Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

แผนธุรกิจ กับ SMEs ตอน....

ประเภทของแผนธุรกิจและประเด็นสําคัญ
รัชกฤช คลองพยาบาล
ที่ปรึกษา สวนบริการปรึกษาการเงินและการรวมลงทุน
ฝายประสานและบริการ SMEs สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)

หลังจากกลาวถึงเรื่องของแนวคิดของแผนธุรกิจที่ดี (Concept of good business plan) ในตอน


ที่แลวถึงหลัก 5Cs วา Communicate, Commercial, Competitive, Correct และ Clear หรือแผนธุรกิจ
ตองสื่อสารหรือทําใหผูอานเขาใจในตัวธุรกิจได, ตองเปนไปไดจริงหรือมีความเปนไปไดในเชิงพาณิชย,
ตองสามารถแขงขันกับธุรกิจอื่นได, ตองมีความถูกตองสมบูรณ และตองมีความกระจางชัดเจน ซึ่งเรื่อง
ขององคประกอบทั้ง 5 ประการนี้ ถือเปนสิ่งจําเปนสําหรับแผนธุรกิจไมวาจะนําเสนอแผนดวย
วัตถุประสงคใด ตอหนวยงานใด และตอใครก็ตามที่เปนผูพิจารณาตัดสินหรือประเมินแผนธุรกิจ
ในตอนนี้จะกลาวลงลึกในรายละเอียดเกีย่ วกับแผนธุรกิจแตละประเภทที่จัดทําขึ้น โดยจะเปนการกลาว
เฉพาะประเด็นที่ตองใหความสําคัญ หรือตองมีความระมัดระวังเปนพิเศษ ซึ่งโดยทั่วไปแลว
ผูประกอบการสวนใหญมักจะไมตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว และคิดวาแผนธุรกิจควรจะมี
ลักษณะที่คลายคลึงกันหรือเหมือนๆกัน หรือไมมีความแตกตางกัน เพราะแผนธุรกิจที่มีหรือจัดทําขึ้นนั้น
ก็เขียนขึ้นตามรูปแบบมาตรฐานของแผนธุรกิจ ตามที่ไดเคยศึกษา เขารวมอบรม หรือจากการอางอิง
จากคูมือการเขียนแผนธุรกิจมาอยางครบถวน และนาที่จะสามารถใชยื่นเสนอไดตอทุกหนวยงานในทุก
วัตถุประสงค โดยแผนธุรกิจสวนใหญแลวสามารถแบงออกไดเปนประเภทใหญๆ 5 ประเภท คือ แผน
ธุรกิจเพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงิน แผนธุรกิจเพื่อการเริ่มตนธุรกิจ แผนธุรกิจเพื่อการบริหาร
จัดการธุรกิจ แผนธุรกิจที่ใชในการศึกษา และแผนธุรกิจที่ใชในการประกวดแขงขัน โดยในแตละ
ลักษณะของแผนธุรกิจยังสามารถแยกยอยออกไดอีกหลายลักษณะ ซึ่งรายละเอียดของแผนธุรกิจแตละ
ประเภทและประเด็นที่ควรใหความสําคัญ มีรายละเอียดดังนี้คือ

แผนธุรกิจเพือ่ ขอรับการสนับสนุนทางการเงิน

แผนธุรกิจเพือ่ ขอรับการสนับสนุนทางการเงิน จัดเปนแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค


เพื่อใชประกอบการพิจารณา จากหนวยงานหรือบุคคลที่จะใหเงินทุนหรือเงินกูยืมแกกิจการเปนประเด็น
สําคัญ โดยถาแบงยอยแผนธุรกิจประเภทนี้โดยทั่วไปแลว ยังสามารถแยกยอยออกไดเปน 3 ประเภท
คือ แผนธุรกิจเพื่อการขอสินเชื่อหรือการขอกูยืมเงิน แผนธุรกิจเพือ่ การรวมลงทุน แผนธุรกิจเพื่อการ
ขอรับการสนับสนุนเงินชวยเหลือ โดยแตละประเภทยอยเหลานี้มีประเด็นในการพิจารณาตาม
รายละเอียดดังนี้คือ

แผนธุรกิจเพือ่ การขอสินเชื่อหรือการขอกูยืมเงิน แผนธุรกิจประเภทนีจ้ ัดไดวาเปนแผน


ธุรกิจที่ถูกจัดทําขึ้นมากที่สดุ หรือเกือบทั้งหมดของแผนธุรกิจในประเทศไทยที่จดั ทําขึ้น ลวนแลวแตเพื่อ
ใชประกอบการพิจารณาสินเชื่อจากทางธนาคารหรือสถาบันการเงินแทบทั้งสิ้น ประเด็นที่ตองพิจารณาก็

1
คือ นอกเหนือจากขอมูลหรือรูปแบบหัวขอพื้นฐานของแผนธุรกิจโดยทั่วไปแลว ขอมูลในแผนธุรกิจตอง
สามารถแสดงใหเห็นอยางชัดเจนถึงวัตถุประสงคในการใชเงิน จํานวนเงินที่ตองการ แหลงที่มาและใชไป
ของเงินทุนโดยละเอียด รวมถึงตองแสดงใหเห็นถึงกระบวนการ ระยะเวลา หรือจํานวนเงินทีผ่ อนชําระ
คืนเงินกูกับทางธนาคารหรือสถาบันการเงิน อันประกอบดวยสวนของเงินตนและสวนของดอกเบี้ยจาย ที่
เหมาะสมและเปนไปไดจริง ตามขอกําหนดหรือระเบียบการอนุมัติสนิ เชื่อ อีกทั้งจํานวนเงินทีผ่ อนชําระ
ตองเหมาะสมกับรายรับรายจายของธุรกิจ และถาธุรกิจประสบปญหาอยู การไดรับวงเงินสินเชือ่ จะเปน
การแกปญหาที่เกิดขึ้น และธุรกิจจะไมประสบปญหาดังกลาวขึ้นอีกในอนาคต โดยสิ่งทีต่ องจําขึ้นใจ
อยูเสมอคือธนาคารหรือสถาบันการเงินตองการใหมีความเสี่ยงนอยที่สุด ในการใหวงเงิน
สินเชื่อกับผูป ระกอบการรายใดก็ตาม ดังนั้นธนาคารหรือสถาบันการเงินจึงตองการทราบวาธุรกิจนั้น
จะใชวงเงินสินเชื่อที่ไดรับไปเพื่ออะไร เพราะเหตุใด และจากการไดรับวงเงินสินเชื่อนี้จะเกิดอะไรขึ้นกับ
ธุรกิจ ธุรกิจมีความเปนไปไดจริงในการดําเนินการตามทีระบุ สามารถแขงขันกับธุรกิจอื่นๆหรือคูแขงได
หรือไม และที่สําคัญก็คือธนาคารจะมีความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระ หรือธุรกิจมีกระแสรายไดที่
ไมเพียงพอกับการชําระคืนเงินกูหรือไม หรือถาธุรกิจสามารถชําระคืนได เงินสดคงเหลือใน
กิจการจะเพียงพอหรือไม ตอการดําเนินการของธุรกิจทั้งในปจจุบันและอนาคต เพราะการชําระ
คืนเงินกูกับทางธนาคารหรือสถาบันการเงินเปนการชําระดวยเงินสด ดังนั้นธนาคารหรือ
สถาบันการเงินจึงใหความสําคัญ กับสวนที่เปนเงินสดคงเหลือจากรายไดหลังจากหักตนทุน
และคาใชจายทั้งหมดที่เกิดขึ้นของกิจการ หรือกระแสเงินสดสุทธิคงเหลือของกิจการเปนสําคัญ
เปนพิเศษ

ดังนั้นผูจัดทําแผนธุรกิจตองใหความสําคัญในเรื่องดังกลาวเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะในเรื่องของ
ประมาณการตางๆ ถึงที่มาของรายได ตนทุน คาใชจาย ตองประมาณการดวยความเปนจริง มิใช
ประมาณการเพื่อใหธุรกิจดูมีผลกําไรสูงๆ เพราะคิดวาธนาคารหรือสถาบันการเงินจะอนุมัติใหถาเห็นวา
ธุรกิจมีกําไร โดยที่พบเห็นอยูเสมอคือประมาณการใหมีรายได หรือยอดขายในระดับสูงกวาความเปน
จริง สวนตนทุนและคาใชจา ยตางๆก็อยูในเกณฑต่ํากวาความเปนจริง รวมถึงการบิดเบือนเงื่อนไขตางๆ
ทางการคา ไปจากขอเท็จจริงจากการดําเนินการของธุรกิจทั่วไปโดยปกติ เชน กําหนดวาธุรกิจของตน
สามารถซื้อสินคาโดยไดเครดิต 2 เดือน หรือมีเจาหนาหนี้การคา 2 เดือน ทั้งที่โดยปกติธุรกิจทัว่ ไปแบบ
เดียวกันตองซื้อวัตถุดิบดวยเงินสด หรือไดเครดิตการคาไมเกิน 1 เดือน โดยถาเปนการขายก็จะเปนการ
ขายสินคาและรับเปนเงินสดทันที ทั้งที่ในขอเท็จจริงแลวโดยปกติจะตองใหเครดิตการคาแกผูซื้อสินคา
ของธุรกิจไมนอยกวา 1 เดือน เหลานี้เปนตน การบิดเบือนขอมูลเหลานี้อาจจะไมเห็นไดชัดเจนในงบ
กําไรขาดทุน แตถาไดจัดทํางบกระแสเงินสดแลว จะเห็นไดวามีเงินสดคงเหลือเกินกวาความเปนจริงของ
ธุรกิจ ซึ่งผูประกอบการหรือผูเขียนแผนมักคิดวาถาธนาคารหรือสถาบันการเงินพิจารณาในสวนนี้ จะทํา
ใหพิจารณาอนุมัติแกตนเองไดงาย เพราะในขอเท็จจริงแลวเจาหนาที่ธนาคารหรือสถาบันการเงิน จะมิได
ใชขอมูลจากแผนธุรกิจของผูขอสินเชื่อ ในการตัดสินใจทางการเงินแตเพียงอยางเดียว แตจะมีการนํามา
ขอมูลดังกลาวคํานวณใหม โดยใชสมมติฐานหรือตัวแปรตางๆจากมาตรฐานของธุรกิจโดยทั่วไป ไมวา

