Zoo Design Total1-7

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 244

1

บทที่ 1 การออกแบบสวนแสดงสัตว
( A Design Approach Zoological Exhibits )
ปญหาที่เกิดขึ้นในการออกแบบ
คณะผูบริหารของสวนสัตวแตละแหงที่รับผิดชอบงานในสวนการออกแบบ การจัดการ และ
แผนการพัฒนาสวนสัต วมักจะประสบกับปญหาที่ติดตามมาจากการออกแบบ เชน มีปญหาในการ
จัดการ ผูใชงานเชนผูเลี้ยงสัตวมักจะบนใหฟงบอยๆ เมื่อกลับไปดูผลงาน อยางไรก็ตามสิ่งที่ที่ติดตาม
มานั้นเราจะไมมองวาเปนผลลบแตเพียงอยางเดียว แตมองวาจะเปนขอมูลที่จะใชในการปรับปรุงการ
ออกแบบเพื่อใชในการกอสรางครั้งตอๆไป
1. สวนแสดงสัตวปาในสวนสัตว เปนสิ่งแวดลอมที่จําลองขึ้นมาและมีการปกปองอันตราย
ตางๆที่จะเกิดกับสัตว ผูเที่ยวชมที่มาเที่ยวสวนสัตวจะมีพื้นความเขาใจสัตวปาจากการชมสารคดีทาง
โทรทัศน ซึ่งสัตวในปาจะมีความระแวงภัยเนื่องจากอยูในสิ่งแวดลอมในปาที่มีการเคลื่อนไหวและไม
แนนอน รวมทั้งมีศัตรูผูลาอยูดวย เมื่อเขามาเที่ยวชมสวนสัตวพฤติกรรมสัตวที่แสดงออกใหเห็นวา
แตกตางจากภาพที่มีในความภาพความทรงจํา
รูปที่ 1 ริ งคเ ทล ลีเมอรที่ สวนสัต ว Kansas
City Zoo ความตองการสวนแสดง ของสัตว
ปาที่จําลองธรรมชาติและปลอดภัยสําหรับสัตว
มักจะทําใหเกิดภาพที่ไมพึงประสงคเกิดขึ้น
2

- การแสดงออกถึงการระแวงภัยของสัตวในสวนสัตว อาจจะมีเพียงกรณีสัตวที่มีพิษจะแสดงตัวให
สัตวอื่นเห็นในลักษณะที่สีสันของลําตัวเดนชัด เชนกบศรพิษของ ทวีปอเมริกาใต
- ความพยายามของเจาหนาที่เลี้ยงสัตวที่จะยังคงพฤติกรรมที่เคยมีในปาเชน เชน การปรากฏตัวของ
สัตวผูลา ทีก่ ารจัดวางตําแหนงสวนแสดงสัตว เชนการใชแนวกั้นสัตวที่ใชคูทั้งคูน้ําและคูแหง วาง
สวนแสดงสิงโดใหมองเห็นตัวแอนติโลพ แตพบวาวิธีการเหลานี้ไดผลในระยะแรก เมื่อเวลาผานไป
สัตวจะเกิดความคุนชินไมเกิดความตื่นเตนหวาดระแวง เมื่อสัตวผูถูกลามั่นใจในพื้นที่ที่ตนเองอยูนั้น
วาปลอดภัย ดังนั้นการจัดแสดงสัตวปาในสวนสัตวทกี่ ารนําสัตวจากถิ่นที่อยูธรรมชาตินํามาจัดแสดง
ในสวนแสดง ที่มพี ฤติกรรมการระแวงภัยหมด ดังนั้นการรักษาบรรยากาศแหงความเปนปาดวยการ
นําเสนอความรูสึกใหกับผูเที่ยวชมใหเห็นความสําคัญของถิ่นที่อยู
2. การใหการศึกษาแกผูเที่ยวชมที่เขามาในสวนสัตว ในแงของความเปนจริงในปาธรรม
ชาติ เชน
- พฤติกรรมที่สัตวผูลาออกลาเหยื่อเพื่อเปนอาหาร
- การตายของสัตวเนือ่ งจากการขาดแคลนอาหารเนื่องจากจํานวนประชากรที่มากเกินไป
- สาเหตุการลดลงของจํานวนสัตวปาในหลายๆชนิดเนื่องจากฝมือของมนุษย
การใหขอมูลในแนวนี้จะไมเปนที่สบอารมณของผูเที่ยวชมเนื่องจากความตองการที่เขามาสวนสัตว
เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน โดยมีความคาดหวังที่จะพบกับเวลาแหงความสนุก
ผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตวโดยมีความตองการที่จะเห็นสวนแสดงที่เปนธรรมชาติ สัตวที่เชื่อง
และเปนมิตร การที่สัตวปาเหลานี้เติบโตขึ้นในสภาพกรงเลี้ยงที่ปกปอง ซี่งมีความแตกตางจากสัตว
ที่สัตวที่อยูในปาที่มีพฤติกรรมระแวงภัย
3

รูปที่2 ชะนีที่สวนสัต ว National Zoo, Washington DC. ความขัดแยงกัน ระหวางการใหความ


สนุกสนานแกผูเที่ยวชมกับการนําเสนอขอมูลที่ไมคอยเปนที่สบอารมณข องผูเที่ยวชมและการสื่อ
เรื่องราว เปนเรื่องที่ทาทายที่การออกแบบจะตองแกไขใหได
- สัตวปาที่เติบโตในสภาพกรงเลี้ยงทีไ่ ดรับการปกปองจากความหวาดกลัวที่มีในธรรมชาติ
รูปราง ลักษณะจะเหมือนกับสัตวทุกอยางแตพฤติกรรมที่แสดงออกจะไมเหมือนกับสัตวปา
- ขอมูลเหลานี้เปนที่รับทราบของเจาหนาที่ในสวนสัตวแตไมเปนที่รับทราบในผูเที่ยวชมที่เขา
มาในสวนสัตว
- ผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตวเพื่อความสนุกสนานที่จะไดรับจากสัตวที่เปนมิตร และจะรูสึกไมดีกับการ
ที่ไดรับรูถึงการที่สัตวจะอยูรอดในปาธรรมชาตินั้น มีภาพแหงความเปนจริงอยางไร รูถึงวาสัตวบาง
ชนิดอยูในสภาพที่จํานวนสัตวกับพื้นที่นั้นไมสมดุลกัน มนุษยคือผูลา ผูทําลายที่สําคัญของของสัตว
ปา ซึ่งการนําเสนอเนื้อหาเหลานี้เปนสิ่งที่เกินหนาที่ของสวนสัตวไป
- ผูเที่ยวชมที่ไดรับขอมูลจากการรับขาวสารเกี่ยวกับสัตวปา โดยถาไดรับขอมูลในแงที่นําเสนอวา
มนุษยคือผูลาสัตว ซึ่งลากันมานานแลว ก็จะทําใหผูรับสารเกิดความรูสึกแปลกแยกกับธรรมชาติ
- แตมีความคิดสวนหนึ่งที่เกิดจากการที่ผูเที่ยวชมไดชมสัตวที่แสดงความสามารถสัตวคือ พวกเขา
เชื่อวา สัตวตองการที่จะเปนเพื่อนกับมนุษย
3 .เมื่อสวนสัตวจะตองมีการตอบสนองกับความพึงพอใจหลายอยาง เชน ใหแกสัตว ผูเที่ยวชม การ
จัดการของเจาหนาที่สวนสัตว :ซึ่งมักจะมีความขัดแยงเกิดขึ้น และการพัฒนาสวนสัตวในชวงที่
ผานมา มักจะมุงไปยังประเด็นใดประเด็นหนึ่งทําใหสวนสัตวเปนสวนสัตวที่ไมสมบูรณเสียที่ ยัง
ตองมีการปรับปรุงอยูตลอดเวลา
4

ดู (รูปที่ 3) Tropical world ที่ สวนสัตวบรูคฟล มลรัฐชิคาโก เปนรูปแสดงทางเขาของ Tropical


world แสดงถึงการจัดแสดงที่มีจุดประสงคหลายประการและมีจัดแสดงรูปแบบใหมที่มาแทนรูป
แบบเดิมของสวนสัตวที่จะมีลักษณะเปนกรง ตอๆ กันที่มักพบในชวง 10-20 ปที่ผานมา
เราควรใหความสําคัญกับพื้นฐานและมาตรฐานในวิธีการออกแบบแนวใหม ( new design
approach ) ที่มีแนวคิดแนวหนึ่งคือ สวนแสดงสัตวคลายกับโรงละคร และควรหลีกเลี่ยงผูออกแบบ
ที่ไมมีประสบการณ แตบังเอิญมีโอกาสไดมาออกแบบและเปนผูกําหนดทุกอยางดวยตัวเอง ซึ่งโดย
ความจริ งแล ว งานออกแบบต อ งประกอบด ว ยผู มี ป ระสบการณ ใ นหลายงานเช น ผู เ ลี้ ย งที่ มี
ประสบการณ สัตวแพทย วิศวกร สถาปนิก เจาหนาที่ใหการศึกษา นักวิจัย เมื่อไดแบบที่เสร็จ
ในเบื้องตน แลว การตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญจากที่อื่น ๆ มาตรวจสอบจนกระทั่ งเปน แบบที่
เหมาะสม จึงจะใชแบบงานกอสรางนีด้ ําเนินการในขั้นตอนการขออนุมัติงบประมาณตอไป รวมทั้ง
การตรวจสอบวางานที่ออกแบบเมื่อนํามาจัดสราง สามารถบรรลุจุดประสงคการออกแบบหรือไม
โดยใชงานวิจัยและติดตามผล ซึ่งจะเปนสวนที่ชวยใหพวกเราไมทําในสิ่งที่ผิดพลาดซ้ําขึ้นมาอีกใน
อนาคต
3.ความเขาใจของเจาหนาที่ในสวนสัต วเองวาเขาใจดีเพียงใดถึงหนาที่ของสวนสัตว ( งานให
การศึกษา เพื่อการพักผอน อนุรักษ งานวิจัย ) โดยดูจากนโยบายและผลงานที่ปรากฏแกสายตา
- มีบางกรณีที่งานของแตละสวนที่ไมสอดคลองกัน และปรากฏใหเห็นในเรื่องของการจัดการ
ดังนั้นความเขาใจในเรื่องของนโยบาย ทีแ่ ตละเรื่องมีความเกี่ยวเนื่องกันอยางไร มีบางสวนที่ขัดแยง
กันและตองมีการจัดลําดับความสําคัญของแตละนโยบายตามความเหมาะสม
5

( ดูรูปที่ 4 ) Ring Tail lemur, Fort


Wagne Children Zoo ความชัดเจนใน
เรื่องความตองการของผูเที่ยวชมและ
จุ ด ประสงค ข องสวนสั ต ว จะช ว ย
กําหนดลํา ดับ ความสํา คัญ ของแตล ะ
จุดประสงคและกําจัด ความขัดแยงได
ดวย

การเริ่มตนในเรื่องของความสัมพันธของขบวนการวางแผนและขบวนการออกแบบที่มองถึง
บทบาทหนาที่อันแทจริงของสวนสัตว โดยไมมีความลําเอียงในเรื่องประเพณี ความคิดเห็นสวนตัว
แตเพียงผูเดียว หรือการใหน้ําหนักกับจุดประสงคอันหนึ่งอันใดมากเกินไป
การแกไขปญหาเพื่อที่จะใหการปฏิบัติตอสัตวทําไดอยางอยางเหมาะสมและใหผูเที่ยวชมเกิด
ความสนุกสนานตองการความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมใหมๆ เพื่อออกแบบแนวคิดและวิธีการ
- ความยากของงานจะอยูที่ความเขาใจและการแปลผลของความซับซอนของรูปแบบและการพัฒนา
สวนแสดงสัตวจากการใชคําวา “ สวนสัตวนั้นเหมือนโรงละคร “
- เมื่อเราใชคํานี้เปนจุดเริ่มตนเพื่อการสรางความคิด ความคิดเห็น และวิธีการในการออกแบบสวน
แสดงสัตวหรือใชในการออกแบบกิจกรรมเสริมในสวนสัตว นอกจากนั้นแลวจากคํากลาวคํานี้ จะ
ชว ยสรางมุมมองใหมที่จ ะเปน แรงบัน ดาลใจที่จ ะเกิด ในแนวคิด ที่แตกตาง เปน การกระตุน
จินตนาการและความมีเหตุมีผลในการออกแบบสวนแสดงดวย
สวนสัตวนั้นเหมือนกับโรงละคร ( The Zoo As Theatre )
สวนสัตวและโรงละครนั้นมีความเหมือนกันอยูหลายสิ่งดวยกัน เชนเปนสถานที่ให
ความสนุกสนาน ใหความรูโดยใชฉาก แสง การแสดงของตัวแสดง
6

( ดูรูปที่ 5 ) Gollilar Encounter Exhibit, ที่สวนสัตว Topeka สวนสัตวนั้นคลายกับโรงละครที่


จะตองแบงสันสวนประกอบตางๆ ตามความสําคัญที่ประกอบดวย ผูแสดง ผูชม รูปแบบของเวที
โดยมีจุดประสงคที่จะใหการศึกษาโดยใชความสนุกสนานเปนสื่อไปถึงผูชม
- The AAZPA ไดใหความหมายของคําวาสวนสัตวคือ องคกรหรือสถาบันที่ใหการศึกษาและ
การพักผอนหยอนใจ โดยจัดแสดงสัตวปาที่ดูแลโดยเจาหนาที่มืออาชีพที่มีการปฏิบัติตอสัตวดวย
ความเอื้ออาทร และมีการจัดแสดงสัตวเปนชวงเวลาที่แนนอน สม่ําเสมอ
- ถึงแมวาโดยลักษณะและโครงสรางสวนแสดงสัตวในสวนสัตวและโรงละครจะมีความแตกตาง
กัน แตมีจุดมุงหมายที่จะนําเสนอขอมูล แนวคิดที่จะทําใหเกิดความสนุกสนาน เกิดประสบการณที่
นาจดจํา
- ประเด็นสําคัญคือตัวของผูออกแบบจะออกแบบอยางไร ในการสรางสวนแสดงสัตวใหเปนที่จัด
แสดงสําหรับสัตวสัตว ใหเหมือนกับการสรางโรงละครใหกับนักแสดง ที่จะสามารถกระตุน
อารมณ ความรูสึกใหกับผูชมได โดยมีเวที ฉากเพื่อที่จะใชเปนสวนประกอบในการแสดงเปนไป
ตามบทละคร สรางอารมณใหผูชมเกิดความคลอยตามโดยใชแสง สี รูปทรง รูปราง การแสดง
ของผูแสดง
- การออกแบบสวนแสดงสัตวจะใชองคประกอบเดียวกันกับการออกแบบโรงละครสัตว เพือ่ สื่อ
ในเรื่องของ นิเวชวิทยาของสัตวชนิดนั้น ขอมูลของสัตวชนิดนั้นๆ และงานดานการอนุรักษ
- ฉาก / สวนแสดงสัตว จะแสดงถึงสิ่งแวดลอมที่ประกอบในการแสดง/ในการจัดแสดงสัตว
เปนฉากหลังใหกับนักแสดง/สัตว ที่จะเปนทั้งสวนประกอบและสวนที่สําคัญ ในการสรางอารมณ
ของผูชมใหเกิดความรูสึกไมวาจะเปนมีชีวิตชีวา เศราหมอง ลึกลับ ซึ่งสวนแสดงสัตวก็มีลักษณะ
การทํางานไปในแนวทางนั้นเชนกัน
7

ดูรูปที่ 6 สวนแสดง Black Bear Exhibit, Hagenbeck, Hamburg West Germany ผูเที่ยวชมเขามาชม
ที่สวนแสดนี้แลวจะเกิดความรูสึกประทับใจเกิดความจดจํา
รากศัพทของคําวา “ Scenery ’’ คนทั่วไปจะนึกถึงเวทีละครที่มีผูแสดงที่ใชพื้นที่ตรง
สวนกลางของเวที และผูชมการแสดง ( Jackson,1979 )
- ในชวงตนของการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงเวทีละคร ในศตวรรษที่ 16 ฉากของละครสวนใหญจะ
เปนภาพที่เกี่ยวกับธรรมชาติ
- นักภูมิศาสตรไดรวบรวมขอมูลสถานที่ทางธรรมชาติที่สวยงามที่คนพบโดยนักสํารวจที่เดินทาง
รอบโลก โดยในรายงานนั้นไดเขียนถึงความสวยงามของธรรมชาติ เขียนใหถึงความสัมพันธ
ระหวางคน สัตวและธรรมชาติ
- ในชวงแรกของโรงละคร ทําหนาที่สื่อความหมายและบรรยายคําวา “ โลก ” ซึ่งแนวเรื่องที่
ออกมาจะเปนแนวลึกลับ ที่สื่อความหมายในรูปของศิลปะที่มีมิติของความกวาว ยาว ลึก ที่จะ
เหมือนกับแนวคิดในปจจุบัน
- ผูออกแบบสวนแสดงสัตวตองการสื่อความรูในเรื่องของธรรมชาติโดยผานการเห็นภาพที่สราง
ความประทับใจ การออกแบบสวนแสดงสัตว อาจใชแนวคิดที่แสดงความสัมพันธระหวางคน
สัตวและถิ่นที่อยูของสัตว ตัวอยางการออกแบบที่ออกแบบมาเพื่อใชลักษณะของตัวสัตว โดยที่วัสดุ
ที่เลือกใชในการสรางสวนแสดงจะมีผลทําใหตัวสัตวมีความโดดเดนชัดเจนขึ้น
8

(รูปที่ 7 ) Guinea baboon ที่ สวนสัตวบรูคฟลด ที่ชิ


คาโก โดยในองคประกอบของสวนแสดงจะมีลักษณะที่
ละเอียด เรียบ เพื่อใหเกิดความโดดเดนของรูปรางและสี
ของตัวสัตว

- การออกแบบรูปแบบของฉากโรงละครและสวนแสดงสัตวจะถูกกําหนดโดยการเลือก
องคประกอบตางๆโดยผูออกแบบ
- รูปแบบที่ออกมาจะเปนตัวที่แสดงถึงการรวมกันขององคประกอบตางๆ โดยจะนํารวมกันโดยใช
แนวคิดของผูออกแบบ ขอมูลที่ตองการสื่อ และสถานที่ เวลา ลักษณะพื้นที่ของสวนแสดง
- ลําดับถัดไปจะนํารูปแบบที่เปนพื้นฐานในการออกแบบ ก็เปนสวนหนึ่งที่จะนํามาใชในการ
ออกแบบได ตัวอยางของรูปแบบฉากและสวนแสดงสัตว เชน realistic, abstract, cultured,
architectonic, romantic, formal, impressionistic, representational, ornamental เปนตน โดยแตละ
แบบจะมีความเหมาะสมในการสื่อสาร การแสดงออกถึงความคิด ขอคิดเห็น การใหขอมูลแกผูดู
( ดูรูปที่ 8 ) สวนแสดงยีราฟที่
West Berlin Zoo เปนการ
ออกแบบในรูปแบบโรแมนติก
เปนสถาปตยกรรมที่มีความ
แปลกตา ที่เปนลักษณะของภูมิ
ทัศนของประเทศที่เปนถิ่น
กําเนิดของยีราฟ
9

( ดูรูปที่ 9 ) เปนสวนแสดง
นกน้ําที่ Pert Zoo เปนการ
ออกแบบใน Ornamental style
ที่ประกอบดวยตนไมที่มี
รูปทรงสวยงาม มีดอกไม
หลากชนิดที่มีสีสันตางๆกัน
เพื่อเปนการดึงดูดและสราง
ความสนใจแกผูเที่ยวชมสวน
สัตว

( ดูรูปที่ 10 ) สวนแสดงสัตวแอฟริกาที่ Hagenbeck zoo, Hamburg ประเทศเยอรมันเปนการออกแบบ


ใน Natural style ที่มีองคประกอบของคอกเปนแบบคูเพื่อไมใหเห็นมีสิ่งกีดขวางสายตา สรางจุดสนใจ
ของสวนแสดงเปนตนไมและรูปแบบของเนินดิน กอนหิน
- โดยแตละรูปแบบ ( รูปที่ 8,9,10 ) ก็มีความถูกตองเหมาะสม ในการถายทอด การแสดงออกใน
เรื่องของความคิด ความคิดเห็นและการสงขอมูลไปสื่อผูดู
- การสื่อขอมูลทางวิทยาศาสตรของสัตวแตละชนิด การใชองคประกอบทางศิลปะของประเทศที่
เปนถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้น เชนศิลปะของแอฟริกา ศิลปะของอเมริกาใต การใชนิทานพื้นบานที่
10

เกี่ยวของกับสัตวชนิดนั้นๆ จากประเทศที่เปนถิ่นที่อยูของสัตว สิ่งเหลานี้จะเปนการสนับสนุน


ประโยคที่วา “ the zoo as the theater ”
ภาพวาดในศตวรรษที่ 17 ที่แสดงถึงกิจกรรมตางๆ ของคนมักจะใชฉากหลังเปนรูป
ธรรมชาติ ( ตนไม ลําธาร สัตว )
- ฉากภายในโรงละครจะใชรูปภาพในลักษณะเหนือธรรมชาติ ภาพอนุสาวรีย มาใชในการ
ออกแบบเพื่อใหเกิดความสนุกสนานใหกับผูชม โดยผานภาพจินตนาการเหลานี้ ( Jackson,1979 )
- ภาพของธรรมชาติในยุคนั้นจะมีการสื่อออกมาในรูปของภาพวาด การออกแบบสวน โรงละคร
หรือการเลี้ยงสัตวปาในสวน ซึ่งสิ่งเหลานี้สะทอนถึงความชื่นชอบของประชาชนที่มีตอความรูและ
รูปลักษณของธรรมชาติ
- ผลจากความสนใจในเรื่องเหลานี้ แสดงใหเห็นในฉากละครและการแตงตัวของผูแสดง ในสวน
ของฉากจะเปนภาพของตนไมและสัตวปา
- โดยฉากนั้นไมไดมีจุดมุงหมายใหผูแสดงเปนศูนยกลางหรือเปนจุดเดนที่สุดบนเวที แตตองการให
ตัวแสดงกลมกลืนไปกับฉาก ที่เปนภาพของธรรมชาติ
- ภาพที่มีอิทธิพลตอการออกแบบสวนสัตว คือภาพที่มีในชวงทายของสตวรรษที่ 18 ที่เปนภาพ
พานอรามา (ภาพแสดงทัศนียภาพที่มีความยาวตอเนื่อง ) เปนรูปคนที่มีทามกลางปาใหญที่มีตนไม
และสัตวปา หลากชนิด

( ดูรูปที่ 11 ) ภาพวาดที่มองจากดานบนของ Storial Del Panorama


11

( ดูรูปที่ 11, 12 ) เปนรูปในแนวตัดขวางของ Storia Del Panorama..ในชวงกลางของศตวรรษที่ 18


การสรางความรูสึกที่ผูเที่ยวชมอยูในปาธรรมชาติที่สรางขึ้นในลักษณะแบบ cyclorama ( n.1 a
panoramic scene set on the inside of a cylindrical surface, to be viewed by a central spectator. ) ซึ่ง
ลักษณะของงานศิลปะดังกลาวเปนแรงบันดาลใจให Hagenbeck และเปนรูปแบบของสวนสัตวใน
ปจจุบันที่จะใชรูปแบบการออกแบบภูมิทัศนแบบ immersion
- การออกแบบภูมิทัศนโดย Hagen beck และ Eggenschwiller ในป 1907 ที่เมือง Hamburg เปน
ภาพที่เขียนสวนแสดสัตวหลายชนิดอยูรวมกัน ( mix animal exhibit ) ซึ่งเปนภาพตนแบบสําหรับ
การการออกแบบสวนแสดงสัตวในปจจุบัน
- การเขียนแบบรูปพานอรามาของทิวทัศนธรรมชาติที่แสดงมุมมองไดครบทั้ง 360 องศา ใหผูเที่ยว
ถูกรอบลอมดวยธรรมชาติ โดยใหผูเที่ยวชมอยูทามกลางสิ่งแวดลอมที่เปนแบบเดียวกับสิ่งแวดลอม
ของสวนแสดงสัตว
- เปนการเปลี่ยนแปลงแนวคิดครั้งสําคัญ ทัศนคติของการออกแบบสวนแสดงสัตวในปจจุบันอีก
ครั้งหนึ่งที่มีแนวคิดใหบรรยากาศของผูเที่ยวชมใหรูสึกวาตัวของผูเที่ยวชม พืชและสัตว เปนสว น
หนึ่งของของธรรมชาติที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
การเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของโรงละครและสว นแสดงสัตวไดแสดงใหเห็นถึง
ความเหมือนกันในการใชเวทีที่มีตัวของเวที สวนแบงอาณาเขตและสวนของผูชม
12

( ดูรูปที่ 13 ) Colobus monkey ที่ Fort Wayne Children Zoo เปนสวนแสดงแบบ proscenium ( โรง
ละครที่มีสวนของเวทีและมีสวนแยกกันระหวางเวทีกับผูชม ) โดยผูชมจะมีลักษณะหยุดนิ่งในพื้นที่
ของจุดชมสัตว
- ผูเที่ยวชมจะไดเห็นภาพจากเวที/สวนแสดงสัตว โดยที่ผูเที่ยวชมจะอยูในลักษณะอยูกับที่ (มีที่
นั่งใหดูละครหรือมีบริเวณหนึ่งบริเวณใดเปนจุดชมสัตว ) ซึ่งก็เปนรูปแบบที่ใชไดผลดีกับหลายๆ
รูปแบบของการแสดงและเปนรูปแบบที่ดีของการออกแบบสวนแสดง
- มีวิธีการนําเสนอในรูปแบบอื่นๆ ที่เพิ่มมุมมองแบบใหม เชนการใชแนวคิดในการออกแบบสวน
แสดงแบบ the thrust and arena ซึ่งเปนแบบที่ผูเที่ยวชมอยูรอบเวที/อยูรอบสวนแสดงสัตว ที่
ผูเที่ยวชมสามารถมองเห็นการแสดงไดหลายมุมมอง

(ดูรูปที่ 14 ) เกาะลิงที่ Milwaukee Country Zoo เปนสวนแสดงที่เรียกวาแบบ “ The trust and arena
type ” ซึ่งผูเที่ยวชมสามารถดูสัตวไดจากหลายจุดโดยการเคลื่อนที่รอบแนวสวนแสดง
13

ซึ่งเปนลักษณะที่มีการใชในสวนสัตวหลายๆแหง โดยผูเที่ยวชมมีโอกาสที่จะเลือกมุมมองได
หลายมุมมอง
- สิ่งแวดลอมโดยรวมของโรงละครจะเหมือนกับการจัดสวนแสดงสัตวทั้งหมด โดยใหทั้งจุดชม
สัตวและบริเวณที่สัตวอยูมีองคประกอบทางสิ่งแวดลอมที่เหมือนกัน ( the total environmental
theater like the landscape immersion ) โดยสวนของผูชมละครจะถูกโอบลอมไปดวยผูแสดง
ผูเที่ยวชมสวนสัตวจะเห็นตัวสัตวอยูรอบตัวเอง ซึ่งมักจะเห็นตัวสัตวอยูในจุดที่ปลอดผูคน
( ดูรูปที่ 15) Gorilla encounter, Topeka zoo,
Kansas เปน สว นแสดงสัตวในแบบ The total
environment theater คือ การที่ผูเที่ยวชมถูกโอบ
ล อม ด ว ย สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ข อง สั ต ว เ ป น ก า ร จั ด
องคประกอบใหมระหวางสวนที่สัตวอยูกับสวนของผู
เที่ยวชม

ความกาวหนาของระบบแสงและเสียงในโรงละครมีความกาวหนาทางเทคโนโลยีไปมาก
คาดวาในอนาคตอันใกลนี้เทคนิคตางๆที่มีในโรงละครอาจนํามาประยุกตใชกับสวนแสดงสัตวก็ได
รูปแบบของละครที่สมบูรณแบบคือ ละครในลักษณะของละครใบ ที่ใชทักษะทางการแสดง
ใชภาษาที่ออกจากการแสดงทาทาง เพื่อสรางอารมณและสื่อขอความโดยไมไดใชคําพูด เปนการ
สรางจุดสนใจอยูที่การแสดงออกของรางกายที่จะเปนตัวสื่อออกไป และมีฉากเปนตัวชวยเสริมเมื่อ
ประกอบกันก็จะเปนการสรางจินตนาการของผูชมใหเกิดขึน้ การแสดงทาทางตางๆของนักแสดงก็จะ
เหมือนกับการแสดงทาทางตามธรรมชาติของสัต วที่อยูในฉาก ที่เปนองคประกอบของสวนแสดง
หรือสภาพในถิ่นที่อยูของสัตว จุดสนใจของผูเที่ยวชมจะไปอยูที่การแสดงออกของสัตวลักษณะตางๆ
ของตัวสัตว เชน ขนาด สี รูปราง
14

( รูปที่ 16 ) มอลลี่ ในสวนสัตวแคนซัส


ซิตี้ ซู สวนแสดงที่ออกแบบใหสวนประกอบ
ของสวนแสดงสัต วไมโดดเดนเหมือนกับการ
แสดงละครใบ ที่มีความตองการใหตัว ละคร
เดนที่สุดในเวที และเพื่อใหผูชมเกิดโอกาสใน
การสรางภาพจินตนาการวาสัตวกําลังอยูในถิ่น
ที่อยูตามธรรมชาติ

การสรางสื่อความหมายจากตัว ของสวนแสดงสัตว และตัวของผูเที่ยวชมจะเกิด สัมฤทธิผลก็


ตอเมื่อ สวนแสดงนั้นเปนตัวเลาเรื่องราวออกมาใหผูเที่ยวชมสัมผัสรับรูได โดยมีสวนประกอบตางๆ
เปนผูแสดง และรอยเรียงเรื่องราวไปดวยกันกับองคประกอบอื่นๆ เชน รูปรางของสัตว ถิ่นที่อยู
พฤติกรรมของสัตวชนิดนั้นๆ
- การใชสวนแสดงที่มีเรื่องราวจะชวยในการดึงความสนใจของผูเที่ยวชม เพื่อใหผูเที่ยวชมใช
เวลากับคอกแสดงนี้มากขึ้น โดยใหการออกแบบใหสวนแสดงชวยในการสรางอารมณใหเกิดขึ้นและ
เปนสวนหนึ่งในการสรางเรื่องราวของสวนแสดงนั้นๆ เรื่องภายในสวนแสดงที่ดีควรมีความตอเนื่อง
มีขอมูลและความนาสนใจ สว นแสดงมีสว นในการควบคุมการเคลื่อนที่ของสัตว ในสว นของผู
เที่ยวม ใหการเคลื่อนไหวนั้นมีลําดับของการเคลื่อนไหว (ทั้งผูเที่ยวชมและสัตว) เพื่อใหภาพที่เกิดขึ้น
เปนเรื่องราวที่นาจดจําและนาสนใจ โอกาสที่จะเลือกใหหอยโหนและการเคลื่อนที่อยางตอเนื่องเต็ม
พื้นที่สวนแสดง
15

ดูรูปที่ 17 โลกของปาเขตรอน ที่ Brookfield


Zoo, Chicago การสรางภาพ อารมณ และ
ขอมูลโดยผานการผสมผสาน เรื่องราวของตัว
สั ต ว และ ถิ่ น ที่ อยู จ ะ เป น สิ่ ง ที่ แสด ง ถึ ง
ความสําเร็จในการออกแบบและจัดสรางคอก

