Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

โครงการถักทอเครือข่ายในพื้นที่เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ของจังหวัด ระยะที ่ ๑ ระยะเตรียมการ (มีนาคม – ธันวาคม ๒๕๕๖) ระยะที ่ ๒ ระยะขับเคลือ ่ นกลไกการพัฒนาในพื้นทีต ่ ามแผนพัฒนาการศึกษาฯ ของจังหวัด (มกราคม ๒๕๕๗ – มิถุนายน ๒๕๕๘)

โครงการถักทอ ฯ มีเป้าประสงค์ ในการส่งเสริมการบูรณาการองค์กรและเครือข่ายด้านการศึกษา ทัง ้ ในและนอกระบบการศึกษาเข้ามาร่วมกันรับผิดชอบยกระดับคุณภาพการเรียนรูข ้ องเด็กและเยาวชนใน พืน ้ ทีอ ่ ย่างเป็นระบบและมีความยังยื ่ น รองรับความเปลีย ่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และสืบสานวิถช ี ว ีต ิ อันดี ในพืน ้ ทีอ ่ ย่างยังยื ่ น โดยมีวต ั ถุประสงค์ของโครงการ เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน จังหวัดให้เกิดการถักทอเครือข่ายในพื้นที่เป็ นองค์กรที่สามารถดูแลรับผิดชอบจัดการศึกษาในพื้นที่และ จังหวัดของตนได้อย่างเป็ นระบบ ด้ว ยการบูรณาการความคิด แผนงาน งบประมาณและประสานการ ดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ” และสนับสนุ นการปฏิรป ู กลไกและ กระบวนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูข ้ องเด็กและเยาวชนในพืน ้ ทีใ ่ ห้สามารถรองรับความ เปลีย ่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ได้อย่างสอดคล้องกับวิถช ีว ีต ิ ในท้องถิน ่ ของตนและสังคม กรณี ศึกษาจังหวัดกระบี่ ภาคประชาสังคมจังหวัดกระบี่ โดยการนาของคุณชวน ภูเก้าล้วน นักธุรกิจผู้เป็ นชาวกระบี่แต่ กาเนิด ร่วมกับ ภาคธุรกิจธุรกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ (เทศบาลเมือง) ชุมชน หน่ วยงานภาครัฐที่ เกีย ่ วข้องกับการศึกษา สถาบันการศึกษา รวมทัง ้ ประชาชนในจังหวัดกระบี่ได้ร่วมกันจัดตัง ้ สภาการศึกษา จังหวัดกระบี่ ขึน ้ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๕๓ เนื่องจากพบว่าผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาของเด็กและเยาวชน กระบีไ ่ ม่ได้มาตรฐาน การจัดการศึกษาของรัฐไม่สอดคล้องกับวิถช ี ว ีต ิ และความต้องการจังหวัดกระบี่ อีก ทัง ้ การพัฒนาเมือง สภาพสังคม เศรษฐกิจและสิง ่ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา หลายๆ ฝ่ายใน จังหวัดกระบีจ ่ง ึ เข้ามาร่วมช่วยกันพยายามพัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรูข ้ อง เด็กและเยาวชน รวมถึงการเพิม ่ พูนความรูใ ้ ห้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อสร้างคุณภาพชีวต ิ ที่ดี ส่งเสริม อาชีพ ที่เ หมาะสมสอดคล้ อ งกับ วิถีชีว ิต สภาพท้ อ งถิ่น และ เพื่อ กระตุ้ น จิต ส านึ ก ของการอนุ ร ัก ษ์ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ในภาพรวมของสภาการศึกษาจังหวัดกระบี่ เป็นองค์กรภาคประชาสังคมทีม ่ ค ี วามตัง ้ ใจและมุ่งมัน ้ ทีจ ่ ะพัฒนาคนด้วยการศึกษาเป็นหลักการสาคัญ สภาการศึกษาฯ กระบีม ่ ค ี วามสมบูรณ์ของทุนบุคคลากรที่ เป็ นตัวแทนจากทุกภาคส่วน มีทุนทรัพย์เพื่อดาเนินกิจกรรมจากภาคธุรกิจ/เอกชน สิง ่ ที่จะช่วยให้สภา การศึกษาจังหวัดกระบีด ่ าเนินงานได้อย่างต่อเนื่องยังยื ่ น คือการถักทอเครือข่ายในพืน ้ ที่ ด้วยการประสาน ความร่วมมือในรูปของการบูรณาการความคิด งบประมาณและบุคคลากร จากภาคีและภาคส่วนต่างๆ ทีม ่ ี อยูแ ่ ล้วนัน ้ ระดมสรรพกาลังให้เข้ามาร่วมกันทางานอย่างใกล้ชด ิ เป็นระบบ และเป็นเอกภาพ กรณี ศึกษาที่จง ั หวัดแม่ฮ่องสอน : หลักประกันโอกาสทางการศึกษาเต็มพืน ้ ทีจ ่ง ั หวัด จังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็ นกรณีศึกษาที่นาเสนอตัว อย่างของความสาเร็จในการสร้างหลักประกัน โอกาสทางการศึกษาที่เกิดจากระดับพื้นที่ แล้วได้รบ ั ขยายผลเชิงนโยบายให้เกิดการประสานถักทอภาค

