 1 : 3.772 kg

หน

คําตอบ 2 :


4.772 kg


คําตอบ 3 : 5.772 kg

า้
คําตอบ 4 : 6.772 kg

ขอที่ : 97
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา mB= 5 kg, mC = 8 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวน



เข็มนาฬิกา) เปน θB = 120ο และ θC = 210ο จงหาขนาด mA ที่ทําใหระบบสมดุล

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
86 of 244
คําตอบ 1 : 3.344 kg
คําตอบ 2 : 4.344 kg
คําตอบ 3 : 5.344 kg
คําตอบ 4 : 6.344 kg

่ า ย
ขอที่ : 98

ห น
มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา m = 4 kg, m = 10 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร

B C
ο ο

ม จ
มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวนเข็มนาฬิกา) เปน θ = 120 และ θ = 210 จงหาขนาด m ที่ทําใหระบบสมดุ ล


B C A

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข
คําตอบ 1 : 3.458 kg


ิ ว
า ว
คําตอบ 2 : 4.458 kg


คําตอบ 3 : 5.458 kg


คําตอบ 4 : 6.458 kg

ขอที่ : 99

มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา m = 5 kg, m = 10 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร
87 of 244

B C
มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวนเข็มนาฬิกา) เปน θ = 120ο และ θ = 210ο จงหาขนาด m ที่ทําใหระบบสมดุล
B C A

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 3.935 kg

ง ว
คําตอบ 2 : 4.935 kg


คําตอบ 3 : 5.935 kg


คําตอบ 4 : 6.935 kg

ขอที่ :

กร ข

100

าว ศ

ส ภ
88 of 244

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : We =15 Degree e= 59.0



คําตอบ 2 : We = 15 Degree e= 259.0

าว
คําตอบ 3 : We =9.09 Degree e= 264.0


คําตอบ 4 : We = 9.09 Degree e= 84.9

ขอที่ : 101

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e 89 of 244
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : We = 15 Degree ของ e =59.0



คําตอบ 2 : We = 15 Degree ของ e = 259.0

าว
คําตอบ 3 : We = 13.37 Degree ของ e = 263.34


คําตอบ 4 : We = 13.37 Degree ของ e = 83.34

ขอที่ : 102

90 of 244

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
W = 15.66 : Degree ของ e = 53.22


คําตอบ 2 : W = 15.66 : Degree ของ e = 253.22



คําตอบ 3 : W = 9.09 : Degree ของ e = 264.9

าว
คําตอบ 4 : W = 9.09 : Degree ของ e = 84.9

ขอที่ : 103
ส ภ
91 of 244

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 : W = 5.38 : Degree ของ e = 265.7

าว
คําตอบ 2 : W = 15.38 : Degree ของ e = 265.7
คําตอบ 3 : W = 9.09 : Degree ของ e = 264.9

ส ภ
คําตอบ 4 : W = 9.09 : Degree ของ e = 84.9

ขอที่ : 104
ขอใดถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต
คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดโมเมนตเขยาและแรงเขยา
คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 3 มวลเพิ่มเขาไป
คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ 92 of 244
คําตอบ 4 : ใชหลักผลรวมของแรงเฉื่อยเทากับศูนยเพียงอยางเดียว
ขอที่ : 105
ขอใดถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต
คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดโมเมนตเขยาเพียงอยางเดียว
คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 3 มวลเพิ่มเขาไป
คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ


คําตอบ 4 : ใชหลักผลรวมของแรงเฉื่อยเทากับศูนยและผลรวมของโมเมนตรอบจุดใดๆเทากับศูนย

น่ า

ขอที่ : 106


ขอใดถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต
คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดโมเมนตเขยาเพียงอยางเดียว

มจ
า้
คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 2 มวลเพิ่มเขาไป

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ
คําตอบ 4 : ใชหลักผลตางของแรงเฉื่อยเทากับศูนยและผลตางของโมเมนตรอบจุดใดๆเทากับศูนย

ขอที่ : 107

ส ิท
ว น
ขอใดไมถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต


คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดแรงเขยาและโมเมนตเขยา


คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 2 มวลเพิ่มเขาไป


คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ
คําตอบ 4 :

กร ข
ใชหลักผลรวมของแรงเฉื่อยเทากับศูนยและผลรวมของโมเมนตรอบจุดใดๆเทากับศูนย

ขอที่ : 108


ิ ว
ภ าว

จงหามวล m เพื่อถวงสมดุลแรงบนระนาบ A เมื่อระบบมีโมเมนตที่สมดุล จากการเติมมวล m ลงบนระนาบ B โดย m = 4 หนวยน้ําหนัก
A B B

m = 1 หนวยน้ําหนัก, m = 3 หนวยน้ําหนัก
1 2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว 93 of 244

1 2
่ า ย
หน
R = 2 หนวยความยาว และให θ =θ +180ο
จ ำ

B 2 1

า้
ิธ์ ห
m = 6 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 1 :
A

ส ิท

m = 2.5 หนวยน้ําหนัก

A


คําตอบ 2 :

อ ส
คําตอบ 3 :
m = 3 หนวยน้ําหนัก
A

กร ข

ิ ว
าว
m = 2 หนวยน้ําหนัก


A


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 109

จงหามวล m = เพื่อถวงสมดุลโมเมนตรอบแกนอางอิงในระนาบ A โดนให m อยูในระนาบ B 94 of 244

B B
ให m = 5 หนวยน้ําหนัก, m = 3 หนวยน้ําหนัก
1 2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว
1 2

R = 1 หนวยความยาว
่ า ย

B

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
m = 8 หนวยน้ําหนัก
อ ส

B

กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
m = 6 หนวยน้ําหนัก

าว
คําตอบ 2 :
B

ส ภ m = 4 หนวยน้ําหนัก
B
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : m = 2 หนวยน้ําหนัก 95 of 244

B
ขอที่ : 110

จงหามวล m = เพื่อถวงสมดุลโมเมนตรอบแกนอางอิงในระนาบ A โดนให m อยูในระนาบ B


B B

ให m = 1 หนวยน้ําหนัก, m = 3 หนวยน้ําหนัก


่ า ย

1 2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว
จ ำ ห

1 2

า้
ิธ์ ห
R = 2 หนวยความยาว
B

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

96 of 244
m = 4 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 1 :
B

m = 2 หนวยน้ําหนัก
B


คําตอบ 2 :

น่ า

m = 2.5 หนวยน้ําหนัก

B


คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
m = 3 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 4 :
B

ส ิท
ขอที่ : 111

ง ว น
อ ส
ก ข
ร A เมื่อระบบมีโมเมนตที่สมดุล จากการเติมมวล m ลงบนระนาบ B โดย m = 4 หนวยน้ําหนัก

ิ ว
จงหามวล m เพื่อถวงสมดุลแรงบนระนาบ

A B B

m = 1 หนวยน้ําหนัา
1
ส ภ ก, m = 3 หนวยน้ําหนัก
2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว
1 2

R = 2 หนวยความยาว และให θ =θ2 97 of 244

B 1
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

m = 8 หนวยน้ําหนัก

B


คําตอบ 1 :

อ ส
m = 2 หนวยน้ําหนัก
B

กร ข

คําตอบ 2 :

าว ศ

m = 2.5 หนวยน้ําหนัก

B


คําตอบ 3 :

m = 3 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 4 : B
98 of 244
ขอที่ : 112
ผลรวม Primary unbalanced force ในเครื่องยนต 3 สูบแบบแถวเรียงเปน
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 :

่ า
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 113

า้
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครื่องยนต 3 สูบแบบแถวเรียงเปน

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 :

ิท
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ : 114


ผลรวม Primary unbalanced force ในเครื่องยนต 4 สูบแบบแถวเรียงเปน

กร ข
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

าว ศ

คําตอบ 4 :

ส ภ
ขอที่ : 115
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครื่องยนต 4 สูบแบบแถวเรียงเปน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 99 of 244
ขอที่ : 116
เครื่องยนตลูกสูบเดี่ยว ดังรูป จงคะเนตําแหนง และน้ําหนักถวงที่ดีทีสุด ถาน้ําหนักทั้งหมดที่ปลายขอเหวี่ยง = WC น้ําหนักทั้งหมดของลูกสูบ = WP

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 90 Degree, WC+WP
คําตอบ 2 : 180 Degree, WC+WP/2
คําตอบ 3 : 30 Degree , (WC+WP)/2
คําตอบ 4 : 210 Degree, WC+WP/2

ขอที่ : 117
ในการทํา Balancing เพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนต 4 สูบ อุปกรณที่นิยมใช คืออะไร ติดตั้งไวที่ไหน 100 of 244
คําตอบ 1 : Manchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 2 และ3
คําตอบ 2 : Lonchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 1 และ3
คําตอบ 3 : Lanchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 2 และ3
คําตอบ 4 : Lanchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 3 และ 4

ขอที่ : 118

่ า ย
ในเครื่องยนต 4 สูบ นิยมใช Lanchaster Balancer ถวงดวยนําหนักเทาไหร และตรงไหน ถา W =น้ําหนักที่ลูกสูบทั้งหมด R = รัศมีเพลาขอเหวี่ยง Rc = รัศมีเฟองถวง L= ความ


ยาวกานขอเหวี่ยง a = ระยะระหวางลูกสูบ


คําตอบ 1 : = 1/2 (W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2


คําตอบ 2 : = (W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2

มจ
คําตอบ 3 : = 4(W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2

า้
คําตอบ 4 : = 2 (W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2

ขอที่ : 119
ิธ์ ห
ิท
เครื่องยนตเบนซินขนาด 2000 ซีซี 6 สูบแถวเรียง หมุนดวยความเร็วคงที่ 1000 รอบตอนาที ถา W = Total Piston weight R= radius of crankshaft L= Piston rod จงหาคา


Total Inertia force และ Couple ของเครื่องยนต


คําตอบ 1 : Fs = 0 M =0

ง ว
คําตอบ 2 : Fs = WR(6R/L) M= WRw^2(6aR/L)


คําตอบ 3 : Fs = WR(4R/L) M= WRw^2(4aR/L)


คําตอบ 4 : Fs = WR(R/L) M= WRw^2(aR/L)

ขอที่ :

กร ข

120

าว ศ

ส ภ
101 of 244

จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
F และ F
y

กร ข

คําตอบ 1 : 14 12

า Fว



x
F และ

คําตอบ 2 : 14 12

y
F และ F
คําตอบ 3 : 12
102 of 244
x
F และ F
คําตอบ 4 : 12


ขอที่ : 121
จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
F และ F

ิ ว x

าว
คําตอบ 1 : 14 12

คําตอบ 2 :
ส ภ F และ F
14

y
คําตอบ 3 :
F และ F 103 of 244

12
y x
F และ F
คําตอบ 4 : 12 12

่ า ย

ขอที่ : 122


จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
F และ F

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :
14

ส ภ F และ F
12
x
คําตอบ 2 :

y
คําตอบ 3 : F และ F 104 of 244

12
x
F และ F
คําตอบ 4 : 14 12

่ า ย

ขอที่ : 123


จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
า วF

y x
F และ

คําตอบ 1 : 12 12

y
F และ F
คําตอบ 2 : 12
105 of 244
x
F และ F
คําตอบ 3 : 14 12

y
F และ F

14 12

่ า
คําตอบ 4 :

ห น
จ ำ

ขอที่ : 124

ห า

เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวข อเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน
์ ิ
2
รูป
ิท ธ
น ส
เมื่อ θ =45 จงหาแรง f

ο


P

อ ส

2


ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ]


P P 2


ิ ว
า ว
ส ภ
106 of 244
f = 441.9 N
คําตอบ 1 :
P

f = 1250 N
P


คําตอบ 2 :

น่ า

f = 1325.8 N

P


คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
f = 1691.9 N
คําตอบ 4 :
P

ส ิท
ขอที่ : 125

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวขอเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน
2
รูป
ส ภ
เมื่อ θ =45ο จงหาแรงทุติยภูมิของ f
P

2
ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ] 107 of 244

P P 2
่ า ย
หน
จ ำ

f” = 0 N

า้
P

ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
f” = 1250 N


คําตอบ 2 :
P

ง ว น

f” = 441.9 N


P


คําตอบ 3 :


f” = 1691.9 N
กร


P

าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 126 ส ภ
เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวขอเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน
2
108 of 244

รูป
เมื่อ θ =0ο จงหาแรงปฐมภูมิของ f
P

2
ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ]
P P 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
f’ = 625 N
P
อ ส

คําตอบ 1 :

ว กร


f’ = 1250 N

าว
คําตอบ 2 :
P


คําตอบ 3 :
ภ f’ = 441.9 N
P

คําตอบ 4 :
f’ = 1691.9 N 109 of 244

P
ขอที่ : 127

เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวขอเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน


2
รูป
่ า ย
หน
เมื่อ θ =90ο จงหาแรงปฐมภูมิของ f
P
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
2
ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ]
P P 2

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว
คําตอบ 1 :ส f’ = 0 N
P

คําตอบ 2 :
f’ = 1250 N 110 of 244

P
f’ = 441.9 N
คําตอบ 3 :
P

f’ = 1691.9 N

P

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 128

า้
การสัมผัสระหวางผิวลูกสูบกับกระบอกสูบจัดเปนคูสัมผัสแบบ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คูสัมผัสเลื่อนไหล (Sliding pairs)
คําตอบ 2 : คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs)

ิท
คําตอบ 3 : คูสัมผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)