สวนสัตวและโรงละครสัตวเปนสถานที่ใหความบันเทิงที่ไดรับความนิยม โดยมีการแสดงที่
สนุกสนานตื่นเตน นาประทับใจและดึงดูดใจ สวนแสดงสัตวที่ไดรับความนิยมมากเชน สวนแสดง
นากทะเล ตัวของนากทะเลจะแสดงพฤติกรรมการกินหอยทะเล โดยการวางกอนหินไวที่หนาทอง
และใชหอยทุบที่หินเพื่อกะเทาะเปลือกหอย ในสวนสัต วโดยทั่วไปจะมีสัตวที่ผูเที่ยวชมใหค วาม
สนใจและตองการเห็นเชน ยีราฟ มาลาย สวนแสดงแพนดาที่สวนสัตวเบอรลินที่มีพื้นที่กวางขวาง มี
เครื่ องปรับอุณ หภูมิและมีองคประกอบที่เปน หิน สระน้ํา กอไผและพื้น หญาที่ตอเนื่องกับพื้น ที่
ภายนอก
ภาพที่มนุษยเห็นและการออกแบบสวนแสดงสัตว ( Illusion and Exhibit Design )
- ผูเที่ยวชมมาเที่ยวที่สวนสัตวดวยเหตุผลหลายอยาง เชนมาเรียนรูเรื่องสัตวและพืช มาดูสัตวที่
แปลกๆและไมคุนเคย มาพักผอนในสิ่งแวดลอมที่ดี รูสึกสนุกสนานกับการแสดงพฤติกรรมของ
สัตว และเกิดความเขาใจในเรื่องความสัมพันธของสัตว พืชและมนุษย
- ความคาดหวังของผูที่ไมเคยมาเที่ยวสวนสัตว ภาพที่จินตนาการไวในใจจะมีทั้งภาพของความ
สนุกสนานและภาพของความนากลัว มีอะไรบางที่ฉันตองเจอ เมื่อเขามาแลวกอนไดยินเสียงคําราม
ขึ้นจากระยะไกลนั้นคือเสียงของอะไร คลายๆ เสียงคํารามของสิงโตหรือเปนเสียงรองของลิงบาบูน
16

ดูรูปที่ 18 The dream ของ Henry Rousseau,1910 ภาพที่อาจอยูในจินตนาการของผูเที่ยวชมเองจะ


ชวยสรางและเกิดความฝงใจในภาพของการอยูรวมกันของสัตวและผูเที่ยวชมสวนสัตว
เมื่อเขามาเที่ยวสวนสัตวจริงแลว มักจะเกิดการขยายและสรางขึ้นมาใหมโดยผานภาพที่มีอยู
เดิมและจะกระตุนใหเกิดภาพในลักษณะตางๆ เชน ประหลาดใจ เศราใจหรือสนุกสนาน
สวนสัตวเปนสถานที่จัดแสดงสัตวเพื่อความสนุกสนานและใหความรู สวนแสดงสัตวแตละ
แหงก็เหมือนกับโรงละคร ที่ตองใหความสําคัญกับภาพที่ปรากฏ ซึ่งจะเปนการสื่อขอความและ
ทัศนคติ ความสําเร็จของการสื่อสารอยูที่ภาพที่ปรากฏและเนื้อหาที่จะสื่อไปถึงผูชม ศิลปะและ
วิทยาศาสตรในการออกแบบสวนแสดง จะเปนสวนสําคัญที่จะใหผูเที่ยวชมเกิดความสนใจในการ
แสดงนั้น ใหผูเที่ยวชมเกิดความทรงจําที่ดี ใหเกิดความสนุกสนานและใหขอมูลการศึกษาที่ชัดเจน
ความประทั บ ใจของผู เ ที่ ย วชมจะเกิ ด ขึ้ น หรื อ ไม ขึ้ น อยูกั บ แรงกระตุ น จากภายนอก
(ลักษณะทางกายภาพของสวนแสดง) และแรงกระตุนจากภายใน (ประสบการณ ความตองการ
ของผูเที่ยวชม ภาพที่มคี วามตอเนื่อง ระดับอารมณ ความรูสึก ลักษณะนิสัย ) ของผูเที่ยวชมจะเปน
สวนสําคัญในการสรางภาพใหเปนระบบและวัดได
- ผูออกแบบสวนแสดงไมสามารถเขาไปควบคุมแรงกระตุนจากภายใน ของผูเที่ยวชมเพื่อใหเกิด
ความพึงพอใจได แตผูออกแบบจะใชแรงกระตุนจากภายนอกมาเปนสวน ในการสรางความพึง
พอใจโดยการใชขนาด สี รูปทรง เสน ลักษณะของพื้นผิว
ความเห็น ความคิด ความสามารถในการในการจัดหมวดหมู การรวบรวมสวนประกอบ
ตางๆ ของสวนแสดง ซึ่งการจัดหมวดหมูและการรวบรวมสวนประกอบตางๆ ตองการจินตนาการ
ความรู ความเขาใจของผูเที่ยวชม
17

- มนุษยจะมีความประทับใจในสิ่งที่ตนเองเคยประทับใจมากอน นักออกแบบจะเสนอภาพที่ใหผู
สังเกตการณมีโอกาสที่จะสรางภาพที่สมบูรณในจินตนาการ

(ดูรูปที่ 19 ) สวนแสดงสิงโตที่ North Carolina Zoo การใชหินเทียม การจําลองทุงหญาและถ้ํา จะ


เปนสวนในการสรางภาพของสัตวที่อยูอยางอิสระเหมือนกับที่อยูในปา
ผูออกแบบไมควรเปนกังวลกับความเขาใจอยางชัดเจนในเรื่องความแตกตางระหวางภาพจริง
กับภาพที่เห็นดวยสายตามนุษย รวมไปถึงความไมชัดเจนระหวางพื้นที่ของจิตใตสํานึกกับความ
สํานึกที่มีอยูในความคิด สติสัมปชัญญะ ภาพที่เห็นดวยสายตามนุษย จะมีความเกี่ยวพันกับอารมณ
และความคิดในสวนที่เกี่ยวกับการจินตนาการ ความฝนและแรงบันดาลใจซึ่งจะเปนภาพที่ทําใหเห็น
ถึงคุณคาและบทบาทในการออกแบบสวนแสดงสัตว
การอุทานคําวา “ คุณเปนคนทําลายภาพที่ผมฝนไว ” เปนการบอกวาพวกเรา
ชอบในภาพความฝน พวกเราหวังวาจะไดรับความรู ความกระจางที่สําคัญ .
ภาพลวง ภาพหลอน (illusion n/ n. a false or unreal perception. a deceptive appearance or impression. a false idea
or belief. )
บางที่เราเรียกวามันเปนความผิดปกติ เปนความผิดพลาดของความรูสึก เปนความผิดพลาด
ของการสติปญญา แตภาพลวง ภาพหลอนเปนสิ่งที่ชวยในการคนหาความจริงและเขาใจถึงความ
ปกติและความเปนธรรมชาติ ภาพที่เราเห็นดวยสายตาไมเพียงสรางความรูสึกมีความสุข ความ
สนุกสนาน ความดึงดูดใจ แตยังชวยคนหาความรู คนหากุญแจของความจริง
- ความคิดสรางสรรคเปนทั้งศิลปะและวิทยาศาตร ซึ่งมีตนกําเนิดมาจาก ตนกําเนิดที่อยูในภาพ
ลวงก็ได ( Gregory,1973 ) Delacroix ไดยืนยันคําพูดที่วา สิ่งที่เปนความจริงคือภาพลวงที่ผมสราง
งานเขียนขึ้นบนภาพเขียนของผม คําพูดเหลานี้สามารถใชเปนแนวทางสําหรับการออกแบบที่จะใช
สําหรับการพิจารณาในการใช perceptual illusion เปนสูตรสําหรับการคิดในการออกแบบสวน
18

แสดงสัตว (perceptual adj. of or relating to the ability to interpret or become aware of something through
the senses.)
The Use of perceptual Illusions In Exhibit Design
เกิดความรูสึกตอภาพที่เกิดขึ้นเมื่อมองดวยสายตามนุษย ทําใหการออกแบบสวนแสดงสัตว
ควรจะมีรูปแบบที่ทําใหเกิดภาพในลักษณะตอไปนี้
1 จําลองถิ่นที่อยูของสัตว
2 ชวยสรางบรรยากาศใหคลายกับถิ่นที่อยูที่สัตวนั้นอยู
3 ชวยใหลักษณะของสัตวดูเดนยิ่งขึ้น
4 ชวยสรางความเขาใจในเรื่องนิเวศวิทยา ที่มีความสัมพันธกันของสัตว พืชและคน
ภาพที่มองเห็นจะตองมีองคประกอบของ
- การแปลความหมายจากการเลาเรื่อง ( การจัดองคประกอบในสวนแสดงวามีรายละเอียดใน
กิจกรรมตางๆชองสัตวอยางไร )
- การจัดแสดง
- การแสดงผานภาพและเสียง
- สัญลักษณ
- ซึ่งจะชวยในการใหการศึกษาแกผูเที่ยวชม ในแงลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆเปน
อยางไร หลักการในเรื่องชีววิทยาและนิเวศวิทยา ผลกระทบที่มีระหวางกันของคน สัตว พืช
และความสัมพันธระหวางผูลากับเหยื่อ
การเห็นภาพจากภาพวาด งานปน ฉากในโรงละคร สวนที่มีการออกแบบ งาน
สถาปตยกรรม เปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาเปนเวลานานแลว ในชวงป 1854 นาย Oppel ไดมีการตั้ง
สมมุติฐานในเรื่อง ที่อธิบายถึงภาพที่เห็นดวยตาของมนุษย ซึ่งมีผูที่เห็นดวยกับขอสมมุติฐานนั้นนอย
มาก
1. Lipps’ principle of mechanical-esthetic unity state ซึ่งทฤษฏีจะกลาวถึงพวกเราจะไมรูสึกวา
ชองวางหรือที่วางเปนสิ่งที่มีอยูจริง มีรูปลักษณ โดยใหพิจารณาจากเสนแรงที่เกิดขึ้นจากชองวาง ที่
เกิดจากวัตถุ สีและเสนวาเปนสิ่งที่มีอยูจริงและมีการเคลื่อนไหว ตัวอยางเชน สวนแสดงที่มีรูปทรง
เปนวงกลม จะมีลักษณะของจุดรวมสายตาอยูที่กึ่งกลาง เนื่องจากเกิดเสนนําสายตาที่เขาสูศูนยกลาง
ที่มีอิทธิพลมากกวาเสนนําสายตาที่เกิดจากเสนขอบของวงกลมของสวนแสดง ผลที่เกิดขึ้นก็คือ จุด
สนใจของการมองภาพจะไปอยูที่ตรงกลางของสวนแสดงและขนาดของคอกโดยรวมจะดูเล็กลง
19

ดูรูปที่ 20 ที่สวนสัตวดีทรอยท รูปทรงของสวนแสดงที่เปนวงกลม แนวคอกจะมีสวนของกําแพง


และตนไม จุดสนใจของภาพจะอยูที่สระน้ําที่อยูตรงกลาง ซึ่งจะเปนการสราง “ ความรูสึกใกลชิด ”
กับสัตวที่อยูในสวนแสดงนี้
2. Wundt state ซึ่งกฎนี้การเคลื่อนไหวของลูกตาและภาพทีเ่ รตินา (จอรับภาพ ) จะเปนสวนที่ทําให
เกิดภาพที่มีความแตกตางจากความเปนจริง ตัวอยางเชน เมื่อทอนไม 2 ทอมที่มีความยาวเทากันที่
3 เมตรและลักษณะเหมือนกันทุกอยาง เมื่อตั้งทอนไมทอนแรกไวในแนวดิ่งและอีกทอนวางขนาน
ไปกับพื้น เมื่อมองดวยสายตาจะรูสึกวาทอนที่ตั้งในแนวดิ่งจะยาวกวา เนื่องจากการใชพลังงานใน
การมองในแนวดิ่งจะใชมากกวาการกวาดสายตามองในแนวราบ ตัวอยาง
ดูรูปที่ 21 สวนแสดงยีราฟที่ San Diego
Zoo ลักษณะของตนไมที่ตั้งในแนวตั้งที่มี
สูงและคอของยีราฟที่ยาว ทั้งสองสวนนี้
ในการมองจากสวนฐานขึ้นสูงสุด ภาพที่
เห็นจะเกิดความรูสึกวาวัตถุที่อยูในแนวดิ่ง
จะมีความเดนชัดกวาแนวอื่นๆ ( creating
an illusion of height )
20

การเกิดภาพที่ปรากฏกับสายตานั้นจะเปนการผสมผสานและจัดเรียงจากสวนประกอบตางๆ
เชน การเห็นเสน รูปทรง ชองวาง ขนาด สีและลักษณะของพื้นผิวซึ่งภาพที่เห็นในสวนแสดง
สัตวจะเปนลักษณะของพื้นที่ ตนไม น้ํา ตัวสัตว อาคารตางๆ และองคประกอบของธรรมชาติ
เชน แสงแดด ฝน ความเขาใจ การแปลความหมาย รูปแบบหลายๆแบบของภาพที่เห็นดวยสายตา
ซึ่งมักจะใชการจําแนกแยกแยะโดยการใชแนวคิดในวิชาเลขาคณิตและรูปทรงที่เห็นมิติเปนความกวาง
ยาวและลึก ( dimension)
ความรู ขอมูลในเรื่องของรูปแบบของภาพจะชวยในการออกแบบสวนแสดงสัตว
บางรูปแบบของ geometrical optical illusion จะชวยในการเปนแนวทางในการออกแบบเชน
1.ผลของสถานที่มีผลตอพื้นที่การมองเห็น (The effect of the location in the visual field) ขนาดของ
วัตถุที่มองในแนวดิ่งจะมีขนาดใหญกวาเมื่อมองวัตถุเดียวกันในแนวราบ ตัวอยางคือทอนไมทอน
เดียวกันที่วางในแนวราบจะดูสั้นกวาที่มองในแนวดิ่ง
2. ภาพที่ถูกแนวเขตถูกขัดขวาง (Illusion of Interrupted Extent) ความสูงและขนาดของวัตถุจะมี
ผลจากบริเวณที่วัตถุนั้นอยู ตัวอยางเชน พื้นที่สี่เหลี่ยมที่ตัววัตถุเรียงตัวในแนวขนานกับสายตาคือ
กําแพงและตนไมจะมีขนาดเล็กกวาตัววัตถุที่เรียงตัวในแนวตั้งฉากกับแนวสายตา คือสวนของพื้นของ
สวนแสดง

( ดูรูปที่ 22 ) เปนภาพของคอกกอลิลาใน San Diego Wild Animal Park ที่แสดงลักษณะ


“Illusion of interrupted extent” ที่วัตถุคือหินเทียมที่อยูในแนวขนานกับตัวผูมอง
3. ภาพที่มองเห็นกับความคมชัดของเสนโครงรางของวัตถุ (Illusions of Contour) ขนาดของพื้นที่ที่
เห็นความแตกตางกันของขอบเขตพื้นผิวจะเล็กกวาพื้นที่เห็นขอบเขตของพื้นผิวไมชัดเจน
ตัวอยางเชน วัตถุรูปวงกลมที่เห็นความกลวงของตัววัตถุจะใหญกวาวัตถุรูปทรงกลมที่เปนทรงตัน
4.ภาพที่มองเห็นกับความแตกตางของวัตถุ (Illusion of Contrast ) วัตถุที่วางอยูใกลวัตถุขนาดใหญจะ
มองดูเล็กลง แตวัตถุขนาดเดียวกันที่วางใกลวัตถุที่เล็กกวาจะดูใหญขึ้น เชน กอนหินที่วางอยูในสวน
21

แสดงที่มีฉากหลังเปนกําแพงกอนหินจะดูเล็กกวากอนหินขนาดเทากันที่วางอยูในสวนแสดงที่มองไม
เห็นกําแพง
5.ภาพที่มองเห็นในลักษณะความตื้นและลึก (Illusion of Perspection )ความซับซอนของภาพจะมีมาก
ขึ้นเมื่อมีการเพิ่มเหลี่ยมมุม เพิ่มเสนโครงราง ความแตกตางของความมืด ความสวางของภาพ

ดูรูปที่ 23 Gorilla exhibit ที่ Cincinnati Zoo ภาพที่เห็นจะเปนแบบวิวทิวทัศน จะเห็นวาภายในสวน


แสดงจะมีเหลี่ยมมุม มีรูปแบบของวัตถุหลายๆรูปแบบ มีความแตกตางของขนาดวัตถุหลายๆอัน
ภาพที่ปรากฏจะดูวางระเกะระกะดูไมเปนระเบียบและขนาดจะดูเล็กลง ซึ่งบางครั้งจะใหความรูสึก
ขัดแยงหรือความรูสึกที่ไมมั่นคง
6.ภาพที่เห็นมีความลึกและความไกล ( Illusion of Depth and Distance )วัตถุที่ปรากฏในสิ่งแวดลอม
ที่ความเขมขนของฝุนละอองน้ําเล็กๆ จะทําใหวัตถุนั้นดูไกลยิ่งขึ้น ถาเพิ่มความเขมขนของแสงจะทํา
ใหวัตถุนั้นดูใกลยิ่งขึ้น
การวางทับซอนกันของกําแพง เนินดิน ตนไมจะสรางความรูสึกวาภาพนั้นมีความลึก มี
ความลึกลับและความนาสนใจ เนื่องจากจะมีบางสวนที่ผูมองมองไมเห็น และสวนที่ผูมองใหความ
สนใจจะเปนบริเวณสวนกลางและสวนหลัง ความสวางโลงของพื้นที่ มีวัตถุที่มีขนาดตางๆกันจะ
เปนสวนในการสรางความลึกและความไกลของพื้นที่
22

ดูรูปที่ 24 ภาพที่เห็นนั้นจะมีความลึกโดยการใชการตกแตงแบบปาธรรมชาติ ที่มีการทับซอนกัน


ของสิ่งตางๆ เชนเนินดิน ตนไม
7.ภาพที่ความแตกตางในความมืด ความสวาง ( Illusion of Brightness Contrast ) บริเวณที่มืดจะดูวา
มืดมากขึ้น ถาบริเวณรอบๆสวาง หรือในทางตรงกัน จุด ที่สวางสิ่งแวดลอมที่มืดจะดูสวางมากขึ้น
ตัวอยางเชน ถาสวนที่ผูเที่ยวชมอยูเปนรมเงา สวนบริเวณที่สัตวอยูและฉากหลังอยูกลางแจงภาพที่
เห็นจะสวางมากขึ้น ถาบริเวณที่ผูมองภาพอยูมีแสงเขามาก ทําใหภาพที่อยูในสวนแสดงและฉาก
หลังคลุมเครือไมชัดเจน

ดูรูปที่ 25 สวนที่สัตวอยูในสวนแสดงสวางกวา ฉากหลังที่เปนตนไมขนาดใหญภาพที่เห็นสีสัน


ลวดลายตามลําตัวและขนาดของสัตวอยางชัดเจน
8. ภาพที่เห็นความชัดเจนของสี ( Illusion of Simultaneous Contrast in color ) ความชัดเจนของสี
จะขึ้นอยูกับความสวางของสีเมื่อเปรียบเทียบกับสิ่งแวดลอม การเห็นสีชัด เจนเพียงใดขึ้นอยูกับ
สิ่งแวดลอมที่อยูรอบขาง ตัวอยางเชน นกที่มีสีขนเปนสีสมเมื่ออยูบริเวณที่เปนตนไมที่มีใบเขียว สี
23

สมของตัวนกจะเห็นชัดเจนยิ่งขึ้น แตถารอบตัวนกเปนสีเทาหรือถาบริเวณนั้นมีแสงมากระทบมาก
ความเดนของสีจะลดลง
9. สีที่มีข องภาพมีส วนในการสรางความรูสึก ตื้น เตน และซึมเศรา ( Illusion of Retiring and
Advancing Colors ) สีที่มีความยาวของคลื่นแสงสั้น เชน น้ําเงิน เขียวจะสรางความรูสึกซึมเศรา
สวนสีที่ดูมีชีวิตชีวา จะมีความยาวของคลื่นยาว เชนสีเหลือง สีแดง สีที่ดูแลว เกิดความรูสึ กเย็นจะ
สรางความรูสึกซึมเศรา สวนสีโทนอบอุนจะสรางความรูสึกตื้นเตนและสนุกสนาน
แสงเปนสวนประกอบที่มีความสําคัญสวนหนึ่งในการออกแบบ ชว ยใหเห็นวัตถุ เห็น
รูปทรง พื้นผิว ซึ่งจะทําใหเกิดอารมณความรูสึกกับภาพที่ปรากฏใหเห็น
- การใชแสงจากดานหลัง จะทําใหเกิดเงา สวนการใหแสงจากดานขางจะทําใหเห็นเสนของวัตถุมาก
ขึ้น
- สวนแสดงที่อยูภายในตัวอาคารจะสามารถควบคุมความเขมของแสงได และชนิดของหลอดไฟได
ทั้งหมด แตในสวนของกลางแจงแลวเราควบคุมอะไรไมไดเลย แตสิ่งหนึ่งที่ตองวางแผนไวคือแนว
ของสวนแสดงกับทิศทางของแสงเปนอยางไร เผื่อในกรณีแสงที่ผานมาที่คอกในชวงที่มีผูเที่ยวชม
หนาแนน
- วัตถุที่ชวยสรางความรูสึกเปน บริเวณปดไมวาจะเปนแนวดิ่ง แนวนอนหรือ พื้นที่ดานบนเหนือ
ศีรษะ ก็สามารถใชเปนตัวเลือกในเรื่องที่เกี่ยวกับแสง เชนการสะทอนแสง การดูดกลืนแสง การ
กระจายของแสง ลําดับตอมาคือเรื่องของความเขมของแสง การกระจายตัวของแสง
- การใชแสงจากหลอดไฟเขามาชวยเพิ่มแสงธรรมชาติ ตองมีขอพิจารณาอยางสรางสรรค โดยตอง
ทราบถึงการสรางอารมณค วามรูสึก ของผูออกแบบสว นแสด แนวคิด เรื่องการใชหลอดไฟเป น
แหลงกําเนิดแสง หลอดไฟสําหรับกลางคืน แผนงานการทํางานสิ่งเหลานี้ตองการงานในลักษณะ
ของงานวิจัย Josline 1982 ไดพูดถึงแผนงานการแสดงสัตวในเวลากลางคืนของ Sadiago Wild
Animal Park วาเปนนัวตกรรมที่ใชเพื่อสรางความสนใจใหกับนักทองเที่ยว
ในเวลากลางคืนที่มีการเปดใหผูเที่ยวชมเขาชมสัตว เชน ไนทซาฟารี หลอดไฟใหความ
สวางตามทางเดิน ควรใชแสงที่มีความเขมของแสงต่ําและแสงที่ออนนุม การใชไฟในการชมสัตว
แบบไนท ซาฟารีใชการไฟสปอทไลทสองจากรถนําเที่ยวจะได ความรูสึกที่ตื่นเตนกวาและความรูส ึก
ในขณะชม วามีความเปนปามากกวาในชวงเวลากลางวัน เนื่องจากในชวงเวลากลางวันจะเห็นแนว
เขตของสวนแสดงอยางชัดเจนและมองเห็นจุดสนใจอื่นๆ อีก การใช ไฟติดตั้งภายในสวนแสดงอาจ
ใชไดในกรณีมีสวนแสดงสัตวที่มีการจัดแสดงสัตวอยางตอเนื่องและเหมาะสม การเพิ่มการทองเทีย่ ว
ในเวลากลางคืน เปนอีกชองทางหนึ่งที่จะเพิ่มรายได ซึ่งความสําเร็จยังตองมีปจจัยเสริมอื่นอีกหลาย
ประการ ( Josline 1982 )
สวนสัตวเปนสถานที่สําหรับใหความรูแกบุคคลทั่วไป เพื่อจะไดเห็นความสําคัญของงาน
ดานการอนุรักษทรัพยากรพืชและสัตว เนื่องดว ยสัตวเ ปนสิ่งที่สามารถสรางความดึงดูดใจใหเกิด
24

ความรูสึกอยากเรียนรู ผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตวเนื่องจากความสนใจในตัวของสัตวปา สะทอนใหเห็น


ถึงความรูสึกพื้นฐานของคนที่ตองการใกลชิดกับธรรมชาติ ซึ่งสวนสัตวเปนสถานที่ที่สามารถเปลี่ยน
ทัศนคติของผูคนใหมาสนใจในเรื่องการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติได โดยอาศัยองคประกอบจาก
ตัวสัตวที่มีความนาสนใจอยูแลว และการออกแบบสวนแสดงสัตวเปนตัวเราใหเกิดการสนุกสนานใน
อันที่จะพัฒนาไปเปนความรูสึกแหงการเห็นความสําคัญของการอนุรักษรักษาทรัพยากรธรรมชาติไว
25

บทที่ 2 การพัฒนาของสวนสัตว ( Evolution of the Zoo )


สวนแสดงสัตวไดมีการสรางกันในรูปแบบเดียวโดยมนุษยเปนเวลาหลายพันป การ
ออกแบบเพื่อการสรางภาพที่สวยงามขึ้นเริ่มมีขึ้นชวงของการปฏิวัติเทานั้นเอง ( Evolutionary period )
ในราชสํานักของจีน โรมัน อียิปต ไดมีสถานที่เลี้ยงสัตวปาในลักษณะที่เรียกวา menageries ซึ่งการ
เลี้ยงสัตวปานี้มไี วเพื่อความเพลิดเพลินสวนตัวและสําหรับแขกพิเศษ ซึ่งเปนลักษณะการเลี้ยงสัตวปา
หลายชนิดๆ โดยเฉพาะราชวงศในทวีปยุโรป ซึ่งเปนที่นิยมในชวงศตวรรษ ที่ 16-18 โดยสัตวที่
ไดมาเปนของขวัญจากนักเดินทาง นักสํารวจ ที่นํากลับมาเพื่อเปนของกํานัลเพื่อหวังที่จะใหกษัตริย
ชวยเหลือในเรื่องคาจายเพื่อใชในการเดินทางในครั้งหนา
คอกที่สัตวอยูยังไมไดมีแนวคิดที่จะจําลองถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นมาแตอยางใด เปนคอกที่
สรางกันงายๆ หรือมักจะใชการตกแตงในแบบสวนหรือตึกที่มีตามสถานที่นั้นๆ ตัวอยางเชน The
menageries ที่ Versailles ในศตวรรษที่ 18 ที่บานที่สัตวอยูจะมีลักษณะเปนบานพัก( villas )
( Jone,1985 )

ดูรูปที่ 26 Versailles Menagerie, France, คศ. 1650 เปนรูปแบบอยางเปนทางการและ


สถาปตยกรรมของที่อยูของสัตว ในลักษณะของบานที่อยูในสวนขนาดใหญ ( Pavillion ) ซึ่งเปน
ที่ที่เจาของและแขกจะไดมาสนุกสนานและประทับใจกับสัตวที่นํามาเลี้ยงไวหลายชนิด
มี menagerie ในบางแหงที่มีการตกแตงโดยใชสิ่งของบางสิง่ ตกแตงเพิ่มเติมเขาไปเพื่อบง
บอกแหลงที่มาของสัตวชนิดนั้น หรือใชตํานานที่เกี่ยวของกับสัตวชนิดนั้นๆ หรือบางแหงที่
สรางบรรยากาศของประเทศที่เปนแหลงกําเนิดของสัตวชนิดนั้นโดยการจําลองอาคารบานเรือนที่
เปนลักษณะของถิ่นที่อยูสัตว โดยใชตัวสัตวเพื่อเปนความสนุกสนานเพลิดเพลินแกแขกที่มา
เยือนเจาของบาน มีบางครั้งที่ผูเลี้ยงสัตวก็นํามาจากถิ่นที่นําสัตวมา ก็ใหผูเลี้ยงสัตวแตงตัวใน
แบบพื้นเมืองดวยก็เปนการเสริมภาพของความเปนของแปลกมากยิ่งขึ้น ซึ่งสิ่งประกอบเหลานี้
คือจุดเริ่มตนของการใชวิชามานุษยวิทยา ( anthropological )เขามารวมในการออกแบบสวนแสดง
26

สัตว ตัวอยางของภาพที่ยังเหลือเปนหลักฐานคือสวนที่อยูในเมือง Schonbrunn ที่อยูใกลกับ


เมือง เวียนนา ถึงแมวาสวนแสดงสัตวจะมีมานับเปนพันปก็ตามแตการเปลี่ยนแปลงอยางขนาน
ใหญมีในชวงหนึ่งรอยปที่ผา นมานี้เอง ( Handcock,1971 )
ในศตวรรษที่ 19 เริ่มมีแนวคิดที่เปลี่ยนไปเกี่ยวกับสัตวที่นํามาเลี้ยงในกรงขัง การเติบโต
ในเรื่องของศิลปะและวิทยาศาตรที่ตองนํามาใชที่แสดงถึงความรับผิดชอบตอตัวสัตว ซึ่งไดกลายเปน
วิชาชีววิทยาที่มีการศึกษาเอาอยางจริงจัง ไมไดเปนไปเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนานเพียงอยางเดียว
อยางที่เคยเปนมา
สวนสัตวแหงกรุงลอนดอน ( The Zoological Garden of London ) ที่กอตั้งขึ้นเมื่อป
คศ. 1830 ซึ่งเปนสวนสัตวที่ใชคําวา The first of the modern zoo คําวา zoo มาจากเพลงที่ไดรบั
ความนิยมในป 1877 ชื่อเพลง “ walking in the Zoo is the OK Thing to do ’’ ( Handcock,1971 ) มี
ประชาชนเขามาเที่ยวสวนสัตวจํานวนมาก แตวิธีการสรางกรงเลี้ยงในสวนสัตวก็ยังไมมีอะไร
เปลี่ยนแปลง สัตวหนึ่งตัวอยูในหนึ่งกรง ซึ่งมีกรงหลายกรงอยูติดกันรวมกัน ที่เปนสัตวที่อยูในกลุม
เดียวกันอยูภายในสวนแสดงนั้น เชนบานลิง บานแมวปา

ดูรูปที่ 27 Monkey House, London Zoo, คศ .1835 ในชวงเริ่มตนมีสวนสัตว สวนแสดงสัตวจะเปน


แบบกรงและตึกที่จะมีการวางกระจายตัวทั่วสวน เปนการเดินชมแบบสบายๆ ไปเรื่อยๆรอบสวนสัตว
แลวหยุดดูสัตว เปนกิจกรรมที่ไปกับเพื่อนๆ ซึ่งเปนกิจกรรมนันทนาการที่ไดรับความนิยมมาก
เรารูกันวาการจัดกรงในรูปแบบนี้ใชแนวคิดในเรื่องการจัดกรงสัตวตามการ
แบงกลุมของสัตว ( taxonomic ) รูปแบบการกอสรางสําหรับสวนแสดงสัตวมักจะแสดงถึงแนวคิด
ทางปรัชญาหรือใชแสดงความคิดเห็นในการวิจารณเหตุการณบานเมืองในขณะนั้น การสื่อสารที่
ออกมาจากสวนแสดงสัตวนั้นไมไดสื่ออะไรออกมาและไมมีรูปแบบ รูปแบบสวนแสดงสัตวที่
ออกมาดูแลวก็คลายกับโบสถ
27