ั หาเด็ก ด้อ ยโอกาสเต็ม พื้น ที่จ ง ส่ ว นต่ า งๆ เป็ นเครือ ข่ ายที่เ ข้ามาร่ว มกัน ช่ ว ยเหลือ และแก้ไ ขปญ ั หวัด ั หาเด็ก ด้ อ ยโอกาสใน แม่ ฮ่ อ งสอน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง เมื่อ ผู้ว่ า ราชการหวัด ให้ค วามส าคัญ การป ญ ั หาอย่างจริงจังจัง นายกอบจ. นายกอบต.ก็เห็นด้วย ทาให้มก แม่ฮ่องสอนและเข้ามาร่วมแก้ไขปญ ี ารออก กฎหมายท้องถิ่นเพื่อโอนเงินมาสนับสนุ น พร้อมกับการบูรณาการจากหลายๆ ฝ่าย ทาให้ทุกภาคส่วน ั หาและวิธท มองเห็นความสาคัญของปญ ี จ ่ี ะร่วมมือกันให้ความช่วยเหลือเด็กๆ ได้ตามความกาลังของตนที่ มีอยู่ เช่น อบต. ๘ แห่งในอาเภอปายตกลงจะร่วมกันสนับสนุ นงบประมาณปี ละประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ บาท ช่ ว ยเหลือ เด็ก ด้อ ยโอกาสอย่า งต่ อ เนื่ อ ง และทางอบจ.ก็ส บทบให้อีก ๑๐๐,๐๐๐ บาทต่ อ ปี ขณะที่ โรงพยาบาลพร้อ มส่ งต่ อ ข้อ มูล ของเด็ก ด้อ ยโอกาสและพิการตัง ้ แต่ แรกเกิดแก่ หน่ ว ยงานที่รบ ั ผิดชอบ ดาเนินการต่อไป สิง ่ ต่อไปทีต ่ อ ้ งทาคือการหาแนวร่วมหรือภาคีทไ ่ี ม่ใช่หน่วยงานภาครัฐเข้ามาเป็ นเครือข่ายช่วยดูแล เรื่องนี้อย่างต่อเนื่องและให้เกิดความยังยื ่ น “ดิฉันเชือ ่ มันว่ ่ า ความสาเร็จนัน ้ ต้องเริม ่ นับหนึง ่ ทีท ่ ้องถิน ่ ถ้า ั หาเด็กพิการด้อยโอกาสเป็ นวาระเร่งด่วน ทุกคนต้อง ผูน ้ าท้องถิน ่ และชาวแม่ฮ่องสอนเห็นตรงกันว่า ปญ ช่วยกันแก้ไขเพือ ่ ดูแลลูกหลานของเรา ไม่ใช่มองเป็ นภาระหน้าทีค ่ นใดคนหนึง ่ ทีผ ่ ่านมามีต้นแบบให้เห็น อยู่แล้ว เช่น ทีอ ่ บต.บ้านกาศ อ.แม่สะเรียง แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ แม่ฮ่องสอนค่อนข้างยากจน ภายใต้ความขาดแคลนนี้ อปท.สามารถตัง ้ งบประมาณอุดหนุ นได้ ถ้ามีการแนะนา เพราะการช่วยเหลือเด็ก ั หา ไม่ได้ใช้งบประมาณมาก ตัง ้ แต่ระดับนายอาเภอ ผูบ ้ ริหารท้องถิน ่ ทาให้เห็นเป็ นตัวอย่าง เปิ ดใจรับรูป ้ ญ ร่วมกัน การแก้ไขก็จะประสบความสาเร็จ เพราะเป้าหมายล้วนอยู่ทป ี ่ ระชาชนทัง ้ สิ้น” เป็ นคากล่าวจากใจ ของคุณนฤมล ปาลวัฒน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่เชื่อมันว่ ่ า ขอเพียงผู้ใหญ่ทุกๆฝ่ายประสาน ความร่วมมือ ร่วมใจ และมีความตัง ้ ใจมันร่ ่ ว มกัน ความสาเร็จในการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัดก็จะ เกิดขึน ้ และเป็นจริงได้ในรูปแบบของตนเอง ทีไ ่ ม่จาเป็นต้องเหมือนกับ “แม่ฮ่องสอนโมเดล” -------------------------------------

You might also like