คําตอบ 4 : คูสัมผัสทรงกลม (Spherical pairs)

ขอที่ : 129

ง ว น

การสัมผัสระหวางผิวสลักเกลียวกับแปนเกลียวจัดเปนคูสัมผัสแบบ
คําตอบ 1 :

ขอ
คูสัมผัสเลื่อนไหล (Sliding pairs)

กร
คําตอบ 2 : คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs)


คําตอบ 3 : คูสัมผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)



คําตอบ 4 : คูสัมผัสทรงกลม (Spherical pairs)

ขอที่ : 130

ภ าว

การสัมผัสระหวางผิวของรองลื่นแบบ journal กับเพลาจัดเปนคูสัมผัสแบบ
คําตอบ 1 : คูสัมผัสเลื่อนไหล (Sliding pairs)
คําตอบ 2 : คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs)
คําตอบ 3 : คูสัมผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
คําตอบ 4 : คูสัมผัสทรงกลม (Spherical pairs)

111 of 244
ขอที่ : 131
คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs) ไดแกการสัมผัสระหวาง
คําตอบ 1 : ผิวลูกสูบกับกระบอกสูบ
คําตอบ 2 : ลอรถยนตกับพื้นถนน
คําตอบ 3 : ฟนเฟองคูหนึ่ง
คําตอบ 4 : สลักเกลียวกับแปนเกลียว

่ า ย
ขอที่ : 132


คูสัมผัสแบบ Lower pair คือ


คําตอบ 1 : คูสัมผัสที่ถูกยึดใหติดกันทางเชิงกลอยางเดียว

จ ำ
คําตอบ 2 : คูสัมผัสระหวางลูกบอลกับเบา


คําตอบ 3 : คูสัมผัสที่สัมผัสกันเปนพื้นที่

า้
คําตอบ 4 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนเสนหรือจุด

ขอที่ : 133
ิธ์ ห
ิท
คูสัมผัสทรงกลม ( Spherical Pairs) คือ


คําตอบ 1 : คูสัมผัสที่ถูกยึดดวยแรงภายนอก หรือ แรงโนมถวง

ว น
คําตอบ 2 : คูสัมผัสที่เคลื่อนที่โดยหมุนไปพรอมๆกับการเคลื่อนที่ไปตามแกนการหมุน


คําตอบ 3 : คูสัมผัสระหวางลูกบอลกับเบา


คําตอบ 4 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนพื้นที่

ขอ
กร
ขอที่ : 134


คูสัมผัสแบบคูขั้นสูง (Higher Pairs) คือ



คําตอบ 1 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนเสนหรือจุด

าว
คําตอบ 2 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนพื้นที


คําตอบ 3 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนแบบเชิงไมบังคับ


คําตอบ 4 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันอยูสวนบนของกลไก

ขอที่ : 135
Prismatic pairs คือ
คําตอบ 1 : คูสัมผัสของสามเหลี่ยมปริซึม
คําตอบ 2 : คูสัมผัสของลอกลิ้งโดยไมลื่นไถล
112 of 244
คําตอบ 3 : คูสัมผัสของกลไกที่ยอมใหขอตอหนึ่งเคลื่อนที่ไดโดยการหมุน
คําตอบ 4 : คูสัมผัสของกลไกที่ยอมใหขอตอหนึ่งเคลื่อนที่ไดโดยเลื่อนไถลไปมา

ขอที่ : 136
ขอใดเปนชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion
คําตอบ 1 : Translation Motion
คําตอบ 2 :


Spherical Motion

่ า
คําตอบ 3 : Helical Motion


คําตอบ 4 : Absolute Motion

ขอที่ : 137

จ ำ ห

ขอใดเปนชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Spherical Motion
คําตอบ 2 : Rotation Motion
คําตอบ 3 : Helical Motion

ิท
คําตอบ 4 : Absolute Motion

นส

ขอที่ : 138


ขอใดไมใชชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion
คําตอบ 1 : Translation Motion

อ ส

คําตอบ 2 : Rotation Motion

กร
คําตอบ 3 : Rectilinear Motion


คําตอบ 4 : Absolute Motion

ขอที่ : 139

าว ศ


ขอใดไมใชชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion


คําตอบ 1 : Rectilinear Motion
คําตอบ 2 : Curvilinear Motion
คําตอบ 3 : Helical Motion
คําตอบ 4 : Translation Motion

ขอที่ : 140 113 of 244


โซคิเนแมติก (Kinematic chain) ในขอใดเปนโซคิเนแมติกเชิงบังคับ (constrained kinematic chain)
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ส ภ
ขอที่ : 141
คําตอบขอใดไมถูกตอง
114 of 244

คูสัมผัสขั้นต่ํา (Lower Pair)


คําตอบ 1 :

่ า ย
คูสัมผัสแบบทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คูสัมผัสแบบทรงกลม (Spherical pairs)

ขอ
คําตอบ 3 :

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 4 :

115 of 244
คูสัมผัสแบบปด (Form-closed pairs)
่ า ย
หน

ขอที่ :


142


เมื่อแบงตามลักษณะของการเคลื่อนที่สัมพัทธ คูสัมผัสในรูปเปนคูสัมผัสชนิดใด

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คูสัมผัส 23 เปนแบบหมุน(Tuning pair)


คําตอบ 1 : คูสัมผัส 12 เปนแบบเลื่อน (Sliding pair)

าว ศ


คูสัมผัส 23 เปนแบบทรงกระบอก (Cylindrical pair)

คําตอบ 2 :
ส คูสัมผัส 12 เปนแบบเลื่อน (Sliding pair)

คูสัมผัส 23 เปนแบบคูขั้นสูง
คําตอบ 3 : 116 of 244

คูสัมผัส 12 เปนแบบคูขั้นต่ํา
คูสัมผัส 23 เปนคูสัมผัสที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 1

คําตอบ 4 : คูสัมผัส 12 เปนคูสัมผัสที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 1

่ า ย

ขอที่ : 143


เมื่อแบงตามลักษณะการเคลื่อนที่สัมพัทธ คูสัมผัสในรูปเปนคูสัมผัสชนิดใด

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คูสัมผัสแบบกลิ้งพรอมไถล

ส ิท

คําตอบ 2 : คูสัมผัสขั้นสูง


คําตอบ 3 : คูสัมผัสแบบเลื่อนไถล
คําตอบ 4 : คูสัมผัสแบบหมุน

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 144
โครงสรางสะพานพุทธจัดเปนโซคิเนแมติก (Kinematic chain)


คําตอบ 1 : แบบเปด
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว
เชิงบังคับ



แบบบังคับไมได


คําตอบ 4 : แบบล็อก

ขอที่ : 145 ส
โซคิเนแมติกแบบล็อก (Locked kinematic chain) ไดแก
คําตอบ 1 : โครงสรางสะพานพุทธ
คําตอบ 2 : เพลาขอเหวี่ยงเครื่องยนต
คําตอบ 3 : ชุดเฟองทด 117 of 244
คําตอบ 4 : สายพานลําเลียง
ขอที่ : 146
ชุดเฟองทดเปนโซคิเนแมติก (Kinematic chain)
คําตอบ 1 : แบบล็อก
คําตอบ 2 : เชิงบังคับ
คําตอบ 3 : แบบเปด


คําตอบ 4 : แบบบังคับไมได

น่ า

ขอที่ : 147


บานประตูแบบแกวง (Swinging door) จัดเปนโซคิเนแมติก (Kinematic chain)
คําตอบ 1 : แบบล็อก

มจ
า้
คําตอบ 2 : เชิงบังคับ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แบบเปด
คําตอบ 4 : แบบปด

ขอที่ : 148

ส ิท
ว น
กลไกที่กําหนดการเคลื่อนที่ของจุดๆหนึ่ง เรียกวา


คําตอบ 1 : Path Generation


คําตอบ 2 : Motion Generation


คําตอบ 3 :


Function Generation

กร
คําตอบ 4 : Change point Mechanism

ขอที่ : 149


ิ ว
าว
กลไกที่สนใจกําหนดการเคลื่อนที่ของกานสง เชน ฝากระโปรงรถยนต เรียกวา


คําตอบ 1 : Motion Generation


คําตอบ 2 : Path Generation
คําตอบ 3 : Function Generation
คําตอบ 4 : Change point Mechanism

ขอที่ : 150
โครงสรางแบบโซล็อคชนิด Statically determinate คือ
118 of 244
คําตอบ 1 : โครงสรางของลูกเบี้ยวและตัวตาม
คําตอบ 2 : Peaucellier Mechanism
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 151
คูสัมผัสของ Camshaft กับ Valve ในเครื่องยนตเปนคูสัมผัสแบบ
คําตอบ 1 : Lower Pairs & Form- Closed Pairs

่ า ย

คําตอบ 2 : Lower Pairs & Force-closed Pairs


คําตอบ 3 : Higher Pairs & Form-closed Pairs

จ ำ
คําตอบ 4 : Higher Pairs & Force-Closed Pairs

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
152
ขอใดไมใชประเภทของการสงผานการเคลื่อนที่
คําตอบ 1 : การสงผานการเคลื่อนที่แบบสัมผัสกันโดยตรง

ิท
คําตอบ 2 : การสงผานการเคลื่อนที่แบบสัมผัสกันโดยออม


คําตอบ 3 : การสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงที่ยืดหดได

ว น
คําตอบ 4 : การสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงตัวกลาง

ส ง

ขอที่ : 153


ขอใดคือการสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงที่ยืดหดได

กร
คําตอบ 1 : ลูกเบี้ยวและตัวตาม


คําตอบ 2 : กานสูบและลูกสูบ



คําตอบ 3 : สายพาน

าว
คําตอบ 4 : coupling

ขอที่ : 154

ส ภ
ขอใดคือการสงผานการเคลื่อนที่แบบสัมผัสกันโดยตรง
คําตอบ 1 : สายพาน
คําตอบ 2 : ลูกเบี้ยวและตัวตาม
คําตอบ 3 : กานสูบและลูกสูบ
คําตอบ 4 : coupling
119 of 244
ขอที่ : 155
ขอใดคือการสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงตัวกลาง
คําตอบ 1 : coupling
คําตอบ 2 : ลูกเบี้ยวและตัวตาม
คําตอบ 3 : กานสูบและลูกสูบ
คําตอบ 4 : สายพาน

่ า ย

ขอที่ : 156


ขอเหวี่ยง (Crank) หมายถึงขอใด

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ขอตอ O A ที่สามารถหมุนไดรอบจุดหมุนที่อยูกับที่ O

ง ว น

2 2
คําตอบ 1 :

ขอ
กร
1. ขอตอ O4B ที่แกวงไปมารอบจุดหมุน O4
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
ขอตอ AB ที่สามารถหมุนไดรอบจุด A และจุด B
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ภ ขอตอ O O ที่มี O และ O เปนจุดหมุนที่อยูกับที่ของกลไก 4-ขอตอ
2 4 2 4

ขอที่ : 157
กานสง (Coupler) หมายถึงขอตอในรูปใด 120 of 244
คําตอบ 1 : ขอตอ 3

่ า ย
คําตอบ 2 : ขอตอ 2


คําตอบ 3 : ขอตอ 4


คําตอบ 4 : ขอตอ 1

จ ำ

ขอที่ : 158

า้
ขอใดเปนการแบงชนิดของคูสัมผัสตามลักษณะของพื้นผิวที่สัมผัสกันของคูสัมผัส

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คูขั้นสูง และคูขั้นต่ํา
คําตอบ 2 : คูปดโดยเชิงกล และคูปดโดยแรง

ิท
คําตอบ 3 : คูสัมผัสแบบเลื่อนไถล และแบบหมุน


คําตอบ 4 : คูสัมผัสแบบกลิ้งโดยไมไถล และกลิ้งโดยมีการไถล

ขอที่ : 159

ง ว น
อ ส
ขอใดเปนการแบงคูสัมผัสตามลักษณะของการบังคับเชิงกล


คําตอบ 1 : คูปดโดยเชิงกล และคูปดโดยแรง

กร
คําตอบ 2 : คูขั้นสูง และคูขั้นต่ํา


คําตอบ 3 : สัมผัสแบบกลิ้งโดยไมไถล และแบบกลิ้งพรอมไถล



คําตอบ 4 : คูสัมผัสแบบเกลียว และคูสัมผัสทรงกระบอก

ขอที่ : 160

ภ าว

กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน
ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L < P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนแทนเครื่อง เราจะไดกลไกแบบ
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)
คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)
คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน
121 of 244
ขอที่ : 161
กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน
ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L < P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนขอตอดานขาง เราจะไดกลไกแบบ
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)
คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)


คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน

น่ า

ขอที่ : 162


กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน


ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L < P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนกานสง เราจะไดกลไกแบบ

า้ ม
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)
คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน

ส ิท

ขอที่ : 163


กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน


ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L = P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนกานสง เราจะไดกลไกแบบ
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)

อ ส

คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)

กร
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)


คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน

ขอที่ : 164

าว ศ

ส ภ
122 of 244

กลไก Double rocker ประกอบดวย ขนาดดังนี้ O2B = 3 cm BC = 1.5 cm CO4 = 3.2 cm O2O4 = 2.5 cm กาน O2B เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายของตัวขับ คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
145.5 degree and 62.87 degree