ในชวงเวลาดังกลาวสัตวจะถูกจัดแสดงภายในตัวอาคาร ซึง่ สะทอนถึงความคิดที่วาสัตวที่มา


จากเขตรอนตองอยูในบานที่ปองกันอากาศจากภายนอกของภูมิอากาศเขตหนาว สัตวสวนใหญอยูใน
ตัวอาคารตลอดเวลา ยกเวนสวนแสดงของลิงที่เมือง Munster ซึ่งเปนสวนแสดงที่มีทั้งสวนแสดง
กลางแจงและสวนแสดงที่อยูภายในตัวอาคาร จนกระทั่งในปคศ. 1933 มีสวนแสดงลิงกอลิลาที่สวน
สัตวแหงกรุงลอนดอนไดถูกสรางขึ้น แนวคิดเรื่องการจัดแสดงสัตวใหมีทั้งสวนแสดงกลางแจงและ
สวนแสดงในอาคารจึงเริ่มเปนที่ยอมรับ และในชวงเวลาเดียวกันที่ความสนใจในการใชความรูทาง
สถาปตยกรรมเพื่อลดความรูสึกอึดอัด โดยการใชความรูสึกในเรื่องของความลึกและพื้นที่ ตลอด
จนถึงการเลือกใชสีดวย
ผลที่เกิดขึ้นในสวนสัตวเมื่อเริ่มใชการออกแบบโดยใชวิชาสถาปตยกรรมเขามามากขึ้น คือความ
สวยงามของสว นแสดงมีมากขึ้น ในลัก ษณะที่แสดงสัต วในกลุมเดียวกัน ซึ่งผูเที่ยวชมสามารถ
เปรียบเทียบลักษณะของสัตวแตละชนิดได และลักษณะของสวนแสดงสัตวในลักษณะแบบนี้จะงาย
กับการจัดการ แตการจัดแสดงในสวนแสดงสัตวในยุคนั้นจะใชหลักแนวคิดเหมือนกับการจัดวาง
สินคาในรานภายในหางสรรพสินคา และตัวของสวนแสดงเองไมมีการสื่อสารขอมูล ทําใหผูเทีย่ วชม
แปลความหมายและเกิดความเขาใจผิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญเกิดขึ้น ที่สวนสัต ว Hamburg-Stellinger ประเทศเยอรมัน นี ซึ่ง
ออกแบบโดย Carl Hagenbeck ในป 19 โดยการใชคอนกรีตและมี Urs Eggenschwiller ที่มี
ความสามารถในเรื่องงานกอสราง Hagenbeck ไดสรางหินเทียมที่ใชเปนฉากหลัง ลูกกรงในสวน
แสดงสัตวจะถูกแทนที่ดวยการใชคู เนื่องจากซี่กรงเหล็กจะเปนตัวบดบังการมองใหเปนการแสดง
สัตวที่ไมมีสิ่งที่บดบังสายตารวมกับการใชตนไม กอนหินและทอนไมที่จะทําใหเกิดภาพในแนวกวาง
ที่มีสัตวอยูภายในและเกิดภาพสัตวที่อยูในถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ
28

ดูรูปที่ 28 African Exhibit, Hagenbeck Zoo, Humberg, West Germany ความพิเศษของสวนแสดงนี้


คือการนําสัตวหลายชนิดมาเลี้ยงรวมกันในพื้นที่ที่ดูเปนธรรมชาติมีการใชคูและสิ่งกั้นอาณาเขตที่มี
ความสูงต่ําเพื่อแบงพื้นที่ของสัตวออกเปน 5 สวน 1 บึงของนก 2. ที่ราบแอฟริกา 3. สวนแสดง
สิงโต 4 แกะพันธุ บารบารี่ 5 แกะภูเขา
Hagenbeck’s ไดสรางภูมิทัศนจําลองใหดูเปนสภาพตามธรรมชาติ และจัดวางตําแหนง
ของจุดชมสัตว ใหผูเที่ยวชมสามารถเห็นสัตวไดอยางชัดเจน และลดความเดนของตัวอาคารที่เปน
ส ว นแสดงนั้ น ลง โดยพยายามให ส ว นของตั ว อาคารเป น ส ว นของคอกกั ก สั ต ว แนวคิ ด ของ
Hagenbeck ตองการพื้น ที่ก วางขวางเพื่อเพิ่มในส ว นของตน ไม ไมพุม ภูเขา จึงมีคําศัพทว า
“ zoological park ” ตัวของ Hagenbeck ก็เปนผูริเริ่มการแบงพื้นที่สวนแสดงสัตว ใหเปนตามแบบ
ถิ่นที่มาของสัตวชนิดนั้น แทนที่จะแบงตามกลุมของสัตวเพียงอยางเดียว สิ่งที่ไดเพิ่มเติมขึ้นในแง
ของตัวสัตวเองคือพื้นที่ที่มากยิ่งขึ้น ซึ่งทําใหตัวสัตวจะไดมีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับสัตวชนิดเดียวกัน
ตัวอื่นๆ มากยิ่งขึ้น ถึงแมวาความใกลเคียงกับสภาพปาธรรมชาติเดิมยังหางไกลความเปนจริงอยูมาก
การออกแบบสวนแสดงสัตวแบบไมมีซี่กรง เปนแบบสวนแสดงสัตวที่ประชาชนชื่นชอบ ทําให
ฮาเจนเบคไดมีโอกาสออกแบบสวนสัตวทั้งในยุโรปและอเมริกา โดยเฉพาะที่สวนสัตวดีทรอยท ที่
สรางในชว งป คศ 1928 ซึ่งไดอิทธิพลจากแนวคิดของงานกอสรางที่ลดการใชซี่กรงเหล็ก มาใช
วิธีการใชคู เปนสวนสัตวที่มีการใชคูมากที่สุดในอเมริกา จนมีคําพูดกระทบกระเทียบแนวคิดของฮา
เจนเบควา “ Its moat widths are still consider the standard for the industry . อยางไรก็ตามแนวคิด
ของฮาเจนเบคก็เปนแรงบันดาลใจ แรงกระตุนความคิดที่สําคัญที่ทําใหโฉมหนาของสวนแสดงสัตว
มีการเปลี่ยนแปลงและเปนการเปลี่ยนแปลงที่ยังมีการนําแนวคิดมาใชอยางตอเนื่อง
ในชวงเวลาตอจากนั้นเล็กนอย ความคิดในเรื่องการจัดการเรื่องภูมิทศั นที่มีความสําคัญเปนอันดับ
หนึ่ง ไดเปลี่ยนไปที่ใหความสําคัญกับเรื่องการจัดการความสะอาดไดมาเปนอันดับหนึ่งและจัดการ
เรื่องภูมิทัศนใหจัดในระดับที่ใหเปนธรรมชาติมากที่สุด
29

การจัดการในเรื่องจุดชมใหดูสวยงามและการจัดการเรื่องการสุขาภิบาล เพื่อที่จะควบคุม
พยาธิและการควบคุมโรค แตสิ่งหนึ่งที่มักเกิดขึ้นตามมาเมื่อนึกถึงการสุขาภิบาลมากขึ้นคือ บางสวน
ของสว นแสดงจะมองเห็น เหมือนหองน้ําที่มีการนําแผน กระเบื้องมาปูเพื่อใหงายตอการทําความ
สะอาด
การจัดการสวนแสดงและจัดภูมิทัศนในรูปแบบของฮาเจนเบค เปนการจัดรูปแบบสวนแสดง
ที่ดูเปนธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งไมไดหมายความถึงการจัดสวนแสดงใหเหมือนในแบบถิ่นที่อยูตาม
ธรรมชาติของสัตวชนิดนั้นๆ
การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญอีกครั้งหนึ่งเมื่อกิจการของสวนสัตวมีกฎหมาย The endangered
Species Act ในป คศ. 1973 โดยในกฎหมายตองการควบคุมชนิดสัตว และสัตวบางชนิดจําเปนตอง
เริ่มการวางแผนเพื่อการเพาะขยายพันธุสัตวในสวนสัตว และกลุมสิทธิสัตวก็กลาววาสวนสัตวกระทํา
ตอสัตวอยางไมเหมาะสม ดังนั้น The American Association of Zoological Park and Aquarium ได
สรางมาตรฐานของตัวเองขึ้น โดยใหสวนสัตวเปลี่ยนแนวคิดใหมจากเพื่อการพักผอนและเพื่อความ
สนุกสนาน โดยการมีชนิดสัตวจํานวนมากและตัวสัตวจํานวนมาก โดยคุณภาพของสวนสัตวจะไม
วัดที่จํานวนของชนิดสัตว แตจะวัดที่คุณภาพของสวนแสดงสัตว งานใหการศึกษา งานวิจัยและงาน
ดานอนุรักษ โดยสัตวทตี่ องมีจัดแสดงใหผูเที่ยวชมไดชมเชน สิงโต เสือ ชาง
ในปจจุบันรูปแบบของสวนแสดงสัตวมีหลากหลาย เนื่องจากมีจุดประสงคและเปาหมายที่
จะมารองรับและยืนยันรูปแบบของสวนสัตวในรูปแบบตางๆ นั้น สวนแสดงที่มีลักษณะเปนกรงก็
ยังคงมีใหเห็นอยูทั่วไป รวมกับรูปแบบสวนแสดงสัตวแบบใหมหลายๆ รูปแบบก็เขามาเปน
สวนประกอบดวย สวนจัดแสดงสัตวที่เลียนแบบถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ ( Habitat exhibit ) จะ
เปนการจัดการที่จะคัดเลือกสัตวและพืชเขามาจัดแสดงรวมกัน โดยจะตองมีปจจัยเกี่ยวเนื่องกับ
สถานที่ สิ่งแวดลอมในบริเวณที่จัดสรางขึ้นดวย สวนจัดแสดงที่สรางโอกาสใหสัตวไดแสดง
พฤติกรรมตามธรรมชาติของตัวสัตวเอง ( Behavior exhibit ) ไดมีการกอสรางและพัฒนารูปแบบขึ้น
เชน พฤติกรรมการบิน วายน้ํา การสรางสวนแสดงที่เปนจุดสนใจ ( Popularity exhibiting ) โดยการ
ใชสตั วที่อยูในความสนใจของประชาชน เชน แมวน้ํา ( sea lion ) ( Nagao, 1985 ) สวนแสดงสัตว
ที่มีการสรางภูมิทัศนทั้งภายนอกและภายในสวนแสดงใหกลมกลืนกัน โดยใหผูเที่ยวชมมีความรูสึก
วาตัวเองอยูในพื้นที่เดียวกับสัตว ( Landscape immersion exhibit, การจัดลักษณะพื้นที่ ตนไม กอน
หิน องคประกอบตางๆ ใหเหมือนกันระหวางพื้นที่ผูเที่ยวชมและสัตว เสมือนหนึ่งกําลังเดินเที่ยวปา )
30

ดูรูปที่ 29 Australia Exhibit เปนทางเดินเทาที่ยกขึ้นสูง และพาดผานเขาไปในถิ่นที่อยู ผูเที่ยวชมจะ


ถูกกลืนเขาไปในพื้นทีข่ องสัตว

โดยที่ภาพที่ผูเที่ยวชมเห็นและสัตวเห็นจะเปนสิ่งแวดลอมเดียวกันอีกรูปแบบหนึ่งคือการจัด
แสดงสัตวแบบซาฟารี ที่มีสัตวหลายชนิดอยูในพื้นที่ขนาดใหญเปนพื้นเดียวกันแหงเดียวกัน การ
เที่ยวชมใชวิธีการนั่งรถนําชม หรือรถรางนําชม ( mono rail ) .ในสวนเนื้อหาเรื่องรูปแบบของของ
สวนแสดงสัตว ( Exhibit theme ) เปนสวนที่มีเนื้อหาคอนขางมากจึงยกไปกลาวถึงในบทของ
“ Animal Exhibit theme ”
การพัฒนาสวนสัตวในรูปแบบใหม ไมไดมีความพยายามที่จะปรับปรุงในสวนของความ
สนุกสนานเพลิดเพลินใหกับผูเที่ยวชมแตเพียงอยางเดียว แตสวนสัตวตองเพิ่มในสวนของงานดาน
อนุรักษ งานวิจัย งานใหการศึกษา โดยสื่อจากการออกแบบสวนแสดงสัตว โดยในงานดานการ
อนุรักษและวิจัยจะเปนงานที่มีความสําคัญที่จะใหสัตวชนิดที่ถูกคุกคาม ๆ ยังคงอยูตอไปในพื้นที่ปาที่
มีการพัฒนาของมนุษย งานใหการใหการศึกษาที่ตองการใหขอมูลแกสาธารณะชน ในเรื่องของ
บทบาทของสวนสัตวในเรื่องงานอนุรักษและสาธารณะชนจะมีสวนรวมในงานนี้ไดอยางไร
บทเรียน เหตุการณตางๆ ในชวงที่ผานมาในอดีตไดบอกถึงทิศทางของการพัฒนาสวนสัตวใน
อนาคตมีไวอยางไรบาง เหตุการณทเี่ กิดขึ้นอยางชัดเจนคือ พื้นที่ปาทุกแหงมีพื้นที่ลดลงจากความ
ตองการใชพื้นที่ของมนุษย งานวิจัยในสวนสัตวและแผนงานการอนุรักษกลายเปนความหวังสุดทาย
ในการรอดจากการสูญพันธุของสัตวบางชนิด และมีความเปนไปไดที่จะนํากลับสูพื้นที่ปาธรรมชาติ
31

เปนขอบงชีว้ าการสรางสรรคและรักษาสวนแสดงสัตวตางๆ ที่มีในสวนสัตวสามารถตอบสนองความ


ตองการดานชีววิทยาและความตองการของสังคมสัตวได และกระตุนใหสัตวสามารถที่จะออกลูก
เพิ่มจํานวนขึ้นได ดังนั้นงานกอสรางสวนแสดงสัตวที่จะสามารถจําลองเอาลักษณะของถิ่นที่อยูของ
สัตวชนิดนั้นจากธรรมชาติ จึงขึ้นอยูกับงานวิจัยในปจจุบันในดานของการเพาะขยายพันธอยางยิ่ง
ความเกี่ยวพันธที่เกิดขึ้นระหวางผูเที่ยวชมสวนสัตวกับตัวสัตวมีอยางไรบาง ความตองการของ
สวนสัตวเองคือตองการใหผูเที่ยวชมไดเห็นคุณคาของงานที่สวนสัตวไดทํา รวมทั้งตองการใหมวลชน
ไดชวยกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ แตสิ่งที่สําคัญคือเราจะมีวิธีการที่จะสื่อสารกับผูเที่ยวชมที่เขา
ในสวนสัตวดวยวิธีการใด
หนึ่งในคําตอบที่พอจะเปนคําตอบสําหรับคําถามดังกลาวคือ การเจริญเติบโตของเพื่อนรวม
ในงานที่มีลักษณะคลายกันคือ พิพิธภัณฑ ซึ่งพิพิธภัณฑเปนสถานที่ที่เกิดจากการสะสมสิ่งของมีคา
ของที่ระลึก งานศิลปะ และสิ่งประดิษฐ โดยผูสะสมจะเปนบรรดาเศรษฐี โดยในชวงแรก เปนงาน
อดิเรกสําหรับผูรํารวยที่มีรสนิยมในเรื่องตาง ๆ ตามความชอบของตัวเอง ( Wittlin, 1968 ) ในชวง
ศตวรรษที่ 20 เปนชวงที่มีการพัฒนาในการออกแบบการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ โดยมีการใช story
line มาชวยในการสื่อความหมายในงานใหการศึกษา พิพิธภัณฑเริ่มมีความสัมพันธที่แนนแฟนกับ
โรงเรียนที่อยูใกลเคียง ไมเพียงแตเด็กนักเรียนเทานั้นที่เขามาเรียนรู ครู อาจารยก็เขามาเรียนรู
เชนเดียวกัน ขอดอยที่สําคัญของพิพิธภัณฑคือสิ่งของที่อยูภายในที่จัดแสดงอยูอยูในลักษณะที่หยุด
นิ่ง การพัฒนามาอีกขั้นหนึ่งของพิพิธภัณฑใหมีความเคลื่อนไหวมากขึ้นก็คือการใชปุมกดที่มีใน
ลักษณะคําถามคําตอบ อีกรูปแบบหนึ่งคือการเพิ่มในสวนของหองสัตวมีชีวิตที่ไดกลายมาเปนสวน
สําคัญของพิพิธภัณฑ เปนที่ที่เด็กสามารถเรียนรูไดโดยไมเกิดความกลัว แตเปนชองทางที่จะใหเด็ก
เกิดกระบวนการเรียนรู
32

บทที่ 3 การพัฒนาเปาหมาย ( Development Goal )


การจะตรวจสอบดูวาสวนสัตวแหงนั้นสามารถการปรับปรุงและพัฒนาเปาหมายของงานใหบรรลุ
ไดหรือไมนั้นนั้น ดูไดจาก
- ภาพของการจัดการและการบริหารงาน
- แผนกลยุทธในเรื่องของการพัฒนาสวนสัตวและการออกแบบสวนแสดงสัตว
- การนําเปาหมายมาใชในเปนการแนวทางสําหรับคณะทํางานในการวางแผนและออกแบบ
ลักษณะทางกายภาพ
เปาหมายที่จะปรับปรุงและพัฒนานั้นจะตองมีความชัดเจน ผูทํางานในสวนสัตวมคี วามเขาใจ
และยอมรับในเปาหมาย ดังนั้นจึงเปนเรื่องจําเปนที่ผูอํานวยการสวนสัตว นักวางแผน หัวหนาแผนก
บํารุงรักษาสัตวและผูออกแบบจะตองปรับปรุงเปาหมายใหทันสมัยเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตาม
ความรับผิดชอบสําหรับงานของสวนสัตวในศตวรรษที่ 21 William G. Convey 1982 ไดให
ความเห็นในเรื่องของประวัติศาสตรของสวนสัตวดังนี้
ความสัมพันธระหวางคนกับสัตวปามีดวยกันในหลายรูปแบบ เชน
- ใชเปนอาหาร
- นํามาเลี้ยงเปนเพื่อน
- ศึกษาสัตวปาดวยความสนใจในพฤติกรรมและลักษณะที่สวยงามแปลกตา
- มีความกลัวตอสัตวปาบางชนิดที่แสดงพฤติกรรมออกมาอยางสงางาม มีพลัง และอํานาจ
แตโดยสรุปแลวสวนใหญแลวสัตวปานั้นจะเปนผูถูกคุกคามโดยคนซึ่งเกิดขึ้นไดในหลายกรณี
สวนสัตวจะเปนสถานที่ที่คนและสัตวปาสามารถอยูรวมกันในระยะที่ใกลขึ้นมากกวาที่อื่นๆ และเปน
สถานทีที่มีความรับผิดชอบตองานที่ทํา มีจุดประสงคและมีปรัชญาในการทํางาน
สวนสัตวไดเกิดขึ้นมามากกวา 5,000 ป โดยกษัตริยชาวอียิปต ชนชั้นปกครองของชาวสุเม
เรียน โดยแนวคิดที่เหมือนกับการเลี้ยงสัตวทั่วๆ ไปที่มีจุดประสงคเพื่อไวเปนเพื่อน เลี้ยงสัตวเพื่อ
นําไปใชประโยชนเพื่อการใชแรงงานและเปนอาหาร สวนสัตวในปจจุบันตองมีการพัฒนาเพื่อให
บรรลุจุดประสงคของสวนสัตวที่มี
- เนื่องจากดวยความรับผิดชอบของตัวสวนสัตวเอง
- ความคาดหวังจากผูเที่ยวชมสวนสัตว และโดยสภาพของประชาชนในสังคมเองที่จะตองถูก
บังคับและตีกรอบใหเห็นความสําคัญของธรรมชาติ
- ความเปนมืออาชีพและ การปฏิญาณตนของของสวนสัตวสมัยใหมไดมีการพัฒนาปรัชญา
ของสวนสัตวไปอยางเดนชัดเปนรูปธรรม
33

ตัวของปรัชญาเองเปนตัวชี้แนวทางที่จะใหเห็นถึงจุดประสงคของสวนสัตว ซึ่งทําใหเกิดงาน
ในลักษณะที่สวนสัตวตองทํางานอยางรับผิดชอบตอสัตวทั้งหมดที่ตนเองนั้นรับผิดชอบอยู ตอง
รับผิดชอบที่จะสรางความพึงพอใจกับผูเที่ยวชมที่จะเขามาใชบริการ
แตเดิมที่การแขงขันของแตละสวนสัตวจะเปนไปในเชิงจํานวนชนิดของสัตว จํานวนสัตวที่
หายากแตในปจจุบันงานที่สวนสัตวใหความสําคัญจะเปนเรื่องของสวนแสดงสัตวที่ดี งานให
การศึกษา งานวิจัย งานดานการอนุรักษที่ตรงกับปรัชญาของสวนสัตวอยางแทจริงเปนตัววัด
มาตรฐานของแตละสวนสัตว แตอยางไรก็ตามการใหความสําคัญในแตละเรื่องก็ขึ้นอยูกับทีม
ผูบริหารของสวนสัตวแตละแหงจะใหน้ําหนักมากนอยในแตละเรื่องอยางไร รวมทั้งผูออกแบบสวน
สัตวดวย
การเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นในเรื่องปรัชญาของสวนสัตว เริ่มขึ้นมาในชวง 10-15 ปที่
ผานมานี้เอง โดยมีการใชแผนแมบทในสวนสัตว การออกแบบสวนแสดง มีงานเขียนที่กลาวถึง
ความสัมพันธระหวางมนุษยและสัตวปา
จุดมุงหมายที่เปนแกนสําคัญของปรัชญาการทํางานของสวนสัตวในยุคปจจุบัน ( the core of
modern zoological philosophy ) คือ
1. การพักผอนหยอนใจและความบันเทิง
2. การศึกษา
3. งานดานการอนุรักษ
4. งานวิจัย
ซึ่งแตละสวนสัตวมีการใหน้ําหนักในแตละเรื่องที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับคณะผูบริหารและ
ทีมงานในการออกแบบสวนสัตว โดยในบทนี้จะพูดถึงใน 4 หัวขอนี้ พูดถึงความสัมพันธที่
เกี่ยวเนื่องกันและ ในสวนที่ขัดแยงกัน และการวางแผน การออกแบบที่จะใหงานแตสว น
ประสานกันไปไดรวมทั้งตองมีความเหมาะสมในเรื่องคาใชจายในงานกอสราง คาใชจายที่ตองใชใน
การทํางานและบํารุงรักษา การใหความสําคัญในแตละเปาหมายของแตละสวนสัตวนั้นจะมีความ
แตกตางเนื่องจากลักษณะทางกายภาพ ความพรอมในเรื่องของทุนและบุคลากร

การพักผอนหยอนใจและความบันเทิง ( Recreation )
กอนที่ผูเที่ยวชมจะเขามาเที่ยวที่สวนสัตวถาเปนบุคคลที่ยังไมเคยมาเลยเขายอมหาขอมูลวาสวน
สัตวที่จะมาเที่ยวมีสิ่งที่นาสนใจอะไรบาง ความสะดวกในการเดินทางเปนอยางไร เมื่อเขามาเที่ยว
แลวงานบริการดีหรือไม ถาเปนผูท ี่เคยมาเที่ยวแลวยอมมีขอมูลอยูในความทรงจําแลววาสวนสัตวแหง
นี้เขาจะกลับมาใชบริการอีกครั้งหรือไม
34

( ดูรูปที่ 32 ) African Demonstration Area ที่ Miami Metro Zoo จุดประสงคแรกของการมาเที่ยว


สวนสัตวคือการไดสนุกสนานในลักษณะพื้นที่กลางแจง มาดูสัตวที่มีลักษณะแปลกตา มีความสุข
รวมกับครอบครัวและเพื่อน
สวนสัตวนั้นมีคูแขงทางการตลาด ที่เปนองคกรที่ไมหวังผลกําไรและที่หวังผลกําไรจากการ
ประกอบการ เชน หางสรรพสินคา โรงภาพยนตร
งานบริการของสวนสัตวในเรื่องการพักผอนหยอนใจและความบันเทิง เปนแรงดึงดูดที่สําคัญ
ใหผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตว รายไดที่มาจากผูเที่ยวชมจะเปนแหลงทุนที่สําคัญเพื่อนํารายไดที่เกิดขึ้น
ไปใชในงานวิจัย งานดานการอนุรักษและงานใหการศึกษา สวนสัตวเปนองคกรที่เห็นความสําคัญ
ของความสัมพันธในจุดประสงคของสวนสัตวทั้ง 4 ขอนี้ การผสมผสานกระบวนการวางแผนจึง
เปนสิ่งสําคัญ ‘ดูตัวอยางแผนแมบทในดานงานบริการ
Washington Park Zoo มีขอตกลงที่จะรักษาโครงสรางในสวนของงานบริการใหสมบูรณ
เต็มรูปแบบ โดยที่ผูเที่ยวชมไดสัมผัสกับสวนสาธารณะ สวนแสดงสัตว มีการบริการและสิ่งอํานวย
ความสะดวก โดยงานสวนนี้เปนสวนประกอบสําคัญที่ทําใหเกิดความเพลิดเพลินแกผูเที่ยวชม ซึ่ง
จะสงผลใหผูเที่ยวชมใชเวลาอยูในสวนสัตวยาวนานขึ้น มีการกลับมาเที่ยวซ้ําบอยครั้งขึ้น ซึ่งจะมี
ผลทําใหยอดรายไดของสวนสัตวเพิ่มขึ้น ( Guthrie, Slusarenko, and Leeb, 1983 )
สถานทีส่ ําหรับพักผอนหยอนใจและความบันเทิงในสวนสัตวจะเปนสวนสําคัญในการดึงดูด
เอาผูเที่ยวชมหลายกลุมเขามาเที่ยวในสวนสัตว Paul Josline แหง Brokfield Zoo ในเมืองชิคาโก
มลรัฐอิลินอยด ใหความเห็นไววา
การที่สวนสัตวตองจัดเตรียมงานบริการ เพื่อความบันเทิงและการพักผอนเปนเรื่องที่สําคัญ
โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อดึงดูความสนใจลูกคาที่มีความความสามารถและอํานาจในการจับจาย และ
35

เปนความตองการลําดับที่หนึ่งของผูเที่ยวชม (first and great need) เลยที่เดียว โดยดูจาก


ขอคิดเห็นจากผูเที่ยวชมดังนี้ “ หลังจากตองทํางานหนักมาทั้งสัปดาห ผมตองการพักผอน สวนสัตว
คือสถานที่แหงหนึ่งที่ครอบครัวและตัวผมเองเลือกที่จะไป เปนสถานที่ที่เราสามารถไปได
( คาใชจาย ระยะทางและความสนใจ ) เปนสถานที่พักผอนแบบกลางแจง มีสัตวปาที่นาสนใจ
เปนเวลาที่ครอบครัวของเรามีความสุขและทีส่ ําคัญเด็กๆ สนุกมาก
จากขอคิดเห็นในความเห็นที่มีความคิดคลายๆกันในลักษณะนี้จากบุคคลหลายๆกลุม จาก
ผูสูงอายุถึงเด็กทารก ผูพิการจนถึงคนปกติ จึงไมนาสงสัยหรือนาประหลาดใจเลยวาจํานวนผูเที่ยว
ชมสวนสัตวในเขตอเมริกาเหนือนั้นมีมากกวาจํานวนของผูเขาไปในสนามเพื่อชมกีฬาในนัดสําคัญ
รวมกันเสียอีก (Josline 1982)
Josline ไดพูดประเด็นอื่นในการบรรยายในการอบรมเรื่องการออกแบบสวนแสดงสัตวใน
หัวขอ “Zoological Park Master Planning and Exhibit Design”
The Webster dictionary ไดใหคําจํากัดความคําวา recreation หมายความวา เปนโอกาส
ที่จะสรางและฟนฟูสภาพจิตใจใหสดชื่น ใหแข็งแรงอีกครั้งหลังการทํางาน สวนสัตวเปนสถานที่มา
ชมสัตวที่นาสนใจอาจมารวมกับครอบครัวหรือมากับเพื่อนๆ เปนกิจกรรมกลางแจงที่ควรมาในวันที่
อากาศดี ไมมีฝน ที่เปนอีกตัวเลือกหนึ่งของสถานที่เพื่อการพักผอนหยอนใจและความบันเทิงในชวง
วันหยุด
ความเขาใจของประชาชนที่มีกับสวนสัตวอีกสวนหนึ่งก็คือ เปนสถานที่จะนําเด็กที่มีอายุยัง
นอยไปเรียนรู ไดเห็นสัตวที่นาสนใจเชนยีราฟ มาลาย ฮิปโปโปเตมัส เปนครั้งแรก เปนสถานที่ใน
ความทรงจําของผูใหญจํานวนมากวาในสมัยเด็กๆ เคยมาเที่ยวที่สวนสัตว เปนรูปแบบของการ
พักผอนหยอนใจและความบันเทิงที่เปนที่ชื่นชอบของสมาชิกในครอบครัว
36

( ดูรูปที่ 33 ) Pony Ride, Kansas City Zoo, เด็กๆ จะเปนผูเที่ยวชมสวนใหญและเปนผูกระตุน


ใหสมาชิกคนอื่นๆ ในบานมาเที่ยวทีส่ วนสัตว โดยจุดเดนของสวนสัตวคือเปนสถานที่แหงความ
บันเทิงและการพักผอนหยอนใจ รวมทั้งใหความรูไปในตัว
ความบันเทิงและการพักผอนหยอนใจ จะเปนจุดเชื่อมที่สําคัญไปสูงานใหการศึกษา การ
ผสมผสานงานทั้ง 2 ประการนี้เขาดวยกัน จะเปนขอแตกตางที่สวนสัตวมแี ละแตกตางจากสถานที่
พักผอนหยอนใจแหงอื่นๆ William Convey ไดขยายความในประโยคดังกลาวนี้วา
สวนสัตวเปนสถานที่เพื่อการพักผอนหยอนใจและความบันเทิงยากที่สถานที่แหงอื่นจะมา
เปรียบเทียบได เปนสถานที่ชี้ใหผูเที่ยวชมไดเห็นวา “ ความสวยงามของสิ่งมีชีวติ นั้นเปนอยางไร
“ นั้นคือความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดขึ้นเมื่อเขามาเที่ยวในสวนสัตว นั้นเปนเหตุผลที่ประชาชนนับ
ลานๆคนในเขตอเมริกาเหนือเขามาเที่ยวในสวนสัตว
เหตุผลของผูเที่ยวชมสวนใหญมาเพื่อความสนุกสนานไมไดมาเพื่อการศึกษา แตกไ็ มไดเปน
กฏตายตัวเพราะวา เมื่อมาแลวจะไมไดเรียนรูอะไรเลยในชวงที่เรากําลังเพลิดเพลินสนุกสนานอยูใน
สวนสัตว นี้คือขอแตกตางของสวนสัตวจากสถานที่ใหความบันเทิงแหลงอื่น สวนสัตวยังเปนที่
พักผอนหยอนใจที่สรางขึ้นในตัวเมือง ที่เปนเหมือนแหลงน้ํากลางทะเลทราย ที่มคี วามหลากหลาย
ของสัตว ในทามกลางตึก ผูคน บานเรือน รถยนต และในปจจุบันเราตัดสินคุณภาพชีวิตของคน
สวนหนึ่งจากสิ่งแวดลอมที่เขาอาศัยอยู จึงไมเปนที่แปลกใจเลยวาหนวยงานที่ดูแลสิ่งมีชีวิต
หลากหลายชนิดอยางสวนสัตว ที่เปนสถานที่พักผอนหยอนใจและความบันเทิงจึงไดรับความนิยม
รวมทั้งมีรูปแบบการใหการศึกษาที่แตกตางจากแหลงพักผอนหยอนใจอื่นๆ (Convey, 1982)
37

