Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 82

การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 1

1. นายเลสบี้ และ นาง โดดี้ เป็นสามี ภรรยากันโดยชอบด้วยกฎหมายทั้งคูม่ ีสัญชาติไทย ต่อมานางโดดี้


พบว่า นายเลสบี้เป็น ชายรักร่วมเพศ และ ชอบคบหากับชายด้วยกันมานานแล้ว อีกทั้งจับได้ว่า นายเลสบี้ ได้แอบ
จดทะเบียนสมรสกับนาย ทอมมี่ ที่ประเทศสแกนดิเนเวีย ซึ่งยอมรับการสมรสร่วมเพศได้ นางโดดี้ จึงไปฟ้องร้อง
นายเลสบี้ และ นายทอมมี่ ที่ประเทศสแกนดิเนเวีย ให้ศาลเพิกถอนการสมรสระหว่างบุคคลทั้งสองที่จดทะเบียน
สมรสซ้อน หลังจากนายเลสบี้ได้จดทะเบียนสมรสกับ นางโดดี้แล้ว ปรากฎว่า ศาลสแกนดิเนเวียพิพากษาให้เพิก
ถอนการสมรสระหว่างเลสบี้ และ นายทอมมี่ และนางโดดี้ได้นำาคำาพิพากษาของศาลสแกนดิเนเวีย มาฟ้องนายเล
สบี้ และ นายทอมมี่ที่ศาลไทย เพื่อให้ศาลไทยมีคำาสั่งให้บุคคลทั้งสองชดใช้ค่าเสียหายแก่ตน หากท่านเป็นผู้
พิพากษาในคดีนี้ ท่านจะพิจารณา พิพากษาคดีนี้อย่างไร และ ศาลไทยสามารถยอมรับ และ บังคับตามคำาพิพากษา
ของศาลสแกนดิเนเวียได้หรือไม่เพราะเหตุใด จงอธิบายพร้อมทั้งยกหลักกฎหมายประกอบการวินิจฉัย

(กฎหมายแพ่ง พาณิชย์, กฎหมายครอบครัว, กฎหมายขัดกัน, เขตอำานาจศาลขัดกัน, วิแพ่ง, การ


ยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ, การนำากฎหมายต่างประเทศมาใช้, หลัก และ ข้อ
ยกเว้น, ภาระการนำาสืบ)

การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 2

2. นางสาวอมเรศ คนสัญชาติไทย ดำารงตำาแหน่งทูตไทยประจำาองค์การสหประชาชาติ ทีเ่ จนีวา ได้สมรสโดย


ชอบด้วยกฎหมายกับนายโทมัส คนสัญชาติ อเมริกัน ซึง่ เป็น กงสุลอเมริกัน ประจำาประเทศสวิสเซอร์แลนด์ หลัง
จากสมรสได้ 1 ปี นางอมเรศก็ตั้งครรภ์และ คลอดบุตรชาย ชือ่ เด็กชาย ไอยรา ในสถานกงสุลอเมริกัน ประจำา
ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ จงวิเคราะห์ว่าเด็กชายไอยรา มีสัญชาติใด และ จงอธิบาย พร้อมทั้งยกหลักกฎหมาย
ประกอบคำาอธิบาย หากกฎหมายสัญชาติของไทย สหรัฐอเมริกา และ สวิสเซอร์แลนด์ เหมือนกัน

(พระราชบัญญัติสัญชาติ กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยเอกสิทธิ และ ความคุ้มกันทางการทูตม


เขตแดนและเขตอำานาจรัฐ)

การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 3

3. รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ออกกฎหมายห้ามการจำาหน่ายกุ้งที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากกุ้งขนาดเล็กยังไม่เจริญพันธุ์
อย่างเต็มที่ เพื่อป้องกันการสูญพันธุ์ของกุ้งที่อาศัยอยู่ในทะเลที่อาจจะถูกจับไปก่อนที่จะเติบโตและขยายพันธุ์
นอกจากนี้สหรัฐยังออกกฎหมายห้ามการนำาเข้ากุ้งที่จับโดยชาวประมงที่ไม่ได้ติดตั้งเครื่องคัดกรองเต่า เพื่อ
ป้องกันการสูญพันธุ์ของเต่าที่อาจจะติดมากับเครื่องมือในการจับกุ้ง คืออวนที่มีตาข่ายถี่ และไม่มีอุปกรณ์คัดกรอง
เต่าดังกล่าว ส่วนทางด้านการประมงและสินค้าอื่นๆ สหรัฐมีกฎหมายต่อต้านการทุ่มตลาด และหากมีสินค้านำาเข้า
ใดที่ถูกสหรัฐอเมริกาพิจารณาว่ามีการทุ่มตลาด ก็จะถูกเรียกเก็บภาษีชดเชยการทุ่มตลาด ส่วนสินค้าที่นำาเข้าตลาด
สหรัฐ หากสหรัฐพบว่ามีการอุดหนุนสินค้าจากประเทศที่ส่งออก ก็จะถูกรัฐบาลสหรัฐเรียกเก็บภาษีชดเชยการ
อุดหนุน การบังคับใช้กฎหมายของสหรัฐอเมริกาจะมีผลต่อการส่งออกสินค้าของประเทศไทยในกรณีใดบ้าง หาก
ปรากฏว่ากุ้งไทยเป็นสายพันธุ์กุ้งที่มีขนาดเล็กแม้จะเติบโตเต็มที่แล้ว นอกจากนั้นชาวประมงไทยก็ใช้เรือจับกุ้งที่มี
ขนาดเล็ก และไม่มีการติดตั้งเครื่องคัดกรองเต่าแต่ประการใด ส่วนสินค้าต่างๆของไทยก็มีราคาถูกมากเนื่องจาก
ปัจจัยการผลิตของไทยมีต้นทุนที่ตำ่ากว่าทำาให้ราคาของสินค้าที่นำาเข้าตลาดอเมริกาจากไทยมีราคาตำ่ามากด้วย
นอกจากนั้นสินค้าเกษตรไทยยังได้รับการอุดหนุนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรไทย หากท่านเป็นผูจ้ ัดการบริษัทส่งออก
สินค้าดังกล่าวท่านจะมีวิธีการอย่างไรในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะสามารถส่งสินค้าทั้งหมดเข้าสู่ตลาด
อเมริกาได้ในราคาที่เหมาะสม
(กฎหมายองค์การการค้าโลก องค์การระหว่างประเทศ อำานาจอธิปไตยของรัฐ เขตแดน เขตอำานาจรัฐ
การบังคับใช้กฎหมายภายใน ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายภายในและกฎหมายระหว่างประเทศ
ประกอบหลักเศรษฐศาสตร์ Comparative advantages)

การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 4

4. ประเทศ ไทเกอร์ไม่ได้เป็นภาคีสมาชิกของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา 1969 และ


ไมได้เป็นสมาชิกของอนุสัญญาว่าด้วยกฎหมายทะเล อีกทั้งไม่ได้เป็นภาคีของสนธิสัญญาพหุภาคีว่าด้วยการ ห้าม
ประมงโดยใช้เครื่องมือ ที่ฝ่าฝืนต่อ กฎหมายอนุรักษ์สัตว์นำ้า ประเทศไทเกอร์มีความสามารถในการประมงสูง
มาก จนสัตว์นำ้าในอ่าวไทเกอร์หมดไปจากอ่าวดังกล่าว ประเทศไทเกอร์ จึงส่งกองเรือประมงออกไปจับปลา และ
ทำาการประมง ในทะเลหลวง และ ทะเล ที่อยู่นอกทะเลอาณาเขตของประเทศเพื่อนบ้าน แต่ ยังคงอยู่ในเขต
เศรษฐกิจจำาเพาะของประเทศเหล่านั้น ต่อมา เรือประมงของประเทศไทเกอร์ ถูกจับในน่านนำ้าของประเทศต่างๆ
ทั่วโลก ประเทศไทเอกร์อ้างว่าตนไม่ได้จับปลาในน่านนำ้าอาณาเขตของประเทศใดๆเลย และ ตนไม่ได้ยอมรับ
เขตเศรษฐกิจจำาเพาะของรัฐใด เพราะประเทศไทเกอร์ก็ไม่สามารถมีเขตเศราฐกิจจำาเพาะในระยะ 200 ไมล์
ทะเลได้ อีกทั้งประเทศไทเกอร์ก็ไม่ได้เป็นภาคีของสนธิสัญญาใดๆ เลย ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายทะเลอันเป็นจารีต
ประเพณีระหว่างประเทศ อีกทั้งเรือประมงจำานวนมากก็ได้ไปจับปลาในทะเลหลวง ไม่ได้จับปลาในเอาณาขตของ
ประเทศใด นอกจากเดินเรือผ่านน่านนำ้าของบางประเทศ เพื่อกลับเข้าฝั่งของปะเทศไทเกอร์ ประเทศเพื่อนบ้าน
ประเทศหนึ่ง โต้แย้งว่าตามกฎหมายของประเทศตนนั้น ไม่ว่าเรือลำาใดที่มีปลาอยู่บนเรือ แล้วแล่นเข้ามาใน
ทะเลอาณาเขตของตนให้ถือว่าจับปลาในทะเลของตนด้วย จึงจับเรือประมงของประเทศไทเกอร์ไปได้ ประเทศ
ไทเกอร์ จะสามารถโต้แย้ง และต่อสูใ้ นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ในกรณีใดได้บ้าง จงอธิบาย และ วินิจฉัย
ประกอบหลักกฎหมายระหว่างประเทศ
(กฎหมายทะเล กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ กฎหมายสนธิสัญญา เขตแดน เขตอำานาจรัฐ
ทะเลอาณาเขต เขตทางทะเล อำานาจอธิปไตย เขตอธิปไตย)

การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 5

5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้สั่งซื้ออุปกรณ์การศึกษาจากบริษัท ดูปองซ์ ประเทศฝรั่งเศส โดยได้รับ


เงินอุดหนุนจากรัฐบาลไทย จำานวน 3 ล้านบาท และในสัญญาซื้อขายระหว่าง มสธ และ บริษัทดูปองซ์ กำาหนด
ให้ ใช้กฎหมายของประเทศฝรั่งเศส หากมีข้อพิพาทเกิดขึ้น และ ให้ใช้วิธีการอนุญาโตตุลาการในการยุติข้อพิพาท
ปรากฎว่าบริษัทดูปองซ์ ส่งสินค้ามาให้ผิดจากมาตรฐานสินค้าที่กำาหนด มสธ จึงไม่รับมอบการสั่งซื้อ และ รัฐบาล
ไทยไม่สามารถจ่ายเงินค่าอุดหนุนการศึกษาในการสั่งซื้อวัสดุการศึกษาดังกล่าวได้ เพราะไม่มีการตรวจรับการจัด
ซื้อตามระเบียบ บริษัทดูปองซ์ โต้แย้งว่า สินค้าเป็นไปตามมาตรฐานทุกประการ เพียงแต่การขนส่งเกิดการกระ
ทบกระเทือนทำาให้สินค้าบางส่วนมีการชำารุด แต่บริษัทก็ยินดีรับซ่อมแซมให้ดีดังเดิมได้ ตามกฎหมายฝรั่งเศส แต่
มสธ ก็ไม่ยินยอม ด้วยขัดกับระเบียบในการตรวจรับสินค้า ทั้งสองฝ่า ยจึ งนำา ข้ อพิพาทสู่อนุญาโตตุลาการ ที่
ประเทศฝรั่งเศส เป็นผลให้ มสธ แพ้คดี หากท่านเป็นที่ปรึกษากฎหมายของมหาวิทยาลัยท่านจะให้คำาแนะนำาแก่
มหาวิทยาลัยอย่างไร

การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 6

6. นาย ไฟล์ บุคคลไร้สัญชาติ เข้ามาตั้งรกรากประกอบอาชีพขายหยก ที่อำาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้พบ


รัก กับนางสาว เหม่เม้ ซึ่งเป็นชาวไทยภูเขา มีภูมิลำาเนาอยู่ที่แม่ฮ่องสอน และได้อยู่กินกันมาโดยไม่ได้สมรสกัน
ตามกฎหมาย ต่อมาเหม่เม้ คลอดบุตรชาย ชื่อ แต่วแร้ว ต่อมานายไฟล์ได้พบรักกับนางสาวเข่มเข๊ม ชนกลุ่มน้อย
พม่าที่หลบหนีเข้ามาในประเทศไทย นายไฟล์มีความสงสารเข่มเข๊มมากและ ตัดสินใจจดทะเบียนสมรสกับเข่ม
เข๊ม ต่อมาเข่มเข๊ม คลอดบุตรสาว ชื่อ ติว่ ติ๊ว นายไฟล์อยู่กินกับ เข่มเข๊มได้ สามปี เข่มเข๊มก็เสียชีวิตลง เพราะโรค
ไข้หวัด H1N1 นายไฟล์จึงตัดสินใจจดทะเบียนสมรสกับเหม่เม้
จงวินิจฉัยว่า แต่วแร้ว กับ ติ่วติ๊ว มีสัญชาติใด จงอธิบายพร้อมทั้งยกหลักกฎหมายประกอบการวินิจฉัย
การบ้านกฎหมายระหว่างประเทศข้อ 7

7. นายยุง วนเวียน ชาวเกาหลี ได้รับการเลือกตั้งเป็นเลขาธิการ สหประชาชาติ และได้เดินทางไปประจำาอยู่ ณ.


เจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ซึ่ง เป็นที่ตั้งสำานักงานใหญ่ของสหประชาชาติ นายยุง วนเวียน ได้เดินทางไปเยี่ยม
นาง อองซาน ซูจี ที่ประเทศพม่า เพื่อนำาเสนอให้พม่าปล่อยนางออง ซานซูจี และ ส่งเสริมระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตย ให้มี การเลือกตั้งโดยสมบู รณ์ ทั่ว ประเทศ ในระหว่ า งการเยี่ยมเยือ นพม่ า ของเลขาธิ การ
สหประชาชาติ ได้มีการประทะกันระหว่าง ผูส้ นับสนุนนาง ออง ซานซูจี กับ เจ้าหน้าที่ของพม่า ในเรื่องการปล่อย
ตัวนาง ออง ซานซูจี และ นายยุง วนเวียน ถูกกระสุนปืนในที่เกิดเหตุ เสียชีวิต ต่อมาสหประชาชาติได้ทำา หน้าที่
เรี ยกร้อ งให้ รัฐ บาลพม่ า รั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ ครอบครัว นายยุ ง วนเวี ย น ในฐานะที่ น ายยุ ง วนเวี ย นทำา งานให้ แ ก่
สหประชาชาติ โดยฟ้องร้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ รัฐบาลพม่าโต้แย้งว่า สหประชาชาติไม่ใช่รัฐที่นาย
ยุง วนเวียนมีสัญชาติสังกัดอยู่ จึงไม่สามารถใช้อำานาจคุ้มครองคนชาติทางการทูตได้ จึงไม่มีอำานาจฟ้อง ประการที่
สอง รัฐบาลพม่า มีความจำาเป็นต้องปราบปรามการจราจล การเกิดความเสียหายแก่นายยุง วนเวียนเป็นเหตุสุดวิสัย
และไม่ปรากฎหลักฐานว่านายยุง วนเวียนเสียชีวิตเพราะกระสุนที่ยิงมาจากฝ่ายใด นักศึกษาจงวินิจฉัยว่า ข้อต่อสู้
ของรัฐบาลพม่าชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ หรือไม่ เพราะเหตุใด จงอธิบายพร้อมทั้งยกหลักกฎหมาย
ประกอบการวินิจฉัย

หลักกฎหมาย

พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 แก้ไข พ.ศ. 2551

มาตรา 7 บุคคลดังต่อไปนี้ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด

(1) ผูเ้ กิดโดยบิดาหรือมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย

(2) ผูเ้ กิดในราชอาณาจักรไทย ยกเว้นบุคคลตามมาตรา 7 ทวิ วรรคหนึ่ง

คำา ว่าบิดาตาม (1) ให้หมายความรวมถึงผู้ ซึ่ งได้รับการพิสูจน์ว่ าเป็นบิดาของผู้เกิดตามวิธีการที่กำาหนดในกฎ


กระทรวง แม้ผู้นั้นจะมิได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เกิด และมิได้จดทะเบียนรับรองผู้เกิดเป็นบุตรก็ตาม

มาตรา 8 ผูเ้ กิดในราชอาณาจักรไทยโดยบิดาและมารดาเป็นคนต่างด้าว ย่อมไม่ได้สัญชาติไทย ถ้า


ขณะทีเ่ กิดบิดาหรือมารดาเป็น

(1) หัวหน้าคณะผู้แทนทางทูต หรือเจ้าหน้าที่ในคณะผู้แทนทางทูต

(2) หัวหน้าคณะผู้แทนทางกงสุล หรือเจ้าหน้าที่ในคณะผู้แทนทางกงสุล

(3) พนักงานหรือ ผูเ้ ชี่ยวชาญ ขององค์การระหว่างประเทศ

(4) คนในครอบครัวซึ่งเป็นญาติอยู่ในความอุปการะหรือคนใช้ซึ่งเดินทางจากต่างประเทศมาอยู่กับ
บุคคลใน (1) (2) หรือ (3)

หลักกฎหมาย

1.ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 4 เว้นแต่จะมีบทบัญญัติเป็นอย่างอื่น
(1) คำาฟ้อง ให้เสนอต่อศาลที่จำาเลยมีภูมิลำาเนาอยู่ในเขตศาล หรือต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาลไม่ว่าจำาเลย
จะมีภูมิลำาเนาอยู่ในราชอาณาจักรหรือไม่
(2) คำาร้องขอ ให้เสนอต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล หรือ ต่อศาลที่ผู้ร้องมีภูมิลำาเนาอยู่ในเขตศาล"
มาตรา 4 ทวิ คำาฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ หรือสิทธิหรือ ประโยชน์อันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ให้เสนอต่อ
ศาลที่อสังหาริมทรัพย์ นั้นตั้งอยู่ในเขตศาล ไม่ว่าจำาเลยจะมีภูมิลำาเนาในราชอาณาจักรหรือไม่ หรือต่อศาลที่จำาเลย
มีภูมิลำาเนาอยู่เขตศาล
มาตรา 4 ตรี คำาฟ้องอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 4 ทวิ ซึ่งจำาเลยมิได้มีภูมิลำาเนาอยู่ในราชอาณาจักรและ
มูลคดีมิได้เกิดขึ้นใน ราชอาณาจักร ถ้าโจทก์เป็นผู้มีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลำาเนาอยู่ใน ราชอาณาจักรให้เสนอต่อ
ศาลแพ่งหรือต่อศาลที่โจทก์มีภูมิลำาเนาอยู่ในเขตศาล
คำา ฟ้องตามวรรคหนึ่ง ถ้าจำาเลยมีทรัพย์ที่อาจถูกบังคับคดีได้อยู่ ในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราวหรือ
ถาวรโจทก์จะเสนอคำาฟ้องต่อศาลที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในเขตศาลก็ได้
มาตรา 4 จัตวา คำาร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก ให้เสนอต่อศาลที่ เจ้ามรดกมีภูมิลำาเนาอยู่ในเขตศาลในขณะถึงแก่
ความตาย ในกรณีทเี่ จ้ามรดกไม่มีภมู ิลำาเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้เสนอต่อ ศาลที่ทรัพย์มรดกอยู่ในเขตศาล
มาตรา 4 เบญจ คำา ร้องขอเบิกถอนมติของที่ประชุมหรือที่ประชุม ใหญ่ของนิติบุคคล คำา ร้องขอเลิกนิติบุคคล
คำา ร้องขอตั้งหรือ ถอนผู้ ชำา ระ บัญชี ข องนิติบุค คล หรือคำา ร้องขออื่ นใดเกี่ยวกับ นิติบุค คล ให้เ สนอ ต่อศาลที่
นิติบุคคลนั้นมีสำานักงานแห่งใหญ่อยู่ในเขตศาล
มาตรา 4 ฉ คำาร้องขอเกี่ยวกับทรัพย์สินที่อยู่ในราชอาณาจักรก็ดี คำาร้องขอที่หากศาลมีคำาสั่งตามคำาร้องขอนั้นจะ
เป็นผลให้ต้องจัดการ หรือเลิกจัดการทรัพย์สินที่อยู่ในราชอาณาจักรก็ดี ซึ่งมูลคดีมิได้เกิดขึ้น ในราชอาณาจักร
และผู้ร้องไม่มีภูมิลำาเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้เสนอต่อ ศาลที่ทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ในเขตศาล"

2. พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจคนต่างด้าว

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“คนต่างด้าว” หมายความว่า
(๑) บุคคลธรรมดาซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
(๒) นิติบุคคลซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทย
(๓) นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย และมีลักษณะดังต่อไปนี้
(ก) นิติบุคคล ซึง่ มีหุ้นอันเป็นทุนตั้งแต่กึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้นถือโดยบุคคลตาม (๑)
หรือ (๒) หรือนิติบุคคลซึ่งมีบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) ลงทุนมีมูลค่าตั้งแต่กึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดใน
นิติบุคคลนั้น
(ข) ห้างหุ้นส่วนจำากัดหรือห้างหุ้นส่วนสามัญ ที่จดทะเบียน ซึ่งหุ้นส่วนผู้จัดการหรือผู้
จัดการเป็นบุคคลตาม (๑)
(๔) นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย ซึง่ มีหุ้นอันเป็นทุนตั้งแต่กึ่งหนึ่งของนิตบิ ุคคล
นั้นถือโดยบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หรือนิติบุคคลซึ่งมีบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ลงทุนมีมูลค่า
ตั้งแต่กึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดในนิติบุคคลนั้น
เพื่อประโยชน์แห่งคำานิยามนี้ให้ถือว่าหุ้นของบริษัทจำากัดที่มีใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือเป็นหุ้น
ของคนต่างด้าว เว้นแต่จะได้มีกฎกระทรวงกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
“ทุน” หมายความว่า ทุนจดทะเบียนของบริษัทจำากัด หรือทุนชำาระแล้วของบริษัทมหาชนจำากัด
หรือเงินที่ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือสมาชิกนำามาลงหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือนิติบุคคลนั้น
“ทุนขั้นตำ่า” หมายความว่า ทุนของคนต่างด้าวในกรณีที่คนต่างด้าวเป็นนิติบุคคลซึ่ง จด
ทะเบียนในประเทศไทย และในกรณีที่คนต่างด้าวเป็นนิติบุคคลซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทย หรือเป็น
บุคคลธรรมดาให้หมายถึงเงินตราต่างประเทศที่คนต่างด้าวนำามาใช้เมื่อเริ่มต้นประกอบธุรกิจในประเทศไทย
“ธุรกิจ” หมายความว่า การประกอบกิจการในทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หัตถกรรม
พาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอย่างอื่น อันเป็นการค้า
……………………….
พระราชบัญญัติกฎหมายขัดกัน พ.ศ. 2481 มาตรา 15 หนี้ซึ่งเกิดจากการละเมิด ให้บังคับตามกฎหมาย
แห่งถิ่นที่ข้อเท็จจริงซึ่งทำาให้เป็นการละเมิดนั้นได้เกิดขึ้น

หลักกฎหมายการประกันภัยทางทะเล สมุทรภัยต้องเป็นภัยที่เกิดจากการผจญภัยทางทะเล และไม่ได้เกิดจากการก


ระทำาโดยจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่อของบุคคล ต้องเป็นภัยที่ไม่อาจคาดหมายได้ ที่เกิดขึ้นจากภัยตามธรรมชาติ
จากทะเล เมื่อเรือ และสินค้าได้ เริ่มผจญภัยในทะเล และ ต้องไม่เป็นภัยที่ผขู้ นส่งต้องรับผิดโดยเหตุ การกระทำาผิด
โดยจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่อ หรือ ของลูกเรือ หรือ นายเรือ

เขตแดนหมายถึงดินแดน ทั้งที่เป็นพื้นดิน พื้นนำ้า ใต้ดิน และทะเลอาณาเขต ตามกฎหมายระหว่างประเทศ

รวมปัญหาที่นักศึกษายังไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิด

1. หลักอำานาจอธิปไตยเด็ดขาดเหนือเขตแดนนั้นมีมูลฐานมาจากหลักดินแดนเท่านั้น ส่วนหลักอื่นๆ
ล้วนแต่เกิดจากการที่รัฐขยายอำานาจรัฐไปใช้นอกดิ นแดน โดยอาศัยจุดเกาะเกี่ยวที่ทำาให้รัฐมีอธิปไตย ไป
เกี่ยวข้อง เช่น หลักสัญชาติ หลักป้องกัน หลักผู้กระทำา หลักผู้ถูกกระทำา หลักผลของการกระทำา จะเห็น
ได้ว่าทุกหลักเหล่านี้ขยายอำานาจรัฐไปบังคับกับเหตุการรณ์ที่เกิดขึ้นนอกเขตแดนทั้งสิ้น ดังนั้นหลัก
สัญชาติ หลักผู้กระทำา หลักผู้ถูกกระทำา หลักผลของการกระทำาล้วนแล้วแต่เกิดนอกดินแดนของรัฐทั้งสิ้น
เพราะหากเกิดในเขตแดนแล้วเพียงใช้หลักดินแดนก็เพียงพอแล้ว เพราะเหตุ การณ์ใดๆ การกระทำาใด
บุคคลใด สิ่งของใด ที่อยู่ภายในขอบเขตของเขตแดน ย่อมอยู่ภายใต้อธิปไตยของดินแดนนั้น รวมไปถึง
เรื่อง เรือ หรือ อากาศยาน ทีข่ ยายเขตอำานาจรัฐไปยังเรือ หรือ อากาศยานที่อยู่ที่ใดๆนอกเขตแดน โดย
อาศัยสัญชาติมาเป็นจุดเกาะเกี่ยว เพราะว่าเรือ หรือ อากาศยานนั้นๆ อยู่นอกเขตแดน หรือ อาณาจักร ทั้ง
สิ้น หาก เรือ หรือ อากาศยาน อยู่ภายในเขตแดน ย่อมไม่ต้องอาศัยสัญชาติของเรือ หรือ อากาศยานนั้นๆ
เพราะอยู่ในดินแดนรัฐนั้นๆ อยู่แล้วสามารถอ้างเอาหลักดินแดนได้เลย และ นี่คือ ความสำาคัญของ
เขตแดน เพราะเป็นขอบเขตของการใช้อำานาจอธิปไตยเด็ดขาดเหนือเขตแดนของรัฐ การที่จะต้องอาศัย
สัญชาติ ของเรือ หรือ สัญชาติอากาศยานก็เพราะว่า เรือ และ อากาศยานนั้น อยู่นอกเขตแดน นั่นเอง
2. มาตรา 7 ทวิ และ มาตรา 8 บิดา มารดา ทั้งสองกรณีตอ้ งเป็นต่างด้าวทั้งคู่ หากกรณีใด ทีม่ ี บิดา
หรือ มารดา เป็นไทยเสียแล้ว มาตรา 7 ทวิ และ มาตรา 8 ก็ไม่ต้องพิจารณาเลย
3. คนในครอบครัว และ คนรับใช้ตามมาตรา 8 (4) นัน้ แม้เป็นคนใช้ก็ต้องเป็นคนใช้ในฐานะที่
เป็นบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตเท่านั้น กล่าว คือ แม้เป็นคนใช้ หรือ คนในครอบครัวก็ตอ้ งเป็น
บุคคลที่รัฐผู้ส่งแจ้งการมา และ การกลับของคนใช้ และ คนในครอบครัว ด้วย มาตรา 8(4) จึงไม่รวม
คนใช้ทูต คนใช้กงสุล คนใช้คนทำางานในองค์การระหว่างประเทศ ที่เป็นคนชาติในรัฐผู้รับ หรือ แม้เป็น
คนใช้ทเี่ ดินทางมาจากต่างประเทศก็ตาม แต่ หากไม่ได้เป็นบุคคลในคณะทูต ก็ไม่ใช่บุคคลตามมาตรา
8(4)
4. คนไร้สัญชาติ ไม่ใช่บุคคลในมาตรา 7 ทวิ แต่หากคนไร้สัญชาติ มีคุณสมบัติตาม 7 ทวิด้วยจึง
ถือว่าเป็นบุคคลตามมาตรา 7 ทวิ
5. คนต่างด้าวที่แปลงชาติเป็นไทย หากมีบุตร บุตรทีเ่ กิดมาย่อมได้สัญชาติไทยตามหลักสืบสาย
โลหิตได้ แม้เกิดนอกราชอาณาจักรไทย
6. กฎหมายสนธิสัญญา และ กฎหมายทะเลล้วนเป็นกฎหมายที่วิวัฒนาการมาจาก กฎหมายจารีต
ประเพณีระหว่างประเทศทั้งสิ้น ส่วนในสนธิสัญญาว่าด้วยกฎหมายทะเล และ ว่าด้วยสนธิสัญญา ก็
เป็นการประมวลกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศมาเป็นลายลักษณ์อักษร
7. เขตเศรษฐกิจจำาเพาะก็เป็นหลักที่วิวัฒนาการมาจากกฎหมายจารีตประเพณี และ ทางปฏิบัติ

ของรัฐ (State Practice) กล่าวคือ รัฐใดประกาศเขตเศรษฐกิจจำาเพาะแล้ว


หากไม่มีรัฐอื่นใดก้าวล่วงเข้ามาโต้แย้ง เป็นระยะเวลานานๆๆๆๆไป จนกลายเป็นจารีตประเพณีที่ยอมรับ
กัน จนเป็นสิ่งที่รัฐอื่นๆยอมรับว่าเขตเศรษฐกิจจำาเพาะนั้นๆ มีอยู่สำาหรับรัฐนั้นๆ ดังนั้นหากรัฐใด
ประกาศเขตเศรษฐกิจจำาเพาะไปแล้ว ไปประชิดกับรัฐใดๆ หรือไปทับซ้อนกับทะเลอาณาเขต หรือ เขต
ทางทะเลที่ถูกประกาศว่าเป็นเขตเศรษฐกิจจำาเพาะเช่นเดียวกันของรัฐอื่น จนมีการพิพาทกัน ก็ไม่เป็นที่
ยอมรับกัน เขตเศรษฐกิจจำาเพาะดังกล่าวย่อมไม่เกิดขึ้น และ ทำาไมต้องเป็น 200 ไมล์ ก็เพราะ เมื่อมี
รัฐที่ประกาศเขตเศรษฐกิจจำาเพาะดังกล่าว ระยะ 200 ไมล์ทะเล แล้วไม่มีรัฐใดไปประชิด โต้แย้ง เป็น
เวลายาวนานจนเป็นที่ยอมรับก็กลายมาเป็นกฎหมายจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับ สำาหรับรัฐนั้นๆ แต่
อาจจะไม่สามารถเรียกร้องได้สำาหรับรัฐอื่นๆ หากประกาศไปแล้วมีรัฐประชิดมาโต้แย้ง หรือ พิพาทใน
เขตดังกล่าว ย่อมไม่อาจจะเกิดเป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศได้สำาหรับรัฐนั้นๆ ดังนั้นหากประกาศ
เขตเศรษฐกิจจำาเพาะไปแล้ว 200 ไมล์ทะเล และไม่มีรัฐใดมาโต้แย้ง ระยะ 200 ไมล์ทะเล ย่อม
เป็นที่ยอมรับจนกลายเป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
ดังนั้นหากรัฐใดจะกล่าวอ้างว่ารัฐนั้นไม่ได้เป็นภาคีของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลจึง
ไม่ยอมรับเขตเศรษฐกิจจำาเพาะของใคร ทีก่ ำาหนดไว้ ย่อมไม่ได้เพราะหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจ
จำาเพาะได้กลายเป็นกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศไปแล้ว หากประกาศแล้วไม่มีใครมาโต้แย้ง
ในเขตที่ประกาศ แต่ถ้าประกาศไปแล้วมีรัฐมาโต้แย้งก็เป็นเรื่องแต่ละคู่พิพาทกันไป
8. สนธิสัญญา เป็น Law – Making Treaty ทั้งสิ้น แต่บางสนธิสัญญา เป็นสนธิ
สัญญาที่ผูกพันเฉพาะรัฐภาคี เพราะไม่ก่อให้เกิดหลักเกณฑ์ทางกฎหมายระหว่างประเทศในระนาบกว้าง
ผูกพันต่อรัฐอื่นๆ นอกจากรัฐภาคี สนธิสัญญานั้นก็เป็นบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างรัฐภาคีนั้นๆเท่านั้น
แต่บางสนธิสัญญา สิ่งที่บัญญัติในสนธิสัญญาได้กลายเป็นกฎหมายสำาหรับประชาคมโลก หรือ มาจาก
กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ สนธิสัญญานั้นก็มีฐานะเป็น Law – Making
Treaty ระนาบกว้าง สากล กล่าวคือ เป็นบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ สำาหรับประชาคมโลก
เช่น Vienna Convention 1969 และ อนุสัญญาว่าด้วยกฎหมายทะเลเป็นต้น มาจาก
กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ เพียงแต่ถูกประมวลรวบรวมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ก็เป็น
Law – Making Treaty ระดับสากล
9. นิติบุคคลต่างด้าว (Foreign juristic person/company) กับ
นิติบุคคลที่มีต่างด้าวเป็นเจ้าของ (Foreign – owned juristic
person/company) นั้นไม่เหมือนกัน เช่นนิติบุคคลนั้นแม้มีผู้ถือหุ้นป็นต่างด้าว
ทั้งหมดก็ตามแต่หากประเทศเจ้าบ้าน (Host country) ถือหลักจดทะเบียนในการกำาหนด
สัญชาติ นิติบุคคลใดที่จดทะเบียนโดยชอบด้วยกฎหมายในประเทศนั้นก็เป็นนิติบุคคลของรัฐนั้น เช่น
หากประเทศไทยถือหลักเกณฑ์การจดทะเบียนเป็นเกณฑ์ในการกำาหนดสัญชาติ นิติบุคคลใดที่จด
ทะเบียนโดยชอบด้วยกฎหมายในประเทศไทย ย่อมเป็นนิติบุคคลสัญชาติไทย แต่เมื่อมีคนต่างด้าวเป็น
เจ้าของไม่ว่าทั้งหมด หรือ ในสัดส่วนที่มากกว่าคนชาติ หรือเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของรัฐนั้นๆ ก็จะเป็น
นิติบุคคลไทยที่มีเจ้าของเป็นต่างด้าว (Foreign owned company) กล่าวคือเป็น
บริษัทไทยที่มีผู้ถือหุ้นต่างด้าว เป็นต้น ซึ่งรัฐนั้นอาจจะมีข้อกำาหนดจำากัดสิทธิบางประการในการ
ประกอบอาชีพ หรือ ประกอบธุรกิจได้
10. การตกลงให้มีการยุติข้อพิพาทโดยกลไกอนุญาโตตุลาการ (Arbitration
Clause) ทำาให้ตัดเขตอำานาจศาล หากคู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่งกล่าวอ้าง และเมื่อมีการใช้กลไก
อนุญาโตตุลาการแล้ว เขตอำานาจ ของอนุญาโตตุลาการ สามารถกำาหนดเองได้ รวมทั้งการใช้กฎหมาย
เว้นแต่จะมีการตกลงกันไว้เป็นประการอื่น

แนวตอบ

หลักกฎหมาย
1. การยุติข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศโดยวิธีอนุญาโตตุลาการเป็นไปตามหลักกฎหมายของ
การอนุญาโตตุลาการดังนี้

1. การนำาข้อพิพาทเสนอต่ออนุญาโตตุลาการเพื่อการระงับข้อพิพาทนั้น เป็นลักษณะของความสมัคร
ใจทีจ่ ะใช้อนุญาโตตุลาการ วิธีการดังกล่าวเป็นผลของความยินยอมของฝ่ายที่พิพาทกัน โดยการแสดงความ
ยินยอมที่ต้องมีลักษณะที่ชัดเจนและแน่นอนที่ก่อให้เกิดพันธกรณีระหว่างคู่พิพาทอย่างแท้จริง

2.อนุญาโตตุลาการจากการเลือกของฝ่ายที่พิพาทกัน ความตกลงใช้การอนุญาโตตุลาการ ที่กระทำากัน


โดยสัญญาเรียกว่า ข้อตกลงแห่งอนุญาโตตุลาการ (arbitration clause) ซึ่งอยู่ภายใต้บังคับแห่ง
กฎหมายว่าด้วยสัญญา ส่วนการมีผลใช้บังคับก็เป็นไปตามกระบวนการของกฎหมายภายใน ฝ่ายที่พิพาทกันอาจ
กำาหนดเนื้อหาของข้อตกลงได้อย่างเสรีซึ่งอาจแตกต่างออกไปจากกฎเกณฑ์ทั่วไปของสัญญา ข้อตกลงจึงถือเป็น
กฎหมายของการอนุญาโตตุลาการ ซึ่งมักประกอบด้วย การนิยามวัตถุที่ประสงค์ของการพิพาท กฎเกณฑ์เกี่ยวกับ
กระบวนวิธีพิจารณา กฎหมายที่ใช้บังคับ หากมีช่องโหว่ทางเทคนิคในกรณีที่ฝ่ายที่พิพาทกันเป็นภาคีในอนุสัญญา
นิวยอร์คว่าด้วยการบังคับให้เป็นไปตามคำาชี้ขาดอนุญาโตตุลาการ ก็ย่อมไม่ประสบปัญหายุ่งยากนัก เพราะ
ประเด็นที่เป็นช่องโหว่ยังตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎเกณฑ์ทั่วไปของอนุสัญญา

3. อนุญาโตตุลาการภาคบังคับ

1) รูปแบบของการแสดงเจตนาให้ใช้อนุญาโตตุลาการภาคบังคับ อนุญาโตตุลาการประเภทนี้เกิดจาก
การยอมรับล่วงหน้าก่อนจะมีข้อพิพาท อันเป็นผลจากการตกลงกันล่วงหน้าในสัญญา และทำาให้สามารถเริ่ม
กระบวนการได้โดยการกระทำาฝ่ายเดียวของฝ่ายที่พิพาทกัน อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติแล้ว ก็มักจะมีการทำาข้อตกลง
แห่งการอนุญาโตตุลาการขึ้นเพื่อระบุกระบวนการและวัตถุที่ประสงค์ให้ชัดเจน รวมไปถึงเพื่อการยืนยันลักษณะ
บังคับของการอนุญาโตตุลาการด้วย

2) การตกลงให้มีการอนุญาโตตุลาการหลังจากเกิดข้อพิพาทแล้ว เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของคู่
พิพาทว่าจะนำาข้อพิพาทสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการ หลังจากเกิดข้อพิพาทแล้ว (Submission to
arbitration)
ยิ่งกว่านั้นในสนธิสัญญาที่ทำากันระหว่างรัฐ เช่นในความตกลงการค้าเสรี อาจจะกำาหนดกลไกการยุติข้อ
พิพาท ระหว่างรัฐกับเอกชนได้ โดยอาจมีการบัญญัติข้อบททั้งสองประเภทไว้ด้วยกัน เช่น ในสนธิสัญญาทวิภาคี
ว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมการลงทุนต่างชาติ กล่าวคือใช้ข้อบทพิเศษสำาหรับข้อพิพาทระดับรัฐบาล และข้อ
บททั่วไปสำาหรับข้อพิพาทระหว่างรัฐผู้รับการลงทุนกับนักลงทุนเอกชนต่างชาติ

3) เทคนิคของการทำาสนธิสัญญาแห่งการอนุญาโตตุลาการ การแสดงเจตนาในสนธิสัญญาที่มุ่งให้มี
การใช้อนุญาโตตุลาการมีผลทางกฎหมายที่กว้างกว่าโดยเกี่ยวพันกับข้อพิพาทที่มีลักษณะกว้างกว่าเทคนิคก่อน
หน้านี้ ส่วนมากเป็นผลของสนธิสัญญาทวิภาคี
4) ขอบเขตการใช้ของการอนุญาโตตุลาการ อนุญาโตตุลาการอาจใช้ได้กับข้อพิพาททุกประเภทซึ่ง
ฝ่ายที่พิพาทกันต้องการ แต่ข้อพิพาทนั้นต้องเป็นข้อพิพาท ที่อาจจะตกลงกันระหว่างคู่พิพาทได้ หากเป็นข้อพิพาท
ที่ไม่อาจจะตกลงกันอันเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย หรือ ที่เป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ เช่น เกี่ยวกับ

ทรัพย์สินทางปัญญา ข้อตกลงว่าด้วยกฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษีอากร การแข่งขันทางการค้า ข้อพิพา ท


เหล่านี้จะไม่สามารถนำามาสู่การอนุญาโตตุลาการได้
5) คำาชีข้ าดอนุญาโตตุลาการไม่มีผลบังคับในตัว (legal enforcement) แต่มีผลทาง
กฎหมาย (Legal binding) ตามผลของการแสดงเจตนาผูกพันตามข้อตกลงอนุญาโตตุลาการ ดังนั้น
หากคู่พิพาทอีกฝ่ายที่ไม่ปฏิบัติตามคำาชี้ขาดอนุญาโตตุลาการ อีกฝ่ายหนึ่งสามารถนำาคำาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
ไปฟ้องให้ศาลบังคับตามคำาชี้ขาดได้

4. องค์กรอนุญาโตตุลาการ การจัดตั้งองค์กรอนุญาโตตุลาการ โดยหลักแล้วขึ้นอยู่กับเจตนารมณ์ของ


คู่พิพาทกัน ซึง่ จะตกลงกันว่าจะร่วมกันจัดตั้งองค์กรอนุญาโตตุลาการขึ้นเอง หรืออาศัยการจัดตั้งโดยบุคคลที่สาม
หรือสถาบันอนุญาโตตุลาการที่จัดตั้งขึ้นอย่างถาวรแล้ว

5. โครงสร้างขององค์กรอนุญาโตตุลาการ อนุญาโตตุลาการ จะประกอบด้วยตุลาการรายเดียว หรือ


หลายรายแต่มีจำานวนเป็นเลขคี่ เพื่อการตัดสินชี้ขาดข้อพิพาท

6. อำานาจขององค์กรอนุญาโตตุลาการ

1) อำานาจในการกำาหนดเขตอำานาจของอนุญาโตตุลาการอำานาจขององค์กรเกิดจากข้อตกลง

แห่งอนุญาโตตุลาการ ซึง่ อนุญาโตตุลาการในฐานะองค์กรทางการศาลย่อมมีอำานาจในการตีความได้กล่าวคือ มี


อำานาจในการกำาหนดเขตอำานาจขององค์กรเพื่อตัดสินปัญหาการโต้แย้งในเรื่องขอบเขตของเขตอำานาจของ
อนุญาโตตุลาการ มาตรา 9 ของแบบแห่งกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการของคณะกรรมาธิการกฎหมาย
ระหว่างประเทศ ได้ทำาประมวลจารีตประเพณีในเรื่องนี้ไว้ว่า อนุญาโตตุลาการตัดสินในเรื่องเขตอำานาจของตน มี
อำานาจที่จะตีความข้อตกลงแห่งอนุญาโตตุลาการและเอกสารอื่นๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานแห่งเขตอำานาจนั้น แต่การ
ตีความในลักษณะที่ขยายเขตอำานาจอาจถือเป็นการกระทำานอกเขตอำานาจของอนุญาโตตุลาการ

2) อำานาจในการกำาหนดกฎหมายที่ใช้บังคับ เช่นเดียวกับตุลาการทั้งปวง อนุญาโตตุลาการต้องตัดสิน


ตามกฎหมาย แม้จะปราศจากข้อบ่งชี้ใดๆ เกี่ยวกับกฎหมายที่ใช้บังคับ ในทางปฏิบัติข้อตกลงแห่ง
อนุญาโตตุลาการมักจะย้อนส่งไปสู่บ่อเกิดต่างๆ ของกฎหมายระหว่างประเทศ แต่ในกรณีที่มิได้มีการระบุ
อนุญาโตตุลาการจะปรับใช้กฎหมายระหว่างประเทศโดยอัตโนมัติ หากข้อตกลงระบุกฎเกณฑ์พิเศษเป็นการ
เฉพาะ อนุญาโตตุลาการก็ต้องให้ความสำาคัญแก่กฎเกณฑ์ดังกล่าวเป็นลำาดับแรก
3) อำานาจพิเศษในบางกรณี องค์กรอนุญาโตตุลาการได้รับอำานาจอย่างชัดแจ้งในการทำาข้อยุติที่เป็นผล
จากการต่อรองหารือกันบนพื้นฐานแห่งข้อพิจารณาที่มิใช่ทางกฎหมาย อันทำาให้ปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะของการ
ประนีประนอม การที่บัญญัติให้ตัดสินในกรณีเกิดช่องโหว่ของกฎหมาย ข้อตกลงแห่งอนุญาโตตุลาการในกรณี

ยกเว้นอาจให้อนุญาโตตุลาการวางกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่ใช้บังคับในอนาคต โดยมุ่งป้องกันการ

เกิดขึ้นของข้อพิพาทในทำานองเดียวกันอีกในอนาคต ซึง่ ทำาให้อนุญาโตตุลาการทำา


หน้าที่ในแง่นี้เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ข้อบทประเภทนี้เรียกว่า ข้อบทแห่งการระงับข้อพิพาทด้านผลประโยชน์

7. วิธีพิจารณาความ ตามหลักแล้ว วิธีพจิ ารณาความของอนุญาโตตุลาการจะเป็นไปตามที่รัฐฝ่ายที่


พิพาทกันตกลงกันในข้อตกลงแห่งอนุญาโตตุลาการหรือความตกลงอื่นใดที่ผูกพันรัฐที่เกี่ยวข้อง หากปราศจาก
กฎเกณฑ์เหล่านี้ อนุญาโตตุลาการก็มีอำานาจในการกำาหนดกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคดี ในปัจจุบันมีการ
พัฒนากฎเกณฑ์ในเรื่องนี้ในอนุสญ
ั ญาต่างๆ อันทำาให้กระบวนการมีลักษณะคล้ายกับที่ใช้กันในศาล อย่างไรก็ดีก็
ยังมีข้อแตกต่างจากวิธีการที่ใช้กันในศาลภายใน

8. กระบวนการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการเป็นความลับ โดยยอมรับให้มี


การทำาความเห็นแย้งไว้ในคำาชี้ขาดได้ เว้นแต่ฝ่ายที่พิพาทกันจะตกลงเป็นอย่างอื่น

9. คำาชีข้ าดของอนุญาโตตุลาการ เกิดจากการตัดสินของเสียงส่วนใหญ่ของอนุญาโตตุลาการ คำาชีข้ าด


ไม่จำาต้องประกอบด้วยการให้เหตุผลเสมอไป แต่ในปัจจุบันฝ่ายที่พิพาทมักจะกำาหนดให้ต้องมีการ
แสดงเหตุผลไว้ดว้ ย คำาชี้ขาดมีผลบังคับและผูกพันฝ่ายที่พิพาทซึ่งต้องออกมาตรการภายในทั้งปวงที่จำาเป็นในการ
ปฏิบัติตามคำาชี้ขาด แต่จะมีผลเฉพาะกับคู่ที่พิพาทกันเท่านั้น ส่วนการไม่เคารพผลคำาชี้ขาดย่อมก่อให้เกิด
ความรับผิดชอบของฝ่ายที่ฝ่าฝืน ตามหลักสัญญาย่อมผูกพัน (Pacta Sunt
Servanda)
10. วิธีการโต้แย้งคำาชี้ขาด คำาชี้ขาดอาจถูกโต้แย้งได้เช่นเดียวกับคำาพิพากษาทั่วไปกล่าวคือ ฝ่ายที่
พิพาทกันอาจขอให้อนุญาโตตุลาการที่ชี้ขาดทำาการตีความ แต่หากอนุญาโตตุลาการดังกล่าวยุติไปแล้ว ก็ให้
อนุญาโตตุลาการที่จัดตั้งขึ้นใหม่เป็นผู้ตีความ นอกจากนี้ยังอาจทำาการโต้แย้งเพื่อให้อนุญาโตตุลาการที่ทำาการ
ชี้ขาดแก้ไขคำาชี้ขาด เมื่อข้อตกลงแห่งอนุญาโตตุลาการกำาหนดไว้ แต่จะกระทำาได้เฉพาะในกรณีที่มีการยกอ้างการ

ค้นพบข้อเท็จจริงใหม่ที่ยังไม่เป็นที่ล่วงรู้ในขณะที่มีการทำาคำาชี้ขาดซึ่งจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
คำาชีข้ าด สำาหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งเพื่อให้เปลี่ยนแปลงคำาชีข้ าดอาจเกิดขึ้นได้เมื่อพิจารณาคำาชี้ขาดใน
ฐานะเป็นนิติกรรมซึ่งความสมบูรณ์ย่อมตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย
เพราะฉะนั้นฝ่ายที่พิพาทอาจยกอ้างความไม่สมบูรณ์ขึ้นกล่าวคือ การเป็นโมฆะของข้อตกลงแห่ง
อนุญาโตตุลาการ และการใช้อำานาจเกินขอบเขตโดยอนุญาโตตุลาการอันสืบเนื่องจากการไม่เคารพเงื่อนไขในข้อ
ตกลงแห่งอนุญาโตตุลาการ เช่น การตัดสินปัญหาที่มิได้กำาหนดไว้ในข้อตกลง หรือมิได้ใช้กฎหมายที่ระบุให้ใช้
บังคับ หรือการละเมิดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการพิจารณาคดี และเหตุที่ทำาให้คำาชี้ขาดเป็นโมฆะอีกประเภทหนึ่งคือ
การทุจริตประพฤติมชิ อบของอนุญาโตตุลาการ

อย่างไรก็ดี หากการยกอ้างเป็นผลจากการยืนยันฝ่ายเดียว ก็ย่อมไม่ผูกพันคู่พิพาท และย่อมนำาไปสู่ข้อพิพาทใหม่

โดยสรุปแล้ว การที่ฝ่ายต่างๆ ที่พิพาทกันสามารถควบคุมได้ทั้งองค์ประกอบของตุลาการและวิธิ


พิจารณาความด้วย ทำาให้ต่างก็มีความมั่นใจว่าจะได้รับความเป็นธรรม และที่สำาคัญก็คือ สามารถเลือกตัว
อนุญาโตตุลาการ ทีม่ ีความเชี่ยวชาญโดยตรงในเรื่องที่พิพาทกันได้ด้วย เหตุผลทั้งหลายเหล่านี้ทำาให้
อนุญาโตตุลาการเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย

2. ข้อพิพาทระหว่างเอกชนทางแพ่ง พาณิชย์ ที่มีองค์ประกอบต่างชาติ อยู่ภายใต้กฎหมายขัดกันซึ่ง


การให้ลักษณะกฎหมายแก่ข้อเท็จจริงในกรณีของข้อพิพาทนี้เป็นกรณี หนี้ที่เกิดจากนิติกรรมสัญญา ซึ่งให้ใช้
กฎหมายของประเทศที่ทำาสัญญาขึ้นนั้น

3. ตามปพพ. มาตรา 593 ถ้าผู้รับจ้างไม่เริ่มทำาการในเวลาอันสมควร หรือทำาการชักช้าฝ่าฝืนข้อ


กำาหนดแห่งสัญญาก็ดี หรือ ทำาการชักช้าโดยปราศจากความรับผิดของผู้ว่าจ้าง จนอาจคาดหมายล่วงหน้าได้ว่าการ
นั้นจะไม่สำาเร็จภายในกำาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ก็ดี ผู้วา่ จ้างชอบที่จะเลิกสัญญาเสียได้ มิพักต้องรอคอยให้ถึง
กำาหนดส่งมอบของนั้นเลย

มีการรวบรวมกม.ประเพณีรปท.การฑูตให้อยู่ในรูปอนุสัญญา เพื่อให้ชัดเจนแน่นอนกว่าในรูปกม.ไม่ลาย
ลักษณ์(จารีต) ปัจจุบันคกก.กม.รปท.ได้รวบรวมทางปฏิบัติ จารีตฯ สำาเร็จลง ในรูป อนุสญกรุงเวียนนาฑูต
๑๙๖๑ เปิดให้มีการลงนามหลายปท.เป็นภาคีอนุสญฉบับนี้รวมปท.ไทยด้วย ได้ตรากม.ภายใน พรบ.อนุวัติการ
อนุสญ.นี้แล้วเมื่อปี ๒๗ สถานะของอนุสญกรุงเวียนนาฑูตฯ มีสองสถานะ ๑.จารีตฯ ผูกพันทุกรัฐ เป็นจารีตฯ
ระดับสากลไม่ใช่ภูมิภาคจึงผูกพันทุกรัฐเลย ไม่ว่าเกิดก่อนหรือหลัง ๒.คืออนุสญ ผูกพันเฉพาะรัฐภาคีของ
อนุสัญญา

เป็นอนุสญที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางเนื้อหามากมาย จะสรุปเฉพาะประเด็นสำาคัญ ๆ ของหลักกม.