คําตอบ 2 : 34.5 degree and 117.13 degree



คําตอบ 3 : 214.5 degree and 117.13 degree

าว
คําตอบ 4 : 34.5 degree and 297.13 degree

ขอที่ : 165

ส ภ
123 of 244

กลไก Double rocker ประกอบดวย ขนาดดังนี้ O2B = 3 cm BC = 1.5 cm CO4 = 3.2 cm O2O4 = 2.5 cm กาน O4C เปนตัวตาม ตําแหนงจุดตายของตัวตาม คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร
89.06 degree and 34.6 degree


คําตอบ 2 : 269.06 degree and 34.6 degree



คําตอบ 3 : 89.06 degree and 24.6 degree

าว
คําตอบ 4 : 69.06 degree and 24.6 degree

ขอที่ : 166

ส ภ
124 of 244

จากรูป เสนสงผานการเคลื่อนที่คือชิ้นตอโยงใด
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4

ส ิท

ขอที่ :


167


ตําแหนงจุดตายของกลไก 4 ขอตอ คือ


คําตอบ 1 : ตําแหนงที่ขอตอกานสงอยูในระนาบ


คําตอบ 2 : ตําแหนงที่กานสงอยูในแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)

กร ข
คําตอบ 3 : ตําแหนงที่ดานขางอยูในแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)
คําตอบ 4 : ตําแหนงที่แนวแทนเครื่องอยูในแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)


ิ ว
าว
ขอที่ : 168

ส ภ
125 of 244

กลไกในภาพมีชื่อเรียกวา
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : Paralelligram


คําตอบ 2 :


Galloway

กร
คําตอบ 3 : Watt
คําตอบ 4 : Stephenson


ิ ว
าว
ขอที่ : 169

ส ภ
126 of 244

จากรูป ชิ้นตอโยงใดบางที่เปนเสนสงผานการเคลื่อนที่
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 2 และ 4

า้
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 ชิ้นเดียว

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3 และ 4
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 3 ชิ้นเดียว

ขอที่ : 170

ส ิท

จากรูป เสนสงผานการเคลื่อนที่คือชิ้นตอโยงใด

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3
127 of 244
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4
ขอที่ : 171
จากรูป เสนสงผานการเคลื่อนที่คือชิ้นตอโยงใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 2 และ 4


คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 ชิ้นเดียว
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ชิ้นตอโยง 3 และ 4
ชิ้นตอโยง 3 ชิ้นเดียว

ง ว น
อ ส

ขอที่ :

กร
172
การแบงชนิดของกลไก 4-ขอตอ แบงไดเปน 5 ชนิดในรูป s & l เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุดและยาวที่สุด p และ q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ เมื่อ s + l = p + q กลไก 4-
ขอตอนี้จะเปนชนิดใด


ิ ว
ภ าว

128 of 244
คําตอบ 1 : กลไกที่มีจุดเปลี่ยน (change point mechanism) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดอยูที่ใดก็ได
คําตอบ 2 : กลไกแขนแกวงคู (double-rocker) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดเปนกานสง (coupler)
คําตอบ 3 : กลไกขอเหวี่ยงแขนแกวง (crank-rocker) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดเปนดานขาง
คําตอบ 4 : กลไกขอเหวี่ยงคู (double-crank) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดเปนแทน

ขอที่ : 173
การแบงชนิดของกลไก 4-ขอตอ แบงไดเปน 5 ชนิดในรูป s & l เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุดและยาวที่สุด p และ q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ เมื่อ s + l < p + q กลไก 4-


ขอตอนี้จะเปนชนิดใด

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : กลไกขอเหวี่ยงคู (double-crank)


คําตอบ 2 : กลไกแขนแกวงคู (double-rocker)

ว น
คําตอบ 3 : กลไกขอเหวี่ยงแขนแกวง (crank-rocker)


คําตอบ 4 : กลไกที่มีจุดเปลี่ยน (change point mechanism)

อ ส

ขอที่ : 174

กร
Coupler curve หมายถึงเสนโคงใด


คําตอบ 1 : เปนสวนโคงที่ไดจากจุดบนกานสงลากไปบนระนาบที่อยูกับที่



คําตอบ 2 : เปนสวนโคงที่ไดจากจุดบนขอเหวี่ยงที่ลากไปบนระนาบที่อยูกับที่

าว
คําตอบ 3 : เปนสวนโคงที่ไดจากจุดบนขอบของวงลอที่ลากไปบนระนาบ เมื่อวงลอกลิ้งไปบนพื้นราบโดยไมมีการไถลที่อยูกับที่


คําตอบ 4 : เปนสวนโคงที่เกิดจากจุดบนขอตอใดขอตอหนึ่งในกลไกกราชอฟ ที่ลากไปบนระนาบที่อยูกับที่

ขอที่ : 175

จากโซคิเนแมติกเชิงบังคับ 4 ขอตอ จากการสับเปลี่ยน (inversion) จะไดกลไกทั้งหมดกี่ชนิด
คําตอบ 1 : 4 ชนิด
คําตอบ 2 : 2 ชนิด
คําตอบ 3 : 3 ชนิด
129 of 244
คําตอบ 4 : 1 ชนิด หรือเหมือนเดิม
ขอที่ : 176
กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O2ZA เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัด ( มุม O4O2A) เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ก.65.5
คําตอบ 2 : ข.83.3
คําตอบ 3 : ค.49.6

ิท
คําตอบ 4 : ง.114.5

นส

ขอที่ :


177


กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O2A เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัด (มุม O2O4B) เปน

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ ก.100.6O
คําตอบ 2 : ข.130.5O
คําตอบ 3 : ค.65.5O
คําตอบ 4 : ง.114.5O
130 of 244
ขอที่ : 178
กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O4B เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตาย (มุม O2O4B) เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : ก.100.6O

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ข.130.5O
คําตอบ 3 : ค.65.5O
คําตอบ 4 : ง.114.5O

ส ิท

ขอที่ : 179


กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O4B เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตาย (มุม O4O2A) เปน

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ ก.65.5O
ข.83.3O
คําตอบ 3 : ค.49.6O
คําตอบ 4 : ง.114.5O

131 of 244
ขอที่ : 180
กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 1.5 cm b = 3.0 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวขับ a

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 34.51 degree และ 89.06 degree
คําตอบ 2 : 34.6 degree และ 89.05 degree

ิท
คําตอบ 3 : 47 degree และ 104.037degree
คําตอบ 4 : 34.51 degree และ 104.037 degree

นส
ง ว

ขอที่ : 181


กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 1.5 cm b = 3.0 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวตาม b

กร ข

ิ ว
ภ าว

132 of 244
คําตอบ 1 : 62.9 Degree และ 145.5 Degree
คําตอบ 2 : 117.13 Degree และ 34.6 Degree
คําตอบ 3 : 34.6 Degreeและ 104.5 Degree
คําตอบ 4 : 104.6 Degreeและ 34.4 Degree

ขอที่ : 182
กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 2 cm b = 3.5 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวตาม b

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : 12.87 degree to 119.21 degree


คําตอบ 2 : 60 degree to 160 degree

กร ข
คําตอบ 3 : 79 degree to 13 degree
คําตอบ 4 : 60.79 degree to 167.13 degree


ิ ว
าว
ขอที่ : 183

ส ภ
133 of 244

กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 2 cm b = 3.5 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวขับ a


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 215.98 degree to 139.46 degree
คําตอบ 2 : 35.98 degree to 139.46 degree

ิท
คําตอบ 3 : 35.98 degree to 319.46 degree


คําตอบ 4 : 215.98 degree to 319.46 degree

ขอที่ : 184

ง ว น

จากรูปใหชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับและชิ้นตอโยง 4 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4 134 of 244
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 185
จากรูปใหชิ้นตอโยง 4 เปนตัวขับและชิ้นตอโยง 2 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 1
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3

มจ
า้
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 4

ิท
ขอที่ : 186


จากรูปใหชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับและชิ้นตอโยง 4 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

135 of 244
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 187
จากรูปใหชิ้นตอโยง 4 เปนตัวขับแลวชิ้นตอโยง 2 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4

ง ว น

คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2


คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3

กร ข
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 188


ิ ว
ภ าว

136 of 244

ตําแหนง ของกลไก 4-ขอตอในรูป คือตําแหนงใด เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ


่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ตําแหนงขีดจํากัด

จ ำ

คําตอบ 2 : ตําแหนงจุดเปลี่ยน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ตําแหนงจุดตาย
คําตอบ 4 : ตําแหนงที่ใหมุมสงทอดที่เล็กที่สุด

ิท
ขอที่ :


189


ตําแหนง ของกลไก 4-ขอตอในรูป คือตําแหนงใด เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ตําแหนงจุดตาย
คําตอบ 2 : ตําแหนงจุดเปลี่ยน
คําตอบ 3 : ตําแหนงขีดจํากัด
คําตอบ 4 : ตําแหนงที่ใหมุมสงทอดที่เล็กที่สุด 137 of 244
ขอที่ : 190
กลไกเลื่อนขอเหวี่ยงในรูป ตําแหนงขีดจํากัดหมายถึงตําแหนงใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

ิท
คําตอบ 2 : เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน


เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดหมายถึงตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB

ว น
คําตอบ 3 :

ส ง

คําตอบ 4 : เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดหมายถึงตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB

กร ข

ขอที่ : 191

าว ศ

ส ภ
กลไกเลื่อนขอเหวี่ยงในรูป ตําแหนงจุดตายของกลไกหมายถึงตําแหนงใด
138 of 244
่ า ย
หน

คําตอบ 1 : เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

มจ
คําตอบ 2 : เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

า้
เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB

ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ิท
เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB


คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
ขอที่ : 192


กลไกที่ใชในการเชื่อมตอเพลา 2 เสนที่ขนานและเยื้องกันเล็กนอยคือ

กร
คําตอบ 1 : Watt’s six-bar


คําตอบ 2 : Scotch yoke



คําตอบ 3 : Peaucellier mechanism

าว
คําตอบ 4 : Oldham coupling

ขอที่ : 193

ส ภ
กลไกใดที่ไมใช Toggle effect
คําตอบ 1 : Peaucellier mechanism
คําตอบ 2 : Stone crusher
คําตอบ 3 : Vise-grip pliers
คําตอบ 4 : Punch press
139 of 244
ขอที่ : 194
กลไกใดที่ดัดแปลงเปนเครื่องเขียนรูปวงรีได
คําตอบ 1 : Watt’s six-bar
คําตอบ 2 : Scotch yoke
คําตอบ 3 : Peaucellier mechanism
คําตอบ 4 : Whitworth mechanism

่ า ย

ขอที่ : 195


กลไกใดไมใชกลไกไปชากลับเร็ว

จ ำ
คําตอบ 1 : Whitworth mechanism


คําตอบ 2 : Crank-shaper mechanism

า้
คําตอบ 3 : Peaucellier mechanism

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Off-set slider crank mechanism

ิท
ขอที่ : 196


ในการออกแบบขอเหวี่ยงคู ( Double Crank) มีขอตอ A,B,C และD มีความยาว เทากับ 5,7,10 และ 12 cm.จะตองใชสวนใดเปนฐานของกลไกชนิดนี้

ว น
คําตอบ 1 : A


คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 : C


คําตอบ 4 :


D

ว กร
ขอที่ : 197



ในการออกแบบขอเหวี่ยง แขนแกวง ( Crank-rocker) มีขอตอ A,B,C และD มีความยาว เทากับ 5,10,10 และ 12 cm. ขอตอ A จะตองอยูที่ใด

าว
คําตอบ 1 : แทนเครื่อง


คําตอบ 2 : กานสง


คําตอบ 3 : ดานขาง
คําตอบ 4 : ทีไหนก็ได

ขอที่ : 198

140 of 244

กลไกดังภาพ ใชประโยชนในการ
่ า ย

คําตอบ 1 : เขียนเสนตรง

ำ ห
คําตอบ 2 : เขียนวงรี


คําตอบ 3 : ลอกรูปแบบ


คําตอบ 4 : ลากเสนเกือบตรง

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 199
กลไกดังรูปใชในอุปกรณอะไร

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

141 of 244
คําตอบ 1 : เครื่องตอกหมุด
คําตอบ 2 : เครื่องบดหิน
คําตอบ 3 : เครื่องรดน้ํา
คําตอบ 4 : เครื่องฉายภาพยนตร

ขอที่ : 200

่ า ย
จากรูป ชิ้นตอโยง 3 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Connecting Rod

ง ว น

คําตอบ 2 : Crank


คําตอบ 3 : Cam

กร ข
คําตอบ 4 : Piston

ขอที่ : 201


ิ ว
าว
จากรูป ชิ้นตอโยง 3 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

ส ภ
142 of 244
คําตอบ 1 : Coupling
คําตอบ 2 : Gear
คําตอบ 3 : Slider
คําตอบ 4 : Cam

ขอที่ : 202

่ า ย
จากรูป ชิ้นตอโยง 2 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Connecting Rod

ง ว น

คําตอบ 2 : Crank


คําตอบ 3 : Cam


คําตอบ 4 :

กร
Piston


ขอที่ :



203

าว
จากรูป ชิ้นตอโยง 1 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

ส ภ
143 of 244
คําตอบ 1 : Piston
คําตอบ 2 : Connecting Rod
คําตอบ 3 : Crank
คําตอบ 4 : Coupling

ขอที่ : 204
ตําแหนงของกลไก 4-ขอตอที่เห็น เปนตําแหนงอะไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : ตําแหนงที่ใหมุมสงทอดที่เล็กที่สุด