2
อัตราการเติบโตของตลาด ตนทุนตางๆ รวมถึงเงื่อนไขตางๆ และมักจะใชตวั แปรเหลานี้ในกรณีที่ธุรกิจมี
ปญหาหรือภาวะที่ไมดีที่สุดของเศรษฐกิจ วาธุรกิจยังจะดํารงอยูไดหรือไม หรือจะเกิดปญหาใดขึ้น
โดยเฉพาะดานการเงิน เพื่อการพิจารณาและประเมินธุรกิจเพื่อใหธนาคารมีความเสี่ยงนอยที่สุด ดังนั้น
แผนธุรกิจที่ยนื่ เสนอตอธนาคารหรือสถาบันการเงิน จึงควรแสดงรายละเอียดดังกลาวใหมีความชัดเจน
และเปนความจริงตามลักษณะการดําเนินการของธุรกิจใหมากที่สุด รวมถึงประเมินความเสี่ยงตางๆที่จะ
เกิดขึ้นกับธุรกิจอยางรอบคอบ นอกจากนี้ยังควรมีการใหรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการดําเนินการ
ตางๆของธุรกิจประกอบ ถาเปนธุรกิจทีเ่ คยดําเนินการมากอนหนา เชน ยอดขายที่ผานมา ผลการ
ดําเนินการยอนหลัง รายชื่อ Supplier รายชื่อลูกคา เปนตน เพราะเปนสวนทีธ่ นาคารใชพิจารณาถึง
ศักยภาพในการดําเนินการของธุรกิจ และตองการสิง่ ที่เปนขอพิสจู นหรือขอเท็จจริงที่มีหลักฐานยืนยัน
รวมถึงประมาณการตางๆ เชน อัตราการเติบโต ยอดขาย รายได ผลกําไรของธุรกิจ ควรตั้งอยูบน
พื้นฐานของความระมัดระวัง โดยไมประมาณการในทางที่ดีเกินจริง แตควรประมาณการใหอยูในสิ่งที่
เปนไปไดหรืออยูในภาวะทีธ่ รุ กิจไมดี เพราะถาธุรกิจยังสามารถสรางผลกําไรหรืออยูรอดได ก็จะเปนการ
แสดงใหเห็นวาธนาคารหรือสถาบันการเงิน มีความเสี่ยงนอยในการใหการสนับสนุนแกธุรกิจ

แผนธุรกิจเพือ่ การรวมลงทุน แผนธุรกิจประเภทนีจ้ ัดไดวาเปนแผนธุรกิจที่ถูกจัดทําขึ้นโดยมี


รูปแบบและลักษณะคลายคลึง หรือเกือบจะเรียกไดวา มีลักษณะเหมือนกับแผนธุรกิจเพื่อการขอสินเชื่อ
หรือการขอกูยืมเงิน แตอาจจะมีรายละเอียดบางสวนที่ตองแสดงหรือระบุเพิ่มเติมนอกเหนือออกไป โดย
กอนที่จะกลาวถึงแผนธุรกิจเพื่อการรวมลงทุนนี้ คงตองทําความเขาใจในลักษณะของการนําเสนอของ
การรวมลงทุน ซึ่งจะแบงเปน 2 ลักษณะ คือลักษณะแรกเปนการนําเสนอตอกองทุนรวมลงทุน
(Venture Capital) องคกร หนวยงาน ที่ใหการสนับสนุนดานเงินทุนแกธุรกิจ ซึ่งเกือบทั้งหมดจะ
เปนลักษณะการสนับสนุนดานเงินทุนในรูปของการเขามาเปนหุนสวน (Partners) กับธุรกิจ โดยการซื้อ
หุนของกิจการทําใหกองทุนรวมลงทุนนีจ้ ะอยูในลักษณะผูถือหุนของกิจการ (Shareholders) และมักจะมี
การกําหนดสัดสวนการลงทุนต่ําสุดหรือในระดับสูงสุดเอาไว เมื่อเปรียบเทียบกับทุนของธุรกิจ ซึ่งสวน
ใหญแลวการลงทุนจะตองไมมากจนกองทุนรวมลงทุนกลายเปนผูถอื หุนใหญในธุรกิจ (Major
Shareholder) ทําใหธุรกิจที่จะไดรับการสนับสนุนจากกองทุนรวมลงทุน มักจะตองเปนนิติบคุ คลในรูป
บริษัทจํากัด (Company Limited) ที่สามารถออกหุนสามัญได ตองเปนประเภทธุรกิจทีเ่ ปนไปตาม
ขอกําหนด มีวัตถุประสงคในการใชเงินทุน หรือมีคุณสมบัตติ ามที่กองทุนรวมลงทุนกําหนด รวมถึง
ระยะเวลาที่มขี อกําหนดอยางแนชัดของกองทุนรวมลงทุน ที่กําหนดไววากองทุนรวมลงทุนจะถอนการ
ลงทุน หรือธุรกิจตองซื้อหุนในสวนที่กองทุนรวมลงทุนถือครองอยูคืน โดยระยะเวลาการรวมลงทุนของ
กองทุนรวมลงทุนมักจะไมสั้นหรือยาวจนเกินไป เชน ไมนอยกวา 2 ป แตก็ไมยาวมากกวา 5 ป เปนตน
และการรวมลงทุนอีกลักษณะหนึ่ง ก็คือการนําเสนอตอบุคคลภายนอกซึ่งอาจเปนนักลงทุน
(Investor) หรือบุคคลทัว่ ไปที่ตองการผลตอบแทนจากการลงทุน เชน เพื่อนฝูง ญาติพี่นอง เปนตน
หรือเปนธุรกิจหรือนิติบุคคลดวยกัน ทีต่ องการผลตอบแทนจากการลงทุน หรือมีวัตถุประสงคในการเปน
หุนสวนหรือพันธมิตรทางธุรกิจ โดยการสนับสนุนดานเงินทุนจะมีหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนการเขามา

3
เปนผูถือหุน ทั้งหุนสามัญหรือหุนบุริมสิทธิ์ การทําสัญญาแบงผลกําไร การเขามาเปนกรรมการบริหาร
จัดการ การตกลงในการดําเนินการระหวางกัน หรือแมแตการทําสัญญาในลักษณะการกูยืมก็มี ซึ่ง
ระยะเวลาการรวมทุนหรือการเขาหุนสําหรับบุคคลภายนอกนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงหรือยืดหยุนไดตาม
ขอตกลง เชน อาจรวมหุนเพียง 6 เดือน ตลอดไป หรือรวมไปเรื่อยๆ ตราบใดทีค่ ูสญ ั ญายังคงปฏิบัตติ าม
ขอตกลงระหวางกัน

กองทุนรวมลงทุนมักจะมุงหวังผลตอบแทนในการลงทุน จากมูลคาของธุรกิจที่เพิ่มขึน้
ซึ่งสะทอนจากมูลคาทางบัญชีของกิจการ (Book Value) เมื่อถึงชวงเวลาการถอนตัว (Exit) ของ
กองทุนรวมลงทุน หรือจากผลตอบแทนของเงินปนผล (Dividend) สวนการลงทุนหรือการรวม
ทุนจากบุคคลภายนอก ก็จะมีลักษณะการตองการผลตอบแทนที่คลายคลึงกับกองทุนรวมลงทุน
แตอาจมีรายละเอียดหรือขอตกลงเพิม่ เติม ซึ่งมักจะอยูในอัตราผลตอบแทนที่สงู กวาโดยเฉพาะ
ถาเปนนักลงทุนหรือบุคคลทั่วไป เนื่องจากผูลงทุนที่เปนบุคคลเหลานี้ถือวาตนเองมีความเสี่ยงในการ
ลงทุนในธุรกิจที่สูงกวา เชน อัตราผลตอบแทนคงทีต่ องไมนอยกวาที่ตกลงกันไว การรับประกันการ
จายเงินปนผลใหแกผูลงทุนเมื่อมีผลกําไร การตกลงวาถาบริษทั มีผลกําไรตองไมนําผลกําไรนัน้ ไปลงทุน
เพิ่มจนกวาจะจายเงินปนผลตามขอตกลง การตกลงในราคาซื้อคืนของมูลคาหุนไวลว งหนา หรือการที่
ตองมีสวนเพิม่ ของมูลคา (Premium) เมื่อผูเขาหุนหรือผูรวมทุนขอถอนการลงทุน เปนตน

โดยทั่วไปการเสนอแผนธุรกิจเพื่อการรวมลงทุน มักเกิดจากหลายๆวัตถุประสงค เชน ธุรกิจ


ตองการเงินทุนเพื่อการขยายตัวแตไมตองการใชเงินทุนจากการกูยืม ธุรกิจมีวงเงินจากการกูยืมเต็ม
อัตราที่ทางธนาคารหรือสถาบันการเงินสามารถอนุมัติใหได โดยถาตองการวงเงินสินเชื่อเพิม่ ตองมีการ
เพิ่มทุนในสวนของธุรกิจกอน แตตวั ธุรกิจไมมีเงินทุนสวนของตนเองเพียงพอ ธุรกิจยังไมสามารถระดม
ทุนจากสาธารณะไดเนื่องจากไมอยูในตลาดหลักทรัพย ธุรกิจตองการรวมลงทุนเพื่อสรางพันธมิตรทาง
ธุรกิจ หรือธุรกิจเปนธุรกิจใหมที่ยังไมมีความพรอมเพียงพอ หรือเปนธุรกิจใหมที่มีขอจํากัดหรือมีความ
เสี่ยงสูงในการขอวงเงินสินเชื่อจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน เนื่องจากเปนสินคาประเภทนวัตกรรม
เปนสินคาที่พฒ
ั นาจากทรัพยสินทางปญญา หรือเปนธุรกิจที่มีแนวคิดใหมในตลาด ที่ยังไมสามารถพิสูจน
หรือยืนยันไดวาจะประสบความสําเร็จ เปนตน จากประเด็นดังกลาวจะเห็นไดวา ในสวนของแผนธุรกิจ
สําหรับการรวมทุน นอกจากจะตองมีการแสดงรายละเอียดของโครงสรางขอมูลของแผนธุรกิจโดยทั่วไป
ยังตองแสดงจุดเนนใหเห็นถึงความเติบโตของธุรกิจ (Business Growth) หรือการเพิ่มขึ้นของมูลคาธุรกิจ
(Business Value) เพื่อใหผูลงทุนไมวาจะเปนกองทุนรวมลงทุนหรือนักลงทุน เห็นวาเปนการคุมคาตอ
ความเสี่ยงที่จะลงทุนในธุรกิจ และตนเองจะไดรับผลตอบแทนคุมคากับการลงทุน โดยเฉพาะถาเปน
ธุรกิจประเภทนวัตกรรม หรือเปนธุรกิจทีม่ ีแนวคิดใหมในตลาด ตองสามารถแสดงถึงความเปนไปได ใน
การแขงขันกับธุรกิจที่มีอยูเ ดิม ไมวาจะเปนในแงของการตลาด การผลิต การบริหารจัดการ และ
เนื่องจากสวนใหญของการเขารวมลงทุน ที่ผูลงทุนมักจะอยูในรูปแบบของการเปนเจาของในทางใดทาง
หนึ่ง แผนธุรกิจถือเปนเอกสารสําคัญหรือเปนขอตกลงระหวางธุรกิจกับผูลงทุน ดังนั้นแผนธุรกิจจะถือ