การฑูต

การแบ่งคณะผู้แทนการฑูต ได้มีการแบ่งชั้น หรือว่าประเภทของคณะผู้แทนทางการฑูตสามประเภท


๑.เอกอัครราชฑูต ambasder /เอกอัครราชฑูตผู้มีอำา นาจเต็ม / เอกอัครสมณฑูตลำา ดะบเดียวกับ(รัฐ
วาติกัน)

๒.รัฐฑูต envoi อัครสมณฑูต มักเป็นการแต่งตั้งเพื่อประกอบพิธีการ เรื่องใดเรื่องหนึ่งชั่วคราวเฉพาะกิจ


เสร็จแล้วไม่มีการประจำาถาวร

๓. อุปฑูต charge affair

ในชั้น๑ และ ๒ เป็นการแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ

มีตัวละคนรัฐผู้รับ รัฐผู้ส่ง การสถาปนาคสพ .ทางการฑูตของรัฐ บนพื้นฐานความยินยอม เป็นดลยพินิจของรัฐจะ


สถาปนาฯกับรัฐใดก็ได้ ขึ้นกับ รัฐผู้รับกับรัฐผู้ส่ง receiving state/sending state

ในชั้ น เอกอัค ร หรือ อัค ร เป็ น การแต่ง ตั้ง ระหว่ า งประมุ ข ไปประมุ ข ส่ ว นรัฐ ฑู ต เป็ นจาก รมต.ตปท. ไป
รมต.ตปท.

๑ ๒ มี หนังสือพระราชสาสน์ตราตั้งไปยังประมุข มีแบบพิธีการเป็นทางการ ส่วนการที่จะแต่งตั้งฑูตระดับใด ขึ้น


กับสภาพแวดล้อมทางการเมื องต่อกั น อาจสถาปนาเอกอัค รราชฑูต หากมี ปห.ทางการเมื องกัน ก็อาจมี การ
ลดคสพ.ทางการฑูตเหลือแค่อุปฑูต ขึ้นกับสภาพแวดล้อมทางการเมือง อนุสญฉบับนี้มิได้บังคับว่าต้องมีการแต่ง
ตั้งเอกอัครทุกรัฐ บางปท.งบน้อย ต้องมีสถานที่ทำาการมีเงินเดือนมีเจ้าหน้าที่รถประจำาตำาแหน่ง เพราะงั้นต้องใช้
เงินมาก รัฐงบน้อยทำาไม่ได้ ก็มีหลายปท.ที่แต่งตั้งฑูตขั้น๑สามารถไ/ปดำารงตน. ในปท.อื่น ๆด้วยคราวเดียวเพื่อ
ลดค่าใช้จ่าย

การเข้าดำารงตำาแหน่งทางการฑูต ปกติมีการขอความเห็นชอบที่เรียกว่า academont โดยปกติ รัฐผูส้ ่งจะ


ส่งรายชื่อไปให้รัฐผู้รับิจารณาให้ความเห็นชอบ บ.ที่มีรายชื่อ...เข้าดำารงตำาแหน่งไหม? ซึ่งก็เป็นดุลยพินิจของ
รัฐผูรับจะให้หรือไม่ให้ความเห็นชอบก็ได้ และไม่จำา ต้องให้เหตุผล ก็เพราะว่า ถ้าการให้เหตุผล เป็นการกระ
ทบคสพ.รปท. ที่ละเอียดอ่อน เพียงแค่แจ้งเฉย ๆไม่จำาต้องให้เหตุผลประกอบ ถ้าไม่ให้ความเห็นชอบ รัฐผู้ส่งก็
ต้องเปลี่ยนตัว เสนอไปใหม่

Agremont ให้ความเห็นชอบ หากส่งคนประวัติไม่ดีก็อาจมีปห.ภายหลัง ต้องให้ความเห็นชอบจากรัฐ


ผู้รับเสียก่อน ผ่นการคัดเลือกนิดนึงว่าเคยมีประวัติจารกรรม อาชญากรรม หรือมีประวัติหมิ่นประมาทใครไหม?
Persona non grata เมื่อผ่านขั้นตอนนี้ก็จะมีรูปแบบพิธีอีก คือการถวาย เสนอพระราชสาสน์ตรา
ตั้งเป็นแบบพิธีเต็มขั้น แล้วแต่ปท. ว่ามีรูปแบบใด บางปท.อาจมีการพบปะ top state หรืออาจ มีรถม้า
เข้ามาต้อนรับ มีการถวายเกียรติยศเต็มที่ แล้วแต่แต่ละประเทศในแบบพิธีมากน้อยเท่าใด ส่วนการสิ้นสุดของการ
ดำา รงตำา แหน่งทางการฑูต โดยปกติมีวาระสี่ปีหกปี แล้วแต่ เป็นการครบวาระจากการที่ดำา รงตำา แหน่ง มการผัด
เปลี่ยนหมุนเวียนกันไป บางกรณีอาจมีเหตุการณ์ทำาให้การปฏิบัติหน้าที่สิ้นสุดลงก่อนที่จะถึงวาระ เช่นการเรียก
ตัวฑูตกลับ เช่นกรณีความขัดแย้งกันระหว่างประเทศ มีปัญหาต่อกัน รัฐผู้ส่งอาจเรียกฑูตของตนกลับปท. รัฐผูรับ
อาจโต้ตอบโดยเรียกฑูตตนกลับเช่นกัน หรือการที่รัฐผู้รับประกาศ ฑูตที่มาปฏิบัติว่เป็น persona non
grata ประกาศว่าฑูตหรืออุปฑูตท่านนี่เป็นบ.ไม่พึงปรารถนา ต้องทำาให้คนนั้นเดินทางออกนอกปท.ใน ๒๔
หรือ ๔๘ ชม.มิงั้นไม่ได้รับเอกสิทธิความคุ้มกัน เหตุผลอาจมาจากเป็นบ.ที่พัวพัน การจารกรรม อาชญากรรม
หรือเข้าไปแทรกแซงกิจการภายในของรัฐผู้รับ ซึ่งในทางการฑูต ถือเป็นเรื่องสำา คั ญว่า ไม่ค วรเข้ าไปก้าวก่า ย
กิจการภายในของปท.น้น ๆ รัฐผุ้รับอาจประกาศได้เลยว่าเป็นบ.ไม่พึงปรารถนาแล้วให้เวลาออกนอกปท.

หน้าที่ของผู้แทนการฑูต มีหน้าที่อย่างไรบ้าง? ประการแรกสำาคัญที่สุด ตัวแทนการฑูต เป็นผู้แทนของรัฐ เป็น


representative ของรัฐผูส้ ่ง เป็นผู้แทนของรัฐในทางรปท. ฑูต ถือเป็นบ.ทีส่ ำาคัญมาก เป็นผู้แทนรัฐ
กกท.บางอย่างอาจผูกพันปท. และในอนุสญกรุงเวียนนา ๑๙๖๙ ก็ยอมรับว่า เอกอัครฯ เป็น บ.ที่มีอำานาจในการ
ทำาสนธิสัญญาโดยตำาแหน่ ง ex officeio เป็นผู้รับผิดชอบผู้แทนรัฐในคสพ.รปท.

หน้าที่ประการสองคือ หน้าที่ในการหาข่าวติดตามข่าวสารแจ้งข่าว รายงานมายังรัฐผู้ส่ง ซึ่งการหาข่าวติดตาม


ข่าวสารข้อมูลไม่จำากัดว่าเรื่องใดบ้าง อาจขยายไปเรื่อง ศก. การค้า ไม่เฉพาะการเมือง อาจมี สังคม วัฒนธรรม
ความร่วมมือด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการค้า การศก. ฑูต เป็นบ.มีความรู้มากมาย งานละเอียดอ่อน ไม่เฉพาะงาน
พิธีกินเลี้ยง เป็นเพียงส่วนหนี่งของนท.การฑูต เพื่อได้ทราบขอ้มูลติดตามการเคลื่อนไหวไปยังรัฐผุ้ส่งเพื่อกำาหนด
ท่าทีรปท.ต่อไป

อีกเรื่องที่สำาคัญมากคือ เอกสิทธิ์และความุคุ้มกันของตัวกทนการฑูต เอกสิทธิเป็นการให้ปย .ในกม.สารบ ญ เช่น


ได้รับการยกเว้นอะไรบางอย่าง การให้สิทธิในการไม่เสียภาษี หรือยกเว้น ค่าธรรมเนียม ต่าง ๆ ส่วนความคุ้มกัน
เป็นภาวะที่ปลอดจากกม.วิธีสบัญญัติ (immunity) ความคุ้มกัน หรือสิทธิยกเว้น เป็นสภาวะที่ตัวแทน
ทางฑูตไม่ตกใต้กม.วิธีสบัญญัติ ไม่สามารถใช้กับตัวแทนทางการฑูตได้แบ่งเป็น ๓ ช่วงด้วยกัน

๑.ก่อนการพิจารณาคดีศาล pretrial คือตัวแทนการฑูตไม่สามารถถูกจับกุมคุมขังได้ หรือเรียกให้เป็นพยาน


ในศาลก็ไม่ได้ จะส่งหมายศาลให้ฑูตไปให้การไม่ได้หากไม่ยินยอม เว้นเสียแต่เขายินยอมด้วย

๒.ความคุ้มกันในการพิจารณาคดี คือตัวแทนทางฑูตไม่สามารถถูกพิจารณาคดีในศาลได้ เป็นความคุ้มกันหลัง


การพิจารณาคดี ครอบคลุมตลอดหมด ความคุ้มกันที่สำาคัญคือ ด้านตัวบุคคล ม.๒๙ อนุสญกรุงเวียนนา ตัวแทน
การฑูต ถูกจับกุมคุมขังไม่ได้ เป็นความคุ้มกันเด็ดขาด ไม่สนว่า กระทำาเชิงส่วนตัวหรือหน้าที่การงาน เมื่อเป็นคดี
อาญา ฑูตจะได้รับความคุ้มกันเด็ดขาด ไม่มีจำากัดเลย

นอกจากนี้แล้ว รัฐผู้รับต้องปฏิบัติกับตัวฑูตอย่างให้เกียรติสมเกียรติ เพราะฑูต ไม่ใช่เ ป็นบ.ธรรมดา เป็นถึงผู้


แทนของรัฐ ต้องให้เกียรติอย่างมาก ๆ อย่างไรก็ตามมีปห.ว่าการที่ฑูตขับรถแล้วมีการตั้งด่านตรวจปริมาณอัลกอ
ฮอลล์ โดยปกติถ้าฑูตไม่ยอมก็บังคับไม่ได แต่บางปท.ต้องชี้แจง เพื่อปย.ทางด่านสวัสดิภาพของฑูต เอง เช่น
เยอรมัน
ในส่วนคดีอาญา แม้ว่าฑูต กท.ผิดอาญาแล้วจับไม่ได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าไม่ถูกดำา เนินคดี รัฐผู้ส่งสามารถ
ดำาเนินคดีได้ ถ้าหมดวาระแล้ว ก็จะถูกดำาเนินคดี หรือทางวินัยด้ว ยเพียงแต่ว่าในช่วงที่ปฏิบัติหน้าที่ฐานะเป็นฑู ต
รัฐผู้รับจับกุมไม่ได้ อีกประการคือ กรณีรัฐผู้ส่งสละความคุ้มกัน ดังนี้ ก็ดำาเนินคดีได้

รัฐผูส้ งมีอำานาจสละความคุ้มกัน

ในอนุสญกรุงเวียนนา บญว่า แม้ว่าได้รับความคุ้มกันแต่ก็มีหน้าที่ต้องเคารพกม.ท้องถิ่นของรัฐผู้รับด้วย ความคุ้ม


กันอีกประเภทนึงคือคุ้มกันสถานฑูต ไม่ตกใต้กม.ภายในของรัฐผู้รับ จนท.ของรัฐผูรับจะเข้าไปในสถานฑูตไม
ได้หากไม่ได้รับ ความยินยอมจากหัวหน้าคณะผูแ้ ทนทางการฑูต หรือบางกรณีเกิดฉุกเฉิน ก็เข้าไปได้ เช่นไฟไหม้
โดยเจ้าหน้าที่สถานฑูตร้องขอ เป็นข้อยกเว้น ไม่งั้นไฟอาจลุกลาม แต่กรณีแบบนี้ยังเถียงกันเราะเกรงว่าอาจมีกร
สร้างสถานการรณ์

สถานที่หรือที่ทำาการของฑูต มีความสำาคัญ เพราะว่า ถ้าสถานที่ไม่ได้รับความคุ้มกัน การปฏิบัติหน้าที่ของฑูตอาจ


ถูกแทรกแซง ในบริเวณสถานที่รวมบ้านพันกฑูกต้องได้รับความคุ้มกัน ละเมิดมิได้ นอกจากนี้แล้วเนี่ย บรรดา
เอกสาร บรรณสาร พวกหีบห่อจม.ทั้งหลาย ของฑูต ก็ได้รับความคุ้มกันด้วย เจ้าหน้าที่จะองรัฐผู้รับจะเปิดหีบห่อ
ตรวจค้นโดยไม่ยินยอมไม่ได้ เพื่อให้เจ้าหน้าที่พูตสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เต็มที่ไม่ต้องเกรงจะเกิดการแทรกแซง
ขึ้น

คณะมนตรีฯ มีหน้าที่หลักในกลไกรักษาสันติภาพของโลก อีกประการคือ ในการคณะมนตรีโดยอำานาจในม.๙๔


หน้าที่บังคับการให้เป็นไปตามคำาพิพากษาของโลก (ป้องกันเหตุ เมื่อมีเหตุร้าวฉานหรือการกระทำาอันตรายต้อง
ควบคุมเร็ว กับส่วนที่บังคับการให้เป็นไปตามคำา พิพากษา) ไปสู่ขั้น คม. คือตกลงกันสองฝ่ายไม่เป็นผล และ
การตกลงระดับภูมิภาคก่อน asean ก็จะเกี่ยวข้องกับ un อยู่แล้ว ก่อนเข้าสู่ un ส่วนว่าผลจะเป็นอย่างไร
ขึ้ น กั บ การเจรจาทั้ ง สองฝ่ า ย บทบาทของ asean สื บ เนื่ อ งจาก กั ม พู ช าและไทยเป็ น ภาคี ส มาชิ ก ของ
asean เราเรียกได้ว่ามีความมั่นคงทางการเมืองมาตลอด ก่อน asean มีปห.ทวิภาคีหลายคู่เลย แต่หลัง
asean สำาเร็จ โดยความสมานฉันท์ ทำา ให้ปห.ชายแดนลดลงอย่างมากจนน่าพอใจ กระทั่งเราสามารถยุติ
เรื่องปาปัวนิวกินี ติมอร์ เป็นครั้งแรก หากว่าการเจรจาสองฝ่ายไม่สำาเร็จ อาเซียนก็ต้องยื่นมือมาเกี่ยว ให้สำาเร็จใน
ชั้นทวิภาคี อาเซียนเป็นองค์กรระดับภูมิภาค มีกลไกยุติข้อพิพาท เริ่มจาก จัดให้มีการเจรจา เกี่ยวข้องกัน น.๖ (จัด
เจรจา) หรือเจรจาสองฝ่ายภายใต้การดำาเนินการของอาเซียน ประนีประนอมไกล่เกลี่ย เป็น peace full
settlement หากยุติตั้งแต่ทวิภาคี หรือระดับอาเซียน ก็ดีแล้ว การที่ระดับผู้นำาของแต่ละปท.สามารถมา
เจรจากัน อาจมีความตกลงซึ่งนำาไปสู่ผลของการปฏิบัติได้ อาจไม่ต้องถึงกับ un พิสูจน์ได้จาก การที่อาเซียน
ดำารงมาตลอด จนถึงปัจจุบัน

องค์การรปท.สามารถจำาแนกได้เป็นกี่ประเภท? ไรบ้าง ? องค์การฯ จำาแนกได้เป็นสามประเภทคือ ถือเอาขอบ


ทางภูมิศาสตร์ จุดมุ่งหมาย และ ขอบข่ายอำานาจ กรณีนี้ถ้าถือเอาขอบภูมิศาสตร์แบ่งได้เป็น แบบสากล และส่วน
ท้องถิ่น สากลคือรัฐจำานวนมากไม่มีข้อจำากัดที่ตั้งภูมิศาสตร์ แบบนี้มีขอบปฏิบัติงานครอบคลุมหลายเรื่องไม่จำากัด
รัฐใดรัฐหนึ่ง ที่รู้คือ UN รวมพวกทบวงชำานัญพิเศษต่าง ๆ ด้วย องค์การส่วนท้องถิ่นนั้น มีขอบข่ายเฉพาะบาง
ท้องที่หรือภูมิภาคหนึ่งเช่น eu asean ถ้าถือเอาจุดมุ่งหมายเป็นสำาคัญแบ่งเป็น จุดหมายกว้างขวางและจุด
หมายแคบเฉพาะเจาะจง ที่กว้างขวาง คือหลายด้าน เช่น un ส่วนเจาะจงเช่น wto who unesco
องค์การแรงงานสากล

ตามขอบข่ายอำานาจคือองคืการที่มีอำานาจเหนือรัฐ และที่ไม่มีอำานาจเหนือรัฐ

ให้อธิบายหลักเกณฑ์องค์ประกอบความรับผิดของรัฐ องค์ประกอบแนวคลาสสิค หรือที่ตั้งบนพื้นฐานความผิด


รัฐรับผิดต่อเมือได้กระทำาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ การกระทำา นั้นถูกตำา หนิได้ว่าตนเองผิด องค์ประกอบ
สำาคัญมีสองส่วน คือเกิดจากการกระทำาของรัฐ อาจเกิดจากการกระทำาของฝ่ายนิติบญ ฝ่ายบริหาร ตุลาการ รวมถึง
การกระทำาของพลเรือนหรือเอกชนด้วย ไม่จำากัดว่าต้องเป็นการกระทำาเจ้าหน้าทีรัฐเท่านั้น เช่น กรณีที่ เกิดกรณี
เตหะรานเคส คือ ประชาชนพลเรือนนักศึกษาชาวมิลานบุกเข้าไปทำาลายเผาหรือค้นเอกสารแล้วก็จับกุมนัก การฑูต
ประชาชน แม้เป็นการกระทำาของเอชนชาวอิหร่าน แต่ว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐของอิหร่านถือว่ามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย
เพราะว่าไม่ได้จับกุมห้ามปรามยับยั้ง เพราะงั้นถือว่าเป็นการกระทำาของรัฐ คือเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
องค์ ป ระกอบข้ อ สองคื อ เป็ น การละเมิ ด พั น ธะกรณี ร ะหว่ า งประเทศในรู ป สนธิ ส ญ ประเพณี จ ารี ต ฯ หลั ก
กม.ทั่วไป การจับกุมลักพาตัวนักการฑูต การบุกรุกทำา ลายสถานฑูต เป็นการละเมิดอนุสญกรุงเวียนนาว่าด้วย
ความสัมพันธ์ทางการฑูตในฐานะอนุสญ และในฐานะจารีตประเพณีระหว่างประเทศ ต้องได้รับความคุ้มกัน
สำาหรับฑูต และสถานฑูต ส่วนเรื่องความเสียหายไม่เป็นอปก.ที่สำาคัญทักครั้งที่ละเมิดย่อมมีความเสียหายในตัว
คำานวณเป็นตัวเงินได้และไม่ได้ ไม่จำาต้องพิสูจน์เรื่องความเสียหาย สรุปคือ องค์ประกอบสำาคัญ มีสองประการ
คือ การกระทำาที่ก่ล่าวอ้างได้ว่าหรือถือได้ว่าเป็นการกระทำาของรัฐและการกระทำานั้นเป็นการละเมิดพันธะกรณี
ระหว่างประเทศ

การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธีเป็นพันธะกรณีทุกปท.เลือกก่อนโดยคำานึงเสรีภาพของรัฐในการเลือกวิธีการระงับ
ข้อพิพาทอย่างสันติวิธี ส่วนการระงับข้อพิพาททางการเมืองเป็นระหว่างรัฐ คือรัฐต่อรัฐจะนำามาซึ่งการระงับข้อ
พิพาทด้วยกันเองหรือมีรัฐอื่นมาเกี่ยว กับการระงับโดยผ่านองค์การ รปท.

วิธีการระหว่างรัฐ เจรจาทางการฑูต การเข้าร่วมโดยบ.ทีส่ าม

การเจรจาทางการฑูต โดยปกติมีพันธะกรณีจากมูลฐานกม.รปท.โดยเฉพาะพันธกิจภายใต้un ทุกรัฐมีหน้าที่ใน


ทุกสถานการณ์ในการแก้ไขข้อพิพาททางการฑูต ผลของพันธะกรณีมีหลายระดับขึ้นกับองค์ประกอบ

อาจเป็นทวิภาคี หรือพหุภาคีเจรจา

กรณีมีรัฐที่สาม เข้ามาเกี่ยวข้อง มีวิธีการโดยการจัดเจรจา ไกลเกลี่ย สองกลุ่ม


อีกประการ การสืบสวนหาข้อเท็จจริง แสวงหาข้อเท็จจริงที่เกิดเพื่อให้ทราบว่ามูลฐานของปห.เกิดจากอะไร มี
มูลฐานในสนธิสญ คือรัฐคู่กรณีต้องปฏิบิติตามสญ

กลไกประนีประนอมรปท.เป็นเรื่องการที่รัฐพิพาทตกลงหันมาเจรจา และประนีประนอมระหว่างกัน ทำาโดยรัฐคู่


พิพาทแต่งตังให้มีรัฐใดหนึ่งขึ้นมาช่วยประนีประนอม แตกต่างจากกรณีจัดเจรจาหรือไกลเกลี่ย การจัดเจรจามีรัฐที่
สามจัดให้มี โดยรรัฐที่จัดไม่ได้เกี่ยวข้องส่วนการไกกล่เกลี่ย รัฐทีสามมาช่วย

การประนีประนอมคือรัฐทำาให้สองฝ่ายหันหน้ามาประนีประนอม อาศัยรัฐที่สามมาช่วย หรืออาจมีการแต่งตั้งรัฐที่


สามเป็นองค์อนุญาโตตุลาการ

กลไกลระงับฯผ่าองค์การระหว่างประเทศ ระดับสากล un ภูมิภาค asean หรือสหภาพยุโรป อันนี้เป็น


ตย. มีองค์การ รปท.ที่มีเขตอำานาจทางศก เช่น wto สำาหรับ un โดยหลักทั่วไปก็มีอำานาจในการกำา หนด
สัมพันธภาพรปท.โดยให้ทุกปท.อยู่กันอย่างสันติวิธีนอกจากนั้นมีกลไกในการดำา เนินการระงับข้อพิพาทโดย
องค์กรต่าง ๆ เช่นโดยคณะมนตรีความมั่นคง และโดยศาล

ในกรณีของคณะมนตรีฯ รัฐภาคีสมาชิกร้องขอให้คม.ตรวจสอบหรือมีอำานาจผ่านทางสมัชชาใหญ่หรือเลขาธิการ
สหประชาชาติก็เป็นกลไกในการมีสิทธิร้องขอ ผลของการร้องขอ นำาเรื่องขึ้น คม. เพื่อตรวจสอบดูสถานการณ์
ก่อนที่จะมีผลก็อาจมีคำาสั่งชั่วคราว หลังเข้าไปตรวจสอบแล้วมีผลสองประการคือยันยัน หรือตกไป แต่หากมูล
การร้องขอจริงก็ดำาเนินการต่อไปในขั้นของการ boycott sanction หรือตักเตือน ขอให้ยุติการกระ
ทำาที่เป็นปฏิปักษ์ต่อสันติภาพของโลก อาจเพิ่มระดับจนถึงขั้นใช้กองกำาลังสหประชาชาติ เป็นกลไกที่เราอาจต้อง
เข้าไปเกี่ยวข้องหากระดับความร้อนแรงไม่ลดลง เลย ก่อนสู่ขั้นศาล

คณะมนตรีฯ มีวิธีการดำาเนินการโดยการขอใช้อำานาจโดยตรงโดยทำาคำาเสนอเชื้อเชิญจากฝ่ายต่าง ๆ สามฝ่าย คือ


สมัชชาใหญ่ ใช้อำานาจกำาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ รวมการนำาเรื่องเสนอคม. เลขาฯก็มีอำานาจโดยตำาแหน่ง
จะเรียกร้องให้คณะมนตรีฯ นำาข้อพิพาทขึ้นพิจารณาส่วนองค์การระดับภูมิภาคเช่นอาเซียน องค์การรปท.ระดับ
ภูมิภาคมีกลไกระงับข้อพิพาททุกองค์การ องค์การฯกำาหนดไว้ว่าหากสมาชิกพิพาทกันจะยุติกันอย่างไร มีความ
สัมพันธ์กับสหประชาชาติ หากว่าเป็นทั้งสมาชิกสหประชาชาติและภูมิภาค ก็ต้องให้ภูมิภาคดำาเนินก่อน เริ่มแต่
ทวิภาคีก่อน ไปพหุภาคี อาเซียน ไปสู่ระดับ un ถ้าตรงนั้นไม่เรียบร้อยก็ขึ้นสู่ศาลโลกต่อไป ศาลโลกต้องได้รับ
ความแสดงเจตนาที่จะยอมรับเขตอำานาจศาลด้วย

ส่วนการระงับฯที่ไม่ใช่ทางการศาล คือว่า เป็นพิจารณาในเรื่องบทบญทั่วไปขององค์การนั้นที่กำาหนดกลไกไว้


เช่น องค์ การรัฐ อเมิ รกา อาเซี ยน องค์ การรปท.ที่มีเ ขตทางศก.ได้แ ก่องค์ การที่มี บทบาททางศก เช่น wto
nafta หรือ eu ก็จะมีกลไกที่กำาหนดใต้ตราสารจัดตั้งนั้น ปกติก้มักจะไม่ใช่กลไกที่ให้อำานาจเกี่ยวกับการ
ยุติข้ อพิพาทอย่า งศาล มั กเป็น การเจรจาหรือมี องค์ ค ณะที่ดูแ ล มีค ณะกรรมการยุติข้ อพิพาทของ wto เอง
เป็นต้น แต่ละองค์การกำาหนดไว้ในตราสารจัดตั้ง หรือองค์การทางเทคนิคก็จะกำาหนดลักษณะและวิธีการภายใต้
กลไกขององค์การ ส่วนการระงับฯทางศาล ระงับโดยอนุญาโต และศาลยุติธรรมฯ
อนุญาโตฯ มีวิวัฒนาการยาวนาน รัฐคู่พิพาทได้กำา หนดตกลงยินยอมให้อนุญาโตฯ เป็นกลไกในการให้ความ
พิจารณาชี้ขาดในข้อพิพาทนั้น ดังนั้นขึ้นกับการสมัครใจที่จะใช้อนุญาโตตุลาการมีทั้งแบบถาวร และแบบเฉพาะ
กิจ ปัจจุบันมีหน่วยงานต่าง ๆ มากมายตั้งเป็นองค์กรอนุญาโตฯ มีความพยายามจัดตั้งสถาบันอนุญาโตฯถาวรเพื่อ
เป็นทางเลือกของการยุติ้ข้อพิพาท โดยกำาหนดกระบวนการขอบอำานาจ และกลไกต่าง ๆ ขึ้นมา คำาชี้ขาดในตัวเอง
ต่างจากคำาพิพากษาของศาล เพราะศาลบังคับให้เป็นไปในตัวได้ แต่คำาชี้ขาดฯโดยปกติมีผลทางกม.แต่บังคับให้
เป็นไปตามคำาชี้ขาดในตัวเองไม่ได้ ต้องอาศัยความสมัครใจของคู่พิพาทที่จะปฏิบัติตามคำา ชี้ขาดบนหลักสัญญา
ย่อมผูกพัน รัฐต่าง ๆ อาจตกลงทำาสนธิสญเพื่อผูกพันตามคำาชี้ขาออนุญาโตโดยไม่ต้องดำาเนินการทางศาลซำ้าซ้อน
อีก ช่วยให้การยุติข้อพิพาทรวดเร็ว นอกจากนั้นยังกำาหนดเกี่ยวกับวิธีการโต้แย้งคำาชี้ขาด ในกรณีทีคำาชี้ขาดได้มา
โดยไม่ถูกต้อง คู่พิพาทสามารถโต้แย้งคำา ชี้ขาดได้เพื่อใหเป็นที่ยอมรับ ส่วนมากมักโต้แย้งกันในเรื่องการนำาข้อ
พิพาทขึ้นสูอ่นุญาโตฯว่าข้อตกลงนั้นไม่ชอบ เป็นรายละเอียดที่ต้องศึกษา

การระงับฯทางศาลได้แก่ศาลยุติธรรมรปท. ศาลรปท.อื่นๆ ที่มีเขตอำานาจเฉาะเรือง องค์คณะ อัยการ เจ้าหน้าที่


ศาล มีการกำาหนดองค์คณะว่าได้จากไหน

ศาลจัดตั้งใต้ un มีองค์ประกอบ องค์คณะตุลาการ อัยการ ฝ่ายจนท.ศาล กำาหนดองค์คณะว่าได้มาจากการแต่ง


ตั้งเลือกตั้ง สถานะตุลาการองค์ประกอบหน้าที่ คุณสมบัติการเป็นคุ่ความ ในกรณีเขตอำานาจศาลมีได้แต่เฉพาะใน
คดีที่คู่ความยอมรับเขตอำานาจศาล ศาลสามารถพิจารณาได้ว่าคู่พิพาทมีเขตอำานาจศาล ศาลตัดสินคดีนั้นได้หรือไม่
เป้นความตกลงเขตอำานาจศาล การเลือกใช้การระงับข้อพิพาท ประเด็นแรกเลย คดีนั้นสามารถนำาขึ้นเสนอต่อศาล
ยุติธรรมระหว่างประเทศหรือไม่ ผู้พิพากษาเป็นผู้ตัดสินว่าศาลมีเขตอำานาจไหม? ส่วนวิธีพิจารณาความกำาหนด
ไว้ในธรรมนูญศาลยุติธรรมรปท.องค์คณะวิธีพิจารณาการเบิกความเอกสาร

อำานาจของศาลยุติธรรมรปท.มีอำานาจในการตัดสินเขตอำานาจตน ออกคำาสั่ง กม.ที่ใช้บังคับเป็นไปตามธรรมนูญ


ศาลได้แก่ สนธิสญ จารีตฯ หลักกมทป.คำา วินิจฉัยศาล ทฤษฎีกม.อำานาจพิเศษที่เกี่ยวข้องกับคดี คำา ตัดสินของ
ศาลฯ ประกอบด้วยสาระ ผล และการบังคับให้เป็นไปตามคำาพิพากษาของศาล ศาลยังมีหน้าที่ในการให้ความเห็น
เชิงปรึกษาหากมีการทำาคำาร้องขอต่อศาล ผลของความเห็นเป็นความเห็นแตกต่างจากคำาพิพากษาที่ผูกพันรัฐและ
กล่าวอ้างได้กับรัฐอื่น ๆ

ศาลรปท.อื่น ๆซึ่งมีอำานาจเฉพาะเช่น ศาลกม.ทะเลเป็นศาลพิเศาดูแลปห.พิพาทางทะเล องค์การการค้าโลก ศาล


อาญารปท.

แต่ละศาลก็กำาหนดไว้ในตราศาลธรรมนูญที่กอตั้งเอง

ศาลอาญารปท.มีวิวัฒนาการมาหลังสงครามจากความโหดร้ายทารุนตระหนักกันว่าควรมีศาลมาดำา เนินคดีใน
อาชญากรรมที่โหดร้าย เขตอำานาจของศาลอาญาฯแบ่งเป็นทางด้านเวลา ภูมิศาสตร์ และสารัตถะ ที่สำาคัญในเรื่อง
อาชญากรรมไม่ใช่ทุกชนิดที่สามมารถนำาขึ้นศาลอาญารปท.ต้องเป็นอาชญากรรมเฉพาะที่กน.ไว้ในธรรมนูญ
เท่านั้น และศาลอาญารปท.เป็นเพียงหลักการเสริมเขตอำานาจศาลภายในเป็นเรื่องขอความร่วมมือของรัฐต่อศาล
อาญารปท.มีกลไกพัฒนากมงช่วยให้ผู้กระทำา ความผิดต้องรับโทษ เกิดจากความโหดร้ายทารุนของอาชญากร
รมรปท.ใต้สงคราม เดิมทีมีศาลเฉพาะกิจ ได้แก่ศาลทหารรปท. พิพากษาอาชญากรสงคราม ต่อมาธรรมนูญกรุง
โรมได้จัดตั้งศาลอาญารปท.ขึ้นเริ่มจากสหประชาติ ศาลอาญาฯ เป็นองค์กรอิสระไม่ขึ้นกับ un เลยแต่ก็สัมพัน์
กัน สหประชาชาติมีสว่นนำาคดีขึ้นศาลอาญารปท.แต่ศาลฯไม่ได้คุมโดย uj

ศาลอาญาฯต้งโดยพหุภาคี โครงสร้างปก.ด้วยองค์คณะมีฝ่ายอุทธรณ์ฝ่ายพิจารณา สนง.อัยการ สนง.ทะเบียน


สมัชชา

ด้านเวลาจำากัดเฉพาะอาชญากรรมหลังการบังคบใช้ธรรมนูญศาล ด้านสถานที่คือขอบเขตอำานาจเหนือเขตแดนใด
บ้างดูช่องทาง คมนตรีun ส่งเรื่องหรืออัยการหรือรัฐภาคีดำาเนินการเอง ด้านสาระต้องเป็นอาชญากรรมร้ายแรง
การกำา หนดเขตอำา นาจฯ กน.ไว้ในธรรมนูญฯ มีการแก้ไขปห.ของศาลยุตธรรมรปท. กำา หนดว่ารัฐสมาชิกจะ
กำาหนดข้อสงวนไม่ได้ ทุกรัฐสมาชิกต้องยอมรับเขตอำานาจศาลไม่เหมือนกับศาลยุติธรรมรปท นอกจากนั้นรัฐที่
มิใช่ภาคีก็ยอมรับได้

คณะมนตรีฯส่งเรื่องให้ศาลอาญารปท.ได้ สมาชิก un ก็ใช้กลไกผ่านคม.นำาเรื่องเสนอต่อศาลอาญารปท.

คดีฆ่าล้างเผ่าพันธื อาชญากรรมมนุษยชาติ อาชญากรรมสงคราม การรุกราน เป็นอาชญากรรมพิเศษไม่ใช่อายา


ทั่วไป สิ่งสำาคัคือศาลอาญารปท.เป็นหลักการเสริมเขตอำานาจศาล กลไกในการทำางานกับศาลภายในนั้นต้องปราก
ฎว่ามีการปฏิเสธไม่ดำา เนินคดีของศาลภายในปท.ซะก่อน ส่วนการลงโทษการยกฟ้องการชี้ขาดข้อโต้แย้งเป็น
อำา นาจของศาล สมาชิกต้องมีการให้ความร่วมมือของรัฐต่อศาลอาญารปท. เช่นการจับตัว โอนตัว สอบสวน
ดำาเนินคดี พันธะกรณีตามสนธิสญกับรัฐอื่น ดุลยพินิจของศาลที่จะไม่เป็นภาคีของศาลอาญารปท.

ศาลอาญาฯ มีการพัฒนาระบบศาลทำาให้ทุกปท.นั้นซึ่งจะเคยมีปัญหาเร่องการลงโทษผู้กระทำาความผิดโดยไม่อาจ
มีศาลใดลงโทษได้ เมื่อมีกลไกศาลอาญาฯ ช่วยให้ปห.หมดสิ้นไป อย่างไรก็ตามปัญหาการจัดต้งศาลอาญารปท.
ไม่หมดสิ้นไป ในไทยนั้น เป็นปท.ที่ได้รับรองธรรมนูญกรุงโรม แต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบันด้ว ย มีปห.คือเรามี
พันธกรณีกับสหรัฐอเมริกา ไม่ส่งผู้ร้ายข้ามแดงมันขัดกัน เพราะรัฐสมาชิกของศาลอาญาฯต้องให้ความรวมมือ
โดยไม่มีข้อสงวนขณะเดียวกันเรามีพันธะกรณีกับสหรัฐอเมริกาไม่ส่งผู้ร้ายข้ามแดนขึ้นศาล ยังมีปห.ทางเทคนิต
โทษทางอาญาของปอ.ไทยสูงกว่าศาลอายารปท. และโทษความผิดของศาลอาญาฯ ไม่ใช่โทษทางอาญของศาล
ไทยเรา

หน่วยที่๗ กม.รปท. ว่าด้วยการจำา กัดการใช้กำา ลังทางทหาร หน่วยนี้คงทราบว่าเป็นเรื่องที่เมื่อก่อนกม.รปท.


ไม่มีการจำา กัดการใช้กำา ลัง ปัจจุบันมีกฎเกณฑ์มากำา หนดมีกม.สองส่วนใหญ่คือกม.จำากัดสิทิของรัฐในการใช้
กำาลัง และกม.และข้อบังคับที่ใช้ในการปฏิบัติการทางาหาร
Jus ad bellum วิวัฒนาการมาจากสมัยโบราณที่เดิมรัฐต่าง ๆ มีอำานาจอธิปไตยจะใช้กำาลังทางทหารต่อ
กันเพื่อรักษาอธิปไตย ขยายเขตแดน ปัจจุบันเป็นสิ่งต้องห้าม การใช้กำาลังทางทหารเป็นเพียงข้อห้ามข้อยกเว้น

องค์การ un กำาหนดห้ามใช้กำาลังทางทหารระหว่างกัน กำาหนดไว้ในกลไกการธำารงรักษาสันติภาพ

Jus in bello ในกรณีใต้กม.รปท.หากรัฐใดมีอำานาจใช้กำาลังระหว่างกันก็ต้องตกใต้ข้อปฏิบัติทางทหาร


เพื่อให้หลักประกันเสริมสร้างคามคุ้มครอบในการทำาการรบ เป็นสงครามที่ชอบเท่านั้น คุม้ ครอบ บุคคลทรัพย์สิน
ที่ประสปภัยสงคราม กม.จำากัดสิทธิเป็นเรื่องกฎเกณฑ์ในการดำารงความสพ.รปท.ในทางสันติภาพ และกำาหนด
กลไกของ un เพื่อทำานท.ตรงนั้น

วิวัฒนาการเริ่มจากการคำานึงอธิปไตยของรัฐในการทำาสงคราม สู่หลังสงครามโลกในสมัยตั้ง un ล้วนมีข้อห้าม


เกี่ยวกับการใช้กำาลังทางทหาร นอกจากในกฎบัตร un ยังมีข้อมติของสมัชชาใหญ่ ห้ามการใช้กำาลังทางทหาร

ก่อนศ.๑๙ รัฐต่าง ๆ สามารถทำาสงครามโดยเสรี หลังจากนั้น ก็เป็นการเน้นถึงเรื่องสถานะความเป็นกลางระหว่าง


คู่ส งคราและรัฐ ที่ไม่เข้า รวมในฝ่ ายใด เพื่อแยกสถานภาพ รัฐ พลรบ พลเรือน มี การนิยามสถานการณื ที่กม.
อนุญาตให้ทำาสงครามโดยชอบ การป้องกันตนเอง การโต้ตอบในสัดส่วนที่เหมาะสม

การห้ามใช้สงครามเพื่อเป็นเครื่องมือบังคับการชำาระหนี้ มีกติกาสันนิบาตชาติ ๑๙๑๙ กำาหดการทำาสงคราม

ข้อบังคับปัจจุบันม.๒ ในกฎบัตรสหประชาชาติห้ามรัฐใช้กำาลังระหว่างกัน แม้ในม.๕๑ มีการกำาหนดเรื่องสิทธิ


ป้องกัน ส่วนม.๒ วรรคห้าก็กำาหนดการให้ความ่ช่วยเหลือรัฐสมาชิก การปฏิบัติการทางทหาร ความรับผิดชอบ
ชั่วคราวของ p5 จัดตั้งกองกำาลัง un วิวัฒนาการกฎเกณฑ์ กลายเป็นจารีตประเพณี jus cogen ละเมิด
มิได้ พัฒนามาจากคดีนิคารากัว

ข้อมติ สมัชชาใหญ่ บญเกี่ยวกับการงดเว้นการคุกคามการห้ามการแทรกแซวกิจการภายใน

ข้อมติ นิยามการรุกราน ส่วนเอกสารอื่นๆที่สนับสนุนหลักการนี้ คือ final act helsingi การอยู่ร่วม


กันอย่างสันติภาพ

หลักการห้ามมิให้ใช้กำาลัง เป้าหมายเพื่อทุกรัฐต้องปฏิบัติใต้กฎเดียวกัน ห้ามการใช้กำาลัง มีกม .มีผลบังคับเด็ดขาด


พิจารณารูปแบบความรุนแรงว่าอย่างไรถือเป็นการละเมิดสันติภาพของโลก การรุกรานทานตรงทางอ้อม การใช้
กำาลังที่ไม่ขึ้นอยู่กับความชอบธรรมในวัตถุประสงค์ การใช้กำาลังภายในรัฐ สงครามกลางเมือง การปกป้องสิทธิ
ประชาชน การใช้กำาลังกดขี่ข่มเหง ละเมิดไหม?