สวนสัตวสวนใหญใหความสําคัญกับความเชื่อมโยงกันระหวางการพักผอนหยอนใจและ
ความบันเทิงกับงานการใหการศึกษา มีการเขียนถึงความสัมพันธนี้ไวในแผนแมบท (กระบวนการ) ที่
บริษัทออกแบบเกี่ยวกับงานภูมิสถาปตยชื่อ McFadzean, Everly and Associates ที่ไดทําแผน
แมบทใหกับสวนสัตวหลายแหง เชน El Paso, Texas; Racine, Wisconsin และ Montgomery,
Alabama ในแนวคิดจากแผนงานที่สวนสัตว El Paso ไดใหความสําคัญเรื่องการพักผอนหยอนใจ
และความบันเทิงไวดังนี้
เสนแบงระหวางความบันเทิงกับงานใหการศึกษานั้นเล็กมาก ไมสามารถแบงไดวาตอนนี้
งานสวนนี้กําลังเริ่มและงานสวนนี้จบลงแลว เชน การเดินทางชมสัตวโดยรถไฟเล็กและมีผูบรรยาย
ขณะชมสัตวไปดวย ในชวงที่กําลังเลนหรือชวงของการพัก ขบวนการเรียนรูยังคงดําเนินไปอยาง
ตอเนื่อง
การใชรูปแบบการเรียนรูจากธรรมชาติ เชนทางเดินในปาธรรมชาติ เพื่อดูพฤติกรรมของ
สัตวชนิดตางๆ ซึ่งในกิจกรรมนี้จะเปนทั้งความบันเทิง การพักผอนหยอนใจ รวมไปกับการเรียนรูไป
ดวย สภาพแวดลอมที่เปนธรรมชาติ (ทั้งสัตวและพืช ) ภายใน El Paso Zoological Park จะมีการ
กระตุนใหอาจารยและนักเรียนไดมีความคิดสรางสรรคและเกิดการเรียนรูเรื่องธรรมชาติ (สัตวและ
พืช) เปนรูปแบบการสอนที่แตกตางจากหองเรียน เปนหองเรียนและสนานเด็กเลนของโรงเรียนที่
ขยายอาณาเขตมายังพื้นที่ปากลางแจง ( MccFadzean, Everly and Associated, 1980 )
การที่สวนสัตวตองทํางานรวมกันของงานเรื่องความบันเทิงและพักผอนหยอนใจกับงานให
การศึกษา เปนรูปแบบที่มีการพัฒนามารวมกันของการออกแบบสวนแสดงสัตวกับงานปายให
การศึกษา ที่ตองมีในแผนการพัฒนาระยะยาว
ความบันเทิงและการพักผอนหยอนใจ เปนสิ่งดึงดูดใจเบื้องตนสําหรับผูเที่ยวชมและเปน
ความคาดหวังที่ผูเที่ยวชมจะไดพบเมื่อเขามาเที่ยวในสวนสัตว เปนสิ่งคําคัญตอความอยูรอดดาน
สถานะการเงินของสวนสัตว มีงานวิจัยที่ The National Zoological park พบวา
เมื่อเขามาในสวนสัตว “ ผูเที่ยวชมสวนใหญตองการความสนุกสนาน ” ตองการเห็นการ
แสดงออกของสัตว แมสิ่งที่แสดงออกมาจะไมใชสิ่งที่เปนลักษณะพฤติกรรมตามธรรมชาติก็ตาม
เชน การแสดงความสามารถของสัตวในกลุมนกแกว สัตวที่เปนที่ชื่นชอบของคนคือสัตวที่มีกิจกรรม
โตตอบกับผูเที่ยวชม เชน ลิงชิมแพนซีที่ทําทาขอขนมจากผูเที่ยวชมกิน หรือสัตวที่มีกิจกรรม
รวมกับสัตวตัวอื่นๆ ผูเที่ยวชมไมชอบสัตวที่อยูนิ่งๆ ความรูสึกของผูเที่ยวชมที่เกิดขึ้นคือ เมื่อสัตว
อยูนิ่งไมสนุกเลย (Wolf and Tymitz, 1987)
งานใหการศึกษา ( Education )
งานการใหการศึกษาเปนสวนเติมเต็มที่จะทําใหงานสวนอื่นๆ สมบูรณยิ่งขึ้นและมี
ความสําคัญเทาเทียมกับงานดานอื่นๆ แตอยางไรก็ตามเปนที่ทราบกันดีวาหนวยงานเชนสวนสัตว
38

หรือสถานที่แสดงสัตวน้ําจะมีความแตกตางกันในเรื่องการใหความเอาใจใสหรือมองอยางเขาใจถึง
งานใหการศึกษาอยางทัดเทียมกับเปาหมายอื่นๆ เชนงานเพื่อความบันเทิงและการพักผอนหยอนใจ
แตขอเท็จจริงประการหนึ่งคือเมื่อความสนุกสนานเกิดขึ้นการใหการศึกษาก็จะสามารถแทรกซึมเขา
ไปสูผูเที่ยวชมเปนอยางดีไดเชนกัน Glenn Ehey , ผูอํานวยการงานการตลาดและประชาสัมพันธที่
สวนสัตว Brookfield Zooไดกลาวถึงผลที่ติดตามมาจากเปาหมายดานการตลาดนั้นสามารถ
นํามาใชไดกับงานใหการศึกษา คือ เปาหมายงานดานการตลาดคือเปลี่ยนจากผูแปลกหนามาเปน
ผูเที่ยวชม จากผูเที่ยวชมมาเปนผูรวมงาน เชน เขามาเปนอาสาสมัครชวยงานของสวนสัตว เชน
งานใหการศึกษา งานเปนผูเลี้ยงสัตว เปลี่ยนจากผูรวมงานเปนผูที่มีความรักและศรัทธาในสวนสัตว
( Believers )
‘งานในสวนของความบันเทิงและพักผอนหยอนใจในลักษณะของการแสดงความสามารถ
สัตว ตองมีการปฏิบัติและจัดการสัตวกลุมนี้อยางมีคุณธรรม เพื่อใหงานทั้งสองสวนนี้ประสานไป
ดวยกันได ซึ่งการเริ่มตนงานประเภทนี้ควรเริ่มตนดวยผูเชี่ยวชาญเพื่อใหการดําเนินงานของขั้นตอน
ตอนตางเปนไปดวยราบรื่น
39

(ดูรูปที่ 34 ) สวนสัตวเดนเวอร การใชการแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตวโดยใชผูเลี้ยง


รวมแสดงและใหขอมูล ตองคัดสรรรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม แตเปนการนําเสนอที่ที่สราง
ความสนใจใหกับตัวสัตวไดดี
( Conway, 1982 ) ผูคนที่เติบโตคนในชุมชนที่มีความเจริญทางดานวัตถุมากตามเมืองใหญ จะ
มีโอกาสไดสัมผัสกับปาธรรมชาติหรือสัตวปานอยมาก คนรุนนี้จึงเติบโตขึ้นและเห็นความสําคัญของ
ธรรมชาตินอยตามไปดวย โดยสวนตัวของเขาเองการพึ่งพากับจากธรรมชาติมีนอย ( ถาหากวา
สภาพธรรมชาติโดยทั่วไปยังปกติอยู ฝนยังตองตามฤดูกาล อุณหภูมิของอากาศยังปกติ อาหาร
และขาวของเครื่องใชยังอยูใ นระดับราคาที่ปกติ ) ไดเห็นภาพของสัตวและธรรมชาติจากสื่อตางๆ
เชน โทรทัศน วิทยุและสื่อสิ่งพิมพ มีเพียงสวนสัตวเทานั้นที่เปนสถานที่ที่คนในเมืองใหญจะได
สัมผัสและใกลชิดกับสัตวปาและธรรมชาติ เปนสถานทีท่ ี่ตัวเขาจะไดเห็นและเกิดความสนใจในสัตว
ปาและธรรมชาติ สวนสัตวคือภาพที่เขามาทดแทนสิ่งที่เขาขาดหายไป สวนสัตวจะดึงภาพของ
ความเปนจริงวามนุษยไมไดเปนสัตวเพียงชนิดเดียวที่อาศัยอยูในโลกนี้อยู ยังมีสัตวชนิดอื่นๆ ที่
อาศัยโลกนี้อยู ไดเห็นสัตวที่มีลักษณะสวยงามนาสนใจ สภาพที่รมรื่นของตนไม อากาศที่บริสุทธิ์
เปนสถานที่ที่จะสอดแทรกการกระตุนผูคนใหมาสนใจงานดานการอนุรักษมากยิ่งขึ้น
สวนสัตวจะเปนสถานที่ที่ผูเที่ยวชมสามารถเขามาสังเกตและเขามาเรียนรูไดโดยตรงกับสัตว
ปา เปรียบเสมือนเปนหองเรียนหองหนึ่งแตมวี ิธีการใหการศึกษาและหนาทีท่ ี่แตกตางออกไปจาก
โรงเรียน โดยสวนสัตวจะนําภาพของสิง่ มีชีวิตทั้งโลกใหนักเรียนไดมโี อกาสสัมผัส เรื่องราวและ
40

เนื้อหาที่สวนสัตวนํามาสอนนั้นจะเปนการนําเอาสวนที่กระจัดกระจายตามเนื้อหาวิชาตางๆ เขามา
รวมกันเชน สรีระวิทยา ภูมิศาสตร สรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร หวงโซอาหาร แมแตในระดับที่งาย
ที่สุดคือการไดเห็นสัตวตัวจริงจะเปนการกระตุนจินตนาการ ฝกการสังเกตและสรางความคิดใหกับผู
เที่ยวชม
- สวนสัตวอาจจะไมสามารถที่จะนําเสนอวิธีการใหการศึกษาที่เหมาะสมกับผูเที่ยวชมทุก
ชวงอายุได
- เด็กเปนชวงอายุที่มีลักษณะทางอารมณและความคิดที่พรอมสําหรับการเรียนรูในสวน
สัตว
- ความรูสึกของบุคคลทั่วไปคิดวาผูเขามาเที่ยวชมในสวนสัตวสวนใหญนาจะเปนเด็ก แต
จากการสํารวจพบวา 50-70 เปอรเซ็นตของผูที่เขามาเที่ยวสวนสัตวเปนผูใหญ
- ซึ่งความเปนผูใหญนนั้ แตละคนมีความแตกตางกันในระบบความคิด เนื่องจากมีลักษณะของ
สังคมและสภาพเศรษฐกิจที่แตกตางกัน มากกวาจะมาจากผูเที่ยวชมในลักษณะวัฒนธรรมแบบ
องคกร ( สวนเด็กยังอยูในวัยเรียนซึ่งมาจากวัฒนธรรมแบบองคกรที่เปนโรงเรียน ) นี้อาจเปน
เหตุผลหนึ่งที่สวนสัตวไมสามารถจัดรูปแบบการศึกษาใหเหมาะสมกับผูเที่ยวชมทุกกลุม
ในยุคปจจุบันที่สวนสัตวทั่วโลกไดมีการเพิ่มศักยภาพในการทํางานของตัวเองเชน งานดาน
ธุรการ งานวางแผนและประชาสัมพันธ งานซอมบํารุงและตกแตงสถานที่ การนําความรูในเรื่อง
นิเวศวิทยาและพฤติกรรมสัตวเขามารวมในการออกแบบสวนแสดงสัตว ดานการปองกันโรคและการ
รักษาสัตวปา การออกแบบสวนแสดงสัตวรวมทั้งประชาชนไดใหความสนใจในกิจการของสวนสัตว
มากยิ่งขึ้น สภาพสิ่งแวดลอมที่ถูกทําลายมากขึ้นทําใหสวนสัตวตองสนองความตองการในงานดาน
การบริการและแสดงภาพพจนสนองความตองการของประชาชน ( Conway, 1982 )
ผูเ ที่ยวชมสวนสัตวในปจจุบันจํานวนมากที่ไดมีโอกาสไปเที่ยวสวนสัตวแหงอื่นๆ ทั้งในและ
ตางประเทศ หรือการไดดูผานทางโทรทัศนจะเห็นรูปแบบการจัดแสดงสัตวในตางประเทศ ไดเห็น
การบริการ ก็เกิดการเปรียบเทียบเกิดขึ้น หรือตัวของผูบริหารสวนสัตวเองที่ไดมีโอกาสไดไปสัมผัส
รูปแบบที่ไดทํากันในการไปดูงานตางประเทศ( รูปแบบงานบริการ รูปแบบของสวนแสดงสัตว ) สิ่ง
เหลานี้จะเปนแรงกระตุนใหสวนสัตวทุกที่ตองมีการพัฒนาเพื่อตอบสนองความตองการของผูเที่ยวชม
หากสวนสัตวสามารถที่จะเพิม่ ความเขาใจใหกับผูเที่ยวชมในเรื่องของธรรมชาติ
วิทยาและวิทยาศาสตร โดยการใหผูเที่ยวชมไดเห็นถึงพฤติกรรมของสัตว ซึ่งจะเปนการ
นําเสนอความสัมพันธระหวางสัตวปากับธรรมชาติ ใหเห็นภาพการวิวัฒนาการและการ
ปรับตัวของสัตวใหเขากับสิ่งแวดลอม การใหการศึกษาจะตองสรางใหเห็นถึงความสัมพันธ
ระหวางสังคมสัตวและความสัมพันธระหวางสัตวและมนุษย
41

การมาเที่ยวสวนสัตวของผูเที่ยวชมมีจุดประสงคที่แตกตางกันหลายรูปแบบ บางคนไมไดมี
จุดมุงหมายเพื่อการศึกษา มาเที่ยวสวนสัตวเพื่อที่จะดูสัตวเทานั้น มีผูเที่ยวชมบางคนเดินออกจาก
กลุมผูเที่ยวชมในขณะที่ผูเลี้ยงสัตวกําลังเริ่มใหขอมูลสัตวแกผูเที่ยวชมที่มากันเปนกลุม บางทานมา
เที่ยวสวนสัตวโดยไมไดสนใจอานปายขอมูลสัตว แตอยางไรก็ตามสิ่งแวดลอมที่มีทั้งหมดจะเปน
งานใหการศึกษาแบบทางออมที่ทําใหผูเที่ยวชมไดรับขอมูลและเกิดการเรียนรูขึ้น
พอและแมของเด็กใชสวนสัตวเพื่อจุดประสงคเพื่อการศึกษา เชนพอ แมบางคนที่นําลูกอายุ
ประมาณ 2 ปมาที่สวนสัตวเดือนละ 2 ครั้ง คุณแมทานนั้นสอนวาสัตวตัวนี้ชื่ออะไรและสอน
คําศัพทแกลูกดวย ผูปกครองที่มากับเด็กโตมักจะสอนและพูดถึงสัตวชนิดนี้ใกลสูญพันธหรือ พูด
ถึงการมาเที่ยวสวนสัตวเพื่อปลูกฝงในเรื่องการอนุรักษสัตวปาและสิ่งแวดลอม ( Wolfand Tymitz ,
1981 )
มีสวนสัตวจํานวนมากที่ไดพยายามที่จะยกระดับงานดานการศึกษาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น
โดยมองถึงประโยชนที่ผูเทีย่ วชมจะไดรับในการเขามาเที่ยวในสวนสัตว โดยหวังผลในการกระตุน
และสรางความสนใจในเรื่องของธรรมชาติมากขึ้น
มีความเดนชัดในชวง 10 ปที่ผานมาในเรื่องของงานใหการศึกษาที่มีการสอดแทรกเขาไปใน
การออกแบบและงานกอสรางสวนแสดงสัตวที่สรางขึ้นใหม มีการเตรียมงบประมาณสําหรับจัดทํา
ปาย ออกแบบใหเหมาะสมกับลักษณะของสวนแสดงสัตว เตรียมขอมูลที่ตองการจะนําเสนอให
พรอม แทนที่จะเปนนํามาติดตั้งเมื่อสวนแสดงสัตวนั้นสรางเสร็จแลว
(ดูรูปที่ 35 ) รูป Przewalski Horse, Lympne Zoo, Kent,
England การสื่อในเรื่องการอนุรักษในแบบไมเปน
ทางการแตสรางความสนใจ โดยใชการ
ผสมผสานของสวนแสดง ตัวสัตว การจัดจุดชม
ของผูเที่ยวชม โดยเปนการสรางเงื่อนไขที่จะให
ผูเที่ยวชมหยุดชม คิดถึงเรื่องราวของสัตว
จํานวนที่หลงเหลือในปาธรรมชาติ ระดับของ
การถูกคุกคาม
42

ในการวางแผนกําหนดสวนแสดงสัตวลงในพื้นที่ ตองมองในเรื่องของความตอเนื่องของ
เรือ่ งราวที่จะนําเสนอแกผูเที่ยวชม รอยเรียงเปนเรื่องราว ในสวนของปายใหการศึกษาก็ควรมองให
ตอเนื่องเปนชุดของเรื่องราว ในเรื่องของสวนแสดงสัตวและปายใหการศึกษาตองเขียนเรื่องราวและ
รูปแบบที่ตอเนื่องกัน เอาไวในแผนแมบท
ในชวงเวลาที่ผานมางานใหการศึกษาในสวนสัตวเปนงานหนึ่งที่มีการเจริญเติบโตและ
กาวหนา แตเจาหนาที่สวนใหญในสวนสัตวคิดวางานประชาสัมพันธและใหการศึกษาเปนงานของ
คนเฉพาะกลุม ซึ่งไมคอยถูกตองนักสําหรับความคิดดังกลาว ฟงขอคิดเห็นจาก Greg Geise ในเรื่อง
การทํางานใหการศึกษาในบางแงมุม
พวกเราไดใชเงินงบประมาณในเรื่องเครื่องมือ เครื่องใชและจางบุคลากรสําหรับงานให
การศึกษา ซึ่งโดยความจริงแลวงานนี้เปนงานของทุกคนที่ทํางานในสวนสัตว ไมวาจะเปนเจาหนาที่
เลี้ยงสัตว เจาหนาที่ที่ประจําสํานักงานที่บางครั้งตองรับโทรศัพทเพื่อใหขอมูลเรื่องการเที่ยวชมอยาง
คราวๆ เชน สัตวที่เปนจุดสนใจมีอะไรบาง รอบการแสดงโชวสัตว มีกี่รอบตอวัน เวลาใดบาง ที่ทุก
คนที่อยูประจําสํานักงานตองตอบใหได ไมตองโอนสายไปใหเจาหนาที่ใหการศึกษาตอบแตเพียง
สวนเดียว แตเจาหนาที่แผนกอื่นๆ มักจะบอกวาไมใชหนาที่ของเขาโดยตรง ที่จะตองมาสอน มา
พาเด็กเรียนเดินดูสัตวภายในสวนสัตว เมื่อมีการประชุมบุคลากรที่ทํางานในงานใหการศึกษาที่
ประกอบดวย graphic department, exhibit design และแผนกงานใหการศึกษา ซึ่งดูเหมือนวามี
การแบงหนาที่และจํานวนบุคลากรที่เพียงพอแลว แตในความเปนจริงที่เกิดขึ้นในหลายๆสวนสัตวใน
USA คือ พวกเขายังไมไดมีความทุมเทในงานใหการศึกษา ในการใหความรูแกผูเที่ยวชม ในเรื่อง
ของงานดานการอนุรักษในระดับที่ควรจะเปน และนาจะไดผลงานที่ดีกวานี้ (Geise,1985 )
จุดประสงคของรูปแบบงานใหการศึกษาที่ดีนั้นเพื่อเปาหมายที่สําคัญคือ การรักษาไวซึ่งโลก
ที่สวยงามที่มีความหลายหลายของสิ่งมีชีวิตไมวาจะเปนพืชหรือสัตว ในการสอนนักศึกษาเกี่ยวกับ
การออกแบบสวนสัตวที่ The Indianapolis Zoo มีขอมูลบางสวนในเนื้อหาของการสอนที่มี
ใจความที่กลาวถึงงานใหการศึกษาไดอยางนาสนใจ
หนึ่งในความตองการที่เรงดวนในโลกนี้คือการรักษาไวซึ่งความสมบูรณทางชีวภาพของโลก
การสรางใหเกิดจิตสํานึกและความสัมพันธที่แนบแนนระหวางมนุษยกับธรรมชาติ กับสัตวปา เพื่อให
ใหเกิดประโยชน เกิดความสุขกับทุกชีวิตที่อยูในโลกนี้ สวนสัตวเปนผูกระตุนใหเกิดความสนใจใน
ธรรมชาติ สงเสริมกิจกรรมและใหขอมูลที่เกี่ยวกับสัตวปา ธรรมชาติ และแนวโนมที่จะเกิดขึ้น เมื่อ
เราไดเรียนรูความตองการพื้นฐานของชีวิต ความสัมพันธของมนุษยที่ตองพึงพาธรรมชาติ อะไรจะ
เกิดขึ้นถาธรรมชาตินั้นเสียหายไปและสิ่งสําคัญเราจะรักษาโลกใบนี้ไวใหคงอยูอยางสมบูรณและ
สมดุลไดอยางไร (Shea, 1985)
43

สวนสัตวในอเมริกาหลายๆแหงไดมีการออกแบบและสรางสวนแสดงสัตวใหม รวมทั้ง
แผนงานอื่นๆที่เกี่ยวของเพื่อเปนการสรางจุดสนใจใหเกิดกับผูเที่ยวชม เพื่อใหผูเที่ยวชมไดสัมผัสกับ
ธรรมชาติ เกิดความรูสึกรักธรรมชาติ ถึงแมวาผูเที่ยวชมสวนใหญจะเปนคนที่อยูในเมืองใหญ
ประชาชนสวนใหญยังมีความเขาใจผิดในเรื่องของระบบนิเวศวิทยาของสิ่งมีชีวิตในปา
ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับมนุษยและความสัมพันธของสิ่งแวดลอมกับสัตวปา
ตัวอยางเชนการเขาใจผิดถึงบทบาทของนักลาสัตวในการอนุรักษสัตวปา หรือมีบางความเชื่อ
ทัศนคติบางอยางที่มีผลในการทําลายสัตวปา โดยเฉพาะอยางยิ่งการขยายพื้นที่ของชุมชนเมืองที่มี
ผลกระทบอยางยิ่งตอสัตวปา สวนสัตวเปนสถานที่ที่จะใหประชาชนไดชมและสังเกตสัตวที่ไม
สามารถกระทําไดในปา งานดานการศึกษาและปลูกจิตสํานึกการอนุรักษจึงถูกนํามาเปนเปาหมายที่
สําคัญของสวนสัตวถึงแมวาทั้ง 2 หัวขอถูกบรรจุเขามาในชวงเวลาที่ไมนานมากนัก ในชวงเวลาซึ่ง
ไมนานนักที่คนในเมืองหานเหินจากการสัมผัสกับสัตวปาและสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ การรับรู
เรื่องสัตวปาและธรรมชาติไปรับจากโทรทัศน วิทยุและสื่อสิ่งพิมพอื่นๆ ซึ่งปรากฏการณดังกลาวบง
บอกถึงมนุษยนั้นไดหางเหินสภาพความเปนจริงของธรรมชาติอยางยิง่
( Hatter,1974 )
ศูนยใหการศึกษา ( EDUCATION CENTER )
ศูนยใหการศึกษาไดกลายเปนสวนประกอบสําคัญในการตอบสนองเปาหมายสวนหนึ่งของ
สวนสัตว มีตัวอยางเชน ในชวง 10 ปที่ผานมาไดมีการสรางศูนยใหการศึกษาเพิ่มขึ้นในสวนสัตว
หลายแหง เชน สวนสัตวซินซิเนติ สวนสัตวซานดิเอโก สวนสัตวอินเดีนนาโพลิส สวนสัตวโทลิ
โด สวนสัตว Ft. Worth และมีสวนสัตวหลายแหงที่มีการขยายอาคารใหการศึกษา เชนสวนสัตวใน
ลอสแอนเจอรลิส ชิคาโก โคลัมบัส แตปญหาที่เกิดขึ้นคือตําแหนงของตัวอาคารใหการศึกษามักอยู
ในจุดทีห่ ลบมุมหาไมคอยเจอ ทําใหจํานวนผูเที่ยวชมเขามาใชบริการศูนยใหการศึกษานอยไมคุมคา
กับจํานวนเงินที่ลงทุนไป
ศูนยใหการศึกษามักอยูดานหลังของสวนสัตว ในขณะที่สํานักงานสวนใหญมักจะอยู
ดานหนาของสวนสัตว ผลที่เกิดขึ้นคือผูเที่ยวชมหาอาคารใหการศึกษาไมเจอ ถึงแมวาจะมีการเขียน
ปายแสดงทางเขาใหเห็นอยางชัดเจนแลวก็ตาม (Maynard, 1985)
จากสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาวจึงมีสวนสัตวหลายแหงที่ไดมกี ารปรับปรุงใหมหรืออยูในชวงของ
การกอสรางมีแนวโนมที่จะกําหนดที่ตั้งของศูนยใหการศึกษาใกลกับทางเขาดานหนา เชน The Pt.
Defiance ( Tacoma, Washington ) และ The Lowry Park Zoological Garden ( Tampa , Florida ) ซึ่ง
สวนสัตวทั้งสองแหงจะมีคําบรรยายที่เขียนถึงศูนยใหการศึกษาไวในแผนแมบททีค่ ลายกับคําบรรยาย
ที่เขียนไวในแผนแมบทของ The Indianapolis Zoo
44

อาคารใหการศึกษาควรรวมกับโครงสรางของทางเขา โดยใหอยูทางดานขวาของทางเขา
เพื่อใหผูเที่ยวชมที่มาเปนหมูขณะสามารถเขาไปสูอาคารดังกลาวไดโดยงาย (ที่เขามาเพื่อกิจกรรม
การเรียนรู) ซึ่งบริเวณที่เปนจุดรับนี้สามารถออกสูเสนทางปกติได มีที่จอดรถใหรวมไวในสวนของ
อาคารใหการศึกษานี้ดวย มีสวนของคอกแสดงและคอกกักเพื่อการแสดงสัตวที่เหมาะสมกับอาคาร
ศูนยใหการศึกษาไวดวย (James Associates and Zooplan Associates, 1983)
เนื่องดวยงบประมาณที่จํากัดในการที่จะวาจางเจาหนาที่สวนงานใหการศึกษา ศูนยให
การศึกษาจึงสามารถใชเปนอาคารของงานธุรการไปกอน ตัวอยางที่ Pt Defiance Zoo
อาคารสําหรับงานใหการศึกษาจะมีโครงสรางที่คลายกับอาคารสํานักงานกลาง เชนหอง
ประชุมสามารถใชเปนหองประชุมและหองสมุดได หองเรียนและหองปฏิบัตการทดลองสามารถใช
เปนหองทํางานออกแบบปายตางๆ ได ( Jones and Jone,1979 )
‘งบประมาณที่มีอยูอยางจํากัดอาจจะมีผลใหการสรางอาคารใหการศึกษาเนิ่นชาออกไปอีก
ซึ่งมักจะพบวาลําดับของการใหความสําคัญของสิ่งปลูกสรางมักจะออกในลําดับของการสรางศูนย
ตอนรับนักทองเที่ยว หองน้ํา ศูนยอาหารและรานขายของทีร่ ะลึก ที่มากอนการสรางอาคารให
การศึกษา
ในบางสวนสัตวศูนยใหการศึกษาจะอยูรวมกับสวนสัตวเด็ก ซึ่งเปนสถานที่ที่เด็กจะไดเห็น
ไดสัมผัสสัตวเลี้ยงปศุสัตว สัตวที่เลี้ยงตามบริเวณบานได หรือสัตวที่อายุยังนอย ทีเ่ จาหนาที่เลี้ยงสัตว
ตองนํามาเลี้ยงเอง สวนสัตวจะตองมีการจัดการที่ดีที่สุดเพื่อที่จะใหการศึกษาไปยังกลุมเด็ก ซึ่งก็
อาจจะเกิดคําถามวาทําไมตองใหเด็กไดมีโอกาสเรียนรูเ ปนพิเศษกวากลุมอื่นๆหละ ทําไมเราไมรวม
เอาผูใหญเขามามีกิจกรรมรวมกับเด็กดวยหละ แตมีบางสวนสัตวที่มีแผนการสอนที่มุงไปทีเ่ ด็ก
โดยเฉพาะ ที่ The Lowry Park organization Garden, ในเมือง เทมปาโดยมีเหตุผลดังนี้
เด็กเปนทรัพยากรที่มีคา การที่เด็กจะไดคนพบลักษณะเฉพาะของสัตวแตละชนิด รูในเรื่อง
ของนิเวศวิทยา รูถึงเรื่องราวของตัวเองที่เกี่ยวของกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยผานแผนการ
สอนที่ศูนยใหการศึกษา ใน Amphitheater ซึ่งจะมีแผนงานสวนในหลายลักษณะ เชนการยกประเด็น
เพื่อการสนทนา การใหความรูดวยใชวัสดุทางการศึกษาเชน โครงกระดูกสัตว ซึ่งอาจจะแบงเปน
รอบๆในแตละวัน มีการแสดงในลักษณะของหมูบานเด็ก ที่เปนปายนิทรรศการในขนาดของตัวเด็ก
หองแหงการคนพบ แผนการเรียนแบบสื่อความหมาย สื่อการเรียนแบบแปลความหมาย ซึ่งจะตอง
มีผูดูแลนิทรรศการเหลานี้แบบเต็มเวลา
ในสวนของอาคารใหการศึกษาควรจะมี หองศิลปะ หองการเรียนรูแบบสัมผัส หองฉาย
หนัง แปลงปลูกผัก และสมุนไพรในสวนรอบตัวอาคารศูนยใหการศึกษาเพื่อเปนการใหความรูแก
เด็กที่อยูในเมือง
45

ตําแหนงที่ตั้งของศูนยใหการศึกษาควรอยูใกลกับ สถานที่ที่กระตนความคิดของเด็กได
เชนหัวขอสิ่งที่มีผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตในโลก การใชสื่อการสอนที่สรางความสนุกและความรู
สําหรับเยาวชนในเมือง เทมปา ( Cashio, Cochran ,and Torre, 1984 )

รูปแบบและวิธีการในงานใหการศึกษา ( Education trend and Technique )


ความสําเร็จของงานใหการการศึกษาเปนงานที่ตองใชสวนประกอบหลายสวนมารวมกัน ใช
สื่อในหลายๆรูปแบบ ที่สําคัญคือทรัพยากรบุคคลที่มคี วามรูและประสบการณและงบประมาณที่จะ
ชวยในการสนับสนุนงาน Paul Joslin ไดกลาวถึงรูปแบบของการสื่อขอมูลไปยังผูเที่ยวชมซึ่งจะเปน
การสื่อทั้งแบบทางตรงและทางออม
วิธีการสอนในสวนสัตวที่เราคุนเคนกันเชน เชนการบรรยาย การใชภาพยนตร การจัดใหมี
หองปฏิบัติการ การเดินตามสวนแสดงตางๆ พรอมวิทยากร
ขอเท็จจริงอีกประการหนึ่งคือ รูปแบบที่เราเตรียมไวในอาคารใหการศึกษาเปนเพียงสวน
หนึ่งของผูเที่ยวชมเทานั้น ซึ่งจํานวนของผูเที่ยวชมสวนใหญมาที่สวนสัตวโดยไมไดเขามารวม
กิจกรรมทางการศึกษาที่จัดขึ้นโดยสวนสัตว
เด็กในชวงอายุที่ยังไมเขาโรงเรียนมักจะมากับพอ แมหรือผูปกครอง การเรียนรูที่เด็กกลุมนี้
ไดรับเกิดจากตัวของผูปกครองและความสนุกสนานที่เด็กชอบ ( Joslin, 1982)
สวนสัตวจะสรางความบันเทิงใหกับผูเที่ยวชมไดอยางไร สวนสัตวจะสรางจุดที่นาสนใจได
อยางไร เราจะสื่อเรื่องของการอนุรักษดวยวิธีการใด ในเนื้อหาตอไปนี้จะเปนแนวทางสําหรับการ
ตอบคําถามทั้ง 3 ขอนี้
1.การใชการออกแบบสวนแสดงสัตวที่สรางบรรยากาศของผูเที่ยวชมใหอยูในสิ่งแวดลอม
เดียวกับสัตวที่จัดแสดงและการเที่ยวชมที่มีการเรียงลําดับเรื่องราว
2. สวนแสดงสัตวที่มีการแสดงวัฒนธรรม ( Culture exhibit )
3. การจัดองคประกอบของสวนแสดงสัตวใหผูเที่ยวชมมีสวนรวมมากขึ้น (Participatory
display )
4. เจาหนาที่สื่อความหมายและใหการศึกษา ( Interpreters and education staff )
5. การแสดงความสามารถของสัตว (Animal demonstration )
6 .การชมสัตวในรูปแบบตางๆ ( Special tour )
ทั้ง 6 หัวขอนี้จะกลาวในรายละเอียดนําดับตอไป
1.การใชการออกแบบสวนแสดงสัตวที่สรางบรรยากาศของผูเที่ยวชมใหอยูใน สิ่งแวดลอมเดียวกับ
สัตวที่จัดแสดงและการเที่ยวชมที่มีการเรียงลําดับเรื่องราว ( The use of immersion impact and
sequential viewing)
46

( ดูรูปที่ 36 North American Woodland Exhibit, ทางเดินเทาที่เล็กและคดเคี้ยว ที่สรางบรรยากาศ