4
เปนเอกสารสัญญาแบบหนึง่ หรือเปนเอกสารประกอบการทําขอตกลงหรือการทํานิติกรรมระหวางกัน ที่
ธุรกิจจะตองดําเนินการไปตามแผนธุรกิจที่ไดระบุไว ไมวาจะเปนวัตถุประสงคในการใชเงิน การ
ดําเนินการตางๆของธุรกิจในแตละชวงเวลา ยอดขายหรือรายได ตนทุนหรือคาใชจายของธุรกิจ ที่ตอง
เปนความจริงหรือมีความใกลเคียงกับความเปนจริง ในการดําเนินการของธุรกิจใหมากที่สุด เพราะ
มิฉะนั้นจะกลายเปนขอขัดแยงหรือขอพิพาทระหวางธุรกิจกับผูลงทุนได ซึ่งจะกอใหเกิดปญหาระหวาง
กันไดในอนาคต และประเด็นหนึ่งทีต่ องใหความสําคัญไมนอยกวาการแสดงถึงความเติบโตของ
ธุรกิจ หรือการเพิ่มขึ้นของมูลคาธุรกิจ ก็คือขั้นตอนหรือแผนการถอนตัว (Exit Plan) ของผู
ลงทุนหรือกองทุนรวมลงทุนวาจะดําเนินการอยางไร เนื่องจากการลงทุนของผูลงทุนหรือกองทุน
รวมลงทุนสวนใหญ เปนการลงทุนดวยเงินสด (Cash Investment) ในการเขามาซื้อหุนเพิ่มทุน หรือซื้อ
หุนของธุรกิจ และเมื่อถึงขั้นตอนการถอนตัวผูล งทุนหรือกองทุนรวมลงทุนก็ตองการเงินสดกลับไป
เชนเดียวกัน ซึ่งโดยปกติทวั่ ไปธุรกิจมักจะไมมีการกันหรือสํารองเงินสดในปริมาณมากไวในธุรกิจ
เนื่องจากเงินสดถือเปนสินทรัพยที่ไมสามารถกอใหเกิดรายไดกับธุรกิจ ถาไมมีการนําเงินสดไปใชในการ
ลงทุน เชน การลงทุนในเครื่องจักร อุปกรณ วัตถุดบิ เพื่อผลิตสินคา ทําใหสําหรับธุรกิจที่ผลู งทุนหรือ
กองทุนรวมลงทุนเขาลงทุนในธุรกิจในสัดสวนสูงๆ เชน มากกวา 25% ขึ้นไป มักพบวาธุรกิจจะประสบ
ปญหาเมื่อถึงชวงขั้นตอนการถอนตัว เพราะธุรกิจมีความจําเปนตองซื้อคืนหุนจากผูลงทุน หรือกองทุน
รวมลงทุนในมูลคาทางบัญชี (Book Value) หรือตามราคาที่ตกลงกันไวลวงหนา ดังนั้นการวางแผน
ในชวงของการถอนตัว จึงถือเปนสิ่งจําเปนที่ควรระบุไวในในแผนธุรกิจสําหรับการรวมทุน วาเมื่อถึงเวลา
ดังกลาวธุรกิจจะดําเนินการอยางไร เชน กําหนดการทยอยซื้อคืนในแตละชวงเวลา กําหนดการซื้อคืนใน
ลักษณะขั้นบันได ราคาที่ซื้อคืนจะกําหนดจากอะไร ขั้นตอนการซื้อคืนและการโอนหุน โดยถา
กําหนดการซื้อคืนในตลาดซึ่งมีวัตถุประสงค หรือวางเปาหมายในการนําเขาตลาดทุน เชน ตลาด
หลักทรัพย ยังอาจตองระบุถึงขั้นวาจะซื้อคืนในชวงใดของตลาดหรือในราคาใดอีก เชน ซื้อคืนในราคา
IPO ซื้อคืนในราคาปดของตลาดวันแรก เปนตน ดังนั้นจะเห็นไดวาขั้นตอนการถอนตัวของผูลงทุน
หรือกองทุนรวมลงทุนดังกลาวเปนขั้นตอนที่สําคัญและมีความยุงยาก แตก็เปนขั้นตอนที่มักถูก
ละเลยหรือมิไดวางแผนไวตงั้ แตตน ทําใหธุรกิจมักประสบปญหาและยากตอการแกไขเมื่อครบ
กําหนดเวลา ซึ่งจะแตกตางจากแผนธุรกิจที่มีวตั ถุประสงคเพือ่ การขอสินเชื่อหรือการขอกูยืมเงิน
เนื่องจากเงินที่คืนหรือธุรกิจตองจายชําระคืนธนาคารหรือสถาบันการเงิน มีมูลคาไมมากนักในแตละงวด
เมื่อเทียบกับเงินที่ไดรับและเปนการทยอยชําระคืนเปนงวดๆ มีระยะเวลาการชําระคืนที่สม่ําเสมอหรือมี
กําหนดเวลาอยางชัดเจน แมวาแผนธุรกิจทั้ง 2 แบบนี้จะมีวตั ถุประสงคเพื่อขอรับการสนับสนุนทาง
การเงินเชนเดียวกันก็ตาม แตก็มีความจําเปนที่ผูเขียนจะตองพิจารณา และแสดงรายละเอียดใหถูกตอง
ตามวัตถุประสงคในการนําเสนอดวย

แผนธุรกิจเพือ่ การขอรับเงินสนับสนุนชวยเหลือ แผนธุรกิจประเภทนี้ที่ถูกจัดทําขึ้นก็อาจมี


รูปแบบและลักษณะคลายคลึง หรือเกือบจะเรียกไดวา มีลักษณะเหมือนกับแผนธุรกิจเพื่อการขอสินเชื่อ
หรือการขอกูยืมเงิน หรือแผนธุรกิจเพือ่ การรวมลงทุน แตสิ่งที่อาจแตกตางออกไปก็คือ เรือ่ งของแหลง

5
เงินทุนในการสนับสนุนและวัตถุประสงค ที่จะมีลักษณะเฉพาะเจาะจงลงไปอยางชัดเจน ซึ่งโดยสวนใหญ
แลวการขอรับเงินสนับสนุนชวยเหลือ มักเกิดขึ้นจากผูประกอบการที่มีขอจํากัดดานเงินทุน หรือมีเงินทุน
ไมเพียงพอที่จะดําเนินการกูยืมจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน หรือจากกองทุนรวมลงทุนโดยปกติได
เชน ตองการเงินทุนเพื่อใชในการพัฒนาและวิจัย ตองการเงินทุนเพื่อนําไปใชพฒ ั นาตอยอดจากสินคา
หรือผลิตภัณฑเดิม ตองการเงินทุนเพื่อใชในการเริ่มตนธุรกิจ ภายหลังจากผลิตสินคาตนแบบ
(Prototype) แลวเสร็จ ธุรกิจเปนการผลิตสินคาหรือผลิตภัณฑทเี่ ปนนวัตกรรม ซึ่งธนาคารหรือสถาบัน
การเงินพิจารณาวามีความเสี่ยงสูงและปฏิเสธการสนับสนุน ตนเองไมมีเงินทุนในการประกอบธุรกิจโดย
มีเพียงเฉพาะทรัพยสินทางปญญาเหลานี้ ทําใหตองการขอรับเงินสนับสนุนชวยเหลือจากหนวยงานที่ให
การสนับสนุนเงินทุนแกผูประกอบการ โดยเงินสนับสนุนชวยเหลือที่หนวยงานใหแกผูประกอบการนี้
อาจอยูในรูปของเงินสด (Cash) หรือเปนความชวยเหลือที่ไมใชเงินสดแตเทียบเทากับเงินสดได (In-
kind) เชน สถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ บุคลากร เปนตน ซึ่งความชวยเหลือที่ไมใชเงินสดนี้อาจเปนสวน
ความชวยเหลือของศูนยบมเพาะวิสาหกิจ หรือมหาวิทยาลัย เปนตน แตโดยสวนใหญแลวผูประกอบการ
มักจะตองการในรูปของเงินสดมากกวา ซึ่งเงินสนับสนุนหรือเงินชวยเหลือนี้อาจอยูในรูปเงินใหเปลา
(Grant or Grant-in-aid) หรือเงินกูอัตราดอกเบี้ยพิเศษ หรืออาจเปนลักษณะของการรวมลงทุนกับธุรกิจ
ก็เปนได ซึ่งสําหรับเงินใหเปลาแกผูประกอบการมักใหเพื่อการพัฒนาและวิจัย (Research and
Development) สวนเงินกูอัตราดอกเบี้ยพิเศษ เชน เงินกูปลอดดอกเบี้ย มักใหเพื่อการเริ่มตนธุรกิจภาย
หลังจากผูประกอบการที่มีการผลิตสินคาตนแบบแลวเสร็จพรอมที่จะเริ่มตนธุรกิจ แตยังไมมีเงินทุน
เนื่องจากไดลงทุนไปในสวนสินคาตนแบบ โดยประเด็นเรื่องของเงินกูปลอดดอกเบี้ยนี้ ยังมี
ผูประกอบการที่ขาดความเขาใจอยูเปนจํานวนมาก โดยเขาใจวาผูใหกูคือหนวยงานที่ใหการ
สนับสนุนแกผูประกอบการ เพราะในขอเท็จจริงแลวเงินกูทเี่ ปนเงินชวยเหลือนั้น เปนเงินกูจาก
ทางธนาคารที่หนวยงานนั้น ไดทําการติดตอประสานงานไวตามเงื่อนไขในการใหการสนับสนุน
โดยหนวยงานสนับสนุนเปนผูชําระในสวนดอกเบีย้ จายแทนผูป ระกอบการ สวนเงินตนนั้น
ผูประกอบการตองเปนผูร ับภาระชําระแกทางธนาคารเอง ทําใหในเงื่อนไขตางๆในการใหเงิน
ชวยเหลือนี้ในบางกรณีซงึ่ มักจะเปนสวนใหญ จึงมีลักษณะเชนเดียวกับการกูยืมเงินจากทาง
ธนาคารหรือสถาบันการเงินโดยทัว่ ไป เพียงแตจํานวนยอดเงินการชําระจะนอยกวาการกูเงิน
โดยปกติ เนื่องจากผูประกอบการมิตองชําระคืนในสวนดอกเบี้ย รวมถึงเงื่อนไขการชําระซึง่
มักจะเหมือนกับการขอสินเชื่อโดยทัว่ ไป เชน อาจตองมีหลักทรัพยค้ําประกัน การชําระคืนเงินกู
ทุกๆเดือน เปนตน มิใชเปนกรณีพิเศษเกินกวาปกติ เชน ในเงื่อนไขการสนับสนุนเงินกูปลอดดอกเบี้ย
มีระยะเวลาการกู 3 ป ผูประกอบการจึงเสนอขอชําระคืนเงินกูทงั้ หมดเมื่อสิ้นปที่ 3 ซึ่งกรณีดังกลาว
อาจจะไมสามารถทําได เปนตน โดยตัวอยางหนวยงานที่ใหการสนับสนุนแกผปู ระกอบการในลักษณะ
เงินชวยเหลือนี้ ไดแก สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงชาติ (สวทช.) กรมสงเสริมอุตสาหกรรม สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟทแวรแหงชาติ (องคกร
มหาชน) เปนตน แตในการสนับสนุนแบบดังกลาวนี้ ผูประกอบการจะตองอยูในเงื่อนไขเฉพาะ หรือเปน
กลุมประเภทธุรกิจที่กําหนดไว เชน เปนธุรกิจที่มีลกั ษณะและขอบงชี้ทางนวัตกรรมอยางชัดเจน เปน