ง ว น

คําตอบ 2 : ตําแหนงจุดตายของกลไก


คําตอบ 3 : ตําแหนงจุดเปลี่ยนของกลไก

กร ข
คําตอบ 4 : ตําแหนงขีดจํากัดของกลไก


ิ ว
ขอที่ : 205

าว
มุมสงทอดในกลไก 4-ขอตอ หมายถึง
คําตอบ 1 :


มุมที่กานสงกับขอตอตัวถูกขับหรือตัวตามกระทํากัน และตองเปนมุมที่เล็กกวา


คําตอบ 2 : มุมที่กานสงกับขอตอตัวถูกขับหรือตัวตามกระทํากัน และตองเปนมุมที่ใหญกวา
คําตอบ 3 : มุมที่กานสงกับขอตอที่เปนตัวขับกระทํากัน และตองเปนมุมที่เล็กกวา
คําตอบ 4 : มุมที่กานสงกับขอตอที่เปนตัวขับกระทํากัน และตองเปนมุมที่ใหญกวา

ขอที่ : 206

ในรูปเปนกลไก 4-ขอตอ ที่มีการสงทอดการเคลื่อนที่เหมือนกันทุกประการกลไกทางขวามือสามารถเปลี่ยนมาเปนกลไกซายมือไดดวยวิธีการใด


144 of 244

คําตอบ 1 : การเปลี่ยนรูปทรง

่ า
คําตอบ 2 : การขยายคูสัมผัส


คําตอบ 3 : เปลี่ยนขอตอที่เปนแทน
คําตอบ 4 : เปลี่ยนชนิดของคูสัมผัส 34

จ ำ ห
ขอที่ : 207

า้ ม
ิธ์ ห
กลไกกราชอฟ หมายถึง
คําตอบ 1 : กลไก 4-ขอตอที่ความยาวของดานที่สั้นที่สุดรวมกับความยาวของดานที่ยาวที่สุด เทากับหรือนอยกวาดานที่เหลือรวมกัน
คําตอบ 2 : กลไก 4-ขอตอที่ความยาวของดานที่สั้นที่สุดรวมกับความยาวของดานที่ยาวที่สุด นอยกวาดานที่เหลือรวมกันเทานั้น
คําตอบ 3 :

ส ิท
กลไก 4-ขอตอที่มีดานที่ยาวที่สุดเปนแทน และดานที่สั้นที่สุดเปนขอเหวี่ยง


คําตอบ 4 : กลไก 4-ขอตอที่มีตําแหนงจุดเปลี่ยน

ง ว

ขอที่ : 208


กลไกที่เปนโซคิเนแมติกเชิงบังคับตองมี Degree of freedom เปน

กร ข
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 :



2

าว
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 209

ส ภ
กลไกแบบ 5-ขอตอโดยทั่วไปมี Degree of freedom เปน
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3
145 of 244

ขอที่ : 210
โครงสรางสะพานเปนโซคิเนแมติกที่มี Degree of freedom เปน
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

่ า ย
ขอที่ : 211


กลไกแบบ 4-ขอตอโดยทั่วไปมี Degree of freedom เปน


คําตอบ 1 : 0

จ ำ
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2

า้
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 212
ิธ์ ห
ิท
จงหาคา Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

นส
ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 2


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 : 4


คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 213

146 of 244

จงหาคา Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ


่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2

า้
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 214
ิธ์ ห
ิท
จงหาคา Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3
147 of 244
ขอที่ : 215
Degree of freedom มีชื่อเรียกอีกชื่อวาอะไร
คําตอบ 1 : No.of joints
คําตอบ 2 : Mobility
คําตอบ 3 : No.of links
คําตอบ 4 : Mobilisation

่ า ย

ขอที่ : 216


ลูกเบี้ยวที่มีการเคลื่อนที่แบบกลิ้งและไถลพรอมกัน จะมีคา Degree of Freedom เทาไร

จ ำ
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1

า้
คําตอบ 3 : 2

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 3

ิท
ขอที่ : 217


ลูกเบี้ยวที่มีการเคลื่อนที่แบบกลิ้งโดยไมไถล จะมีคา Degree of Freedom เทาไร

ว น
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 :


3

ว กร
ขอที่ : 218



หมุดที่มีการเคลื่อนที่แบบ pure rotation จะมีคา Degree of Freedom เทาไร

าว
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 219
ลูกสูบที่มีการเคลื่อนที่แบบ pure sliding จะมีคา Degree of Freedom เทาไร
คําตอบ 1 : 0
148 of 244
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 220
รอยตอหรือคูสัมผัสใดที่มีระดับขั้นความเสรี f = 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : รอยตอ 23

ิท
คําตอบ 2 : รอยตอ 13


คําตอบ 3 : รอยตอ 12


คําตอบ 4 : รอยตอ 13 และ 23

ง ว

ขอที่ :


221


ให J เปนจํานวนรอยตอที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 1 และ J เปนจํานวนรอยตอที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 2 กลไกในรูปจะมี J และ J เทาใด
1 2 1 2

ว กร
าว ศ

ส ภ
J1 = 3 , J2 = 1
คําตอบ 1 :

149 of 244
คําตอบ 2 :
J1 = 2 , J2 = 2
J1 = 1 , J2 = 3
คําตอบ 3 :

J1 = 4 , J2 = 0
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 222

หน
กลไกที่เห็นมีระดับขั้นความเสรีเทาใด

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 :


1


คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 0


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ :

กร ข

223



ขอตอที่เคลื่อนที่อิสระในระนาบจะมีระดับขั้นความเสรี F เทาใด

าว
คําตอบ 1 : F=3


คําตอบ 2 : F=2


คําตอบ 3 : F=4
คําตอบ 4 : F=0

ขอที่ : 224

150 of 244

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน


คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1

่ า
คําตอบ 3 :


2
คําตอบ 4 :


3

ขอที่ :

จ ำ

225

า้
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน

ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0

ง ว น

1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 226

ว กร


กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน

ภ าว

คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3 151 of 244
ขอที่ : 227
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน

คําตอบ 1 :

่ า ย

0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 : 3

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 228

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

152 of 244

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 3

กร ข

คําตอบ 2 : 0



คําตอบ 3 : 1

าว
คําตอบ 4 : 2

ขอที่ : 229

ส ภ
153 of 244

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เทากับเทาไหร ถาขอตอ 4 เชื่อมติดกับลูกกลิ้ง 3


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
1
2

ง ว น

คําตอบ 3 :


3


คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 230

ว กร
าว ศ

ส ภ
154 of 244

คีมลอคตามรูป มีคา Degree of freedom เทากับเทาไร (ถาไมนับถึงนอตปรับตั้ง)


่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 1

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 :

ิท
4

ขอที่ :

นส

231


คีมล็อคดังแสดงในรูป มี Degree of freedom เปนเทาไหร ใหรวมถึงนอตปรับตั้งปากกาดวย

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
155 of 244
คําตอบ 4 : 4
ขอที่ : 232
กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : 0

กร
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2



คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 233

ภ าว

กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

156 of 244
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 234
กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 :

กร
2
คําตอบ 4 : 3


ิ ว
าว
ขอที่ : 235
กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

ส ภ
คําตอบ 1 : 0 157 of 244
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 236
โซคิเนแมติก (Kinematic chains) ที่มีระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom) เทากับ 1 จะเปนโซคิเนแมติกชนิดใด
คําตอบ 1 : โซคิเนแมติกเชิงบังคับ
คําตอบ 2 : โซคิเนแมติกแบบบังคับไมได

่ า ย

คําตอบ 3 : โซลอค


คําตอบ 4 : โซคิเนแมติกแบบขับเคลื่อน 2 ทาง

จ ำ

ขอที่ :

า้
237
จงหาระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom ของกลไกในรูป

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :

อ ส

2

กร
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 :


3



คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 238

ภ าว

158 of 244

จงหาระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom ) ของกลไกในรูป


่ า ย

คําตอบ 1 : 1

ำ ห
คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 :

า้
0

ิธ์ ห
ขอที่ : 239
จงคํานวณระดับขั้นความเสรีของโซคิเนเมติกในรูป

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 1



คําตอบ 2 : 2

าว
คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 240

กลไก 8-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 7 ตัว ขอตอตัวที่แปดตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 4
คําตอบ 3 : 5
159 of 244
คําตอบ 4 : 6
ขอที่ : 241
กลไก 8-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 4 ตัว ขอตอที่เหลือตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 4
คําตอบ 3 : 5


คําตอบ 4 : 6

น่ า

ขอที่ : 242


กลไก 8-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 6 ตัว ขอตอที่เหลือตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3

มจ
า้
คําตอบ 2 : 4

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 5
คําตอบ 4 : 6

ขอที่ : 243

ส ิท
ว น
กลไก 6-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 5 ตัว ขอตอที่เหลือตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ


คําตอบ 1 : 3


คําตอบ 2 : 4


คําตอบ 3 :


5

กร
คําตอบ 4 : 6

ขอที่ : 244


ิ ว
าว
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ
ถา S+L < P+Q และ S เปนแทนเครื่อง กลไกนี้คือ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ Drag link mechanism
Crank Rocker
Double Rocker
คําตอบ 4 : Change point mechanism

ขอที่ : 245
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ 160 of 244
ถา S+L < P+Q และ S เปนดานขาง กลไกนี้คือ
คําตอบ 1 : Drag link Mechanism
คําตอบ 2 : Double rocker
คําตอบ 3 : Change point mechanism
คําตอบ 4 : Crank rocker

ขอที่ : 246

่ า ย
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ


ถา S+L < P+Q และ S เปนกานสง กลไกนี้คือ


คําตอบ 1 : Drag link Mechanism


คําตอบ 2 :


Crank Rocker


คําตอบ 3 : Double Rocker

า้
คําตอบ 4 : Change point mechanism

ขอที่ : 247
ิธ์ ห
ิท
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ


ถา S+L = P+Q และ S เปนแทนเครื่อง กลไกนี้คือ


คําตอบ 1 : Change point Mechanism

ง ว
คําตอบ 2 : Double rocker


คําตอบ 3 : Crank rocker


คําตอบ 4 : Double rocker of the second kind of triple rocker

ขอที่ :

กร ข

248

าว ศ

ส ภ
161 of 244

กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Points ไดเมื่อไร


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน

ง ว
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 3 อยูในแนวเดียวกัน


คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน


คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน

กร ข

ขอที่ : 249



กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Points ไดเมื่อไร

ภ าว

คําตอบ 1 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน 162 of 244
คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน
คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน

ขอที่ : 250
กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Points ไดเมื่อไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 3 อยูในแนวเดียวกัน

นส

คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน

ส ง

ขอที่ : 251


กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Point ไดเมื่อไร

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน
คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน
163 of 244

ขอที่ : 252
จงระบุระดับขั้นความเสรี ( Degree of Freedom ) ของกลไกในรูป

่ า ย
คําตอบ 1 : 1

หน
จ ำ
คําตอบ 2 : 0


คําตอบ 3 : 2

า้
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 253
ิธ์ ห
ิท
กลไก 6-ขอตอ ที่มีรอยตอทุกรอยเปนแบบหมุน และมีระดับขั้นความเสรีเทากับ 1จะมีขอตอที่มีรอยตอสูงสุดไดกี่รอย


คําตอบ 1 : 3 รอย

ว น
คําตอบ 2 : 2 รอย


คําตอบ 3 : 4 รอย


คําตอบ 4 : 5 รอย

ขอ
กร
ขอที่ : 254


กลไก 8-ขอตอ ที่มีรอยตอทุกรอยเปนแบบหมุน และมีระดับขั้นความเสรีเทากับ 1จะมีขอตอที่มีรอยตอสูงสุดไดกี่รอย



คําตอบ 1 : 4 รอย

าว
คําตอบ 2 : 3 รอย


คําตอบ 3 : 5 รอย


คําตอบ 4 : 6 รอย

ขอที่ : 255
โซคิเนแมติกเชิงบังคับที่มีรอยตอทุกรอยเปนแบบหมุน จะมีจํานวนขอตอที่มี 2 รอยตอ (binary link) อยางนอยที่สุดกี่ขอตอ
คําตอบ 1 : 4 ขอตอ
คําตอบ 2 : 5 ขอตอ
164 of 244
คําตอบ 3 : 6 ขอตอ
คําตอบ 4 : 2 ขอตอ

ขอที่ : 256
กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีจุดหมุนบนแทนเครื่องหางกัน 65 มม. ขอตอตัวขับยาว 20 มม. และขอตอตัวตามยาว 52 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวง
เปนมุม 45O ดังนั้นกานสงของกลไกนี้ตองยาวกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 44

่ า ย
คําตอบ 2 : 62


คําตอบ 3 : 81


คําตอบ 4 : 95

จ ำ

ขอที่ : 257

า้
กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีจุดหมุนบนแทนเครื่องหางกัน 65 มม. ขอตอตัวขับยาว 20 มม. และขอตอกานสงยาว 44 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวง

ิธ์ ห
เปนมุม 45O ดังนั้นขอตอตัวตามของกลไกนี้ตองยาวกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 35

ิท
คําตอบ 2 : 52


คําตอบ 3 : 71


คําตอบ 4 : 85

ง ว

ขอที่ : 258


กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีจุดหมุนบนแทนเครื่องหางกัน 65 มม. ขอตอตัวตามยาว 52 มม. และขอตอกานสงยาว 44 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวง

กร ข
เปนมุม 45O ดังนั้นขอตอตัวขับของกลไกนี้ตองยาวกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 20


คําตอบ 2 :



35

าว
คําตอบ 3 : 40
คําตอบ 4 : 55

ขอที่ : 259
ส ภ
กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีขอตอตัวขับยาว 20 มม. ขอตอตัวตามยาว 52 มม. และขอตอกานสงยาว 44 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวงเปนมุม 45O
ดังนั้นจุดหมุนบนแทนเครื่องของกลไกนี้ตองหางกันกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 40
คําตอบ 2 : 45
คําตอบ 3 : 51
165 of 244
คําตอบ 4 : 65
ขอที่ : 260
ในการออกแบบกลไกประเภท Quick-Return คาอัตราสวนเวลาของกลไกประเภทนี้ควรจะมีคาเปนอยางไร
คําตอบ 1 : นอยกวา 0
คําตอบ 2 : อยูในชวงระหวาง 0 กับ 1
คําตอบ 3 : เทากับ 1


คําตอบ 4 : มากกวา 1

น่ า

ขอที่ : 261


คาอัตราสวนเวลาของกลไกประเภท Quick-Return ในขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : 0

มจ
า้
คําตอบ 2 : 0.5

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 1
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 262

ส ิท
ว น
กลไกประเภท Quick-Return คืออะไร


คําตอบ 1 : ชวงเวลาการทํางานนานกวาชวงเวลาการเคลื่อนที่กลับ


คําตอบ 2 : ชวงเวลาการทํางานนอยกวาชวงเวลาการเคลื่อนที่กลับ


คําตอบ 3 : ชวงเวลาการทํางานเทากับชวงเวลาการเคลื่อนที่กลับ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

กร ข
ขอที่ : 263


ิ ว
าว
กลไกขอใดไมใชกลไกประเภท Quick-Return


คําตอบ 1 : Drag Link


คําตอบ 2 : Whitworth
คําตอบ 3 : Scotch Yoke
คําตอบ 4 : Crank Shaper

ขอที่ : 264

166 of 244

กลไก Crank & Rocker ดังภาพ จะมีคา Time ratio =?