สิ่งที่รัฐสามารถอ้างเพื่อใช้กำาลังได้ คือการป้องกันตัว เข้าร่วมปฏิบัติการทางทหารกับ un การแทรกแซงโดยเหตุ


ผลมนุษยะรรมเพราะมีการละเมิดสิทิมนุษยชน ต้องพิจารณาการเข้าแทรกแซงต้องฉุกเฉินและได้สัดส่วน
ระบบการธำารงรักษาสันติภาพและคามมั่นรงรปท.ขอ un มีทางปฏิบัติในการแบ่งแยกกลไกของหน่วยงานต่าง
ๆ คมค.สมัชชา เลขาธิการ สำาหรับความรับผิดชอบของคณะฯมน พิจารณาองค์ประกอบการลงมติ บทบาทสมัช
ชาญ เลขา

ปัญหาคืออำานาจผูกขาดในการใช้มาตรการบังคับโดย un ม.๕๓ ขัดขวางการอ้างป้องกัน ๕๑ รัฐใดจะอ้างว่า


ป้องกันต้องผ่านกลไกในการยุติข้อพาทโดยสันติวิธีของ un เสียก่อน เป็นอำานาจผูกขาดของ un ในการยุติข้อ
พิพาทนั้น สำาหรับการปฏิบัติของ un ปห.คือความล้มเหลวของระบบความมั่นคงร่วมกันเพราะ มีสมาชิก p5
กับกลุ่มไม่ถาวร เหตุที่กลุ่มถาวรต้องมีมติออกเสียงเอกฉันท์เสมอ ก่อนสงครามเย็นสุดลงมีสองขั้วอำานาจ มีมติเอก
ฉันทนั้นบ่อยครั้งไม่อาจหามติเอกฉันท์ได้ ส่งผลกระทบต่อการทำา งานของ un เพราะต้องไม่มีการ veto
เป็นความล้มเหลวก่อนสงครามเย็นสุดลง โดย un ได้ขยายอำานาจสมัชชาทดแทนความขัดข้องของคณะมนตรีฯ
เป็นการแก้ไข

ขยายอำานาจสมัชชาญ

ทางปฏิบัติของ un ในการแก้ไขข้อข้ดข้องใน คณะมนตรีฯ

Jus in bello พิจารณาในหัวข้อกฎเกณฑ์การปฏิบัติการทางทหาร คสพ.รัฐที่สามหรือรัฐเป็นกลาง ข้อ


พิจารณาทั่วไปพูดถึงพัฒนาการกม.ภาคสงครามวิวัฒนาการจากการใช้อำานาจอธิปไตยรัฐมาสู่ข้อห้าม

ปรับใช้เฉพาะภาวะเกิดสงคราม

ที่มาของกม. ส่วนใหญ่มาจากสนธิสญ และจารีตฯ แบ่เงป็นสองกลุ่มของที่มากม.ภาคสงคราม ที่มากม.ภาค


สงครามได้แก่ เจนิวาลอว์ มีสี่ฉบับเกี่ยวกับเงื่อนไขของผู้ได้รับบาดเจ็บของกองทัพในสนามรบทะเล ต่อนักโทษ
สงคราม คุ้มครองผลเรือน

กลุ่มกม.กรุงเฮก เกี่ยวกับการเริ่มความเป็นปฏิปักษ์หรือการปะกาศสงครามจารีตฯสงครามบนบนก สถานะเรือ


สินค้าศัตรู การแปลงเรือสินค้าเป็นเรือรบ

กลุ่ม กม.วางทุ่นระเบิดอัตโนมัติใต้นำ้า การโจมตีทางเรือสิทธิหน้าที่ของรัฐเป็นกลางในสงครามทางเรือ

เดิมทีปรับใช้กับภาวะสงครามที่ได้รับการรับรอง มีการยกเลิกข้อจำากัดปรับช้ภาคสงครามดังกล่าว จึงขยายขอบ


เจตไปใช้ถึงการขัดกันทางอาวุธที่ไม่ใช่ทางรปท. คือนำาเอา ไปใช้กับการใช้กำาลังในรูปแบบต่าง ๆ กว้างขึ้น

การอนุวัติการ ผ่านหลายองค์การ เช่น คณะกรรมการกาชาติสากล องค์การ un ผ่นการดำาเนินการขององค์การ


รปท. Ngo การลงโทษความผิดจากการละเมิดกม.ภาคสงครามเช่นอาชญากรรมสงคราม รุกราน การลงโทษ
ได้ปรากฎในตอนที่มีการนำาคดีเหล่านี้ขึ้นสูศ่ าลทหารโตเกียว ศาลอาญารปท.ที่กรุงเฮก

กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบัติการทางทหาร ประกอบกฎทั่วไปและกฎเฉพาะเช่นการสู้รบทางทะเล อากาศ

กฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับกับพลรบ กฎด้านมนุษยธรรม กฎข้อจำากัดด้านปัจจบและอาวุธในการรบ


กฎใช้บังคับกับพลรบ ได้แก่ กฎว่าด้วยพลรบและผู้ที่ไม่ได้รับสถานะพลรบ ก็คืออาจมีกลุ่มพวกสายลับหรือทหาร
จ้าง ห้ามใช้กลโกง ปราศจากมนุษยธรรม

เป้าหมายทางทหารคืออะไร รถถังปืนใหญ่ค่ายทหารคลังอาวุธปัจจะยการสื่อสาร โจทตีล่วงหน้าไม่ได้ในถนน


สะพานอุโมงค์ทางรถไฟ ห้ามโจทตีเพื่อหลังผลทางการเมืองต้องระวังระบุเป้าหมายชัดเจน มีการแยกพลเรือน
ประเมนิผลทิศทางการโจมตี ทิ้งระเบิดไม่ให้รัศมีอาวุธไปตกกับพลเรือน โดยคำานึงสภาพอากาศเป้าหมาย ใช้หลัก
สัดส่วนและมีการเลือกเป้าหมายที่มุ่งเป้าหมายทางาหารเท่าน้น ฝ่ายผู้ถูกโจมตี งดเว้นการกระทบพลเรือน

กฎด้านมนุษยธรรมสำาหรับการคุ้มครองต่อพลเรือน และทรัพย์สินพลเรือน ต้องมีการให้นิยามของ พลเรือนว่าใคร


บ้าง และก็ทหารต้องมีหน้าที่คุ้มครองพลเรือนห้ามการแก้เผ็ด กฎเกณฑ์สำาหรัผู้ที่ไม่สามารถสู้รบได้เช่นนักโทษ
สงคราม ผู้บาดเจ็บเรืออัปปาง จะใช้กำาลังไม่ได้

ห้ามโจมตีทรัพย์สินบางบริเวณ เขตปลอดทหาร บริเวณไมม่ป้องกัน หน่วยแพทย์พยาบาลทรพัย์ที่จำาเป็นต่อการอยู่


รอดสิ่งวัฒนธนนม

ด้านปัจจัยและอาวุธต้องมีการนิยามว่าอาวุธใดไม่มีอานุภาพทำา ลายร้ายแรงได้แก่ อาวุธสงครามธรรมดา ลูกปืน


แตกกระจายในร่างเป้าหมายยากแก่การตรวจพบ กับดักระเบิด ยาพิษ อาวุธเพลิง ส่วนอาวุธร้ายแรงได้แก่แกส
อาวุธชีวภาพอาวุธเคมีนิวเคลียร์

มีปห.การรบทางทะเลเรือดำานำ้าทุ่นระบิดการปิดล้อมปิดปากอ่าว ทงอากาศอวกาศ ดวงจันทร์เป็นเขตปลอดทหาร

รัฐเป็นกลาง ความหมาย สิทธิหน้าที่ต้องมาพิจารณารัฐเป็นกลางต้องดำารงความเป็นกลาง เคร่งครัด ไม่อนุญาตให้


คู่สงครามผ่านแดน กฎของรัฐเป็นกลางทางทะเล ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด การควบคุมเรือ โดยรัฐคู่สงครามจะกระทำาไม่ได้
ห้วงอากาศของรัฐเป็นกลางเป็นดินแดนที่ละเมิดไม่ได้

หลักเกณฑ์ในการกำาหนดเขตอำานาจรัฐมีหลักใหญ่คือหลักว่าด้วยดินแดน พิจารณาว่ารัฐต่าง ๆ มีอำานาจอธิปไตย


เหนือเขตแดนตนเด็ดขาด เหตุการณืบุคคลทรัพย์สินในเขตแดนย่อมตกใต้กม.ภายในของรัฐนั้น อำานาจของรัฐ
เหนือหลักดินแดนหมายถึงบ.ใดก็แล้วแต่ หากมีการกระทำาผิดในเขตแดนรัฐ รัฐย่อมมีเขตอำานาจ มีหลักขยายที่
เรียกว่าหลักผลการกระทำา รับรองโดยปอ.ไทย ด้วย คือกระทำา นองราชฯมีผลในฯ ส่วนหลักที่สองคือหลักยึด
บุคคล โดยคำา นึงถึงบ.ที่กระทำา หรือถูกกระทำา เป็นคน สช.นั้น ไม่ว่าได้กระทำา ความผิดนอกฯ หากผู้กท.เป็น
คนสช.นั้น รัฐก็มีอำานาจเหนือในคดีทเี่ กิด หรือบ.น้นถูกกระทำา

หลักปองกันต้องพิจารณาว่าคผ.ใดบ้างที่รัฐสามารถมีเขตเหนือคดี หลักสากล สังเกตว่า แม้นการกระทำานอกราชฯ


โดยบ.ไม่ใช่คนชาติ หรือผลของการกระทำาไม่ได้กระทบต่อรัฐเลยแต่ก็มีอำานาจเนื่องจากคผ.ชนิดนี้ขัดต่อความ
สงบเรียบร้อยของมวลมนุษยชาติ หากทุกรัฐยึดถือเกณฑ์ทั้งสี่หากเกิดกรณีมีเขตอำานาจทับซ้อน รัฐใดจะเป็นผู้ใช้
อำานาจเหนือเขตนั้น เช่น ปท.นึงอ้างหลักดินแดน อีกปท.อ้างหลักบุคคล อันนี้ดูต่อไปว่า นาย ก.ไปอยู่ปท.ใด ถ้า
อยู่ในปท.อังกฤษ เขาก็ย่อมใช้อำานาจรัฐตน การมีอำานาจรัฐกับการใช้อำานาจ ต่างกัน การใช้อำานาจต้องไม่ละเมิด
อธิปไตยของรัฐอื่น เช่นขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน หรือหลักสากล จี้โจรสลัดมีเขตอำานาจศาลเหนือคดี แต่ จับไม่ได้
เพราะก้าวล่วงอำานาจอธิปไตยของรัฐอื่น แต่หากหนีเข้ามาในไทย เราก็ใช้เขตอำานาจได้ ต้องแม่นในหลักเกณฑ์
โดยเฉพาะเขตแดน นั้นอยู่ในรัฐนั้นจริงไหมเ ช่นอยู่ในทะเลหรือทะเลหลวงหรือทะเลอาณาเขต หรือในเรือของ
ชาตินั้น

ทะเลอาณาเขตเป็นหลักดินแดน

ทะเลหลวงทำาบนเรือหรือทำาในทะเล ต้องให้ความสนใจในรายละเอียดเป็นพิเศษ

รธน.๒๕๕๐ ม.๑๙๐ กำาหนดประเภทหนังสือสญไว้หลายประเภท ที่มีบทปป.อาณาเขตไทย ปป.สิทธิอธิปไตย


เขตอำานาจ สญที่ต้องออกกม.อนุวัติการ ที่มีผลกระทบต่อคมค.ศก.กว้างขวาง นส.สญที่สร้างภาระผูกพันหรืองบ
ประมาณ สญเหล่านี้ ต้องเป็นนส.สญที่ฝายบริหารให้ฝ่ายนิติฯเห็นชอบก่อน

จะพิจารณาเกี่ยวกับ สนธิสญอย่างใด สิ่งใดเป็น สนธิสญ. ต้องพิจารณาตามบทนิยามของอนุสญกรุงเวียนนาม.๒


บทนิยามสนธิสญ ปัจจุบันส่วนใหญ่สนธิสญทำาในรูปลายลักษณือักษร เบื้องต้นต้องพิจารณาก่อน ว่าผู้กระทำาเลย
ว่า บ.นั้นมีอำานาจโดยชอบด้วยกม.ตามกม.รปท.หรือตาม กม.ภายในหรือไม่เช่น ex-officio มีประมุข
รัฐ รบ. รมตตปท. เอกอัครราชฑูต ผู้แทนที่ปช.องค์การ ผูม้ ีfill-power

ประการต่อไปดูวัตถุประสงค์ว่า บ.ที่ไปทำา สนธิสญ มีวัตถุฯเพื่อทำา แล้วผูกพันรัฐไหม? สิ่งที่ทำา ไปแล้วนั้นถือ


เป็นการผูกพันรัฐไหม แต่ถ้าสิ่งที่ทำาวันรุ่งขึ้นปฏิเสธว่าไม่ผูกันไม่ได้ ดูเจตนารมณืต่ามหลัก pacta sunt
servanda
รูปแบบของการทำา ว่ า ทำา ในลักษณะที่เ ป็นสนธิสั ญญาหรือไม่ ชื่ อมี หลากหลาย สนธิ ส ญ อนุส ญ บั นทึ กร่ ว ม
แถลงการณ์รว่ ม ขอให้ดูที่สารัตถะ พิจารณาเป็นลำาดับไป

สารัตถะของความตกลงว่าประสงค์จะผุกพันระหว่างคู่ภาคี หรือ นส.สญหรือเปล่า

ม.๑๙๐ รธน.ดูขั้นตอนไป ดูตามหลักเกณฑ์ของกม. ต้องได้เห็นต้นฉบับตัวนส.สัญญานั้น ด้วย

จากบอร์ดตอนท้าย

เขตแดน เขตอำานาจรัฐ

เขตแดน กรอบอาณาเขตรัฐ เส้นมาขีดแบ่งแยกอธิปไตของรัฐระหว่างกัน กว้างแค่ไหนต้องดูทางบกทางนำ้า ทาง


อากาศ ส่วนอำานาจรัฐคืออำานาจอธิปไตยเหนือเขตแดนนั้น ว่ากันตามลำาดับ แนวคิดองค์ประกอบ กำาหนด ได้มา
เสียไป เขตแดนเป็นเครื่องกำาหนดขอบเขตดินแดนภายใต้อำานาจอธิปไตยของรัฐเป็นเส้นขีด อำานาจอธิปไตยของ
รัฐมากับเขตแดน เพราะงั้นเขตแดนเป็นเครื่องชี้แสดงและเป็นตัวจำากัดอธิปไตยของรัฐว่าอยู่เฉพาะภายในกรอบแค่
นั้น เขตแดนเป็นอปก ของความเป็นรัฐ เพราะจะเกิดเป็นรัฐได้ต่อเมื่อมี ดินแดน ประชากร (หมายถึงทั้งคนชาติ
คนต่างด้าว) อำานาจอธิปไตย citizen-national+arielt รัฐบาล เขตแดนเป็นหนึ่ง เขตแดนเล็ก
ใหญ่ไม่สำาคัญ ก็เป็นรัฐเท่าเทียมกัน ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ พวกเผ่าชนเร่ร่อนไม่มีดินแดนแน่นอนไม่
สามารถตั้งหลักปักฐานได้ ไม่เป็นรัฐ เส้นเขตแดนกำาหนดขอบเขตสิทธิหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่างปรเทศ
ภายในขอบเขต ปชก.ทุกคนจึงตกใต้อธิปไตยของรัฐรวมทั้งคนต่างด้าวด้วย เพราะงั้นคนต่างด้าวไม่ได้อยู่เหนือ
กม. ต้องอยูใต้อำานาจอธิปไตยของรัฐนั้น (โยงไปถึงข้อสอบทุกคำา) ทุกคนในเขตแดนของรัฐต้องอยู่ภายใต้กฎ
หมายของปท.นั้นภายใต้กระบวนการนิติบญของปท.นั้น ยกเว้นบ.บางจำาพวกคือพวกฑุต กลสุล ทำางานองค์การ
รปท. พวกนี้อยู่ใต้เอกสิทธิและความคุ้มกันทางการฑูต เอกสิทธิทำาให้เขา? แม้อยู่ใต้กม.แต่จะไม่ถูกบังคับใช้
กม. อยู่ใต้กม.แต่ไม่ถูกบังคับใช้กม. ขีดเส้นใต้เอาไว้เลย

ฑูต คนต่างด้า ว อาจได้รับความคุ้มครองตามหลัก diplomatic protection/immunity


for ฑูต ต้องเคารพกฎหมาย ทีนี้การใช้อำานาจของรัฐต้องใช้ในเขตแดนเท่านั้นแต่มีข้อยกเว้นบางประการว่าอาจ
ปกแผ่ ไ ปนอกอาณาเขตได้เ ผื่ อการกระทำา นั้ นมี ผ ลของการกระทำา อยู่ใ นรั ฐ เรีย กว่ า ทฤษฎี ผ ลของการกระทำา
effect doctrine เหมือ น ม.๕ ของปอ. การกระทำา ความผิดส่ว นหนึ่งส่ ว นใดแม้ กระทำา นอกราช
อาณาจักรแต่สำา เร็จผลในราชอาณาจักร รัฐมีสิทธิมีอำา นาจเหนือกกท.นั้นแม้ทำา นอกราชฯ ยังเกี่ยวกับนโยบาย
สาธารณะเช่ นกม.การแข่ งขัน competition law and policy อย่างเช่น ใน eu นั้น เขา
ห้ามการควบรวมธุรกิจเพื่อการมีอำานาจเหนือตลาดเพราะเขาเปิดตลาดเสรี ตลาด๒๗ ปท.ไม่มีพรหมแดน การ
ปล่อยให้ปัจเจกหรือวิสาหกิจทำา ธุรกิจแข่งขันเสรี โดยไม่มีอำา นาจรัฐมาควบคุม ถ้าปล่อยให้เอกชนสามารถใช้
อิทธิพลการเงินมีอำานาจเหนือตลาดโดยการควบรวมไปใช้อำานาจเหนือตลาดโดยมิชอบ ตลาดก็จะทำา งานไม่ได้
เพราะตลาดทำางานด้วย demand supply ต้องแข่งขันเสรี ถ้าบ.ใดหนึ่งมีส่วนแบ่งตลาดมากจนคู่แข่ง
ไม่สามารถแข่งขันได้แล้วยังบิดเบือนการใช้อำา นาจเหนือตลาด โดยการควบรวม ก็ทำา ให้ ตลาดลำา บาก มีการ
ผูกขาด เช่นกำาหนดราคาตั๋วเครื่องบิน กำาหนดสายการบิน ราคาบริการ ผู้บริโภคจะเสียเปรียบ ปรากฎว่าบริษัทสาย
การบินสองสายไปควบรวมที่ usa แต่ส่งผลให้ ประชาคม eu ตกใต้บริษัทที่ควบรวมกันนี้ที่ตั้งใน eu
ทำาให้มีอำานาจเหนือตลาดมาก ดังนั้น eu จึงใช้กม.การแข่งขันทันทีปรับบริษัทแล้วห้ามควบรวมเป็นหลายหมื่น
ล้านเลย ไม่สามารถควบรวมได้ อาศัย effect doctrine เป็นทฤษฏีกม.อาญาเดิม เอามาปรับใช้ใน
กม.นโยบายสาธารณะด้วย

Effect doctrine ถูกใช้แม้มีการกระทำานอกอธิปไตยของเขตแดน

ต่อไปดูอปก.ของดินแดน ประกอบด้วยสามส่วน ดิน นำ้า อากาศ ส่วนที่เป็นแผ่นดิน คือ เขตแดน ดินแดน พื้นนำ้า
ใต้ผิวดิน ส่วนที่เป็นพื้นนำ้า มีแม่นำ้าลำาคลองหนองบึงทะเลสาบในดินแดน เลยออกไปเป็นทะเลอาณาเขต คำา ว่า
ทะเลอาณาเขตต่างจากเขตทางทะเล ทะเลอาณาเขตคืออาณาเขตของรัฐที่ล่วงออกไปนอกชายฝั่งเป็นอาณาเขตของ
รัฐที่อยู่ในทะเล ก็คือ ถัดจากเส้นฐานไป ๑๒ ไมล์ทะเล ถ้าเราดูชายฝั่งหน้าตัด เวลานำ้าขึ้นก็จะถึงระดับนึง เวลานำ้า
ลดก็ระดับนึง จะมีความต่างกันเท่านี้ เวลาจะกำาหนดจุดเพื่อลากเส้นฐานในทางกม.ทะเลจะใช้จุดนำ้าลดตำ่าสุดซึ่ง
เป็น average อาจเป็นร้อยปี สมมติได้จุดนำ้าลดตำ่าสุดแล้ว แล้วก็ลากเรียบชายฝั่ง มองจากบนอากาศฝั่งเป็น
แบบนี้ นำ้าขึ้นสูงสุดตรงนี้ ลดตำ่าสุดตรงนี้ นึกออกไหม นี่คือหาด เสร็จแล้วจุดนี้ก็ลาดเส้นฐาน จากเส้นฐานกลาก
ออกไป สิบสองไมล์ อันนี้คือทะเลาอณาเขต ขนานกับชายฝั่ง สิบสองไมล์ทะเล อันนี้คือเขตนอกสุดของอาณาเขต
แต่เนื่องจากอยู่ในทะเล เลยเรียกว่าทะเลอาณาเขต teriterial sea แต่หลังจากนั้นรัฐอาจมีบางปท.มี
ไหล่ท วี ป มี เ ขตเศรษฐกิจ จำา เพาะสองร้อ ยไมล์ ท ะเล อั น นี้ เ ป็ น eez (exclusive economic
zone) สองร้อยวัดจากฝั่ง ตัวมันเท่ากับ ๑๘๘ ไมล์ ตรงนี้อาจมีเขตประมง เขตต่อเนื่อง ทั้งหมดนี้เรียกว่า
maritime zone หรือ เขตทางทะเล ก็คือเขตแต่ละเขตทางทะเล ไม่ใช่อาณาเขต เพราะงั้น อาณาเขต
กับเขตทางทะเลไม่เหมือนกัน อาณาเขตทางทะเลหรือทะเลอาณาเขตเท่านั้นจึงมีอำานาจอธิปไตยเด็ดขาด แต่หลัง
จากนั้นมีแค่เพียง “สิทธิอธิปไตย” ส่วนของสิทธิอธิปไตยเกิดตามกม.จารีตประเพณีระหว่างประเทศในฐานะเขต
เหล่านี้อยู่ประชิดชายฝั่ง งั้นรัฐชายฝั่งก็มีสิทธิอธิปไตยเหนือเขตดังกล่าวที่เรียกร้อง บางปท.ก็ได้ บางปท.ก็ไม่ได้
อย่า งปท.ไทยเราจะเรียกร้องเขตเศรษฐกิจจำา เพาะสองร้อยไมล์ทะเล ไม่ ได้ เพราะเรียกร้องไปทางใต้ไปชน
มาเลเซีย ทางตะวันออกชนเขมรเวียดนาม ทางตะวันตกก็ไปขนกันพม่า อินเดีย เพราะดันมีเกาะนิโคบา มีรมฝั่ง
ทะเลอั น ดามั น ทำา ให้ เ กิ ด ทะเลอาณาเขต ปท.ไทยเลยไม่ ย อมรั บ (unclos) united nation
convention on the law of the sea อนุสญ กม.ทะเลแห่งสหประชาชาติ เพราะมัน
กำาหนดเขตเศรษฐกิจจำาเพาะ เมื่อไทยเราไม่มีก็ไม่ยอมรับของคนอื่นเราจะได้จับปลาไปทั่วโลก

ในโลกนี้มีนำ้าสามส่วนทรัพยากรธรรมชาติใต้ผิวดินมากกว่าบนบกใคร claim ez ได้เยอะก็ได้เปรียบ ถือว่า


เป็น international customary law ก็ยอมรับไป เหตุนี้ที่มี แค่สิ ทธิอธิปไตย ไม่ส ามารถ
เป็นอำานาจอธิปไตยเด็ดขาด บางปท.ก็เป็นหมู่เกาะ สมมติว่า เกาะ....(ไม่ได้ยิน) ...ถ้าเราใช้หลักเขตเส้นฐาน
ธรรมดา จะทำา ไม่ ได้ ต้องเป็น straight baseline รัฐ หมู่เ กาะเลยบอกว่ า ไม่ เ อา จะเอาแบบนี้...
สูงสุดของเกาะ ลากเชื่อมกัน เรียกว่า เส้นฐานตรง ลากออกไปสิบสองไมล์ เป็นทะเลอาณาเขตของรัฐหมุ่เกาะ ตรง
นึงเปรียบเสมือนน่านนำ้าภายใน ของรัฐหมูเ่ กาะ

มีอีกกลุ่มปท.นึง แถว ๆ สแกนดิเนเวียน เรียก ?? รูปเสือ fyord ถ้าใช้หลักเส้นฐาน ทะเลอาณาเขตก็ทำายาก


ก็ไมยอม ก็เลยเอาแบบนี้?...เอาจุดนอกสุดแล้ววัดไปสิบสองไมล์ทะเล เกิดน่านนำ้าภายใน ทะเลอาณาเขต แต่การ
เดินเรือแล่นเข้าไปผ่านทะเลอาณาเขตเข้าสู่ภายใต้ อยู่ใต้อธิปไตยของรัฐหมู่เกาะ แต่ต้องยอมให้ innocent
passage ผ่านไปได้ การเดินเรือผ่านโดยสุจริต ตามหลักเสรีภาพในการเดินทะเล

ทีนี้ น่า นนำ้า ภายในถ้า เป็น แผ่ นดิ น ก็ป ก.ด้ว ยทะเลสาบแม่ นำ้า ลำา คลองในแผ่ น ดิ นทั้ ง หมด เป็ นน่ า นนำ้า ภายใน
state land ต่อไปแมนำ้า แม่นำ้ามีหลายชนิด แม่นำ้าทั้งสาย อยู่ปท.เดียว ก็เป็นดินแดนของปท.นั้นเลย เป็น
แม่นำ้าของปท.นั้น แต่ถ้า แม่นำ้าแบ่งแยกดินแดนเรียก boundery river แม่นำ้าแบ่งอาณาเขต ใช้ร่องนำ้า
ลึก อาจมีแม่นำ้าผ่านหลายปท. Multinational rivers ผ่านสองปท.ขึ้นไป บางสาย นอกจากผ่าน
หลายปท.ยงออกสู่ทะเลหลวงได้ใช้เดินเรือได้ เรียก international river เพราะมีเดินเรือได้ ต้อง
อนุญาตให้หลายปท.เดินเรือผ่านได้ ตอนนี้แม่นำ้าโขงเราก็กำาลังมีปัญหาเพราะมาจากจีน ทีนี้ผ่านจีนด้วย ตั้งเขื่อน
กักนำ้าไว้ที่จีน นำ้าโขงเลยแห้ง อันนี้ผิดหลักกม.เพราะกม.ภายในของเรานำ้าต้องปล่อยจากที่สูงลงที่ตำ่า ใครกักไว้ไม่
ได้ แม่นำ้าโขงมีปห.มากพอจีนปิดเขื่อนนำ้าแห้ง พอหน้านำ้าจีนเปิดนำ้าท่วมชายฝั่ง

ทะเลสาบ มีทั้งทะเลสาบเปิดและปิด land lock เป้นทะเลสาบภายในไม่เปิดทะเลด้านนอก ชนิดในปท.


วินเดอเมีย บาลาตองก์ สองอันนี้สวยมาก ต้องไป the must ริมทะเลสาบมีปราสาทของนักปรัชญาสมัย
โบราณต้องไป โอ้... อาจารย์ชอบ...ทะเลสาบกั้นเขตแดนจะใช้เส้นมัธยะ ห่างจากสองฝั่งเช่น ซุพีรีอีรี่ระหว่าง
แคนาดากับอเมริกา

คลองมีทั้งในปท. แล้วก็คลองระหว่างปท. เช่นคลองสุเอช ปานามา(คลองแรกที่ขุดมา) คลองสุเอชคลองแรก


ขุดระหว่างทะเลแดงกับเบลเยียม ปานามาขุดโดยอเมริกา ปท.ไทยก็เคยจะขุดคอคอดกระ เมื่อหกสิบปีก่อน

อ่าวคือส่วนพื้นนำ้าลำ้าเข้าไปในแผ่นดินจนมีลักษระอันหนึ่งอันเดียวกับแผ่นดิน นำ้า กับแผ่นดินหรือแผ่นดินโอบ


ล้อมแผ่นนำ้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อ่าวต้องมี closing line ไม่เกิน ๒๔ ไมล์ทะเล แผ่นดินที่โอบล้อม
แผ่นนำ้าหรือผืนนำ้า ที่ล่วงลำ้า เข้าไปในแผ่นดิน ตามม.๑๐ อนุสญกม.ทะเล unclos 1982 แต่หากว่าจุด
ตรงนี้ต้องเป็นจุดนำ้า ลดตำ่า สุด ขึงเส้น ถ้า ขึงแล้วได้เกิน ๒๔ ไมล์ก็ต้องวัดเข้ ามาเรื่อยจน ๒๔ ไมล์ย กเว้ นอ่า ว
ประวัติศาสตร์ไม่ต้องอยู่ภายใต้สองข้อดังกล่าวแต่ต้องมีมาเนิ่นนานเป็นที่ยอมรับเช่นอ่าวฮัดสัน กว้าง มาก เส้นปิด
ยาว ๕๐ ไมล์ทะเล ปท.ไทยก็มีอ่าวประวัติศาสตร์ siam bay อยู่ตรง? มีการอ้างอธิปไตยเหนือ่อาวมา
นาน เป็นที่ยอมรับ ใช้อย่างต่อเนื่อง

ช่ องแคบก็มี ทั้ง ระหว่ า งปท.ที่กั้ นระหว่ า งรัฐ ชายฝั่ งสองรั ฐ กั บช่ องแคบในปท.เดียวกัน อำา นาจอธิ ปไตยใน
ช่องแคบ ถ้ากั้นรปท.มีปห.การเดินเรือแต่จารีตให้ innocent passage ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
เพื่อปย.ทางการค้า ไม่มีสิทธิไปยับยั้งการเดินผ่านโดยสุจริตของการเดินเรือต่างชาติ

สิทธิ innocent passage มุ่งมาในแต่โดยสุจริต แต่ถ้า transit จำาเป็นต้องผ่านไป อากาศยาน


ไม่มีสิทธิบินผ่าน ตรงข้ามกับ transit เรือลำานำ้าต้องลอยขึ้น แต่transit ไม่ต้อง รัฐชายฝั่งมีสิทธิยับยั้ง
อันนี้ไม่มีสิทธิยับยั้ง ????งง ไปอ่านอีกที

ปท.เพื่อนบ้านมักแอบบินเข้ามา บินลำ้าเข้ามาก็ต้องให้ออกไป แต่ถ้าเป็น transit บินเพื่อผ่านไป ต้องเข้าใจ


จะยำาไม่ยากระหว่าง innocent กับ transit passage

ก่อนมีสงครามเขาให้บินผ่านเหนือน่านฟ้าใต้อาณาเขตรัฐใด แนวนึงคือน่านฟ้าเป็นอำา นาจอธิปไตยเด็ดขาดไม่


อนุญาตอากาศยานโดยเฉพาะอากาศยานรบบินผ่าน โดยเฉพาะหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง อนุสญ พลเรือน
ชิคาโก ๑๙๔๔ สังเกต พ.ศ. นี่คือช่วง? สงครามโลกครั้งที่สองยังไม่สิ้นสุด อนุสญนี้ไม่ปรากฎการบินผ่านโดย
สุจริตเพราะเห็นว่าอากาศยานเป็นอาวุธจึงไม่อนุญาต จนสิ้นสงครามครั้งที่๒ อเมริกาเป็นปท.แรกที่นำานโยบายโอ
เพ่นสกาย ใช้ เพราะมันหลายท้องฟ้า น่านฟ้าหลายประเทศ open skies ไปช่วยในเสรีภาพในการบินทาง
พาณิชยศาสตร์ เซนกับเนเธอร์แลนด็ แล้วก็เซนกับหลายปท. มีการแทรกแซงสายการบินน้อยที่สุด อนุสญกรุง
วอร์ซอร์กำาหนดเกี่ยวกับการรับผิดของผู้ประกอบการสายการบินต่อผู้โดยสารสิ่งของ อนุสญโตเกียวว่าด้วยการก
ระทำาความผิดในอากาศยาน อนุสญกรุงเฮกเกี่ยวกับการปราบปรามการยึดเครื่องบินการกระทำาความผิดสลดัเวหา
ส่งผู้ร้ายข้ามแดน อนุสญกรุงมอนทรีออลเกี่ยวกับความปลอดภัยการบินพลเรือน

การกำา หนดเส้นเขตแดนและปักปันเขตแดนมีสองแนวคิด ๑.การใช้อุปสรรคทางธรรมชาติ เช่นแม่นำ้า ลำา คลอง


ทะเลสาบมากั้น ๒.ตกลงโดยคำาพิพากษาศาลหรือสนธิสญกำาหนดเส้นเขตแดนแล้วจึงกน.จุดพิกัด ๓.การได้ดิน
แดนโดยการครอบครองและวิธีต่าง ๆ

กน.จุดพิกัดบนแผ่นที่ก่อน ลากเส้นสมมติ ลงสำา รวจ ปักหลักเขต เวลากำา หนดเขตใช้เขตแดนตามธรรมชาติ


สันเขาสันปันนำ้า แนวเขา เทือกเขา เวลากำาหนดจุดแบ่งเขตเรียก delimitation อันนี้ต้องรู้จัก คือกำาหนด
จุดแบ่งเขตแดน ใช้สันเขา เรียก creet /hight peak สันปันนำ้า water shed จุดที่นำ้า ไหล
ตกลงสองฝั่งของเขา ไม่ใช่ยอดเขา นิยมใช้เพราะลำานำ้าเป็นที่อยู่ของชุมชน มนุษย์อยู่ตามลุ่มนำ้า มี ridge คือ
เนินเขาที่ยกสูงไม่ใช่สันเขา ทางนำ้าอาศัยแม่นำ้า ทะเลสาบ การกำาหนดเส้นเขตแดนทางนำ้ามีปห.เพราะเส้นปป.ตาม
ธรรมชาติ การเดินของนำ้า หากลำานำ้าเปลียนตามธรรมชาติก็ใช้เส้นเขตแดนที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ถ้าเปลี่ยนกระทัน
หันหรือเกิดจากการกระทำาของมนุษย์เส้นเขตแดนจะไม่เปลี่ยนปกติใช้เส้นไหนก็ดู นับแต่ใช้ตลิ่งของรัฐใดรัฐหนึ่ง
ไม่นิยมใช้ทำาให้ลำานำ้าทังสายเป็นของอีกรัฐ ใช้ตลิ่งแตละรัฐ ใช้เส้นมัธยะก็ไม่สะดวกเพราะนำ้าไม่ได้ไหลตรงกลาง
จะไหลคดเคี้ยวจึง อาศัยร่องนำ้าลึกที่ใช้ในการเดินเรือ ลำานำ้าจะคดเคี้ยวไป ไอ้เส้นก็จะเคี้ยวตาม เขตแดนก็ไปทางนี้
มาทางนี้ ตามไปด้วย ถ้าเปลี่ยนช้าๆเรียกว่า gradual erosion หรือ gradual eccresion
คือการงอกกับการกัดเซาะ เส้นเขตแดนทางอากาศเป็นไปตามเส้นเขตแดนทางบก

การกำาหนดเส้นเขตแดน มีคณะกรรมการ มีอะไรบ้าง? ๑.คณะกรรมการปักปันเขตแดน delimitation


commission กำาหนดปักปันแขตแดน ๒.กำาหนดจุดพิกัด demarkation ทำาไมข้อ๔ ๕ ของ
joint communige จึงใช้ คกก.กำา หนดจุ ดพิกัด เพราะ คกก.ปักปันเขตแดนให้ใ ช้ สั นปัน นำ้า แต่
บางทีการกำานหดอย่างหนึ่งของจริงอีกอย่างหนึ่ง เช่นในแผนที่ลาดเส้นละติ ลองติ ตัดไป พอไปของจริงปรากฎว่า
เส้นนั้นแบ่งคนหมู่บ้านเดียวกันเป็นสองปท. ไม่เหมาะสม ก็ต้องย้อนกลับไปว่าทั้งสองปท.จะตกลงกันอย่างไร
ต่อไปมีคณะกรรมการปักหลักเขต อันนี้อาศัยเทคนิคผู้เชี่ยวชาญมาเดิน

การได้มาสูญเสียไปซึ่งดินแดน การได้มาโดยการยกให้ อันที่๑ โดยการครอบครอง โดยการงอก โดยการผนวกดิน


แดน เข้ายึดโดยสมบูรณ์debelacio ครอบครองปรปักษ์prescription
การละทิ้ ง ดิ น แดนทิ้ ง จริ ง ๆไม่ ใ ช่ ห นี ภั ย ธรรมชาติ ภั ย สงครามต้ อ งไปแล้ ว ไปเลย ดิ น แดนกลายเป็ น
reniroius อีกปท.ก็จะเข้ามาครอบครอง

ตอนได้มาจากรัฐอื่นเรียก cession อาจได้มาโดย ยกให้โอนให้มีค่าตอบแทนขายให้ มีการทำาสนธิสญยกให้


ก็มี แม้แต่การจำานองหรือให้เช่า ไม่เหมือนกม.ภายในเพราะให้อธิปไตยด้วยในชั่วระยะเวลาจำากัด จีนให้เช่าเกาะ
เกียวเจาแก่เยอรมันนีให้เช่า เหวยไห่เว ให้อังกฤษ ฝรั่งเศสเช่าเมืองกวางโจว ให้เชาเยอะเลยจีน ให้เช่าฮ่องกง ยก
อธิปไตยให้อังกฤษเลย เป็นข้อยกเว้นหลักอธิปไตยเด็ดขาด คือให้ชั่วคราว

รูปแบบการโอนอาจทำาสนธิสญระหว่างกันก็ได้แต่ต้องสมัครใจไม่งั้นผิดหลักเจตนา free consent

การครอบครองดิ น แดน occupation (cession แปลว่ า ได้ รั บ มา) ส่ ว น occupation


แปลว่าครอบครอง ??ไปดูศัพทืพวกนี้เอง อาจเขียนผิดๆถูก ๆ

Acquisition เป็ น รู ป แบบดั้ ง เดิ ม ครอบครองดิ น แดนที่ ไ ม่ เ คยมี ใ ครครอบครอง re ne rius


(thing terra =land) ต้องครอบครองอย่างแท้จริง เด็ดขาดมีอำานาจอธิปไตยเหนือ

Accresion ตรงข้าม erosion (พอก กัดเซาะ)

Subjugation เข้า ยึดครองโดยสมบูรณ์ แบบผนวกดินแดนคนละอันกับ debelacio(เข้า ไปมี


อำานาจเหนือยึดครองจนเขาไม่เหลืออกนาจอธิปไตย)

เมื่อก่อนนี้ใช้กำาลังได้ แล้วก้เอามาเป็นของตน แต่ปัจจุบันการใช้กำาลังผิดม.๑๐ ม.๒ un

Prescription ได้มาโดยการครอบครองหรืออายุความแต่ของกม.รปท.มาจาก กม.โรมัน สมัยก่อนต้อง


ครอบครองโดยสุจริต แต่กม.ภายในสุจริตหรือไม่ก็ได้ แบ่งสองพวก usucapio-usucapsio ได้มา
โดยการใช้ประโยชน์ usu to use ส่วน capsion คือ caption by using

Uteposdetis utilize by possession เข้าไปครอบครองโดยยึดเป็นของตน หลักกม.


ครอบครองปรปักษ์ผ นวกทั้ง usucapio และ usuposdetis เป็นรากเหง้าของการครอบครอง
ปรปักษ์ เป็นกม.อันเดียวที่มีอำานาจเหนือกรรมสิทธิ์ ตกใต้การครอบครองปรปักษ์ได้ มาตัด อันนี้สำาคัญ แล้วทำาไม
ออกสอบไป

การสูญเสียดินแดน ตรงข้ามกบการได้มา ยกให้ ก็เสียไป อาจโอนให้โดยผลของการเจรจาเพื่อยุติสงคราม โอนให้


โดยมีค่าตอบแทน โดยผลทางการเมือง โอนให้ชั่วคราวอย่างการเช่าการจำานองต้อง ถูกยึดครองโดยสมบูรณ์ ใช้
กำาลังจนเขายอม ถูกผนวกโดยรัฐอื่น หรือการสมรส ระหว่างกษัตริย์กับเจ้าหญิง เช่นพระนางมาลี อัลโตเนต เจ้า
หญิงของออสเตรียสมรสกับพระเจ้าหลุยส์ที่๑๔ ช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส

ปฏิวัติเปลี่ยนแปลง อินเดีย ปากีสถาน มีศาสนาต่างกัน แยกปท.ออกจากกัน นอกจากนั้นมีเนเธอร์แลนด์แยกจาก


สเปน เบลเยียมแยกจากเนเธอร์แลนดคำา ว่าแยกอาจเป็นอย่างอเมิกากับอังกฤษคนละทวีป คนอังกฤษอพยพไป
อเมริกา แยกเป็นปท.สหรัฐอเมริกา ได้มาจากอเมริโกเวสปุชชี่ คำา ว่าสหรัฐมาจาก united state เป็น
ปท.มลรัฐ อเมริก า อเมริโ กเวสปุช ชี่ บราซิ ลแยกจากโปรตุเ กส กรีซ จากตุร กี คิว บาจากสเปน ปานามาจาก
โคลัมเบีย

ครอบครองปรปักษ์ต้อง????? ปท.ในภูมิภาคตกภายใต้อิทธิพลคอมามิวนิสต์ อเมริกาต่อ้ต้าน ทำา สนธิสญ


ร่วมกับไทยลาวเขมาพม่าอินโดฟิลิปปินส์ตั้งเป็น seto เหมือน nato โดยทำาสนธิสญที่กรุงมะนิลาเรียก
มะนิลาแอคอคอร์ด ของไทยเรามาตั้งฐานทัพที่อู่ตะเภา ที่ฟิลิปปินส์ ตอนหลัง นศ.คนไทยลุกขึ้นประท้วง เหยียบ
ยำ่า อธิปไตยเพราะมีฐานทัพต่างชาติในประเทศ แม้จะอ้างสนธิสญร่วมป้องกัน แม้ตั้งนานเท่าไหร่ก็ไม่ได้ครอบ
ครองปรปักษ์เว้นแต่ว่าเปลี่ยนเจตนาเป็นครอบครองเพื่อตน

แต่ ถ้ า ปท.นั้ น แสดงเจตนาเปลี่ ย นเป็ น malafide (ตรงข้ า มกั บ bonafide) mal-bad


faith
ต่ อ ไปสู ญ เสี ย ทางธรรมชาติ ฝ่ า ยนึ ง งอก ฝ่ า ยนนึ ง กั ด เซาะ ส่ ว นการถมแผ่ น ดิ น อั น นี้ ทำา โดยคน
exclamation เช่นเนเธอร์แลนด์ ถมแผ่นดินออกไป สนามบินนาริตะ

ละทิ้งดินแดนเรียก dereliction คำาว่า de เป็น preface เป็น negative ละทิ้งดินแดน

พอปท.นึงละทิ้งก็เกิด terra no rius มี occupation แต่นี้ต้องละทิ้งจริงๆไม่ใช่หนีไปชั่วคราว


อีกปท.นึงต้องเข้ามา taking possession

คำา ว่ า corpus หมายถึ ง ตั ว ร่ า งตั ว แก่ น ของมั น หรื อ ตั ว โครงร่ า งของสั ญ ญา มี ก ารแสดงเจตจำา นง มี
taking possession จำา ไปใช้ได้ แล้วก็การละทิ้งต้องเป็น actual abandonment
มีเจตนาสละอำานาจอธิปไตย แต่ถ้าถอยไปชัว่ คราวไม่ใช่

อำา นาจรั ฐ แนวคิ ดเขตอำา นาจ รั ฐ คื อ รั ฐ มี แ ค่ ไ หน อำา นาจอธิ ป ไตยก็ มี แ ค่ นั้ น มี มู ล ฐานหลั ก ดิ น แดน สช ผู้ ถู
กกท.ป้องกั น สากล อำา นาจรัฐคื ออำา นาจอธิปไตยของรัฐ ในการควบคุ ม ความประพฤติข อง บุค คลกิจ กรรม
ทรัพย์สินเหตุการณ์แบ่งเป็น อานาจในการสร้างหรือบญกม. อำานาจในการพิจารณาพิพากษาคดี อำานาจในการ
บังคับการตามกม. อันนี้เรียกว่า เป็น substantive jurisdiction เป็นเขตอำานาจรัฐโดยเนื้อหา
สาระต้อ งรู้ เ ลย บางที ค นบางคนอยู่ ใ นตำา แหน่ ง ไม่ รู้ว่ า เขตอำา นาจรัฐ มี ห ลายอย่ า งเป็ น substantive
jurisdiction เ ข ต อำา น า จ รั ฐ ใ น แ ง่ ส า รั ต ถ ะ ส่ ว น ตั ว ข อ ง แ ข อ บ เ ข ต เ ป็ น territorial
jurisdiction
หลัก๑ หลักดินแดน นศ.เข้าใจมาทราบซี่งว่ารัฐย่อมมีอำานาจอธิปไตยเหนือดินแดนไม่ว่าอะไรก็อยู่ในดินแดนรัฐ
ใดย่อมอยู่ในเขตอำานาจรัฐนั้นตามหลักดินแดน ประเด็นหลักดินแดนคือดินแดนนั้นมันแค่ไหน ตรงไหนใช่ไม่ใช่
เริ่มต้องสังเกต นึกถึงการบ้านที่ให้ไว้ด้วย อย่างเช่นทำาความผิดในดินแดน ตรงไหนเป็นดินแดน แค่ไหนเป็นดิน
แดน คือส่วนตรงไหนถ้าทำาบนเรือ ทำาบนอากาศยาน อากาศยานและเรือจอดที่ไหน ถ้าจอดอยู่ที่แหลมฉบัง อันนี้
หลักอะไร? หลักดินแดน ไม่ต้องไปคิดถึงเรือ จะใช้การขยายดินแดนโดยอาศัยสัญาติเป็นจุดเกาะเกี่ยวเมื่อเรือ
หรืออากาศยานไม่ได้อยู่ในดินแดนเหมือนตอนเรียนอาญา ๑ การกทความผิดบนเรือไทยหรืออากาศยานใดไม่ว่า
จอด ณ ที่ใด... เพราะงั้นถ้ากระทำา ความผิดบนเรือสิงคโปร์ที่จอดที่คลองเตยถือ่าทำา ความผิดในดินแดนของ
ประเทศอะไร ประเทศไทยเพราะเรือสิงคโปรืจอดในประเทศไทยส่วนว่าสิงคโปร์จมีอำานาจรัฐอาศัยหลักสช.มา
เกาะก็ป็นเรื่องของสิงคโปร์แต่ไม่ใช่กระทำา บนดินแดนสิงคโปร์เพราะเรือหรืออากาศยานไม่ใช่ดินแดน แต่ให้
ถือว่าเป็นดินแดน เช่นเดียวกับกระทำา ควาผิดในสถานฑูต ถือว่าทำา ความผิดที่ไหน เอาวุ้นเส้นมาตีเลย... ส่วน
สถานฑูตได้รับเอกสิทธิความคุ้ม กันเฉพาะทางการฑูต ตัวสถานฑูตย่อมเป็นดินแดนไทยใครเกิดในสถานฑู
ตอังกฤษถเป็นการเกิดในราชอาณาจักรไทย ทีน้ถ้าทำาความผิดบนเรือไทยที่จอดในทะเลหลวงล่ะ ? เพราะเรือไทย
ไม่ ว่ า จอด ณ ที่ ใ ด ให้ ถื อ่ า กระทำา ความผิ ด ในราชอาณจั ก ร แต่ ถ้ า ทำา ความผิ ด ในทะเลหลวง เป็ น ไง???
ทะเลหลวงเป็นเขตแดนปท.ใดไม่มี ต้องทำาไง? หา? เอาเรือไปจับได้ไหม? ได้ไม่ได้? อย่าลืมนา อ.อุตส่าห์
บอกว่าให้กระโดดลงไปแทงในนำ้า ดูให้ดี ๆ เอาล่ะ ประเด็นคือดินแดนอยู่แค่ไหน นายตูรู้ดชาวฝรั่งเศสจีเ้ ครื่องบิน
สวิส ที่บินเหนือน่านฟ้าเวียดนาม แล้วฆ่านายฟิลลิปส์ ชาวอเมริกัน และนางสาวมิชิโกะชาวญี่ปุ่น แล้วก็เอาเครื่อง
บินร่อนลงไปจอดที่อุลานบาตอร์ ถามว่า ประเทศไทยมีเขตอำานาจเหนือคดีนี้ไหม?