6
ธุรกิจถูกพัฒนาขึ้นโดยตัวผูป ระกอบการเองอันเกี่ยวของกับทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และธุรกิจ
ตองมีประโยชนในเชิงเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งจากขอจํากัดดังกลาวจะเห็นไดวามีธุรกิจ
จํานวนไมมากนัก ที่สามารถขอรับการสนับสนุนดังกลาวได อีกทั้งโปรแกรมการใหเงินสนับสนุน
ชวยเหลือจากหนวยงานเหลานี้ มักจะมีกําหนดระยะเวลาการเขารวมโครงการ โดยมิใชจะคงอยูโดย
ตลอด เนื่องจากเงินสนับสนุนนี้มักมาจากการสนับสนุนจากภาครัฐ หรือผูกพันอยูกับงบประมาณประจําป
จากภาครัฐ ซึ่งผูประกอบการที่ตองการขอรับการสนับสนุนเงินชวยเหลือนี้ จําเปนตองศึกษาและทํา
ความเขาใจถึงเงื่อนไข หลักเกณฑ และรายละเอียดตางๆใหครบถวนกอนนําเสนอโครงการ

ในสวนประเด็นของแผนธุรกิจที่ผูประกอบการนําเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุนชวยเหลือนี้ สวน
ใหญแลวหนวยงานที่ใหการสนับสนุนมักจะมีโครงราง (Outlines) หรือแมแบบของแผนธุรกิจ (Template)
ที่กําหนดไว ใหผูประกอบการแสดงรายละเอียดตางๆตามหัวขอทีห่ นวยงานกําหนด ซึ่งอยางไรก็ตาม
ผูประกอบการก็สามารถใชรูปแบบโครงรางของแผนธุรกิจโดยทั่วไปได แตรายละเอียดทีต่ อ งแสดง
เพิ่มเติมมักจะเปนเรื่องของความชัดเจนของตัวสินคาหรือผลิตภัณฑ เชน ขอบงชี้ของความเปน
นวัตกรรม การเปนสินคาใหม การพัฒนาจากสินทรัพยทางปญญา เปนตน ซึ่งถือเปนขอกําหนดพื้นฐาน
ของการสนับสนุน นอกจากนี้ในแผนธุรกิจยังควรแสดงถึงความเปนไปไดในการประกอบธุรกิจ หรือความ
เปนไปไดในเชิงพาณิชย เนื่องจากแมวาสวนใหญแลวเงินสนับสนุนเหลานี้ หนวยงานจะมิไดมุงหวังการ
หาผลกําไรจากตัวธุรกิจในแงของการลงทุน แตวตั ถุประสงคในการสนับสนุนก็คือตองการให
ผูประกอบการสามารถนําผลิตภัณฑ สินคา หรือบริการ ไปประกอบเปนธุรกิจจริงได ตองมีความเปนไป
ไดในเชิงพาณิชย และสามารถเติบโตไดในอนาคต ดังนั้นการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการวางแผนใน
การดําเนินธุรกิจ จึงถือเปนเรื่องสําคัญเชนเดียวกัน ไมวาจะเปนแผนการบริหารจัดการบุคลากร แผนการ
ตลาด แผนการผลิตหรือบริการ และแผนการเงิน โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนการตลาดที่ตองมีความชัดเจน
เปนอยางยิ่ง เพราะสวนใหญเงินสนับสนุนชวยเหลือนี้มักใหกับธุรกิจที่เปนนวัตกรรม หรือเปนธุรกิจที่
พัฒนาจากทรัพยสินทางปญญา หรือธุรกิจที่ตองมีแนวคิดใหม ซึ่งความชัดเจนวาในเชิงของการตลาด
สามารถทําไดจริงหรือไม ถือเปนประเด็นสําคัญสําหรับสินคาหรือผลิตภัณฑใหมดังกลาว ไมวาจะเปน
เหตุผลที่ลูกคาหรือผูบริโภคจะตัดสินใจเลือกซื้อสินคาหรือผลิตภัณฑ การตอบสนองตอสภาวะตลาดหรือ
ความตองการของผูบริโภค การแขงขันกับธุรกิจที่มีอยูเ ดิม เปนตน และรายละเอียดอีกสวนหนึ่งที่สมควร
ระบุไวคือเรื่องของการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เพื่อระบุถึงความเสี่ยงและกระบวนการ
บริหารจัดการความเสี่ยงตางๆที่จะเกิดขึน้ กับธุรกิจ ทั้งจากภายในตัวของธุรกิจเองและผลกระทบจาก
ปจจัยภายนอก ซึ่งถือเปนขอจํากัดสําคัญสําหรับธุรกิจประเภทนี้เชนเดียวกัน รวมถึงการผอนชําระคืน
เงินกูแกหนวยงานหรือธนาคาร ซึ่งคลายคลึงกับแผนธุรกิจเพื่อการขกูเงิน และในสวนประเด็นสําคัญอีก
ประเด็นหนึ่งก็คือ ในการใหการสนับสนุนโดยเงินทุนสนับสนุนชวยเหลือนี้ มักจะตองเปนธุรกิจที่มี
ประโยชนในเชิงเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ ดังนั้นการระบุเกี่ยวกับประโยชนในเชิงเศรษฐกิจและสังคม
ที่ธุรกิจสามารถสรางขึ้นได ก็ถือเปนประเด็นสําคัญในการพิจารณาจากหนวยงานทีใ่ หการสนับสนุน เชน
การทดแทนการนําเขาสินคาจากตางประเทศ การสนับสนุนการสรางงานและอุตสาหกรรม การสนับสนุน

7
การจางงาน เปนตน โดยการแสดงรายละเอียดผลประโยชนในเชิงเศรษฐกิจและสังคมนี้ อาจแสดงในรูป
ของตัวเงิน หรือไมอยูในรูปของตัวเงินก็ไดแลวแตกรณี ขึน้ อยูกับวาธุรกิจดังกลาวสามารถวัดผล
ประโยชนออกมาเปนตัวเลข หรือหนวยนับไดสะดวกและชัดเจนหรือไม ซึ่งจากที่กลาวมาทั้งหมดถือวา
เปนประเด็นสําคัญที่ผูจัดทําแผนธุรกิจเพือ่ การขอรับเงินสนับสนุนชวยเหลือ ตองใหความสําคัญในการ
จัดทําในการนําเสนอทุกครั้ง

แผนธุรกิจเพือ่ การเริ่มตนธุรกิจ แผนธุรกิจประเภทนี้ที่จะถูกจัดทําขึ้นจากผูประกอบการ


สําหรับการเริม่ ตนธุรกิจใหม โดยอาจจะมิไดใชเพื่อการนําเสนอตอธนาคารหรือสถาบันการเงิน หรือ
หนวยงานอื่นๆเพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงิน เหมือนแผนธุรกิจเพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงิน
ตามที่ไดเคยกลาวมากอนหนา หรืออาจถือวาเปนแผนธุรกิจที่ใชเฉพาะเปนการภายในหรือไมมีการเสนอ
ตอบุคคลภายนอก โดยแผนธุรกิจประเภทนี้จะมีลักษณะที่คลายคลึงกับ การศึกษาความเปนไปได
ของโครงการ (Feasibility Study) ที่จะศึกษาวาในการลงทุนโครงการหรือการลงทุนของธุรกิจนั้น มี
ความคุมคาตอการลงทุนทีก่ ําหนดขึ้นหรือไม หรือสามารถตอบโจทยหรือวัตถุประสงคในการทําโครงการ
หรือไมอยางไร ซึ่งผูเขียนจะไดกลาวถึงความแตกตางระหวางแผนธุรกิจ (Business Plan) แผนการ
ตลาด (Marketing Plan) แผนกลยุทธ (Strategic Plan) และการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ
(Feasibility Study) วามีความใกลเคียงหรือแตกตางกัน และใชในวัตถุประสงคใดในโอกาสตอๆไป
เนื่องจากมีผูประกอบการสวนใหญยังไมมีความเขาใจ หรือมีความคลุมเครือในแผนประเภทตางๆ ทําให
ในบางครั้งเขาใจวาสามารถใชทดแทนกันไดซึ่งก็อาจไมถูกตองเสมอไปนัก

โดยทั่วไปแลวในการจัดทําแผนธุรกิจเพื่อการเริ่มตนธุรกิจ ผูประกอบการมักใชเพือ่ ประมาณการ


ในการลงทุนเริ่มตน อันประกอบดวยการลงทุนในสินทรัพยตางๆ เชน ที่ดิน อาคาร พื้นที่ เครื่องจักร
อุปกรณ การตกแตงปรับปรุงตางๆ เปนตน สวนของคาใชจายที่จะเกิดขึ้นหรือไดเกิดขึ้นกอนหนา เชน
คาเชา คาสาธารณูปโภค เงินเดือนพนักงานหรือบุคลากร คาใชจายในการดําเนินการจัดตั้งธุรกิจ เปนตน
สวนของเงินทุนหมุนเวียนในธุรกิจ เชน คาใชจายในการซื้อวัตถุดิบ คาใชจายในการผลิต คาใชจาย
สําหรับสินคาสําเร็จรูป เปนตน นอกจากในเรื่องของประมาณการดังกลาว ก็จะเปนในเรื่องของการ
ประมาณการเกี่ยวกับจํานวนลูกคา ยอดขายสินคา ตนทุนตางๆ เพื่อคํานวณหาสวนตางระหวางรายได
กับตนทุนหรือคาใชจาย หรือคํานวณเพื่อหาผลกําไรหรือขาดทุนของธุรกิจ ระยะเวลาคืนทุนของธุรกิจ ซึ่ง
เทาที่ปรากฏสวนใหญแลว การจัดทําแผนธุรกิจประเภทนี้ของผูประกอบการ มักจะมีอยูสองลักษณะ คือ
เนนหนักไปทางดานการเงิน หรือผลลัพธทางการเงินเปนสวนใหญ หรือในทางกลับกันผูประกอบการจะ
มีการเนนหนักไปที่ขอมูลดานสินคา ผลิตภัณฑ หรือบริการโดยละเอียด แตกลับไมมีรายละเอียดเกี่ยวกับ
ประมาณการตางๆทางการเงิน หรือมีรายละเอียดเพียงเล็กนอย ซึง่ ในขอเท็จจริงแลวแผนธุรกิจเพื่อ
การเริ่มตนถือเปนแผนธุรกิจที่มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะถือเปนจุดเริ่มตนในการ
ดําเนินการของธุรกิจ ดังนั้นการวางแผนจึงตองใหความสําคัญในทุกๆดานโดยละเอียด เพราะ
แผนธุรกิจหรือการวางแผนของธุรกิจดังกลาว จะเปรียบเสมือนแผนที่ (Map) ในการดําเนิน