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 0.3

ง ว น

คําตอบ 2 : 1.0


คําตอบ 3 : 1.3

กร ข
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 265


ิ ว
ภ าว

167 of 244

โจทยแสดงเปนรูปภาพ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.05
คําตอบ 2 : 1.30
คําตอบ 3 : 1.35
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 266
168 of 244

โจทยแสดงเปนรูปภาพ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.554
คําตอบ 2 : 1.354
คําตอบ 3 : 1.278
คําตอบ 4 : 1.05

ขอที่ : 267
169 of 244

กลไกดังภาพ ถา a =20.0? และมีคา φ =45? กลไกนี้จะมีคา Time ratio = ?


่ า ย

คําตอบ 1 : 1.25


คําตอบ 2 :


1.15


คําตอบ 3 : 1.05


คําตอบ 4 : 1.03

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 268
โซคิเนแมติกเชิงบังคับ 6-ขอตอ สามารถมีขอตอที่มีรอยตอสูงสุดไดกี่รอยตอ

ิท
คําตอบ 1 : 3 รอยตอ


คําตอบ 2 : 2 รอยตอ

ว น
คําตอบ 3 : 4 รอยตอ


คําตอบ 4 : 5 รอยตอ

อ ส

ขอที่ :

กร
269
ในการออกแบบกลไก 4-ขอตอแบบ Grashof crank-rocker ถากําหนดตําแหนงของแขนแกวงมาให 2 ตําแหนง ดังแสดงในรูป การกําหนดขนาดของขอตอที่เหลือจะเริ่มตนที่ใดกอน


ิ ว
ภ าว

เลือกตําแหนงของจุดหมุน O บนเสนที่ลากตอระหวาง จุด B และ B ที่ตอยาวออกไปในทิศใดก็ได ซึ่งจะเปนการกําหนดความยาวของขอตอ 1 ไปในตัว
2 1 2
คําตอบ 1 : 170 of 244
คําตอบ 2 : เลือกความยาวของขอตอ 2 กอน
เลือกความยาวของกานสง 3 กอน
คําตอบ 3 :

กําหนดความยาวของขอตอ 1 เปนที่แนนอนกอน
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 270

หน

ในการออกแบบกลไก 4-ขอตอ ที่กําหนดตําแหนงของกานสง CD มา 2 ตําแหนง ดังในรูปขั้นตอนแรกของการออกแบบคือการกําหนดจุดหมุน O และ O ดังนี้


2 4

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
1C2และD1D2 เลือกจุดหมุน
บนเสนแบงครึ่งตั้งฉากกับ C

ง ว น O2 และ O4 ตามลําดับ


คําตอบ 1 :

ขอ
กร
บนเสนแบงครึ่งตั้งฉากกับ C D และ C D เลือกจุดหมุน O และ O ตามลําดับ
1 1 2 2 2 4


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

าว ศ

จุด O และ O ไมสามารถกําหนดไดเนื่องจากโจทยใหตําแหนงของขอตอ CD มาเพียง 2ตําแหนง
2 4


คําตอบ 4 :
ภ บนเสนแบงครึ่งตั้งฉากกับ C D และ C D เลือกจุดหมุน O และ O ตามลําดับ
1 2 2 1 2 4

ขอที่ : 271
171 of 244

ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการออกแบบกลไก 4-ขอตอ แบบ Crank-rocker เมื่อกําหนดตําแหนงของแขนแกวง (Rocker) มา 2 ตําแหนงดังรูป


เมื่อกลไกที่ไดไมเปนกลไกกราชอฟ ใหเลือกตําแหนงจุดหมุน O และ O ใหม

่ า ย

2 4
คําตอบ 1 :

เมื่อกลไกที่ไดปนกลไกกราชอฟ ใหเลือกตําแหนงจุดหมุน O และ O ใหม


2 4

จ ำ ห

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
เมื่อกลไกที่ไดไมเปนกลไกกราชอฟ ใหตรวจสอบมุมสงทอดใหไดมุมสงทอดที่เล็กที่สุด
คําตอบ 3 :

ิท
เมื่อกลไกที่ไดเปนกลไกกราชอฟ ใหเลือกตําแหนงจุดหมุน O และ O ใหมพรอมตรวจสอบมุมสงทอดใหไดมุมสงทอดที่เล็กที่สุด


2 4


คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 272

อ ส

กลไกที่ใชในการถายทอดการหมุนระหวางเพลา 2 เสนที่ไมขนานกันคือ

กร
คําตอบ 1 : Universal joint


คําตอบ 2 : Plate clutch

าว ศ

คําตอบ 3 : Oldham coupling
คําตอบ 4 : Jaw clutch

ขอที่ : 273
ส ภ
กลไกที่ใชในสงถายการเคลื่อนที่จากเพลากลางของรถยนตไปเขาชุดเฟองทายคือ
คําตอบ 1 : Plate clutch
คําตอบ 2 : Universal joint
คําตอบ 3 : Oldham coupling
คําตอบ 4 : Jaw clutch
172 of 244
ขอที่ : 274
กลไกที่ใชในการถายทอดการหมุนระหวางเพลา 2 เสนที่ไมขนานกันคือ
คําตอบ 1 : Oldham coupling
คําตอบ 2 : Clutch
คําตอบ 3 : Hooke’s joint
คําตอบ 4 : Jaw clutch

่ า ย

ขอที่ : 275


กลไกที่ใชในสงถายการเคลื่อนที่จากเพลากลางของรถยนตไปเขาชุดเฟองทายคือ

จ ำ
คําตอบ 1 : Oldham coupling


คําตอบ 2 : Plate clutch

า้
คําตอบ 3 : Jaw clutch

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Hooke’s joint

ิท
ขอที่ : 276


ขอใดเปนกลไกที่สรางมาเพื่อใชในการลอกแบบ ทั้งขยายหรือ ยอขนาด

ว น
คําตอบ 1 : Peaucellier


คําตอบ 2 : Watt


คําตอบ 3 : Pantograph


คําตอบ 4 :


Scotch-Russel

ว กร
ขอที่ : 277



กลไกของเครื่องฉายภาพยนตแบบใชฟลมอาศัยการทํางานของขอตอที่สามารถสรางสวนโคงชนิด

าว
คําตอบ 1 : Banana


คําตอบ 2 : Cycloid


คําตอบ 3 : Crunode
คําตอบ 4 : Half Moon

ขอที่ : 278
ในกลไกอุปกรณบังคับเลี้ยวของรถยนต แบบ Ackermann มุมองศาที่เทาไหรจะทําใหลอกลิ้งเกือบจะไมมีการไถล
คําตอบ 1 : 10
173 of 244
คําตอบ 2 : 15
คําตอบ 3 : 25
คําตอบ 4 : 30

ขอที่ : 279
กลไกที่ใชเขียนรูปวงรี คือ
คําตอบ 1 :


Scotch yoke

่ า
คําตอบ 2 : Oldham


คําตอบ 3 : Peaucellier


คําตอบ 4 : Hart

จ ำ

ขอที่ :

า้
280
กลไกที่ใชเขียนเสนตรง เรียกวา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Peaucellier
คําตอบ 2 : Scotch yoke

ิท
คําตอบ 3 : Oldham


คําตอบ 4 : Pantograph

ง ว น

ขอที่ : 281


กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

กร ข

ิ ว
ภ าว

174 of 244
คําตอบ 1 : Slider Crank
คําตอบ 2 : Crank Shaper
คําตอบ 3 : Scotch Yoke
คําตอบ 4 : Straight Line

ขอที่ : 282

่ า ย
กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Scotch Yoke
คําตอบ 2 : Chamber Wheel
คําตอบ 3 : Quick-Return

ิท
คําตอบ 4 : Pantograph

นส

ขอที่ :


283


กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : Chamber Wheel


คําตอบ 2 : Scotch Yoke
คําตอบ 3 : Crank Shaper
คําตอบ 4 : Quick-Return

ขอที่ : 284
กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร 175 of 244

คําตอบ 1 : Pantograph

่ า
คําตอบ 2 : Straight Line


คําตอบ 3 : Crank Shaper


คําตอบ 4 :


Scotch Yoke

มจ
า้
ขอที่ : 285

ิธ์ ห
คําตอบขอใดไมถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
คีมล็อคในรูปเปนโซคิเนแมติก 4-ขอตอ


คําตอบ 2 : แรงบีบหรือจับ Q ที่มีขนาดสูงมาก เปนผลจากหลักการที่เรียกวา toggle effect



คําตอบ 3 : แรงบีบหรือจับ Q ที่มีขนาดสูงมาก เกิดจากแขนของโมเมนต BC ที่ยาวกวาระยะ AB

าว
คําตอบ 4 : การเลื่อนของรอยตอ A ไมสงผลตอ toggle effect

ขอที่ : 286

ส ภ
Coupler Curve หมายถึง เสนโคงใด
คําตอบ 1 : เปนเสนโคงที่ไดจากจุดที่อยูบนกานสงของกลไก 4-ขอตอ ลากหรือเขียนไปบนระนาบที่อยูกับที่
คําตอบ 2 : เปนเสนโคงที่ไดจากจุดที่อยูบนเสนรอบวงของวงกลมที่กลิ้งไปบนพื้นราบโดยไมมีการไถล ลากไปบนระนาบที่อยูกับที่
คําตอบ 3 : เปนเสนโคงที่ไดจากจุดที่อยูบนขอเหวี่ยงของกลไก 4-ขอตอ ลากหรือเขียนไปบนระนาบที่อยูกับที่
คําตอบ 4 : หมายถึงรูปวงรีที่ไดจากเครื่องเขียนวงรี เขียนไปบนระนาบที่อยูกับที่
176 of 244
ขอที่ : 287
กลไกไปชากลับเร็ว (quick return mechanism) เปนกลไกที่ถูกนํามาใชงานแบบใด
คําตอบ 1 : กลไกจะถูกขับดวยความเร็วของขอเหวี่ยงคงที่ ในชวงทํางาน ขอตอที่ทํางานจะเคลื่อนที่ชา แตชวงเคลื่อนที่กลับจะเร็ว
คําตอบ 2 : กลไกจะถูกขับดวยความเร็วไมคงที่ ขณะทํางานจะขับชา เนื่องจากขณะทํางานมีภาระสูง ขณะเคลื่อนที่กลับจะเปนชวงเวลาที่สั้น
คําตอบ 3 : กลไกจะเคลื่อนที่ขณะทํางานเร็ว เพื่อใหไดงาน เวลาเคลื่อนที่กลับ ไมตองการงานจะเคลื่อนที่ชา
คําตอบ 4 : กลไกจะถูกขับดวยความเร็วของขอเหวี่ยงที่คงที่ แตชวงทํางานจะเคลื่อนที่เร็ว เพื่อใชกําลังสูงสุด ชวงดึงกลับจะดึงกลับชาเพื่อใชกําลังต่ําสุด

่ า ย

ขอที่ : 288


ขอใดที่ไมถูกตอง สําหรับกลไกสี่เหลี่ยมดานขนาน

จ ำ
คําตอบ 1 : เปนกลไกที่ไมสามารถนํามาใชประโยชนได เนื่องจากมีจุดเปลี่ยน


คําตอบ 2 : เปนกลไก 4-ขอตอที่มีตําแหนงจุดเปลี่ยน

า้
คําตอบ 3 : เปนกลไก 4-ขอตอที่มีขอเหวี่ยงกับตัวตามมีความยาวเทากัน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เปนกลไกที่นํามาประยุกตใชสงทอดการเคลื่อนที่กับลอขับของรถไฟ โดยแตละลอจะหมุนดวยความเร็วที่เทากัน