วาผูเที่ยวชมกําลังเดินเขาไปในถิ่นที่อยูของสัตว ซึ่งสิ่งแวดลอมในลักษณะเชนนีจ้ ะทําใหความรูสึก
ลึกลับ นากลัวใหมากขึ้น เกิดความกลัววาสัตวจะเขามาปะทะ )
การสรางสวนแสดงที่ใชการจําลองลักษณะภูมิประเทศของสัตวชนิดนั้นเปนวิธีการที่ใชใน
El paso จนถึง Seattle และจากฟลาเดเฟย Philadelphia จนถึงไมอามี่ ( Miami ) ซึ่งความประสงคการ
จําลองนั้นตั้งไวที่จะใหใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด
ความรูสึกของผูเที่ยวชมจะชัดเจนมากขึ้นถาใกลชิดกับวัตถุ ความสนใจในตัวสัตวลดลง ถา
สวนแสดงสัตวที่มีลักษณะของพื้นที่ที่ทําใหสัตวอยูหางจากผูเที่ยวชมมากเกินไปและการตกแตงสวน
แสดงที่ทําใหสัตวมีโอกาสหลบจากสายตาผูเที่ยวชมไดมากขึ้น
จากจุดชมของสวนแสดงสัตว จะทําการออกแบบอยางไร จึงจะทําใหสัตวอยูในจุดที่ใกลจุด
ชมมากที่สุด เพื่อใหผูเที่ยวชมเห็นตัวสัตวไดชัดเจนโดยที่ตัวสัตวไมเครียด มีตัวอยางที่เปนขอแนะนํา
ในการออกแบบที่จะใหสัตวอยูในตําแหนงที่ผูเที่ยวชมเห็นตัวสัตวไดชัดเจนจากจุดชม
ก. การจัดแสดงสัตวที่มีขนาดใหญ เชน ชาง ยีราฟ วัวแดง และใหสวนจุดชมสัตวอยูใกลชิดกับ
บริเวณที่สัตวอยู
ข.จัดแสดงสัตวที่สามารถอยูกันเปนฝูงได เชน ปลาเปนฝูง ฝูงของกวาง นกที่อยูเปนฝูง
ค. จัดแสดงสัตวที่เชื่องที่สัตวไมตื่นสามารถนําจัดแสดงใกลกับจุดชมได
47

ง.ลดความตื่นกลัวของสัตวโดยการใชวัสดุในการสรางสวนแสดงที่ชวยลดการเห็นหรือไดยิน เชน
กระจกที่มองเห็นไดดานใดดานหนึ่ง
จ.การออกแบบสวนแสดงสัตวใหดานกวางมากวาดานลึก เพื่อทีจ่ ะใหสัตวไมอยูไกลจากจุดชมมาก
เกินไป ( Josline,1985 )
เมื่อผูเที่ยวชมเขามาในสิ่งแวดลอมที่สวนสัตวไดจัดสรางขึ้นนี้ รูสึกวาตนเองกําลังอยู
ทามกลางปาธรรมชาติ หลุดออกจากลานจอดรถและเมืองที่เขาอยูอาศัยนั้นอยูหางไกลออกไปหลาย
กิโลเมตร พรอมทั้งเห็นภาพของสัตวอยูในสวนแสดงที่เปนเปนลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตวชนิด
นั้นๆ โดยไมมีวัสดุกอสรางที่ใชเปนสวนที่กันสัตวหลุดปรากฏใหเห็น การเดินที่ผูเที่ยวชมจะผานมี
การออกแบบของลําดับสัตวที่เปนเรื่องราว ในเนื้อหาของสัตวที่ตอเนื่องกัน เห็นสัตวไดอยางชัดเจน
ระยะหางที่พอเหมาะระหวางคนกับตัวสัตวและจุดชมสัตว ทุกๆ ความประทับใจที่เกิดขึ้นจะถูก
ควบคุมใหเห็นวาสัตวชนิดนั้นกําลังอยูในปาธรรมชาติ ผูเที่ยวชมจะรูสึกวาตัวเองกําลังเปนสวนหนึ่ง
ของสิ่งแวดลอมตามธรรมชาตินั้น ลองอานความเห็นของ Grant Jones, ผูที่เห็นดี เห็นงานกับ
แนวความคิดนี้
( Jones and Jones, 1985 ) ความสําคัญของการจัดแสดงสัตวในสวนแสดงสัตวที่มีการจัด
สิ่งแวดลอมใหเปนธรรมชาติ รวมทั้งใหผูเที่ยวชมอยูในสิ่งแวดลอมเดียวกับสัตว ที่ทําใหผูเที่ยวชม
เห็นถึงสิ่งประกอบที่อยูรอบตัวเองไมวาจะเปนสวนของตนไม ลักษณะของพื้นที่และลักษณะของ
แหลงน้ํา ที่มีการจัดวางอยางลงตัว การตกแตงระหวางสวนแสดงของสัตวแตละสวนแสดงทําอยาง
กลมกลืนและตอเนื่อง การออกแบบแนวแบงระหวางสัตวและผูเที่ยวชมที่ไมบดบังสายตาผูเที่ยวชม
ผูเที่ยวชมไมเกิดความรูสึกวาสัตวถูกกักขัง สวนของ barrier จะถูกออกแบบใหเปนกลมกลืนเปน
สวนหนึ่งของสวนแสดง ใชตนไม และการปรับแตงเนินดินเปนตัวบัง กดสวนที่เปน barrier เชน
รั้วใหต่ําลง สายน้ําและลําธารจะเปนสวนที่ชวยผอนคลายและชวยเปนสวนที่กั้นระหวางสัตวกับผู
เที่ยวชม
2.สวนแสดงสัตวที่มีการแสดงวัฒนธรรม ( Culture exhibit ) เปนวิธีการออกแบบที่พยายามรวม
ระหวางสัตวกับวัฒนธรรมของมนุษย เพื่อใหเปนรูปแบบการจัดแสดงที่มีการเคลื่อนไหว มีสีสันมาก
ขึ้น ที่สวนสัตว Dickinson Park Zoo ที่ Missouri ไดจัดแสดงการใชชางเอเชียในอุตสาหกรรมทําไม
48

( ดูรูปที่ 37 ในแคมปชักลากไม ที่สวนสัตว Dickenson Park Zoo ที่ใชการจัดแสดงสัตวรวมกับ


วัฒนธรรม ที่แสดงถึงความพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหวางคนสัตว ซึ่งการแสดงที่มีจัดขึ้นเพื่อสราง
ความนาสนใจใหกับผูเที่ยวชม เปนการสรางเงื่อนไขใชเปนแนวคิดสําหรับการเรียนรู )
ที่ Oakland มีสวนสัตวเล็กแหงหนึ่งที่ตกแตงสวนแสดงชางแอฟริกา โดยมีสวนแสดงแรดดํา
อยูใกลเคียง มีการใชจอมปลวกเพื่อจําลองลักษณะของพื้นที่ของถิ่นที่อยูและใชรูปแบบของหมูบาน
ชาวมาไซ มาชวยสรางบรรยากาศ
Louisiana Swamp Exhibit ที่ The park Zoo ใน Neworlean เพื่อเปนการแสดงวา bayou
ecosystem จะมีผลตอคนที่อยูอาศัยอยางไร ( bayou , a swampy arm or slow-moving outlet of a lake
(term used mainly in Mississippi and Louisiana)
ผูที่เสนอความคิดนีจ้ ะมีความรูสึกวาสัตวที่สามารถฝกใหแสดงไดจะมีความฉลาด ความ
แข็งแรง ซึ่งเปนปกติที่การจัดแสดงของสัตวจะรวมกับผูบรรยายเพื่อใหขอมูล สรางบรรยากาศที่
สนุกสนานจะทําใหความนาสนใจมีมากขึ้น การมีกิจกรรมการแสดงความสามารถของสัตวจะทําให
ผูเที่ยวชมใชเวลาในการชมสัตวมากขึ้น ก็จะทําใหผูเที่ยวชมมีโอกาสไดเห็นสิ่งที่นาสนใจของสัตว
ชนิดนั้นๆมากขึ้น
มีขอเตือนใจประการหนึ่งก็คือ การใชวัฒนธรรมเขามาผสมกับสวนแสดงอาจทําใหความ
สนใจของผูคนกับสัตวนั้นลดลงเชน การใชเครื่องแตงกาย การใชสีสัน
การจัดแสดงสัตวที่เปนกึ่งสัตวเลี้ยง เชน อูฐ ลามา จะสรางแรงบันดาลใจในเนื้อหาเรื่อง
มานุษยวิทยาได เชน อดีตมีการใชอูฐเปนพาหนะขนสัมภาระในพื้นที่ทะเลทราย หรือปจจุบันที่อูฐ
นํามาใชในการแขงขันดานความเร็ว
3. การเพิ่มองคประกอบในสวนแสดงที่จะเพิ่มความรูสึกรวมมากขึ้น (Participatory display )
การเพิ่มเติมสื่อจากสื่อปกติ เชนปายใหการศึกษา สวนสัตวมีปายใหการศึกษาที่มี
สวนประกอบของชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร ถิ่นที่อยู และพฤติกรรมของสัตวชนิดนั้นๆ ซึ่งบางครั้ง
พบวาปายใหการศึกษามีการนําเสนอที่ไมนาสนใจ มีการศึกษาที่ The Zoological Park ในเรื่องปายให
การศึกษาวา
49

ในจุดชมสัตวผูเที่ยวชมที่มาเปนประจําตองการใหมีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มขอมูลใหมที่
นาสนใจ หรือรูปแบบของปายใหการศึกษาแบบอื่นๆ สวนสัตวจึงควรมีปายใหการศึกษาที่สามารถ
เปลี่ยนเอาขอมูลเกาออกเปนชวงๆ และรูปแบบของการติดตั้งควรเปนแบบที่สามารถเปลี่ยนปายอัน
ใหมไดงาย รวมทั้งมีงบประมาณที่พรอมในการปรับปรุงเนื้อหาใหนาสนใจอยูเสมอ ขอมูลที่ผูเที่ยว
ชมตองการคือการนําเสนอขอมูลในหลายๆรูปแบบ ใชคําที่เขาใจงาย รูปแบบของคําพูดที่สราง
ความสนใจไดเชน
- การใชคําถาม “ คุณสามารถหาเตาตัวที่มีอายุมากที่สุดในบอนี้พบหรือไม ”
- การใชขอความในเชิงเปรียบเทียบ “ หาความแตกตางระหวางแมวน้ําและสิงโตทะเล
- ใชขอความที่นาสนใจใหผูเที่ยวชมลองสังเกตดู “ ลองสังเกตดูวาชางจับอาหารเขาปาก
อยางไร ”
- ขอความที่ชวนผูเที่ยวชมใหหาคําตอบจากการสังเกต เชน “ ลองดูตอนที่ชะนีรอง สังเกต
ลักษณะทาทางของชะนีวามีการแสดงทาทางแบบไหน ”
- ใชคําวา “ ทําไม ” เปนการกระตุนผูเที่ยวชมใหหาคําตอจากแหลงอื่นๆ เชนการสอบถามจาก
ผูเลี้ยงสัตว หรือใชคําถามจากปายถามเพื่อนหรือญาติ พี่นองที่มาเที่ยวดวยกันวาทราบคําตอบนี้
หรือไม ( Wolf and Tymitz, 1981)
การจัดทําขอมูลใหมโดยผูหาขอมูลและรูปภาพ ในเนื้อหาเรื่องพฤติกรรมและนิเวศวิทยาที่หา
ความเกี่ยวเนื่องกันระหวางสัตวที่อยูแยกคอกกัน
การกําหนดการเดินทางในการเที่ยวชมแบบทางเดียวเพื่อเปนการเลาเรื่องที่มีความ
เกี่ยวเนื่องกันของเนื้อหาและความคิด ซึ่งรูปแบบนี้เปนวิธีการที่ปฏิบัติในพิพิธภัณฑ เปนวิธีการที่
แพรหลายในทวีปยุโรปในชวงไมกี่ปที่ผานมา แตการนําไปใชจริงในสวนสัตวจะมีอุปสรรคในเรื่องของ
ระยะหางระหวางสวนแสดงและการที่จะกระตุน ใหผูเที่ยวชมเดินเที่ยวแบบตามเสนทางที่กําหนดไว
เพื่อใหเกิดเนื้อหาที่ตอเนื่อง (Joslin, 1982 )
การใชวิธีการสรางกิจกรรมรวมกับสัตวมีวิธีการไมหลากหลายนัก
50

( ดูรูป 38 สวนแสดงแพะภูเขา ในบริเวณของสวนสัตวเด็กจะมีสวนที่ใชกอนหินวางใหเด็กปนปาย


เลนเพื่อใชเปนที่ดูสัตว เปนการจําลองเพื่อที่จะเขาใจพฤติกรรมของแพะภูเขา ) สวนสัตวเด็กเปนอีก
บริเวณหนึ่งที่สามารถทําใหเปนที่นิยมของผูเที่ยวชมได
วิธีการที่ใชกันมานานคือการขายอาหารใหกับสัตวซึ่งทําใหการชมสัตวมีความนาสนใจมาก
ขึ้น แทนที่จะดูสัตวเพียงอยางเดียวการมีกิจกรรมที่ไดมีการเชื่อมโยงกับตัวสัตวมากขึ้น
การเพิ่มความหลากหลายในการเดินทางจากสวนแสดงหนึ่งไปยังสวนแสดงหนึ่ง เปนอีก
ชองทางหนึ่งที่จะเพิ่มใหการเดินทางทองเที่ยวในสวนสัตวนาสนใจขึ้นและทําใหการรับขอมูลทําไดดี
ยิ่งขึ้น มีการผสมผสานระหวางการเดิน การขี่มา ขี่ชาง การใชเรือลองตามลําธาร การจัดสวนแสดง
ใหสอดคลองกับการเดินทาง ใหผูเที่ยวชมไดเห็นสัตวในมุมมองที่นาสนใจ
4.เจาหนาที่สื่อความหมายและใหการศึกษา ( Interpreters and education staff ) เปนเครื่องมือที่มี
ความสําคัญที่จะนํามาซึ่งความสําเร็จของงานใหการศึกษา
การฝกทักษะดานการสื่อสารเปนสิ่งที่มีความจําเปน ทีมบริหารอาจมีความรูสึกวาการมี
ความรูในเรื่องสัตวก็เพียงพอที่จะใหความรูไดแลว ซึ่งทักษะนี้จะมีการพัฒนาเมื่อผูทํางานทําเปน
ประจํา รวมทั้งขึ้นอยูกับความสามารถของแตละบุคคลดวย
เจาหนาที่ซึ่งรวมทั้งเจาหนาที่สื่อความหมายดวย การแตงตัวในชุดที่เปนรูปแบบเดียวกันทั้ง
สวนสัตวเพื่อใหผูเที่ยวชมสามารถรูไดวาเปนเจาหนาที่ของสวนสัตว เพื่อใหผูเที่ยวชมที่ตองการ
สอบถามหรือขอความชวยเหลือ แตการแตงตัวนั้นเพียงพอหรือไม ความกระตือรือรน จิตใจที่
พรอมจะใหบริการ ( service mind ) วาจาที่สุภาพ น้ําเสียงที่เปนมิตร จะเปนสิ่งที่ชวยสรางความ
ประทับใจในการเขามาเที่ยวสวนสัตว
51

เจาหนาของสวนสนุกดิสนียแลนด จะแตงตัวที่สรางความรูสึกใหแกผูพบเห็นเกิดความรูส ึก
ถึงบรรยากาศที่เปนมิตร อบอุน ซึ่งจะเขากับบรรยากาศของสวนสนุก เจาหนาที่เหลานี้จะเปน
เหมือนผูแสดงที่ไมไดทําหนาเพียงเปนผูบริการเทานั้น แตเปนสวนสําคัญในการเพิ่มความรูสึกใหแก
ผูเที่ยวชมที่เขามาเกิดความรูสึกวาเขาคือสวนหนึ่งของสวนสนุกดิสนียแลนด ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นจะ
ออกมาดีเนื่องจากเหมาะสมกับบรรยากาศของสวนสัตวในแบบของดิสนีย ที่มีผูเที่ยวชมที่เปน
ครอบครัว ที่ประกอบดวยพอแมและลูกๆ
การใหเจาหนาที่ 1-2 คน แตงตัวเปนรูปสัตวเปนการสื่อสารที่ดีโดยเพาะกับเด็กๆ กอน
เขาวัยเรียน เชนตัวการตูนในเรื่อง Sesame Street ซึ่งเปนที่นิยม และรูจักตัวการตูนเหลานี้ดี
ตัวอยางอื่นๆ เชนที่สวนสัตว Eskansas ในเมือง Stockholm ใหเจาหนาที่แตงตัวเปนชนเผา แลบ
แลนด ( Lapland ) ใหยืนอยูใกลกับกระทอม โดยทั้งหมดนี้อยูใกลกบั สวนแสดงกวางแลนเดียร ซึ่ง
จะเปนเครื่องมือในการสื่อความหมายที่ชวยใหสาธารณชนเขาใจถึงวิถีชีวิตและความสัมพันธของ
กวางแลนเดียรและชาวแลบแลนด ( Josline,1985)
5.การแสดงความสามารถของสัตว (Animal demonstration) การแสดงความสามารถของสัตว มีการ
โตเถียงกันวาเปนเครื่องมือในงานใหการศึกษาหรือไม มีการมองวาการแสดงความสามารถของสัตวก็
คืออีกรูปแบบหนึ่งของของละครสัตว แตในสวนของสวนสัตวก็ไดมีการปรับเปลี่ยนการโชวสัตวให
อยูในรูปของการแสดงพฤติกรรมตามปกติของสัตว ที่สามารถแสดงไดในสัตวหลายชนิด โดย
รูปแบบของสวนสัตวที่ควรเปนนาจะเปนการแสดงที่แสดงที่เปนลักษณะเฉพาะตัวของสัตวชนิดนั้นๆ
เชนการแสดงกระโดดกินเนื้อที่แขวนบนเชือกของเสือโครง เสือดาวกระโดดเกาะทอนไมเพื่อกินเนื้อ
ของสวนสัตวสงขลา
ขอดีของการแสดงความสามารถของสัตว เชน
1.การรวบรวมผูเที่ยวชมในบริเวณหนึ่งไดเปนจํานวนมาก ซึ่งสามารถสื่อสารกับคนจํานวนมากโดย
การใชเจาหนาที่จํานวนนอยและประหยัดเวลาเมื่อเปรียบเทียบกับการพาผูเที่ยวชมเดินชมรอบๆสวน
สัตว
2. การแสดงที่สรางความพึงพอใจใหกับผูเที่ยวชมจะเปนจุดเริ่มตนที่ผูเที่ยวชมเกิดความตองการที่จะรู
ขอมูลเกี่ยวกับสัตวชนิดนั้นๆ มากยิ่งขึ้น
52

6. รูปแบบการเที่ยวชมในสวนสัตวรูปแบบอื่นๆ

( ดูรูปที่ 39 การเที่ยวชมในสวนสัตว ( zoo tour ) ที่ Columbus zoo The traditional tour จะ
นําเสนอในรูปแบบที่สนุกสนาน และใหการศึกษา การนําเสนอรูปแบบการเที่ยวชมที่แตกตางไป
จากรูปแบบเดิม โดยใหน้ําหนักการศึกษาที่เปนปจจุบันและพิเศษ ( เชน ชวงที่ภาพยนตร อนา
คอนดากําลังเขาฉายเปนที่สนใจของผูคน ก็มีการนําชมงูอนาคอนดา โดยใหขอมูลที่เปนจริง ซึ่งใน
ภาพยนตรอาจใหภาพที่เกินความจริงเนื่องจากตองการสรางเพื่อความบันเทิง หรือในชวงที่กําลังแปล
นี้มีละครทางทีวีที่กําลังมีการนําเสนอเรื่องนกออก -ผูแปล )
การเที่ยวชมสัตวในลักษณะการนั่งรถไฟหรือรถรางจะทําใหผูเที่ยวชมเห็นภาพในมุมกวาง
ของสวนสัตววาประกอบดวยสัตวอะไรบาง การจัดอาคารและภูมิทัศนมีในรูปแบบใดบาง เพื่อให
การเที่ยวชมมีความหลากหลายมากขึ้น รวมทั้งความสนใจของผูเที่ยวชมแตละคนก็มีความแตกตาง
กัน จากการสัมภาษณผูเที่ยวชมที่ National Zoological Park
ผูเที่ยวชมที่เขามาเที่ยวในสวนสัตวจะมีความสนใจในเรื่องของเนื้อหาที่แตกตางกัน การ
นําเสนอในรูปแบบที่ผูเที่ยวชมชอบอัตราการกลับมาใชซ้ําก็จะเกิดขึ้น รวมทั้งการนําเสนอรูปแบบ
การทองเที่ยวในแบบอื่นๆ ใหพิจารณาโดยการนําเสนอดวยวิธีตางเชนพิมพเปนแผนพับ สื่อทางวิทยุ
และโทรทัศน ตัวอยางรูปแบบการการทองเที่ยวเชน
- ดานการอนุรักษ โดยพูดถึงสัตวที่เปนโครงการวิจัยและอนุรักษของสวนสัตว รวมทั้งพูดถึง
สัตวชนิดอื่นที่อยูใกลเคียง
- การเที่ยวชมที่นําชมเฉพาะสัตวในภูมภาคใดภูมิภาคหนึ่ง
- การเที่ยวชมในลักษณะที่มีการตั้งคําถามกอนและมีการเฉลยใหฟง และมีการสรุปเนื้อหาโดยรวม
(Wolf and Tymitz, 1981)
ในการนําเทีย่ วบางรายการตองการเจาหนาที่ที่มีความชํานาญเขาใจในเนื้อหาเปนอยางดี มี
ทักษะในการสื่อความหมายที่จะชวยในการกระตุนความสนใจ ในชนิดสัตวที่เรานําชม และจะเปน
การกระตุนการกลับมาเที่ยวซ้ํา
53

สวนสัตวจะเปนสถานที่เปดโอกาสใหประชาชนไดเห็นสัตวปา และเปนการพักผอนที่มากวา
ความสนุกสนานทั่วไปในวันพักผอน โดยสวนของสวนสัตวตองเปนผูจัดแสดงในชนิดสัตวที่
หลากหลาย และมีวิธีการนําเสนอในรูปแบบใหมๆ
- ที่สวนสัตว Tulsa zoo ไดสรางสวนแมลงทั้งที่แสดงแบบสตัฟฟและแมลงที่มีชีวิต
- สวนสัตว Washing park Zoo , Portland, Oregon มีแผนงานที่จะนําเสนอขอมูลสัตวในลักษณะ
ของ computer graphic และหองปฏิบัติการเพื่อการเรียนรู
- มีสวนสัตวหลายแหงที่มีการใชรูปแบบการแสดงของพิพิธภัณฑรวมกับการแสดงสวนแสดง
สัตวโดยแสดงพฤติกรรมสัตวอยางสมบูรณในชวงที่สัตวยังมีชีวิตอยู เชน สวนแสดงความ
หลากหลายของสิ่งชีวิตในธรรมชาติที่สวนสัตว Toledo Zoo
- การสรางความสนใจใหกับผูเที่ยวชมในขอมูลของสัตวโดยการใชวิธีการหลายวิธี เปน
ความสําเร็จของงานใหการศึกษา
( Joslin, 1982 ) ถาความสําเร็จเรื่องความบันเทิงและการพักผอนหยอนใจของผูเทีย่ วชมคือ
ความตองการระดับแรกของจุดประสงคของสวนสัตว ความสําคัญของงานใหการศึกษาก็ควรจะตอง
อยูในอันดับที่ไมหางจากความบันเทิงและการพักผอนหยอนใจ สาธารณะชนสวนใหญเห็นถึงคุณคา
ของสัตวปานอยมาก รวมถึงการทราบถึงอัตราการใกลสูญพันธุที่เกิดขึ้นกับสัตวลายๆชนิด สวนสัตว
เปนผูรับผิดชอบที่จะตองใหขอมูลกับสาธารณะชนถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นในถิ่นที่อยูและตองบอกดวย
วาประชาชนทั่วไปจะมีสวนในการชวยอนุรักษสัตวเหลานี้ไดอยางไร ในระดับของสมาคม AAZP มี
ความตองการวาในชวง 10 ปจากตอนี้ไปสวนสัตวจะมีหนาที่กระตุนใหสาธารณะชนมีความสนใจ
ในเรื่องที่จะชวยกับปกปองการสูญเสียความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โดยตองมีการออกแบบในสวน
ที่จะเพิ่มความแข็งแรงในกระบวนการใหขอมูลในเรื่องเหลานี้
การอนุรักษ ( Conservation )
ความยากลําบากในการเพิ่มจํานวนในสัตวปาบางชนิดเปนไปไดยาก ซึ่งถาสามารถเพิ่ม
จํานวนเกิดขึ้นในกรงเลี้ยงมักจะมีการนําเสนอขาวถึงความสําเร็จที่เกิดขึ้นนี้ สาเหตุที่สําคัญจํานวน
สัตวปาในถิ่นที่อยูเนื่องจาก การที่ถิ่นที่อยูถูกทําลายเพื่อแสวงหาผลประโยชนของมนุษย
54

( ดูรูปที่ 40 African Elephant, Milwaukee Country Zoo งานออกแบบที่เปนเรื่องทาทายผูออกแบบคือ


การเชื่อมเรื่องราวระหวางสัตวที่อยูในสวนแสดงสัตวกับสถานการณปจจุบันที่สัตวชนิดนั้นถูก
คุกคาม)
มีการพูดและเขียนถึงปญหาเรื่องการที่ทรัพยากรธรรมชาติถูกทําลายกันมายาวนานมาก
แลว มีคําถามที่เกิดขึน้ เชน มีหนทางการแกไขหรือไมในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและ
ตอเนื่องเชนนี้ มีการจัดตัวของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นรวมทั้งความรูสึกดานจิตสํานึกของมนุษย
ที่เกิดกังวลที่เกิดขึ้นกับตัวเองเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ทําใหพวกเราให
ความสําคัญกับความจริงในโลกขอหนึ่งคือทุกสิ่งทุกอยางนั้นมีความเชื่อมโยงกัน การทําลายสิ่งหนึ่ง
จะมีผลที่นํามาซึ่งความเสียหายในสิ่งอื่นๆที่ติดตามมาในระยะเวลาอันสั้น
สัตวปาที่นํามาเลี้ยงในสวนสัตวเปนสิ่งชวยจําในเรื่องของธรรมชาติ เปนตัวแทนของ
สัตวที่อยูในปา ที่เราสามารถไดเห็นตัว ไดยินเสียงและบางครั้งไดสัมผัสตัว ในยุคที่เปนยุคที่มีการ
ทําลายธรรมชาติอยางหนักนี้ สวนสัตวมีความหวังวาสัตวปาที่มีคุณคาเหลานี้ ที่เปนสิ่งสวยงาม ที่
สามารถปรับตัวเองใหอยูในสภาพการเลี้ยงในสวนสัตวไดแลว จะเปนตัวกระตุนสาธารณะชน
ทั่วไปใหเห็นคุณคาของสัตวปา เห็นคุณคาของธรรมชาติ ( Jones and Jones, 1979 )
ในลําดับของการพัฒนาในเรื่องของ จิตสํานึกที่จะรักษาธรรมชาติไวนี้ The Minnesota
Zoological Garden Master plan ไดเขียนแผนในการดําเนินการเรื่องนี้วา
ในประวั ติศ าสตรชว งหนึ่งของการเลี้ย งสั ตวป าโดยมนุษ ย ที่จ ะนํา เสนอภาพของความ
สนุกสนาน ตื่นเตนเปนกระแสหลัก เชน การใชสัตวเพื่อใชแสดงความเกงกลาของคน ในโคลี่เซี่ย
มของกรุงโรม
55

ในปจจุบันสวนสัตว ไดใหความสําคัญกับการจัดแสดงใหกับผูเที่ยวชมที่ไมมีโอกาสไดเห็น
สัตวที่มีความหลากหลายของพฤติกรรมสัตว และในขณะเดียวกันที่มีสื่อโทรทัศนที่ทําหนาที่ในเรื่อง
ของการนําเสนอเรื่องราวของความหลากหลายของพฤติกรรมสัตวเชนเดียวกัน ถึงแมวาอารมณรวม
ความรูสึกที่เกิดขึ้น เมื่อเขามาเที่ยวในสวนสัตวจะเปนลักษณะที่จําเพาะ ซึง่ ความแตกตางที่เกิดขึ้น
นี้ มีความรูสึกอีกสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นเชนกันคือ เกิดความรูสึกวาความเหินหางระหวางมนุษยกับ
ธรรมชาติ มีความชัดเจนขึ้น ( interdesign inc,1970 )
Paul Joslin ไดใหขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ สวนสัตวและสวนแสดงสัตวน้ํามีความรับผิดชอบที่
จะตองเขามาเสริมในเรื่องงานดานการอนุรักษสัตวปาของโลก ในป 2000 มากกวาครึ่งลานชนิด
ของสิ่งมีชีวิตทีมีแนวโนมจะลดจํานวนลง ถาแนวโนมของการถูกบุกรุกพื้นที่อยูอาศัยยังคงดําเนินตอ
ในอัตรานี้ ในชวงเวลาที่ผานมามีเพียงไมกี่หนวยงานที่มีความพยายามที่จะรณรงคเพื่อสราง
จิตสํานึกในเรื่องของการอนุรักษและผลงานที่เกิดขึ้นก็ไมกาวหนา แตถาสวนสัตวทุกแหงไดรวมกัน
กระตุนสาธารณะชนใหรวมกันชวยกัน เชน โครงการอนุรักษสัตวหายากที่สวนสัตวทุกแหงจะมี
โครงการอยูแลว
สวนสัตวหลายแหงในประเทศ ไดทําการออกแบบและพัฒนาสวนแสดงสัตวที่ดูเปน
ธรรมชาติ เพื่อที่จะนําผูเที่ยวชมเขาสูภาพรวมขององคประกอบโลกสัตวปา
แนวคิดที่สําคัญอันหนึ่งที่ผูออกแบบสวนสัตวคือการออกแบบสวนสัตว ใหเปน
ธรรมชาติ ไมวาจะเปนสวนของสวนแสดงสัตวหรือองคประกอบอื่นๆ เพื่อเปนการนําผู
เที่ยวชมเขาโลกของธรรมชาติที่องคประกอบครบถวนทั้งพืชและสัตว
56

( รูป 41 ) แกะ dall ที่ Denver Zoo งานดานการอนุรักษของสวนสัตวในปจจุบันคือการให


ความสําคัญกับแนวคิดการออกแบบที่จะใหสัตวไดสามารถแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ และ
จําลองถิ่นที่อยูธรรมชาติของสัตวเพื่อที่จะสราง ภาพของปาใหเกิดขึ้น
หลักในการออกแบบสวนสัตวขอหนึ่งคือสวนแสดงนั้นจะตองสื่อถึงความหมายออกมา โดย
ใชตัวแทนคือตัวภูมทัศนจะตองสื่อความหมายของถิ่นที่อยูของสัตวแฝงอยูดวย โดยที่สารหรือสิ่งที่
ตองการสื่อจะตองสามารถเขาใจไดทันทีท่ ี่เห็นภาพนั้น และภาพนั้นจะตองเลาเรื่องราวของ
ตัวเองดวย ดังนั้นการจําลองถิ่นที่อบยูของสัตวจึงเปนกุญแจสําคัญที่จะเปนการสรางภาพ
สรางประสบการณใหกับผูเที่ยวชม ( Jones 1985 )
พัฒนารูปแบบของสวนแสดงที่เลียนแบบถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ มีการทําทั้งในสัตวที่เปน
สัตวในทองถิ่นของสวนสัตวเองหรือสัตวที่มาจากตางประเทศ หรือมีบางสวนสัตวที่สรางสวนแสดง
เพื่อใหความรูในดานสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะเชน ที่เมือง Montgomery, Alabama Zoo สรางสวน
แสดงในหัวขอ The environmental Awareness Center
โดยความรวมมือกันระหวางสวนใหการศึกษากับสํานักงานอนุรักษธรรมชาติประจํารัฐอลา
บามา ที่จะพัฒนาศูนยการสงเสริมความรูเรื่องสิ่งแวดลอมโดยมีหัวขอ ปาไม การอนุรักษ มลภาวะ
การพังทลายของดิน น้ําทวม การสันทนาการ การทองเที่ยว ( McFadzean, Everly,and
Association , 1984 )
สวนแสดงสัตวในสวนสัตวและโดยลักษณะของสวนสัตวเองจะเหมือนกับสถาบันทาง
วัฒนธรรม
ทําไมสวนสัตวจึงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในชวง 10-15 ปสิ่งแรกคือ พวกเราอยู
ในชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญของโลก ที่มีการการลดจํานวนอยางรวดเร็วของสัตวปา ในชวงที่
ผานมาสวนสัตวเปนผูนําสัตวปาออกจากปา และการจัดแสดงเปนแบบลูกกรงที่ดูแลวนาหดหู นา
สังเวชใจ ตัวของผูเลี้ยงสัตวสวนใหญยังไมเขาใจถึงการจัดการที่ถูกตอง ในชวง 30-40 ปที่ผานมา
การนําสัตวจากถิ่นที่อยูของสัตวนั้นสามารถทําไดงาย เนื่องจากยังมีสัตวอยูเปนจํานวนมาก ถาสัตว
ตัวนั้นอยูในสภาพกรงเลี้ยงได 1-2 ปแลวตองตายไป ก็นําสัตวเขมาใหมโดยการจับมาจากปา
ในชวงปกลางของป 1970-1979 ประเทศสหรัฐอเมริกาไดเริ่มที่จะมีการตรวจสอบ
ประสิทธิภาพของการทํางาน เพื่อประสิทธิภาพของการทํางาน โดยมีการคณะกรรมการของ
AAZPA ที่จะเปนผูประเมินผล ซึ่งสวนสัตวใดผานเกณฑมาตรฐานก็จะไดรับใบรับรองคุณภาพการ
ปฏิบัติงานจาก AAZPA ( Dennier 1985 )
บทบาทของสวนสัตวที่ตองใหความสําคัญกับเรื่องการอนุรักษมากยิ่งขึ้น ทําใหตองมีการ
คัดเลือกชนิดสัตวที่จะนํามาจัดแสดง คัดเลือกสัตวเพื่อเขามาในโครงการเพาะขยายพันธุ มีผลตอการ
จัดแสดงสัตวใหเหมาะสมตอการชมของผูเที่ยวชมและการจัดการสัตว
57