8
ธุรกิจของผูประกอบการ ถาธุรกิจเริ่มตนดําเนินการในทิศทางที่ถูกตอง หรือไมหลงทางตัง้ แต
แรก ธุรกิจก็จะสามารถดําเนินการไดอยางตลอดรอดฝง และมีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จถา
ไดมีการวางแผนมาเปนอยางดี แตที่ปรากฏคือธุรกิจมักจะไมมีการวางแผนหรือจัดทําแผนธุรกิจเพื่อ
การเริ่มตนธุรกิจอยางถูกตองและรัดกุมเพียงพอ ทําใหธุรกิจเมื่อเริ่มตนหรือดําเนินการไปชั่วระยะเวลา
หนึ่ง ธุรกิจก็มกั จะประสบปญหาจนตองมีการจัดทําแผนธุรกิจ เพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงินจาก
ธนาคารและสถาบันการเงิน และก็จะพบวาปญหาดังกลาวทีเ่ กิดขึน้ นั้นมักมีสาเหตุ หรือมีที่มาจากชวง
ของการเริ่มตนของธุรกิจนั่นเอง

ประเด็นสําคัญสําหรับแผนธุรกิจเพื่อการเริ่มตนนั้น ควรเนนในเรื่องของการวางแผนและการ
วิเคราะหดานการตลาด โดยเฉพาะเรื่องของลูกคาเปาหมาย การแขงขันกับธุรกิจอื่นที่มีอยูในตลาด การ
ประมาณการเกี่ยวกับจํานวนลูกคา ยอดขาย ทีต่ องสะทอนภาพของความเปนจริง เชน อัตราการเพิ่มขึ้น
ของยอดขาย ซึ่งโดยปกติแลวสําหรับธุรกิจใหมยอ มไมสามารถสรางยอดขายในระดับสูงในชวงแรก
เพราะลูกคายังไมรูจักธุรกิจ ดังนั้นการประมาณการรายไดยอมไมอยูในอัตราสูง หรือสามารถใชคาเฉลี่ย
โดยปกติได นอกจากนี้การประมาณการตางๆในการลงทุนในชวงเริ่มตนของธุรกิจ ตองแสดงแหลงที่มา
และใชไปของเงินทุน (Source and Use of Fund) อยางชัดเจนวาแหลงที่มานั้น มาจากแหลงใดใน
จํานวนเทาใด เชนจากผูถอื หุนทั้งหมด หรือมีความจําเปนตองใชเงินทุนจากแหลงเงินกูรวมดวย การ
ประมาณการควรจัดทําเปนรายเดือน (Monthly Forecast) โดยเฉพาะในสวนที่เปนกระแสเงินสด
(Cash Flow) เพื่อพิจารณาวาในแตละเดือนตัง้ แตเริ่มตนธุรกิจนั้น ธุรกิจมีกระแสรายรับ-
รายจายที่เปนเงินสดอยางไร โดยถากระแสเงินสดติดลบหรือไมเพียงพอ จะไดมีการกําหนดหรือ
วางแผนในการหาแหลงเงินกูระยะสั้น เชน วงเงินเบิกเกินบัญชี (O/D or Overdraft) หรือตั๋วสัญญาใชเงิน
ระยะสั้น (P/N or Promissory Note) เปนตน เพราะเงินสดถือเปนปจจัยสําคัญทีส่ ุดในความอยูรอดของ
ธุรกิจ โดยเฉพาะสําหรับธุรกิจใหมที่มักพบวากระแสเงินสด มักจะไมเพียงพอและมักขาดอยูเสมอในชวง
เริ่มตน หรือประมาณ 3-6 เดือนแรกในการดําเนินการ อันเนื่องจากยอดขายยังมีนอย การใชเงินสดไป
เพื่อการลงทุนในสินทรัพยตา งๆ เงินสดที่ใชซื้อวัตถุดบิ หรือสินคาเพื่อผลิต เงินทุนหมุนเวียนในธุรกิจ
หรือระยะเวลาเครดิตการคา รวมถึงคาใชจายคงที่ของกิจการ เชน คาเชา เงินเดือนพนักงาน เปนตน
การประมาณการเกี่ยวกับตนทุนและคาใชจายของธุรกิจ ควรประมาณการใหใกลเคียงกับความเปนจริง
หรืออาจใหสูงกวาความเปนจริงตามมาตรฐานของธุรกิจปกติโดยทั่วไป เนื่องจากขอเท็จจริงสําหรับธุรกิจ
ใหมก็คือ ยังไมเปนที่รูจักของลูกคาหรือกับธุรกิจดวยกันเอง เชน Suppliers ทําใหเมื่อตองซื้อวัตถุดิบ
หรือสินคา อาจจําเปนตองซื้อดวยเงินสดหรือไดเครดิตเพียงระยะสัน้ ๆ ไมเหมือนกับธุรกิจที่ดาํ เนินการ
มากอนเนื่องจากยังไมมีความเชื่อถือระหวางกัน ในขณะที่สําหรับลูกคาก็จะขอเครดิตการคาจากธุรกิจ
ยาวกวาธุรกิจอื่น เนื่องจากธุรกิจเปนธุรกิจใหมยังไมมีอํานาจตอรอง หรือถาไมยอมรับเงื่อนไขเครดิต
การคาดังกลาว ก็จะไมสามารถแขงขันกับธุรกิจอื่นทีม่ ีอยูได เปนตน ซึ่งจะสงผลใหเกิดปญหาเกี่ยวกับ
กระแสเงินสดของธุรกิจตามที่ไดกลาวมา ซึ่งผูประกอบการตองมีการวางแผนและจัดทําแผนธุรกิจอยาง
รอบคุมรัดกุมเพื่อมิใหเกิดปญหาดังกลาว แตในขณะเดียวกันในสวนอื่นๆของแผนธุรกิจ เชน แผนบริหาร

9
จัดการ แผนการผลิตหรือบริการก็ควรใหความสําคัญเชนเดียวกัน โดยเฉพาะเกี่ยวกับการประเมิน
ความเสี่ยงตางๆของธุรกิจ (Risk Assessment) ตั้งแตชว งเริม่ ตนจนดําเนินการแลว หรือทั้งใน
ปจจุบันและในอนาคต รวมถึงการแกไขปญหาจากความเสี่ยงถาเกิดเหตุการณดังกลาวขึ้น หรือ
มีแผนฉุกเฉิน (Contingency Plan) เพื่อรองรับ

แผนธุรกิจเพือ่ การเริ่มตนธุรกิจนั้นถือเปนจุดเริ่มตน หรือแผนที่สําหรับการดําเนินการของธุรกิจ


เพราะถาไดมีการวางแผนและจัดทําไดอยางถูกตอง ก็จะใชเปนจุดเริ่มในการวัดและประเมินผลในการ
ดําเนินการ และถือเปนการจัดทําบันทึกของธุรกิจ (Business Diary) สามารถใชในการปรับปรุงเพื่อเปน
ฐานในการจัดทําแผนธุรกิจในปถัดไป รวมถึงปรับปรุงเพื่อเปนแผนธุรกิจเพื่อขอรับการสนับสนุนทาง
การเงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินถามีความจําเปน ผูประกอบการจึงควรตระหนักและให
ความสําคัญในการจัดทําแผนธุรกิจเพื่อการเริ่มตน แมวาจะไมตองขอรับการสนับสนุนทางการเงิน หรือ
จัดทําแผนธุรกิจเพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงินก็ตาม

แผนธุรกิจเพือ่ การบริหารจัดการธุรกิจ แผนธุรกิจประเภทนี้ที่จะถูกจัดทําขึ้นจาก


ผูประกอบการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการบริหารจัดการธุรกิจโดยตรง ซึ่งอาจเนื่องมาจากวัตถุประสงค
ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการบริหารจัดการ เชน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกรของ
ธุรกิจ การเพิ่มหรือปรับปรุงกระบวนการทางการผลิตหรือการใหบริการ การตองการเพิ่มความสามารถ
ทางการตลาดเพื่อการแขงขัน การตั้งเปาหมายเพื่อเปนแนวทางใหกับพนักงานในองคกร เปนตน หรือ
วัตถุประสงคในการขยายธุรกิจ เชน การเปดสาขาใหม การลงทุนสรางโรงงานใหม การเพิ่มกําลังการ
ผลิตดวยการซื้อเครื่องจักรหรือเทคโนโลยีใหม การออกสินคาใหม การลงทุนในธุรกิจใหมเพิม่ เติม เปน
ตน หรือวัตถุประสงคเพื่อการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นตางๆ เชน ยอดขายสินคาทีล่ ดลง การขาดเงินทุน
หมุนเวียน ตนทุนและคาใชจายของธุรกิจที่เพิ่มขึ้น เปนตน ซึ่งอาจเปนการเพิ่มเติมในรายละเอียด หรือ
การตอยอดจากแผนธุรกิจเพื่อการเริ่มตนธุรกิจที่ไดเคยทํามากอนหนา เนื่องจากไมมีการระบุหรือ
วางแผนไวกอนลวงหนา หรือมีผลลัพธในการดําเนินการที่แตกตางจากที่ประมาณการไวก็เปนได ซึ่งใน
บางกรณีเปนเรื่องของการบริหารงานภายในตัวธุรกิจเอง หรือถาตองมีการใชแหลงเงินทุนจากหนวยงาน
ภายนอก ก็อาจถูกใชปรับปรุงไปเปนแผนธุรกิจเพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงินตอไป โดยแผนธุรกิจ
เพื่อการบริหารจัดการธุรกิจนี้ในบางสวนจะมีขอมูลหรือรายละเอียดบางสวนที่ไดมาจาก การศึกษาความ
เปนไปไดของโครงการ (Feasibility Study) ที่ธุรกิจจัดทําขึ้น เชน ความคุมคาตอการลงทุนถามีการเพิ่ม
กําลังการผลิต ผลตอบแทนจากการลงทุนที่ยอมรับไดตามงบประมาณที่มีอยู ธุรกิจจสามารถมีผลกําไร
หลังจากประสบภาวะขาดทุนถาไดรับวงเงินสินเชื่อที่ตอ งการ เปนตน แตในที่นี้จะมุงเนนถึงเรื่องของแผน
ธุรกิจหรือการวางแผนธุรกิจที่มีวัตถุประสงคเพื่อการบริหารจัดการโดยตรง โดยจะไมกลาวยอนใน
ประเด็นที่ใชเพื่อการขอรับการสนับสนุนทางการเงิน เนื่องจากไดเคยกลาวถึงมากอนหนานี้แลว และ
โครงสรางสวนใหญก็จะมีลกั ษณะเหมือนหรือคลายคลึงกัน เพียงแตตางกันทีว่ ตั ถุประสงคเพื่อใชเปนการ

10
ภายใน และอาจมิไดมีการแสดงรายละเอียดบางสวนใหบุคคลภายนอก เชน ธนาคารหรือสถาบันการเงิน
รับทราบ