หลักสัญชาติ อำานาจรัฐจะผุกติดกับสัญชาติของคน คนรัฐนั้นไม่ว่าไปอยู่ไหนอำานาจรัฐก็จะตามติดรวมทรัพย์สิน


ของคนนั้น หลักสัญชาติยังแบ่งเป็นกรณีผุ้ กระทำา กับผู้ ถูก กระทำา passive personality คนถูก
กระทำา เป็นคนสั ญชาติใ ด หลักป้องกัน protective principle ให้สังเกตดูการกระทำา สิ่งเหล่า นี้
แยกแยะจากหลักสากล คือฐานความผิดไม่เหมือน สิ่งเดียวที่อาศัยหลักดินแดนคือกระทำาในราชอาณาจักร

หลักป้องกันต่างจักหลักสากล ต้องผิดกม.ภายในรัฐนั้นรัฐเดียว แต่หลักสากลต้องผิดกม.นานาประเทศ delia


chontium ?? jusc9ivil ใช้ กั บ คนโรมั น jus chongtium ใช้ กั บ เผ่ า อื่ น คื อ
รากฐานของกม.รปท. คือใช้กับทุกชาติ ไม่ว่าความผิดเกิที่ไหนกระทำาโดยใครทุกรัฐก็มีเขตอำานาจ

เขตอำานาจ กับการใช้อำานาจ ไม่เหมือนกันเด้อ...

วันท่บ
ี รรยายไม่แน่ใจนะครับ ประมาณ ๓ ชม.
ข้อต่อไปข้อท่ี๓ แต่ไม่ตรงกับโจทย์ โจทย์เป็ นข้อท่ี ๔ ในเร่ ืองของ การรับผิดชอบ
ของรัฐ นศ.ต้องเข้าใจโดยภาพรวมว่า ความรับผิดชอบของรัฐเป็ นกลไกหน่ึงของ
การบังคับการให้เป็ นไปตามกม.รปท. อย่างท่ีเราทราบกันแล้วว่า กม.รปท.ไม่มี
องค์กรเหนือรัฐ ไม่มีศาลโลกในความหมายอย่างศาลภายในประเทศ ไม่มีตำารวจ
โลกไม่มีฝ่ายราชฑัณฑ์โลก เพราะงัน ้ เวลา กม.รปท.จะได้รับการปฏิบัติหรือ
บังคับการให้เป็ นไปตามกม.รปท.จึงขึ้นกับกลไกเจตจำานงของรัฐ อันนีส ้ ำาคัญ
ท่ีสุด คือเจตจำานงของรัฐสมัครใจจะผูกพันตามกม.รปท.
เร่ิมตัง้แต่ขัน
้ ท่ี ๑ คือปฏิบัติเองไม่ต้องมีใครมาบังคับ รู้ว่า กม.รปท.มีพันธะมี
กรอบมีเกณฑ์มีกฎระเบียบอะไร รัฐในประชาคมโลกก็ปฏิบัติไปตามกรอบเกณฑ์
ในการปฏิสัมพันะระหว่างกัน ส่วนใหญ่ในประชาคมโลกเป็ นบ.ภายใต้กม.
รปท.ท่ีเป็ นพลเมืองดีของโลก ก็คือ รัฐส่วนใหญ๋จะปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
ขัน
้ ท่ี๒ คือความรับผิดชอบของรัฐ หากรัฐกระทำาการใดท่ีผิดกม.ละเมิดพันธะ
กรณีของกม.รปท.ก่อความเสียหายแก่รัฐอ่ ืน รัฐก็จะเกิดสำานึกแห่งความรนับผิด
ชอบท่ีจะชดเชย เยียวยา แก้ไข ให้รัฐท่ีได้รับความเสียหายกลับคืนสภาพดีดังเดิม
น่คี ือขัน
้ ท่ี๒ น่ีคือกลไกหน่ึงในการบังคับการให้เป็ นไปตามกม.รปท.
นัน
้ คือขัน
้ ๑ คือเจตจำานงอิสระของรัฐ ขัน
้ ๒ คือผ่านกรอบกฎหมายความรับผิด
ชอบของรัฐ
ขัน
้ ท่ี๓ คือการตอบโต้แก้เผ็ดคือ retorsion / reprisol ทัง้สองเป็ นมาตรการ
ตอบโต้การกระทำาท่ีรัฐใดรัฐหน่ึงไปละเมิดรัฐอ่ ืนแล้วรัฐท่ีถูกละเมิดได้มีการบอก
กล่าวให้หยุดการกระทำานัน ้ และก็ให้เขาเยียวยา แต่รัฐท่ีละเมิดเพิกเฉย อีกรัฐ
หน่ึงท่ีเสียหายก็มีสิทธิไปตอบโต้ สองแบบ คือ retorsion (ไม่ใช้กำาลัง เช่น
boycott sanction ไม่ติดต่อทางฑูตไม่คบค้าสมาคม เรียกฑูตกลับ) อีกอัน
คือ reprisol (ใช้กำาลังในสัดส่วนท่ีเหมาะสม ปกติแล้วไม่ชอบด้วยกม.รปท.)
อาจะเร่ิมด้วย ตอบโต้ก่อน(โดยไม่ใช้กำาลัง) หรือไม่กน ็ ำาเข้าสู่ การพิจารณาของ
สหประชาชาติ (peace keeping) หรือจะไปสู่การยุติข้อพิพาทโดยสันติวิธี
ทัง้ทางการฑูต ทางศาล โดยการเจรา จัดเจรจา ไกลเกล่ีย ประนีประนอม นำาขึน ้
อนุญาโตฯ ศาล หรือไม่ก็หน ั ไปเสนอเร่ ืองให้คณะมนตรี UN ดำาเนินการ ใน
ฐานะสมาชิกองค์การสหประชาชาติ เม่ ือคณะมนตรีฯ ให้ความสนใจก็เข้ามาดูแล
ก่อนเข้ามาดูแลก็สามารถออกคำาสัง่ชัว่คราว provisional measure เป็ น
มาตราการชัว่คราวสัง่ให้จำาเลยหยุดการกระทำา จากนัน ้ ก็ไปตรวจสอบ ถ้าไม่เป็ น
ความจริงก็จบ แต่ถ้าจริง ก็นำามาสู่กลไกของ สหประชาชาติในเร่ ืองการ
boycott sanction ถ้าไม่หยุดอีกก็รน ุ แรงไปเรือยๆ
ซ่ึงชัน
้ นี ถ ้ ้ าฝ่ ายท่ีละเมิดไม่ปฏิบัต
เช่ิตนามกลไกยุ
ขึน
้ ติข้อพิพาทโดยส
ศาลแล้วไม่ปฏิบัติตามคำาพิพากษษหรือไม่ปฏิบัติตามคำาชีข้าออนุญาโตฯ หรือ
คณะมนตรีฯ UN มีมติแล้วไม่ปฏิบต ั ิตามมติ ก็จึงก่อให้เกิดสิทธิในการใช้กำาลัง
แก่รัฐท่ีเสียหาย พอมีสิทธิใช้กำาลังก็ต้องต่อไปอีก ... เกิดกฎในการสงคราม jus
in bello แต่ก่อนหน้าสงครามนีเ้ป็ นกฎ jus ad bellum คือฝั่ งไม่ใช่กำาลัง
พอรัฐมีสิทธใช้กำาลังก็ต้องหันมาดู jus in bello ประกอบด้วยกฎหมายหลาย
ชุด ตัง้แต่ กฎหมายอนุสัญญากรุงเจนีวา อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยการห้ามการ
ใช้กำาลังท่ีผิดกฎหมายมนุษยธรรม เยอะแยะชุดใหญ่เลย เห็นไหมว่าทุกอ่ย่างต่อ
เน่ ืองเช่ ือมโยงไปหมด เป็ นการแสดงภาพให้เห็นว่าจริงๆ กม.รปท.เป็ นส่ิงท่ีเก่ียว
เน่ ืองเช่ ือมโยงกันไปหมด
ว่ากันตัง้แต่ภาคสันติ ไปภาคสงคราม
ในประชาคมโลกจะอยู่กันยังไงก็มาดูเร่ ืองของปั ญหาเขตแดน อำานาจรัฐ
กม.ทะเล ขอบเขตของทะเล
ปท.ต้องปฏิบัติทางการฑตระหว่างกันเกิดกฎหมายการฑูต กงสุล มีองค์การ
รปท. ขึ้นมา มี UN UNTAD WTO WHO worldbank IMF NATO
SETO มี space law มาอีก เป็ นกลุ่มกม. แผนกคดีเมืองว่า รัฐปฏิบต
ั ิต่อรัฐ
ยังไง
ในทางตรงกันข้าม .... ส่วนของปั จเจก เอกชน ในประชาคมโลกแต่ละรัฐก็มี
ปั จเจก อาจเป็ น บ.ธรรมดา หรือนิติบ. ปั จเจกก็ติดต่อระหว่างกัน ไม่ใช่กม.
รปท.แผนกคดีเมือง เพราะเป็ นเรือ่ง ปั จเจก กับปั จเจก เช่น นายเดวิดคน
อังกฤษ ขาย เคร่ ืองจักร ให้กบ
ั นายดำารงค์คนไทย เพราะงัน ้ นายเดวิดเป็ นพสก
ของอังกฤษ ดำารงค์ของไทย เดวิดก็อยู่ใต้กรอบอำานาจของปท.อังกฤษ ดำารงค์ก็
ภายใต้กรอบอำานาจของไทย
ถ้าเดวิดส่งเคร่ ืองจักรมาให้ดำารง เวลาส่งมาก็ขนใส่เรือมา เคร่ ืองจักรจมน้ำา
ระหว่างทาง เวลาเกิดข้อพิพาท จะเอากม.ใดมาบังคับ กม.ไทย หรืออังกฤษ
หรือนายโตชิ ชาวญ่ีป่นุ ส่งม้า มาขายนายสมชาย คนไทย ทำาสัญญากันเป็ นลา
ยลักษณ์ฯ ท่ีปท.ไทย นายโตชิขายม้า ย่ีสิบตัวให้นายสมชาย ราคาย่ีสิบล้าน ทำา
สัญญษลายลักษณ์ท่ีปท.ไทย โตชิก็ขนม้าลงเรือจากท่าเรือโตเกียวจะมาส่งท่ี
ท่าเรือแหลมฉบังปรากฎเรือล่ม ม้าตายหม ดอย่างนี โ้ตชิก็เรียกร้องให้สมชาย
ชำาระเงิน สมชายบอกยังไม่ได้ม้าไม่ยอมชำาระเงิน เกิดโตชิบอกว่า กม.ญ่ีปุ่นักบ
ไทยเหมือนกัน อย่างนี้ เพราะงัน ้ การส่งมากทรัพย์ส่งมอบไม่ได้เพราะม้าตาย
หมดแล้วเป็ นพ้นวิสัยเหมือน ม.๒๑๙ไทยเป็ นพับแก่เจ้าหนีเ้พราะลูกหนีห ้ ลุด
พ้น งี้ สมชายต้องจ่ายเงินย่ีสิบล้านให้โตชิ เป็ นต้น
อย่างนีจ้ะใช้กม.ไทยหรือกม.ญ่ีป่น ุ แล้วต้องไปฟ้ องท่ีศาลไหน กลายเป็ นกม.
รปท.แผนกคดีบค ุ คล (หน่วยท่ี๑๒ ๑๓ ๑๔)
มีปัญหาว่าจะเลือกศาล ท่ีฟ้อง ประเทศใด จะเลือก กม.ประเทศใดมาบังคับ
เพราะว่า คดีนีเ้ป็ นคดีท่ีมีองค์ประกอบต่างชาติ เป็ นเร่ ืองพิพาทระหว่างเอกชนท่ีมี
องค์ประกอบต่างชาติ เม่ ือเห็นภาพแล้ว เห็นว่ากม.รปท.เป็ นเช่นนีน ้ ่ีเอง (อ.
บอกว่ไม่ยากเลย)
สมมติโตชิฟ้องสมชาย ท่ีศาลแพ่ง ประการแรกสุด ศาลต้องพิจารณาอะไรก่อน
เพ่ ือน ต้องพิจารณาว่าศาลไทยมีเขตอำานาจศาลไหม รับฟ้ องได้ไหม ศาลต้องไปดู
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าศาลมีเขตอำานาจหรือไม่ แล้วพิจารณา
มูลคดีว่าเป็ นคดีเกียวกับอะไร ฟ้ องอะไร โตชิฟ้องให้สมชายชำาระราคา เป็ นฟ้ อง
เรียกด้วยมูลหนี เ ้ ป็ นหนีท
้ ่ีเกิดจากนิตก
ิ รรมแต่โตชิกับสมชายคนละสัญ
เรียกว่า คดีพิพาทนีเ้ป็ นคดีท่ีมีองค์ประกอบต่างชาติ จะเอากม.ไทยไปบังคับทันที
ไม่ได้ ต้องไปดูพรบ.ขัดกัน เพราะมีองค์ประกอบต่างชาติ
ไปดูม.อะไร ก็ตอ ้ งดูจากการให้ลักษณะกม.กับข้อเท็จจริง คดีนีพ้พาทกันด้วย
เร่ ืองหนี ใ้นพรบ.ขัดกันก็แบ่งว่า หนีจ้ากมูลละเมิด จากมูลนิตก
ิ รรมสัญญา จาก
จัดการงานฯลาภมิควรได้
หนีท้ ่ีเกิดจากมูลสัญญา ศาลก็ไปดูพรบ.กม.ขัดกันว่าด้วยการพิพาทกันด้วยหนี้
อันเกิดจากมูลสัญญา กม.ขัดกันบอกว่า อันดับแรกสุดให้ดูเจตนารมณ์ว่า
เจตนารมณ์ของคู่สัญญาได้เขียนไว้ชัดแจ้งไหมว่าประสงค์เลือกศาลเลือกกม.ของ
ปท.ใด ถ้ามี ก็ให้เป็ นไปตามท่ีเลือกไว้ เว้นแต่ไปเข้ากม.เด็ดขาดท่ีเลือกไม่ได้เช่น
แบบของนิตก ิ รรม หากไม่มีเจตนาไว้ก็ให้ใช้กม.สัญชาติถ้าสช.เดียวกัน หากไม่ใช่
สช.เดียวกัน ก็ให้ใช้กม.ของปท.ท่ีทำาสัญญา ปรากฎว่าเป็ นปท.ไทย ก็รู้แล้วว่า
กม.ขัดกัน ให้ใช้กม.ของประเทศท่ีสำาสัญญา คดีนี ส ้ ัญญาทำาท่ีประเทศไทย
เพราะงัน ้ ศาลก็มาดูกม.ภายในของ ปท.ไทย การซ้ือขายม้า เป็ น ?? ไปดูกม.ว่า
ด้วยซ้ือขาย
กม.ซ้ือขายดูม.๔๕๓ ทรัพย์อันเป็ นวัตถุแห่งนิติกรรมสัญญาคือม้า ซ้ือขายม้าจัด
ว่าเป็ นการซ้ือขายทรัพย์ชนิดใด? ม้าเป็ นทรัพย์ชนิดใด? เป็ นสัตว์พาหนะ เป็ น
สังหาริมทรัพย์พิเศษ ต้องทำาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน แต่หากทำาเป็ น นส.
อย่างเดียว ไม่เป็ นซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด กรรมสิทธิไ์ม่โอน เม่ ือยังไม่โอน สญ .ซ้ือ
ขายเป็ นแค่สญ จะซ้ือจะขาย กรรมสิทธิไ์ม่โอน เพราะงัน ้ โตชิบอกว่าซ้ือขายสัง
หาฯกรรมสโอนนัน ้ ส่งมอบทรัพย์พ้นวิสัยบาปตกแก่ผู้ซ้ืองีไ้ม่ถูก ศาลจะตัดสินว่า
สญซ้ือขายฉบับนีย ้ ังไม่เป็ น สญซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดเพราะไม่ได้จดทะเบียน แต่
เน่ ืองจากเข้า ลักษณะสมบูรณ์เป็ น สญจะซ้ือจะขายก็ให้บังคับไปตามนัน ้ ส่ิงท่ีโต
ชิกบ ั สมชายจะบังคับต่อไปได้คือบังคับให้คู่สัญญษไปทำาเป็ นหนังสือและจด
ทะเบียนกันซะ ขัน ้ นัน ้ โตชิต้องส่งมอบม้าใหม่ ส่วนอันแรกท่ีส่งมา มันยังไม่เสร็จ
เด็ดขาด กรรมส ไม่โอน ทรัพย์ก็ยังไม่ได้มอบเป็ นเพียงจะซ้ือจะขาย นายสมชาย
จึงไม่เกิดหน้าท่ีต้องชำาระราคาเพราเป็ นแค่จะซ้ือจะขาย
ศาลจะตัดสินว่าโตชิบังคับให้สมชายจ่ายย่ีสิบล้านไม่ได้ แต่บังคับให้คู่สญ ไปทำา
หนังสือจดทะเบียน ต่อเม่ ือนัน
้ โตชิจึงมีหน้าท่ีส่งมอบม้าและสมชายมีหน้าท่ช ี ำาระ
ราคา
น่ีเป็ นเร่ ืองของกม.ขัดกัน
ถ้ามีประกันภัยทางทะเลก็ตอ ้ งไปว่ากันอีกว่าสญประกันภัยทางทะเล สมมติว่า
ขายกันในเทอม cif cost insurance frade ไปดูกม.ประกันภัยทางทะเล
ขนส่งทางทะเล ถ้าเป็ นขนส่งทางทะเลต้องดูเรือมี sea worthiness/ port
worthiness ถ้าไม่มี ประกันภัยไม่จ่าย เป็ นสมุทรภัยรึเปล่า ถ้าไม่ใช่ ประกัน
ภัยก็ไม่จ่ย ภัยเกิดจากมนุษย์ไหม เกิดจากกัปตันลูกเรือ ประกันภัยไม่จ่าย ถ้ามี
พายุมา เรือจะออกจากท่า กรมอุตุฯได้แจ้งไว้แล้ว แล้วยังออกไหม ถ้าออกแม้จะ
จมด้วยพายุก็ไม่ถือเป็ นสมุทรภัยเพราะเกิดจากการกระทำาของมนุษย์ ในแง่ของ
ขนส่งเรือพร้อมขนส่งไหม คาร์โก้พร้อมไหม สมบูรณ์ดีไหม ท่าเรือดีไหม เกิด
จากการกระทำาของกัปตันเรือและลูกเรือไหม ถ้าเป็ น ก็ไม่จ่าย
แต่ถ้าทัง้สองอย่างเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัย ซ้ือในเทอม cif ความเส่ียงส่งผ่าน
ตัง้แต่เรือสินค้าโหลดขึ้นลำาเรือ ความเส่ียงจะผ่านมือจากผู้ขายไปยังผู้ซ้ือ แต่ผู้ซ้ือ
มีความรับผิดในความเส่ียง ผู้ขายมีแค่ชำาระค่าประกันภัยเท่านัน ้ เพราะงัน ้ บ.นี้
จะรับผิดรึเปล่าต้องดูเป็ นสมุทรภัยรึเปล่า? เป็ นภัยท่ีปรากฎในกรมธรรม์รึเปล่า
ใน policy(กรมธรรม์) รึเปล่า เป็ นกม.การค้าระหว่างปะรเทศ ในเร่ ืองของ
incoterms ก็ต้องรู้อีก ว่าขนส่งทางทะเล ต้องรูป ้ ระกันภัยทางทะเล แต่วิชานี้
ไม่อยู่ในกม.รปท.เพราะ วิชากม.รปท. นัน ้ มีตอ
่ เฉพาะทางอีก อยากรู้ก็ไปต่อย
อดอีกที
ทัง้หมดนีเ้ปนกม.รปท.แผนกคดีบค ุ คล เพราะเป็ นเร่ ืองพิพาทระหว่างบูคคล
เฉพาะคดีแพ่งและพาณิชย์ท่ีมีองค์ประกอบต่างชาต มาเลือกศาลท่ีจะฟ้ อง ปท.
ไทยเป็ นปท.ท่ีใช้หลัก lex forae จึงมาดูตรงไปยังวิแพ่ง เพราะใช้กม.ของ
ปท.ท่ีศาลตัง้อยู่ในการพิจารณาเขตอำานาจศาล ต่างจาก lex gosae คือกม.
ของปท.ท่ีจะปรับใช้แก่คดี
ในคดีนี ก้ ต
็ ้องใช้กม.ไทย เพราะพอไปดูกม.ขัดกันมันเป็ นหนีจ้ากสัญญาซ่ึงเป็ น
สญท่ีทำาโดยไม่มีการกำาหนดเจตนารมณ์เลือกศาลไว้ และเป็ น สญ.ทีเกิดจากคน
ต่างสช.ต้องใช้กม.ของปท.ท่ีศาลตัง้อยู่ ถ้า lex gosae ก็ต้องไปดูกม.ของ
ปท.ท่ท
ี ำาสัญญาซ่ึงก็กม.ไทยอยู่ดี
ถ้าเอกชนพิพาทกัน ไม่ใช่หน่วยท่ี๓ เป็ นเร่ ืองกม.ขัดกัน จำาไว้ให้ดี
แต่ถ้าพิพาทกันด้วยเร่ ืองรปท.หรืออาญา จึงไปดูหน่วยท่ี๓ เป็ นเร่ ืองอำานาจรัฐ
ส่วนหน่วย ๑๒ ถึง ๑๔ ระหว่งเอกชน เป็ นเร่ ืองเขตอำานาจศาล เป็ นกม.ภายใน
แต่จะใช้กม.ของปท.ใดให้ไปดูกม.ขัดกัน ทุกปท.ในโลกมีกม.สองชุด คือขัดกัน
กับภายใน มีสามชัน้
ชัน
้ ท่ี๑ ทฤษฎีกม.รปท.คือแนวคิดท่ีรออยู่ด้านบน พวกโรมัน อิตาเลียน
ฮอลันดา ฝรัง่เศส ท่ค ี ิดกัน สรุปได้เป็ นกม.ติดตามตัว กม.เก่ียวกับทรัพย์ กม.ท่ี
เก่ียวกับภูมิลำาเนา ยกตย.เช่น โรมัน อิตาเลียนปั จจุบัน สำานัก สตาทิวอิตาเลียน
สำานักนีม ้ าจากโรมัน เม่ ือก่อนโรมันถือเป็ นอาณาจักรท่ีรุ่งเรืองสุด พระเจ้าจัส
ติเนียน กำาหนดกม ไว้สำาหรับชาวโรมัน แยกจากพวกไม่ใช่โรมัน jus
shontium แนวคิดสำานักนีว้่า ชาวโรมันไปท่ีไหนๆก็ต้องใช้กม.โรมัน นำามาสู่
แนวคิดเก่ียวกับเร่ ืองกม.ติดตามตัว แนวนีน ้ ำามาบรรจุในกม.ขัดกันของแต่
ละปท.ว่า ถ้าเป็ นเร่ ืองเง่ ือนไขการสมรส ความสามารถ เร่ ืองเก่ียวกับสถานภาพ
อันนีก ้ ็ให้ใช้กม.ติดตามตัว นัน ่ คือกม.สัญชาติ เช่น ถ้านายอ่ึงอ่างจะสมรสกับ
นางสาวอิเหล่สะบัด อ่ึงอ่าง สช.ไทย อิเหล่สะบัดสัญชาติจีน ปั ญหาท่ีจะพิพาทคือ
สมรสกันได้หรือไม่ อันนีเ้รียกว่าเง่ ือนไขการสมรส ถ้าเง่ ือนไขการสมรสก็ใช้
กม.สัญชาติ(ตามพรบ.ขัดกัน)มาจากแนวคิดกม.ติดตามตัว
แนวคิดท่ีสอง กม.เก่ียวกับทรัพย์ ทรัพย์ตัง้อยู่ท่ีไหนจะใช้กม.ของปท.อ่ ืนม
บังคับไม่ได้ ต้องใช้กม.ของปท.ท่ีทรัพย์ตัง้อยู่ เห็นได้ว่า พรบ.ขัดกันทัง้หมดถ้า
เก่ียวกับทรัพย์โดยเฉพาะอสังหาฯ พิพาทกันด้วยอสังฯ ก็จะใช้กม.ของปท.ท่ี
ทรัพย์ตัง้อยู่ แต่ถ้าเป็ นเร่ ืองภูมิลำาเนา เช่น คนตาย คนจะเป็ นสช.อะไรแล้วแต่
แต่ถ้าตายอีกปท.ก็ต้องใช้เก่ียวกับปท.ของปท.ท่ีบุคคลนัน ้ มีภูมิลำาเนา แนวคิดมี
สำานักอิตาเลียน ฮอลันดา ฝรัง่เศส แตละสำานักก็เกิดมาจากวิวัฒนาการทาง
idiology สังคมจารีตวัฒนธรรมความย่ิงใหญ่ของประทเศก็ก่อให้เกิดแนวคิด
น้น ๆ ขึ้นมา
แล้วทฤษฎีกม.ตรงนี ป ้ ท.ต่ง ๆในโลกก็ดึงเอาหลักนัน้ มาใส่ในกม.ขัดกัน อย่าง
ไทยเราก็ดึงมาหมด เก่ียวกับคุณสมบัติเง่ ือนไขก็ใช้กม.สัญชาติ ถ้าเก่ียวกับบ.ไป
ทำานิติกรรมก็ใช้กม.ภูมิลำาเนา อังกฤษก็ไปดึงของเขามา ทุกปท.ในโลกนีม ้ ีกม.
ขัดกันแล้วจึงมีกม.ภายใน
ทีนีว้ิธใี ช้ ถ้านายอ่ึงอ่าง สมรสกับอิเหล่สะบัด สองคนนีจ้ะสมรสได้ไหม มาฟ้ อง
ศาลไทย ศาลไทยอันดับแรกดูว่ารับฟ้ องได้ไหม พอรับฟ้ องได้ก็พิจารณาต่อไปว่า
จะใช้กม.ใดบังคับ มาดูสองคนนี้ สัญชาติต่างกันถือว่าเป็ นคดีแพ่งท่ีมีองค์
ประกอบต่างชาติจะมุ่งมาใช้กม.ภายในบังคับทันทีไม่ได้ต้องไปดูกม.ขัดกัน สอง
คนนีจ้ะสมรสกันได้ไหมก็ต้องให้ลักษณะกม.แก่ข้อเท็จจริงว่าเป็ นประเด็นเร่ ือง
เง่ ือนไขการสมรส พอเป็ นเร่ ืองเง่ ือนไขฯ ก็พลิก พรบ.ขัดกัน มาเจอเง่ ือนไขการ
สมรส พรบ.บอกว่าให้ใช้กม.สัญชาติ พอใช้กม.สัญชาติก็มาดู ว่าอ่ึงอ่าง สช.ไทย
ก็ใช้กม.ไทย เพราะพรบ.ขัดกันบอกให้ใช้กม.สช. ส่ววนอิเหล่สะบัดชาวจีน เวลา
กม.ของเราบอกให้ไปดูกม.สช.ก็ต้อไปดูกม.จีน ไปดูกม.อะไรของจีน ก็ต้องไปดู
กม.ขัดกัน ของจีน ไปดูก่อนว่ กม.ขัดกันของจีน เง่ ือนไขการสมรสให้ใช้
กม.อะไร ขอให้จงจำาไว้เลยว่า ต้องไปดูกม.ขัดกัน ก่อน ขีดเส้นใต้หา้ ร้อยเส้น
กม.ขัดกันของจีนบอกว่าเง่ ือนไขการสมรสให้ใช้กม
.สัญชาติอย่างนีจ้ึงไปดูกม.ภายใน เพราะสัญชาติจีนบอกว่าให้ดูกม.สัญชาติ
เหมือนไทย เรียกว่าขัดกันเชิงบวก
แต่ถ้ากม.ขัดกันของจีนบอกให้ไปดูกม.ภูมิลำาเนา อันนีเ้รียกว่าขัดกันเชิงลบ ก็จะ
ดูกม.ภายในของจีนไม่ได้ ขึ้นกับว่าอิเหล่สะบัดอยู่ท่ีจีนหรือไม่ หรืออยูท่ีญ่ีปุ่น ก็
ไปดูของญ่ีป่นุ ดูกม.ขัดกันของญ่ีปุ่นก่อน ว่ายังไง กม.ขัดกันญ๊ป่น ุ บอกให้เป็ น
ไปตามกม.ภูมิลำาเนาก็ดูกม.ภายใน แต่ถา้ อิเหล่ฯอยูป ่ ท.ไทย เกิดย้อนส่งเพราะ
อยู่เมืองไทยต้องมาดูกม.ภูมิลำาเนา ดังนี้ ปท.ไทยก็มาดูกม.ขัดกันของไทยอีก ดู
ว่า เอ?? เราบอกให้ใช้กม.ตปท. แล้ว ตปท.ส่งกลับมาให้ดูกม.ไทย มาตรา ๔
ของพรบ.ขัดกันบอกว่า เราไม่ดูกม.ขัดกันอีกแล้ว แต่ให้ไปดูกม.ภายใน แสดงว่า
เราไม่ส่งต่อ เราย้อนส่งแล้วดูกม.ภายใน ถ้าเป็ นกรณีนีท ้ ัง้คูต
่ ้องไปดูม.๑๔๔๘
อ่ึงอ่างอายุ ๑๙ อิเหล่ฯ อายุ๑๖ แต่งงานไม่ได้ แต่ถ้าอิเหล่ฯอยู่จีน จีนบอก๑๕
แต่งได้แล้ว อันนีแ้ ต่งได้
ถ้าเป็ นคดีแพ่งและพาณิชย์ระหว่างเอกชนท่ีมีองค์ประกอบต่างชาติ ให้มาท่ี กม.
ขัดกัน เลย เราต้องดูทีละขัน
้ อันดับแรกมีองค์ประกอบต่างชาติ เป็ นเอกชน แล้ว
ก็พิพาทด้วยทางแพ่ง
หลัก แม้ว่าหน่วยท่ี ๑๓ ๑๔ เขตอำานาจศาลจะต้องสอดคล้องกับอำานาจรัฐก็จริง
ถ้าไม่มีอำานาจรัฐเลยย่อมไม่มีอำานาจศาล เพราะว่ามีอำานาจรัฐไม่ว่าหลักดินแดน
หรืออะไรๆ ศาลจึงมีอำานาจ ถ้านางโซฟี ถูกนายอันโตนิโอ ฆ่าตาย โซฟี เป็ นสเปน
อันโตนิโอเป็ นอิตาเลียน ท่ีประเทศอินโดนีเซีย ศาลไทยรับฟ้ องได้ไหม? ฆ่าตาย
มันเป็ น อะไรด้วย?? ??ฆ่า นอกจากเป็ นอาญายังเป็ นแพ่ง ละเมิดต่อชีวิต
ร่างกายอีกด้วย
มันมีละเมิดด้วย อย่างนีแ้ ล้ว ญาติพ่ีน้องของโซฟี จะมาฟ้ องท่ีศาลไทยได้หรือไม่?
ตอบว่า ไม่ได้เพราะไม่มีเขตอำานาจรัฐ จึงไม่มีเขตอำานาจศาล เพราะอำานาจรัฐยัง
ไม่มีเลย โซฟี เป็ นสเปน อันโตนิโอเป็ นอิตาเลียนไปฆ่าตายท่ีอน ิ โดนฯ ปท.ไทย
ไม่มีทัง้หลักดินแดน หลักบุคคล หลักสากล อำานาจรัฐไม่มีเขตอำานาจศาลก็ไม่มี
อย่งนีเ้ป็ นต้น เขตอำานาจศาลจึงสอดคล้องกับเขตอำานาจรัฐด้วยเหตุนี้
ถ้ามีสองสัญชาติ สัญชาติท่ีพรบ.ขัดกันของไทยยึดถือ? ในพรบ.สัญชาติเราก็
เขียนไว้ ถ้ากม.ขัดกันเน่ีย ให้ลักษณะกม.แก่ข้อเท็จจริงแล้วให้ใช้กม.สัญชาติ
ทีนีก
้ ารใช้กม.สัญชาติแก่บ.ท่ีมีสช.มากกว่า ๑ สช. อันดับแรกดูกอ ่ นว่า บ.หลาย
สช. ถ้าได้รบั สช.มาโดยลำาดับให้ใช้กม.สช.ท่ีได้รับครัง้สุดท้า ย เช่น นส.แดงคน
ไทยแต่งงานกับนายหมูตู้ ชาวแอฟริกัน แล้วก็ได้ สช.แอฟริกน ั อย่างนีเ้รียก
นส.แดงมีสองสช. หรือหลายสช.ทีได้มาโดยลำาดับ หากมีคดีพิพาทท่ีพรบ.ขัดกัน
บอกให้ใช้กม.สช. ต้องถือ่วา่ นางแดงมี สช.แอฟริกัน ต้องไปดูกม.แอฟริกา ไปดู
พรบ.ขัดกันของแอฟริกา
นางแอนนาอังกฤษ สมรสนายฟรองซัวฝรัง่เศส ถ้าใช้กม.สช.ให้ใช้ ฝรังเศส แต่
ถ้าได้รบ ั สช.ในคราวเดียวกัน นางแอนนาคนอังกฤษเกิดท่ีอังกฤษ แต่มีพ่อแม่
เป็ นอิสราเอล จึงมีสช.อิสราเอล และสช.อังกฤษ แต่นางแอนนาอยู่ท่ีปท.
อังกฤษจึงให้ใช้กม.อังกฟษเพราะเป็ นปท.ท่ีมีภูมิลำาเนา แต่ถ้ามีภูมิลำาเนา
ในปท.อ่ ืน มีทัง้อังกฤษ และอิสราเอลแต่ไปอยูท
่ ่ีวันูวาตู ให้ใช้กม.ภูมิลำาเนาขณะ
ย่ ืนฟ้ อง
ทหารเป็ นตัวแทนของรัฐ รัฐต้องรับผิด ตามจารีตฯ สนธิสญ หลักกม.ทป. ทำาให้
อีกรัฐเสียหาย เกิดความรับผิดชอบของรัฐ
ขัน
้ ขอให้แสดงความรับผิดชอบ "เอ็งยิงเข้ามาทำาไม"
ขออภัย เข้าใจผิด ก็ต้องรับผิด รับผิดชดใช้ยังไง ทำาให้กลับคืนดีดังเดิม ทำาให้
พอใจ ปท.ไทยขอ แค่คำาว่า "ขอโทษ" ก็ได้
หากยิงมาแล้ว ขอให้แสดงความรับผิดชอบแล้วเพิกเฉย ก็เกิดสิทธิในการตอบโต้
แต่ยังทำาไม่ได้เพราะเขาอ้างว่าเราไปรุกล้ำาก่อน จะตอบโต้ทน
ั ทีไม่ได้ จะกลายเป็ น
ว่าเราใช้กำาลังโดยไม่ชอบ ก็ต้องเจรจา เรียกฑูตมาแล้ว รบ.ไม่แสดงความรัผบิด
ชอบต้องจัดเจรจาสองฝ่ ายบอกว่าท่ีทำาใครผิดกันแน่ แล้วลงไปตรวจสอบ สอง
ฝ่ ายไม่รู้เร่ ืองก็อาจต้องใช้ asean เข้ามาจัด มีคนกลางมาจัดเจรจา แล้วไม่รู้เรือง
อีกก็ไป คณะมนตรีความมัน ่ คงให้เขามาตรวจสอบ ระหว่างนัน ้ ก็สามารถมี
มาตรการชัว่คราวให้สองฝ่ ายหยุดยิงเด็ดขาดให้เขาตรวจสอบก่อน พอ UN ตวจ
สอบแล้วว่าใครผิด คนนัน ้ ก็ต้องปฏิบัติตามมติ UN ถ้าไม่ปฏิบัติตามคราวนีล
้ ะ่
ไทย reprisol / retorsion ได้ ไม่ติดต่อไม่คา้ ขายเรียฑูตกลับ หาก
retorsion แล้วยังไม่สำานึกอีก ก็ใช้กำาลังก่อนใช้กำาลังก็ฟ้อง UN นิดหน่อยให้
เกิดความชอบธรรม
อันดับแรก ไอ่ขัน
้ บันได้นัน
้ การกระทำาใดท่ีรัฐต้องรับผิดชอบ การกระทำานัน
้ ต้อง
เป็ นกกท.ของรับ ต้องผิดกม. ละเมิด ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐอ่ ืน
ใครรับผิดชอบ ก็รฐ ั ท่ีทำาให้เกิดคสห.รับผิดชอบอย่างไรรับผิดชอบในการท่ีเจ้า
หน้าท่ีของรัฐ คนชาติ หรือฝ่ ายนิติฯ บริหารฯ ตุลการฯ ทำา รับผิดชอบต่อจนท.
ทรัพ์สินของชาติท่ีเขาได้รบ ั คามเสียหาย เช่นรับผิดชอบต่อเจ้าหน้าท่ีไทยยท่ีถูกยิง
ต่อทรัพย์สิน
เร่ ืองความรับผิดชอบของรัฐคือเร่ ือง compensatio เพราะงีน ้ ไม่ต้องรับผิดใน
การกระททางอาญา ปล่อยให้เป็ นเร่ ืองอำานาจรัฐ จึงชดใช้เฉพาะความเสียหาย
ทางแพ่งเท่านัน้ ให้สถานการณ์ดีดังเดิม โดยทำาให้อีกฝ่ ายแค่พอใจ หรอชดใช้เป็ น
ตัวเงิน ถ้าพอใจก้ satistaction restitution compensation ยกเว้นป้ อ
งกันนตัว reprisol เหตุสุดวิสัย ป้ องกันตัวเป็ นสิทธิโดยชอบธรรมไม่ว่าเป็ น
กม.ภายในหรือกม.รปท.ทุกรัฐมีสิทธิป้องกัน เม่ ืออีกรัฐละเมิดก่อนเ ราบอก
กล่าวยังเพิกเฉย เราตอบโต้ในสัดส่วนทีเหมาะสม แม้จะก่อเสียหายก็ไม่ต้องรับ
ผิดเพราะเป็ นขัน้ ตอบโต้
เหตุสุดวิสัยเป็ นเหตุภายนอกทีเกิดขึ้นไม่มีใครห้ามได้
ขัน
้ ท่ี๑ รัฐในฐานะก่อให้เกิดคสห รัฐเปรียบเหมือนนิติบคุ คลทางรปท.ต้อง
กระทำาผ่านตัวแทนของรัฐ ผูก ้ ระทำาแทนรัฐได้แก่ จนท.ในระดับต่าง ๆ ซ่ึงกระทำา
ในนามของรัฐ ทำาอะไรผิดก็ต้องรับผิดชอบต่อคสห.ในรัฐผู้เสียหายไม่ว่า คนชาติ
ของเขา ทรัพย์สินของเขา
รัฐท่ีได้รับคามสห. รัฐท่ีถูกกระทำา ถูกกระทำาต่อจนท.ทรัพย์สินของรัฐของ
เอกชน หรือกระทำาต่อคนชาติของรัฐผู้สเยหาย(ภาครัฐ ภาคเอกชน) ทำาไมความ
รรับผิดชอบจึงเกิดเป็ นกม.รปท.มาจากแนวคิด้ด้านศีลธรรม การจำาเป็ นอยู่ร่วม
กัน และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ความรู้สึกในห้วงลึกของจิตสำานึกของความเป็ นคนท่ีมีอารยธรรม รัฐก็เช่นกัน ้ ก็
ต้องสำานึกว่าหากทำาให้คนอ่ ืนเสียหายก็ต้องรับผิดชอบอ ย่างไรก็ตามการอยู่ร่วม
กัน ทำาให้รบ
ั ผิดชอบเป็ นเร่ ืองถ้อยทีถอ
้ ยปฏิบัติแต่ละคนต้องรู้จักหน้าท่ี กระทบ
กระทัง่ก้นต้องเกิดความรับผิดชอบ ส่วนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ไม่มี
เจตนาเลยแต่ต้องการได้ปย.ทางเทคโนโลยี ก็ต้องรับผิดหากเสียหายแก่คนอ่ ืน
คือ strict liability
เป็ นหลักเดียวกับความรับผิใดนทงละเมิดตามกม.ภายใน โดยสรุป ผู้ใดได้ปย.
จากส่ิงท่ีทำาให้เกิดเสียหายต้องรับผิด
การทีรัฐต้องรับผิดต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล เช่นเดียวกับ
อาญา
นอกจาก กกท.ของรัฐท่ีฝ่าฝื นกม.รปท. หากว่รัฐมีอำานาจทำาแม้ก่อเสียหายแก่รัฐ
อ่ ืน ก็ไม่ผิด คืออปก.ต้องครบหมด เป็ นกกท.รัฐ ก่อเสียหาย ละเมิด และรัฐท่ีได้
รับการกระทำานัน ้ มีความเสียหาย หากทำาโดยชอบแต่เขาเสียหายก็ไม่ผิด
การกระทำาหมายถึงการงดเว้นด้วย ไม่บอกว่าช่องแคบมีทุ่นระเบิด แม้จะเป็ น
เรือรบไม่ใช่ innocent passage ก็ต้องรับผิดฐานงดเว้นกระทำา
ละเมิด คือ ฝ่ าฝื นพันธะกรณี ตามกม.รปท. จารีตฯ สนธิสญ. ก็ได้ สนธิสญท่ี
เราไปทำาน่ีล่ะ คำาว่าละเมิดนี ใ้นทางรปท. อาจไม่ต้องพิสูจน์ความบกพร่องในการ
ท่ีจะกระทำาการ แต่ในหลกักม.ภายใน เช่นของ common law ผู้ละเมิดต้อง
พิสูจน์การไม่ปฏิบัติละเลยหรือบกพร่อง แต่รปท.ไม่ต้องพิสูจน์ ยกตย. ฑูต เข้า
มาในปท.ไทย ฑูตเยอรมัน แต่ว่าปกติไปไหนมาไหนก็ไม่ได้เขียนว่าฑูตไว้ท่ีหน้า
ผาก อาจเดินแถวชายหาดบางแสนแล้วไปทำาอะไรผิดเข้า ตำารวจก็จับ ตำารวจไม่รู้
ว่าเป็ นฑูต แต่ก็จับไม่ได้หรอก จะเป็ นละเมิดกม.จารีตฯรปท. แม้การกระทำา
เข้าใจผิด บริสุทธิใจก็ต้องรับผิด การใช้สิทธิโดยมิชอบก็ถือละเมิดพันธะกรณี
จารีตฯ ทุกปท.ต้องคุ้มครอบคนต่างด้าวตามมาตรฐานขัน ้ ต่ำา หรือตามสนธิ
สัญญา เช่นคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญา เช่น พวกยา CL ไปทำาความตกลงกับ
อเมริกาไม่ให้ใช้ CL แล้วยาต้นแบบต้องผลิตจากต่างประเทศ ผลิตจากเมืองไทย
เม็ดละแปดบาท พอไปซ้ือ amoxyclav เม็ดละส่ีสิบ ยาเอดส์เม็ดละสามพัน
เข็มละสามแสน อันนี ก ้ ม.ทรัพย์สินทางปั ญญา จะเป็ นอาวุธอันร้ายท่ีทำาให้เรา
ต้องสูญเสียเงินทองมากมายแต่ไปละเมิดเขาไม่ได้
CL คือบังคับใช้สิทธิ ปกติผู้ทรงสิทธิบัตรมีเอกสิทธิ ม
์ ี exclusivity ท่ีจะใช้
สิทธิของตัวเองผู้เดียว แต่ CL compulsory licensing รัฐบาลเป็ นผู้ให้ แต่
ถ้าเอกชนไปผลิตเองไม่ได้ หมายความว่า รบ.ต้องคุ้มครองสิทธิบัตร แต่รัฐบาล
อนุญาต ให้ โลโก้ manufacture ไปผลิตยา แล้วไปบังคับให้คา่ ตอบแทนเขา
มีการยกเลิก CL แล้วได้กลับมาใหม่ อยูท
่ ่ีว่าใครเป็ นผู้ทรงสิทธิบัตร
เสียหายตีเป็ นเงินตราได้ กับเป็ นเงินตราไม่ได้ ก็มี ไม่ต้องตีค่าเป็ นเงินก็ได้ เช่น
กองทัพข่มขืนหญิง อีกประเทศหน่ึง
ความเสียหายท่ีได้รับต้องเกิดจากผลการละเมิด ถ้าไม่ละเมิดก็ไม่เป็ นเสียหาย ส่ิง
ท่รี ัฐทำา คำาว่า imputibility หมายความว่าเป็ นการกระทำาท่ีโอนมาเป็ นการ
กระทำาของรัฐได้ บางอย่างโอนมาไม่ได้เช่น เอกชน หรือผู้ปฏิวัตริ ัฐประหาร
รับผิดชอบคนชาติ เจ้าหน้าท่ี พวกกบฏปฏิวัติรัฐประหาร
ยกเว้น ป้ องกันตัว reprisol เหตุสุดวิสัย
หลักปฏิบัตต ิ ่อคนต่างด้า วคำาว่า hostage คือรัฐเจ้าบ้านท่ีรับคนต่างด้าวเข้ามา
อยู่ อันนีต้ ้องให้ความคุ้มครองสิทธิแก่คนต่างด้าวอย่างน้อยสุดตามมาตรฐานขัน ้
ต่ำาซ่ึงถือปฏิบัติทางระหว่างประเทศ รัฐไหนไม่ให้ความคุ้มครองตามมาตรฐานชัน ้
ต่ำา หรือสนธิสัญญา ก็ถือว่าผิดพันธะกรณีต้องรับผิดชอบต่อคนต่างด้าว
รัฐท่ีคนต่างด้าวสังกัดอยู่ก็ก่อให้เกิดสิทธิในการคุ้มครองทางการฑูตแก่คนชาติ
ของตน คำาว่า diplomatic protection ต้องใช้มาก คือการท่ีรัฐชาติคุ้มครอง
คนชาติของตนท่ีอยู่ในต่างประเทศในนฐานะท่ีเขาไปเป็ นคนต่างด้าวรัฐอ่ ืนแล้ว
ไม่ได้รบ
ั การคุ้มครองภายใต้
รัฐต้องรับผิดแม้นเป็ นการกระทำาทีเกินหรือขัดกม.ภายใน ถ้าหากว่า ในสายตาผู้
อ่ ืน จนท.น้นถือว่าทำาในนามของรัฐ หรือการกระทำาท่ท ี ำาไปโดยใช้เคร่ ืองหมายตำา
แหน่งนห้าท่ีโดยมีอาวุธ จับคนต่างด้าวยัดยาบ้า เป็ นการกระทส่วนตัวเพราะ
ตำารวจไม่มีหน้าทียัดยาบ้าแต่ถา้ ไปทำาต่อคนต่างด้าวรัฐต้องรับผิดชอบ หรือละเลย
มาตรการจะป้ องกันไม่ให้เกิดเหตุนัน ้ เช่นไม่มีมาตรการดูแลนักท่องเทียวทำาให้
นักท่องเท่ียวเสียหายต่อทรัพย์สิน ก็ต้องรับผิดชอบ
ต่อไป เอกชน ปกติถ้าเอกชนทำารัฐไม่ต้องรับผิดเพระเอกชนไม่ใช่รัฐแต่ท่ีรัฐต้อง
รับผิดมีสองประการคื อหน่ึงรัฐงดเว้นไม่ปราบปรามเอกชน สองรัฐไม่ได้ใช้กำาลัง
ความสามารถในการไม่ให้เอกชนก่อให้เกิดความเสียหายแก่คนต่างชาติ
เอกชนต่อรัฐ เผาสถานฑูต
เอกชนเผาโรงแรม (เอกชนต่อเอกชน)
คณะปฏิวัติรัฐประหาร ไม่ใช่รัฐบาลเพราะฉะนัน ้ คณะฯ ทำาอะไรไป รบ.ไม่ต้อง
รับผิดโดยตรงแต่ต้องรับผิดโดยเพราะละเว้นไม่ปราบปรามคณะปฏิวัติหรือไม่ใช่
กำาลังความสามารถสูงสุดในการปรามปรามคตณะปฏิวัติป้องกันเหตุร้าย หาก
คณะฯ ปฏิวัติสำาเร็จ รบ.ใหม่ต้องรับผิดชอบกกท.ของคณะปฏิวัติท่ีตนเอง แต่ถ้า
แพ้ รบ.ไม่ต้องรับผิดชอบเว้นแต่ไม่ได้ใช้ความสามารถในการปราบปราม
รับรองรัฐ (ประกาศ เง่ ือนไข) รับรองรัฐบาล ?
การกระทำาในนามของรัฐ นิตบิ ญ บริหาร ตุลาการ นิติบญ ส่ิงท่ท
ี ำาแล้วต้องรับ
ผิดคือ ออกกฎหมายซ่ึงขัดหรือแย้งพันธะกรณีระหว่างประเทศ ปฏิเสธการให้ใช้
สิทธิทางศาล ไม่ออกกม.อนุวัติการให้เป็ นไปตามพันธกรณี ออกกม.ไปแย้ง
หรือไม่ออกกม.ไปรับรอง
ฝ่ ายบริหารคือ ดำาเนนิการจับกุมกักขังคนต่างด้าวโดยไม่ชอบ ยัดยาบ้าน รีดค่าไถ่
ขาดความรอบคอบระมัดระวังในการคุ้มครองคนต่างด้าว ไม่ดูแลทรัพย์สินของ
คนต่างด้าว เวนคืนยึดทรัพย์โดยมิชอบ หมายความว่า ทุกปทในโลกมีอธิปไตย
เวนคืนยึดทรัพย์คนต่างด้าวได้ถ้ากระทำาโดยชอบคือ เวนคืนยึดทรัพย์โดยชอบ
ด้วยกฎหมาย โปร่งใส มีกม.เวนคืนอย่งชัดเจน เรียกว่า due procedur
เวนคืนเพ่ ือประโยชน์สาธารณะ for public interest เวนคืนโดยไม่เลือก
ปฏิบัติ non discrimination เวนคืนแล้วต้องชดเชยอย่างเป็ นธรรม fair
competition
เพ่ ือปย.สาธารณะ มีการออกกม.โดยชอบ ไม่เลือกปฏิบัติใช่แต่เฉพาะของคน
ต่างด้าวของคนชาติเว้นไป ชดเชยอย่างเป็ นธรรม
ประติบัติ treatment ปฏิบัติ practice
promt adequate effective
เน้นคนต่างด้าวเพราะในสมัยก่อนเวลาเวนคืนยึดทรัพย์ รบ.ไม่ชดเชย หรือไม่ก็
ชดเชยในราคาท่ีต่ำามาก แต่นค่ี ือคนชาติ ถ้าเราปฏิบัติตาม national
treatment เราปฏิบัติต่อต่างชาติอย่างนัน ้ ต่างชาติก็จะไม่ได้รับความชดเชย
เหมือนกัน เขาถึงเน้นว่ากับคนต่างด้าวทำากับเขาไม่ได้
รบ.ไทยเวนคืนไม่ชดเชยคนไทย แต่คนต่างด้าวต้องชดเชย บางคนถึงเรียกว่า
discriminate against naitonal คนชาติไม่ได้ แตคนต่างด้าวได้ เป็ น
positve national treatment
คนชาติ ไม่ได้อย่างไร คนต่างด้าวไม่ได้อย่างน้นด้วยเป็ น negative national
treatment
ปั จจุบันคนชาติได้อะไรคนต่างด้าวได้ส่ิงน้น
เม่ ือเกิดข้อพิพาทระหว่างคนต่างด้าวกับคนชาติ ต้องให้ความเป็ นธรรรม ไม่งัน