การจัดสรางสวนแสดงในลักษณะที่เปนกรงตับเรียงกันไปก็มีแนวโนมที่ลดลง และมีการ
สรางสวนเพาะขยายพันธุสัตวที่หายากโดยเปนสวนที่แยกออกจากสวนปกติที่ใหผูเที่ยวชม มีสวนที่
ใชสําหรับเลี้ยงลูกสัตวออนที่แมไมยอมเลี้ยง (Josline1982)
ในขณะเดียวกันปญหาที่เดียวกันที่ปญหาที่เกิดขึ้นกับสัตวที่อยูในปาดูจะเพิ่มมากขึ้น ถึงแมวา
นักวิจัยสัตวปาไดสงสัญญาณถึงปญหาที่เกิดขึ้น ขาวการเคลื่อนไหวในเรื่องการอนุรักษที่ Thane
Maynard ใหขอคิดในประเด็นนี้วา
ขอสมมุติฐานอันหนึ่งวาในศตวรรษที่ 20 นี้ผูเที่ยวชมที่เขามาเที่ยวในสวนสัตว จะมี
จิตสํานึกของความเปนนักอนุรักษ ( conservationist ) เชน คุณตองประหยัดการใชไฟที่บานของ
คุณ เลือกใชรถที่ประหยัดน้ํามัน รวมทั้งทราบถึงปญหาของสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นรอบตัวคุณและ
ปญหาที่เกิดขึ้นกับสัตวปาดวย สวนสัตวจะตองเปนอีกหนวยงานหนึ่งที่จะตองสะทอนปญหาของ
สิ่งแวดลอมโดยใชสื่อตางๆ ในการบอกถึงเรื่องราวในหัวขอนี้ เชน เราตองการสื่อขอความรณรงค
เรื่องการอนุรักษวา คิดถึงระดับโลก ทําระดับทองถิ่น ( Think global do local )โดยตองการใหมอง
ถึงปญหาที่เกิดขึ้นทั่วโลกและใหประชาชนมีสวนรวมในการแกปญหาในระดับทองถิ่น
( Maynard ,1985 )
ในหนังสือแนะนําสวนสัตว การใชรูปสัตวที่สูญพันธุไปแลว หรือการปนรูปสัตวดังกลาวที่
ทางออกหรือทางเขาของสวนสัตว ปายที่ชี้ทิศทางการชมสัตวชนิดตางๆ การใชสีของตัวอักษรใน
สัตวที่ใกลสูญพันธุเปนตัวอักษรสีแดง และใชสัตวที่อยูในสถานะที่อื่นๆ เชนไมมีปญหาที่เสี่ยงตอ
การสูญพันธุใชสีน้ําเงิน
มีตัวอยางในสวนสัตว Cincineti Zoo คือการใชโครงการวิจัยและเพาะขยายพันธุใน
สัตวที่กําลังใกลสูญพันธุ เปนขอความเปนขอมูลที่สื่อกับผูเที่ยวชมที่เขามาในสวนสัตว กับ
ประชาชนทั่วไปวาสวนสัตวแหงนี้มีโครงการวิจัยและเพาะขยายพันธุสัตวชนิดใดอยู ซึ่งแผนงานที่มี
จะสื่อทั้งงานที่อยูในสวนสัตว สื่อทั้งงานที่สวนสัตวไดไปทํากับถิ่นที่อยูของสัตวชนิดอยู ใหมีความ
ครบถวนในเนื้องาน รวมทั้งมีการใหประชาชนผูเที่ยวชมมีสวนรวม โดยบอกวาการชวยเหลือ
โครงการทําไดหลายทาง การเขามาเที่ยวในสวนสัตวแหงนี้ การซือ้ ของที่ระลึกที่โครงการไดทําขึ้น
เพื่อเปนเงินทุนในการทํางาน ( Maynard, 1985 )
Greg Geise ไดเพิ่มเติมความคิดในเรื่องของคุณคาความสําคัญของการสื่อสารในเชิงบวก
การใหความสําคัญในการสรางจิตสํานึกในเรื่องการอนุรักษคือประเด็นที่จะตองทําใหเกิดใน
บุคคลทั่วไป ซึ่งตองสรางในเชิงบวก แมวาในความเปนจริงแลวมนุษยก็ไมไดเปนผูที่สรางผลกระทบ
ใหเกิดกับสัตวปาไปเสียทุกเรื่อง ตัวอยางเชนประชาชนในเขตอเมริกาเหนือจะรูสึกประหลาดใจกับ
จํานวนประชากรของกวางหางขาว ที่สิ่งแวดลอมมีสวนทําใหประชากรของสัตวชนิดนี้เพิ่มขึน้ อยาง
58

มากมาย แตเมื่อประชาชนมาชมสัตวเหลานี้ก็เปนโอกาสที่ดีที่จะสื่อในเรื่องของงานดานอนุรักษ
อยางเหมาะสมเขาไปได
สวนสัตวจะนําเสนอขอมูลดานการอนุรักษอยางไรโดยมีจุดมุงหมายที่จะใหประชาชนหันมา
ใหความสนใจกับสิ่งแวดลอมที่อยูรอบๆขางตัวเขาเอง แตอยางไรก็ตามปญหาที่อยูหางไกลออกไปก็
เปนสิ่งที่ตองใหเกิดการรับดวยเชนกัน
ความคิดของนักสัตววิทยา Archie Carr ไดเขียนไววา ความพยายามในการอนุรักษถิ่นที่อยู
ของสัตวปาและตัวสัตวปาในระยะยาวแลว ก็ยังไมแนใจวาลูกหลานของเราจะมีโอกาสไดเห็นในสิ่ง
สวยงามเหลานี้หรือไม บางครั้งสวนสัตวอาจะเปนสถานที่ที่ดีกวาก็ไดที่จะทําใหประชาชนไดเห็น
ความสวยงามของสัตวปา ถาหากวาไมมีสถานที่ที่อื่นที่ดีกวานี้อีกแลว

งานวิจัย
สวนสัตวตองใหความสําคัญ ใหความสนใจกับงานวิจัยโดยเฉพาในหัวขอการเพาะขยายพันธุ
ในกรงเลี้ยง ซึ่งผลงานเหลานี้จะเปนผลดีตอการจัดการสัตวชนิดนั้นในสวนสัตว และสัตวอีกสวน
หนึ่งที่อยูในปา รวมทั้งเพื่อใชเปนแนวทางที่จะตองทําตอไปในอนาคตดวย

( ดูรูปที่ 42 Masai Giraffe , Kansas City Zoo งานดานวิทยาศาสตรสวนใหญเปนงานทีท่ ําในปา


นอกสวนแสดง นอกสวนสัตว แตมีบางเหตุการณพิเศษ เชน การออกลูกของยีราฟ ซึ่งเปนโอกาสที่
ดีทสี่ ื่อมวลชนใหความสนใจนําขาวไปเผยแพรซึ่งเปนอีกโอกาสหนึ่งที่จะไดนําเสนอเรื่องราวของสัตว
ปาในสวนสัตว
59

งานวิจัยเปนความตองการของทุกหนวยงานที่จะผลิตงานวิจัย ไมควรมองวาเปนงานที่ไม
คุมคากับเงินที่ตองจายไป ถาเรานํางานวิจัยในเรื่องการเพาะขยายพันธุไปใชอยางแทจริง ซึ่ง
สามารถนําไปปรับปรุงในเรื่องการจัดการสัตว ทําใหโอกาสของความสําเร็จในเรื่องการเพาะ
ขยายพันธุสัตวก็จะมีมากยิ่งขึ้น เมื่อจํานวนของชนิดสัตวลดลงอยางตอเนื่อง สวนสัตวจึงเปน
สถานที่ที่จะตองทําหนาที่ใหสัตวปามีโอกาสมากยิ่งขึ้นที่จะดํารงเผาพันธุของตนเองตอไปในสภาพ
กรงเลี้ยง งานในลักษณะนี้ตองใชความรวมมือจากหลายสวนจากผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณสะสม
ความรูมากเพียงพอ มีทีมงานที่มีความรูในหลายสาขาที่มากพอ มีความตั้งใจจริงที่จะทํางาน มี
ผูบริหารที่เห็นความสําคัญและใหการสนับสนุน มีงบประมาณที่เพียงพอ มีทีมงานที่มีความรูใน
หลายสาขาที่มากพอ เชน พฤติกรรมของสัตว อาหาร สรีรวิทยา งานวิจัยจะเปนกลไกที่สําคัญที่จะ
เขาใจและรูถึงวิธีการที่จะจัดการกับสัตวที่มีจํานวนนอยนี้ใหมีความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อที
จะคงความแข็งแรงเพื่อใหลูกหลานที่จะตามยังคงอยูไดไปอีกในระยะยาว
งานวิจัยและการจัดการตองมองไปถึงงานที่อยูในปาที่เปนถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นดวย
( ตัวอยางคืองานของมูลนิธินกกระเรียนโลก ที่มีโครงการที่จะศึกษานกระเรียนชนิดตางๆที่มีอยูทั่ว
โลก โดยการสงเจาหนาที่เขาไปเก็บขอมูล เพื่อผลที่จะปกปองนกกระเรียนชนิดนั้น ในทองถิ่นแหง
นั้นดวยวิธีการใด โครงการอนุรกั ษนกแกวของมูลนิธีโรโล พารค ของสวนสัตวโรโล พารคที่เกาะ
เทเนริเฟ ประเทศสเปน โดยสวนสัตวแหงนี้ไดใชประโยชนจากสัตวในดําเนินกิจการสวนสัตว มีการ
เพาะนกแกวหลายชนิดเพื่อการจําหนาย มีการใหเงินทุนสวนหนึ่งเพื่องานอนุรักษนกแกวในถิ่นที่ยู
เดิม ที่เปนการสรางภาพพจนที่ดีที่เราไมไดเอาประโยชนจากสัตวอยางเดียว ยังเปนสิ่งที่ตอบแทนแก
สัตวดวย – ผูแปล ) ( Joslin 1985 )
งานวิจัยสามารถนําเขาไปใชในสวนของงานใหการศึกษา งานเพื่อความบันเทิงและพักผอน
หยอนใจ งานดานการอนุรักษ เชน ใชเปนขอพิจารณาในการพิจารณาโดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของ
กับสัตว สิ่งกอสรางที่เพิม่ ขึ้น การวางแผนการปฏิบัติ งบประมาณที่เพียงพอที่จะทําใหงานทีว่ างไว
สําเร็จลงได
สวนสัตวที่อยูในโครงการ อนุรักษสัตว Special Survival Plan ของ AAZPA โดยแผนการ
ปฏิบัติอยางคราวๆ คือ จะมีการจัดแผนประชากรสัตววาชนิดสัตวที่อยูในโครงการนั้น มีอยูท ี่สวน
สัตวแหงใดบาง จํานวนเทาไหร แตละเพศมีจํานวนเทาไหร ที่มาของสัตวแตละตัวเปนอยางไร พอ
และแมของแตละตัวคือตัวใด ทดลองจัดแผนการผสมพันธุ เพื่อใหลูกที่จะเกิดมามีอัตราความ
หลากหลายทางพันธุกรรมมากที่สุด ความคิดนี้เปนแนวคิดที่ดีแตความสําเร็จยังตองขึ้นอยูกับ
ความสัมพันธของสวนสัตวแตละแหง เมื่อตองใหสัตวของตัวเองไปยังสวนสัตวแหงอื่นและการเมือง
ที่หนุนหลังของการนี้อยู แผนการที่มีความจําเปนตองเตรียมการไวลวงหนาเชน ลูกที่เกิดขึ้นจาก
โครงการจะนําเลี้ยงที่ใด งบประมาณคาอาหาร คาจางผูเลี้ยงสัตว
60

ในอดีตที่ผานมาการเลี้ยงสัตวปาในสวนสัตวจนกระทั้งสัตวนั้นตายจะดวยเหตุผลอะไรก็ตาม
ก็จะใชการจับสัตวตัวใหมจากปาเขามา แตในยุคปจจุบันที่ที่สัตวปามีจํานวนลดลงมาก การใชวิธี
จับสัตวจากปาเพื่อนํามาจัดแสดงเปนวิธีการที่ไมไดรับการยอมรับจากสังคม มีสัตวบางชนิดที่ออก
ลูกหลานไดเปนจํานวนมากในสวนสัตว เชน สิงโต กวางบางชนิด สาเหตุเนื่องจากเมื่อสัตวอยูใน
สวนสัตว ไมมีศัตรูผูลา มีอาหารใหกินทุกวัน สัตวมีอายุยาวนานขึ้น จํานวนสัตวที่ยังมีชีวิตอยู
และสัตวที่เกิดใหมทุกปมากกวาสัตวที่ตายไป ซึ่งปญหาที่ตามมาคือปญหาสัตวลนกรง ดังนั้นการมี
แผนประชากรสัตววาจะตองเลี้ยงสัตวชนิดใดและจํานวนเทาใดเพื่อใหพอเหมาะกับปจจัยที่มี โดย
ตองแบงสัตวเปนกลุมตางเชน สัตวเพื่อการอนุรักษ เชน สมเสร็จ แมวปาขนาดเล็กบางชนิด สัตวที่
เปนดาราสําคัญประจําสวนสัตว เชนยีราฟ มาลาย (Graham 1985)
จุดมุงหมายของการเพาะขยายพันธุสัตวในกรงเลี้ยงเพื่อบํารุงเลี้ยงดูและเพิ่มจํานวนของ
ประชากรสัตวปา เพื่อหวังที่จะปลอยสัตวกลับคืนสูปา การปลอยสัตวที่อยูสวนสัตวเขาสูปามี
ความสําเร็จเกิดขึ้นเชนกัน แตจุดประสงคและอัตราความสําเร็จที่เกิดขึ้นไดทําใหมีประเด็นอื่นๆ ที่
ตองพิจารณาเชนกัน
( Geise 1985 ) เมื่อเปรียบเทียบจํานวนสัตวที่มีในสวนสัตวกับสัตวปาที่อยูใน
ปาธรรมชาติยังถือวายังเปนอัตราสวนที่นอยมาก ถาสัตวชนิดหนึ่งไมมีประชาการทีอ่ ยูในปาแลว
ถึงแมวาจะมีสัตวชนิดนั้นอยูในสวนสัตวก็ตาม คาดวาอีกไมนานสัตวชนิดนั้นก็ตองสูญพันธุไปใน
เวลาไมนาน
ถาประชาชนไมเขาใจถึงการอนุรักษปาธรรมชาตินั้นคือวิธีการที่จะรักษาสัตวปาไว
ได นั้นหมายถึงประชาชนยังไมเขาใจหลักการปลอยสัตวทอี่ ยูในกรงเลี้ยงกลับคืนสูธรรมชาติได สวน
สัตวจึงตองทําหนาที่ในการสรางจิตสํานึกในเรื่องการอนุรักษธรรมชาติใหกับประชาชนโดยเริ่มที่
จะตองใหประชาชนเห็นความสวยงาม นาสนใจในตัวสัตวเสียกอนเปนลําดับแรก
จํานวนของชนิดสัตว จํานวนสัตวของแตละชนิด จํานวนของสวนแสดงสัตว งานให
การศึกษา งานวิจัยปจจัยเหลานี้จะผลตอรูปแบบและเนื้อหาของแผนแมบทของสวนสัตวและการ
ออกแบบสวนแสดงสัตว การใหความสําคัญกับการงานวิจัยมากขึ้น เปนผลจากการที่สวนสัตวอยู
ในโครงการของ Species Survival Plane และการตองสรางความยอมรับใหสมกับคําวาสวนสัตวยุค
ใหม ทําใหการคัดสรรชนิดสัตวที่จะนํามาเลี้ยงในสวนสัตวเปนเรื่องที่ตองพิจารณาใหดี
ในการวางแผน(แผนงาน แผนเงิน )และการออกแบบสวนแสดงตางๆ ตองมี
การนําเอาการวิจัยเขามาเกี่ยวของดวยแตพบวาสวนใหญจะไมนํามาใช การศึกษาในเรื่องความสําเร็จ
และความลมเหลวในเรื่องการวางแผนในสวนสัตวและการออกแบบจะมีสวนสําคัญในการปรับปรุง
งานดานการวางแผนและการออกแบบสวนแสดงสัตว
61

การวางแผนในระยะยาวตองเขียนถึงงานวิจัยเอาไวดวย ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นคือสวนสัตวสวน
ใหญจะมองวางานวิจัยเปนคาใชจายที่ไมเกิดประโยชน ฟุมเฟอย ถาสวนสัตวมีงบประมาณจํากัด
การวิจัยจะเปนประโยชนตอสวนสัตวโดยจะเปนสวนที่ชวยหาคําตอบในเรื่องบางเรื่องเชน
1.ทําอยางไรจึงจะทําใหการใชจายงบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
2.บริการแบบใดที่เปนที่ตองการของผูเที่ยวชม
3.เราจะมีวิธีการอยางไรที่จะกระตุนใหเจาหนาที่ภายในสวนสัตวมีจิตสํานึกในงานบริการ
4.การปรับปรุงพันธุกรรม หาวิธีการจัดการที่จะใหสัตวที่หายากและไมประสบความสําเร็จในการผสม
พันธุในกรงเลี้ยงใหสามารถออกลูกได
5.เราจะทําอยางไรที่จะสื่อสารกับผูเที่ยวชมและประชาชนทั่วไปใหทราบถึงระดับของถูกคุกคาม
ทําลายของพืชและสัตว
ตัวอยางที่กลาวมานี้เปนลักษณะงานที่เปนประโยชนที่สามารถใชเปนขอมูลในการตัดสินใจ
ได ตัวอยางงานวิจัยในหัวขออื่นๆ เชน การวัดวาผูเที่ยวชมใชเวลาในสวนแสดงสัตวแตละแหง
เทาใด สาเหตุใดที่ผูเที่ยวชมใชเวลาในสวนแสดงแตละแหงแตกตางกัน มีสาเหตุเนื่องจากการจัด
สถานที่หรือไม ซึ่งจะไดใชเปนตัวอยางในการปรับปรุงสวนแสดงที่ยังไมเปนที่ชื่นชอบของผูเที่ยวชม
( Joslin, 1982 )
ในงานวิจัยหลายๆ งานไดมีขอเสนอแนะวาการจัดสวนแสดงในลักษณะใหดูเปนธรรมชาติ
ที่มีการกอสรางในสวนสัตวหลายแหงในสหรัฐอเมริกา ที่มีการชี้นําถึงความรูสึกของผูเที่ยวชมที่
เกิดขึ้นวาสัมพันธกับความตั้งใจที่เกิดจากการออกแบบหรือไม Sanford Friedman, Brookfield zoo,
Chicago มีขอคิดเห็นกับสวนแสดง Sand Cat ในสวน The Predator Ecology section ของ Brookfield
zoo
มีความพยายามที่จะจัดสวนแสดงใหดูเปนธรรมชาติ พวกเราพูดถึงที่จะทําใหสวนแสดงมี
Visual impact ดาวอยูในจุดที่ถูกตอง สีของหินถูกตองแลว โดยมีความพยายามที่จะใหสิ่งที่ตอง
เหมือนจริงนั้นไดทําในสิ่งที่ถูกตอง งานที่ทําเปนสิ่งที่พึงพอใจสําหรับผูเที่ยวชมหรือไม ไดความรูสึก
อยางที่ตองการหรือไม รวมทั้งวิธีการรูปแบบที่ไดออกแบบนั้นไดมีการนําถกเถียงถึงขอดีหรือขอดอย
อยางใดหรือไม ( Freidman, 1985 )
ในสวนสัตวไดมีการศึกษาถึงผูเที่ยวชมในเรื่องสถิติตางๆ เชนจํานวนของผูเที่ยวชมเมื่อแบง
ตามเพศ แบงตามอายุ ความถี่ของการเที่ยวชม รวมทั้งดูในสวนของความชื่นชอบ ความประทับใจ
ของการมาเที่ยวสวนสัตว
การศึกษาเรื่องการใชงานของสวนแสดง อาคารสถานที่ตางๆ เมื่อไดกอสรางเสร็จมีผลคุมคา
ตอเงินที่จายไปอยางไร มีปญหาในการใชงานหรือไม ถาตองปรับปรุงตองทําอยางไร ที่สวนสัตว
The Akron Ohio zoo ไดทําฐานขอมูลในเรื่องของการออกแบบคอกสัตวในแตละคอกมีหลักการและ
62

แนวคิดอยางไรจึงมีรูปรางที่ออกมาในลักษณะนี้ ชวงงานกอสรางมีปญหาและอุปสรรคอยางไร วัสดุที่


ใชเหมาะสมกับการใชหรือไม
เมื่อเรานําสัตวเขาไปอยูในคอกสัตวที่สรางเสร็จเราก็จะพบวาจะตองมีการหางบมาเพื่อ
ปรับปรุงคอกอยูเสมอๆ เพื่อปรับปรุงในสิ่งที่ใชงานไมได ( to make changes that have to be made on thing
that didn’t work) มีงานกอสรางสวนแสดงสัตวจํานวนไมนอยที่มีราคาแพงและมีขนาดใหญที่หลายสวน
ที่เปนสวนสําคัญไมสามารถใชงานได เมื่อนําสัตวเขาไป ในสวนตัวคุณเองก็เชนกัน ลอง
เปรียบเทียบหองน้ําในหลายสถานที่ที่คุณไปไมวาจะเปนโรงภาพยนตร สถานีขนสงจะเห็นความ
แตกตางของแตละที่ เห็นขอดี ขอดอยของแตหองน้ําในแตละที่ (Geise1985)
การเขียนถึงขอดีและขอที่ตองปรับปรุงของสิ่งกอสราง สวนแสดงสัตวเปนเอกสารและ
ถายรูปไวดวย หากมีสวนสัตวอื่นๆกําลังจะสรางสวนแสดงสัตวชนิดเดียวกัน จะไดใชเปนฐานขอมูล
ในการออกแบบ (สวนสัตวแตละที่ตองไมรูสึกเปนเรื่องขายหนาที่จะแสดงขอมูลของตนออกมา และ
สวนสัตวที่กําลังจะกอสรางงานใหมก็ไมรูสึกหนาบางที่จะขอดูงานในสิ่งที่ไดกอสรางไปแลว ) ใน
การออกแบบนั้นถาใหผูออกแบบคนหนึ่งที่ไมไดมีอาชีพประจําอยูในสวนสัตว สิ่งที่เกิดขึ้นคือ
ผูออกแบบจะใชการเดาวานะจะเปนแบบนั้น แบบนี้ การมีขอมูลไวทําใหการออกแบบแลวใชงานได
ทําใหแบบที่ออกมาเปนแบบที่ไมถูกตอวาในภายหลังวาเปนแบบงานกอสรางที่สรางปญหา การมี
งานวิจัยหรือแผนงานที่คอยตรวจสอบวาสวนแสดงที่ไดสรางเสร็จแลวสามารถใชประโยชนในงาน
ตางไดดีเชน งานวิจัย งานใหการศึกษา จุดชมสัตว การทํางานของ zoo keeper

สวนสัตวกับชุมชน ( Community Values )


งานของสวนสัตวในสวนของงานดานการอนุรักษ งานวิจัย หรืองานใหการศึกษาเพื่อมุง
ประเด็นไปที่ตัวสัตว ใหสัตวมีสุขภาพที่ดี สวนสัตวนั้นมีความของเกี่ยวกับบุคคลหลายกลุมเชน
ผูบ ริหารองคกรระดับตางๆ นักการเมือง ประชาชนที่อยูโดยรอบสวนสัตว ผูเที่ยวชม บุคลากรที่
ทํางานในสวนสัตวทั้งหมด โดยบุคคลที่กลาวมามีอิทธิพลตอคุณภาพงานของสวนสัตว
มีความจริงอยูอันหนึ่งคือประสิทธิภาพที่สวนสัตวแสดงออกใหผูเที่ยวชมเห็นสะทอนถึงสังคม
ที่สวนสัตวแหงนั้นตั้งอยู (เพราะคนสวนใหญที่ทํางานในสวนสัตวคือคนที่อยูในบริเวณใกลเคียงสวน
สัตว ) ถาสังคมเปนสังคมที่ไมเอาจริงเอาจังกับงาน ปลอยปละละเลย ภาพของสวนสัตวก็จะ
สะทอนใหเห็น ถึงแมจะมีการกระตุนใหสนใจเรื่องสัตวปา การสอนใหทราบถึงการสรางความพึง
พอใจใหกับผูเที่ยวชมตองทําอยางไรบาง บุคคลากรก็จะไมมีจิตสํานึกที่จะทํางานใหดีขึ้น ถึงแมจะ
ไดรับการตักเตือน รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ดวยเชนการใหความสําคัญในเรื่องงานวิชาการ ขอมูลทาง
วิทยาศาสตร กฎระเบียบวินัยและการใชงบประมาณใหเกิดประสิทธิภาพ เพราะกลุมคนเหลานี้คือ
63

กลุมคนที่จะเปนผูทํางานหรือเปนขวัญ กําลังใจกับสวนสัตวใหเปนหนวยงานที่รับผิดชอบตองาน มี
พันธะสัญญาที่ที่ตองทําหนาที่ของตนใหดีอยางสม่ําเสมอ ตอเนื่อง
พิพิธภัณฑไมเหมือนสวนสัตว สวนสัตวไมมีชวงของปดอาคารแลวคลุมสิ่งของไวดวยผากัน
ฝุน โดยที่ไมตองหวงกังวลอะไรมาก ยีราฟและนกฮัมมิ่ง เสือตองไดรับการดูแลเอาในใจใสอยาง
ตอเนื่อง ตองจัดหาอาหาร เตรียมอาหาร จัดการเรื่องความสะอาด วัฒนธรรมองคกรไมวาจะเปน
องคกรใดก็ตาม เกิดขึ้นจากการสรางของตัวบุคคลภายในสวนสัตวเอง แตสวนสัตวก็มีรูปแบบของ
วัฒนธรรมที่มาจากงานที่ตองรับผิดชอบกับสัตวที่มีชีวิต (Conway 1982 )
สวนสัตวตองใหความสําคัญกับความรูสึกของชุมชนเนื่องจากขอเท็จจริงประการหนึ่งคือ ถา
เงินทุนที่ไดรีบการสนับสนุนจากชุมชนลดลง สวนสัตวตองหาวิธีการอื่นๆที่จะตองหารายไดเพิ่มเติม
เพื่อใหเพียงพอตอคาใชจาย โดยชุมชนก็คือกลุมของผูเที่ยวชมที่เขามาเที่ยวในสวนสัตวที่เปนเจาของ
เงินที่สวนสัตวนํามาใชเปนคาดําเนินงานตางๆ
ไดมีคําสั่งจาก Metropolitan Service Distric ใหสวนสัตววอชิงตัน พารค เขียนแผนแมบทเพื่อ
ใชในการดําเนินงานในอนาคต
1.แผนงานดานการตลาดและประชาสัมพันธ
2 .แผนในการหารายได โดยหาบริการที่จะสรางรายได เชน ขายอาหาร ขายของที่ระลึก การบริการ
การเดินทางภายในสวนสัตว ถายรูป งานคายพักแรม
3.สวนสาธารณะ จะมีแผนในการตกแตงสวนสัตวอยางไร จัดสรางบรรยากาศเมื่อเขามาเที่ยวอยางไร
การอํานวยความสะดวกพื้นฐานเชนหองน้ํา
4.สวนแสดงสัตว จะจัดสรางสวนแสดงเพิ่มเติม หรือปรับปรุงสวนแสดงใดบางที่จะเพิ่มความ
นาสนใจ การแสดงความสามารถของสัตวที่ดึงดูดใจใหนักทองเที่ยว
5.ขั้นตอนการดําเนินงานจะปรับปรุงการบริหารงานอยางไร มีระบบการตรวจสอบผลงานที่วัดได
การพัฒนาบุคลากร
6. การมีสวนรวมของประชาชน การรับฟงความคิดเห็นของผูเที่ยวชมเพื่อการพัฒนาสวนสัตว
(Guthrie,Slusarenko, and leep,1983) การใหผูเที่ยวชมมีสวนรวมในการพัฒนาสวนสัตวโดยการใหผู
เที่ยวชมเปนผูร วมดูแลรักษามากกวาเปนเพียงผูบริโภคอยางเดียว
แผนแมบทของสวนสัตวจะเปนเครื่องมือในการบอกทิศทางการพัฒนา เนื่องจากในปจจุบัน
มีปจจัยที่ที่ตองเผชิญหนามากยิ่งขึ้น รายไดที่ไดจากการเก็บจากผูเที่ยวชมคือสิ่งสําคัญของแผนงานที่
ตองทําใหเกิดความสัมฤทธิ์ผล การสรางความพึงพอใจใหกับผูเที่ยวชมในทุกๆดาน เพื่อจะใหกลับมา
เที่ยวอีก ซึ่งผูที่ไดมาเที่ยวชมแลวเกิดความประทับใจก็จะเปนสวนในการโฆษณาใหกับผูเที่ยวชมที่ยัง
ไมเคยมาเที่ยวชมไดทดลองมาเที่ยวดู ผลที่จะเกิดขึ้นคือรายไดที่เพิ่มขึ้น ซึ่งรายไดที่เพิม่ ขึ้นนี้ก็จะเปน
ทุนทรัพยในเรื่องงานดานงานใหการศึกษา งานวิจัยและงานดานการอนุรักษ โดยที่งานทั้ง 3 สวนนี้
64

จะเปนสวนที่กลับมาเกื้อหนุนงานดานความบันเทิงและพักผอนหยอนใจใหกับผูเที่ยวชมอีกสวนหนึ่ง
ดวย
65

บทที่ 4 แผนการพัฒนาสวนสัตวในระยะยาว (Long Range Development Planning )