ประเด็นสําคัญในเรื่องของแผนธุรกิจเพือ่ การบริหารจัดการธุรกิจนั้น คือเรื่องของความชัดเจน


และการวางแผนในการกําหนดกิจกรรม (Activities) แผนกลยุทธ (Strategic Plan) แผนดําเนินงาน
(Implementation Plan) หรือแผนปฏิบัตกิ าร (Action Plan) ของธุรกิจเปนสําคัญ ซึ่งอาจจะมีการระบุถึง
ปญหาหรือเหตุผลในการดําเนินกิจกรรม เปาหมายและวัตถุประสงคของการดําเนินการ ลักษณะกิจกรรม
ผูรับผิดชอบในการดําเนินงาน ระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุด คาใชจายหรืองบประมาณ ตัวชีว้ ัดหรือ
ผลสัมฤทธิ์ในการดําเนินการ เปนตน ซึ่งจะเห็นไดวาเปนเรื่องของการบริหารจัดการภายในของธุรกิจเปน
สวนใหญ หรืออาจจะตองมีสวนที่เกีย่ วของกับบุคคลภายนอกกับธุรกิจดวยเชนกัน เชน Suppliers คูคา
เครือขาย เปนตน แตในเรือ่ งของแผนงานในการบริหารจัดการนี้ อาจมิใชทุกๆสวนในการดําเนินการหรือ
การบริหารจัดการของธุรกิจ จึงอาจมีรายละเอียดที่เนนใหเห็นเฉพาะดานที่ตองการปรับปรุงหรือบริหาร
จัดการโดยเฉพาะ เชน แผนการตลาด (Marketing Plan) แผนการผลิตหรือการใหบริการ (Production
Plan or Service Plan) แผนการบริหารจัดการ (Operation Plan) หรือแผนการเงิน (Financial Plan)
ดานใดดานหนึ่ง เปนตน หรือหลายๆดานรวมกัน

เนื่องจากแผนธุรกิจเพื่อการบริหารจัดการธุรกิจ ถือเปนแผนดําเนินการภายในของธุรกิจ
ดังนั้นจึงอาจไมมีรูปแบบที่ชัดเจน หรือตองเปนทางการตามมาตรฐานของแผนธุรกิจทั่วไปนัก
เชน อาจไมตองมีการแสดงในสวนของบทสรุปผูบ ริหาร (Executive Summary) หรือประวัติ
ความเปนมาของธุรกิจ (Business Review) เปนตน โดยสามารถนําโครงสรางทัว่ ไปของแผน
ธุรกิจ เชน แผนธุรกิจเพือ่ ขอรับการสนับสนุนทางการเงิน หรือแผนธุรกิจเพื่อการเริ่มตนธุรกิจ
มาเพิ่มเติมรายละเอียดเฉพาะสวนทีต่ องการได แตตองตระหนักอยูเสมอวาถามีการปรับปรุง
หรือแกไขแผนงานสวนใดสวนหนึ่ง ยอมสงผลกระทบไปยังแผนงานอื่นๆของธุรกิจ หรือสงผล
กระทบตอธุรกิจในภาพรวมเสมอไมทางใดก็ทางหนึ่ง เชน การเพิ่มเครื่องจักรหรือประมาณการใน
การผลิต ยอมสงผลกระทบตอเงินทุนหมุนเวียนหรือคาใชจายที่เพิม่ ขึ้น เชน ตองจายคาวัตถุดิบมากขึ้น
ตองจายเงินเดือนพนักงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากตองมีการวาจางพนักงานในการผลิตหรือพนักงานขาย
ตนทุนการตลาด การขนสง ที่เพิ่มขึ้นเชนกัน หรือ การไดรับวงเงินสินเชือ่ เพื่อแกไขปญหาเงินทุน
หมุนเวียนในเรื่องการ Stock วัตถุดิบนัน้ จะชวยใหธุรกิจมีตนทุนวัตถุดิบทีต่ ่ําลง เนื่องจากไมตองซื้อ
วัตถุดิบในชวงที่ราคาสูง หรือการซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตในปริมาณที่เพิ่มขึ้น จะชวยใหเกิดการประหยัด
ตอขนาด (Economy of Scale) ซึ่งจะทําใหธุรกิจใชเงินทุนหมุนเวียนในสัดสวนที่ลดลงเมือ่ เทียบกับ
รายได ซึ่งจะเห็นไดวาจากรายละเอียดตางๆของการดําเนินการที่ปรากฏนั้นมีความสัมพันธกนั ทั้งหมด
นอกจากนี้ถาแผนธุรกิจเพือ่ การบริหารจัดการธุรกิจนี้ถูกใชเพื่อการกําหนดเปาหมาย หรือการควบคุม
ภายใน เชน ยอดขาย การลดตนทุน การสรางรายไดตอหัวของพนักงาน อาจมีการแสดงเฉพาะขอมูลที่
เกี่ยวของหรือเปดเผยใหกับผูเกี่ยวของรับทราบ โดยอาจมิไดมีการเปดเผยทุกๆสวนของแผนงาน เพื่อ

11
เปนการปองกันความลับ หรือกลยุทธในการดําเนินการของธุรกิจรั่วไหลออกไปภายนอก รวมถึงเนื้อหา
ของแผนธุรกิจเพื่อการบริหารจัดการธุรกิจนี้ จะมีขอมูลหรือรายละเอียดจํานวนมาก ซึ่งจะเปนการไม
สะดวกที่จะแสดงรายละเอียดทั้งหมด รวมถึงรายละเอียดนั้นก็อาจไมมีความจําเปนที่จะใชเพือ่ เปนแผน
ธุรกิจเพื่อการขอรับการสนับสนุนทางการเงิน เนื่องจากมีขอมูลหรือรายละเอียดที่ไมเกี่ยวของ หรือไมมี
ความจําเปนในการพิจารณาของทางธนาคารหรือสถาบันการเงิน แตถาแผนดังกลาวใชนาํ เสนอในการ
ขอรับการสนับสนุนทางเงิน ก็ควรจะตองมีการแสดงงบประมาณคาใชจายตางๆ หรือการใชเงินเพื่อการ
ดําเนินในแตละกิจกรรมใหชัดเจน รวมถึงผลลัพธจากการใชวงเงินดังกลาวในการตอบสนองตอ
วัตถุประสงคหรือการแกปญหาที่เกิดขึ้นของธุรกิจ จากกระบวนการในการบริหารจัดการของธุรกิจที่
เปลี่ยนแปลงไป

แผนธุรกิจเพือ่ การบริหารจัดการธุรกิจนี้ถือเปนสิ่งสําคัญ หรืออาจวาเปนสวนที่มีความสําคัญ


ที่สดุ ก็วาได ซึ่งทุกๆธุรกิจควรไดมีการจัดทําแผนธุรกิจเพื่อการบริหารจัดการตั้งแตชว งเริ่มตนธุรกิจ หรือ
แมแตจะไดดําเนินธุรกิจมาแลวก็ตาม โดยควรมีการจัดทําอยางตอเนื่องและสม่ําเสมออยางนอยปละ 1
ครั้ง หรือเมื่อมีเหตุการณสําคัญหรือการตัดสินใจสําคัญที่สงผลตอการดําเนินการของธุรกิจ เนื่องจากยิ่ง
ธุรกิจสามารถวางแผนธุรกิจไดละเอียด รอบคอบ และรัดกุมมากเพียงใด ยอมสงผลดีตอการดําเนินงาน
ของธุรกิจใหเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไว และสามารถใชเปนเครื่องมือในการพยากรณ วิเคราะห
ทบทวน ติดตาม และประเมินผลในการดําเนินธุรกิจไดอยางถูกตอง ในขณะที่เพียงเพิ่มเติมหรือตัดทอน
รายละเอียดบางสวนของแผน ก็สามารถใชเพื่อวัตถุประสงคในการนําเสนอตอบุคคลภายนอก เชน
ธนาคารหรือสถาบันการเงินหรือหนวยงานอื่นๆ ไดโดยสะดวก

แผนธุรกิจทีใ่ ชในการศึกษา แผนธุรกิจประเภททีจ่ ะกลาวถึงนี้จะเปนแผนธุรกิจที่ถูกจัดทําขึน้


จากผูประกอบการ ที่ผานการคัดเลือกหรือเขาศึกษาในโครงการเสริมสรางผูประกอบการ เชน โครงการ
ผูประกอบการใหม (New Entrepreneur Creation – NEC) หรือโครงการอบรมการใหความรูแก SMEs
อื่นๆที่จัดโดยภาครัฐหรือเอกชนก็ตาม สวนแผนธุรกิจที่ใชในการเรียนการสอนหรือเพื่อการศึกษาจริงๆ
เชน หลักสูตรหรือวิชาดานแผนธุรกิจสําหรับ นักศึกษาระดับอาชีวะ นักศึกษาระดับปริญญาตรีหรือ
ปริญญาโท จะไมขอกลาวถึงไว ณ ที่นี้เนื่องจากแตละมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา ก็จะมี
โครงสรางหรือวัตถุประสงคในการจัดทําหลักสูตรที่แตกตางกัน โดยจะมุงเนนในการกลาวถึงเรื่องที่
เกี่ยวกับแผนธุรกิจที่จัดทําโดยผูประกอบการในการศึกษาหรือการอบรมเปนสําคัญ การจัดทําหรือการ
เขียนแผนธุรกิจนี้จะเปนหัวขอที่ผูประกอบการที่เขารวมโครงการ จะจัดทําขึ้นภายหลังเสร็จสิน้ การอบรม
เกือบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรระยะกลางหรือระยะยาว สวนในหลักสูตรระยะสั้นมักจะไมมีการ
ดําเนินการเนื่องจากระยะเวลาที่สั้นเกินไป โดยผูประกอบการจะเลือกธุรกิจที่ตนเองดําเนินการอยูถาเปน
ผูประกอบการที่ธุรกิจอยูแลว หรือเลือกธุรกิจทีต่ นเองสนใจถาเปนผูประกอบการใหมหรือเปนผูที่จะ
เริ่มตนธุรกิจ แผนธุรกิจที่ใชในการศึกษานี้สวนใหญแลว จะมีโครงสรางเดียวกับแผนธุรกิจเพือ่ ขอรับการ
สนับสนุนทางการเงิน ซึ่งทางโครงการมักจะใหรายละเอียดหรือตัวอยางโครงรางของแผนธุรกิจใหแก