อีกฝ่ ายมีสิทธิใช้ diplomatic protection
ฝ่ ายตุลาการผิดได้คือ กระบวนการยุติธรรมไม่ชอบ ปฏิเสธให้ควมคุ้มครองคน
ต่างด้าว กระบวนการล่าช้าโดยไม่มีเหตุผ หรือปฏิเสธบังคับคดีเพ่ ือประโยชน์คน
ต่างด้าวหรือตัดสินไม่เป็ นธรรม เลือกปฏิบัติ ฝ่ ายุตล
ุ าการผิด ส่วนท่ียกเว้นไม่
ต้องรับผิดชอบคือเร่ ืองของการป้ องกันตัว เป็ นจารีตฯ และกฎบัตร un รับรองไว้
ข้อท่ี๕๑ ถ้าเป้ นการกระทำาของรัฐถ้าเกิดเสียหายแต่ถ้าเป็ นเรืองการป้ องกันก็ไม่
ต้องรับผิด
reprisol คือการตอบโต้หรือ sanction โดยเรียกร้องให้ใช้มาตรการ
reprisol และอีกฝ่ ายน่ิงเฉย การกระทำาตอบโต้ต้องเป็ นสัดสว่นท่ีเหมาะสม
เหตุสุดวิสัย ก็ ไม่ต้องรบผิด เช่น แผ่นดินไหว เป็ นปั จจัยภายนอก ซึนามิ หาก
คนต่างด้าวมาเจอเหตุนีใ้นปท.ไทยเป็ นเหตุสุดวิสัย แต่หากไม่ได้ใช้มาตรการ
เตือนภัยเราก็ต้องรับผิด ดังนัน้ เหตุสุดวิสัยคือไม่อาจป้ องกันได้เลย
มาตรการเรียกร้อง ให้ใช้ทางการฑูตหรือฟ้ องศาลหรือนำาขึ้นสู่การพิจารณา
อนุญาโตตุลาการ แต่ถ้าเอกชนเป็ นผู้เสียหาย เอกชนไม่ใช่บ.ภายใต้กม.รปท.จะ
ใช้สิทธิได้ต่อเม่ ือผ่านรัฐ รำฐจึงต้องมี diplomatic protection ในคนชาติ
ยกเว้นใน สหภาพยุโรปท่ีเอกชนมีอำานาจใช้สิทธิโดยตรง เรียกว่า direct
effect คือการมีอำานาจในการใช้สิทธิโดยตรงไม่ต้องผ่นศาล เพราะ eu มีการ
รวมตัวทางศก. ไม่มีพรหมแดน มีการเคล่ ือนย้ายปั จจัยการผลิต ทุนแรงงาน
สินค้าบริการโดยไม่มีพรหมแดน ดังนัน
้ อำานาจอธิปไตยบางส่นลดลงคือพรหม
แดนไม่มี eu มี ๒๗ ประเทศไม่มีพรหมแดนระหว่างกัน กำาลังจะกลาเป็ น ๒๙
ประเทศฯ แต่เพระการรวมตัวทางศก. พรหมแดนจึงถูกเอาออกหมด
๑.ต้องเป็ นพรหมชาติรัฐนัน

๒.คนท่ีจะให้รัฐคุ้มครองได้ต้องดำาเนินคดีในรรัฐนัน้ จนถึงท่ีสุดแล้ว หมดหนทาง
เยียวยาตามกระบวนการกฎหมายภายนใน ต้องเน้นเลยเพราะว่าไม่ว่าใคร คน
ชาติคนต่างด้าว เม่ ือไปอยู่ใต้อธิปไตยของรัฐใดต้องปฏิบต ั ิตามกม.ของปท.นัส ้ น
ต้องถึงท่ีสุดแล้ว แต่ถ้าทิง้ฟ้ อง ขาดนัดสืบพยาน ไม่อุทธรณ์ ไม่ฏีกา ยังไม่ถือ่า
หมดหนทางเยวยา รัฐมาคุ้มครองไม่ได้
๓.คนนัน้ ต้องสุจริต หมายความว่าผิดไม่ได้ หากกระทำาความผิดไม่มีรัฐไหนมา
คุ้มครองได้ ต้องครบทัง้สามเง่ ือนไข
คสพ.มีหลายกรณี คนนัน ้ ขาดจากการมีสัญชาติของรัฐนัน
้ หรือยัง? สละสช.ไทย
แล้ว รบซไทยช่วยไม่ได้ เพราะขาดไปได้ หากมีหลายสัญชาติต้องหา master
nationality ใครเป็ นชาติท่ีคุณมีสัญชาติแล้วผูกพันมากท่ีสุด ส่วนคนไร้
สัญชาติไม่มีใครดูแล ส่วนนิติบคุ คล ปท.ต่าง ๆ ในโลกจะมีหลักในการกำาหนด
สัญชาติใหญ่ ๆสามหลัก
๑.หลักจดทะเบียน cooperate principle นิติบ.นัน
้ จดทะเบียนปท.ไหนก็
มีสช.ประเทศนัน

๒. princle of situ (site) ภูมิลำาเนาของสนง.ใหญ่
๓. control principle สำานักงานใหญ่ควบคุมโดยพฤตินัย เช่น เทมาเสก
ท่ีมา overtake shincorp เทมาเสกจดทะเบียนเป็ นบ.ไทย เพราะซ้ือหุ้นผ่าน
กุหลาบแก้ว บ.พวกนีเ้ป็ น บ. holding company ของ เทมาเสก ปท.ไทยมี
ปั ญหากม.รปท.คือไม่มีหลักเกณฑ์ในการกำาหนดสช.นิติบ.ท่ีแน่นอน มีเกณฑ์
หลายอย่างขึ้นกับกม.หลายฉบับย เช่น ถ้ากม.ขัดกันก็หลักจดทะเบียน กม.แพ่ง
เอาหลักภูมิลำาเนา กม.ธุรกิจคนต่างด้าวเอาสัดส่วนผู้ถือหุ้นจดทะเบียน ก็เป็ น
ช่องว่า เพราะงัน ้ บ.ต่างด้าวพอมาจดทบ.ในปท.ไทยก็จะมีสถานภาพเป็ นบ.ไทย
ดำารงสัดส่วนการถือครองหุ้นให้ได้ ๔๙ ๕๑ ก็เป็ น บ.ไทยแล้ว แต่ปพพ.ก็
อนุญาตให้มีการจดทะเบียนหุน ้ บุริมฯ กับหุ้นด้อยสิทธิ เราะงัน ้ ผู้ถือหุ้น ๔๙%
จึงจดทบ.หุน ้ บุริมฯให้มีสิทธิในการออกเสียงได้ ๙๙ % ในขณะผู้ถือหุ้นอีก ๕๑
เป็ นหุ้นด้อยสิทธิมีสทิ ธิออกเสียงเพียง ๑ % เรียกว่า ควบคุมบ.โดยผู้ถอ ื หุ้น
เราะงัน
้ เจ้าของบ.ท่ีแท้จริงคือคนต่างด้าว กิจการของ บ.ควบคุมกำากับโดยท่ี
ปช.ญ.ผู้ถือหุ้นเพราะงัน ้ ๙๙ % เป็ นคนต่างด้าว อย่างนีถ ้ า้ ปท.ไทยยึดหลัก
ควบคุม เทมาเสกท่ีถือหุน ้ ผ่านกุหลาบแก้วก็จะเป็ นบ.ต่างด้าว ก็จะซ้ือหุ้นชิน
คอปไม่ได้ เพราะชินคอปประกอบธุรกิจต้องห้าม สายการบิน สถาบันการเงิน
สถานีวท ิ ยุโทรทัศน์ แต่น่ีทำาได้เพราะเขา circumvent เล่ียงกม.จากช่องโหว่
กม.ไทย เป็ นจุดอ่อนของกม.ไทย เพราะงัน ้ เวลาเรียกม.รปท.ก็เอาไปใช้ซะ มี
ผลกระทบต่อไปอีกตัง้แต่ พรบ.ประกอบธุรกิจคนต่างด้าวไม่ได้ใช้เลย พอจด
ทบ.เป็ นไทย สามบช.ก็ไม่ต้องใช้ ยัง ป.ทีดิน พรบ.อาคารชุดอีก ยกเว้นหมด
เพราะเป็ นไทยไปเสียแล้ว น่ค ี ือจุดอ่อนของกม.ไทย ท่ีถา้ ไม่รู้กม.รปท.ก็ดูแลชาติ
ไม่ได้ส่ิงเหล่านีต
้ อ
้ งแก้หมดย่ิงกว้านัน ้ เวลาทำา FTA มี negative list คือ
รายการอุตสาหกรรมท่ีเราไม่เปิ ดท่ีเราไม่พร้อมแข่งขัน บ.พวกนีท ้ ำาได้หมดไม่อยู่
ใต้ negative list
ปท.ในโลกนีย
้ ึดถือหลักแตกต่างกัน แต่ศาลจะถือเอาสำานักงานใหญ่เป็ นเกณฑ์
(ข้อ๒)
พอเป็ น บ.ไทยป๊ บุ ปท.ไทยเกิดความรับผิดในการดูแลบริษัทพวกนี้ แต่จริงๆ
เป็ นต่งด้าวแต่ไทยมีหน้าท่ี diplomatic protection เวลาเขาไปปก.ธุรกิจ
ปท.อ่ ืนเราต้องตามไปคุ้มครอง มีสิทธิได้รับสิทธทัง้มหาชน เอกชนใต้กม.ภายใน
รัฐต้องดูแลคนชาติสองกรณี คือ อยูในปท.และท่ีต่างปท. คนต่างด้าวท่ีเป็ นคน
ไทย อยูใ่ นปท.ไทย รบ.ไทยก็ต้องดูแลคนเหล่านีไ้ปอยู่ตปท.เราก็ต้องตามดูแล
ในฐานะพสกของแผ่นดิน
พวกนีไ้ด้รับการส่งเสริมการลงทุน boi ก็ส่งเสริม กรมสรรพากรเดือดร้อนมาก
เพราะยกเว้นภาษีเงินได้นิติบ. ก่ีปี ๆ มี tax holiday / tax examtion
/capital ไม่เสียสินค้าทุนท่ีนำาเข้า แต่คนไทยธรรมดา ไม่ได้ เพราะเกณฑ์ไม่ถึง
ปท.ไทยมี sme สองล้านสองแสนเจ็ดหม่ ืนส่ีพันสามห้าสองวิสาหกิจทัว่ปท.คิด
เป็ น ๙๕ % ของธุรกิจไทยทัง้ปท. แต่มีสัดส่วนส่งออกเพียง ๒๙ % อีก ๕ %
เป็ นต่างด้าวหมด แต่ได้เงินจากการส่งออก ๗๑ % คนไทยจึงจน
เหมืองหิน ๙๐กว่า % ต่างด้าวได้สัมปทาน
bacelona traction นิติบ.เป็ นสช.ใด
เบลเย่ียมไปขุดแร่สเปน ต่อมา สเปน เวนคืนเอาเหมืองแร่ไปหมด เบลเย่ียม
ฐานะผู้ถอ ื หุ้น รูส
้ ึกสูญเสีย เลยให้ รฐเบลเย่ียมฟ้ องร้อง ศาลโลกยกฟ้ อง เพราะ
ผู้เสียหายในทางกม.คือตัวบ.ไม่ใช่ผถ ู้ ือหุ้น เพราะ บ.จดทะเบียนแล้วความเป็ นนิ
ติบ.แยกจากผู้ถือหุ้น ทรัพย์สินของบ.ไม่ใช่ของผู้ถือหุ้นตราบ บ.ไม่เลิก ผู้ถือหุ้น
ไม่มีกรรมส.ในทรัพย์สิน เว้นแต่บ.เลิกจึงชำาระบช.ได้ทรัพย์สินขายคืน ตรา
บท่ีบ.ไม่เลิก ผู้ถือหุ้นมีสิทธิประการเดียวคือได้รับเงินปั นผล ผูเ้ สียหายคือบ.
เม่ ือบ.มีสัญชาติแคนาดา ปท.ท่ีจะฟ้ องได้คือแคนาดาไม่ใช่เบลเยียม ก็เลย
ยกฟ้ อง
===================================
====================
มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วควรมีสัญชาติยึดโยงระหว่างคนกับชาติ ท่ีเขาเกิดมา
ส่วนเกณฑ์ในการให้สัญชาติขึ้นกับกม.ภายในของปท.น้นๆ พรบ.สัญชาติของ
ไทยให้สช.โดยการเกิดและหลังเกิด เก่ียวกับการเสีย สช.ก็มีสามวิธี สละ แปลง
เป็ นไปตามเจตจำานงของเอกชน
หรืออาจถูกถอนสช.เพราะรบ.ถอน
กม.สช.ให้สิทธิบ.ท่ีเสียสช.ไปแล้วต่อมาอยากได้สช.ไทยกลับคืนก็สามารถกลับ
คืนมามี สช.ไทยได้ เป็ นกลุ่มการคืน สช.ไทย การได้สช.ไทยโดยการเกิดมีสอง
หลักคือหลักสืบสายโลหิต jus sanguinis กับหลักดินแดน jus solae หลัก
สืบสายโลหิตแบ่งเป็ นสองสายคือสายบิดา paterfamilius สายมาดา
motherfamilius ส่วนหลักดินแดนนัน ้ คือทุกคนท่ีเกิดในดินแดงประเทศใด
ก็ได้สัญชาติปท.นัน ้ แต่อาจตกภายใต้ข้อยกเว้น สมัยก่อนมีข้อยกเว้นตาม ปอ.
๓๓๗ แต่ปว.นีย ้ กเลิกไปแล้วปี ๒๕๓๕ แทนท่ีด้วย ม.๗ ทวิ แทน เพราะงัน ้
ก่อนปี ๓๕ การได้สช.ไทยตามหลักดินแดนจะถูกถอนโดยปว.๓๓๗ พอยกเลิก
ปว.๓๓๗ ก็เลยแปลงให้มาเป็ น ๗ทวิ จึงกลายเป็ นข้อยกเว้น หลักเกณฑสองอัน
นีเ้หมือนกัน คือ บ.ท่ีเกิดในปท.ไทยโดยไม่คำานึงว่าบิดามารดาสช.อะไร ก็จได้
สช.ไทยแต่ถา้ บิดามารดาท่ีทัง้คู่เป็ นคนต่งด้าวแล้วล่ะก็ บิดาก็ดี มารดาก็ดี หรือ
บิดาซ่ึงแม้จะไม่ได้สมรสกับมารดาเป็ นบุคคลสามกลุ่ม คือ ๑.เข้าเมืองไม่ชอบ
๒.เข้าเมืองชัว่คราว ๓.เข้ามาอยู่ในปท.ไทยโดยได้รบ ั ยกเว้นเป็ นกรณ๊พิเศษ หาก
เข้าลักษณะนี แ ้ ม้จะเกิดในปท.ไทยก็จะไม่ได้สัญชาติไทย ข้อความนีเ้หมือนกับ
ใน ๗ ทวิ แต่ ปว.๓๓๗ นัน ้ ออกเพ่ ือถอนคนท่ีได้ สช.ไทย คือ เกิดแล้วได้ไทย
มาก่อน แล้วถูกถอน โดย ปว.๓๓๗
เม่ ือมี ๗ ทวิ จึงกลายเป็ นข้อยกเว้นของม.๗(๒) คือ พ่อแม่เป็ นคนเข้าเมืองโดย
ไม่ชอบชัว่คราวหรืออยู่เป็ นกรณีพิเศษก็จะไม่เคยได้สัญชาติไทยเลย ไม่ใช่ถูก
ถอนเหมือน ปว.๓๓๗
เดิมคนได้สช.ไทยโดยหลักสืบสายฯ ต้องมี อปก.ครบ เรียกว่า condicio
sinquenum คือต้องมีบิดาท่ีชอบด้วยกม.ขณะเกิด(ปั จจุบันพ่อก็ได้แม่ก็ได้)
สมัยก่อนอาศัยหลักบิดา คนท่ีมีพ่อเป็ นไทยแล้วจะได้ สัญชาติไทยต้องมีพ่อท่ี
ชอบด้วยกม. เพราะงันถ้าพ่อไม่ได้แต่งงานกับแม่แล้วแม่ไม่ใช่คนแทน เข้า ๗ทวิ
ลูกก็จะไม่ได้สัญชาติไทยเพราะพ่อไม่ได้แต่งงานกับแม่ แต่ปัจจุบันกม.ออกใหม่ปี
๕๑ แม้พ่อไม่ได้แต่งงานกับแม่แต่เป็ นพ่อท่ีแท้จริงกม.ก็อนุญาตให้พิสูจน์ความ
เป็ นพ่อทางสายโลหิตได้เช่นตรวจ DNA แม้ลูกท่ีมีพ่อเป็ นไทยแม้ไม่ชอบด้วย
กม.(ไม่แต่งงาน)แต่ลูกก็สามารถมีสัญชาติไทยโดยหลักสืบสายโลหิตทางบิดาได้
เม่ ือก่อนนีไ้ม่ได้ ถ้าแม่เป็ นไทยแล้วไปได้ตามหลักแม่ แต่หากแม่ไม่ใช่ไทย หลัก
สืบสายโลหิตตามสายโลหิตก็จะไม่ด้เลยเพราะพ่อไม่ได้แต่งงานกับแม่ แต่อาจได้
โดยหลักดินแดน แต่ถ้าแม่เกิดเป็ นบ.ใน ๗ ทวิ ก็หลุดทัง้พ่อทัง้แม่ เพราะงัน ้ ใน
สมัย ้ ก่อนต้องเป็ นพ่อท่ีชอบด้วยกม.พ่อต้องม่ีสช.ไทยก่อนหรือขณะท่ีลูกเกิดมา
ทีนีค ้ ำาว่เกิดคือตาม ม.๑๕ ปพพ.คือ อยู่รอดเป็ นทารกขณะนัน ้ ต้องมีพ่อโดย
ชอบด้วยกม.และพ่อเป็ นไทย
คำาว่าบิดาท่ีชอบด้วยกม. ก่อนมี กม.สช.แก้ไขฉบับท่ี๔ ปี ๕๑ แนวคิดก็ต่างกัน
ระหว่างศาลกับกระทรวงตปท. และกฤษฎีกากับกระทรวงมหาดไทย
ฝ่ ายศาลกับกระทรงตปท. ยึดตัวบท ท่ีถือว่ต้องมีบิดาโดยชอบด้วยกม.ขณะเกิด
ขณะเกิดพ่อไม่ได้แต่งงานกับแม่ ก็ไม่ได้สช.ไทยต่อมาเกิดแล้วพ่อมาสมรสกับแม่
ลูกก็ไม่ได้สช.ไทยเพราะขณะเกิดไม่มีพ่อเป็ นไทย
แต่ทางฝ่ ายกฤษฎีกากับทางฝ่ ายกระทรวงมหาดไทยถือ่าถ้ามีพ่อแท้จริงก็ใช้ได้
แล้ว เป็ นเหตุให้เปล่ียนแปลงกม.ฉบับท่ี๔ ในพรบ.สัญชาติ เพราะมีปัญหาว่า
เด็กเกิดในไทยแต่ไม่มได้สช.ไทย
หลักสืบสายโลหิตทางมารดา สมัยก่อน ไม่ได้ทางพ่อก็มาดูทางแม่ การท่ีแม่เกิด
ลูกแล้วได้ สช.ไทย เดิมลูกจากแม่ไทย ได้ สช.ไทยเม่ ือไม่มีพ่อ หรือพ่อไม่มีสช .
นัน
่ ปี ๒๔๕๖ ต่อมา ๒๕๐๘ ซับซ้อนขึ้นว่า ลูกจากแม่ไทยได้สช.ไทยเม่ ือเด็ก
เกิดนอกฯ และแม่เป็ นไทยขณะเกิดและไม่มีพ่อหรือพ่อไม่มีสช. จึงจะได้สช.ไทย
ในปี ๒๕๐๘นี้ เพราะแม่ไทยเกิดลูกในไทยไม่ได้สช.ไทย เช่นลูกครูประทีบ อึ้ง
ทรงธรรม หรือจักรพรรณ์ อาบครบุรน ี ักร้องเสียงดี ช่ ือคุณก๊อต เสียงอย่างนีเ้ลย
โห ชอบมาก เส่ียงนุ่มละมุนหู ไม่ได้สช.ไทย แม่ไทยแต่เกิดในราชฯ ไม่ได้
สช.ไทย เอ?แปลกนะ
ปี ๒๕๓๕ เปล่ียนใหม่ เพราะมีปห.มากเลยเปล่ียนใหม่ว่า พ่อก้ได้แม่ก็ได้ขอให้
เป็ นไทย ไม่ว่าเกิดในหรือนอกฯ ก็ได้สช.ไทย
พ่อ แม่ไม่ได้แต่งงาน แต่ถ้ามีแม่ไทย ใช้ได้ เพราะเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกม.ของ
แม่
พ่อไทยไม่แต่งแม่ แม่ต่างด้าว เข้า ๗ ทวิ ลูกไม่ใช่ไทย นำามาสู่แก้ไขฉบับท่ี๔ ปี
๒๕๕๑
แม้กระทัง่ปี ๓๕ หลักเกณฑ์ท่ีว่า ผู้เกิดโดยบิดาหรือมารดาไทย ไม่ว่าเกิดในนอก
ให้มีผลย้อนหลังไปเพราะกม.เป็ นคุณ นับแต่นัน ้ มาคุณก๊อตก็ได้สช.ไทย ลูกครู
ประทีปก้ได้สช.ไทย
หลักท่ีสอง jus sole หลักดินแดน พ่อแม่จะเป็ น สช.อะไรก็ได้ พ่อแม่เป็ น
ต่างด้าวทัง้คู่ได้ ขอให้เกิดในปท.ไทย แต่ไม่ใช่ทุกคน พ่อแม่เป็ นต่างด้าวแล้วลูก
จะได้สช.ไทยต่อเม่ ือไม่เข้า ๗ ทวิ และไม่เข้า ๘
กรณีท่ีหน่ึงคือ ม.๘ กับ ๗ ทวิไม่เหมือนกัน ๗ทวิเป็ นข้อยกเว้นคือควรได้แต่เข้า
ข้อยกเว้นเลยไม่ได้ สวนม. ๘คือไม่ได้เลยเพราะมูลฐานของกม.ไม่เหมือนกัน ม.
๘ คนท่ีเกิดในไทย พ่อแม่ทัง้คู่ต้องไม่ใช่คนไทย จำาไว้ เพราะถ้าพ่อแม่คนใดเป็ น
ไทยก็จะไปเข้า ๗(๑) เพราะงัน ้ ม.๘ น่ี พ่อแม่ทัง้คู่ต้องไม่ใช่ไทยแล้วพ่อหรือแม่
หรือพ่อแม่เป็ นฑูต กงสุล ทำางานในองค์การระหว่างประเทศ หรือเป็ นคนใน
ครอบครัวของฑูต กงสุล คนทำางานในองค์การฯ และคนรับใช้ พวกนีแ ้ ม้จะเกิด
ลูกในไทย ก็ไม่ด้สช.ไทย กมใช้คำาว่าไม่ได้ ไม่ใช่ข้อยกเว้น เพราะ เรียมารู้แล้วง่า
ฑูต กลสุล คนทำางานองค์การรปท. เป็ นบ.พิเศษซ่ึงบริโภคเอกสิทธิแ์ละความคุ้ม
กันจึงไม่ถูกกม.ภายในบังคับ พรบ.สัญชาติกเ็ ป็ นกม.ภายในจึงไม่ปรับกับบ.กลุ่ม
นีจ้ึงไม่ได้สช.ไทยเลย
เพราะการได้สช.ไม่ใช่แต่สิทธิ การมีสช.ไทยมีหน้าท่ีด้วย ลูกฑูตต้องไปเกณฑ์
ทหารตอนอายุ๒๐??
(๑) (๒) (๓) ไม่มีปัญหา แต่ (๔) ท่ีว่า บุคคลในครอบครัวก็ดี คนใช้ก็ดี ต้อง
เป็ นบุคคลในคณะผู้แทนทางการฑูตหมายความว่า เป็ นบ.ท่ีมากับคณะฑูต เป็ น
บ.ซ่ึงประเทศผู้ส่งแจ้งประเทศผู้รับว่าน่ีเป็ นบ.ในคณะฑูตไม่ใช่คนใช้ฑูตทีได้
ในปท.ไทยหรือมาจากตปท.แต่ไม่ได้ส่งโดยประเทศทีส่งฑูต ถ้าเป็ นชนิดนัน ้
แล้วไม่เข้า ๗ทวิ ลูกเขาย่อมได้สช.ไทย
ต่อไป อันท่ี ๒ คือ ๗ ทวิ บิดาและมารดาต้องเป็ นต่างด้าวทัง้คู่ จำาไว้ว่า ๗ทวิ ๘
ทัง้คู่พ่อแม่ต้องเป็ นต่างด้าวเท่านัน
้ ถ้าพ่อไทยแม่ต่างด้าว แม่ไทยพ่อต่างด้าว ไม่
เข้าเลย แม้พ่อเป็ นฑูตแต่แม่เป็ นไทย ลูกย่อมได้ สช.ไทย เพราะได่ตามหลักสืบ
สายโลหหิตทางมารดา แต่ถ้าพ่อกับแม่ไม่ได้แต่งงานกัน เป็ นไง? พ่อฑูต ไม่ต้อง
พูดถึงเลยเพราะไม่ใช่พ่อโดยชอบด้วยกม. แล้วท่ีกม.เปล่ียนแปลงในเร่ ืองพิสูจน์
สายเลือดนัน ้ เฉพาะพ่อไทย
๗ ทวิใช้คำาท่ีชัดเจนว่า พ่อแม่ พ่อหรือแม่ หรือพ่อท่ีไม่ได้แต่งงานกับแม่ คือ ๗
ทวินัน
้ คิดหมดไม่ว่าพ่อแม่จะแต่งงานกันหรือไม่ เพราะงัน ้ ถ้าแม่เป็ นไทยแต่พ่อ
เป็ นยวนอพยพลูกเกิดมาก็ได้เพราะแม่เป็ นไทย แต่ถ้าแม่เป็ นแม่เม้ยมะลิกเป็ น
คนใช้ฑูต แล้ว พ่อเป็ นชนกลุมน้อยชาวกะเหร่ียงท่ีลักลอบเข้ามาในไทย พ่อกับ
แม่เกิดปิ ๊งกันแต่ไม่ได้แต่งงานกันลูกท่ีเกิดมาได้สช.ไทยไหม?
เกิดลูกออกมาช่ ือนายบุเรงนอง ลัน
่ กลองรบ ในสถานฑูตฝรัง่เศสใน
ประเทศไทย เพระอะไรไม่ได้สช.ไทย อันดับแรง วางมาตรา ๗ ก่อนเพ่ ือนเลย
ทำาไม? เพราะเด็กคนนีเ้กิดท่ีไหน? เกิดในสถานฑูตฝรัง่เศสในประเทศไทย
เป็ นการเกิดในแผ่นดินไทย
มีพ่อแม่เป็ นไทย? ไม่มีนิ ก็เลยเอา ๗ (๒) มา เพราะเกิดในแผ่นดินไทย วางไว้
ก่อน แล้วเด็กคนนีค้ วรได้สช.ไทย? ดูข้อยกเว้น ดูโดยลำาดับ เข้า ๗ ทวิไหม
๘ไหม? อ๊ะ
พ่อเป็ นใคร? พ่อเป็ นกะเหร่ียงต่างด้าวลักลอบเข้ามา ดู ๘ด้วยว่าพ่อแม่ สช.ใด
พม่ากับกะเหร่ียง อาจเข้า ๗ ทวิ หรือ ๘ ดูทีละขา ดู ๗ ทวิก่อน ๗ ทวิบอกว่า มี
พ่อมีแม่หรือพ่อท่ีไม่ได้แต่งงานกับแม่เป็ นเข้าเมืองโดยไม่ชอบ เข้าเมืองชัว่คราว
อยู่ในปท.ไทยเป็ นกรณีพิเศษ
แม่? เข้าไหม? ไม่เข้า พ่อเข้าไหม? เข้า ทีนีพ
้ ่อกับแม่ไม่ได้แต่งงานกัน คิดไม่
คิด? บิดาท่ีไม่ได้สมรสกับมารดา เพราะงัน ้ คิดหรือไม่? ตอบ .. คิดสิ คือพ่อท่ีไม่
ได้แต่งงานกับแม่ ถึงพ่อไม่ได้แต่งงานกับแม่แต่เป็ นกะเหร่ียงเข้าเมืองมาไม่ชอบ
ก็เข้า ๗ ทวิ ลูกจึงไม่ได้สช.ไทย
แม่ไม่เข้า ๗ทวิ แม่เข้า ๘ ไหม? ทำาไมไม่เข้า แม่มาจากตปท.ก็จริงแต่มาจากพม่า
ไม่ได้มาจากฝรัง่เศส แม่มามีภูมิลำาเนาในประเทศไทยแล้ว ฑูตจ้างมา เพราะงัน้
แม่เม้ยมะลิกไม่ใช่บุคคลในขณะผู้แทนทางการฑูต ฝั่ งแม่ไม่เข้า ๘ แต่ไงก็ตาม
เด็กก็ไม่ได้สช.ไทย เพราะพ่อเข้า ๗ ทวิ(๑)
ไหนใครยังเบบลอๆ??
เม้ยมะลิกถ้ามาจากฝรัง่เศส หรือปท.ฝรัง่เศสแจ้งไทยว่าเม้ยมะลิกเป็ นคนใช้ฑูต
อย่างนีเ้ข้า ๘(๔)
ม. ๘มีมูลฐานมาจาก หลักเอกสิทธิแ์ละความคุ้มกันทางการฑูต
อีกคำานึงท่ีต้องรู้ คือคำาว่า?? เข้าเมอืงมาชัว่คราวหมายถึง พวกท่ีเป็ น non-
immigrant ไม่ใช่พวก immigrant คืออะไร? เวลาคนต่างด้าวเข้ามาอยู่
ในปท.ไทยพวกนีเ้ป็ น immigrant คือต้องมีภูมิลำาเนาหรือถ่ินท่ีอยุ่ในปท.ไทย
แต่พวกมาท่องเท่ียวมาประชุมสัมนาสามวันเจ้ดวัน เป็ น non-immigrant มา
ท่องเท่ียงมาประชุมสัมนาดูงาน เข้ามาชัว่คราวสรุปว่า ไม่มีภูมิลำาเนาหรือถ่ินท่ีอยู่
ในประเทสไทย พวกฝรัง่ท่ีมานอนสมุยสามเดือนแล้วออกไป แม้มาเกิดลูกในไท
ยก้ไม่ได้สช.ไทยเพราะไม่เป็ น immigrant ไม่ได้มีภูมิลำาเนาหรือถ่ินท่ีอยุใน
ประเทศไทย
พวกมาเรียนต่อโท เอก มีภูมิลำาเนาในปท.ไทย ไม่ resident (ถ่ินท่ีอยู)่ ก้
domicile (ภูมิลำาเนา) พวกนีเ้ป็ น immigrant
ส่วนเข้าเมืองแล้วมีสิทธิอยูเ่ ป็ นพิเศา เข้ามาเป็ นกรณีพิเศา เช่นดาไลลามะ ออง
ซานซูจี เกิดลูกมาก้ไม่ด้สช.ไทยเพราะจะได้สช.ไทยต้องเก่ียวกับกับปท.ไทยพอ
สมควร หรือคนเข้าเมืองมาโดยไม่ชอบก็ไม่ควรมีสช.ไทยเพราะมาก็ผิดกม.แล้ว
พวกเข้าเมืองมาเป็ นกรณีพิเศษก้ไม่ได้มีความประสงค์จะอยู่ถาวรก็ไม่ควร
มีสช.ไทย
พวกแรงงานพม่า ถือว่ามีถ่ินท่ีอยู่ ในปท.ไทย คือเข้ามาทำางานมาอยู่ถาวร มี
work permit เป็ นลูกจ้างมีใบอนุญาตให้ทำางานพวกนีเ้กิดลูกในปท.ไทย ได้
สช.ไทย
ขอ visa ประเภทไหน ถ้าขอชนิด immigrant จะได้สช.ไทย
พ่อถูกต้องแม่ลักลอบ ลูกไม่ได้สช.ไทย ***เร่ ืองได้สช.ตามหลักดินแดนก็
เหมือนเร่ ืองเขตอำานาจรัฐ คือตรงไหนเป็ นดินแดนไทย แผ่นดิน ผืนดิน พ้ืนน้ำา
เกิดในเรือไทยท่ีจอดท่ีอ่าวไทยได้สช.ไทยไหม?
เกิดบนเคร่ ืองบินไทยเหนือทะเลหลวง ได้สช.ไทย?
คนลาวเกิดลูกบนเคร่ ืองบินไทยแต่จอดอยู่ท่ีอ่าวตัวเก๋ย
ี ได้สช.ไทย?
คนลาวเกิดลูกบนเรือล่องธาราจอดทีเกาะสีชังได้ไหม?
เกิดบนเคร่ ืองบินสวิส ท่ีบน
ิ เหนือน่านฟ้ าไทย ?
อาณาเขตไทยมันแค่ไหนล่ะ?
แผ่นดินแผ่นน้ำาน่านฟ้ าเหนือแผ่นดิน อันนีไ้ม่ต้องอาศัยเคร่ ืองบินเลย มันเกิด
ในราชอาณาจักรไทยอยู่แล้ว ใช้คำาว่า ราชอาณาจักรไทย หรือใช้คำาว่า ถือว่าราช
อาณาจักรไทย
ผู้เกิดโดยบิดาหรือมารดาเป็ นผู้มีสช.ไทยไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักร
"ราชอาณาจักร"
มีปัญหาว่าตรงไหนเป็ นเขตแดน บกน้ำาทะลอากาศ ยึดหลักอาณาเขต ทีนีถ ้ ้าเกิด
บนเรือไม่ว่าเรือไทย อากาศยานไทย ถ้าจอดในแผนดินไทยก็ไม่ต้องอาศัยเรือ
หรืออากาศยาน เป็ นเร่ ืองของเกิดในราชอาณาจักรไทย เรือกับอากาศยานไม่ใช่
ราชอาณาจักร แต่ถือว่า เพ่ ือขยานเขตแดนตามหลักอำานาจรัฐ เพราะงัน ้ เกิดบน
เคร่ ืองบินสวิสท่ีบินเหนือน่านฟ้ าไทย ไม่ต้องดูเคร่ ืองบินเลย เพราะอยู่บนราช
อาณาจักรไทยอยู่แล้ว แต่ลาวไม่ได้สช.ไทย ไม่ใชว่าไม่ได้เกิดในฯ แต่ไม่ใช่ บ.ท่ี
อยู่ในปท.ไทย
สถานฑูตก็ไม่ใช่ดินแดน ไม่ได้เป็ นดินแดนของปท.ท่ีส่งฑูตมา แต่เป็ นดินแดนข
องปท.ท่ีสถานฑูตตัง้อยู่ สถานฑูตฝรัง่เศสในปท.ไทยเป็ นดินแดนไทย
กรณีหญิงขอป๊ บ
ุ ต้องได้ปั๊บ กรณีอ่ืนต้องอยู่ในดุลยพินิจ เป็ นอันว่าจบเร่ ือสช.
ทีนี ต
้ ่างด้าว!!
for public interest due procedure prompt adequate
effective
คนต่างด้าวมาอยู่ในราชอาณาจักรไทยต้องมาอยูใ่ ต้อำานาจอธิปไตยไทยเวลา
ทำางานต้องขอใบอนุญาต ถือครองท่ีดินห้องชุด ต้องเป็ นไปตามพ รบ.แต่หลีกได้
หมด จะทำาอาชีพก็ต้องไปดูสามบช. ๑ ไม่อนุญาต ๒ สามหมวด ๓ ไม่พร้อม
แข่งขัน
เร่ ืองสิทธิ ปท.ไทยให้สิทธิทัง้เอกชนและมหาชนแต่ไม่เข้าคนไทย เลือกตัง้ไม่ได้
สามสิบบาทรักษาทุกโรคไม่ได้ สิทธิในการใช้ถนนใช้ได้ แต่ถา้ เข้ามาแล้ว
ประพฤติมิชอบแล้วอาจถูกเนรเทศได้
นิตบ
ิ .ถือสช.อะไร? อธิบายไปแล้ว
คนต่างด้าวทำาอาชีพบางอย่างในปท.ไทยไม่ได้ ห้ามเข้าด้วยเหตุผล ความมัน ่ คง
อนามัย เศรษบกิจ เป็ นโรคซาร์ ไข้เหลือง ท่ีแพร่หลายได้ก็ไม่ให้เข้า
immigrant / non-immigrant ต้องมี immigrant visa เพ่ ือมีภมิ
ลำาเนาหรือถ่ินท่ีอยู่ นอกจาก กม.ตม.ทัว่ไปก็อาจเข้ามาภายใต้การส่งเสริมการ
ลงทุน BOI อันนีอ ้ ยูน่ านอยูท
่ นอยู่เกิน หรือเข้ามาภายใต้ bit สนธิสญทวิภาคี
ใครท่ีเข้ามาแล้วอยู่ไม่ชอบหรือลักลอบเข้ามา รบ.จะส่งกลับโดยกักขังไม่เกิน ๔๘
ต่อ ๗ ขอ ๑๒ ส่งออกนอกปท. ถ้า overstay มีทุกระดับรวมทัง้พวกฑูต พอ
หมดหน้าท่ีแล้วไม่มีเอกสิทธิ หากอยูเ่ กินอาจถูก exile หรือ deport ได้
ต้องไม่ปก.อาชีพเว้นแต่ได้ work permit คนต่างด้าวมีโควต้าปี ละร้อยคน ไร้
สช.รับได้ไม่เกิน๕๐ คน คนท่ีเข้าเมืองมาไม่ได้ เคยรับโทษ คนท่ีทำามาหากินไม่
ได้เราก็ไม่รับเข้ามา การมีถ่ินท่ีอยูถ
่ าวรต้องขอใบปจต.คนต่างด้าวมี resident
หรือ domicile ต้องขอหมด พวกนีเ้ข้ามาแล้วอยู่ไม่ชอบ หรือเข้ามาค้าประเวณี
ค้ายาเสพติด หนีภาษี เป็ น contra bronose arest การทำางานมีสท ิ ธิ
ทำางานได้แต่ต้องขออนุญาตโดยอาชีพส่ีกลุ่มห้ามทำา กม.มัคคุเทศน์ ภูมิปัญญา
ศิลปะ กรรมกร ก็ทำาไม่ได้ ตัดผม ถีบสามล้อ ทำาไร่ ทำานา ทำาสวน คนไทยสงวน
ไว้โดยเฉพาะ
อีกอันต้องทราบสำาคัญ คนต่างด้าวแม่เข้ามาขอทำางานในปท.ไทยได้แต่ต้องมี
work permit แม้เป็ นอาชีไม่ต้องห้ามแต่ทำาเองไม่ได้ เช่นจะเข้ามาขายลูกชิน ้
แต่ถ้ายังไม่มีใบอนุญาตก็ขายไมได้ อีกอันขออันนีก ้ ็ต้องทำาอันนีไ้ม่ใช่ไปทำาอัน
อ่ ืน แล้วก็ การออกใบอนุญาตต้องไม่เป็ นอาชีพต้องห้าม ไม่ใช่งานเร่งดว่นสิบห้า
วัน ต้องมีภูมิฯ ในราชอาณาจักร เพราะว่า ถ้าคนต่างด้าวสามารถมาทำางานชนิด
นีไ้ด้คนไทยก็ไม่มีงานทำา น่ีเข้ามาเท่ียวย่ีสิบวันทำางานสิบวัน เก็บเงินแล้วเท่ียว
ต่อ งีไ้ม่ได้
ไปดู พรบ.สัญชาติ ส่ีฉบับ ๐๘ ๓๕ ๕๑ ส่วน๒๔๕๒ไม่ต้องไปดูแล้ว พรบ.ขัด
กัน พรบ.ประกอบธุรกิจคนต่างด้าว รวมถึง implementing regulation
เช่นกฎกระทรวง ประมวลท่ีดิน พรบ.อาคารชุด วิแพ่ง
คนต่างด้าวจะถือท่ีดินได้ต้องลงทุนไม่นอ
้ ยกว่าส่ีสิบล้านมีได้๑ ไร่สร้างโรงเจ
สุเหร่าโบสถ์คริสต์ได้๕ไร่ อุตสาหกรรมได้๑๐ไร่ หรือได้มาโดยทายาทโดยธรรม
ถ้าเป็ นคนไทย แล้ สูญเสีย สช.ต้องจำาหน่ายทีด่นใน ๑ ปี
ธุรกิจต้องห้าม นสพ.ส่ ือมวลชน มัคคุเทศก์ นักกม. สำาหรับคนตางด้าวไม่ได้
mutual recognition ตอนนี้ asean เปิ ดแล้วยอมรับปริญญาบัตรซ่ึงกัน
และกัน จบหมอทีไหนก็ทำางานได้ทัว่โลก เป็ นต้น
diplomatic protection การท่ีคนต่างด้าวได้รบ
ั การคุ้มครองจากรัฐท่ีตน
สังกัดอยู่เม่ ือมาเป็ นคนต่างด้าว
กม.ขัดกัน ก็อธิบายไปพอสมควรแล้ว ให้ดู พรบ.ขัดกันปี ๔๑ เช่น เร่ ืองพรบ.
ขัดกัน มีตัง้แต่ ขัดกันในเร่ ืองหนี ด้ ูว่าเป็ นหนีจ้ากมูลอะไร ถ้าขัดกันด้วยหนีท
้ ่ีมา
จากมูลนิตก ิ รรมดูเร่ ืองแบบ เด็ดขาดไหม ถ้าเด็ดขาดก็ต้องใช้ถ้าปท.ไทยเก่ียวข้อง
ถ้าแบบไม่เด็ดขาด คู่สญเลือกได้ เกียวกับสาระหรือผลให้ดูการแสดงเจตนาถ้าไม่
ทราบเจตนาดูกม.สช.ถ้าต่างสช.ให้ดูกม.แห่งถ่ินท่ท ี ำาสญ. ปกติให้ใช้แบบของ
ถ่ินท่ีทำาสญ. ทีนีถ้ า้ เป็ นแบบเด็ดขาดทีเก่ียวกับไทยก็ให้ใช้กม.ไทยเช้น ๔๕๖
วรรคหน่ึง กม.แห่งถ่ินใช้ จัดการงาน/ลาภมิควรได้ จะฟ้ องศาลไทยเม่ ือ กม./ทย
ถือเป็ นละเมิด แล้วละเมิดเกิดในปท.ไทย
เวลาสัง่ค่าสินไหมทดแทนก็สัง่ได้ไม่เกินเกณฑ์กม.ไทย ถ้าละเมิดในทะเลหลวง
ทะเลอาณาเขตใช้กม.ของปท.เจ้าของอาณาเขตตามหลักดินแดน ถ้าใน
ทะเลหลวงต้องดูว่าบนเรือต้องใช้กม.ชองปท.เรือัชก ั ธง ถ้านอกเรือดูกม.ทะเลพา
ริชย์นาวี ถ้าเกียวกับอสังฯใช้กม.ท่ีอสังฯตัง้อยู่ ต้องรู้เป็ นเร่ ืองทรัพยสิทธิ ไม่ใช่
เก่ียวกับหนี้ ถ้าเป็ นเร่ ืองหนีจไม่ใช้กม.ปท.ท่ีทรัพย์ตัง้ ต้องดูว่าเป็ นทรัพย์สิน
ไหม กรรมส.โอนยัง? สิน ้ สุดแห่งทรัพย์สิน ขอบเขตการใช้ทรัพย์สิน สิทธิครอบ
ครอง ส่วนควบ แบบสัญญานิติกรรม คสม.บ.ในการทำานิติกรรมเก่ียวกับอสังฯ
ใช้กม.ปท.ท่ีทรัพย์ต้ง ผลคำาสัง่สาบสูญ ทรัพย์ระหว่างสามีภรรยาท่ีเปนอสังฯ
อะไรก็แล้วแต่ท่ีเป็ นอสังฯ ใช้กม.ท่ีสังฯตัง้อยู่แตต้องเป็ นทรัพยสิทธิไม่ใช่บุคคล
สิทธิ
ถ้าเป็ นสังฯให้ใช้กม.ถ่ินสำงฯตัง้เว้นแต่เป็ นทรัพย์ท่ีส่งออกให้ใช้กม.ของปท.
เจ้าของทรัพย์ แต่ถา้ ทรัพย์เคล่ ือนขณะฟ้ องให้ใช้กม.ท่ีทรัพย์ตัง้ขณะฟ้ อง
เร่ ืองครอบครัว คสม.ในการหมัน้ ถอนหมัน
้ ใช้กม.สช. ผลการหมัน
้ กม.ของ
ประเทศท่ีศาลพจารณาคดี เง่ ือนไขการสมรสใช้กม.สช
แบบของการสมรส?
ตอนจะสมรสใช้กม.สช.ตอนเพิกถอนต้องดูว่าเพิกถอนเร่ ืองอะไร อายุสำาคัญผิด
กลฉ้อฉลข่มขู่ใช้กม.ถ่ินท่ีสมรส
ความร่วมมือในการปราบปรามอาชญากรรมรปท.
๑.extradition
๒.ให้ความร่วมมือทางอาญา ขอให้ดำาเนินกระบวนการยุติธรรม mutual
cooperation เช่นการ สืบเก่ียวกับสถานท่ีเกิดเหตุ พยานบุคคล พยาน
แวดล้อม
๓.การแลกเปล่ียนโดยการโอนตัวนักโทษ บ.ผู้ถก ู แลกเปล่ียน ให้เป็ นนักโทษ
เรียบร้อยแล้ว กรณีข้อ๑ เป็ นแต่เพียงถูกกล่าวหา
๔.การร่วมมือปราบปรามอาชญากรรม รปท.โดยองค์การตำารวจสากล
๕.ศาลอาญาระหว่างประเทศ
หลักเกณฑ์เพ่ ือดำาเนินการความร่วมมือในการปราบอาชญากรรมรปท.นัน ้
เป็ นการหลีกเล่ียงไม่ให้เกิดช่องว่างเร่ ืองอำานาจพิจารณาคดีของศาลให้ ผู้กระทำา
ผิดรอดพ้นอาญา เพระแต่ละปท.มีเขตอำานาจศาล กระบวนพิจารณา แตกต่งกัน
ในแต่ละประเทศ หากผู้กท.ผิดรอดพ้นจากการถูกดำาเนินคดีในปท.หน่ึง อาจ
เดินทางหลบหนีออกนอกปท.แล้วไม่ต้องโดยดำาเนินคดี เป็ นเหตุผลไม่ให้ผู้
กระทำาความผิดรอดพ้นจากการดำาเนินคดี
ประการสองคือป้ องกัน doube jeopardy เพราะบ.กระทำาความผิดควรถูก
ลงโทษเพียงครัง้เดียว การร่วมมือกันทำาให้แน่ใจว่าคนท่ีกระทำาความผิด ไม่โดน
ลงโทษซ้ำา
ความเป็ นมาเร่ ืองการส่งผู้ร้ายข้ามแดน มีความเป็ นมาว่า การท่ีสมัยโบราณนัน
การท่ีบค
ุ คลคนหน่ึงทำาความผิดในรัฐหน่ึงจะหลบหนีไปอีกรัฐหน่ึงยาก ต่อมา
การคมนาคมสบาย จึงมีผู้ร้ายหลบหนีจากปท.ไปอีกปท.ง่ายขึ้น จึงจำาเป็ นต้องมี
เร่ ืองส่งผู้ร้ายข้ามแดน
การส่งผู้รา้ ยข้ามแดน ส่งนักโทษข้ามแดน คือรัฐหน่ึงส่ง บ.ผู้ต้องหาว่ากระทำา
ความผิดให้รัฐทีจะพิจารณาพิพากษาลงโทษ คือรัฐหน่ึงเรียกรัฐผู้ร้องขอ อีกรัฐ
เรียกผู้รับคำาขอส่งตัวผู้ร้ายไปยังรัฐท่ีรอ
้ งขอ
การส่งตัวผู้ต้องหาไปยังรัฐนัน
้ ต้องปรากฎแน่ชัดว่า บ.นัน ้ ได้ปรากฎตัวในดิน
แดนรัฐผู้รบ
ั คำาขอด้วย เพียงแต่คาดว่าเช่ ือว่าจะปรากฎตัว ก็ไม่อาจร้องขอให้
ส่งตัวได้
หลักการพิจารณาเก่ียวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดน พิจารณา ประเภทของบ.ท่ีจะส่ง
ผู้ร้ายข้ามแดน และประเภทของความผิด
ประเภทบุคคลมี๓ กลุ่ม ด้วยกัน ๑.เป็ นของคนสัญชาติปท.ท่รี ้องขอ หลบหนีไป
ยังปท.รับคำาขอ ๒.ส่งตัวบุคคลของรัฐผูร้ ับคำาขอ เช่น นายแดงคนไทยฆ่านายปี
เตอร์คนอังกฤษท่ีปท.อังกฤษแล้วนายแดงหนีกลับมาปท.ไทย รบ.อังกฤษร้อง
ขอให้ปท.ไทยส่งตัวแดงไปให้รบ.อังกฤษดำาเนินคดี เรียกเป็ นการส่งตัวคนของ
รัฐผูร้ ับคำาขอ โดยทัว่ไปรัฐท่ีรับคำาขอมักไม่ส่งเพราะมีเหตุผลหลายประการ ปท.
ของตนไม่ควรส่งคนสัญชาติตนเนรเทศออกนอกปท.เพือรับผิดในปท.อ่ ืนเป็ น
หลักทัว่ไป เว้นแต่มีการทำาสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนไว้ยกเว้นก็อาจกระทำาได้
ตามเง่ ือนไขในสนธิสัญญา ๓.การส่งคนรัฐท่ีสามไปยังรัฐผู้ร้องขอ ก็ทำาได้
การส่งผู้รา้ ยข้ามแดนเป็ นอำานาจอธิปไตยเด็ดขาดของรัฐผู้รบ
ั คำาขอ
ปท.อังกฤษจะส่งผู้ร้ายข้ามแดนมายังไทยตามท่ีร้องขอไหม? เป็ นอำานาจ
อธิปไตยเด็ดขาดของปท.อังกฤษจะส่งหรือไม่ส่งก็ได้ มีเหตุผลบนพ้ืนฐานของ
ความผิดท่ใี ช้ในการดำาเนินคดี ซ่ึงก็เป็ นประเด็นสำาคัญ คือเร่ ืองของประเภทของ
ความผิดท่ีจะมีการร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนกันได้
เร่ ืองของประเภทความผิดต้องเป็ นกรณีความผิดทางอาญา ต้องไม่เป็ นความผิด
ทางการเมือง เหตุผลท่ีไม่มีการส่งผู้ร้ายฯ กรณีความผิดทางการเมือง เน่ ืองจาก
ว่าความเห็นของมนุษย์ในระบอบทางการเมืองท่ีแตกต่างกันย่อมแตกต่างกันได้
คือปรัชญาเบ้ืองหลังของการไม่ส่งผู้ร้ายข้ามแดนทางการเมือง
การกระทำาอย่างไรถึงจะพิจารณาว่าเป็ นความผิดทางการเมือง ปท.ผูร้ ับคำาขออาจ
ไม่ส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้ไทยโดยเหตุผลว่าเป็ นคดีทางการเมือง การพิจารณาเป็ น
ดุลยพินิจของศาลของปท.ท่รี ับคำาขอ ในกรณีคุณทักษิณไม่อาจคาดคะเนได้ล่วง
หน้าว่าศาลของปท.อังกฤษจะพิจารณาว่าเป็ นคดีทางการเมืองหรือไม่
การส่งผู้รา้ ยข้ามแดนอยู่บนหลัก
๑.บุคคลท่ีถูกขอให้ส่งตัวต้องกท.ผิดทางอาญา ในเขตปท.ผูร้ ้องขอ หรือมีมล ู นำา
ตัวผู้ต้องหาขึ้นฟ้ องร้องต่อศาลได้ คือกท.ผิดจริงและเป็ นผิดอาญาไม่ใช่ทางแพ่ง
๒.คดีนัน
้ ต้องไม่ใช่เป็ นคดีขาดอายุความหรือคดีท่ีศาลปท.ใดได้พิจารณาหรือได้
พิพากษาปล่อยตัวในความผิดท่ีพิจารณาแล้ว เน่ ืงอจากไปขัดหลัก double
jeopardy
๓.บุคคลท่ีจะถูกขอให้ส่งตัว อาจเป็ นพลเมืองของปท.ผู้ร้องขอ ผูร้ ับคำาขอ ปท.ที
สามก็ได้ แตเป็ นอำานาจอธิปไตยเด็ดขาดของปท.ผู้รับคำาขอ
๔.principle of double criminality ต้องเป็ นคผ.อาญาของทัง้สอง
ประเทศ เพราะควาผิดหากว่าบุคคลไม่ได้กระทำาการในความผิ ดในปท.ท่รี ับคำา
ขอก็ไม่สามารถส่งตัวผู้นัน้ ไปดำาเนินคดีได้ เช่น คผ.ท่ีปีเตอร์ทำา ไม่เป็ นความผิด
ตามกม.ไทย ดังนีก ้ ็แม้ไทยก็ดำาเนินคดีกับปี เตอร์ไม่ได้ จะจับส่งไปยังไง ในทาง
ตรงข้ามก็เช่นกัน จึงต้องผิดทัง้ในสองประเทศ
๕.ต้องเป็ นความผิดซ่ึงกม.กำาหนดโทษจำาคุกไม่ต่ำากว่าหน่ึงปี หากต่ำากว่านัน
้ ช่วง
ระยะเวลาดำาเนินการส่งตัวผู้รายฯ อาจพ้นเวลาการลงโทษไม่คุ้มกับการดำาเนิน
การระหว่างประเทศ
๖.บุคคลผู้ถก
ู ขอต้องได้ปรากฎตัวในปท.ท่รี ้องขอให้ส่งตัวแล้วจึงส่งตัวแล้ว
ปท.เจ้าของท้องท่ีเกิดเหตุเป็ นผูดำาเนินการร้องขอให้ส่งตัว ปฏิบัติตามสนธิ
สัญญาหรือ พรบ.ส่งผู้ร้ายข้ามแดนในปท.นัน ้ ๆ
ผู้ถูกส่งตัวต้องถูกฟ้ องเฉพาะความผิดท่ีระบุมาในคำาขอให้ส่งตัว ในกรณีปท.ผูร้ ้
งอขอ ขอตัวให้ส้งผู้ร้ายไป แต่จะไปลงโทษความผิดอ่ ืนนัน้ ไม่ได้ ปฏิ เสธไม่ส่งได้
ดูเจตนารณ์เบ้ืองหลังแล้วไม่ส่ง
ความผิดท่ีส่งตัวต้องไม่ใช่ความผิดทางการเมือง อยูท
่ ่ีดุลยพินิจของศาลในปท.ท่ี
รับคำาขอว่าอย่างใดเป็ นความผิดทางการเมือง
การโอนตัวนักโทษต่างจากการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน เพราะเป็ นการโอนตัวท่ีถูก
พิพากษาแล้ว การลงโทษเป็ นการใช้อำานาจอธิปไตยของปท.นัน ้ การรับตัวไป
อาจเป็ นการแลกเปลียนหรือโอนตัวนักโทษ ปท.ท่รี ับตัวนักโทษไปจะไปแก้ไข
โทษลดโทษไม่ได้เลย จะเป็ นการละเมิดอธิปไตยของปท.ท่ีได้รับคำาขอ
ดังนัน
้ การโอนตัวนักโทษต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ในสนธิสัญญา และบังคับ
ให้เป็ นไปตามคำาพิพากษาของปท.ท่รี ับคำาขอด้วย
ในส่วนองค์การตำารวจสากลเป็ นเร่ ืองท่ที ำาให้ความร่วมมือปราบอาชญากรรมฯ
ดำาเนินไปได้ด้วยดี เพราะหน่วยนีร้ว่ มมือกันทัว่โลก จะทำางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นักโทษหนีไม่ได้ ทัวโลก ความร่วมมือลักษณะนีส ้ ่ิงสำาคัญท่ีสุดคือ
ประเภทความผิด ส่วนใหญ่คล้ายกับความผิดในหลักการร่วมมือในเร่ ืองของหลัก
สากล คือส่วนใหญ่เป็ นประเภทความผิดซ่ึงกระทบต่อความมัน ่ คงหรือกระทบ
ประเทศต่าง ๆ ทัว่โลก เช่น ค้าทาส ค้ามนุย์ และเป็ นความผิดทางอาญา ไม่ใช่
ทางแพ่ง
คำาว่า การค้าทาส ค้าหญิงนัน
้ รวมใน การค้ามนุษย์ หรือ human sales ดัง
นัน
้ ความผิดฐานค้าประเวณีจึงไม่ใช่ความผิดภายในความร่วมมือขององค์การ
ตำารวจสากลเพราะเป็ นเพียงความผิดอาญาธรรมดาซ่ึงแต่ละประเทศลงโทได้อยู่
แล้ว ส่วน human sales นัน ้ ไม่จำากัดแต่หญิง แต่เป็ นการค้า หลังจากขาย
แล้วจะนำาไปค้าประเวณีก็เป็ นอีกเร่ ืองหน่ึง ไม่เก่ียวกัน
ประเภทความผิดลักทรัพย์หรือยานพาหนะสัญจร เพราะยานพาหนะสัญจรมัน
เคล่ ือนย้ายง่าย เป็ นเร่ ืองของความร่วมมือในการปราบฯโดยองค์การตำารวจสากล
ศาลอาญาระห่างประเทศมีสาระสำาคัญตัง้แต่ ท่ีมา เหตุท่ีมีการตัง้ศาลอาญาระ
ห่างประเทศเกิดจากความทารุณต่อมวลมนุษย์ มีความล้มเหลวของการนำาตัวผู้
นำาท่ีสังการรบให้กระทำาทารุณ มาลงโทษ ก็เลยเกิดความคิดท่ีจะทำาให้มก ี ารแต่ง
ตัง้ศาลอาญาระหว่างประเทศอันเป็ นศาลท่ีมีลก ั ษณะอิสระ เร่ิมมาจากการท่คี ณะ
กรรมการกฎหมายระห่างประเทศได้เร่ิมท่ีจะร่างเอาตัว ธรรมนูญเพ่ ือตัง้ศาล
อาญาระห่วางประเทศขึ้นมา เพราะมีการล้มเหลวในการจับตัวผู้กระทำาความผิด
ถ้าปท.ใดหน่ึง บุกไปจับตัวผู้ร้ายจะเป็ นการละเมิดอธิปไตยของปท.อ่ ืน
ศาลทหารถูกตัง้มาแล้วสองสาร คือศาลทหารระหว่างปท.ท่ีนูเรมเบิร์ก และท่ี
โตเกียว เป็ นศาลเฉพาะกิจ
คกก.กม.รปท.ได้ยกร่างธรรมนูญศาล และมีปท.ต่างๆรับรองธรรมนูญกรุงโรม
ขึ้น ๑๖๐ ประเทศ ๑๒๔ ngo ท้ายท่ีสุดมีการรับรอง ๑๒๐ รัฐ รับรอง โดยมี
๗ประเทศไม่รับรอง ๒๑ ประเทศงดออกเสียง
ส่วนของศาลอาญาระห่างประเทศ เน้นเร่ ืองความผิดในเขตอำานาจศาบอาญา
ระหว่างประเทศ ซ่ึงมีหลายลักษณะคือ เหนือบุคคล เฉพาะบุคคลธรมดาอายุ๑๘
up เท่านัน
้ ไม่อาจลงโทษนิติบค
ุ คล
ทางด้านเวลา ดำาเนินคดีได้เฉพาะคดีเกิดหลังศาลอาญารปท.เร่ิมบังคับใช้แล้ว
เหนือคดีความผิด ต้องเป็ นความผิดร้ายแรงส่ีประเภทคือ ฆ่าล้างเผ่าพันธุ ความ
ผิดต่อมนุษยชาติ(ทารุณร้ายแรง ข่มขืนหมู่ บังคับตัง้ครรภ์) ความผิด
อาชญากรสงคราม(ผิด jus in bello ผิดต่อกม.การใช้กำาลังระห่วางประเทศผิด
กม.สงคราม เช่นทำาลายพลเรือน โรงพยาบาล) ความผิดอาชญากรรมรุกราน (มี
การนิยามว่าอย่างไรเรียกว่าเป็ นความผิด)
เขตอำานาจเหนือดินแดน ปท.ท่ีอยู่ในเขตอำานาจศาลอาญารปท.มีสามช่องทาง
คือ
๑.ปท.ภาคีสมาชิกของศาลอาญารปท. กรณีนี ต ้ ามธรรมนูญกรุงโรมบังคับไว้
เลยว่า ปท.สมาชิกทุกปท.ต้องยอมรับอำานาจเขตศาลอาญารปท.จึงจะตกอยูใ่ ต้
เขตอำานาจศาลอาญาระห่างประเทศ ดังนัน้ หากปท.ท่ีไม่ยอมรับเขตอำานาจศาล
อาญาระห่วางประเทศ ศาลฯก็ไม่มีอำานาจเหนือ
๒.ปท.ท่ีไม่ใช่สมาชิกแต่แสดงเจตจำานงยอมรับเขตอำานาจ
๓.ผ่านช่องทางกลไกธำารงรักษาสันติภาพของโลกโดยคณะมนตรีความมัน ่ คง
UN นัน้ คือ ปท.สมาชิก UN ทุกปท.ต้องอยู่ใต้ หาก คณะมนตรีฯ ได้เสนอ
๔.supplementary court เป็ นศาลท่ีเสริมอำานาจศาลอาญาภายใน คดี
อาญาของศาลอาญารปท.ต้อง ตกอยู่ในศาลภายในเสียก่อน หากไม่อาจดำาเนิน
คดี หรือไม่จริงจังดำาเนินคดีก็ต้อง มาหาศาลอาญาระห่างประเทศ
การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล และ การยอมรับและบังคับตามคำาพิพาษาของศาลต่างประเทศ