สวนสัตวเปนองคกรที่มีจุดประสงคในการทํางานหลายประการ ในการพัฒนาใหบรรลุ
จุดประสงคใหสมบูรณไดนั้น เปนงานทํางานที่ตองทําอยางตอเนื่อง แตอุปสรรคในการดําเนินงาน
ตามแผนที่ไมสามารถบรรลุไดนั้นเกิดจากหลายปจจัย เชน ความจํากัดในเรื่องของเงินทุน การ
เปลี่ยนแปลงเปาหมายของการลงทุน การเปลี่ยนแปลงเรื่องการการเมืองในระดับตางๆ การ
เปลี่ยนแปลงตัวผูบริหาร แตการดําเนินงานที่จะใหเปาหมายตางๆ เปนไปอยางสมดุล ตองการการ
จัดการสวนสัตวที่อยูภายใตการวางแผนในระยะยาว โดยการวางแผนงานจะประกอบดวย 3 สวน
ดวยกันคือ 1 แผนกลยุทธ 2. แผนแมบท 3. แผนโครงการ โดยเนื้อหาในแตละสวนจะมีสวน
เกื้อหนุนกันและกัน แผนกลยุทธจะเปนสวนที่ประเมินกิจกรรมที่ทําในอดีตและปจจุบัน การกําหนด
พันธกิจในอนาคต การพัฒนาจุดประสงคและแผนงานที่ชัดเจน รูปแบบการจัดการ กลยุทธดาน
การเงิน
ที่สวนสัตวดีทรอยท ( The Detroit zoo ) จะมีหัวขอของแผนกลยุทธในการจัดการในดาน
ตางๆ เชน แผนการประชาสัมพันธและการตลาด การเลือกชนิดสัตว การดูแลสัตว งานให
การศึกษา งานดานการอนุรักษ งานงบประมาณ งานดานการโยธาและอาคารสถานที่ ( Graham
1985 )
ผลจากการใชแผนกลยุทธอยางตอเนื่อง จะเปนการเตรียมโครงรางในการจัดการที่จําเปน
สําหรับการทําแผนแมบท ที่จะตองจัดทําขึ้นสําหรับสวนสัตวที่ไดเปดดําเนินงานแลวและในสวนสัตว
ที่จะจัดสรางขึ้นใหม
-โดยแผนแมบทมีจุดประสงคที่จะพัฒนาแนวคิดขององคการในบางสวนใหเกิดชัดเจนและสรางสรรค
- แผนแมบทเกิดจากการแปลผลจากงานการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ
- แผนแมบทเปนผลผลิตที่จากวิเคราะหเปนการออกแบบแผนที่ใชเพื่อบอกแนวทาง แตไมไดหมายถึง
การตองปฏิบัติตามแผนทัง้ หมดโดยไมสามารถปรับเปลี่ยนอะไรได โดยในอนาคตจะมีแผนงาน
โครงการ ที่เปนแผนงานสําหรับงานในพื้นที่นั้นๆพรอมกับแผนปฏิบัติงาน
แผนโครงการและการออกแบบจะเปนสวนที่เพิ่มในรายละเอียดเขาไปในแตละชวงเวลาของ
แผนแมบท ซึ่งมักจะเปนการออกแบบและการกอสรางสวนแสดงของสัตวชนิดนั้นภายในกลุมสัตว
เดียวกัน
การกําหนดชนิดสัตวจะทําในชวงการทําแผนแมบท จุดประสงคของการเขียนแผนโครงการ
และออกแบบมีเพื่อใหการดําเนินการกอสรางเสร็จสิ้นเปนกลุมๆสัตวหรือเปนพื้นที่ไป จนกระทั่ง
สามารถเปดใชไดและความพึงพอใจของผูใชที่ประกอบดวยผูเลี้ยงสัตว ผูเที่ยวชมอยูในระดับที่พึง
พอใจ และมาตรฐานความเปนอยูของสัตวอยูในระดับดี
66

แผนกลยุทธ ( Strategic Planning )


ขั้นตอนแรกของการเขียนแผนคือการสรางทีมงานที่จะรับผิดชอบงานที่จะทําการเขียนแผน
กลยุทธซึ่ง Joslin ไดมีขอสรุปดังนี้
ทีมงานจะประกอบดวยผูเชี่ยวชาญในแตละสาขา เชน ฝายบํารุงรักษาสัตว โยธา งานให
การศึกษาและการตลาด และผูมีอํานาจในระดับการตัดสินใจที่จะเปนผูดูเนื้อหา กําหนดและ
คัดเลือกเนื้อหาของแผน ( Joline 1985 )
คณะทํางานจะประกอบดวยบุคคลใด จากอาชีพใดเปนหนาที่ของสวนสัตวจะเปนผูกําหนด
ในกระบวนการเขียนแผนกลยุทธ ตัวอยางจากสวนสัตวดีทรอยท ผูเขียนแผนประกอบดวย
ผูเชี่ยวชาญในแตละสาขา ตัวแทนจากการเมืองทุกระดับชั้น เจาหนาที่จากทุกแผนกในทุกระดับชั้น
ของสวนสัตว คณะกรรมการของสวนสัตวเอง เจาหนาที่จากสํานักงานวางผังเมือง ตัวแทนจาก
เทศบาลหรือสวนราชการจังหวัด (Graham1985)
Josline (1982 )ไดใหความเห็นวาหนาที่หลัก 3 หนาทีท่ ี่จะตองทําในการพัฒนาแผนกลยุทธ
สําหรับการพัฒนาสวนสัตวและการจัดการ
1.ประโยคพันธกิจ ( Mission Statement ) ทีมงานที่จะเริ่มการเขียน ประโยคพันธกิจ ( mission
statement ) โดยมีจุดประสงคอยู 2 การ คือ
- กําหนดจุดมุงหมายสําคัญของหนวยงาน เพื่อเปนตัวกําหนดและพัฒนาแผนกลยุทธ
- ใชเปนตัวเริ่มตนที่ทําความเขาใจระหวางบุคลากรของสวนสัตวระดับอาวุโส และคณะกรรมการ
ขององคการสวนสัตวที่เปนเจาหนาที่จากภายนอกสวนสัตว ใหทราบถึงเปาหมายสําคัญของสวน
สัตว
เปนขอตกลงที่บอกถึงเปาหมาย กอนที่จะมีการเริ่มทําแผนกลยุทธ เฉพาะการเริ่มตนทาง
ธุรกิจที่ดีเทานั้นที่จะทําใหเกิดความสําเร็จกับสวนสัตว โดยตัวพันธกิจจะเปนสรางเปนกรอบ
ความคิดที่ตองการใหองคกรนั้นมีการจัดการที่มีประสิทธิภาพ
2. ขอมูลปจจุบัน เมื่อไดประโยคของพันธกิจแลว ขั้นตอไปคือการจัดทําขอมูลเพื่อที่จะใชเปนขอมูล
ในการเขียนแผนกลยุทธในลําดับตอไป ขอมูลที่ตองหาเพื่อมาประกอบการเขียนแผนกลยุทธ คือ
ก. ใครคือลูกคาของเรา ( Identify of current customer ) ในองคกรเชนสวนสัตว ผูเที่ยวชมเปนสิ่ง
ที่มีความสําคัญ การทราบรายละเอียดในแงมุมตางๆ เชน บานอยูที่ใด เปนจังหวัดที่สวนสัตวตั้งอยู
หรือตางจังหวัด เคยมาเที่ยวที่สวนสัตวกอนหนานี้แลวหรือไม ตัวอยางที่มีการสํารวจที่สวนสัตวบรูค
ฟลด ขอมูลที่ไดเชน
- เกือบ 80 % ของผูเที่ยวชมที่ถูกสอบถามเปนผูเที่ยวชมในชวงฤดูรอนซึ่งเปนชวงที่มีผูเที่ยวชมเขา
มามากที่สุด
- เปนผูที่อาศัยอยูในตัวเมืองใหญ และมีจํานวนเล็กนอยที่มาจากมณรัฐอื่นๆ
67

- ประมาณ 80 % เคยมาเที่ยวสวนสัตวแหงนี้แลว
- เกือบ 80 % ของผูใหญจะมีเด็กมาดวย
- 22 % ของผูเที่ยวชมจะมีเด็กที่มีอายุนอยกวา 6 ปมาดวย
ข จํานวนและอัตราสวนของเจาหนาที่สวนสัตวที่เหมาะสม ( Attendance patterns ) สวน
สัตวเปนสถานประกอบการที่มีผูมาใชบริการไมคงที่ สําหรับสวนสัตวในเมืองรอนแบบประเทศไทย
จะมีความตางในชวงวันหยุดสุดสัปดาหกับวันทําการ สวนในเมืองหนาวเชนในทวีปยุโรปและทวีป
อเมริกาเหนือ ยังมีความแตกตางในเรื่องของฤดูกาล
จํานวนคนทํางานที่เหมาะสมกับชวงเวลา โดยสถานการณในอุดมคติคือ การใชผูทํางานให
นอยที่สุดที่สามารถใหบริการกับผูเทีย่ วชมอยางมีคุณภาพ โดยมีคาใชจายเรื่องคาแรงนอยที่สุด แต
สวนใหญแลวคือจํานวนของผูปฏิบัติงานจะคงที่ ในขณะที่จํานวนของผูเที่ยวชมจะมีความผันแปร
เชน ในการเก็บขอมูลที่สวนสัตวบรูคฟลด ชวงเวลาที่ผูเที่ยวชมเขามามากที่สุดคือชวงเวลา 12.00
น ครึง่ หนึ่งของผูเที่ยวชมจะเขาในชวงวันหยุดสุดสัปดาห มาในวันที่แสงแดดออกจะมากกวาวันที่
ฝนตก ผูเที่ยวชมในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม จะมากกวาชวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน
กุมภาพันธุที่เปนฤดูหนาวถึง 13 เทา การเที่ยวชมจะมีมากขึ้นในชวงเทศกาลสําคัญ เชนวันฮาโลวีน
วันคริสตมาส วันอีสเตอร ในชวง 2 ปที่ผานมาสวนสัตวบรูคฟลด ไดทําการโฆษณาเชิญชวนใหมา
เที่ยวที่สวนสัตวโดยใชชื่อวา มหัศจรรยวันหยุด ( Holiday Magic ) นอกจากนั้นการขายของที่ระลึก
จะขายไดดีในวันที่มีการโฆษณา
ค การเปรียบเทียบกับกิจการรูปแบบอื่นๆในทองถิ่น ตัวอยางของหัวขอในการจัดการที่นํามา
เปรียบเทียบเชน โครงสรางของบุคลากร รูปแบบที่มาของรายได อัตราคาจาง กิจกรรมการหาทุน
กิจกรรมสัมพันธของสมาชิกสวนสัตว วิธีการทางการตลาด วัฒนธรรมในแตละทองถิ่นมีผลตอการ
ปฏิบัติการหรือไมอยางไร ตัวอยางเชน ประชาชนในเมืองชิคาโกจะหลั่งไหลกันไปดูโคอลา ที่สวน
สัตวขอยืมชั่วคราวจากสวนสัตวซานดิเอโก หรือในกรณีหมีแพนดาที่ขอยืมจากประเทศจีน ( กรณีใน
สวนสัตวสงขลาที่การแสดงงูจากบานโคกสงา จังหวัด ขอนแกน เปนที่สนใจของคนในเขตจังหวัด
สงขลาและจังหวัดใกลเคียง )
ง. การเปรียบเทียบกับสวนสัตวแหงอื่น ในการเปรียบเทียบกับสวนสัตวแหงอื่น การใชมาตรฐานที่
จะใชวิเคราะหและใชเปนกลยุทธในการปรับปรุงตัวเองเชน AAZPA directory on zoo and
aquarium
หัวขอที่ใชเปรียบเทียบกับสวนสัตวแหงอื่น เชน คาใชจายในการดําเนินงานประจําป
คาใชจายในการปรับปรุงสวนตางๆของสวนสัตว จํานวนของประชากรในเมืองที่สวนสัตวตั้งอยู
จํานวนของผูเที่ยวชมในแตละป จํานวนประชากรทั้งจังหวัดที่สวนสัตวนั้นตั้งอยู รูปแบบการหา
รายได โครงสรางเงินเดือนของเจาหนาที่ จํานวนของลูกจางและพนักงาน จํานวนของอาสาสมัคร
68

ขนาดของพื้นที่ จํานวนรถที่สามารถจอดไดในลานจอดรถ ชนิดสัตว จํานวนตัวของสัตว ลักษณะ


ของกิจการ คาใชจายตอคนของผูเที่ยวชม คาใชจายทั้งหมดหารดวยจํานวนผูเที่ยวชม ตัวเลขที่
แสดงถึงความมั่นคงในการเลี้ยงดูสัตว โดยดูจํานวนตัวสัตวตอชนิดสัตว เจาของกิจการ รูปแบบ
การจัดการ( เพื่อผลกําไรหรือบริการสาธารณะ )
นอกจากนั้นการนําขอมูลดิบมาใชในคํานวณเพื่อสรางอัตราสวน เพื่อใชเปนขอมูลในการ
ตัดสินใจเพิ่มเติมเชน เราตองการทราบถึงอัตราคาผานประตูที่ถึงจุดคุมทุนโดยใชคาใชจายทั้งหมด
หารดวยจํานวนผูเที่ยวชม อีกตัวเลขหนึ่งคือความมั่นคงยืนยาวที่จะมีสัตวชนิดนั้นอยูในสวนสัตว ซึ่ง
จะหาไดโดยจํานวนสัตวที่มีชนิดนั้นหารดวยจํานวนสัตวที่มีในสัตวกลุมนั้น เชนจํานวนสัตวทั้งหมด
ในกลุมเลี้ยงลูกดวยนม หรือหารดวยจํานวนของสัตวทั้งหมดที่มีในสวนสัตว
3. แนวโนม ( Trend ) ขั้นตอนแรกคือการทราบสถานะในปจจุบันของตัวเองเสียกอน ในขั้นตอน
ตอไปคือการตรวจสอบดูวาแนวโนมของตัวใดที่จะมีผลกระทบตอการทํางานขององคกรในระยะยาว
ตัวอยางตัวบงชี้ถึงแนวโนมการดําเนินงานเชน
- รายไดและรายจายในการดําเนินงานในชวง 6 ปที่ผานมา
- สวนงานใดที่มีแนวโนมการเจริญเติบโตมากกวาสวนอื่นๆ
- สวนใดทําใหเกิดการขาดทุน
- การอุดหนุนของรัฐบาลที่ใหกับสวนสัตวมีในรูปแบบใด
การตรวจสอบเพิ่มเติมถึงขอมูลอื่นที่มีเกี่ยวของกับแนวโนมสถานการณของสวนสัตว การ
สํารวจขอมูลเกีย่ วกับผูเที่ยวชมวามีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไร ซึ่งสามารถขอขอมูลไดจาก
หนวยงานทางราชการ เชน แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของลักษณะประชากรในรอบ 10 ป เชน
ศาสนา จํานวนประชากร จํานวนสมาชิกตอครัวเรือน อายุของสมาชิกในครอบครัว อาชีพ รายได
ตอครัวเรือน
ในชวงของการเขียนแผนกลยุทธจะเปนการสะทอนถึงความตองการของสวนสัตวเอง วา
ตองการสิ่งใดเพิ่มเติมเขามา โดยดูจากความรวมมือของสมาชิกในการระดมความคิด การชวยเหลือ
ขอมูลตาง ๆ จากที่ปรึกษาที่มาจากภายนอก ในกรณีของสวนสัตวบรูคฟลดที่มีกระบวนการจัดทํา
แผนกลยุทธ เจาหนาที่สวนใหญรูสึกงานที่ไดทําขึ้นคุมคากับเวลาและเงินที่ไดจายไป มีความรูสึกวา
ไดทบทวนถึงประสบการณที่ผานมาของตัวเอง เพื่อใชในการตัดสินใจวางแผนสําหรับการจัดการใน
ระยะยาว มีการพูดถึงประเด็นทางธุรกิจที่ไมเคยถูกกลาวที่มีการหยิบยกขึ้นมาเปนหัวขอในที่ประชุม
ซึ่งหัวขอที่หยิบยกขึ้นมานั้นจะมีความเห็นที่แตกตางกันไปตามลักษณะงานของตนเอง เปนโอกาส
อันดีที่จะไดสรางความเขาใจในหัวขอนั้นๆ ระหวางผูเขารวมประชุม ( Josline, 1982 )
แผนแมบท ( Master Plane )
- แผนแมบทเปนเอกสารทีม่ ากกวารายงาน ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมทุกขั้นตอนของการ
69

ขบวนการประเมินของผลผลิตแผนกลยุทธ
- การวิเคราะหความตองการของสัตว ผูเลี้ยงสัตวและผูเที่ยวชม การจัดการทั่วไป สภาพสิ่งแวดลอม
ของพื้นที่สวนแสดงสัตว การวางตําแหนงสวนแสดงสัตวและสิ่งปลูกสราง
แผนแมบทไมไดใชเฉพาะกับการเริ่มสรางสวนสัตวใหมเทานั้น ยังใชเปนแนวทางสําหรับ
การปรับปรุงสวนสัตวเดิม วิเคราะหประเมินสวนสัตวเดิม เชนสิ่งปลูกสราง ระบบการขนสงภายใน
สวนสัตว สวนแสดงสัตว การปลูกพืช การตกแตงสวน Tom Atkins ไดชี้ประเด็นใหเห็นเชน
แผนแมบทควรจะเปนแผนที่มีความยืดหยุนอยูในตัว แตก็ตองมีบริษัทที่ปรึกษาของงานการ
ออกแบบและการวางแผนอยูดวย ซึ่งตองอยูดวยเปนระยะเวลาหลายปภายหลังขบวนการการเขียน
แผนเสร็จสิ้น
โดยในสวนของแผนงานและแผนปฏิบัติงานตองมีลักษณะ 2 อยางคือ
1. มีความยืดหยุนหากมีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เชนในการเรียงลําดับสวนแสดงที่จะตองจัดสราง
ขึ้นกอนหลัง อาจมีสวนแสดงบางงานที่สรางกอนหากมีแหลงเงินทุนมากอน
2. มีความชัดเจนที่จะชวยในการตัดสินใจ ใหกรอบที่สามารถพิจารณาและตัดสินใจไดในอนาคต
สวนประกอบของแผนแมบทเชน คุณลักษณะของพื้นที่สวนสัตว เชน ธรรมชาติ
วัฒนธรรม การเมือง สิ่งแวดลอม ระบบสาธารณูประโภค สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน น้ํา
ไฟฟา ถนน รูปแบบของการจัดการจะเปนรูปแบบใด สวนใหบริการอื่นๆ เชน ระบบการเดินทาง
หมุนเวียนของผูเที่ยวชม สถานที่ตางๆสําหรับผูเที่ยวชม อาคารที่เกี่ยวของกับการบริการตางๆ เชน
สุขา รานอาหาร รานขายของที่ระลึกและสวนแสดงสัตว
สวนของสัตวเปนสวนสําคัญในการออกแบบ สวนสัตวตองรับผิดชอบและใหความสําคัญใน
เรื่องสุขภาพและสวัสดิภาพของสัตว ในชวงเวลา 15 ปที่ผานมามีงานที่แสดงใหเห็นวาสวนสัตวได
ทํางานที่เกี่ยวกับสัตวมากขึ้นเชน การสรางสวนแสดงที่มุงหวังในเรื่องของการเพาะขยายพันธุซึ่งอาจ
ตองใชพื้นที่ที่อยูนอกพื้นที่ชมสัตว การสรางสวนแสดงสัตวที่นําเสนอเปนรูปแบบ ( theme
exhibition ) จัดแสดงรวมทั้งงานใหการศึกษา งานการปลอยสัตวปาคืนถิ่นอาศัยเดิม
( Atkins ,1985)
ในการเขียนแผนแมบท ซึ่งมีการวาจางผูเชี่ยวชาญในการเขียนแผน แตก็ขบวนการก็ตอง
พึ่งพาเจาหนาที่สวนสัตวอยูมากเชน ชวงการสํารวจพื้นที่ ชวงการเตรียมเอกสารประกอบ
มีคําถามวาสวนสัตวจําเปนตองมีแผนแมบท สําหรับใชเปนตัวแนะแนวทางการเติบโตและ
พัฒนาหรือไม มีตัวอยางที่สวนสัตวจํานวนมากที่มีความลงตัวในเรื่องคน พืช สัตว รายไดและ
จํานวนผูเที่ยวชมก็อยูในระดับที่พอใจ โดยไมมีแผนแมบท แตสิ่งหนึ่งคือในอนาคตที่อาจจะมีความ
เปลี่ยนแปลงได เชน ผูบริหาร การอุดหนุนจากแหลงเงินทุน การมีแผนแมบทไวก็จะทําใหผูทํางาน
70

ในระดับผูบริหารมีเปาหมายและ แนวทางที่ชัดเจนในการทํางาน เปนแผนงานที่ไดรับการรับรูและ


รับทราบจากผูบริหารในระดับสูงเรียบรอยแลว
สวนสัตวที่ไดรับการอุดหนุนเงินจากรัฐบาลนั้น ไมไดเปนหลักประกันในเรื่องที่สวนสัตวจะไม
ประสบปญหาทางดานการเงิน เนื่องจากงบที่ไดมารัฐบาลไมไดคิดใหเพิ่มเติมกรณีเศรษฐกิจมีความ
ผันแปร หรือบางครั้งรัฐบาลก็ตัดเงินชวยเหลือ สวนสัตวโดยทั่วไปจึงมีระบบงานที่จะตองหาแหลง
ทุนจากแหลงอื่น เนื่องจากโอกาสที่รัฐบาลจะลดการอุดหนุนแกสวนสัตวจะมีในลําดับที่มากขึ้น
เรื่อยๆ
สวนสัตวตองตองพยายามที่จะสรางรายได ใหเพียงพอตอคาใชจายที่เพิ่มมากขึ้น เชน
รายไดจากคาผานประตู คาบริการอื่นๆ เชน คาที่พัก คาอาหารจากงานคายพักแรม ขายของที่
ระลึก และตองหารูปแบบการบริการอื่นๆ เพื่อเปนชองทางในการสรางรายได การเพิ่มงานบริการ
ตางๆเพื่อหารายได แรงงานที่ตองใชก็จะเพิ่มขึ้น ตองหาวิธีการเพิ่มผูเที่ยวชมดวย แผนแมบทตองมี
การทดสอบในหัวขอชองทางการเพิ่มรายไดวา องคประกอบและการกระจายตัวทางกายภาพในสวน
สัตวมีความเหมาะสมอยางไร
แผนแมบทที่ดีคือแผนที่สามารถนําการจัดการแบบมืออาชีพ นําสิ่งแวดลอมที่มีภายในสวน
สัตวเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยเปนแผนที่ไดวางโครงสรางไวอยางดี เปนแผนที่ใหความสําคัญ
กับความตองการของผูที่เกี่ยวของคือสัตว ผูเลี้ยงสัตว ผูเที่ยวชมในชวงของการออกแบบ และใหมี
ความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในการวางแผนนี้ใหนอยที่สุด ( Josline 1982)
การจัดทําแผนแมบทเปนงานที่มีเนื้องานมากเกินกวาที่จะทําใหเสร็จสมบูรณในการทําแผนครั้งเดียว
จึงตองมีการแบงการเขียนแผนเปนชวงๆ การเขียนถึงจุดประสงค ลําดับการทํางาน งานกอสรางที่
จะตองทํากอนหลัง ตําแหนงของตัวอาคาร ตําแหนงของสวนแสดงสัตว แผนงานทั่วไป กรอบงาน
พื้นฐานที่ลงรายละเอียดเมื่อแตละงานไดรับงบประมาณมาใหสามารถเริ่มงานกอสรางได ( Josline
1982)
สวนสัตวทตี่ องมีการจัดทําแผนแมบทคือสวนสัตวที่ยังขาดทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนา ถา
เราไมมีแผนแมบทที่แนนอน สวนสัตวจะมีการพัฒนาอยางขาดทิศทาง และถาดูในแผนที่ที่เปน
ภาพรวม ก็จะเห็นสวนแสดงที่เปนแบบผสม “. Hodgepodge ” ( n.1 a confused mixture ) เราก็จะ
เห็นวาการจัดวางอาคารไมมีความตอเนื่อง เชน ลานจอดรถเมลหรือลานจอดรถสวนตัว ไมไดอยู
ใกลกับขบวนรถพวงนําชมสัตว สวนแสดงสัตวที่ชนิดสัตวกับการใหการศึกษาไมสามารถสอดรอย
กันเปนเรื่องราวได ) ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจเกิดจากการขาดการจัดการสวนสัตว ซึ่งสวนสัตวจะตอง
พบกับการวิพากษวิจารยจากสังคม และระดับของเงินทุนสนับสนุนกิจการสวนสัตว แตในปจจุบัน
งานดานแผนงานในหลายสวนสัตวไดแสดงถึงความเปลี่ยนแปลงและมีทัศนคติที่แสดงถึงความ
ตองการใหมีการจัดทําแผนแมบทขึ้น
71

ที่สวนสัตวดีทรอยท มีการวางแผนการใชพื้นที่สําหรับสวนแสดงสัตวโดยใชแนวคิดตามถิ่นที่
อยูของสัตวชนิดนั้นๆ ( geographic zone ) เชนแอฟริกา เอเชีย เมื่อเวลาผานไปหลายป แนวคิดนี้
มีการปฏิบัติตามแผนที่นอยลง นอยลงไปเรื่อยๆ จนกระทั่งผูเที่ยวชมเกิดความสบสนวา สิ่งที่สวน
สัตวกําลังจะสื่อใหทราบคืออะไร ซึ่งในแผนการปรับปรุงสวนสัตวนั้น การตัดสินใจที่ตองชัดเจนเชน
สวนใดตองรื้อทิ้ง สวนใดจะขยายปรับปรุง แผนแมบทของสวนสัตวที่สรางใหมกับสวนสัตวที่เปด
ดําเนินการแลวมีความแตกตางกัน (Atkins 1985)
กรณีของสวนสัตว Point Defiance Zoo/Aquarium จะมีความแตกตางจากสวนสัตวอื่น
โดยเปนสวนสัตวที่เปดดําเนินการเปนเวลา 8 ปแลวคณะกรรมการบอรดของสวนสัตว
( Metropolitan Park Board ) ไดมีมติใหมีการจัดทําแผนแมบทขึ้น เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนา
ในแนวทางใหม โดยความสําคัญในแผนแมบทคือ แผนที่ชี้ใหเห็นถึงเปาหมายในระยะยาวของสวน
สัตวในแนวทางใหม
ความจริงอันหนึ่งก็คือ การปรับปรุงสิ่งปลูกสรางจะเปนผลสะทอนจากเปาหมายในระยะยาว
ซึ่งตองใชเวลาดําเนินงานหลายปกวางานจะสําเร็จตามแผนงาน ตัวของสวนสัตวเองจะตองมีความ
ยืดหยุน เพื่อที่จะใหแผนที่รางขึ้นมาบรรลุผลตามที่มีการวางแผนไว the conception plan ควรจะ
เปนสวนที่แปลผลจาก theme เพื่อใหมาปรากฏในสวนขอมูลที่เกี่ยวกับชนิดสัตวที่จะเลือกเลี้ยง
รูปแบบและวิธีการจัดแสดงสัตว จุดสรางสวนแสดงสัตวทั้งหมดและความตองการในอนาคต (
Jones and Jones, 1979 )
แผนแมบทจะเปนรายงานที่รวบรวมองคประกอบจากการวางแผนกลยุทธ ( Strategic
planning ) สวนที่มีความสําคัญที่ตองกลาวถึงดวยเชน การออกแบบดานภูมิสถาปตย ( Landscape
architecture ) รูปแบบของสิ่งกอสราง งานใหการศึกษา การเดินทางของผูเที่ยวชมในสวนสัตววาจะ
ใชรูปแบบใด เชนรถไฟ จักรยาน ทางเดิน ทางสําหรับคนพิการ รูปแบบงานใหการศึกษา การ
วิเคราะหทางดานวิศวกรรม เชน คุณสมบัติของดิน เพื่อประกอบในการวางแผนเรื่องฐานราก ซึ่งจะ
มีวิธีการอยูหลายวิธีที่จะเอาสวนประกอบตางๆประกอบเขามาเปนแผนแมบท
บริษัทที่รับจางเขียนแผนแมบท The Jones and Jones office จะใชวิธกี ารทํา work shop
การระดมสมอง ความคิดของผูมีประสบการณหลายสาขาวิชาและจากหลายพื้นที่มาทํางานรวมกัน
เพื่อหาขอสรุป (Atkins, 1985)
ทีมในการการเขียนแผนงานของ The new Indianapolis Zoo ไดดูงานในสวนสัตวหลาย
แหง เพื่อรับฟงขอคิดเห็นจากเจาหนาที่ของสวนสัตวนั้น ซึ่งแตละสวนจะมีทั้งจุดดีที่เอาเปนตัวอยาง
ได และจุดดอยที่เราตองเก็บประสบการณเพื่อไมใหเกิดซ้ําในสวนสัตวที่จะสรางขึ้นใหม ( horror
story ) เชน ในระบบน้ํา ระบบไฟ ระบบการเดินทางภายในสวนสัตว การดูในสวนแสดงสัตวที่ตอง
ลงลึกในรายละเอียดเพือ่ ใหขอดีหรือขอดอยของสวนแสดงนั้น การบันทึกขอมูลจากตัวของผูใชสวน
72

แสดงคือผูเลี้ยงสัตว รวมทั้งการถายภาพเก็บไปดวย ขอมูลเหลานี้จะมีประโยชนในการตัดสินใจ


ในชวงของการวางแผนงาน มีการประชุมที่จะเชิญเอาผูทรงคุณวุฒิจากสวนสัตวชั้นนําระดับ
นานาชาติมาชวยใหคําแนะนํา เพื่อสรางเสนทาง “ set a pace ” ที่เปนแผนงานที่จะนําสวนสัตว
ไปสูมาตรฐานระดับนานาชาติ ( Shea, 1988 )
- วิธีการเขียนแผนที่ใชในการเขียนแผนแมบทของสวนสัตวจะมีความคลายกัน โดยมักจะมีการเขียน
รายการสิ่งของ รายการสิ่งกอสราง การวิเคราะห การสังเคราะหขอมูล
- อยางไรก็ตามคุณภาพของแผนแมบทและแนวคิดการพัฒนาจะมีความแตกตางกันตามลักษณะ-
กระบวนการกําหนดรูปแบบการออกแบบ ( Design concept formulation process )
- แนวคิดของสวนสัตวจะมีความแตกตางกันในเรื่องของรูปแบบ ขนาดและจุดที่นาสนใจ
1. มีความแตกตางกันในลักษณะของแผนการและลําดับชั้น เชน ความคิดแรกจะมีอิทธิพลตอ
ความคิดในลําดับที่ถัดมา ( ดูรูปที่ 43 )

รูป 43 Urban /Wild continuum concept เปนแผนภูมิที่เปน


จุดเริ่มตนและเขาใจงาย ที่แสดงถึงสัดสวนของบรรยากาศ
สิ่งปลุกสรางวาจะใหสัดสวนของความเปนธรรมชาติกับ
แนวคิดของมนุษยที่มีการปรุงแตงอยางมีระเบียบ

2. แนวคิดที่จะเขารวมในกระบวนการและผลิตผลในทุกขั้นของการออกแบบและเกิดแรงบันดาลใจ
จากแหลงกําเนิดที่ไมจํากัด ( ดูรูปที่ 44 )

รูปที่ 44 Animal Encounter


concept , The circulation
concept จะเปนจุดเริ่มตนของ
ลําดับการเห็น รูปแบบของภาพ
ที่เห็น ความถี่ของการเห็นสัตว
ขั้นตอนตนและจุดสําคัญของ
แผนภูมิทไี่ ดรับแรงบันดาลใจ
จากความตองการที่จะควบคุมตัว
สัตว
73