12
ผูประกอบการในการจัดทํา และภายหลังการจัดทําแผนธุรกิจก็จะใหผูประกอบการหรือผูเขารับการอบรม
นําเสนอแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้นตอคณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิ เชน ตัวแทนจากกรมสงเสริม
อุตสาหกรรม ตัวแทนจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน ผูเชี่ยวชาญจากหนวยงาน SMEs เปนตน เพื่อให
คําแนะนําหรือขอคิดเห็นตอผูประกอบการเกี่ยวกับแผนธุรกิจดังกลาว ในการจัดทําแผนธุรกิจนี้โครงการ
จะมีวัตถุประสงคก็เพื่อที่จะใหผูประกอบการมีการวางแผนธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนขั้นตอน
ตามลําดับ โดยอาศัยความรูจากการอบรมที่ไดรับการอบรมในโครงการและโครงรางของแผนธุรกิจ ไมวา
จะเปนดานการบริหารจัดการ การผลิตหรือการบริการ การตลาด และการเงิน รวมทั้งมีความคุน เคยใน
การจัดทําแผนธุรกิจตามรูปแบบทีถ่ ูกตอง ในกรณีที่ในอนาคตผูป ระกอบการจะตองเขียนแผนธุรกิจเพื่อ
นําเสนอขอรับการสนับสนุนจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน เปนตน

ประเด็นสําคัญในการจัดทําแผนธุรกิจเพือ่ การศึกษานี้ จะอยูที่การใหผูประกอบการสามารถ


กําหนดหรือเขียนรายละเอียดตางๆของแผนธุรกิจตามโครงสรางอยางถูกตอง ตั้งแตการจัดทําบทสรุป
ผูบริหาร (Executive Summary) การวิเคราะหสภาวะตลาดหรืออุตสาหกรรม การแสดงรายละเอียด
เกี่ยวกับการวิเคราะหสภาพการแขงขันและคูแขงขัน หรือการวิเคราะห SWOT Analysis การแสดง
รายละเอียดของผลิตภัณฑ สินคาและบริการ การแสดงรายละเอียดขอมูลธุรกิจ การแสดงวิสัยทัศน พันธ
กิจ เปาหมายของธุรกิจ การจัดทําแผนบริหารจัดการซึ่งเนนดานแผนบุคลากร การจัดทําแผนการตลาด
การจัดทําแผนการผลิตหรือแผนบริการ และการจัดทําแผนการเงิน รวมถึงอาจมีการแสดงรายละเอียด
เกี่ยวกับแผนฉุกเฉินดวย ซึ่งจะเห็นไดวาเปนรายละเอียดพื้นฐานของโครงสรางแผนธุรกิจโดยทั่วไป แต
อาจจะไมมุงเนนที่เรื่องของความคิดสรางสรรคหรือการสรางแนวคิดทางการตลาดใหมๆ ซึ่งอาจจะ
แตกตางจากแผนธุรกิจที่ใชเพื่อการแขงขันที่ประเด็นความคิดสรางสรรคถือเปนประเด็นสําคัญ ซึ่งจะได
กลาวถึงในตอนหนา โดยแผนธุรกิจที่ใชในการศึกษานี้จะเนนที่ความถูกตอง ความเขาใจใน
ลักษณะธุรกิจที่เขียนขึ้น ความเปนเหตุเปนผลในการกําหนดกลยุทธหรือวิธีการดําเนินธุรกิจ
ความสามารถในการเขียนแผนธุรกิจตามมาตรฐานที่ถูกตองเปนสําคัญ โดยอาจเปนเพียงธุรกิจ
เล็กๆ หลักหมื่นหลักแสน หรือเปนธุรกิจที่ผูประกอบการไดดําเนินการอยูกอนหนาแลวก็ได ซึ่งภายหลัง
จากที่ผูประกอบการจัดทําหรือเขียนแผนธุรกิจแลวเสร็จ ก็จะมีการนําเสนอ (Presentation) ซึ่งสวนใหญ
ก็มักจะเปนการนําเสนอหนาชั้นตอหนาคณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิตามที่ไดกลาวมาแลว และสวน
ใหญจะใชการนําเสนอดวย PowerPoint Slide ประมาณ 10-15 นาที โดยภายหลังการนําเสนอ
คณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิก็จะซักถาม และใหความเห็นหรือขอเสนอแนะตอผูประกอบการอีก
ประมาณ 10-15 นาที โดยวัตถุประสงคของการที่ใหผูประกอบการตองมีการนําเสนอตอหนา
คณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒินี้ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมของผูประกอบการในการ
นําเสนอ หรือการขายความคิดของการวางแผนธุรกิจตอบุคคลภายนอก ซึ่งอาจเปนเจาหนาที่
ธนาคารหรือสถาบันการเงินก็เปนได เนื่องจากในขอเท็จจริงแลวในการพิจารณาในการอนุมัติในการ
สนับสนุนทางการเงิน นอกจากแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้นแลว ตัวผูป ระกอบการเองก็มีความจําเปนที่ตองมี
การนําเสนอแผนธุรกิจเพิ่มเติมเสมอ ไมวาจะเปนรูปแบบที่เปนทางการหรือไมก็ตาม เชน การสัมภาษณ

13
การนําเสนอตอหนาคณะกรรมการของธนาคารหรือสถาบันการเงิน การนําเสนอตอหนาคณะกรรมการ
ของกองทุนรวมลงทุน เปนตน ซึ่งถาผูป ระกอบการไดมีความคุนเคยในการนําเสนอแผนธุรกิจ จากชวง
การอบรมก็จะสามารถนําเสนอตอหนาบุคคลอื่นไดเปนอยางดีในอนาคต โดยคณะกรรมการหรือ
ผูทรงคุณวุฒจิ ะซักถามในประเด็นเกี่ยวกับธุรกิจที่ผูประกอบการยังนําเสนอไดไมชัดเจน หรือมีขอขัดแยง
กับแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้น หรืออาจเปนเรื่องของความไมเปนเหตุเปนผลที่ถูกตองในการวางแผนของธุรกิจ
รวมถึงใหขอเสนอแนะตางๆที่เปนประโยชนแกผูประกอบการในแผนธุรกิจที่ไดนําเสนอมา ซึง่
ผูประกอบการพึงระลึกวา คณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิเหลานี้มิไดมีสวนไดเสียในตัวธุรกิจ
ของผูประกอบการเลย ซึ่งจะแตกตางจากคณะกรรมการของธนาคารหรือสถาบันการเงิน ที่
ผูประกอบการอาจตองนําเสนอในอนาคต เพราะคณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิมักจะมีขอซักถาม
หรือมีขอเสนอแนะ ถาพิจารณาแลววาแผนธุรกิจที่นําเสนอยังไมครบถวนหรือมีขอบกพรอง เพื่อให
ผูประกอบการปรับปรุงแผนธุรกิจใหดียิ่งขึ้น ซึ่งเรื่องการนําเสนอดังกลาวนี้เปนทีก่ ังวลแกผูประกอบการที่
กลัววาจะถูกซักถาม จึงเลี่ยงที่จะไมนําเสนอเสียเลยแมวาจะไดจัดทําแผนธุรกิจเสร็จสมบูรณเรียบรอย
แลวก็ตาม ซึ่งเปนเรื่องที่นาเสียดายเปนอยางยิ่ง เพราะในความเปนจริงถาผูประกอบการนําเสนอ
แผนธุรกิจทีม่ ีขอบกพรอง หรือไมมีความชัดเจนสมบูรณเพียงพอตอธนาคารหรือสถาบัน
การเงิน เจาหนาที่หรือคณะกรรมการของธนาคารหรือสถาบันการเงินนั้น มักจะไมมีขอซักถาม
หรือมีคําถามเพียงเล็กนอยตอผูประกอบการเทานั้น เพราะถือวาเปนเรื่องที่เสียเวลาของตนเอง
ในการซักถาม หรืออาจคิดวาผูประกอบการไมมีความเขาใจในการวางแผนธุรกิจ ซึ่งจาก
เหตุการณดังกลาวทําใหผปู ระกอบการบางรายเมื่อนําเสนอแผนธุรกิจตอธนาคารหรือสถาบันการเงิน ก็
มักจะเขาใจวาธนาคารหรือสถาบันการเงินสนใจในธุรกิจของตน เพราะเมื่อในขณะนําเสนอก็ไมมีขอ
ซักถามหรือปญหาใดๆ แตกลับพบวาธนาคารหรือสถาบันการเงินตอบปฏิเสธตนเองมาในภายหลัง ซึ่ง
ผูประกอบการเองก็ไมทราบถึงสาเหตุที่เกิดขึ้น หรือคิดวาการไมมีขอซักถามใดๆนั้นหมายถึงธนาคาร
หรือสถาบันการเงินสนใจในตัวธุรกิจหรือไมมีปญหากับธุรกิจ โดยผูเขียนจะไดกลาวถึงเรื่องนี้ในโอกาส
ตอไป ดังนั้นผูประกอบการที่เขารวมโครงการอบรมควรใหความสนใจ ในการเขียนแผนธุรกิจและการ
นําเสนอตอหนาคณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิ เพราะถือเปนประโยชนตอการปรับปรุงการในนําเสนอ
และกระบวนการวางแผนธุรกิจของตัวผูป ระกอบการ และแมวาในกระบวนการดังกลาวจะมีการ
ประเมินผลโดยการใหคะแนนแกผูประกอบการในการจัดทําหรือนําเสนอแผนธุรกิจก็ตาม สวนใหญหรือ
เกือบทั้งหมดของผูประกอบการก็มักจะผานเกณฑ เนื่องจากการใหคะแนนของคณะกรรมการจะเนนที่
ความครบถวน และความถูกตองของการจัดทําแผนธุรกิจที่ผูประกอบการมีเปนสําคัญ จึงไมใชเรื่องที่นํา
กังวลแตอยางใด สําหรับผูประกอบการที่จะจัดทําแผนและนําเสนอในการอบรมหรือการศึกษาดังกลาว

แผนธุรกิจทีใ่ ชในการประกวดแขงขัน แผนธุรกิจประเภทนีจ้ ะเปนแผนธุรกิจที่ถูกจัดทําขึ้น


เพื่อการประกวดหรือการแขงขันจากองคกรหรือสถาบัน โดยสวนใหญมักเปนการจัดประกวดแขงขัน
สําหรับนิสิตนักศึกษา ไมวา จะเปนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท หรือแมแตระดับอาชีวศึกษาก็ตาม
โดยการประกวดแขงขันในการจัดทําแผนธุรกิจนี้ อาจใหมีการจัดทําแผนธุรกิจเปนภาษาไทยหรือจัดทํา