ิท
ขอที่ : 289


กลไกในรูปเรียกวา

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
Pantograph
คําตอบ 2 : Tchebysheff’s four-bar mechanism


คําตอบ 3 : Engine Indictor


คําตอบ 4 : The Hart mechanism

ขอที่ : 290

177 of 244

กลไกในรูปใชประโยชนสําหรับ
คําตอบ 1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครื่องยนต

่ า ย

คําตอบ 2 : ลอกแบบ

ำ ห
คําตอบ 3 : เขียนเสนตรงแท


คําตอบ 4 : เขียนเสนเกือบตรง

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 291
กลไกในรูปใชประโยชนสําหรับ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครื่องยนต
คําตอบ 2 : เขียนเสนตรงแท


คําตอบ 3 : ลอกแบบ

ขอที่ : 292

คําตอบ 4 : เขียนเสนเกือบตรง

178 of 244

กลไกในรูปเรียกวา
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : The Hart mechanism

จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
Tchebysheff’s four-bar mechanism
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
Engine Indictor
คําตอบ 4 : Pantograph

ิท
ขอที่ :


293

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

179 of 244

กลไกดังรูปเรียกวา
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : Watt Chain

กร ข

คําตอบ 2 : Steohenson chain



คําตอบ 3 : Kinematic Chain

าว
คําตอบ 4 : Stephenson chain

ขอที่ : 294

ส ภ
180 of 244

จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

Knife-edged


คําตอบ 2 : Flat-faced


คําตอบ 3 : Spherical-faced


คําตอบ 4 :


Roller

ขอที่ : 295

กร ข

ิ ว
ภ าว

181 of 244

กลไกในรูปมีชื่อวา
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : Watt Chain


คําตอบ 2 :


Stephenson Chain

กร
คําตอบ 3 : Linkage Chain
คําตอบ 4 : Scoth Yoke


ิ ว
าว
ขอที่ : 296

ส ภ
182 of 244

กลไกในภาพใชกับอุปกรณ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : เครืองบดหิน


คําตอบ 2 : เตรื่องเขียนแบบ

กร ข
คําตอบ 3 : รถยนต
คําตอบ 4 : เรือ


ิ ว
าว
ขอที่ : 297

ส ภ
183 of 244

กลไกในภาพใชในอุปกรณ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : อุปกรณเขียนวงร


คําตอบ 2 : อุปกรณเขียนแบบ

กร ข
คําตอบ 3 : อุปกรณรอกผอนแรง
คําตอบ 4 : อุปกรณชิงชา


ิ ว
าว
ขอที่ : 298


จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร


184 of 244
คําตอบ 1 : Knife-edged
คําตอบ 2 : Flat-faced
คําตอบ 3 : Spherical-faced
คําตอบ 4 : Roller

ขอที่ : 299
จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Knife-edged

ส ิท

คําตอบ 2 : Flat-faced

ง ว
คําตอบ 3 : Spherical-faced


คําตอบ 4 : Roller

ขอ
กร
ขอที่ : 300
จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Knife-edged
คําตอบ 2 : Flat-faced
คําตอบ 3 : Spherical-faced 185 of 244
คําตอบ 4 : Roller
ขอที่ : 301
กลไกตัวอยางจากเครื่องมือเขียนแบบที่เรียกวา Universal drafting machine ในรูปขอใดไมถูกตอง

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : เครื่องมือนี้เปนกลไก 8-ขอตอ ที่ไดจากกลไก 4-ขอตอ นํามาตอกัน โดยมีขอตอทุกขอเปนขอตอทวิภาคหรือขอตอที่มี 2 รอยตอ (binary link)


คําตอบ 2 : เครื่องมือนี้เปนกลไก 8-ขอตอ ที่มีขอตอที่มีรอยตอสูงสุด 4 รอยตอ หรือมีขอตอหนึ่งเปน ขอตอจตุภาค (quaternary link)

า้ ม
คําตอบ 3 : เครื่องมือเขียนแบบนี้ไดจากกลไก 4-ขอตอ แบบมีจุดเปลี่ยน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เมื่อกลไกเคลื่อนที่ ไมฉากจะเคลื่อนที่ขนานกับแนวเดิมเสมอ

ขอที่ :

ิท
302


คีมล็อกสามารถจับล็อกชิ้นงานดวยแรง Q ที่สูงมาก การล็อกเกิดขึ้นไดโดย

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : อาศัยตําแหนงจุดตายของกลไก เมื่อขอตอ AB และ BC เคลื่อนที่มาเรียงอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน
คําตอบ 2 : อาศัยตําแหนงจุดตายของกลไก เมื่อขอตอ OA และ AB ทํามุมฉากกันพอดี


คําตอบ 3 : เมื่อจุด B, C และ D เรียงอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน


คําตอบ 4 : เมื่อเรากดขอตอ EF เพื่อใหขอตอ AB และ EF อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

ขอที่ : 303

186 of 244

กลไกบดหินในรูปเปนกลไกกี่ขอตอ
่ า ย
หน

คําตอบ 1 : กลไก 6 ขอตอ


คําตอบ 2 : กลไก 8 ขอตอ


คําตอบ 3 : กลไก 4 ขอตอ 2 ชุด มาตอเขาดวยกัน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : กลไก 7 ขอตอ

ขอที่ : 304

ิท
คีมลอกในรูปเปนโซคิเนแมติกแบบใด

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : เปนโซคิเนแมติก 4-ขอตอ
คําตอบ 2 : เปนโซคิเนแมติกแบบบังคับไมไดในขณะลอก

ส ภ
คําตอบ 3 : เปนโซคิเนแมติกแบบ 6-ขอตอ
คําตอบ 4 : คีมลอกไมใชโซคิเนแมติก

ขอที่ : 305
ถาตองการสงถายความเร็วดวยอัตราทดแนนอนและเสียงเงียบ ทานจะเลือกใชอุปกรณใด
คําตอบ 1 : เฟอง
คําตอบ 2 : โซ 187 of 244

คําตอบ 3 : สายพาน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 306
อุปกรณสงถายความเร็วใดที่ควรมีราคาแพงที่สุด
คําตอบ 1 : ชุดเฟองทด
คําตอบ 2 : โซ
คําตอบ 3 : สายพาน

่ า ย

คําตอบ 4 : ราคาใกลเคียงกัน

ขอที่ : 307

จ ำ ห

อุปกรณสงถายความเร็วใดที่ควรมีราคาถูกที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เฟอง
คําตอบ 2 : โซ
คําตอบ 3 : สายพาน

ิท
คําตอบ 4 : ราคาใกลเคียงกัน

นส

ขอที่ : 308


อุปกรณสงถายความเร็วใดที่ถอดเปลี่ยนงายที่สุด
คําตอบ 1 : เฟอง

อ ส

คําตอบ 2 : โซ

กร
คําตอบ 3 : สายพาน


คําตอบ 4 : เหมือนกัน

ขอที่ : 309

าว ศ


Coupling ที่ใชของไหลเปนตัวสงผานการเคลื่อนที่คือ Coupling ชนิดใด


คําตอบ 1 : Rigid Coupling
คําตอบ 2 : Flexible Coupling
คําตอบ 3 : Fluid Coupling
คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

ขอที่ : 310 188 of 244


Oldham Coupling ทําหนาที่
คําตอบ 1 : เชื่อมเพลาที่ขนานกัน อยูระนาบเดียวกันเขาดวยกัน
คําตอบ 2 : เชื่อมเพลาที่ขนานกัน อยูเยื้องกันเล็กนอยเขาดวยกัน
คําตอบ 3 : เชื่อมเพลาที่ไมขนานกัน อยูทํามุมกันเล็กนอยเขาดวยกัน
คําตอบ 4 : เชื่อมเพลาที่ขนานกัน และทํามุม มากกวา 30 องศาเขาดวยกัน

ขอที่ : 311

่ า ย
Hooke Joint คือขอตอ


คําตอบ 1 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่อยูในระนาบเดียวกัน ไมขนานกัน และทํามุมกัน เขาดวยกัน


คําตอบ 2 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่ไมอยูในระนาบเดียวกัน ขนานกัน และทํามุมกัน เขาดวยกัน

จ ำ
คําตอบ 3 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่อยูในระนาบเดียวกัน ขนานกัน และเยื้องกัน เขาดวยกัน


คําตอบ 4 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่อยูในระนาบเดียวกัน ขนานกัน เขาดวยกัน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 312
Cognate Linkages คือ อุปกรณ

ิท
คําตอบ 1 : กลไกที่ใชเขียนเสนโคงวงกลม


คําตอบ 2 : กลไกที่ใชเขียนเสนตรง

ว น
คําตอบ 3 : กลไกที่ใชเขียนเสนโคง Cognate Curve


คําตอบ 4 : กลไกที่ใชเขียนเสนโคง Coupler Curve

อ ส

ขอที่ : 313

ว กร
าว ศ

ส ภ
189 of 244

กลไกในรูปใช
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : ในเครื่องยนตของเครื่องบิน


คําตอบ 2 : เขียนรูปวงรี

กร ข
คําตอบ 3 : เครื่องสูบน้ํา
คําตอบ 4 : เครื่องจักรกลหนัก


ิ ว
าว
ขอที่ : 314


Coupling ที่ใชในการเชื่อมตอระหวางเพลาที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกันคือ Coupling ชนิดใด


คําตอบ 1 : Rigid Coupling
คําตอบ 2 : Flexible Coupling
คําตอบ 3 : Fluid Coupling
คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

ขอที่ : 315
Coupling ที่ใชตอเพลาที่ทํามุมซึ่งกันและกันคือ Coupling ชนิดใด 190 of 244
คําตอบ 1 : Rigid Coupling
คําตอบ 2 : Flexible Coupling
คําตอบ 3 : Fluid Coupling
คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

ขอที่ : 316

่ า ย
Coupling ที่ใชในการตอเพลาที่ขนานกันแตไมไดอยูในแนวเดียวกันคือ Coupling ชนิดใด


คําตอบ 1 : Rigid Coupling


คําตอบ 2 : Oldham Coupling

จ ำ
คําตอบ 3 : Fluid Coupling


คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 317
แพนโตกราฟ (Pantograph) เปนกลไกที่ใชลอกรูปทั้งแบบขยายและยอขนาด คําตอบขอใดไมถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : จุด A จะวาดรูปเดียวกันกับจุด C แตมีขนาดที่ยอสวนลง
คําตอบ 2 : จุด P จะวาดรูปเดียวกันกับจุด C แตมีขนาดที่ยอสวนลง


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ แพนโตกราฟเปนกลไกที่ไดจากกลไกสี่เหลี่ยมดานขนาน
กลไกสี่เหลี่ยมดานขนานเปนกลไกที่มีจุดเปลี่ยน

ขอที่ : 318

กลไกในรูปคือ 191 of 244


่ า ย

คําตอบ 1 : แพนโตกราฟ (Pantograph) ชนิดหนึ่ง เปนกลไกที่ใชลอกรูปทั้งแบบขยายและยอขนาด
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
กลไกที่มีจุดหนึ่งเคลื่อนที่เกือบเปนเสนตรง (Approximate straight-line mechanism)
กลไกที่มีจุดหนึ่งเคลื่อนที่เปนเสนตรงแท (Exact straight-line mechanism)

จ ำ ห

คําตอบ 4 : กลไกผอนแรงที่ใช toggle effect

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 319
กลไกในรูปคือ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : กลไกผอนแรง (Toggle mechanism) ที่อาศัยหลักการของ toggle effect
คําตอบ 2 : กลไกล็อกที่อาศัย toggle effect


คําตอบ 3 : กลไกแพนโตกราฟที่ใชในการบดหิน


คําตอบ 4 : กลไกปอนหินอัตโนมัติที่ไดจากกลไกของวัตต

ขอที่ : 320

ขอใดถูกตอง จากกลไกในรูป 192 of 244


่ า ย

แรง Q จะสูงสุดเมื่อขอตอ 5 และ 4 อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน เมื่อจุด A ทับกับ A’


คําตอบ 1 :

แรง Q จะสูงสุดเมื่อขอตอ 3 และ 2 อยูในแนวเดียวกัน หรือ A O A’ อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

จ ำ

2

า้
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แรง Q จะนอยสุดเมื่อขอตอ 5 และ 4 อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน เมื่อจุด Aทับกับ A’

ิท
แรง Q จะนอยสุดเมื่อขอตอ 3 และ 2 อยูแนวเดียวกัน หรือ A O A’ อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน
2


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ :


321

กร ข

ิ ว
ภ าว

193 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 15 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :


17.2 cm
คําตอบ 2 :


18.2 cm

กร
คําตอบ 3 : 20.4 cm
คําตอบ 4 :


24.1 cm

ขอที่ : 322

าว ศ

ส ภ
194 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 20 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 17.2 cm

ง ว น

คําตอบ 2 :


18.2 cm


คําตอบ 3 : 20.4 cm

กร
คําตอบ 4 : 24.1 cm

ขอที่ :


ิ ว
าว
323

ส ภ
195 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 30 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 17.2 cm

ง ว น

คําตอบ 2 : 18.2 cm


คําตอบ 3 :


20.4 cm

กร
คําตอบ 4 : 24.1 cm

ขอที่ : 324


ิ ว
ภ าว

196 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 45 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 17.2 cm

ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 : 18.2 cm


คําตอบ 3 : 20.4 cm

กร
คําตอบ 4 : 24.1 cm

ขอที่ :


ิ ว
าว
325
ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vc/a = ?