การขัดกันฯ ไม่ได้หมายความว่า กม.ภายในทีเ่ กี่ยวกับเขตอำานาจศาล แต่ละประเทศต่างกัน แต่หมายถึง กม.


ภายในแต่ละประเทศจะบัญญัติเกณฑ์เกี่ยวกับเขตอำานาจศาลในคดีที่มีองค์ประกอบต่างชาติเอาไว้เพื่อหลีกเลี่ยง
การซำ้าซ้อนเขตอำานาจศาล และประสงค์กำาหนดเขตอำานาจศาลที่เกียวกับองค์ประอบต่างชาติ

กม.ขัดกันเขตอำานาจฯ คดีองค์ประกอบต่างชาติจะฟ้องร้องที่ศาลปท.ใด?

การยอมรับ และบังคับตาม คำาพิพากษาของศาล ปกติอธิปไตยแต่ละปท.มีเหนือเขตแดนตน โดยหลักไม่ก้าวล่วง


ยอมรับ หรือบังคับตามคำาพิพาษาศาลตปท. แต่ความจริงเลี่ยงไม่ได้เลยที่บุคคลของคนปท.ต่าง ๆ ข้ามไปมา
แต่ละประเทศ การมีคดีความในศาลหนึ่ง โดยอาศัยคำาพิพาษาของศาลอีกปท.หนึ่งจึงเลี่ยงไม่ได้ ปท.ต่าง ๆ ได้
ตกลงร่วมมือกันในการยอมรับคำาพิพาษาของศาลต่างประเทศ ซึ่งกันและกัน เพื่ออำานวยความสะดวก คนของตน
อาจต้องบังคับใช้คำาพิพาษาในปท.อื่น

การขัดกันเขตอำานาจ

แนวคิดหลักเกณฑ์ ปัญหา คำาพิพาษาเกี่ยวกับเขตอำานาจศาลไทยที่มีองค์ปก.ต่างชาติ ไทยจะยึดหลักใด?

ปท.ใดปท.หนึ่งอาจมีการร่วมมือกันทางด้านศาล และเราจำาเป็นต้องหาศาลที่สามารถดำาเนินคดีในคดีนั้นแต่เพียง
ศาลเดียว หาดำาเนินคดีหลายศาล คำาพิพาษาคดีเดียวกันอาจไม่เหมือนกัน เกิดความลักลั่นได้

การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาลมีวัตถุประสงค์กำาหนดเขตอำานาจศาลในคดีแพ่งพาณิ ชย์ ที่พิพาทระหว่างปัจเจก


ไม่ใช่เป็นเรื่องของรัฐ หรือในคดีอาญา ซึง่ ต้องเน้นขีดเส้นใต้ไว้ห้าร้อยเส้น ว่า นศ.มักสับสนระหว่างเขตอำานาจรัฐ
ตามหน่วยที่๓ ซึ่งเป็นเรื่องของภาคมหาชน (คดีเมือง) มาสับสนกับเขตอำานาจศาลในคดีบุคคลหน่วยที่๑๔
การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาลในหน่วย๑๔ นี้เป็นเรื่องคดีแพ่งระหว่าง ปัจเจกชนไม่ใช่ระหว่างรัฐ ส่วนเขตอำานาจ
รัฐในหน่วยที่๓ เป็นเรื่องคสพ.ระดับรัฐ

การขัดกันเขตอำานาจศาลจะไม่ก้าวก่ายคดีอาญาเลย มีแต่แพ่งพาณิชย์เท่านัน

คสพ.ในเรื่องการร่วมมือในการยอมรับคำาพิพากษาศาล หรือการกำาหนดเขตอำานาจศาล ในทางรปท.ได้มีการ


ตกลงหลายอนุสัญญา

ข้อตกลงระหว่างประเทศได้แก่อนุสัญญาว่าด้วยการปรับใช้กมและการยอมรับคำาพิพากษาของศาลมีหลาย
อนุสัญญา

ดังนั้น ต้องสรุปอีกครั้งว่าเรื่องขอการขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล กับการขัดกันแห่งกม.แตกต่างกัน

การขัดกันแห่ง กม. (หน่วยที๑่ ๓) นั้น เป็นการหา กม.มาบังคับคดี ส่วนการขัดกันเขตอำานาจศาลเป็นเรื่องหา


ศาลที่มีอำานาจพิจารณาคดี

เช่น ดำารงขับรถชนนายคำาอ้วนที่ลาว นี่มีทั้งเรื่องเขตอำานาจและเรื่องของกม.ขัดกัน คือเรื่องเขตอำานาจ ต้องดูว่าจะ


ฟ้องดำารงที่ศาลไทยหรือศาลลาว หากว่านายดำารงถูกฟ้องที่ศาลไทย ศ.ไทยก็จะพิจารณาตามปวพ. ว่าศาลไทยมี
เขตฯเหนือไหม?

เกณฑ์ในการกำาหนดเขตอำานาจศาลมีไงบ้าง ตามกม.ไทย(ปวพ.) เนื่องจากดำารงสัญชาติไทย ศาลก็มเี ขตอำานาจ


รับฟ้องคดีนี้ แล้วจะเอากม.อะไรมาบังคับ เพราะคดีรถชนกันเป็นละเมิด (ต้องแยกแพ่งกับอาญา)

การเรียกร้องให้รับผิดความเสียหาย เรื่องกม.ขัดกันบอกว่า หนี้ อันนี้ ในทางแพ่ง จากการทำาละเมิด มูลละเมิดเกิด


ที่ลาว กม.ทีจ่ ะบังคับใช้ก็เป็นกม.ของปท.ที่ความผิดเกิด
อันนึงเป็นเรื่องการกำาหนดเขตอำานาจศาลที่บังคับเหนือคดี อีกกรณีคือการนำากม.ที่บังคับแก่คดีมาปรับใช้ ต้องดู
ให้ดีอย่าสับสนเพราะสับสนระหว่างเขตอำานาจขัดกัน และหลักกฎหมายขัดกัน

หลักการสำาคัญในการบัญญัติกฎเกณฑ์ว่าด้วยการขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล

๑.การกำาหนดเขตอำานาจศาล ต้องสอดคล้องกับหลักเขตอำานาจรัฐในกม.รปท.แผนกคดีเมือง และเขตอำานาจใน


คดีแพ่งพาณิชย์ ที่พัวพันกับองค์ประกอบต่างชาติที่มจี ุดเกาะเกี่ยวใกล้ชิดกับรัฐนั้น ๆ

ทำาไมเขตอำานาจศาลในคดีแพ่งต้องสัมพันธ์กับเขตอำานาจรัฐทางคดี เมือง ในทางคดีเมืองรัฐมีอำานาจเหนือเขตแดน


เหนืออธิปไตยของรัฐตามหลักดินแดน ดังนั้นเขตอำานาจรัฐต้องสอดคล้องกับเขตแดน เช่น ถ้าหากว่าในคดีแพ่ง
เขตอำานาจรัฐกำาหนดตามหลักสัญชาติ (ในหน่วย๓ เขตอำานาจรัฐมีตามหลักดินแดน teriterial
principle การทำาผิดในดินแดน ปท.นั้นก็มีอำานาจ หลักที่สองเรื่องของหลักสัญชาติ เอาสัญชาติมาเกาะ
เกี่ยวให้สัมพันธ์กับรัฐนั้น บ.ที่มสี ัญชาติปท.ใด ปท.นั้นก็มีอำานาจรัฐเหนือบ.นั้นตามหลักสัญชาติ ไม่ว่าเป็นผู้
กท.ความผิดหรือถูกกท.ความผิด)

ปอ.ม.๔ วรรคหนึ่ง การกระทำาความผิดใดในราชอาณาจักร อยู่ในอำานาจของปท. นั้น มาจากหลักกม.รปท.ใน


เรื่องอำานาจรัฐตามหลักดินแดน นั่นเอง

ปอ.ม.๔วรรคสองการกระทำาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทยไม่ว่าจอด ณ ที่ใด ให้ถือว่า กท.ผิดในราช


อาณาจักรไทย เป็นการนำาเอาสัญชาติของเรือ ของอากาศยานมาเป็นจุดเกาะเกี่ยว เพื่อขยายอำานาจรัฐ โดยเอา
สัญชาตเรือกับอากาศยานมาเกี่ยวข้อง

เราจะเห็นว่าหลักดินแดนเป็นหลักหนึ่งในการกำาหนดเขตอำานาจศาล หรือหลักสัญชาติก็เอามูลฐานของอำานาจรัฐ
มากำาหนดเขตอำานาจศาลเช่นกัน

เขตอำานาจศาลเป็นเรื่องการใช้อำานาจฝ่ายตุลาการ ซึ่งเป็นการใช้อำานาจอธิปไตยลักษณะหนึ่งในทางศาลทาง
ระหว่างประเทศ
การใช้อำานาจรัฐ หรือ state jurisdiction คือการใช้อำานาจรัฐภายในและภายนอกใน คสพ.รปท.
เช่นกรณีหลักเขตแดน เขตอำานาจฯภายในหลักเขตแดนมีข้อยกเว้น ไม่ใช้กับบุคคลบางประเภท เช่นฑูต หรือกล
สุง หรือบุคคลที่ทำางานในองค์การระหว่างประเทศ แต่ยังคงต้องปฏิบัติตามและเคารพกม.ภายในเพียงแต่ได้รับ
เอกสิทธิและความคุ้มกัน เพราะเขาบริโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน

ข้อยกเว้น อีกกรณี คือรัฐได้ใช้เขตอำานาจรัฐแม้อยู่นอกอธิปไตยหรือเขตแดน โดยผลของการกระทำา(effect


doctrine) กระทำาผิดบางประการเกิดนอกราชฯ แต่ผลเกิดในราชฯ บัญญัติในปอ. เป็นการใช้เขตอำานาจ
รัฐแม้นการกระทำาอยู่นอกดินแดนแต่ผลของการกระทำาเกิดในดินแดน เช่น การกระทำาความผิดบางส่วน นอ
กราชฯ แต่มีผลในราช ฯ ปรากฎในม.๕ ปอ.

หรือกม.นโยบายของรัฐ competition law and policy ในประชาคมยุโรป เป็นเรื่องการใช้


อำานาจรัฐนอกราชฯ

หลักสำาคัญ ในกฎเกณฑ์การขัดกันของเขตอำานาจศาล โดยปกติรัฐใช้อำานาจผู้เดียว exclusively fully


without any condition คือรัฐสามารถใช้อำานาจเหนือบุคคล คนชาติ และคนต่างด้าวในดินแดน
ตน ส่วนการใช้อำานาจภายนอกคือรัฐมีอำานาจอิสระดำาเนินความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ในฐานะมีอธิปไตยเด็ดขาด

ทฤษฎีการใช้อำานาจรัฐเหนือดินแดน /เหนือบุคคล territorial/personal jurisdiction


หรืออาจใช้อำานาจรัฐ ตามหลักป้องกัน protective jurisdiction ความผิดบางประเภทที่มีผลต่อ
ความมั่นคงของรัฐ ไม่ว่าไปกระทำาที่ไหน ในโลกนี้ รัฐก็มีอำานาจอธิปไตยไปจัดการ และใช้อำานาจรัฐตามหลัก
สากล universal jurisdiction เช่นความผิดฐานโจรสลัด จี้เครื่องบิน ฉ้อโกงระหว่างประเทศ
ส่วนหลักการใช้เขตอำานาจ ศาลก็มีเขตอำานาจพิจารณาคดีที่มีมูลคดีเกิดในเขตตน ศาลยังมีเขตอำานาจเหนือดินแดน
ต่อเป็นคนชาติ คนต่างด้าวที่มีภูมิลำาเนาในรัฐนั้น

จะเห็นได้ว่า ปวพ.กำาหนดไว้ในม.๔ ว่า บ.ที่สามารถอยู่ใต้เขตอำานาจศาล


คือมีสช.ไทยหรือมีภูมิลำาเนาในปท.ไทย คือยึดหลักดินแดนที่เข้ามายึดโยง
ดังนั้นศาลมีเขตอำานาจเหนือคนชาติตน แม้มูลคดีเกิดนอกดินแดนตน เช่น ตามม.๔ตรี แห่ง ปวพ. คำาฟ้องอื่น
นอกจาก๔ทวิ ซึ่งจำาเลยมิได้มีภูมิฯในราชอาณาจักร และมูลฯมิได้เกิดในราชฯ ถ้าโจทก์มีสช.ไทยหรือมีภูมิฯใน
ราชฯ ให้เสนอต่อศาลแพ่งหรือศาลที่โจทก์มีภูมิลำาเนาในเขตศาลนั้น

มีคดีเรือประมงไทยถูกเรือสินค้าชนในเขตน่านำ้าสิงคโปร์ก็มาฟ้องที่ศาลไทยได้ เพราะเรือไทยมีสัญชาติไทย ตาม


ปวพ.มาตรา ๔ ตรี กรณีโจทก์มีสัญชาติไทย แม้เหตุเกิดนอกราชฯ ก็ฟ้องในศาลไทยได้

หลักการใช้เขตอำานาจรัฐ : การใช้เขตอำานาจรัฐเหนือดินแดน ให้หมายรวมถึงเหนือเรือหรืออากาศยานชักธง หรือ


จดทะเบียนในปท.น้น ตามม.๙๒ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกม.ทะเลในปี 1982 หรือมาตรา๓
tokyo convention 1963

เกณฑ์การพิจารณาเขตอำานาจของศาลไทยในคดีที่พัวพันกับตปท. เกณฑ์คือ คดีนั้นต้องเป็นคดีแพ่งและพาณิชย์


เท่านั้น พิพาทกันระหว่างเอกชนภายใตกม.รปท.แผนกคดีบุคคล ต้องเป็นบุคคลหรือนิติบุคคล ไม่ใช่รัฐ ต้องเป็น
คดีแพ่ง และมีองค์ประกอบต่างชาติ คือคู่พิพาทมีความเกี่ยวพันในทางรปท. เช่นทั้งคู่ ต่างสช.กัน ภูมิฯ ต่างกัน
หรือเหตุเกิดในต่างปท. คดีเหล่านี้เรียกว่าเป็นคดีที่มีองค์ประกอบต่างชาติ หรือเรียกว่า foreign
elements

ศาลไทยพิจารณา ภูมิลำาเนา สถานที่ที่ตั้งทรัพย์ สัญชาติโจทก์ มูลคดีเกิด สถานที่ตั้งสนง.ใหญ่ เป็นหลักเกณฑ์ใน


การพิจารณาเขตอำานาจศาลไทย

เมื่อยึดจุดเกาะเกี่ยวเป็นเครื่องมือในการโยงใยความสัมพันธ์ จึง ต้องพิจารณาระดับความใกล้ชิดหรือจุดเกาะเกี่ยว


ที่ใกล้ชิด เช่นมีหลายสัญชาติ ลำาดับต่างกัน เป็นบ.หลายสช.ได้สช.มาโดยลำาดับ(เช่น นางสาวแดงคนไทย
แต่งงานกับคนอังกฤษ จึงได้สัญชาติมาโดยลำาดับ) หรือมีหลายสช.ขณะเดียวกัน (เช่น ลูกของ นายจอห์นและ
นางแดง มีสองสช.ตามหลักสืบสายโลหิตและหลักดินแดน)

หลักเกณฑ์สัญชาติโจทก์ ยังมีภมู ิลำาเนาจำาเลย ปวพ.ม.๔ บญเขตอำานาจศาลว่า คำาฟ้องให้เสนอต่อศาลที่จำาเลยมีภู


มิฯ หรือต่อศาลที่มูลฯเกิดในเขตศาลไม่ว่าจล.จะมีภูมิในราชฯ หรือไม่

โดยยึดภูมิลำาเนาเป็นเกณฑ์ คำาร้องขอให้เสนอต่อศาลที่มูลคดีเกิดหรือ ต่อศาลที่ผู้ร้องมีภูมิฯ


หลักเกณฑ์ภูมิลำาเนาจำาเลยนั้นสมเหตุสมผลมากเพราะย่อมบังคับเอากับจำาเลย ง่ายต่อการบังคับยึดทรัพย์ ยอมรับ
กันทั่วโลก

หลักสถานที่ตังทรัพย์ situ rei เพราะโดยเฉพาะอสังฯ ก็จะง่ายแก่การบังคับคดี อันนี้มีลักษณะร่วมทั้งใน


เรื่องการขัดกันกม.และการขัดกันเขตอำานาจศาลฯ ถ้าคดีพิพาทอสังฯ ทั้งตัวกม.และเขตอำานาจศาลจะอาศัยศาล
ของปท.ที่อสังตั้งฯ เช่นตาม ปวพ.๔ทวิ ให้เสนอต่อศาลที่อสังฯตั้งอยู่ในเขตศาล ต้องทำาความเข้าใจว่า คดีนั้นเป็น
คดีเกี่ยวกับอสังฯโดยตรงซึ่งเป็นทรพัยสิทธิหรือเป็นคดีเกี่ยวกับ บุคคลสิทธิ สญเช่าอสังฯ ฟ้องเรื่องค่าเช่าเป็นการ
ฟ้องร้องเกี่ยวกับหนี้เป็นบุคคลสิทธิ แต่ถ้าฟ้องกรรมสิทธิ์หรือทรัพยสิทธิบังคับเอากับตัวทรัพย์จึงเป็นคดีเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์

หลักสัญชาติโจทก์และภูมิลำาเนา ตามปวพ.๔ตรี อันนี้บัญญัติ ตอนแก้ไข ปวพ.ด้วยเหตผลว่าถ้าโจทก์สช.ไทยแต่


ต้องฟ้องในตปท.จะลำาบากมากทั้งสืบพยานฯ ค่าใช้จ่ายมาก เลยอนุญาตให้ฟ้องในเขตศาลไทยแต่เมื่อผลคำา
พิพากษาออกมาแล้ว ไปบังคับในตปท. เกี่ยวข้องกับารยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาตปท.

ศาลตปท.ยอมรับตามคำาพิพากษาโดยไม่ต้องบังคับตามคำาพิพากษา คือเพียงประกาศ เช่นประกาศว่าเป็นสามี


ภรรยา หรือหย่ากันแล้ว แต่ถ้ามีการบังคับด้วย เช่น หย่ากันที่ปท.อังกฤษแล้วต้องเอาคำาพิพากษามาแบ่งทรัพย
ในปท.ไทยเรียกว่าศาลไทยต้องยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลตปท. แต่คดีต้องฟ้องกันในศาลที่มีเขต
อำานาจโดยชอบด้วยกม. ถ้าฟ้องผิดศาล ศาลตปท.ก้ไม่ยอมรับ คดีต้องถึงที่สุด ต้องดูด้วย แม้คดีนั้นถึงที่สุดโดย
ความเป็นจิงแต่ถ้าเป็นคดีที่พิจารณาโดยสืบพยานฝ่ายเดียวยังไม่ถือว่าถึงที่สุด หนี้ในมูลคดีต้องมีการกำานหดอย่าง
แน่นอนเช่นจำาเลยจะรับผิดจำานวนเงินเท่าใดต้องแน่นอนแล้ว หรืออาจสงวนคำาพิพากษาไว้ ไปให้ศาลตปท.รับ
พิจารณาไม่ได้ กรณีนี้ยึดหลักของปท.อังกฤษในเรื่องการยอมรับผลของคำาพิพากษาซึ่งมีหลายทฤษฎี เช่น ท.ว่า
ด้วยผลการรับรองสิท