14
ภาษาอังกฤษขึ้นอยูกับโครงการหรือหนวยงานผูจัดประกวด เชน โครงการประกวดแผนธุรกิจใหม
แหงชาติ ที่จัดโดยศศินทรรวมกับ MootBiz โครงการประกวด Young Entrepreneur Award ของ
ธนาคาร HSBC เปนตน นอกเหนือจากการประกวดแขงขันแผนธุรกิจ (Business Plan Competition)
อาจเปนการประกวดแขงขันเฉพาะแผนงานบางสวนของแผนธุรกิจ เชน การประกวดแผนการตลาด
(Marketing Plan Competition) ของโครงการ J-Mat Award ซึ่งจัดโดยสมาคมการตลาดแหงประเทศ
ไทย เปนตน ในการประกวดแขงขันแผนธุรกิจนี้ โดยทั่วไปผูจัดมักจะเปดโอกาสใหกับผูแขงขันในการ
เลือกธุรกิจตามที่ตองการ ซึ่งมักจะไมมีขอกําหนดหรือขอบังคับเกีย่ วกับตัวธุรกิจนัก หรือเรียกไดวา “ไม
มีโจทย หรือใหผูแขงขันเปนผูตั้งโจทย” โดยผูแขงขันสามารถเลือกธุรกิจในการแขงขันไดตั้งแต ธุรกิจ
การผลิต ธุรกิจบริการ ธุรกิจการคา หรือธุรกิจดานเทคโนโลยี ตามแตผูแขงขันจะเลือกหรือมีความสนใจ
ซึ่งอาจแตกตางจากการประกวดแผนการตลาดที่มักจะมีขอกําหนดที่ชัดเจน หรือมีการกําหนดหัวขอหรือ
รายละเอียดทีก่ ารประกวดตองการมากอนหนาหรือเปนการประกวดแบบ “มีโจทย หรือโครงการเปนผู
ตั้งโจทยให” แตในการประกวดแขงขันไมวารูปแบใด ทางโครงการมักมีขอกําหนดพื้นฐานหรือขอบังคับ
ในการจัดทําแผนธุรกิจเพื่อใหผูเขาแขงขันปฏิบัตติ าม ตัวอยางเชน หัวขอตางๆของแผนธุรกิจทีต่ องระบุ
การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการจัดทําแผน เชน Microsoft Word สําหรับเอกสารขอมูล Microsoft
Excel สําหรับตารางคํานวณทางการเงิน จํานวนหนาสูงสุดของแผน ขนาดกระดาษ ขนาดอักษร การกั้น
หนาซายขวา การระบุรายละเอียดชื่อทีม หมายเลขโทรศัพทติดตอ กําหนดสงแผนธุรกิจ จํานวนชุดของ
เอกสารแผนธุรกิจที่จัดสง หรือรูปแบบการบันทึกขอมูลที่ตองจัดสง เชน ตองสง CD-Rom File ขอมูล
พรอมเอกสารดวย เปนตน แตในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะเรื่องของการประกวดแขงขันแผนธุรกิจเปนสําคัญ

เกณฑการพิจารณาหรือการใหคะแนนการแขงขันแผนธุรกิจนี้ สวนใหญจะแบงเกณฑ
หลักๆออกเปน 3 เกณฑ คือ เรื่องของความคิดสรางสรรคหรือแนวคิดธุรกิจใหม (Creativity or
New Business Idea) ความเปนไปไดในเชิงพาณิชยจากกลยุทธที่กําหนดขึ้น (Commercial
Viability) และทักษะในการเขียนแผนธุรกิจ (Writing Skill) หรือในบางการแขงขันอาจกําหนดเกณฑ
การพิจารณา หรือการใหคะแนนที่แตกตางออกไป หรือมีรายละเอียดหัวขอปลีกยอยเพิ่มเติม แตโดย
สวนใหญแลวจะมีโครงสรางการพิจารณาอยูใน 3 ประเด็นดังกลาวนี้ ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแผน
ธุรกิจที่ใชในการประกวดแขงขันนี้ จะอยูที่ความคิดสรางสรรคหรือแนวคิดธุรกิจใหมเปนสําคัญ
โดยธุรกิจที่เลือกควรเปนธุรกิจที่ตอบสนองตอตลาดหรือผูบริโภค หรือแกไขปญหาของลูกคาที่เปนอยู
และควรจะตองเปนธุรกิจที่มแี นวคิดใหม หรือมีรูปแบบใหมที่แตกตางจากธุรกิจโดยทั่วไปที่เปนอยู ดังนั้น
การเลือกธุรกิจที่จะเขียนหรือแขงขันนั้น จึงเปนหัวใจแรกที่ผูแขงขันตองใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง หรือ
กลาวไดวา “ตั้งโจทยดีใหมีความไดเปรียบ” เพราะเปนการสรางแตมตอหรือขอไดเปรียบในการ
แขงขัน และเปนการสรางความนาสนใจใหกับกรรมการในการพิจารณาตัวธุรกิจ มากกวาธุรกิจพื้นฐาน
ทั่วไปที่มีอยู ประเด็นถัดมาก็คือหลังจากกําหนดธุรกิจที่ดีแลว การกําหนดกลยุทธตางๆในการ
ดําเนินการตองสอดคลองและถูกตองตามธุรกิจที่เลือก เนื่องจากธุรกิจที่เปนแนวคิดใหมหรือเปน
ธุรกิจใหมในตลาดนั้น การใชกลยุทธอาจจะตองมีลักษณะเฉพาะเปนพิเศษ เพื่อใหธุรกิจมีความเปนไปได

15
ในเชิงพาณิชย หรือมีความเปนไปไดจริงถาจะมีการทําเปนธุรกิจขึ้นมา เพราะถามีการกําหนดกลยุทธ
โดยทั่วไปเหมือนๆธุรกิจที่เปนอยูอาจไมเหมาะสม หรือไมสามารถสรางความไดเปรียบในเชิงแขงขันกับ
ธุรกิจเดิม โดยเฉพาะแผนการตลาด (Marketing Plan) ถือเปนประเด็นสําคัญ ที่ตองตอบโจทย
ของธุรกิจที่กําหนดขึ้นไดอยางถูกตองและเปนเหตุเปนผล ประเด็นสุดทายคือในสวนของทักษะใน
การเขียนหรือการจัดทําแผนธุรกิจ จะอยูที่ผูเขาแขงขันตองสามารถระบุรายละเอียดเกี่ยวกับหัวขอตางๆ
ในโครงรางของแผนธุรกิจไดอยางถูกตองตามเกณฑทที่ างโครงการกําหนด หรือตามเกณฑของ
มาตรฐานของแผนธุรกิจที่ดี การวางรูปแบบโครงรางแผนธุรกิจ การจัดชองไฟหรือระยะหาง ความ
ถูกตองในตัวสะกด คําศัพท ความสามารถในการใชภาษาเพื่อถายทอดรายละเอียดของขอมูลในแผน
ธุรกิจใหเขาใจไดโดยงาย ความถูกตองในสูตรหรือผลลัพธจากการคํานวณทางการเงิน รวมถึงขอมูล
สนับสนุนตางๆ เชน สถิติ ผลวิจัย ผลสํารวจ ซึ่งอาจแสดงในรูปของตาราง กราฟ รูปภาพ หรือ Graphic
ตางๆ เปนตน

ในการประกวดแขงขันแผนธุรกิจนี้นอกเหนือจากการจัดทําเอกสารแผนธุรกิจแลว ผูแขงขันที่
ผานการคัดเลือกจะตองมีการนําเสนอแผนธุรกิจตอหนาคณะกรรมการหรือผูทรงคุณวุฒิอีกครั้ง ดังนั้น
ทักษะในการนําเสนอ (Presentation Skill) จึงถือเปนเรื่องสําคัญเชนเดียวกันไมนอยกวาการ
จัดทําเอกสารแผนธุรกิจเลย เพราะจากประสบการณของผูเขียนในการเปนกรรมการตัดสินแผนธุรกิจ
พบวา ผูแขงขันบางรายสามารถจัดทําแผนธุรกิจไดดีมากหรือถึงขั้นยอดเยี่ยม แตขาดความสามารถใน
การนําเสนอแผนธุรกิจตอหนาคณะกรรมการ ทําใหแพผูเขาแขงขันที่จัดทําแผนธุรกิจที่ดอยกวา แตมี
ความสามารถในการนําเสนอตอหนาคณะกรรมการไดดีกวา ดังนั้นในบางครั้งทักษะในการนําเสนอจึง
เปนเครื่องตัดสิน หรือเครื่องชี้ขาดเพื่อหาผูชนะเลิศในเวลาการประกวดหรือแขงขัน ซึ่งทักษะในการ
นําเสนอในการประกวดแขงขันแผนธุรกิจนี้ ไดแก การจัดทํา Slide Presentation เชน รูปแบบ สีสรรค
ขนาดอักษร ซึ่งตองมีความสวยงามและสอดคลองกับตัวธุรกิจ การแตงกายของผูนําเสนอ เปนตน ซึ่ง
เปนเรื่องของการนําเสนอดวยภาพ (Visual) และการนําเสนอดวยคําพูด (Verbal) เชน การการสรุป
ประเด็นสําคัญหรือเปนจุดขายของตัวธุรกิจ การนําเสนอขอมูลสําคัญที่รองรับเหตุผลตอความเปนไปได
หรือความสําเร็จของธุรกิจ จังหวะจะโคนในการพูด ระดับน้ําเสียงของผูนําเสนอ ความลื่นไหลและความ
ตอเนื่องในการนําเสนอ การใชเวลาในการนําเสนอที่เหมาะสม ความชัดเจนในการนําเสนอ การตอบขอ
ซักถามของคณะกรรมการ ซึ่งผูเขาแขงขันตองมีการเตรียมพรอมใหดีที่สุดทั้ง 2 ดาน เนื่องจากโดยปกติ
แลวกรรมการจะพิจารณาในเรื่องดังกลาวในการตัดสินใจสุดทาย โดยอาจใชเวลาเพียง 5-10 นาทีเทานั้น
ในการตัดสินวาใครเปนผูชนะเลิศในการแขงขัน จากชวงเวลาในการนําเสนอแผนธุรกิจและตอบขอ
ซักถามดังกลาวนี้

ยังมีแผนธุรกิจในวัตถุประสงคอื่นๆ ที่มีลกั ษณะคลายคลึงกับแผนธุรกิจเพื่อการประกวดและการ


แขงขัน แตจะเปนแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้นเปนวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายโดยเฉพาะ เชน แผนธุรกิจที่
จัดทําขึ้นเพื่อการขอรับสัมปทานกับภาครัฐ ตัวอยางเชน งานสาธารณูปโภคของรัฐที่ดําเนินการโดย

16
ภาคเอกชน โดยเอกชนแบงผลประโชนคืนกลับภาครัฐภายใตระยะเวลาตามขอตกลง การประมูลคลื่น
ความถี่ทางโทรคมนาคม การลงทุนโดยการเชาที่ดินของราชพัสดุหรือการรถไฟที่มีมูลคาที่ดินสูงๆ เปน
ตน ซึ่งผูประกอบการตองนําเสนอแผนธุรกิจหรือขอเสนอตางๆ ใหกับภาครัฐหรือหนวยงานนั้นๆ ในการ
พิจารณาขอเสนอหรือที่มาของแหลงรายได ซึ่งก็จะมีลักษณะเปนการประกวดแขงขันเชนเดียวกัน แต
อาจจะมีผูเขาแขงขันจํานวนนอยรายตามเงื่อนไขที่ภาครัฐกําหนด แตกรณีดังกลาวนี้สวนใหญจะเปน
แผนธุรกิจที่จดั ทําโดยองคกรขนาดใหญ จึงไมขอกลาวถึงไวในที่นี้

17

You might also like