ส ภ
197 of 244
คําตอบ 1 : 6.28 rad/sec
คําตอบ 2 : 62.8 cm/sec
คําตอบ 3 : 86.7 cm/sec
คําตอบ 4 : 628 mm/sec

ขอที่ : 326

่ า ย
ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 60 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vc/a = ?

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.67 cm/sec


คําตอบ 2 : 62.8 cm/sec


คําตอบ 3 :


62.8 rad/sec


คําตอบ 4 : 628 mm/sec

ขอที่ : 327

กร ข

ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 1,200 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vb/a = ?

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 12.56 rad / sec 198 of 244

คําตอบ 2 : 125.6 cm/sec


คําตอบ 3 : 520 cm /sec
คําตอบ 4 : 1,256 mm/sec

ขอที่ : 328
ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 60 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vb/a= ?

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 26 cm/sec
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :


37 cm/sec


คําตอบ 3 : 47 rad/sec


คําตอบ 4 : 8.67 mm/sec

ส ง

ขอที่ : 329

กร ข

ิ ว
ภ าว

199 of 244

จากรูป ความเร็วของจุด B2 เทียบกับจุด B4 จะอยูในแนวใด


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : แนวของชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 2 : แนวของชิ้นตอโยง 4
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 4

ขอที่ : 330
200 of 244

จากรูป ทิศของความเร็วของจุด B2 เทียบกับจุด B4 คือขอใด


่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงขึ้น

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงลง
คําตอบ 3 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงขึ้น

ิท
คําตอบ 4 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงลง

ขอที่ :

นส

331


จากรูป ความเร็วของจุด B4 เทียบกับจุด B2 จะอยูในแนวใด

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
แนวของชิ้นตอโยง 2
แนวของชิ้นตอโยง 4
ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 4

201 of 244
ขอที่ : 332
จากรูป ความเร็วของจุด B4 เทียบกับจุด B2 จะอยูในแนวใด

่ า ย
หน
คําตอบ 1 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงลง

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงขึ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงลง
คําตอบ 4 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงขึ้น

ขอที่ : 333

ส ิท

คําตอบขอใดถูกตอง กําหนดให มาตราสวนรูป คือ k [cm/cm] มาตราสวนความเร็วคือ k [cm/s/cm]


S V

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V
C/A
= kV(ac) cm/s มีทิศ ⊥ กับ AC

จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V = kV(bc) cm/s มีทิศจาก B ไป C


C/B
คําตอบ 2 :

202 of 244
คําตอบ 3 :
จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V
B/A
= kV(ab) cm/s มีทิศ ⊥ กับ O4B
จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V = kV(bc) cm/s มีทิศจาก C ไป B
B/C
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 334
คําตอบขอใดถูกตอง กําหนดให มาตราสวนรูป คือ kS [cm/cm] มาตราสวนความเร็วคือ kV [cm/s/cm]

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
จากรูปสามเหลี่ยม ABC และ abc เปนสามเหลี่ยมคลาย


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ว น
จากรูปขนาดของ ac เมื่อคูณกับมาตราสวนรูป kS จะไดขนาดของความเร็วVC/A


อ ส
จากรูปสามเหลี่ยม ABC และ abc ไมมีความเกี่ยวของใดๆกัน


คําตอบ 3 :

กร
จากรูปสามเหลี่ยม abc ในรูปเหลี่ยมของความเร็วเปนภาพเสมือนของขอตอ ABC ที่หมุนทวนเข็มเปนมุมใดๆ


คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 335

ส ภ
203 of 244
กลไก 4-ขอตอในรูป ให ω2 มาตองการหา ω4 จะตองใชสมการใดคํานวณ
่ า ย
VB2 = VB3

VB4 = VB3 +VB4/B3

หน

คําตอบ 1 :

และ ω4 = VB4/BOB
มจ
า้
ิธ์ ห
VB2 = VB3

ิท
VB4 = VB3 +VB4/B3


คําตอบ 2 :


และ ω = V /BOB


4 B4/B3

ส ง

VB3 = VB4

VB4 = VB2 +VB4/B2

กร ข

คําตอบ 3 :



และ ω = V

าว
4 B4/B2
/BOB

ส ภ VB2 = VB3

VB4 = VB3 +VB4/B3


คําตอบ 4 :
และ ω = V /BOB
4 B3

204 of 244
ขอที่ : 336
ในรูปเปนกลไก 4-ขอตอ เมื่อทราบขนาดของขอตอตาง และขนาดของ ω ความเร็ว V หาไดจาก
2 B2

่ า ย
หน
จ ำ
VB2 = VB3 = AOB?ω2

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
VB2 = VB4 = AOB?ω2


คําตอบ 2 :

VB2 = VB3 = AOB?ω4

ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
VB2 = VB4 = AOB?ω4
คําตอบ 4 :


ิ ว
ขอที่ : 337

ภ าว

205 of 244

มวล A วิ่งขึ้นดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางซายดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 150 เรเดียนตอนาที CW

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : 150 เรเดียนตอนาที CCW

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 100 เรเดียนตอนาที CW
คําตอบ 4 : 100 เรเดียนตอนาที CCW

ขอที่ : 338

ส ิท

มวล A วิ่งลงดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางขวาดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
150 เรเดียนตอนาที CW
150 เรเดียนตอนาที CCW
100 เรเดียนตอนาที CCW
คําตอบ 4 : 100 เรเดียนตอนาที CW

206 of 244
ขอที่ : 339
มวล A วิ่งลงดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางขวาดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 100 เรเดียนตอนาที CW

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : 100 เรเดียนตอนาที CCW

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 150 เรเดียนตอนาที CCW
คําตอบ 4 : 150 เรเดียนตอนาที CW

ขอที่ : 340

ส ิท

มวล A วิ่งขึ้นดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางซายดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
100 เรเดียนตอนาที CW
100 เรเดียนตอนาที CCW
150 เรเดียนตอนาที CCW
คําตอบ 4 : 150 เรเดียนตอนาที CW

207 of 244
ขอที่ : 341
ถาความเร็วของจุด A =240 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad/sec


คําตอบ 2 :


122.09 rad/sec


คําตอบ 3 : 109rad/sec


คําตอบ 4 : 42.1 rad/sec

ขอที่ : 342

กร ข

ิ ว
ภ าว

208 of 244

ถาความเร็วของจุด A =200 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad/sec


คําตอบ 2 :


7.3 rad/sec


คําตอบ 3 : 101.75 rad/sec


คําตอบ 4 : 35.09 rad /sec

ขอที่ : 343

กร ข

ิ ว
ภ าว

209 of 244

ถาความเร็วของจุด A =240 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =7 cm ; BC = 6.3 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad /sec


คําตอบ 2 :


27.4 rad/sec


คําตอบ 3 : 30.53 rad/sec


คําตอบ 4 : 2.19 rad/sec

ขอที่ : 344

กร ข

ิ ว
ภ าว

210 of 244

ถาความเร็วของจุด A =60 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad/sec


คําตอบ 2 :


27.4 rad/sec


คําตอบ 3 : 30.53 rad/sec


คําตอบ 4 : 2.19 rad/sec

ขอที่ : 345

กร ข

จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O1B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม W โดยมีทิศตามเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด C เทื่อเทียบกับจุด B มีทิศทางใด

าว ศ

ส ภ
211 of 244
คําตอบ 1 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น
คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับแขน O1B
คําตอบ 4 : อยูในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C

ขอที่ : 346

่ า ย
จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O1B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม w โดยมีทิศตามเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด B เทื่อเทียบกับจุด C มีทิศทางใด

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อยูในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C
คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง

ิท
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น


คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับแขน O1B

ขอที่ : 347

ง ว น

จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม ω โดยมีทิศทวนเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด C เมื่อเทียบกับจุด B มีทิศทางใด


1

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C
ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น
คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับแขน O1Bอยู

212 of 244
ขอที่ : 348
จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม ω โดยมีทิศทวนเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด B เมื่อเทียบกับจุด C มีทิศทางใด
1

่ า ย

คําตอบ 1 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง


คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น

จ ำ
คําตอบ 3 : อยูในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C


คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับแขน O1B

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 349
คําตอบขอใดถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
VB=VA+VB/A จากสมการความเร็วสัมพัทธนี้ สามารถหาความเร็ว VB , ω4 และ ω3 ได

ิ ว
คําตอบ 1 :

า ว ศ
จากสมการความเร็วสัมพัทธ V =V +V
C A C/A
สามารถหาความเร็วของจุด C และ ω ได
3


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :
ทิศของ ω ไมสามารถดูไดจากรูปเหลี่ยมของความเร็ว
3

รูปเหลี่ยมความเร็งที่ไดยังไมถูกตอง เห็นไดจากความเร็ว V คือ O c สั้นกวา O a และ O b


C v v v
คําตอบ 4 :
213 of 244
ขอที่ : 350
ขอใดเปนสมการที่ใชคํานวณความเร็วของจุด C โดยไมตองคํานวณหา ω
3

่ า ย
หน
จ ำ

VB=VA+VB/A

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
VC=VA+VC/A=VB+VC/B

ิท
VC=VA+VC/A


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : VC=VB+VC/B

ง ว น
VB=VA+VC/A

อ ส
คําตอบ 4 : VC=VB+VC/B

กร ข

ิ ว
ขอที่ : 351

ภ าว

คําตอบขอใดถูกตอง 214 of 244
ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 แตจะหมุนไปจากเดิม 90? ในทิศของ ω

่ า ย

3
คําตอบ 1 :


ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 ที่มีขนาดเทากันแตจะหมุนไปจากเดิม 180? ในทิศของ ω

ำ ห 3


คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 เปนรูปคลายที่หมุนไปจากเดิม 180? ในทิศตรงขามกับ ω
3
คําตอบ 3 :

ส ิท
ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 เปนรูปคลายที่หมุนไปจากเดิม 90? ในทิศตรงขามกับ ω


3
คําตอบ 4 :

ง ว
อ ส

ขอที่ : 352

กร
กลไก 4-ขอตอในรูป คําตอบขอใดถูกตอง


ิ ว
ภ าว
ส VA2=VA3 ความเร็วของจุด A ที่อยูบนขอตอ 2 และขอตอ 3 จะเทากัน
คําตอบ 1 :

215 of 244
คําตอบ 2 : VA2=VA4 ความเร็วของจุด A ที่อยูบนขอตอ 2 และขอตอ 4 จะเทากัน
ความเร็วเชิงมุม ω = ω
2 3
คําตอบ 3 :

ความเร็วเชิงมุม ω = ω
2 4
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ :

หน

353


กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 12


คําตอบ 2 : 13


คําตอบ 3 : 14


คําตอบ 4 :


15

ขอ
กร
ขอที่ : 354
กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
10
11
12
คําตอบ 4 : 13

ขอที่ : 355 216 of 244

กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด

คําตอบ 1 : 4

่ า
คําตอบ 2 : 5


คําตอบ 3 : 6

ำ ห
คําตอบ 4 : 7

มจ
า้
ขอที่ : 356

ิธ์ ห
กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 9

กร ข

คําตอบ 2 : 10



คําตอบ 3 : 11

าว
คําตอบ 4 : 12

ขอที่ : 357

ส ภ
217 of 244

จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 2
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 :


4


คําตอบ 4 : 6

ส ง

ขอที่ : 358


จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ 2
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 6
218 of 244
ขอที่ : 359
ตําแหนนงจุดเพาะกาล 14 อยูที่

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : แนวเดียวกับ Link 3
คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับจุดหมุน o และแนวระดับตัดกับแนว link 3

มจ
า้
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับจุด C และทิศทางการเคลื่อนที่ของ Slider ตัดกันที่อนันต

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมี

ิท
ขอที่ : 360


จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 6
คําตอบ 2 : 8
คําตอบ 3 : 16
219 of 244
คําตอบ 4 : 15
ขอที่ : 361
จุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งจะตองมีคุณสมบัติอยางไร
คําตอบ 1 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง
คําตอบ 2 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงเปนศูนย
คําตอบ 3 : เปนจุดที่ชิ้นตอโยงทั้งสองมีความเร็วสัมบูรณเทากันทั้งขนาดและทิศทาง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า

ขอที่ : 362


คุณสมบัติของจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง

มจ
า้
คําตอบ 2 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงไมเทากับศูนย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีขนาดเทากัน
คําตอบ 4 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีทิศทางเดียวกัน

ขอที่ : 363

ส ิท
ว น
จุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งจะตองมีคุณสมบัติอยางไร


คําตอบ 1 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง


คําตอบ 2 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงเปนหนึ่ง


คําตอบ 3 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีขนาดไมเทากัน
คําตอบ 4 :

กร ข
เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีทิศทางตรงกันขาม

ขอที่ : 364


ิ ว
าว
คุณสมบัติของจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีทิศทางตรงกันขาม


คําตอบ 2 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีขนาดเทากัน
คําตอบ 3 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงเทากับศูนย
คําตอบ 4 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง

ขอที่ : 365
กลไกเลื่อน-ขอเหวี่ยง (Slider-crank) ที่เห็นมีจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) เทาใด และจุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคื อ
220 of 244
คําตอบ 1 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34 14
คําตอบ 2 : 5 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

่ า ย

คําตอบ 3 : 4 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 13


คําตอบ 4 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

จ ำ

ขอที่ :

า้
366
กลไกเลื่อน-ขอเหวี่ยง (Slider-crank) ที่เห็นมีจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) เทาใด และจุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34 14