(diplomatic protection ต่างจาก privledge and exclusive


protection นัน ้ เป็ นเร่ ืองของฑูต หรือเอกสิทธิของฑูตได้รบสิทธิไปอยู่ตปท.
โดยไม่ตกใต้อำานาจของรัฐท่ีตนไปอยู่เป็ น immunity and priviledge)
diplomatic protection คนชาติต้องมีคสพ.กับรัฐท่ีให้ความคุ้มครอง(เป็ น
คนสัญชาตินัน ้ ) หากมีหลายสัญชาติมาในเวลาเดียวกัน หรือโดยลำาดับ มี
master nationality หรือไม่มีสัญชาติ หรือบางคนสละสัญชาติไป จุดสำาคัญ
คือ ต้องเป้ นคนชาติของรัฐท่ีให้การคุ้มครอง คนนัน
้ ต้องไม่ได้กระทำาความผิด
คนนัน้ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายภายใน หรืออยู่ในบังคับของกม.ภายในไม่ทำาผิด
กฎหมายภายใน ดำาเนินคดีจนถึงท่ีสุดหมดหนทางเยียวยาแล้วจึงมาร้องขอให้รัฐ
ตนคุ้มครองทางการฑูต บุคคลนัน ้ จะร้องขอแต่อำานาจในการให้ความคุ้มครอง
เป็ นอำานาจอธิปไตยของปท.นัน ้ ปท.นัน้ อาจคุ้มครองหรือไม่ก็ได้ และการสละ
อำานาจอธิปไตยอยูท่ ่ีตัวรบ. จะให้ความคุ้มครอบหรือไม่ก็ได้
สาระสำาคัญของชุดวิชากฎหมายระหว่างประเทศ
หัวข้อ ความรูท
้ ัว่ไปเก่ียวกับกม.รปท.
ความหมายและลักษณะ วิวัฒนาการ และบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ.
กม.รปท.เป็ นระเบียบของสังคมรปท. ควบคุมพฤติกรรม subject of inter
law หรือ บุคคลระหว่างประเทศ(รัฐและองค์การรปท.) ในคสพ.ระหว่างกันใน
ประชาคมรปท.นัน ่ เอง เป็ นข้อตกลงร่วมกันท่ีใช้บังคับในคสพ. หรือปฏิสพ.ของ
รัฐในประชาคม รปท. มีวัฒนาการมายาวนาน จากจารีตฯ ยอมรับกันทัว่ไป รวม
ถึงส่ิงท่ีสร้างจากความตกลงยินยอมของรัฐแต่ละรัฐนัน ่ เอง
มีลักษณะของเน้ือหาสลับซับซ้อน ในยุคแรก ๆ มีการถกเถียงกันว่า กม.รปท.
เป็ นกม.หรือไม่ หรือเป็ นเพียงธรรมเนียมปฏิบัตริ ะหว่างรัฐ อย่างไรก็ตามเราจะ
นำาเอากม.ภายในมาปรับกับกม.รปท.ไมได้เพราะมีลักษระแตกต่างกัน กล่าวคือ
ในรปท.นัน ้ เป็ นเร่ ืองระหว่งรัฐ ไม่ใชระหว่างเอกชนด้วยกัน ในการออกกม.ก็
เป็ นไปตามครรลองกม.รปท.โดยไม่มีองค์กรกลางเป็ นสภานิติบัญญัติ การบังคับ
ใช้ก็ไม่ใช่ผ่านศาลหรือหน่วยงานเช่นราชฑัณฑ์ ศาลโลกยังไม่นบ ั ว่าเป็ นศาลใน
ความหมายของกม.ภายในเพราะศาลโลกนัน บุคคลท่ีอยู่ภายใต้ศาลโลกได้ต้อง
แสดงเจตนารมณ์ยอมรับเขตอำานาจของศาล อย่างในกรณีประเทศต่า งๆ พิพาท
กัน ก็ต้องมีการตกลงกันว่ายอมรับอำานาจของศาลโลกก่อน
จะเห็นว่า กม.ภายใน ต่างจาก กม.รปท. มาก ทัง้ทางด้านโครงสร้างด้วย
ลักษณะสำาคัญของกม.รปท.นัน ้ สังคมรปท.ท่ีมีการรวมตัวกัน หลักอำานาจ
อธิปไตยนัน้ ไม่มีองค์กรใดมีอำานาจเหนือรัฐ การใช้อำานาจบริหารตุลาการ
นิตบ
ิ ัญญัติ จึงไม่มีอย่างกม.ภายใน ดังนัน
้ การบังคับกม.รปท.จึงกระทำาโดย
ฉันทามติ หรือการแสดงเจตนารมณ์ของรัฐระห่วางประเทศ
ปั จจัยด้านพ้ืนฐานของกม. กม.รปท.มีหลักอยู่บน pacta sunt servanda
และการยอมรับของรัฐประชาคมระหว่างประเทศ การท่ีรัฐยอมผูกพันตนเป็ น
เร่ ืองแสดงเจตนารมณ์หรือยินยอมปฏิบัติตาม จึงมีวิวัฒนาการจาก กม.จารีตฯ
และ ประชาคมรปท.ยอมรับในหลักท่ีเรียกว่าตนเองถือว่าเป็ นกม.ท่ีปฏิบัติติดต่อ
กันมานานจนเป็ นจารีตฯ ส่วนกรณีทีแสดงออกชัดแจ้งคือการทำาสนธิสัญญา
ระหว่างกันบนหลัก pacta ฯ แต่ในกรณีกม.ภายในนัน ้ มีพ้ืนฐานบน รธน. ซ่ึง
เป็ นคำาสัง่ของรัฐาธิปัตย์ เรียกว่าลักษณะพ้ืนฐานของกม.ก็แตกต่างกัน
มูลฐานหรือความผูกพันในการพิสูจน์ว่ากม.และสภาพบังคับของกม.รปท.เป็ น
อย่งไร ข้อพิสูจน์ว่ากม.รปท.เป็ นกม.คือ การท่ีศาลยุติธรรมระหว่างประทศ ได้
ยอมรับว่า กม.รปท.มีฐานะเป็ นกม. และแม้เป็ นกม.จากจารีตฯ ก็เป็ นจารีตฯ
ชนิดท่ีเรียกว่า เช่ ือว่า เป็ นกม.ดังคำาลาติน opinio juris การท่ีศาลยุติธร
รมรปท.มีสมาชิกกว่าสองร้อยปท.ก็ยอมรับ และกม.รปท.มีสถานะเป็ นกฎหมาย
การท่ีองคืการสหประชาชาติมีสมาชิกเกือบทุกปท
.ในโลกก็ยอมรับความเป็ นกม.ของ กม.รปท จน คณะกรรมาธิการกม.รปท.ได้
ประมวลยกร่างกม.รปท.ขึ้น ทัง้กม.ฑูต กม.สนธิสัญญา และรบ.ทัง้หลายก็อ้าง
ว่า กม.รปท.เป็ นกฎหมาย มีความเป็ น opinio juris กม.ใดหากถูกละเมิดจะมี
การบังคับใช้ มีการบังคับใช้ สภาพบังคับ (sanction)
ทุกรัฐในประชาคมฯ มี sanction มี boycott
ไปถึงการตอบโต้ท่ีเรียกว่า retorsion / reprisol และมีการนำาข้อพิพาทสู่ศาล
ยุติธรรมระหว่างประเทศท้ายสุดมีการใช้กำาลังระหว่างประเทศ(การทำาสงคราม)
บ่อเกิดหรือท่ีมาของกม.รปท.มีลักษระสนธิสัญญา เป็ นบ่อเกิดลายลักษณ์ เกิด
จากการจัดทำาสนธิสัญญาระหว่าปงระเทศมีการแสดงเจตนารมณ์บนพ้ืนฐานของ
หลัก pacta sunt sevanda
บ่อเกิดทีเป็ นจารีตฯ customary inter law จะต้องมีการปฏิบัตก
ิ ันมาเป็ น
เวลาช้านาน เรียกว่ามีองค์ประกอบของกม.จารีตฯ ครบสามประการ ทางด้าน
เวลา ทางด้านวัตถุ และทางด้านจิตใจ
ทางด้านเวลา มีการปฏิบัติซ้ำา ๆ จนเป็ นท่ียอมรบหรือเกิดเป็ นกรณีตัวอย่างมี
president และรัฐต่าง ๆ ปฏิบัติซ้ำา ๆ จนยอมรับกัน
ทางด้านวัตถุ มการเห็นได้ชัดว่ารัฐปฏิบัติส่ิงเหล่านัน
้ จริงๆ state practise
เป็ นบ่อเกิดของวิวัฒนาการว่าส่ิงเหล่านัน
้ มีอยู่
ทางด้านจิตใจ แม้ว่าจะมีการปฏิบัติมานาน มีส่ิงทีเห็นได้ว่ารัฐยอมรับจริง แต่ส่ิง
เหล่านัน
้ ต้องประกอบไปด้วยองค์ประเกอบทางจิตใจท่ียอมรับว่า เช่ ือว่าเป็ นกม.
ทำาให้กม.แตกต่างจากการปฏิบต ั ิในเร่ ืองขนบธรรมเนียมท่ีไม่มีสภาพกฎหมาย
องค์ประกอบสามประการนีต ้ ้องร่วมกัน กม.จึเงป็ นกฎหมายจารีตประเพณีหรือมี
สถานะกฎหมาย ทีเรียกว่า lex lata
บ่อเกิดอีกอันคือหลักกม.ทัว่ไป ไม่ได้บญไว้ท่ีไหน แต่แนบเน่ ืองในความเห็น
ของทุกปท.ว่าส่ิงเหล่านีเ้ป็ นกม.
กม.รปท.ต้องค้นหาจกาหลายแห่ล่งเช่น คำาพิพากษาของศาล
บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
แบ่งเป็น รัฐ องค์การรปท. และปัจเจกชน ตลอดจนบรรษัทข้ามชาติ
ปกติ รัฐเป็นบุคคลที่สมบูรณในกม.รปท. มีอำานาจหน้าที่สิทธิตามกม.รปท.อย่างแท้จริง ส่วนองค์การรปท.เป็น
บุคคลในกม.รปท.ซึง่ เป็นที่ยอมรับในเวลาต่อมาเพราะเป็นนิติบุคคลนั่นเอง หากองค์การรปท.ได้บญไว้ใน
ตราสารจัดตั้งหรือสามารถอนุมานจากพฤติการณืขององค์การฯ ว่าองค์การฯมสิทธิหน้าที่ภายใต้กม.รปท. ก็จะ
ถือว่เป็นบ.ในกม.รปท.
ส่วนปัจเจกชนและบรรษัทข้ามชาติ ไม่เป็นบ.ในกม.รปท. แต่ในเวลาต่อมา ได้มีการยอมรับให้สิทธิแก่ปัจเจก
ชนและบรรษัทข้ามชบาติในการได้รับสิทธิโดยตรงเช่นการฟ้องร้องรัฐภายใต้ความตกลงต่าง ๆ มากมายเกี่ยวกับ
สนธิสัญญาทางเศรษฐกิจ เช่นในประชาคมยุโรปให้สิทธิเอกชนฟ้องรัฐได้ จากธรรมนูญก่อตั้งประชาคมยุโรป
การกำาเนิด รับรอง สิทธิ สืบสิทธิรัฐ
รัฐมี องค์ประกอบ ดินแดน ประชากร รัฐบาล และมีเอกชารอธิปไตย
ดินแดนนั้นคือ พื้นดิน พื้นนำ้า น่านนำ้าภายใน ท้องฟ้า ซึ่งเป็นเขตปริมณฑลของรัฐ มมีความมั่นคงมีเขตกำาหนด
แน่นอน มีประชากร(คนชาติและต่างด้าว) รัฐต้องปฏิบัติต่อคนต่างด้าวอย่างดีภายใต้กม.รปท. มีรัฐบาล
เสถียรภาพมั่นคงมีคสม.ทางศก.สังคมการเมือง มีเอกราชอำานาจอธิปไตย
รัฐมี รัฐเดียวและสหพันธรัฐ ต้องมีอำานาจเหนือดินแดน เหนอืประชากร สามารถดำาเนินคสพ.รปท.ได้ การ
รับรองรัฐนั้น กม.รปท.ต้องมีการรับรองรัฐ แบ่งเป็นทฤษฏี
๑.ทฤษฎีเงื่อนไขก่อกำาเนิดรัฐ
๒.ทฤษฏีประกาศ ยืนยัน
ประโยชน์ของการรับรอง ทำาให้รัฐมีเสถียรภาพมั่นคงเอื้อทางการฑูต มีการรับรองโดยพฤตินัย(ชัว่ คราว) ถาวร
(นิตินัย)
เมื่อรัฐมีองค์ประกอบที่สมบูรณ์ และการรับรองไม่เป็นการต่อรองทางการเมือง รัฐต้องเป็นรัฐสมบูรณ์แล้วจึงมี
การรับรอง
ทฤษฎียืนยัน มีรัฐเกิดอยู่แล้วจึงรับรองความมีอยู่ของรัฐ
การรับรองรัฐธบาลต่างจากการรับรองรัฐ มี doctrine of deligenacy / doctrine of
effectiveness
การรับรองรบ.มีการจัดตั้งถูกต้องตามกฎหมาย/ประสิทธิภาพของรบ.
สิทธิหน้าทีของรัฐ แบ่งเป็น สิทธิในเอกราชในดินแดนตน และในคสพ.รปท. กับสิทธิแห่งการเสมอภาพ หลัก
ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ ไม่เลือกปฏิบัติ
รัฐต้องไม่แทรกแซงกิจการภายในรัฐอื่น อาจมีการแทรกแซงโดยชอบด้วยกฎหมาย เช่นได้รับการร้องขอ อาศัย
สิทธิในสนธิสัญญา เพื่อพิทักษ์คนชาติ และเพื่อมนุษยธรรม
การสืบสิทธิของรัฐในส่วนสนธิสัญญา รัฐแม่ ผู้สืบสิทธิ ทีสาม การสืบสิทธิคำานึงถึง ส่วนที่เกี่ยวกับสนธิสัญญา
กับส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินบรรณสารหนี้สิน
กรณีสืบสิทธิบนพื้นฐานของอนุสัญญาต้องดูหลักการว่าด้วยความประสงค์รัฐ้ หลักว่าด้วยเขตแดน ไม่กระทบ
เทือนต่อเขตแดนที่กำาหนดโดยสนธิสัญญา
การส่บสิธิเกี่ยวกับทรัพยสิบรรณสารคำานึงถึงกรณีรัฐเอกราชใหม่ การรวม ยุย แยก โอน ดินแดน
การสืบสิทธิสนธิสัญญา ดูหลักพื้นฐานของสนธิสัญญาด้วยฯ และหลักว่าด้วยความประสงค์ของรัฐที่สาม และ
หลักเขตแดน ระบบถาวรที่ผูกพันกลุ่มรัฐ ระบบถาวรผูกมัดนานาประเทศ การรวมสหพันธรัฐ
การสืบทรัพย์สิน บรรณสาร หนี้สิน หลักมีว่ารัฐที่ได้เอกราชใหม่ถ้าไม่ได้ตกลงเป็นอย่างอื่น อสังฯ เป็นของผู้สืบฯ
ส่วนสังหาฯ ก็จะโอนกรรสิทธิให้รัฐผู้สืบสิทธิ การรวมรัฐให้หนี้สินบรรณสารเป็นของรับใหม่ การแยก??
โอน??ไปอ่านใหม่..
กรณีปัจเจกชน บรรษัทข้ามชาติ ปัจเจกชนเดิมเป้น obj of inter law ต่อมา สามารถมีสิทธิตามกม.
รปท. มี direct effect ตามผลของสนธิสัญญา
บรรษัทข้ามชาติเป็น บ.ตามกม.ภายในเท่านั้น แต่มีการยอมรับสิทธิ เช่นในสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
บรรษัทฯ จึงฟ้องรัฐได้ ตามสนธิสัญญา
แต่ไม่ได้ทำาให้สถานะของปัจเจกชน และบรรษัทฯ เป็นบุคคลใต้กม.รปท.
ปัจเจกชนมีสิทธิ ตามกม.สิทธิมนุษยชน เป็นสิทธิที่ไม่อาจพรากจากากรเกิดมาเป็นมนุษย์ การมีสิทะทางวิธี
สบัญญัติเมื่อถูกละเมิดก็ฟอ้งรัฐได้ ตามปรากฎใน อนุสัญญายุโรปว่าด้วยสิทธิมนุษยชน การเป็นโจรสลัดหรือ
อาชญากรสงครามปัจเจกก็อาจต้องรับผิดตามกม.รปท.ด้วย
บรรษัทฯ เห็นว่า เป็ นนิติบค ุ คลตามกม.ภายในแต่โดยลักษณะของการดำาเนิน
ธุรกิจ ทำาให้จำาเป็ นต้องได้รบ
ั การคุ้มครอง กิจการของบรรษัทฯมิได้จำากัดในรัฐ
เดียว บรรษัทฯสามารถดำาเนินธุรกจกับรัฐและหน่วยงานรัฐได้ด้วย ดังนัน ้
คกก.ของ icit ก็ได้ยอมรับในทางกม.รปท.ได้ยอมรับการยุติข้อพิพาทโดยอนุญา
โตฯ ระหว่างรัฐกับบรรษัทข้ามชาติ
เขตแดน และเขตอำานาจของรัฐ
เขตแดนองรัฐ มีสี่หัวข้ อแนวคิดความหมายคสพองค์ประกอบการกำาหนดเส้นเขตแดนขั้นตอนปักปันการได้มา
สูญเสียดินแดน
เขตแดนเป็นเครื่องกำาหนดของเขตดินแดนใต้อำานาจอธิปไตย เป็นเครื่องชี้แสดง จำากัด ขอบเขตรัฐ จึงต้องมี
เขตแดนแน่นอน เป็นอปก.สำาคัญ รัฐไม่ว่ามีเขตแดนเล็กใหญ่ย่อมสำาคัญเท่าเทียมกันในฐานะของรัฐ เผ่าชนเร่ร่อน
ไม่มีสภาพเป็นรัฐเพราะไม่มีเขตแดนแน่นอน
คสพ.ของเขตแดนเป็นสิ่งกำาหนดของเขตระหว่างปท.ของรัฐ กม.รปท.ได้รับรองอำานาจอธิปไตยในกรอบ
เขตแดน ไม่ว่า บ.ใด ๆ รวมทั้งทรัพยสิงของเมื่อไปอยู่ในเขตรัฐใดย่อมอยู่ใตอธิปไตยรัฐนั้น มีเพียง บ.บางจำาวก
เช่น ผูแ้ ทนทางการฑูต หรือ กรณี diplomatic protection ที่ยกเว้น แต่ก็ต้องเคารพกม.ภายใน
เสมอ
รัฐต้องใช้อำานาจฯตนตามกรอบกม.รปท. ไม่สามารถใช้อำานาจนอกเขตแดน แต่มีข้อยกเว้นตาม effect
dictrine การมีอำานาจใช้กม.อาญาห รือใช้กม.เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
อปก.ของดินแดน ปก.ด้วย ดิน นำ้า อากาศ น่านฟ้า ในกรอบหรือของเขตหรือเขตแดนองรัฐ แผ่นดินคือพื้นดิน
ใต้ดิน พื้นนำ้าได้แก่แม่นำ้าลำาคลองหนองบึงทะเลสาบปากนำ้าเป็นน่านำ้าภายในเป็นเขตแดนที่เป็นพื้นแผ่นดินด้วย
กับส่วนทะเลอาณาเขต และเขตทางทะเลต่าง ๆ ส่วนอากาศน่านฟ้าได้แก่น้านฟ้าเหนือพื้นแผ่นดิน และ
ทะเลอาณาเขต
ดินแดนส่วนพื้นนำ้า น่านนำ้าภายใน ทะเลสาบแม่นำ้าลำาคลองปากนำ้า ท่าเรือเมืองท่า พื้นนำ้าในอ่าวต่าง ๆ ภายใน
แผ่นดิน น่านนำ้าภายในเป็นดินแดนรัฐ อยู่ในกรอบอำานาจฯสมบูรณ์จึงตางจากทะเลอาณาเขต
ส่วนพื้นนำ้า ทะเลอาณาเขต เปนทะเลส่วนต่อเนื่องประชิดชายฝังวัดจาก baseline จากนำ้าลดตำ่าสุด 12
ไมล์ทะล เขตอำานาจอธิปไตยรัฐชายฝั่งครอบคลุม sea-bed และ sub-soil ในส่วนของ
ทะเลอาณาเขต ตลอดจนทรัพยากร การประมง
น่านนำ้าภายในหมู่เกาะ รัฐหมูเ่ กมะ ได้แก่รัฐมีดินแดน ปกด.เกาะหลายเกาะ การกำาหนดเขตแดนต่างจากการ
กำาหนดเขตแดนรัฐทัวไป รวมทั้งการกำาหนดน่านนำ้าและทะเลาอณาเขต ปท.หมู่เกาะ จะลาก เส้นฐานตรงเชื่อมจุด
นอกสุดเกาะ เส้นฐานตรงล้อมรองหมู่เกมะเกิดน่านนำ้าภายในเส้นฐานตรง เป็นน่านนำ้าภายในเปรียบได้กับน่านนำ้า
ภายในของปท.อื่น ๆ
รัฐหมู่เกาะ มีอำานาจอธิปไตยเหนือน่านนำ้าเหนือหมูเ่ กาะแต่ต้องยอมรับ innocent passage น่านฟ้า
ก็อยู่ในอำานาจอธิปไตยของรัฐ
ส่วน เส้นฐานตรงที่กำาหนดเป็นเส้นกำาหนดทะเลอาณาเขตของรัฐหมู่เกาะโดยวัดออกไป ๑๒ ไมล์ทะเล กำาหนด
ทะเลอาณาเขต
สำาหรับแม่นำ้าแบ่เป็นแม่นำ้าภายใน หากทั้งสายอยู่ในเขตแดนรัฐเดียวกับ แม่นำ้าแบ่งแยกเขตแดนระหว่างรัฐ
boundery river แม่นำ้าไหลผ่านหลายประเทศ พหุภาค plurinational river แม่นำ้าบาง
สายไหลผ่านหลายปท.ใช้เป็นเส้นทางเดินเรือต่อถึงทะเลได้ เป็นแม่นำ้าระหว่าประเทศหรือ inter river
ผลของทฟษฎีเสรีภาพในการเดินเรือในแม่นำ้า
น่านนำ้าภายในปกด.ทะเลสาบ ทะเลปิด มีทะเลสาบบางชนิดกั้นพรหมแดน คลองในปท.หรือคลองกั้นพรหมแดน
ก็ได้ นอกจากนั้ยังมีอ่าว ซึงลักษระของอ่าว จะดูว่า เป็นสว่นที่มีการยื่นลำ้าของแผ่นดินเข้าไปในพื้นนำ้าในระดับทีพ่
จารณาได้ว่าแผ่นดินเป็นหตึ่งเดียวกับแผ่นนำ้าพอให้เกิดดินแดนที่มีน่านนำ้าภายใน และคำานึงเส้นปิดปากอ่าว ใน
กรณีที่ไม่ใช่อ่าวประวัติศาสตร์เส้นปิดปากอ่าวไม่เกิน ๒๔ ไมล์ หากยาวเกิน ก็ต้องมีการวางหรือจึงเส้นในอ่าว
๒๔ ไมล์ให้เกิดน่านน่าน เป็นอ่าวภายใน
อ่าวประวัติศาสตร์ไท่คำานึงระยะทางดังกล่าว เช่นอ่าวฮัดสัน หรออ่าวประวัตศิ าสตร์อื่น ๆจะมีความกว้างเส้น
ปิดปากอ่าวยาวมาก
ช่องแคบเกี่ยวกับการเดินเรือ ก็เปรียบเทียบ ให้เข้าใจความแตกต่างของ innocent/transit
passage
innocent passage อากาศยานไม่มีสิทธิในลักษณะบินผ่านชอ่งแคบโดยสุจริต เรือดำานำ้าต้อง
ลอยลำา รัฐเจ้าของชายฝั่งยังยั้งการเดินเรือได้ ตรงข้ามกับ transit passage
น่านฟ้า มีสนธิสัญญาให้อำานาจรัฐเจ้าของปท.
การ กำาหนดเส้นเขตแดน ก็มีลักษณะสองประเภท คือการกำาหนดโดยภูมศิ าสตร์ กับพื้นที่จริง
การได้ดินแดนโดยรับการยกให้ การครอบครอง งอกแผ่นดิน การผนวกดินแดนโดยการเข้ายึดครอง และการได้
ดินแดนโดยการครอบครองปรปักษ์
การเสียดินแดน มีลักษระตรงกันข้าม
เขตอำานาจรัฐมีหลายหลัก ดินแดนสัญชาติป้องกันสากล
ตามหลักดินแดน รัฐทุกรัฐมีอำานาจอธิปไตยบนดินแดนตน รวมถึงอำานาจตามกม.เหนือทรัพยสินและเหตุการณ์ที
เกิดภายในดินแดน
เหนือบุคคล เป็นอำานาจรัฐเหนือบุคคลซึ่งเป็นคนชาติของรัฐนั้น ๆ
ปัญหาเขตอำานาจตามหลักดินแดนต้องนิยามคำาว่าดินแดนเป็นปัญหาหลัก คำานึงถึงเขตต่อเนื่องของดินแดน อาจ
ทำาให้รัฐมีอำานาจบางอย่างเหนือเขตต่อเนื่อง อำานาจบางอย่างนั้น อาจไม่เทียบเท่าอำานาจอธิปไตยแต่มีอำานาจ
เฉพาะกิจกรรมบางอย่าง เช่นอำานาจเหนือ eez มีอำานาจสำารวจแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ
เขตอำานาจเหนือดินแดนอาจมีการยกเว้นแก่บุคคลบางกลุ่ม
สนธิสัญญา...เป็ นจารีตฯ และได้ประมวลเป็ นอนุสัญญากรุงเวียนนา กำาหนด
แนวการทำาสญระหว่างรัฐ ปี ๘๖ กำาหนดหลักเกณฑ์ทำาสญ ระหว่างองค์การ
รปท.อีกที
ขอบเขตอนุสญ กล่าวไว้ในอนุสญกรุงเวียนนา ไม่ครอบคลุมกับสนธ สญ ทุกฉบับ จำากัดเพียงระหว่างรัฐเท่านั้น
อนุสญ เวียนนา ๖๙ มิได้ใช้บังัคับกับองค์การ รปท.และไม่ได้ก้าวไปในเนื้อหาของสนธิฯ ยังคงเป็นไปตาม
เจตจำานง และมิได้ประมวลหลักสนธิสญทั้งหมด จารีตใดมิได้บญไว้ก็ยงใช้บังคับอยู่เช่น สนธิสญ ที่ทำาด้วยวาจา
สนธิสญ หมายความตกลงระหว่างประเทศระหว่างรัฐเป็นลายลักษณือักษรใต้บังคับของกม.รปท. ไม่ว่ามีชื่อยง
ไง เป็นไปตามนิยามม.๒ (๑)(เอ) ของอนุฯกรุงเว่ยนนาปี ๖๙ อาจเป็นตราสารหลายฉบับเกี่ยวกัน
ประเภทของสนธิสญ ทวิ พหุ ....ชือ่ สญ ลักษณะสญ(law making treaty)อันเป็นบ่อเกิดของ
กม. มีฐานะเป็น law making treaty มีบทบาทในการวางหลักกม.รปท.
การจำาแนกตามสถานะ เช่น กระทำาโดยรัฐ ประมุข รบ. รมต. หน่วยงานรัฐ(interdepartment)
โดยประมุขของรบ.
ชื่อสนธิสญ อนุสญ สนธิสญ พิธีสาร บันทึกการเจรจา หนังสือแลกเปลียนความตกลง ข้อบัญญัติ ปฏิญญา ความ
ตกลงชัว่ คราว กรรมสารทั่วไป ข้อตกลงของฝ่ายบริหารหรือกรรมสาร
การทำา สนธิสญ ต้องคำานึงหลักการ กระบวนการสำาคัญ แต่งตั้งผู้มีอำานาจเต็มหรือ ผู้มีอำานาจโดยหน้าที่โดย
ตำาแหน่ง ประมุขรัฐ หน.รบ.
วิธีเจรจา
ร่างสนธิสญ และมีการยอมรับในข้อบทของสนธิสญ ว่าความตกลงที่เจรจรามีข้อบทเช่นไร ตรงตามที่ได้เจรจา
แล้ว
ยอมรับขั้นสุดท้าย ยอมรับตัวข้อบท เรียกว่า เป็นข้อบทที่จะผูกพันกัน
ขั้นแสดงเจตนาผูกพันกันตามสนธิสญ เช่น โดยการลงนาม ให้สัตยาบัน ยอมรับ หรือโดยการอนุวัติการ หรือการ
ภคยานุวัติ
ขั้นประกาศใช้และจดทะเบียนสนธิสญ.
อำานาจอธิปไตยสำาคัญมาก รัฐต่างๆที่จะทำาความตกลงต้องจำากัดอำานาจอธิปไตยของตน auto
limitation ลงบางส่วนเพื่อยอมผูกพันตนต่อพันธะกรณีรปท.ตามสนธิสญ
ต้องคำานึงหลักการกระทำาโดยสุจริต และหลักเสรีภาพในการแสดงเจตนาโดยสมัครใจ free consent
เป็นหัวใจของหลักการทำาสนธิสญ และเเป็นหลักพื้นฐานในคสพ.รปท.เป็นหลักการสำาคัญในอนุสญกรุงเว่ยนนา
ว่าด้วยกม.สนธิสญ หากรัฐไม่ได้สุจริต สันติภาพย่อมไม่เกิด
หลักสุจริตนี้ต้องคู่กับควาเป็นธรรมสมเหตุผลอันหนึงอันเดียวซื่อตรง เป็นพื้นฐานองการป้องกันการข่มขู่บังคับใช้
กำาลังให้รัฐตกลงทำาสญโดยไม่สมัครใจ แม้ในกรณีรัฐไม่มีคสพ.ทางฑูตก็ย่อมสามารถทำาสนธิสญกนได้ตามหลัก
พักตา ซุน ซาวันดา สนธิสญย่อมได้รับการเคารพและปฏิบัติตามหากว่าได้แสดงเจตนาทำาสญระหว่างกันแล้ว
การสิ้นผลของสนธิสญ มีหลายประการ แบ่งเป็น ความไม่สมบูรณ์โดยทั่วไปและความบกพร่องในการแสดง
เจตนาในการทำาสนธิสญ การลาออกจากการเป็นภาคีการสิ้นสุดการระงับสิ้น สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปสำาคัญ
หรือสนธิสญขัด jus cogens หรือเกิด jus cogens ใหม่ ภาคีเปลี่ยนแปลง หรือสิ้น สถานภาพ
ทำาให้สนธิสญสิ้นผลลง
บางกรณีเป็ นการยกเป็ นเหตุบังคับตามสนธิสญ กรณีสนธิสญขัดกับ jus
cogens แต่รก สนธิสญย่อมเป็ นโมฆะแต่แรก หากเกิด jus cogens ใหม่
สนธิสญ มีผลผูกพันจนกว่าจะมี jus cogens ใหม่ไปขัดสนธิสญท่ีกระทำาขึ้น
ความรับผิดชอบของรัฐ state responsibility
หลักเกณฑ์เก่ียวกับระบอบความรับผิดชอบของรัฐแนวดัง้เดิมและแนวโน้มใหม่
ดัง้เดิมนัน
้ คำานึงถึง กกท.รัฐภายใต้กม.รปท.และคำานึงว่ามีละเมิดพันธรกรณ๊
และชดใช้คา่ เสียหาย
กกท.ของรัฐ มีอปก.สำาคัญคือ กกท.ต้องเป็ นกกท.ขององค์กร
รัฐ(imputibility) กระทำาในนามรรัฐไม่ใช่หน่วยงานอ่ ืน กกท.ถ้าหากมิใช่โดย
องค์กรของรัฐก็ต้องสามารถโยงมาให้รัฐรับผิดได้ เช่นหากเป็ นกกท.เอกชน หรือ
ของคณะปฏิวัติก้ดี
ปั ญหาองค์ประกอบความรับผิดของกกท.ของรัฐ กกท.ขององค์ของรัฐกรณีแรก
เป็ นการกระทำาของฝ่ ายใดบ้าง เช่นของฝ่ ายนิตบ
ิ ญ ได้แก่การออกกม.ท่ีฝ่าฝื น
กม.รปท.หรือไม่ออกกม.อนุวัติการ ตามกม.รปท.แล้วไปก่อให้เกิดความเสีย
หายรัฐอ่ ืน
กกท.ของฝ่ ายบริหาร (รบ. และทางปกครอง) ท่ีก่อใก้เกิดสห.แก่รัฐอ่ ืนหรือคน
ชาติรัฐอ่ ืน
กกท.ฝ่ ายตุลาการ ปฏิเสธความยุติธรรมแก่คนชาติรัฐอ่ ืน
กกท.ท่ีไม่ใช่องค์กรรัฐเช่น กกท.ของปั จเจกชน หากไม่ใช่กกท.ของรัฐโดยตรง
รัฐมีหน้าท่ีเพียงต้องมีการป้ องกันปราบปรามไม่ให้กกทของปั จเจกชนก่อเสียหาย
แก่รัฐอ่ ืน หากจนท.ละเลยป้ องกันปราบปรามแล้วก่อ ให้รัฐอ่ ืนเสียหาย รัฐก็ต้อง
รับผิดชอบ นอกจากนัน ้ หากปั จเจกฯทำาในนามของรัฐ รัฐก็ต้องรับผิดชอบเช่น
กัน เพราะถือว่า ทำาในนามของรัฐ
หากกกท.ท่ีไม่ใช่กกท.ของรัฐ แต่เป็ นฝ่ ายกบฏ ถ้าหาก กบฏได้เปล่ียนเป็ น
รบ.ใหม่ ก็ต้องรับผิดขอบในกกท.เดิมท่ีตัวทำาไว้ เป็ นกกท.ของรัฐ
แต่หาก ฝ่ ายกบฏคงสถานะเดิม กรณนีร้บ.ก็ไม่ต้องรับผิด แต่ต้องแสดงให้เห็น
ว่าได้ใช้คสม.เต็มท่ีในการปรามปรามแล้ว
กกทต้องถือได้ว่ามีการประมาทเลินเล่อ หากไม่มค ี วามประมาทเลินเล่อก็ไม่เข้า
องค์ประกอบ นอกจากนัน ้ เป็ นความผิดท่ต
ี ำาหนิรฐ
ั ได้ หรือท่ีรัฐต้องรับผิดชอบ
สถานการณ์ท่ีปฏิเสธความผิด คือเหตุสุดวิสัย กับการป้ องกันโดยชอบ
หากกรณีความรับผิดเด็ดขาด เป็ นหลักกม.รปท.ท่ียอมรับกันว่ารัฐต้องรับผิด
การละเมิดพันธรกรณีรปท.ต้องพิจารณาความหมายเช่นการไม่ตรากม.ภายใน
อนึวัติการให้เป็ นไปตามสนธิสญ หรืออนุวัติขัดกับสนธิสญ การปฏิเสธความ
ยุติธรรม กกท.ละเมิดสันติภาพรปท.เช่นก่อให้เกิดคสห แก่คนชาติของรัฐอ่ ืน
ตามกม.ว่าด้วยการฑูต หรือการคุ้มครองคนต่างด้าว เช่นการโอนกิจการคน
ต่างด้าวเป็ นของรัฐ (การเวนคืนกิจการคนต่างด้าวเป็ นของรัฐ) การเวนคืนทรัพย์
ของคนต่างด้าวทำาได้หากชอบด้วยกม.ไม่มีการเลือกปฏิเบติ โปร่งใส ชดเชยความ
เสียหายได้ ถ้าหากว่ารัฐใดฝ่ าฝื นกฎระเบียบเก่ียวกับการเวนคืนรัพย์สินคนจ
ต่างด้าวตามกม.รปท. รัฐนัน ้ ก็ต้องรับผิดชอบ
ขอบเขตของพันธะกรณีรปท.ว่า กำาหนดไว้เช่นใด หากรัฐใดฝ่ าฝื นพันธรกรณ๊
และเกิดเสียหายแก่รัฐอ่ ืนก็ต้องรับผิดชอบ
ต้องดูว่าเป็ นกกท.ของรัฐหรือไม่ ละเมิดหรือฝ่ าฝื นกม.รปท.หรือไม่ ก่อให้เกิดค
สห.แก่รัฐอ่ ืนหรือไม่ หากไม่มีผู้สห.ก็ไม่ต้องรับผิดอะไร ต้องคำานึงเร่ ืองความรับ
ผิดเด็ดขาดด้วย ปห.เร่ ืองความสห.ดูว่าความเสียหายเป็ นองค์ประกนึง กับ ไม่ใช่
เป็ นอปก.
หากว่าคสห.รัฐต้องรับผิดชอบก็ต้องชดใช้ แบ่เงป็ นคำานวณเงินได้ กับท่ีไม่
สามารถคำานวณเป็ นเงินได้
การชดใช้ท่ีคำานวณเป็ นเงินได้ คือชดใช้คาเสียหายในรูปของจำานวเงินหรือส่ิง
เดียวกัน
ส่วนท่ไม่สามารถคำานวรเงิน เช่นการลงโทษผู้กระทำาความผิด การแสดงความ
เสียใจอย่างเป็ นางการ การเคารพธงชาติ
หลักเกณฑ์เก่ียวกับความรับผิดชอบรัฐในแนวใหม่ มาจากความคิดทัว่ไปว่าด้วย
ความรับผิดเด็ดขาด แม้ไม่มีเจตนาโดยตรงแต่ผลของการกระทำาก่อให้เกิดเสย
หายแก่รัฐอ่ ืนก็ตอ
้ งรับผิดชอบ ยังคำานึงถึงกิจกรรมเส่ียงภัยของรัฐภายในความ
รับผิดเด็ดขาด เช่นยิงจรวดไปในอวกาศ การทดลองระเบิดปรมาณู แม้ไม่มี
เจตนาให้รัฐอ่ ืนเสียหาย แต่หากผลของกิจกรรมเส่ียงภัยนัน ้ กอเสียหายแก่รัฐอ่ ืน
รัฐก็ต้องรับผิดเป็ นรับผิดเด็ดขาด เป็ นวิวันาการจากเทคโนฯทางวิทยาศษสตร์
ก่อให้เกิดความรับผิดชอในมาตรการป้ องกันและการชดใช้คาสเยหายอีกด้วย
คำานึงถึงความเส่ียงภัยสูงโดยไม่คำานึงเจตนา และยังคำานึงหลักเกณฑ์ความรับผิด
ท่ีปรากฎในสธิสัญญษด้วย หรือมีข้้อตกลงอย่างใดไว้ก็ต้องปฏิบัติไปอย่างนัน ้
กิจกรรมเสียงภัยได้แก่ เป็ นกิจกรรมท่ีตกใต้การควบคุมดูแลของรัฐ ย้อนถึงหลัก
เกณฑ์ดัง้เดิมว่ากกท.ใดท่รี ัฐต้องรับผิดชอบต้องเป็ นกกท.ของรับ หากเปน
เอกชนแม้เป็ นกิจกรรมเส่ียงภัยก็เป็ นเร่ ืองท่รี ัฐต้องใช้คสม.อย่างดีในการควบคุม
ป้ องกีน จึงจะต้องรับผิด
ต้องเป็ นกิจกรรมท่ีอาจก่อให้เกิดอัตรายข้ามชาติด้วย ภัยข้ามพรหมแดน ด้วย
ต้องเป็ นกิจกรรมท่ีป้องกันภัยล่วงหน้า กล่าวคือ เทคโนฯสมัยใหม่ซ่ึงอาจก่อให้
เกิดภัย รัฐต้องรับผิดชอบป้ องกันภัยล่วงหน้า มีมาตรฐานควบคุมความปลอดภัย
ต้องเป็ นกิจกรรมท่ีก่อเสียหายทางกายภาพ หากไม่มีความเสียหายทางกายภาพก็
อยู่นอกเขความรับผิดชอบของรัฐ
มาตรการในการป้ องกันชดใช้ค่าเสียหาย รัฐมีหน้าท่ีแจ้งภัยหรือให้ข้อมูล ทัง้นีร้ัฐ
มีหน้าท่ีป้องกันไม่ให้ภัยเกิดขึ้น นอกจากนีร้ฐ ั มีหน้าท่ีอนุญาตให้มีการตรวจสอบ
โดยเจ้าหน้าท่ีผู้เช่ียวชาญเพ่ ือป้ องกันภัยท่ีจะเกิดต่อประชาคมโลกนัน ่ เอง
กม.ว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์ของการอ่าน การศึกษากม.องค์การฯ องค์การฯเ ป็นตัวกระทำาการที่สำาคัญ ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ารัฐ
และองค์การฯ ได้มมี ากหลายตั้งแต่สกล(UN) ภูมิภาคเช่นอาเซียน จึงจำาเป็นต้องศึกษาบทบาทขององค์การ
รปท.
องค์การฯ มีความแตกต่างกันมากขึ้นอยู่กับตราสารก่อตั้ง การศึกษากม.องค์การฯ จึงคือการศึกษาลักษณะขององค์
การฯ โดยรวม คือศึกษาลักษณะร่วมนั่นเอง
องค์การฯต้องมีสิทธิและหน้าที่ตามกม.รปท. คือสิทธิและหน้าที่ที่ปรากฎในตัวตราสารก่อตั้งนั่นเอง คือลักษณะ
การศึกษาฯ ต้องพิจารณาตราสารก่อตั้ง เป็นหัวใจในการกำาหนดสภาพ ขอบเขตขององค์การฯ
ต้องศึกษาว่าขอบข่ายของอำานาจหน้าที่ององค์การเป็นอย่างไร
การปฏิบัติหน้าท่ตามขอบข่ายนั้น
การลงคะแนนเสียงในรัฐสมาชิก หลายแบบ แต่ละอย่างมีผลดีผลเสียยังไง ตราสารก่อตั้งได้บังคับไว้อย่างไร เสียง
ข้างมาก เสียงเอกฉันท์ส่วนหนึ่ง เช่นในคณะมนตรีฯ UN ต้องได้รับคะแนนเสียงเอกฉันท์จากสมาชิกถาวร
pre5 จะข้างมากสองในสามหรือธรรมดา ก็แล้วแต่ตราสารก่อตั้งขององค์การรปท.
องค์กรใด ก็มเี รื่องสมัชชา ปกด้วยสมาชิกเต็มจำานวน คมนตรีฯ เหมือนฝ่ายบริหาร เลขาธิการทำาหน้าที่ธุรการ
องค์การรปท.เป็นบุคคลตามกม.รปท. ไม่เป็นบุคคลตามกฎหมายภายใน การเป็นบุคคลตามกม.ภายในเกิดขึ้น
เองไม่ได้ต้องอาศัยกฎหมายภายในด้วย
บ.ผู้ปฏิบัติงานขององค์การฯ จพง. มีเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ตามสนธิสัญญาของ UN เป็นต้น
ศึกษาดูเรื่องแต่ละองค์การเขามีตราสารก่อตั้งอย่างไร ทราบถึงหลักกว้าง ๆ ในกม.องค์การฯ เพื่อเป็นพื้นฐานว่า
หากอยากจะไปดูว่าอาวเซียนเป็นยังไงก็ไปอ่านตราสารก่อตั้งอาเซียน โครงสร้างองค์กร สภาพบุคคล การลง
คะแนนเสีงต่าง ๆ
ข้อสังเกตบางครั้งตราสารก่อตั้งฯไม่ได้ดระบุสภาพบุคคลไว้ หากไม่ได้พูดไว้ คำาถามคือ องค์การฯมีสภาพบุคคล
หรือไม่? สภาพบุคคลย่อมตกติดมากับองคืการฯ แต่เกิดได้เมื่อองค์การฯมีสมรรถนะที่จะปฏิบัติตามเป้าหมาย
หรือวัตถุประสงค์ เช่นระยะเริ่มแรกของอาเซียน กิจกรรมมีน้อยมาก ๆ จึงสงสัยกันว่าอาเซียนจะมีสภาพบุคคล
ไหมเพราะการปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะที่ไม่ได้ปฏิบัติเต็มที่ก็อาจมีการสงสัยว่าอาเซียนมีสภาพบุคคลไหม แม้ใน
ตราสารก่อตั้งฯจะไม่ได้ระบุสภาพบุคคล แต่ต้องถือว่าถ้าองค์การฯไม่มีสภาพบ.ก็ไม่สามารถปฏิบัติอะไรได้ ทั้งนี้
หากไม่มีประสิทธิภาพจะปฏิบัติอะไรเลยก็ไม่มีสภาพบุคคลเหมือนกัน การพิจารณาเรื่องประสิทธิภาพขององค์กร
จะบอกว่ามีสภาพบุคคลตามกม.รปท.หรือไม่เหมือนกัน
องค์การรปท.ท่ีมีอำานาจเหนือรัฐได้คือ europeon union เป็ นลักษณะของ
องค์การรปท.ท่ีมีลักษณะพิเศษไ ม่ได้ตัง้อยู่บนความเสมอภาคของรัฐ แต่อยู่
เหนือรัฐ supranational รัฐต้องเคารภกฎท่ีออกมาโดย eu ถ้าเทียบกับ un
นัน
้ หลักการนีต
้ า่ งกัน เพราะ un ตัง้บนพ้ืนฐานความเสมอภาพและเท่าเทียมกัน
ดังนัน
้ หาก un มรีรัฐใดรัฐหน่ึงไม่ปฏิบัติก็มีศาล eu บังัคับให้สมาชิกต้อง
ปฏิบัติตาม เกม.การฑูต
ในการศึกษาหน่วย๑๐ เรื่องกม.การฑูต นั้น ก่อนอื่นสงสยว่าทำาไมต้องมาเรียน? และเป็นหน่วยที่ปรากฎในวิชา
กม.รปท. ขอให้นึกว่า เมื่อรัฐเป็นนิติบุคคล รัฐต้องดำาเนินความสพ.รปท. บางครั้งเป็นการร่วมมือ เจรจา หากมี
ข้อพิพาท นำาไปสู่การระงับข้อพิพาท สถาบันที่เกี่ยวกับฑูต จึงสำาคัญเพราะ เป็นการดำาเนนิคสพ.รปท.โดย
ตัวแทนทางการฑูต
เพราะรัฐเป็นนามธรรม ต้องมีตัวแทนไปดำาเนินคสพ.รปท. เป็นตัวแทนของรัฐ เขาได้รับการยกย่องมีเอกสิทธิ์ มี
ความคุ้มกัน เป็นจารีตฯตั้งแต่โบราณมาแล้ว มาประมวลเป็นกม.ลายลักษณ์อักษรในอนุสญกรุงเวียนนาว่าด้วย
คสพ.ทางการฑูตและกงสุล
กม.การฑูตคือกม.ที่วางข้อบังคับถึงการปฏิบัติเรื่องต่างๆ สำาหรับผู้แทนทางการฑูตไว้ มีอนุสญกรุงเวียนนา ๖๑
๖๓ หรืออนุสญบางฉบับ
การฑูต ต้องมีบุคคล แบ่งว่า บ.เป็นใครบ้าง? มีการแบ่งประเภทของคณะผู้แทนทางการฑูตประกอบด้วยใคร
บ้าง? ในอนุสญกรุงเวียนนา พูดถึง หน.คณะผู้แทนฯ บ.ในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการ บริการ ครอบครัว คนรับ
ใช้ส่วนตัว ปรากฎในอนุสญกรุงเวีนนาฯ
หน.คณะผู้แทนฯโดยปกติ ได้แก่เอกอัคราชฑูต แต่ในบางปท. ยังไม่ได้ถึงนั้นอาจมีสถานฑูตแต่หน.อยู่ในระดับ
อัคราชฑูตก็มี
ผู้แทนทางการฑูตมีเอกสิทธิ์ และความคุ้มกัน privilege and immunity เอกสิทธิคือสิทธิรัฐ
ผู้รับได้ให้แก่คณะผู้แทนทางการฑูต ให้โดยอัธยาศัยไมตรี รัฐผู้รับฯของรัฐผู้ให้เอกสิทธิก็ ให้ตอบแทนเหมือนกัน
ใช้หลักต่างตอบแทน
immunity นั้น กม.รปท.ระบุไว้ว่าต้องให้ ดังนั้นความคุ้มกันทางการฑูตคือการปลอดจากการจับกุม
เข้าไปบุกรุกสถานที หลักความละเมิดมิได้ในสถานที่ที่เป็นสถานฑูต จะจับกุมบุคคลก็ไม่ได้ เอาไปขึ้นศาลก็ไม่ได้
ฑูต หรือตัวแทนทางการฑูต ไปละเมิดกม.รัฐผู้รับก็ไม่ได้
เน้น เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน...หลักสำาคัญปรากฎในอนุสญกรุงเวียนนามีขึ้นเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
หน้าที่ของผู้ดำารงตำาแหน่งทางการฑูตป็นองค์การที่มีลักษณะพิเศษจนเรียกว่าเป็นสหภาพยุโรป ก็ได้ และก็มีเพียง
อค์การเดียวเท่านั้น
กม.การฑูต
ในการศึกษาหน่วย๑๐ เรื่องกม.การฑูต นั้น ก่อนอื่นสงสยว่าทำาไมต้องมาเรียน? และเป็นหน่วยที่ปรากฎในวิชา
กม.รปท. ขอให้นึกว่า เมื่อรัฐเป็นนิติบุคคล รัฐต้องดำาเนินความสพ.รปท. บางครั้งเป็นการร่วมมือ เจรจา หากมี
ข้อพิพาท นำาไปสู่การระงับข้อพิพาท สถาบันที่เกี่ยวกับฑูต จึงสำาคัญเพราะ เป็นการดำาเนนิคสพ.รปท.โดย
ตัวแทนทางการฑูต
เพราะรัฐเป็นนามธรรม ต้องมีตัวแทนไปดำาเนินคสพ.รปท. เป็นตัวแทนของรัฐ เขาได้รับการยกย่องมีเอกสิทธิ์ มี
ความคุ้มกัน เป็นจารีตฯตั้งแต่โบราณมาแล้ว มาประมวลเป็นกม.ลายลักษณ์อักษรในอนุสญกรุงเวียนนาว่าด้วย
คสพ.ทางการฑูตและกงสุล
กม.การฑูตคือกม.ที่วางข้อบังคับถึงการปฏิบัติเรื่องต่างๆ สำาหรับผู้แทนทางการฑูตไว้ มีอนุสญกรุงเวียนนา ๖๑
๖๓ หรืออนุสญบางฉบับ
การฑูต ต้องมีบุคคล แบ่งว่า บ.เป็นใครบ้าง? มีการแบ่งประเภทของคณะผู้แทนทางการฑูตประกอบด้วยใคร
บ้าง? ในอนุสญกรุงเวียนนา พูดถึง หน.คณะผู้แทนฯ บ.ในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการ บริการ ครอบครัว คนรับ
ใช้ส่วนตัว ปรากฎในอนุสญกรุงเวีนนาฯ
หน.คณะผู้แทนฯโดยปกติ ได้แก่เอกอัคราชฑูต แต่ในบางปท. ยังไม่ได้ถึงนั้นอาจมีสถานฑูตแต่หน.อยู่ในระดับ
อัคราชฑูตก็มี
ผู้แทนทางการฑูตมีเอกสิทธิ์ และความคุ้มกัน privilege and immunity เอกสิทธิคือสิทธิรัฐ
ผู้รับได้ให้แก่คณะผู้แทนทางการฑูต ให้โดยอัธยาศัยไมตรี รัฐผู้รับฯของรัฐผู้ให้เอกสิทธิก็ ให้ตอบแทนเหมือนกัน
ใช้หลักต่างตอบแทน
immunity นั้น กม.รปท.ระบุไว้ว่าต้องให้ ดังนั้นความคุ้มกันทางการฑูตคือการปลอดจากการจับกุม
เข้าไปบุกรุกสถานที หลักความละเมิดมิได้ในสถานที่ที่เป็นสถานฑูต จะจับกุมบุคคลก็ไม่ได้ เอาไปขึ้นศาลก็ไม่ได้
ฑูต หรือตัวแทนทางการฑูต ไปละเมิดกม.รัฐผู้รับก็ไม่ได้
เน้น เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน...หลักสำาคัญปรากฎในอนุสญกรุงเวียนนามีขึ้นเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
หน้าที่ของผู้ดำารงตำาแหน่งทางการฑูต
กฎหมายทะเล
กม.ทะเลรปท.เป็นเรื่องค่อนข้างใหม่ แม้ว่าในอดีตกาล การใช้ทะเลและมหาสมุทรในกิจการของรัฐชายฝั่งจะมีมา
นาน แต่เป็นเพียงจารีตประเพณีชาวเรือที่ยอมรับปฏิบัติสากล เช่นการยอมรับอำานาจอธิปไตยของรัฐชายฝั่งขยาย
จากฝั่ง ๓ ไมล์ทะเล ไม่มีบทบญอนุสญรปท.รองรับ มีผลเพียงใดขึ้นกับกำาลังของรัฐนั้น ๆ โดยเฉพาะ sea
power แนวคิดความมีบทบัญญัติสากล เกี่ยวกับกม.ทะเล เริ่มมีหลัง warI องค์การสันนิบาตชาติเห็น
ความสำาคัญว่าควรมี กม.รปท.ว่าด้วยทะเล ขณะนั้นมีปัญหาหลายอย่าง ปรเด็นสำาคัญคือ ทะเลอาณาเขต สมัยนั้น
ทะเลมีเขตสำาคัญเพียงสองเขตคือ ทะเลอาณาเขต ทะเลหลวง
องค์การสันิบาตชาติ ได้จัดปช.กรุงเฮก ปท.เนเธอร์แลนด์เพื่อพิจารณาบญอนุสญ มีปัญหาว่ารัฐชายฝั่งควรมีความ
กว้างของทะเลอาณาเขตเท่าใด ๒๐ ปท.บอก ๓ ไมล์ทะเลตามจารีตฯแต่เดิม ๘ปท.ไม่ยอมรับหลักการ
ทะเลอาณาเขต อีก ๑๒ ปท.เห็นว่าควรขยายความกว้างเป็น ๖ ไมล์ทะเล บางปท.เห็นว่าไม่ควรกำาหนดเป็นการ
คงที่ ควรให้มีตามความเหมาะสมและความจำาเป็นของรัฐชายฝั่ง ปัญหานี้หาข้อยุติไม่ได้เลยจนองค์การสันนิบาตฯ
หมดสภาพไป เหลือเพียงร่างอนุสัญญากม.ทะเล
เมื่อเริ่มมีการพิจารณาจะบญกม.รปท.ว่าด้วยทะเล เริ่มเมื่อปี ๑๙๔๙ หลังสงคราโลกครั้งทีส่ อง โดย UN ขณะ
เริม่ องค์กร UN ประเด็นคือระบอบ ทะเลหลวง อาณาเขต การประมง เขตต่อเน่อง ล้วนแต่เป็นเร่องสำาคัญ ควรมี
การบัญญัติกม.รปท.เกี่ยวกับเรื่องกายภาพและเขตอำานาจ รวมทั้งเรื่องเทคนิค ชีวภาพ เศรษฐกิจการ ซึง่ ควรมีบญ
ไว้ในกม.รปท.ว่าด้วยทะเล เป็น final report จากการเสนอแนะนี้เองทำาให้เกิดการปช.สหประชาชาติ
ว่าด้วยกม.ทะเลที่กรุงเจนีวา มี ๘๖ ปท.มาประชุม
หัวหน้าคณะผู้แทนของไทย หลวงจักรปรานีฯ การปช.นี้ปรากฎผลเป็นอนุสัญญาสี่ฉบับคือ อนุสญว่าด้วย
อาณาเขต เขตต่อเนื่อง ทะเลหลวง ประมวลและอนุรักษ์สิ่งมีชีวิต ไหล่ทวีป เรียกสี่ฉบับนี้ว่า อนุสญเจนีวาปี
๑๙๕๘
อนุสัญญาสหฯว่าด้วยกม.ทะเล ปี ๑๙๕๘ นี้มีจุดอ่อนมาก ประเด็นสำาคัญคือการไม่สามารถบญ ได้ว่า
ทะเลอาณาเขตมีคามกว้างเท่าใด บทบญ ได้บญเพียงว่า อำานาจอธิปไตยของรัฐขยายออกไปจากเขตพื้นดินและ
น่านน้าภายในของรัฐจนถึงแนวประชิดชายฝั่งของตนเรียกว่าทะเลอาณาเขต โดยไม่ได้บอกว่า กว้างเท่าใด ทำาให้
เกิดการปช.ถัดต่อมา ปห.นี้มาตั้งแต่ปี ๑๙๓๐
ปี๑๙๖๐ ได้ปช.กม.ทะเลที่กรุงเจนีวาครั้งที่๒ ได้พิจารณาความกว้างของทะเลอาณาเขตเรื่องเดียว แต่ยุติไม่ได้
โดยสมาชิกแบ่งสองกลุ่ม กลุ่มหกไมล์อาณาเขต บวกหกไมล์เขตประมง อีกกลุ่มเสนอให้มีทะเลอาณาเขตกว้างสิบ
สองไมล์ เป็นเสียงส่วนมากแต่ไม่ถึง ๒ ใน ๓ จึงไม่สามารถใช้เป็นมติที่ประชุมได้ ดังนั้น จึงคงไว้ตามอสุสญกรุง
เวียนนาตามร่างเดิม ไม่บญเรื่องความกว้างของทะเลอาณาเขต
โดยที่อนุสญ ปี ๕๘ ไม่บรรลุผลเรื่อง ความก้างของทะเลอาณาเขต
ทำาให้มีความสับสนในการใช้อนุสญ ปท.ไทยลงนามเป็นภาคีทั้งสี่ฉบับ และให้สัตยาบันไปแล้ว เมื่อเกิดแนว
ความคิดที่จะให้องค์การ UN จัดตั้ง international seabed unity เกิดจากข้อเสนอแนะว่า
องค์การสหประชาชาติควรให้ทะเลหลวงให้สัมปทาน เพื่อหารายได้เข้าองค์การฯ ซึ่งถือว่ามีทรัพยากรอยู่ก้นทะเล
ส่วนที่เป็นทะเลหลวง เป็น common irritate of man kind เกิดหลักความคิดเขตเศรษฐกิจ
จำาเพาะ ผลักดันให้เกิดการประชุมสหประชาชาติทางทะเลครั้งที่๓
การปช.คั้งที่๓ มีการลอบบี้มากมาย อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกม.ทะเลครั้งที่๓ใช้เวลาถึงสิบปีในการ
ประชุมกัน มีความแตกต่างกับอนุสญเจนีว่าปี ๕๘ เพราะฉบับนี้เป็นฉบับเดียวรวมหัวข้อทั้งหมดไว้ ๓๒๐ ข้อ ๙
ผนวก ครอบคลุมทะเลอาณาเขต ไหล่ทวีป ทะเลหลวง การอนุรักษ์สิ่งมีชีวิต รัฐไร้ฝั่งทะเลฯลฯ การสำารวจ
วิทยาศาสตร์ในทะเล การรระงับข้อพิพาทในทะเลฯลฯ รัฐต่าง ๆ ที่เข้าเป็นภาคีต้องอยู่ใต้บทบัญญัติทั้งหมด
ปี๑๙๘๒ นี้มีปท. เป็นภาคีท่วมท้นรวมทั้งไทย แต่ปัญหาคือ มีปท.อุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้ว มีขีดความสามารถ
รับสัมปทาน ไม่ยอมเป็นภาคีเช่นสหรัฐ โดยอ้างว่า เอาเปรียบผู้ประกอบการมากเกินไป
สำาหรับบทบญของอนุสัญญาเจนีวาปี ๘๒ ที่มีผลต่อไทย คือ เขตเศรษฐกิจจำาเพาะ ทำาให้เรือประมงไทยขาดพื้นที่ที่
เคยใช้ไปมากมาย กลายไปเป็นเขตศก.จำาเพาะของปท.อื่น แต่เราก็ต้องยอมรับเพราะทั่วโลกเขายอมรับกัน
สำาหรับสิ่งทีเกิดขึ้นใหม่ในปี ๑๙๘๒ คือการกำาหนด ความกว้าง๑๒ ไมล์ การใช้หลักเป็นธรรม หลักการรัฐหมู่
เกาะ นิยามไหล่ทวีป ระบอบเกาะ และศาลกม.ทะเล ปท.ไทยัยังไม่ได้ให้สัตยาบันกม.ทะเลปี ๘๒ เลย
กม.ว่าด้วยสัญชาติ และนิติฐานะของคนต่างด้าว
หน่วยท่ี๑๒
ในการศึกษาหัวข้อนีม
้ ี ๒ หัวข้อใหญ่ แยกกัน คือ กม.สญ และกม.คนต่างด้าว
ครอบคลุมกม.รปท.แผนกคดีบค ุ คล การศึกษาสองเร่ ืองนีพ
้ ิจารณาแยกต่างหาก
จากกัน
รัฐมีองค์ประกอบความเป็ นรัฐข้อนึง คือ ประชากร หากรัฐไม่มีประชากรก็ทำาไร
ไม่ได้ ปชก.เป็ นหัวใจสำาคัญอย่งหน่ึงของรัฐ จึงต้องกำาหนดกม.ภายในว่าใครเป็ น
ปชก.บ้าง เคร่ ืองมือทางกม.ท่ีจะระบุคนของตนคือ กม.สัญชาติ ผูกพันบุคคลเอา
ไว้กับรัฐ
เช้ือชาติอาจไม่สำาคัญ บางรัฐมีหลายเช้ือขาติก็มี แต่สามารถรวมกันอยูได้
การศึกษากม.สัญชาติ เป็ นอำานาจของรัฐในการกำาหนดการให้สัญชาติ รัฐต้อง
พยายามหลีกเล่ียงไม่ให้ไร้สัญชาติหรือไม่มีการถอดถอนสัญชาติตามอำาเภอใจ
รัฐแต่ละรัฐกำาหนดกฎเกณฑ์ออกกม.สัญชาติได้เอง การได้รับสัญชาติ มีสอง
สามลักษณะกว้า งๆ
ได้สัญชาติตอนเกิด อาศัยหลักดินแดน กับสืบสายโลหิต ได้สัญชาติหลังเกิดโดย
การสมคสเป็ นต้น
ในปท.ไทย ปั ญหาการได้สช.โดยหลักดินแดน มีข้อยกเว้น มีข้อจำากัดเหมือนกัน
เดิมมี ปว.๓๓๗ ต่อมายกเลิกแก้ไขเพ่ิมเติมเป็ นพรบ.สัญชาติ ๒๕๐๘ กำาหนดว่า
บ.ใดอาจไม่ได้สช.ไทย? เป็ นปั ญหาสำาคัญทีเกิดขึ้นในบ้านเราปั จจุบัน คนบางคน
เกิดมาในแผ่นดินไทย บิดามารดาต่างด้าว แต่คน ุ้ เคยเป็ นไทย ดี พรบ.สัญชาติคง้
องไปให้สัญชาติเขาก็มีกลไกในการแก้ไขปั ญหานีไ้ว้แล้ว มีการพิจารณาการให้
สัญชาติเป็ นการเฉพาะรายตามท่ีกม.กำาหนดไว้
หลักสำาคัญคือ มีความเก่ียวพันกับประเทสไทยมากน้อยแค่ไหน ไม่เป็ นภัยต่อ
ความมัน ่ คงของประเทศ? สมัยเม่ ือปว.๓๓๗ มีภัยเร่ ืองความัน่ คงมากเพราะเรามี
คอมมิวนิสต์ เราก็กลัวว่าจะเป็ นภัยต่อความัน
่ คงไหมเม่ ือมีคนต่างด้าวมาอยู่แถ
บอิสาน แต่ปัจจุบันนี ภ
้ ัยคุกคามคอมมิวนิสต์หมดไป ภัยความมัน ่ คงจึเงป็ นเร่อง
อ่ ืนตามยุคสมัยไป
การได้สัญชาติหลังการเกิดเช่นการแปลงชาติ เข้ามาอยู่เมืองไทยครบเกณฑ์
กำาหนด แต่การแปลงชาติไม่ใช่ว่าจะได้ทันทีตอ
้ งผ่านกระบวนการต่าง ๆ มี
ระเบียบกรมตำารวจ กระทรวงมหาดไทย ในการพิจารณาได้
ลักษณะทีน่าพิจารณาคือสัญชาติของนิติบค ุ คล
ปท.ไทยไม่มีกม.ว่าด้วยสช.นิติบค ุ คล แต่มีกม.บางฉบับพูดว่า เป็ นนิติบ.ไทย
หรือต่างด้าว เป็ นเร่ ืองสิทธิในการเข้ามาประกอบอาชีพในไทยไม่เก่ียวกับสัญชาติ
ไท ยเพราะสัญชาตินิตบ ิ ุคคลนัน
้ ต้องปรากฎว่ามีกม.ระบุว่าให้สัญชาตินิตบิ ุคคล
เกิดความสับสนได้ เข้าไปเจอกม.ใดพูเร่ ืองนิติบ.ต่างด้าว นิตบ
ิ .ไทย ไม่ได้แปลว่า
นิตบิ .นัน
้ ได้สัญชาติไทย ต้องแปลว่าอยูใ่ นความหมายของพรบ.แต่ละแบบ
เท่านัน้ ไม่เหมือนกันไปหมด
เม่ ือได้สัญชาติ ก็อาจถูกถอนสัญชาติ หรือสละสัญชาติ ก็ได้ มีการกลับคืนสู่
สัญชาติก็มี
ในเร่ ืองนิติฐานะของคนต่างด้าวในประเทศไทย ต้องสร้างภาพว่าคนต่างด้าวถ้า
จะเข้ามาในไทยจะเจอด่านอะไรบ้าง ขอวีซ่าเข้าปท.ไทย ตรวจตราวีซ่าเข้าเมือง
ไหม บางปท.ตกลงว่าไม่ต้องมีวีซ๋าก็เข้ามาได้ บางปท.ไม่ได้ ต้องมีวีซ่า หรือใน
ปั จจุบันนี้ eu ก็มีวิซ่าพิเศษพิสดารออกไปอีก เม่ ือคนต่างด้าวเข้ามาแล้ว วีซ่า
เป็ นเคร่ ืองบ่งบอกว่าเข้ามาทำาอะไร ถ้าเข้ามาเท่ียวก็เป็ นแบบนักท่องเท่ียว มี
กำาหนดวัน ขาดอายุ? ด่านแรกท่ีสำาคัญคือคนเข้าเมืองมาทำางานแล้วก็มีพรบ.
สำาคัฐสองอัน คือว่าด้วยการประกอบธุรกิจคนต่างด้าว และการทำางานคน
ต่างด้าว
เป็ นอำานาจของกระทรวงพาณิชย์ในการควบคุมธุรกิจของคนต่างด้าว นิตบ ิ .ใด
เป็ นต่างด้าว เป็ นไทย พิจารณาจากพรบ.ท่ีเกียวข้อง ส่วนกม.ว่าด้วยการทำางาน
ของคนต่างด้าวเร่ ืองของกระรวงแรงงงาน จะเข้ามาทำางานในปท.ไทยได้ไหม โดย
หลักได้ เว้นแต่บางวิชาชีพ ท่ีทำาไม่ได้ประมาณ ๓๗ วิชาชีพท่ท
ี ำาไม่ได้ สงวนไว้
สำาหรับคนชาติ แตต้องขอใบอนุญาติการทำางานจากอธิบดีเสียก่อน คนต่างด้าว
จะถือกรรมสิทธิในท่ีดินได้หรือไม่ ขณะเดียวกัน จะถือสิทธิในคอนโดหรือห้อง
ชุดได้หรือไม่
สิทธิของคนต่างด้าวตามกม.มหาชน ตามกม.เอกชนต่างกันไหม เราต้องมีการ
ปฏิบัติเขาคือ minimum standard ไม่ปฏิเสธความยุติธรรมแก่เขา เข้าสู่
ระบบศาลได้ ไม่งัน
้ เกิดความหมองหมาง ใช้ diplomation protection อาจ
มีข้อตกลงระหว่างประเทศเก่ียวกับการคุ้มครองการลงทุนก็มี
หลักเกณฑ์ทัว่ไปเก่ียวกับการขัดกันแห่งกม.และพรบ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกม.
ในการศึกษาหน่วยท่ี ๑๓ หลักเกณฑ์ทัว่ไปว่าด้วยการขัดกันแห่งกม.และพรบ.
ว่าด้วยการขัดกันแห่งกม.
มีสองประเด็น คือหลักทัว่ไป และพรบ.
ในเร่ ืองการขัดกันฯเป็ นเน้อ
ื หาท่ีสำาคัญของกม.รปท.แผนกคดีบุคคล
ในความเข้าใจ ? ทำาไม เขาถึงได้ออกแบบให้เรียน การขัดกัน? เพ่ ือ? ในโลกเรา
นีถ
้ า้ ไม่มีองค์ประกอบต่างชาติ การทำาความสัมพันะจะตกใต้กม.ไทย หรือกม.
ของรัฐนัน ้ ๆ ท่ีไปอยูต
่ ามหลักดินแดน
ปั จจุบันนี ม ้ ี ความสัมพันธ์ท่ีมีอปกต่างชา
เกิด หากเป็ นคนต่างชาติเกิดในประเทศไทย หรือคนไทยไปเกิดต่างปท. การ
สมรสก็เช่นกัน การตาย การรับมรดก ท่ีต่างปท. การแบ่งมรดกทำาไงหากมีอ
ปก.ต่างชาติ
ใช้พรบ.ขัดกันฯ มาปั บใช้ เป้ าหมายแรกคือว่ พรบ.ขัดกันฯ มีเพ่ ือหากม.ท่ีเหมาะ
สมมาใช้บังคับ การจะรู้ว่ากม.ใดเหมาะ ก็ต้องไปดูกม.ภายในของแต่ละปท.ว่าเขา
ให้ใช้กม.ปท.ใดบังคับ เช่น การบรรลุนิติภาวะ ของบุคคล ไทย๒๐ อเมริกัน ๑๘
แต่คนไทยไปอยุ่อเมิรกา จะเถียงสถานะทางแพ่งควรถือตามกม.ใด ก็ต้องมาดู
พรบ. ขัดกัน ศษลไหนศษลนัน ้ ก็อาจพบคำาตอบว่า
สถานะบ.เป็ นไปตามกม.สัญชาติ ก็ต้องมาดูกม.ภายในของไทย
หลัก๑ .ต้องเป็ นคสพ.ทางแพ่งและพาริชย์
๒. ต้องเป็ นคสพ.ระดับของเอกชน ไม่ใช่ระหว่างรัฐ
๓. ต้องมีอปก.ต่างชาติ คือว่า จะต้องไม่ตกใต้กม.ปท.เดียว แต่ตกใต้กม.หลายๆ
ปท.โดยมีจุดเกาะเก่ียว เช่นสถานท่ี สัญชาติ ภูมิลำาเนา ถ่ินท่ีอยู่ สถานท่ีสมรส
เป็ นเหมือนเบ็ดไปเก่ียวเอากม.ปท.ตร่าง ๆ มาเก่ียวข้องกัน ถ้ามีองค์ประกอบ
ต่างชาติส่ิงหน่ึงท่ีศาลต้องพิจารณาว่า กรณีนีจ้ะใช้กม.ของปท.ใด บ้าง คือเป้ า
หมายของการศึกษา พรบ.ขัดกันฯ เป็ นขัน ้ ต้อนท่ียุ่งยาก เข้าใจลำาบาก
ส่ิงท่ีน่าพิจารณาต่อไป ในพรบ.ขัดกันฯ เป็ นเร่ ืองของกม.ไทย เพราะงัน้ พรบ.
เป็ นเค่ ืองมือศาลไทยหรือทาย หากคูก
่ รณีประสงค์จะให้ศาลนำากม.ตปทมาก็ต้อง
หยิบยกและพิสูจนให้ศาลเห็น ม.๘ เขียนไว้ชัด ไม่งัน ้ ให้ใช้กม.ภายในของสยาม
พรบ.ขัดกันฯจะลอกเลียนหรือเลียนแบบ ลักษณะแพ่ง หนี บ ้ ุ คคลนิติกรรม
หนีจ้ากมูลสัญญาก็จะเขียนไว้ชัด ว่าสญรปท. กม.ปท.ใดบังคับ
โดยหลัก พรบ.ขัดกันฯ ระบุไว้ชัดว่า ศาลจะไม่นำาเอากม.ตปท.มาใช้หาดขัดความ
สงบฯ เห็นได้ว่า ศษลจะไม่นำาเอากม.ตปท.มาใช้หากขัดฯไทย
กม.ว่าดวยความสงบฯ เป็ นกม.มหาชน ท่ีรัฐประสงค์ให้เอกชนปฏิบัติตาม เป็ น
vertical enforcement ต่างจากกม.แพ่งและพาณิชย์
ความสงบฯ ศีลธรรมฯ อันดีของประชาชน ในพรบ.ขัดกันฯ นี ใ้ห้อำาจศาล เราไม่
อาจบ่งบอกได้ชัดว่าเร่ ืองใดบ้างเพราะเป็ นส่ิงท่ีให้อำานาจศาลเป็ นดุลยพินิจศาล
กว้าง ๆ
ความรับผิดชอบของรัฐมีหลักเกณฑ์อย่างไร ความรับผิดเด็ดขาดหมายความว่า
อย่างไร
การรับผิดชอบของรัฐเป็ นกระบวนการของการบังคับใช้กม.รปท. ถ้าใน
กม.ภายใน เวลาบังคับใช้กม.เป็ นไปโดยองค์กรของรัฐเช่นกระบวนการศาล
กระบวนการยุติธรรม มีตำารวจ มีศาล มีราชฑัณฑ์ แต่ในกม.รปท.ไม่มีองค์กร
แบบนัน้
แม้แต่ศาลโลกหรือศาลยุติธรรมรปท.ก็เป็ นเพียงองค์กรของ UN ปท.ท่ีจะถูก
ฟ้ องต้องเป็ นปท.ท่ียอมรับเขตอำานาจก่อน
ท่ีมาของกม.รปท.ก็มาจากรัฐนัน ่ เอง รัฐปฏิบัติตอ ่ กันมาเร่ ือยๆเกิดเป็ นจารีต
แสดงเจตนารมณ์เกิดสนธิสัญญาระหว่างกัน หรือมาจากหลักกม.ทัว่ไป จนแนว
คำาพิพากษาของศาล การท่ีรัฐยอมปฏิบต ั ิตามส่ิงท่ีเป็ นกม.รปท.ไม่ว่ามาจากบ่อ
เกิดไหนแต่พอเลยจากขัน ้ สมัครใจ รัฐใดรัฐหน่ึงละเมิดไม่ปฏิบัติตามกม.รปท.ก่อ
เสียหายต่อรัฐอ่ ืนก็เกิดความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบฯจึงเป็ นกลไกหน่ึงของ
การบังคับให้เป็ นไปตามกม.รปท. ไงก็แล้วแต่ หลักเกณฑ์ท่ีรฐ ั รับผิดชอบฯ มี
กรอบคือต้องเป็ นการกระทำาของรัฐ หรือโอนมาเป็ นการกระทำาของรัฐได้ ต้อง
เกิดจากการกระทำาผ่านองค์กรท่ท ี ำาหน้าท่ีเป็ นตัวแทน เช่นผ่านทางนิติบัญญัติท่ี
ไปทำาให้เกิดเสยหาย หรือทาสงศาล เช่นปฏิเสธความยุติธรรมไม่บังคับคดีให้
หรือมีการหน่วงเหน่ียวในการดำาเนินคดีเล่ ือนนัดไปเร่อยหรือทางบริหารเช่น
ตำารวจจับนักท่องเท่ียวท่ีไม่มีความผิด กล่าวได้ว่าการทีรัฐรับผิดชอบได้ต่อเม่ ือ
เป็ นการกระทำาของรัฐกระทำาผ่านองค์กรหน่วยานของรัฐ ในทางกม.รปท.รวม
ถึงบุคลากรเจ้าหน้าทีรัฐแม้ไม่ได้ทำาหน้าท่ี แต่โดยทางปฏิบต
ั ิเห็นได้ว่าทำาในนาม
ของรัฐ
เช่น ตำารวจ แต่งในเคร่ ืองแบบไปยัดยาบ้า มีเคร่ ืองหมายมีเคร่ ืองแบบ เม่ ือคน
ต่างด้าวได้รบั ความเสียหายแม้ทำาส่วนตัวรัฐก็ต้งอรับผิด ส่ิงสำาคัฐอีก คือนอกจาก
การกท.ของรัฐแล้ว หากเป็ นการกท.ว่ึงไม่ใช่รัฐเช่นปฏิวัตริ รัฐประหารเกิดเสีย
หายแก่คนต่างด้าว หรืเป็ นการกระทำาของเอกชนเช่นเดินขบวนประรท้วงก่อเสีย
หายแก่คนต่างชาติ โดหยลักการ รบ.ต้องดำาเนินการ ต้องใช้กำาลังคสม.เต้มท่ีใน
การปราบปรามก่อน ถ้าไม่ได้ใช้คสม.อ่างนัน ้ เช่นน่ิงเฉย เช่นเขมรปล่อยให้ปชช.
เผาโรงแรมไทย เกิดสห.แก่ภาคเอกชนไทยจริงๆใม่ใช่เป็ นเร่ ืองกกท.ของรัฐ แต่
รัฐไม่ได้ใช้กำาลังเต็มทีในการเข้าป้ องกันปราม ดังนัน ้ เม่ ือเกิดเสียหายแก่คนไทย
รบ.เขมรก็ต้องรับผิดชอบด้วยเ ป็ นหลักเกณฑ์เร่ ืองความรับผิดชอบของรัฐ เพ่ ือ
ให้ประชาคมโลก เม่ ือกท.ผิดกม.รปท.ต้องรับผิดเทากับเป็ นการบังับให้มก ี ารปฏิ
บติตามกม.รปท. อย่างไรเรียกว่าฝ่ าฝื น้อดว่าส่ิงทีกระทำาฝ่ าฝื นไง เช่นเป็ นการ
ละเมิด ฝ่ าฝื นพันธกรณี หรือละเมิดพันธกรณรีภายใต้สนธิสญแล้วยงไม่ปฏิบัติ
ตาม จนก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐคู่ภาคี รัฐก็ต้องรบผิด
ความรับผิดเด็ดขาดหมายความว่าอย่างไร? ควมรับผิดเด็ดขาดคือแม้รัฐไม่ได้
กระทำาด้วยความจงใจเพือก่อเสียหายโดยเจตนาร้ายหรือเจตนาทุจรริตก็ตาม แต่
ยังไงก็แล้วแต่รัฐต้องรับผิดอยู่ดี แต่ว่าส่วนนีใ้ช่ว่าต้องรับผิดทุกกรณีไป หมาย
ถึงว่าส่ิงเหล่านัต
้ ต้องรับผิดต่อเม่ ือกกท.เป็ นกกท.ก่อให้เกิดลต่อปท.ท่ีกระทำา
แต่ก่อใหเกิดเสียหายต่อรัฐอ่ ืน โดยเฉพาะอย่งย่ิงการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ท่ี
มีอัตราย มีปท.เพ่ ือนบ้านหรือปท.ท่ีได้รับผลของการทดลอง ก่อให้ชาวบ้านเป็ น
โรคมะเร็งบ้างหรือทำาให้บ้านเรือนเสียหาย ปท.ท่ีลดลองนิวเคลียร์ต้องรับ ้ ผิดเด็ด
ขาดแม้ไม่มีเจตนาร้ายก็แล้วตแ ตรงนีต ้ ้องประกอบเกิดจากการกระทำาเพียงแต่ว่า
จะจงใจโดยเจตนาร้ายหรือไม่ได้จงใจแต่ผลเกิด
แต่ถ้าสุดวิสัยก็ไม่ต้องรับผิด เช่นปท.ไทยเราเขือ่นสร้างแข็งแรงดี แต่ต่อมาเกิด
แผ่นดินไหวหรือสึนามิแผ่นดินแยก เป็ นเหตุสุดวิสัยน้ำาในเข่ ือนทะลักลันท่วม
พืชสวนถึงประเทศเพ่ ือนบ้นเช่นลาว พม่า ไม่ได้เกิดจากการกระทำาของรัฐหรือ
มนุย์หรือท่รี ัฐต้องรับผิด เป็ นเร่ ืองเหตสุดวิสัย เร่ ืองความรับผิดชอบของรัฐมีข้อ
ยกเว้น
กับอีกประการก็คอ
ื กรณีป้องกัน
คำาว่าการยุติข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการคืออะไร ???? และสำาคัญมากไหม
เด๋ียวนีอ
้ นุญาโตฯ ถูกนำามาใช้ทุกระดับ เดิมที เป็ นกลไกในการยุติข้้อพิพาท
ในทงรปท. หรือระหว่างปั จเจก ซ่ึงกลไกนีท ้ ำาให้การยุติข้อพิพาทดำาเนินสะดวกดี
สำาหรับการยุติข้อพิพาทโดยอนุญาโตฯ ไม่ใช่กระบวนการทางศาล หากมีปท.คู่
กรณี ซ่ึงมีข้อพิพาทระหว่างกันแต่ไม่อยากนำาคดีขึ้นศาล ซ่ึงอาจมีกระบวนการ
ยืดเย้ือมีการกระทบกระทัง่กันก็อาจใช้วิธียุตโิ ดยอนุญาโตฯ รัฐคู่พิพาท แต่งตัง้
หรือมีฝ่ายท่ีสาม ทำาหน้าท่ีเป็ นอนุญาโตฯ คัดเลือกโดยรัฐสองฝ่ ายท่ีพิพาท ว่าน่า
เช่ ือถือไม่เข้าข้างฝ่ ายใด ตัวอนุญาโตฯจพะพิจารณาจากข้อเท็จจริงีเกิดส่วนใหญ่
พยายามสอบถามถึงความต้องการแต่ละฝ่ ายฝ่ าปั ญหาเกิดจากอะไร แต่ละฝ่ าย
ต้องการอะไร แล้วอนุญาโตฯ ชีข้าด ซ่ึงมีผลของการชีข้าดเรียกว่ คำาชีข้าด
อนุญาโตตุลาการ abritatio award ไม่ใช่ judgement เพราะไม่ใช่
กระบวนการทางศาล ทีนี ผ ้ ลของอนุญาโตตตุลาการ เน่ ืองจากเป็ นเร่ ืองการ
แสดงเจตนา คือคู่พิพาทยินดีท่ีจะแสดงเจตนารมณ์นำาเอาข้อพิพาทเสนอต่ออนุ
ญาโตฯ โดยปกติ ผลของคำาชีข้าดอนุญาโตฯ ฝ่ ยท่ียินดีรบ ั หรือยอมเอาข้อพิพาทสู่
อนุญาโตฯ ก็จะปฏิบัติตามคำาชีข้าดนีอ ้ อกมา
ทำาไมมีความสำาคัญมากขึน้ ? ปั จจุบันได้พัฒนาถึงขัน
้ ท่น
ี ำามาใช่ระหว่างรำฐต่อรัฐ
เอกชนต่อเอกชน รัฐต่อเอกชน โดยเฉพาะในสนธิสัญญาความตกลงรปท.ด้าน
เศรษฐกิจ เช่นการค้าการลงทุน รปท.จะระบุไว้เลย ว่า อนุญาโตฯ เป็ นกลไก
สำาคัญในการยุติข้อพิพาท
ทำาให้การยุติข้อพิพาทรวดเร็ว และได้ดึงเอาความต้องการของแต่ละฝ่ ายมา ทำาใน
ทางลับได้ ไม่ต้องนำาเสนอต่อท่ีสาธารณะเหมือนกรณีศาลโลก
อธิบาย "เอกสิทธิ "์ และ "ความคุ้มกัน" ทางการฑูต ต่างจาก "การคุ้มครองคน
ชาติทางการฑูต" อย่างไร
สรุปให้ฟังเลยว่า คำาว่า เอกสิทธิแ์ละความคุมกันเป็ นเร่ ืองของรัฐผู้รับฑูต กับรัฐผู้
ส่งฑูต เพ่ ืออำานวยคามสะดวกให้ฑูตทำางานได้ เอกสิทธิค์อ ื มีสิทธิพิเศษ ความคุ้ม
กันคือฑูตได้รบ ั ความคุ้มกันด้านกม. เอกสิทธิน ์ ัน
้ รัฐผู้รบ
ั ฑูต ให้กบ ั ตัวฑูต เพียง
รัฐท่ีรบ
ั ฑูตเขาไม่บังคับใช้กม.แก่ฑูตให้ฑูตสามารถบริโภคเอกสิทธิไ์ม่ฟ้องร้อง
ดำาเนินคดี ไม่ปรากฎในศาลในฐานะพยาน ส่วนความคุ้มกันเป็ นเร่ ืองของรัฐผู้ส่ง
เป็ นจารีตฯว่ารัฐผู้ส่งบริโภคความคุ้มกันทางการฑูตให้ฑูต ไม่ให้ตกใต้อำานาจ
อิทธิพลใด ๆ มีมล ู ฐานจากการท่ีเพ่ ือให้ฑูตสามารถทำางานได้ เดิมวิวัฒนาการมา
จากฑูตเป็ นตัวแทนพระเจ้า กษัตรยิ ท ์ ้ายสุดคือ ฑูตได้รบ ั บริโภคเอกสิทธิและ
ความคุ้มกันก็เพ่ ือประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ี ผู้มีไม่ใช่ตัวฑูต แต่เป็ นรัฐผู้รับ ้
กับผู้ส่ง ผูท
้ ่ีสละสิทธินัน
้ ได้ ก็คือรัฐเท่านัน
้ ไม่ใช่ตัวฑูต
ความคุ้มครองคนชาติทางการฑูต อาจเข้าใจว่า คุ้มครองคนชาติทางการฑูตคือคุ้ม
ครองฑูตซ่ึงไม่เหมือนกัน เป็ นเร่ ืองคุ้มครองเอกชนธรรมดา ตามหลักกม.รปท.
รัฐทุกรัฐต้องให้ความคุ้มครองคนชาติของตนไม่ว่าไปอยูท ่ ่ีไหนรัฐก็จะเอ้อ
ื มมือไป
ให้ความคุ้มครอง เป็ นช่องทางทางการฑูต โดยวิธท ี างการฑูต เป็ นอำานาจเด็ดขาด
ของรัฐ บ.ท่ีได้รับความคุ้มครองต้องอยู่ในสังกัดของรัฐนัน้ ด้วย อาจมีปัญหาหาก
มีหลายสัญชาติ ต้องหาสัญชาติท่ีผูกพันท่ีสุด หรือมีกรณีไร้สัญชาติ หรือในกรณี
ท่ีไม่สามารถดูได้ว่ามีสัญชาติใด ซ่ึงก็มีเกณฑ์ในการพิจารณา อีกที จะช่วยให้รัฐท่ี
ให้การคุ้มครองทำาหน้าท่ีได้
ต้องดูว่าบ.มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับรัฐใดมากทีสุด
การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล และ การยอมรับและบังคับตามคำาพิพาษาของศาลต่างประเทศ
การขัดกันฯ ไม่ได้หมายความว่า กม.ภายในที่เกี่ยวกับเขตอำานาจศาล แต่ละประเทศต่างกัน แต่หมาย
ถึง กม.ภายในแต่ละประเทศจะบัญญัติเกณฑ์เกี่ยวกับเขตอำานาจศาลในคดีที่มีองค์ประกอบต่างชาติ
เอาไว้เพื่อหลีกเลี่ยงการซำ้าซ้อนเขตอำานาจศาล และกำาหนดเขตอำานาจศาลที่เกียวกับองค์ประอบต่าง
ชาติ
กม.ขัดกันเขตอำานาจฯ คดีองค์ประกอบต่างชาติจะฟ้องร้องที่ศาลปท.ใด?
การยอมรับคำาพิพากษาของศาล ปกติอธิปไตยแต่ละปท.มีเหนือเขตแดนตน โดยหลักไม่ก้าวล่วง
ยอมรับคำาพิพาษาศาลตปท. แต่ความจริงเลี่ยงไม่ได้เลยที่บุคคลของคนปท.ต่าง ๆ ข้ามไปมาแต่ละ
ประเทศ การมีคดีความในศาลหนึ่ง โดยอาศัยคำาพิพาษาของศาลอีกปท.หนึ่งจึงเลี่ยงไม่ได้ ปท.ต่าง
ๆ ได้ตกลงร่วมมือกันในการยอมรับคำาพิพาษาของศาลต่างประเทศ เพื่ออำานวยความสะดวก คนของ
ตนอาจต้องบังคับใช้คำาพิพาษาในปท.อื่น
การขัดกันเขตอำานาจฯ แนวคิดหลักเกณฑ์ ปัญหา คำาพิพาษาเกี่ยวกับเขตอำานาจศาลไทยที่มีองค์
ปก.ต่างชาติ ไทยจะยึดหลักใด?
ปท.ใดปท.หนึ่งอาจมีการร่วมมือกันทางด้านศาล และเราจำาเป็นต้องหาศาลที่สามารถดำาเนินคดีใน
คดีนั้นแต่เพียงศาลเดียว หาดำาเนินคดีหลายศาล คำาพิพาษาคดีเดียวกันอาจไม่เหมือนกัน เกิดความลัก
ลั่นได้