คําตอบ 2 : 5 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

าว ศ

คําตอบ 3 : 4 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 13
คําตอบ 4 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

ขอที่ : 367
ส ภ
จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) ทั้งหมดของกลไกในรูป 221 of 244
คําตอบ 1 : 15 จุด

่ า ย

คําตอบ 2 : 14 จุด


คําตอบ 3 : 13 จุด

จ ำ
คําตอบ 4 : 12 จุด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
368
จุดหมุนเฉพาะกาลที่กําหนดไดโดยงาย ในรูปมีจุดใดบาง

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร
จุด 12 , 14 , 23 และจุด 34


คําตอบ 2 : จุด 12 , 14 , 23

าว ศ

คําตอบ 3 : จุด 12 , 14 , 34
คําตอบ 4 : จุด 12 , 14 , 34 และจุด 13

ขอที่ : 369
ส ภ
222 of 244

จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก
่ า ย
คําตอบ 1 : จุด 12

หน
คําตอบ 2 : จุด 13

จ ำ

คําตอบ 3 : จุด 14

า้
คําตอบ 4 : จุด 15

ขอที่ : 370
ิธ์ ห
ิท
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก

นส
ง ว
อ ส

คําตอบ 1 : จุด 12

กร
คําตอบ 2 : จุด 23


คําตอบ 3 : จุด 24



คําตอบ 4 : จุด 25

ขอที่ : 371

ภ าว

จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก

223 of 244
คําตอบ 1 : จุด 12
คําตอบ 2 : จุด 13
คําตอบ 3 : จุด 14
คําตอบ 4 : จุด 15

ขอที่ : 372

่ า ย
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก

หน
จ ำ
คําตอบ 1 : จุด 24

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : จุด 34
คําตอบ 3 : จุด 46

ิท
คําตอบ 4 : จุด 46

นส

ขอที่ : 373

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลี่ยมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ Link 3
คือ 224 of 244
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 157.08 cm/sec
คําตอบ 2 : 20.944 rad/sec
คําตอบ 3 : 1.125 m/sec
คําตอบ 4 : 1.10 m/sec 225 of 244
ขอที่ : 374
Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลี่ยมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ Link 4
คือ

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
157.04 cm/sec

าว
คําตอบ 2 : 157.04 rad/sec


คําตอบ 3 : 184.8 cm/sec


คําตอบ 4 : 1.10 m/sec

ขอที่ : 375

226 of 244
Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ จุด C
สัมพัทธ กับ B คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 157.04 cm/sec

าว ศ

คําตอบ 2 : 64.7 cm/sec
คําตอบ 3 : 1.125 cm/sec


คําตอบ 4 : 1,194.04 cm/sec

ขอที่ : 376 ส
227 of 244

Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ B คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
157.04 cm/sec
20.944 rad/sec
184.8 cm/sec
คําตอบ 4 : 1.10 cm/sec

ขอที่ : 377 228 of 244

จากรูป จุด a คือจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงใด


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3

ิท
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 4


คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 378

ง ว น

จากรูป จุด a คือจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงใด

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2 229 of 244

คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 1


คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 4

ขอที่ : 379
กลไกดังรูปสามารถมีจุดหมุนชั่วขณะไดกี่จุด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 4


คําตอบ 2 : 5


คําตอบ 3 : 6


คําตอบ 4 :


7

ขอที่ : 380

อ ส
กร ข
กลไกดังรูปสามารถมีจุดหมุนชั่วขณะไดกี่จุด


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 4
คําตอบ 2 : 6
คําตอบ 3 : 8
คําตอบ 4 : 10 230 of 244
ขอที่ : 381
ให ω และมาตราสวนของรูป k จงหาความเร็วของขอตอ 4 ระยะตางๆ เชน 13-A, O A สามารถวัดตําแหนง และคํานวณไดจากรูป
2 s 2

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : V4 = VB = ω2(O2A)(13-B)/(13-A) ทิศ →

า้
ิธ์ ห
V4 = VB = ω2(O2A)(13-B)/(13-A) ทิศ ?
คําตอบ 2 :

V4 = VB = ω2(O2A)(13-A)/(13-B) ทิศ →

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว

V4 = VB = ω2(O2A)(13-A)/(13-B) ทิศ ?


คําตอบ 4 :

กร ข
ขอที่ : 382


ิ ว
าว
จงหาตําแหนงจุดหมุนเฉพาะกาล 13 ของกลไก 4-ขอตอดังรูป

ส ภ
231 of 244

แนว O A และ O B ตัดกันที่จุด 13


2 4
คําตอบ 1 :
แนว AB และ O O ตัดกันที่จุด 13
2 4
คําตอบ 2 :

จุด O เปนจุดที่ แนวของ O A ตัดกับ O O และ เปนจุด 13 ดวย


2 2 2 4
คําตอบ 3 :

่ า ย

จุด O เปนจุดที่ แนวของ O B ตัดกับ O O และเปนจุด 13 ดวย


4 4 2 4
คําตอบ 4 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 383
จงหาตําแหนงของจุดหมุนเฉพาะกาล 14 ของกลไกเลื่อน-ขอเหวี่ยงในรูป

ส ิท
ง ว น
อ ส

จุดหมุนเฉพาะกาล 14 เปนจุดที่ไดจากเสนที่ลากจากจุด B ตั้งฉากกับ O B และเสนที่ลากจากจุด O ตั้งฉากกับ O B ตัดกันที่อนันต

กร
2 2 2
คําตอบ 1 :


ิ ว
จุดหมุนเฉพาะกาล 14 เปนจุดที่เสนที่ลากจากจุด B ตั้งฉากกับ O2B กับเสนที่ตอแนว O2A

าว
คําตอบ 2 :


จุดหมุนเฉพาะกาล คือ จุด B


คําตอบ 3 :

จุดหมุนเฉพาะกาล 14 ไมสามารถหาตําแหนง ได


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 384
232 of 244

จากรูปขอใดเปนคําตอบที่ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : จุด B เปนจุดหมุนเฉพาะกาล 13
่ า ย
จุด B เปนจุดหมุนเฉพาะกาล 14
O

หน

คําตอบ 2 :

มจ
า้
จุด A เปนจุดหมุนเฉพาะกาล 12
O

ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

จุดหมุนเฉพาะกาล 34 อยูบนเสนตั้งฉากกับแนวทางเดินสัมพัทธของขอตอ 3 เทียบ 4 และอยูที่อนันต

ิท
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ : 385

ง ว

มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 10 m/s2 ขึ้น ในขณะที่ มวล B มีความเรง 5 m/s2 ไปทางซาย กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW
คําตอบ 3 : 7.07 rad/s CW 233 of 244
คําตอบ 4 : 7.07 rad/s CCW
ขอที่ : 386
มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 10 m/s2 ลง ในขณะที่ มวล B มีความเรง 5 m/s2 ไปทางซาย กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW

ิท
คําตอบ 3 : 7.07 rad/s CW


คําตอบ 4 :


7.07 rad/s CCW

ง ว

ขอที่ : 387


มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 5 m/s2 ลง ในขณะที่ มวล B มีความเรง 10 m/s2 ไปทางซาย กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW
คําตอบ 3 : 7.07 rad/s CW 234 of 244

คําตอบ 4 : 7.07 rad/s CCW


ขอที่ : 388
มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 5 m/s2 ลง ในขณะที่ มวล B มีความเรง 10 m/s2 ไปทางขวา กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW

ิท
คําตอบ 3 :


7.07 rad/s CW


คําตอบ 4 : 7.07 rad/s CCW

ง ว

ขอที่ : 389


Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของชิ้นตอโยง 4. O2-B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1


cm,O2O4=10cm.

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 215.873 rad/sec2 ccw 235 of 244

คําตอบ 2 : 2
2,158.73 rad/sec ccw
คําตอบ 3 : 2,226.055 rad/sec2 cw
คําตอบ 4 : 6.667 rad/sec2 ccw

ขอที่ : 390
Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของจุด C.O2-B=10cm,BC=7.6cm,O4R=20.2


cm,O2O4=20cm.

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 2777 cm/sec2

ส ิท

คําตอบ 2 : 215.078 cm/sec2

ง ว
คําตอบ 3 : 225.552 cm/sec2


คําตอบ 4 : 2555 cm/sec2

ขอ
กร
ขอที่ : 391
Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของจุด C.O2-B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1


cm,O2O4=10cm.

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 77.50 cm/sec2 236 of 244

คําตอบ 2 : 1388 cm/sec2


คําตอบ 3 : 1360 cm/sec2
คําตอบ 4 : 280 cm/sec2

ขอที่ : 392
Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของจุด R O2-B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1
cm,O2O4=10cm.

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 6667 cm/sec 2

ง ว น

คําตอบ 2 : 66.67 cm/sec2
คําตอบ 3 : 2,226.05 cm/sec2

ขอ
กร
คําตอบ 4 : 66.67 cm/sec 2


ิ ว
าว
ขอที่ : 393

ส ภ
237 of 244

จากรูป ใหระยะ BC มีคาเทากับ 10 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 3 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 5 จงหาขนาดของความเรงสัมพัทธของจุด E เทียบกับ B
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 238 of 244


ขอที่ : 394
2
จากรูปใหระยะ BC มีคาเทากับ 20 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 4 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 10m/s จงหาขนาดของ
ความเรงสัมพัทธของจุด E เทียบกับ B

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
2
ส ิท

1 m/s

คําตอบ 1 :

ส ง

2


2 m/s

กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
2
3 m/s


คําตอบ 3 :

ส4 m/s
คําตอบ 4 :
2

239 of 244
ขอที่ : 395
2
จากรูปใหระยะ BC มีคาเทากับ 20 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 4 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 5 m/s จงหาขนาดของความเรงสัมพัทธของจุด E เทียบ
กับ B

่ า ย
หน
1 m/s2

จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
2 m/s2
คําตอบ 2 :

3 m/s2

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว

4 m/s2


คําตอบ 4 :

กร ข

ขอที่ :



396

าว
2
จากรูปใหระยะ BC มีคาเทากับ 10 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 3 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 10 m/s จงหาขนาดของความเรงสัมพัทธของจุด E
เทียบกับ B

ส ภ
240 of 244

1 m/s2
คําตอบ 1 :

2 m/s2
คําตอบ 2 :

3 m/s2


คําตอบ 3 :

4 m/s2
น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ

ขอที่ :

า้
397

ิธ์ ห
คําตอบขอใดถูกตอง

AB = AAn + AAt + AB/An + AB/At

AC3 = AA + AC3/An + AC3/At = AB+ AC3/BB +AC3/Bt

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
เมื่อทราบความเร็วในกลไกแลวความเรงของจุด C ซึ่งเปนจุดที่อยูบนขอตอ 3 สามารถคํานวณไดจากสมการที่ใหมาทั้งสอง


3
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :
แมทราบความเร็วในกลไกทั้งหมดแลว สมการที่ใหมาทั้งสองสมการ ไมสามารถใชคํานวณหาความเรงของจุด C ซึ่งเปนจุดที่อยูบนขอตอ 3
3

สมการความเรงที่ใหมาทั้งสองสมการ เปนสมการความเรงของจุด C ซึ่งซอนอยูกับจุด C และ C


3 4 5
คําตอบ 3 :
241 of 244
ในรูปเหลี่ยมของความเรงจะมีภาพเสมือน (Image) ของขอตอ 3 ที่จากเดิมไป 90? ในทิศของ ω
3
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 398


จงเลือกคําตอบที่ถูกตองในรูปให ω2 มีคาคงที่

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ความเรงของจุด B หาไดจากสมการ
ิธ์ ห
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

ส ิท

คําตอบ 1 :

ง ว
อ ส
ความเรงของจุด B ไมสามารถหาได เนื่องจากในสมการ

คําตอบ 2 :

กร
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At


ิ ว
มีตัวแปรไมทราบคาเกิน 1 ตัว

ภ าว
ความเรงของจุด B ไมสามารถหาได เนื่องจากในสมการ

คําตอบ 3 :ส ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

มีตัวแปรไมทราบคาเกิน 2 ตัว

242 of 244

ความเรงของจุด B ไมสามารถหาได เนื่องจากสมการ


ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

คําตอบ 4 : ไมถูกตอง

่ า ย
ขอที่ : 399


จงเลือกใชสมการที่ถูกตองเพื่อคํานวณหาความเรงของจุด C

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

นส

คําตอบ 1 : AC = AB + AC/Bn + AC/Bt = AA + AC/An + AC/At

ส ง
ขอ
ABn + ABt = AAn +AAt+ AB/An + AB/At

คําตอบ 2 :

ว กร
ACn+ ACt = AB + AC/Bn + AC/Bt

าว ศ


ACn + ACt = AAn + AAt + AC/An + AC/At


คําตอบ 3 :

ABn + ABt = ACn +ACt+ AB/Cn + AB/Ct


คําตอบ 4 :

243 of 244

ขอที่ : 400
สมการที่ใชหาความเรงเชิงมุมของขอตอ 4 เมื่อทราบความเรงของจุด A โดย ω มีคาคงที่ คือขอใด
2

่ า ย
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At และ α4 = ABt/O4B

หน

คําตอบ 1 :

มจ
า้
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At และ α4 = AB/At/O4B

ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ิท
ABn + ABt = AA + AA/Bn + AA/Bt และ α4 = AB/At/O4B


คําตอบ 3 :

n t n t
AB + AB = AA + AA/B + AA/B และ α4 = AB /O4B t

ง ว น

คําตอบ 4 :

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
244 of 244

You might also like