การขัดันแห่งเขตอำานาจศาลมีวัตถุประสงคกำาหนดเขตอำานาจศาลในคดีแพ่ง ที่พิพาทระหว่างปัจเจก
ไม่ใช่เป็นเรื่องของรัฐ หรือในคดีอาญา ซึ่งต้องเน้นขีดเส้นใต้ไว้ห้าร้อยเส้น ว่า นศ.มักสับสน
ระหว่างเขตอำานาจรัฐตามหน่วยที่๓ ซึ่งเป็นเรื่องของภาคมหาชน (คดีเมือง) มาสับลสนกับเขต
อำานาจศาลในคดีบุคคลหน่วยที่๑๔ หน่วย๑๔ นีเ้ ป็นเรื่องคดีแพ่งระหว่าง ปัจเจกชนไม่ใช่ระหว่างรัฐ
สว่นสเขตอำานาจรัฐในหน่วยที่๓ เป็นเรื่องคสพ.ระดับรัฐ
การขัดันเขตอำานาจศาลจะไม่ก้าวก่ายคดีอาญาเลย มีแต่แพ่งพาริชย์เท่านัน
คสพ.ในเรื่องการร่วมมือยอมรับคำาพิพากษาศาล ในทางรปท.ได้มีการตกลงหลายอนุสัญญา ข้อตก
ลงได้แ ก่อนุสัญญาว่าด้วยการปรับใช้กมและการยอมรับคำาพิพากษาของศาลมีหลายอนุสัญญา
ดังนั้น ต้องสรุปอีกครั้งว่าเรื่องของารขัดกันแห่งเขตอำานาจศาลกับการขัดกันแห่งกม.แตกต่างกัน
การขัดกันแห่ง กม. นัน้ หากม.มาบังคับคดี ส่วนการขัดกันเขตอำานาจศาลเป็นเรื่องหาศาลที่มีอำานาจ
พิจารณาคดี
เช่น ดำารงขับรถชนนายคำาอ้วนที่ลาว นี่มีทั้งเรื่องเขตอำานาจและเรื่องของกม.ขัดกัน คือเรื่องเขต
อำานาจ ต้องดูวา่ จะฟ้องดำารงที่ศาลไทยหรือศาลลาว หากว่านายดำารงถูกฟ้องที่ศาลไทย ศ.ไทยก็จะ
พิจารณาตามปวพ. ว่าศาลไทยมีเขตฯเหนือไหม? เกณฑ์ในการกำาหนดเขตอำานาจศาลมีไงบ้าง
เนื่องจากดำารงสัญชาติไทย ศาลก็มีเขตอำานาจรับฟ้องคดีนี้ แล้วจะเอากม.อะไรมาบังคับ เพราะคดี
ชนกันเป็นละเมิด การเรียกร้องให้รับผิดความเสียหาย เรื่องกม.ขัดกันบอกว่า หนี้ อันนี้ ในทางแพ่ง
จากการทำาละเมิด มูลละเมิดเกิดที่ลาว กม.ที่จะบังคับใช้ก็เป็นกม.ของปท.ที่ความผิดเกิด

อันนึงเป็นเรื่องการกำาหนดเขตอำานาจศาลที่บังคับเหนือคดี อีกกรณีคือการนำากม.ที่บังคับแก่คดีมา
ปรับใช้ ต้องดูให้ดีอย่าสับสนเพราะสับสนระหว่างเขตอำานาจขัดกัน และหลักกฎหมายขัดกัน

หลักการสำาคัญในการบัญญัติกฎเกณฑ์ว่าด้วยการขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล
๑.การกำาหนดเขตฯ ต้องสอดคล้องกับหลักเขตอำานาจรัฐ และเขตอำานาจในคดีแพ่ง ที่พัวพันกับองค์
ประกอบต่างชาติที่มีจุดเกาะเกี่ยวใกล้ชิดกับรัฐนัน้ ๆ
ทำาไมเขตอำานาจศาลในคดีแพ่งต้องสัมพันธ์กับเขตอำานาจรัฐทางคดีเมือง รัฐมีอำานาจเหนือเขตแดน
เหนืออธิปไตยตามหลักดินแดน ดังนัน้ เขตอำานาจรัฐต้องสอดคล้องกับเขตแดน เช่น เขตอำานาจรัฐ
ตามหลักสัญชาติ เขตอำานาจรัฐตามหลักดินแดน เอาสัญชาติมาเกาะเกี่ยวให้สัมพันธ์กับรัฐ

ปอ.ม.๔ การกระทำาความผิดใดในราชอาณาจักร อยู่ในอำานาจของปท. มาจากหลักกม.รปท.ใน


เรื่องอำานาจรัฐตามหลักดินแดน
ปอ.ม.๔วรรคสองการกระทำาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทยไม่ว่าจอด ณ ทีใ่ ด ให้ถือว่า
กท.ผิดในราชอาณาจักรไทย เอาสัญชาติของเรือ อากาศยานมาเป็นจุดเกาะเกี่ยว
เราจะเห็นว่าหลักดินแดนเป็นหลักหนึ่งในการกำาหนดเขตอำานาจศาล หรือหลักสัญชาติก็เอามูลฐาน
ของอำานาจรัฐมากำาหนดเขตอำานาจศาลเช่นกัน

เขตอำานาจศาลเป็นเรื่องการใช้อำานาจฝ่ายตุลาการ เป็นการใช้อำานาจอธิปไตยลักษณะหนึ่ง ในทาง


ศาลทางระหว่างประเทศ

การใช้อำานาจรัฐ หรือ state jurisdiction คือการใช้อำานาจรัฐภายในและภายนอก


ในคสพ.รปท. เช่นกรณีหลักเขตแดน เขตอำานาจฯภายในหลักเขตแดนมีข้อยกเว้น ไม่ใช้กับบุคคล
บางประเภท เช่นฑูต หรือกลสุง หรือบุคคลที่ทำางานในองค์การระหว่างประเทศ แต่ยังคงต้องปฏิบัติ
ตามและเคารพกม.ภายในเพียงแต่ได้รับเอกสิทธิและความคุ้มกัน เพราะเขาบริโภคเอกสิทธิ์และ
ความคุ้มกัน อีกกรณีได้ใช้เขตอำานาจรัฐแม้อยู่นอกอธิปไตยหรือเขตแดน โดยผลของการกระ
ทำา(effect doctrine) กระทำาผิดนอกราชฯ ผลเกิดในราชฯ บัญญัติในปอ. เป็นการใช้เขต
อำานาจรัฐแม้นการกระทำาอยู่นอกดินแดนแต่ผลของการกระทำาเกิดในดินแดน เช่น การกระทำาความ
ผิดบางส่วน นอกราชฯ แต่มีผลในราช ฯ ปรากฎในม.๕ ปอ.

หรือกม.นโยบายของรัฐ competition law and policy ในประชาคมยุโรป เป็นเรื่อง


การใช้อำานาจรัฐนอกราชฯ

หลักสำาคัญ ในกฎเกณฑ์การขัดกันของเขตอำานาจศาล โดยปกติรัฐใช้อำานาจผู้เดียว exclusively


fully without any condition คือรัฐสามารถใช้อำานาจเหนือบุคคล คนชาติ และคน
ต่างด้าวในดินแดนตน ส่วนการใช้อำานาจภายนอกคือรัฐมีอำานาจอิสระดำาเนินความสัมพันธ์กับรัฐ
อื่น ในฐานะมีอธิปไตยเด็ดขาด

ทฤษฎีการใช้อำานาจรัฐเหนือดินแดน territorial/personal jurisdiction หรืออาจใช้


ตามหลักป้องกัน protective jurisdiction ความผิดบางประเภทที่มีผลต่อความมั่นคงของ
รัฐ รัฐก็มีอำานาจอธิปไตยไปจัดการ และหลักสากล universal jurisdiction เช่นความผิด
ฐานโจรสลัด จี้เครื่องบิน ฉ้อโกงระหว่างประเทศ ส่วนหลักการใช้เขตอำานาจ ศาลก็มีเขตอำานาจ
พิจารณาคดีที่มีมูลคดีเกิดในเขตตน ศาลยังมีเขตอำานาจเหนือดินแดนต่อบงคนชาติ คนต่างด้าวที่มี
ภูมิลำาเนา จะเป็นได้ว่า ปวพ.กำาหนดไว้ในม.๔ ว่า บ.ที่สามารถอยู่ใต้เขตอำานาจศาล คือมีสช.ไทย
หรือมีภูมิลำาเนาในปท.ไทย คือยึดหลักดินแดน มายึดโยง

ศาลมีเขตอำานาจเหนือคนชาติตน แม้มูลคดีเกิดนอกดินแดนตน ตามม.๔ตรีปวพ. คำาฟ้องอื่น


นอกจาก๔ทวิ ซึ่งจำาเลยมิได้มีภูมิฯใน และมูลฯมิได้เกิดในราชฯ ถ้าโจทก์มีสช.ไทยหรือมีภูมิฯใน
ให้เสนอต่อศาลแพ่งหรือศาลที่โจทก์มีภูมิลำาเนาในเขตศาลนั้น

หลักการใช้เขตอำานาจรัฐ : การใช้เขตอำานาจรัฐเหนือดินแดน ให้หมายรวมถึงเหนือเรือหรือ


อากาศยานชักธง หรือจดทะเบียนในปท.น้น ตามม.๙๒ อนุสญ
ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยกม.ทะเล
หรือ tokyo convention 1063
เกณฑ์การพิจารณาเขตอำานาจของศาลไทยในคดีที่พัวพันกับตปท. คดีนั้นต้องเป็นคดีแพ่งและ
พาณิชย์เท่านั้น พิพาทกันระหว่างเอกชนภายใตกม.รปท.แผนกคดีบุคคล ต้องเป็นบุคคลหรือ
นิติบุคคลไม่ใช่รัฐ ต้องเป็นคดีแพ่งและมีองค์ประกอบต่างชาติ คือคู่พิพาทมีความเกี่ยวพันทางรปท.
เช่นทั้งคู่ ต่างสช.กัน ภูมิฯ ต่างกัน หรือเหตุเกิดต่างปท. คดีเหล่านี้เรียกว่ามีองค์ประกอบต่างชาติ
foreign elements

ภูมิลำาเนา สถานที่ที่ตั้งทรัพย์ สัญชาติโจทก์ มูลคดีเกิด สนง.ใหญ่ เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณา


เขตอำานาจศาลไทย

เมื่อยึดจุดเกาะเกี่ยว ต้องพิจารณาระดับความใกล้ชิดหรือจุดเกาะเกี่ยวที่ใกล้ชิด เช่นมีหลายสัญชาติ


ลำาดับต่างกัน เป็นบ.หลายสช.ได้สช.มาโดยลำาดับ หรือมีหลายสช.ขณะเดียวกัน (เช่นลูกมีสอง
สช.)
หลักเกณฑ์สัญชาติโจทก์ ยัมีภูมิลำาเนาจำาเลย ปวพ.ม.๔ บญเขตอำานาจศาลว่า คำาฟ้องให้เสนอต่อศาล
ที่จำาเลยมีภูมิฯ หรือต่อศาลที่มูลฯเกิดในเขตศาลไม่ว่าจล.จะมีภูมิในฯหรือไม่ โดยยึดภูมิลำาเนาเป็น
เกณฑ์ คำาร้องขอให้เสนอต่อศาลที่มูลคดีเกิดหรือ ต่อศาลที่ผู้ร้องมีภูมิฯ

หลักเกณฑ์ภูมิลำาเนาจำาเลยนั้นสมเหตุสมผลมากเพราะย่อมบังคับเอากับจำาเลย ง่ายต่อการบังคับยึด
ทรัพย์ ยอมรับกันทั่วโลก

หลักสถานที่ตังทรัพย์ sutu rei เพราะโดยเฉพาะอสังฯ ก็จะง่ายแก่การบังคับคดี อันนี้มีลักษณะ


ร่วมการขัดกันกม.และการขัดกันเขตอำานาจศาลฯ ถ้าคดีพิพาทอสังฯ ทั้งตัวกม.และเขตอำานาจศาล
จะอาศัลศาลของปท.ที่อสังตั้งฯ เช่นตาม ปวพ.๔ทวิ ให้เสนอต่อศาลที่อสังฯตั้งอยู่ในเขตศาล ต้อง
ทำาความเข้าใจว่า คดีนนั้ เป็นคดีเกี่ยวกับอสังฯโดยตรงซึ่งเป็นทรพัยสิทธิหรือเป็นคดีเกี่ยวกับ บุคคล
สิทธิ สญเช่าอสังฯ ฟ้องเรื่องค่าเช่าเป็นการฟ้องร้องเกี่ยวกับหนี้เป็นบุคคลสิทธิ แต่ถ้าฟ้องกรรมสิทธิ์
หรือทรัพยสิทธิบังคับเอากับตัวทรัพย์จึงเป็นคดีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์

หลักสัญชาติโจทก์และภูมิลำาเนา ตามปวพ.๔ตรี อันนี้บญตอนแก้ไข ปวพ.ด้วยเหตผลว่าถ้าโจ


ทก์สช.ไทยแต่ต้องฟ้องในตปท.จะลำาบากมากทั้งสืบพยานฯ ค่าใช้จ่ายมาก เลยอนุญาตให้ฟ้องใน
เขตศาลไทยแต่เมื่อผลคำาพิพากษาออกมาแล้ว ไปบังคับในตปท. เกี่ยวข้องกับารยอมรับและบังคับ
ตามคำาพิพากษาตปท.

ศาลตปท.ยอมรับตามคำาพิพากษาโดยไม่ต้องบังคับตามคำาพิพากษา คือเพียงประกาศ เช่นประกาศว่า


เป็นสามีภรรยา หรือหย่ากันแล้ว แต่ถ้ามีการบังคับด้วย เช่น หย่ากันที่ปท.อังกฤษแล้วต้องเอาคำา
พิพากษามาแบ่งทรัพยในปท.ไทยเรียกว่าศาลไทยต้องยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลตปท.
แต่คดีต้องฟ้องกันในศาลที่มีเขตอำานาจโดยชอบด้วยกม. ถ้าฟ้องผิดศาล ศาลตปท.ก้ไม่ยอมรับ คดี
ต้องถึงที่สุด ต้องดูด้วย แม้คดีนั้นถึงที่สุดโดยความเป็นจิงแต่ถ้าเป็นคดีที่พิจารณาโดยสืบพยานฝ่าย
เดียวยังไม่ถือว่าถึงที่สุด หนีใ้ นมูลคดีต้องมีการกำานหดอย่างแน่นอนเช่นจำาเลยจะรับผิดจำานวนเงิน
เท่าใดต้องแน่นอนแล้ว หรืออาจสงวนคำาพิพากษาไว้ ไปให้ศาลตปท.รับพิจารณาไม่ได้ กรณีนี้ยึด
หลักของปท.อังกฤษในเรื่องการยอมรับผลของคำาพิพากษาซึ่งมีหลายทฤษฎี เช่น ท.ว่าด้วยผลการ
รับรองสิทธิหรือบังคับให้เป็นไปตามคำาพิพากษา

You might also like