3.คือจากผลจากที่ทีมออกแบบจะมองเห็นภาพของปญหา ที่สะทอนถึงปรัชญาและการใหความสําคัญ
ของสมาชิกทีมออกแบบ ( ดูรูป 45 )
รูป 45 wild refuge content แนวคิดพื้น
ที่วางอยูตรงกลาง โดยใหจุดสนใจอยู
ที่พื้นที่ตรงกลางที่เปนโอเอซิส โดยให
การแสดงสัตวอยูโดยรอบพื้นที่ตรง
กลาง ซึ่งแนวคิดนี้จะแสดงความคิด
ของกลุมออกแบบที่ตองการ
เปรียบเทียบสภาพสิง่ แวดลอมที่เกิดขึ้น
ใน
สังคมเมืองใหญ
แนวคิดที่เปดกวาง open end (open-ended adj. having no predetermined limit or boundary.)
จะเปนกระบวนการที่ทําใหเกิดความคิดสรางสรรค วามีไดอยางหลากหลาย และเปนแนวคิดที่ดี
สําหรับสวนสัตว แตสิ่งที่เกิดขึ้นคือนักวางแผนและนักออกแบบมักจะพึงพอใจกับแนวคิดที่ประสบ
ความสําเร็จจากโครงการหนึ่งโครงการใด และพยายามที่จะปรับแนวคิดดังกลาวไปใชกับโครงการใน
อนาคต ซึ่งจะเปนการแกไขปญหาที่จํากัดวิธีการ และเปนการจํากัดกระบวนการความคิดสรางสรรค
ที่จะเปนสวนในการสรางความตื่นเตนที่เกิดจากความคิดในการออกแบบ
สวนประกอบตางๆ สวนสัตวในแผนแมบท เชน อาคาร เสนทางสัญจรและวิธีการเดินทาง
สวนแสดงกลางแจง การปลูกตนไม ซึ่งตองมีสวนประกอบเหลานี้เปนพื้นฐาน ความแตกตางกันของ
แผนแมบทจะอยูที่การเชื่อมตอของสวนประกอบตางๆเหลานี้ สภาพพื้นที่ของสวนสัตว
รูปราง รูปทรงของสวนสัตว หรือการจัดสวนประกอบจะขึ้นอยูกับทัศคติของแนวคิดของผูอออก
แบบ ที่จะมีความแตกตางกันเมื่อใชวิธีการแตกตางกันไป ขั้นตอนการประกอบสวนตางๆ โดยการดู
วิธีการของที่ใชที่ Woodland park Zoo ที่เปนการทํางานที่มีลําดับงานโดยเริ่มจากงานภาคสนาม
จนถึงงานขั้นสุดทายที่เปนสวนของคําแนะนํา
วิธีการแบบหมุนวน ( The helical methodology ) จะเปนการหมุนแบบ 2 รอบ ใน
ขบวนการออกแบบ
1 การเขียนสวนประกอบทั้งหมด
2. การวิเคราะห
3. การสรางตัวเลือกขึ้นมา
4. การคัดเลือกและการกลั่นกรองตัวเลือก
74

ดูรูปที่ 46 Two- cycle Design


mythology Woodland Zoo Master
Plan Report, 1976

- โดยในรอบแรกจะเปนการสืบหาและสอบคน ในรอบที่ 2 จะเปนการทดสอบและกลั่นกรองแนวคิด


ที่ไดคัดเลือกแลวรวมทั้งการเพิ่มเติม ขอมูลจากพื้นที่ ( site data ) โอกาสและขอจํากัด
- การวิเคราะหแตละตัวเลือกของแนวคิดที่เกิดขึ้นในชวงที่ 1( preliminary concept ).ใน
ขณะเดียวกันการพัฒนาขอมูลประกอบรายการที่ตองตรวจสอบ ( check list ) และเกณฑมาตรฐาน
งานที่เกิดขึ้นในวงจรที่ 2 ขอสรุปที่ออกมาเปนผลผลิตที่เปน guideline ของการวางแผนในระยะ
ยาว มีขอแนะนําในการออกแบบสําหรับการวางแผนในอนาคตของ the woodland park Zoo
- โดยวิธีการหมุนวน 2 รอบจะชวยในสวนของลําดับงาน เตรียมเกณฑในการออกแบบคอกกักและ
สวนแสดง รวมทั้งการออกแบบสวนอื่นๆ ของขบวนการออกแบบ ( Jones, Coe and Paulsan,
1976 )
ในการขยายกระบวนการแบบ spiral ที่จะใชในการวางแผนระยะยาวจะมีพื้นฐานจากแนวคิดของ
ผูออกแบบขององคกรนั้นๆ โดยจะใชในการแบงพื้นที่สวนสัตวแบบตามลักษณะภูมิอากาศ (
bioclimatic zone )
ดูรูปที่ 47 กระบวนการ พัฒนาแผนระยะ
ยาวของ Woodland Park Zoo, จากรายงาน
ของแผนแมบทของ Woodland Park Zoo
75

โดยจะใหความสําคัญกับขอมูลทั่วไปที่ลงไปในความจําเพาะของปญหาของความตองการ
โครงการ ของ woodland Park Zoo กรอบความคิดในวิธีการออกแบบเพื่อการพัฒนาแผนในระยะยาว
ซึ่งจะมีเนื้อหาตามขอความขางลางนี้
Jones, coeand Paulson, 1976 ใหแบงขอมูลที่มีออกเปน 5 กลุม คือ 1 สภาพอากาศ
2. ลักษณะพื้นที่ 3. ตนไม 4. บรรยากาศและวัฒนธรรม 5. สัตว โดยในแตละสวนจะ
ประกอบดวยการพิจารณาอยางกวางๆ ( examined extensive ) ที่เปนการพิจารณาในกรอบและ
ความหมายกวางๆ เชน (ระดับโลกและระดับพื้นที่ ) จากนั้นจะเปนการพิจารณาแบบละเอียด
เขมขนเปนระดับที่มีความจําเพาะ ในกระบวนการที่เขาสูศูนยกลาง เปนกระบวนการสังเคราะหไป
ตามลําดับขั้นจากรายการที่มี (ชองสีขาวนอกสุด )เขาไปยังการวิเคราะหในสวนของแถบสีเทา ตอไป
เปนจุดที่เกิดตัวเลือก ( potential site bioclimatic zone ) และจุดที่อยูตรงกลางเปนจุดที่เลือก
แนวคิด
วิธีการเขียนแผนพัฒนาระยะยาวของ the woodland Park Zoo ไดชี้ใหเห็นถึงอิทธิพลของแนวคิด
ของตัวองคกรเองที่นํามาใชในสูตรของการวิธกี ารวางแผน และปจจัยอื่นๆ มาจากเปาหมายของ
องคการเชนสวนสัตว
การรับผิดชอบที่จะออกแบบตามความตองการของ the Washington park zoo โดยใช two
phase plan
ในชวงที่ 1 กลุมที่ทําหนาที่วางแผนจะทําการรวบรวมเอกสารที่มีความเกี่ยวของกับแนวคิดของ
รายงานแผนแมบท เชน
- เอกสารที่กลาวถึงงานที่ทําไปแลวทั้งหมด
- เอกสารการวิเคราะหงานที่ทําแลวที่มี
- การกําหนดแผนงานที่ตองการปฏิบัติ
- มาตรฐานที่ตองการพัฒนาและออกแบบในอนาคตทั้งในสวนของแผนงาน เหตุการณและ
สิ่งกอสราง
แผนงานที่ตองทําในระยะที่ 1 คือ การทบทวนเอกสารของงานที่ไดพัฒนาไปแลวทั้งหมด
การสัมภาษณผูอํานวยสถาบันที่อยูขางเคียงถึงมุมมองของหนวยงานอื่นๆที่มีกับสวนสัตว บท
สัมภาษณของเจาหนาที่สวนสัตว
ประชาชนก็เปนสวนสําคัญในกระบวนการออกแบบ ในสวนที่จะตองมีการพัฒนาความ
เขาใจที่มีกับสวนสัตว เชน กลุม เพื่อนของสวนสัตววอชิงตัน ( friends of the Washington park
76

zoo ) และ กลุมอาสาสมัครงานใหการศึกษา ( zoo education volunteer ) ที่ตองเชิญมาเพื่อพูดคุย


ใหคําแนะนําในการปรับปรุงสวนสัตว
ชวงที่ 2
รายการทรัพยสิน การวิเคราะหทางเศรษฐกิจและการวิเคราะหลกั ษณะทางกายภาพของ
woodland Park zoo ที่ไดมีการจัดทําและมีเอกสารรายงานในชวงที่ 1 เพื่อใชทําแผนการในสวน
ของขอกําหนดและเกณฑมาตรฐานที่จะใชในการทําแผนชวงที่ 2 สําหรับการออกแบบแผนแมบท
และแผนกลยุทธในสวนการปฏิบัติการ
ในระยะที่ 2 นี้ การออกแบบและวิธีการปฏิบัติจะประกอบดวยการสังเคราะหจากแนวคิดที่
เปนขอกําหนดจากระยะที่ 1 ในสวนของสิ่งกอสรางและแผนการปฏิบัติงานของสวนสัตว
การวางแผนดานการเงินและการออกแบบทางกายภาพที่ควรจะตองทําไปพรอมๆ กัน
เพื่อที่จะไดแนวคิดสําหรับที่จะสรางนวัตกรรมและการกอสรางใหมของโครงการในสวนสัตว ใหราคา
ของสิ่งกอสรางที่สมเหตุผล การคาดการณผลกระทบจากการดําเนินงาน โครงการใชเจาหนาที่และ
ตารางเวลาในการปฏิบัติงาน
การนําเสนอการออกแบบจะเริ่มตนที่การออกแบบ สวนทางเขาของยานพาหนะ ลานจอดรถ
ทางเดินเทา ระบบการเดินทางในสวนสัตว สวนบริการประชาชน สวนบริการที่เกี่ยวของกับผูพิการ
การแกไขปญหาควรจะตองมีแนวคิดใหม ทั้งในการสรางสวนแสดงสัตวและสวนแสดงสัตวใน
ลักษณะที่มีการแบงกลุมตามถิ่นที่อยูตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร และ ระบบการบริการสําหรับการ
เดินทางภายในสวนสัตว ( Guthrie, Slusarenko, Leeb, 1983 )
แผนงานที่เขียนออกมาควรหลีกเลี่ยแผนงานที่ตายตัว ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได เงอื่ นไข
และขอจํากัดในเรื่องของมุมมองทางสถาปตยกรรมที่มีขอคิดเห็นโดย Corkey
กลยุทธขั้นพื้นฐาน 2 ขอในการวางแผนเพื่อสรางสวนสัตวใหม 1 การกําหนดสถานที่ตั้ง
ของสิ่งกอสรางตางๆ ที่มีทั้งหมดไวภายในแผนที่อันเดียว และจะตองสรางความสมดุลใหยังสภาพ
พื้นที่ที่เปนธรรมชาติไวดวย สิ่งกอสรางที่สําคัญที่อาจจะสรางขึ้นอีกนั้นอาจจะทําเปนรอยประแสดง
ไวในเสนทางในระบบขนสงภายในแผนที่
แผนแมบทควรจะเปนแผนที่มีความยืดหยุน สามารถที่จะปรับตามความจํากัดของพื้นที่
ลําดับชั้นของความของความสําคัญของจุดมุงหมายขององคการ จุดประสงคจําเพาะของการออกแบบ
การใหความสําคัญกับคุณคาพิเศษและปรัชญาในการออกแบบที่มีความแตกตางกันผูออกแบบแตละ
บุคคล
ผลจากกระบวนการเขียนแผนแมบทจะตองเปนรายงานที่ใชเปนเอกสารสําหรับการตัดสินใจ
ในอนาคต ในความเปนจริงแลวสวนสัตวแตละแหงจะมีจุดประสงคที่แตกตางกัน ชนิดสัตว ลักษณะ
77

ภูมิประเทศ แนวทางการพัฒนา วัฒนธรรมองคกร แตจุดเหมือนของแผนแมบทในแตละสวนสัตวมี


การนําเสนอเนื้อหา Joslin ไดทําการวิเคราะหแผนแมบทไวดังนี้
แผนแมบทของสวนสัตวเปนเอกสารที่แสดงถึงจุดประสงคของสวนสัตวที่ไดมีการเขียนไวแลว
อยางชัดเจน สั้นไดใจความ มีการบรรยายรูปรางลักษณะของโครงการเมื่อเสร็จสมบูรณ เมื่อตอง
นําเสนอตอรัฐบาลเพื่อพิจารณาอนุมัติงบประมาณหรือบริษัท ตางๆที่ตอ งการเปนผูสนับสนุน โดย
เนื้อหาเอกสารมีไมเกิน 30000 คํา โดยจะตองจัดทําใหดูนาสนใจ โดยที่ 75 % ควรจะเปนแผนที่
ตาราง รูปภาพที่ประกอบเนื้อหาซึ่งตองใหเนื้อหาทุกสวนสมดุลกัน
ภายหลังการกําหนดจุดประสงคองคกร แผนแมบทจะมาทบทวนแนวคิดที่เปนจุดประสงค
และเริ่มทําแนวทางเบื้องตนที่ยอมรับได ติดตามดวยขอมูลในเรื่องของพื้นที่ ชนิดและจํานวนของ
ตนไม ความสูงต่ําของพื้นที่ สิ่งกอสรางที่มี ขอจํากัดที่มี
ในขั้นตอนตอไปคือแบบรางของลานจอดรถ ระบบจราจร การขนสง สวนใหบริการเชน
การใหรายละเอียดในสวนของจุดที่สราง พื้นที่ ภาพวาดของสวนแสดง รูปแบบขอมูลที่ลงใน
รายละเอียด รูปแบบของแนวเขตเปนแบบคู รั้วและพื้นที่ที่ตองการ
ตารางสําหรับการแบงชวงงานกอสราง ซึ่งโดยทั่วไปเปนเรื่องที่ยากที่จะนําเงินจํานวนมาก
เพื่อใหงานเสร็จสิ้นในชวงเวลาเดียว ซึ่งในสวนงานกอสรางเสร็จเปนชวงๆ เราจะสามารถใช
ประโยชนเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ
แผนแมบทควรจะประกอบดวย1-2 หนาการวิเคราะหรายได รายจายของประชาชนที่จะ
เปนกลุมเปาหมาย การคาดคะเนถึงลักษณะของผูเที่ยวชมจะมีความใกลชิดกับการกําหนดวาจะ
จัดรูปแบบงานบริการอยางไรใหเหมาะสมที่แผนแมบทควรจะตองมีขอมูลในลักษณะนี้เชนกัน หรือ
ขอมูลที่เปนลักษณะของ socioeconomic ที่เปนขอมูลของผูเที่ยวชม
การทําแบบจําลองโมเดลที่แสดงลักษณะพื้นที่ สิ่งกอสราง ถนน ซึ่งแบบจําลองนี้จะให
มองเห็นภาพเมื่องานกอสรางนั้นไดทําเสร็จสิ้น ถาหากทําแบบจําลองไดสวยงาม ก็จะเปนอุปกรณที่
สําคัญสําหรับการนําเสนอที่ดี
ผลจากการทําแผนในระยะยาวจะเปนจุดเริ่มตนตัวเนื้อหาของแตละโครงการ แผนกลยุทธ
และแผนแมบทจะเปนตัวกําหนดแนวทางและเตรียมความรูสึกของความรูสึกตอเนื่อง การออกแบบ
และการตัดสินใจ ในเรื่องของพัฒนาสวนแสดงสัตวที่ตจะตองการกอสรางในเวลาตอมา
สวนประกอบอื่นๆที่สําคัญ เชน ความคิดที่เปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน ความมีระเบียบวินัย สิ่งเหลานี้
จะสําเร็จขึ้นไดโดยการริเริ่ม กรอบความคิดที่สําคัญของตัวองคการเอง ( a dominant
organizational theme )
78

บทที่ 5 การจัดการรูปแบบและเนื้อหาของพื้นที่สวนสัตว
( Site Organizational Themes for Zoological Parks )
จุดประสงค (Purpose)
การดูความสมบูรณมากนอยของการนําเปาหมายของสวนสัตว ( ความบันเทิงและการพักผอน
หยอนใจ งานใหการศึกษา การอนุรักษ งานวิจัย ) มาใชเปนหลักในการสรางและพัฒนาสวนสัตวดู
ไดจาก
- สภาพพื้นที.่ ( site condition )
- สัตวในแงของชนิดและจํานวน ( animal collection )
ซึ่งทั้งสองเรื่องนั้นจะเริ่มตนจากแนวคิดขององคกร ( organization concept ) ที่จะกําหนดพื้นที่วาง
และรวมผสมผสานทุกๆสวนแสดงสัตว ( define spatial and integrate the many animal exhibit )
ความคิดในเรื่องของการจัดการสวนแสดงสัตวจะเปนตัวกําหนดบรรยากาศของที่วางทั้งหมดหรือ
กําหนดลักษณะของสวนสัตว ซึ่งยังสงผลตอระบบการเคลื่อนไหลของผูเที่ยวชมภายในที่ควบคุม
ลําดับการมองเห็นของผูเที่ยวชม โดยมีตัวอยางวิธีการที่ R.J Laforthne North American Living
Museum
กลุมของผูทํางานดานการวางแผนที่เริ่มพูดคุยเพื่อทําความเขาใจและการทํางานที่
กําหนดลักษณะของสวนแสดงของสัตวที่จะเกิดขึ้น โดยภาพที่จะเกิดขึ้นตองเปนภาพที่สตั วมี
ปฏิสัมพันธกับธรรมชาติและผูเที่ยวชมไดเห็นภาพที่มีการสื่อความหมาย ความกลมกลืนของ
สวนประกอบตางๆ ที่ประกอบดวยสัตว พืชที่ปลูกในสวนแสดง ปายใหการศึกษา พื้นที่วางที่มีทั้ง
ภายในบริเวณที่มีสิ่งกอสรางและไมมีสิ่งกอสราง ทั้งหมดจะเปนตัวสงขอมูลไปยังผูเที่ยวชม
( Zucconi and Nicholas, 1981 )
จุดเริ่มตนที่จะเห็นความสําคัญและความตองการทีจ่ ะสรางองคกรที่มีรูปแบบ ( organizational
theme ) ก็ตอเมื่อไดมีการวิเคราะหโครงราง และสภาพที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ก็จะพบสวนประกอบ
หลายๆสวนและแนวคิดหลายๆแนวคิดที่เกิดขึ้นในชวงการสรางและพัฒนาสวนสัตว เปนแนวทางไม
ที่เปนแนวคิดรวมของทั้งสวนสัตว มาอานสภาพที่เกิดขึ้นที่ The Columbus zoo กอนที่จะมีการ
ปรับปรุงซึ่งสามารถสะทอนใหเห็นถึงภาพทีพ่ บไดทั่วไปทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ( Schooley,
Cornelius and Associate, 1977 )
สภาพทีส่ วนแสดงสัตวภายในสวนสัตวโคลัมบัสที่อยูในลักษณะที่เปนกรงที่เรียงเปนตับๆ
( The menagerie effect ) เมื่อสิ่งกอสรางในลักษณะนี้เกิดขึ้นในชวงเวลานานๆ หลายป จึงเกิด
กลุมของกรงเหลานี้อยูในลักษณะที่กระจัดกระจายตามพื้นที่ของสวนสัตว และแตละกรงสัตวขนาด
เล็กเหลานี้สัตวแตละตัวไมมีความสัมพันธกันในเชิงเนื้อหาวิทยาศาสตร แนวคิดในลักษณะของ
Animal Museum และ Scientific Zoo จะพบในสวนแสดงในลักษณะเปนกรงขนาดเล็กภายในตัว
79

อาคาร การจัดการในลักษณะนี้เกิดจากความคิดของสวนสัตวที่ตองการจะมีชนิดสัตวที่มากทีส่ ุดใน


ประเทศสหรัฐอเมริกา
เมื่อตนไมจํานวนมากในสวนสัตวโคลัมบัสเติบโตเปนตนไมที่ขนาดใหญ ทําใหแนวคิดของ
การจัดการในลักษณะ zoological garden ปรากฏขึ้น ถึงแมวาความสุนทรียะ (ความสวยงาม )
จะถูกลดลงดวยการสะสมของการขาดการวางแผนและสิ่งกอสรางที่ลาสมัย
สภาพของสวนสัตวโคลัมบัสที่ดูเปนธรรมชาติอยูในสภาพที่ลงตัวโดยตนไมเติบโตเต็มที่
รวมทั้งมีการนําเสนอรูปแบบการทองเที่ยวแบบซาฟารี มีแผนการกอสรางสวนแสดงสัตวกินเนื้อและ
สัตวกินพืช ในดานฝงตะวันออกของสวนสัตว การมีรถไฟเล็ก สวนสัตวเด็ก สวนแสดงทีม่ ีปายให
การศึกษาที่มีการโตตอบ การจัดสวน การจัดแสดงความสามารถพิเศษของสัตว เปนการสะทอนถึง
สวนสัตวไดมีความพยายามที่จะเอาความบันเทิงเขามาเปนสวนหนึ่งของสวนสัตว
แนวความคิดเรื่องการพัฒนาสวนสัตวและแนวคิดในปจจุบันของสวนสัตวโคลัมบัส บางที่
เปนสิ่งที่ประสานกันไมได หลายๆแนวคิดที่ขัดแยงกัน การวางน้ําหนักในแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งกลับ
เปนการลดความสําคัญของอีกแนวคิดหนึ่ง ในการวิเคราะหเปนที่ชัดเจนวาเกิดความขัดแยงใน
แนวความคิด และเกิดความไมชัดเจนในแนวคิดขึ้นในการจัดการสวนสัตวโคลัมบัส ( Schooley,
Cornelius and Associates,1977 )
เปนที่เขาใจกันวา สวนสัตวสวนใหญจะขาดโครงสรางและรูปแบบที่ชัดเจน เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงเปาหมายการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงเรื่องบุคลากร ความไมแนนอนของสภาพ
เศรษฐกิจ ทําใหความตอเนื่องในการสรางรูปแบบองคกรเปนไปไดยาก ดังนั้นรูปแบบขององคกรที่
เราจะจัดทําขึ้นนั้นจะมีผลดีในเรื่องของ
1. ตระเตรียมทิศทางของผูวางแผนในการออกแบบสิ่งกอสราง
2. ตระเตรียมทิศทางในการตัดสินใจของเจาหนาที่ในสวนของสิ่งกอสรางทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
3. ตระเตรียมกรอบการทํางานที่ผนึกเอาเนื้อหาจากทุกหัวขอที่เกี่ยวของ ที่เราทําความเขาใจกับเนื้อหา
ได ที่เราจะสามารถแปลความหมายของแนวคิดได
4. เตรียมภาพทั้งในสวนสิ่งปลูกสรางและสัตวที่นาจดจําสําหรับผูเที่ยวชม
การออกแบบสวนแสดงสัตวความตองการใหเปนพื้นที่ที่ผูเที่ยวชมชื่นชอบในการชมสัตว แต
ก็มีสิ่งทาทายที่เราตองทําใหสําเร็จดวยคือ การออกแบบ การพัฒนาและการจัดการกับสภาพแวดลอม
ที่จะเปนตัวกระตุนที่จะสื่อสารงานใหการศึกษาและการสื่อเรื่องงานดานการอนุรักษ ซึ่งตองการมีการ
รวมกันของพื้นที่ ( context ) และเนื้อหาของขอมูล ( content )
ความสําคัญของลักษณะพื้นที่นั้นคําแนะนําโดย Coe ( 1982) เมื่อเขาตั้งคําถาม 2 คําถาม
วา”
80

1. เปนความจริงหรือไมทสี่ ิ่งแวดลอม ( เนื้อหา ) ที่เราเขาไปจัดการจะมีผลตอกับจิตสํานึก( รูตัว)


และใตจิตสํานึก(ไมรูตัว )ตอผูเที่ยวชม ซึ่งจะมีผลตอการประมวลเปนภาพและมีผลตอการเรียนรู
2.ผลที่เกิดขึ้นจะมีผลเทากับหรือมากกวาการนําเสนอในรูปของขอมูลแบบตางๆที่มีในงานให
การศึกษาที่ใหขอมูลกับผูเที่ยวชม
- การยืนยันคําตอบกับคําถามดังกลาวดวยการใหความสําคัญและคุณคากับการสวนแสดง
สัตวใหเปนภาพที่นาจดจํา และการแปลเปนแผนงานผานการใชรูปแบบขององคการ
- ความสําเร็จในหลายๆเงื่อนไขเหลานี้ขึ้นกับขบวนการการออกแบบและที่ชัดเจนเมื่อ
ผูออกแบบสวนสัตวและมุมมองของคณะทํางานของสวนสัตวสรางความสัมพันธกันระหวางสัตว ผู
เที่ยวชม พื้นที่และการพัฒนาเปาหมาย การออกแบบจะเปนขั้นตอนที่เปนจุดเริ่มตนการกําหนด
ลักษณะของสวนสัตว( เนื้อหา ) และจะเปนขั้นตอนตอไปในการเริ่มตนรูปแบบขององคการที่จะ
บรรยายดังตอไปนี้
Atkins, 1985 ลักษณะของสวนสัตวจะกําหนดโดย การเนนความสําคัญและความสัมพันธ
ระหวาง
- คนและสัตว
- สวนสาธารณะกับถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ
- ความบันเทิงกับงานใหการศึกษา
ซึ่งระดับของการใหความสําคัญจะเปนการกําหนดปจจัยในการออกแบบหลายๆปจจัย
1. ทัศนคติและการใหความสําคัญ(กับรูปแบบและปจจัยใด )ของกลุมวางแผนและออกแบบ
2. วัฒนธรรมขององคกร
3.ในการพัฒนาแตละเปาหมายนั้นไดมีการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางกันมากนอยเพียงใด
4. อิทธิพลของสิ่งที่จะเกิดขึ้น,
ความสัมพันธทั้งปจจัยทั้ง 6 ตัวที่มี ( คน-สัตว สวนสาธารณะ – ถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ งานให
การศึกษา- ความสนุกสนานและพักผอน ) จะชวยกันเปนตัวกําหนดความแตกตางสําหรับผลกระทบ
ที่จะเกิดขึ้นกับตัวสัตว ที่จะเกิดขึ้นกับผูเที่ยวชม และจะเกิดเปนแผนแมบทในลําดับตอไป
81

ดูรูปที่ 48 วิธีการออกแบบของ แอทกิ้น เพื่อชวยในการกําหนดลักษณะของสวนสัตว The Atkins


Design Method to determine Zoo Character ) กราฟเสนตรงจํานวน 3 ภาพโดยแตละภาพแสดง
ความสัมพันธที่จะชวยในการตัดสินใจในการออกแบบ โดยจะขึ้นอยูกับการจัดลําดับความสําคัญของ
คุณลักษณะของสวนสัตวเอง ทั้งสามภาพนี้จะแสดงถึงสวนสัตวแหงนีส้ รางลักษณะที่จะใหสัตวอยูใน
สิ่งแวดลอมที่เปนสวนสาธารณะและใหความสําคัญกับงานใหการศึกษา
การพิจารณาในลําดับแรกคือลักษณะของสวนสัตวนั้นเราจะวางน้ําหนักของการให
ความสําคัญระหวางคนและสัตวไวอยางไร แนวคิดทั่วไปคือการใหสัตวเปนองคประกอบที่มี
ความสําคัญในลําดับที่หนึ่ง แตเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงในอดีต สวนสัตวจะออกแบบเพื่อผูเลี้ยงสัตว
เปนลําดับที่หนึ่ง ผูเที่ยวชมเปนลําดับที่สองและสัตวจะถูกพิจารณาเปนลําดับ 3
การพิจารณาในลําดับถัดมาคือ ลักษณะของสวนสัตวแหงนั้นจะออกมาในลักษณะของ
สวนสาธารณะหรือจะทําใหเหมือนถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ สวนสัตวตองการรูปแบบที่จะใหตอผูเที่ยว
ชมทั้ง 2 ลักษณะ แตใหเปนไปในลักษณะทีท่ ั้ง 2 ลักษณะที่เหมาะสมและสมดุล เชนสถานที่
สําหรับลานทานอาหารหรือลานปคนิก ในพื้นที่ที่มีการจัดภูมิทัศนแบบการจําลองพื้นที่ปา หากสวน
สัตวนั้นอยูในใจกลางเมืองใหญ สวนสัตวตองตอบสนองใหสวนสัตวเปนพื้นที่ที่สามารถรองรับผู
เที่ยวชมไดเปนจํานวนมาก สามารถเปนจุดนัดพบและมีงานบริการแกผูเที่ยวชม เชนหองน้ํา
รานอาหาร
ลําดับที่ 3 ของลักษณะของสวนสัตวคือแผนงานที่จะกําหนดขอบเขตของกิจกรรมของงาน
ดานใหการศึกษาและงานดานการพักผอนและความบันเทิง ความบันเทิงแบบทางตรงและทางออม
( passive and active recreation ) ตองมีการจัดเตรียมไว พบวาการนําเที่ยวโดยรถไฟเปนรูปแบบ
ที่พบกันแพรหลาย แตบางครั้งไมไดพิจารณาถึงมุมมองจากรถไฟนั้นเห็นตัวสัตวมากนอยสัก
เพียงใด สวนแสดงสัตวไดวางแผนการออกแบบสําหรับการชมจากรถไฟหรือไม การใชรูปแบบของคู
น้ําและคูแหงจะเปนรูปแบบที่คอนขางเหมาะสมกับการชมจากรถไฟ ระยะของตัวสัตวกับจุดที่ผูเที่ยว
ชมอยู ลักษณะของถนน ลักษณะของรถเหมาะสมหรือไม เสียงของรถยนต รบกวนบรรยากาศของ
สวนสัตวหรือไม
ปจจัยที่จะใชในการสรางและพัฒนารูปแบบของสวนสัตว (Theme Development Factor )
ลักษณะของพื้นที่ที่เราจะใชเปนพื้นที่กอสรางสวนแสดงสัตว ( on-site condition ) และ
ลักษณะของพื้นที่ที่เราจะเลือกเอามาเปนตนแบบในการจําลอง ( the site regional content ) เปน
สาเหตุสําคัญที่ทําใหสวนสัตวแตละแหงในประเทศสหรัฐอเมริกามีความแตกตางกัน เชน ทะเลสาบ
Michigan backdrop กับ Racine Zoo ,ภูเขา Purgatory กับ North Carolina zoo และ The city
skyline กับ The Indianapolis Zoo เปนตัวอยางที่นักเรียนออกแบบยกตัวอยางมา
82

ตําแหนงของสวนสัตวอินเดียนาโพลิสอยูใกลกับพื้นที่ใจกลางเมือง Indianapolis สิ่งแวดลอม


รอบๆ สวนสัตวกลายเปนตัวชวยที่ทําใหเกิดแนวคิด วาจะจัดการพื้นที่ภายในสวนสัตว The
Indianapolis Zoo ใหเปนเหมือนโอเอซิส ( OASIS ) ที่อยูภายในทะเลทราย คือตองสรางพื้นที่ที่
แตกตางจากพื้นที่ที่อยูโดยรอบที่เปนเขตเมืองใหญ เมื่อเขาสูพื้นที่สวนสัตว ผานประตูเขามาสูพื้นที่
โอเอซิส จะแยกความสนใจของผูเที่ยวชมจากเสนขอบฟาของเมือง Indianapolis โดยการปลูก
ตนไมขนาดใหญอยางแนนทึบใหเปนมานบังตาผูเที่ยวชม เพื่อจํากัดสายตาของผูเที่ยวชมใหอยูใน
พื้นที่ของสวนสัตว นําเขาสูพื้นที่ภายในของบริเวณที่ตกแตงไว และนําผูเที่ยวชมเขาสูบรรยากาศของ
ถิ่นที่อยูที่เปนสวนแสดงที่มีลักษณะจําเพาะนั้น ( Design group B , 1985 )
- แตละองคประกอบของพื้นที่ที่จะสรางสวนสัตว จะมีผลตอการกําหนดรูปแบบของสวน
สัตวที่จะสรางขึ้น ตัวอยางขององคประกอบนั้นเชน แมน้ํา หนาผา ทะเลสาบ สระน้ํา พุมไม เนิน
เขา ทุงหญา ปา

ดูรูปที่ 49 The River of life Theme, New Indianapolis Zoo เปนภาพแหงจิตนาการของตัวสวนสัตว


เองที่อยากใหเกิดภาพในลักษณะนี้ขึ้น และเปนการแปลผลจาก them ที่แสดงออกในลักษณะเรียนรู
และความบันเทิง
สิ่งกอสรางที่สามารถสอดแทรกรูปแบบทางวัฒนธรรม เชน ตึก อาคาร สวนแสดง
กลางแจง ระบบการขนสง เครื่องมือ เครื่องใช ทั้งหมดจะมีความสําคัญเทาเทียมกับปจจัยทาง
ธรรมชาติที่กลาวไปแลวในหัวขอที่ผานมา
การวิเคราะหพื้นที่โดยใชปจจัยตางๆ เชน
- ความสามารถในการรองรับ ( carrying capacity )
- การใชพื้นที่
- ขนาด
- ทางเขา
83

- ความเหมาะสมและสวยงามของภาพที่ปรากฏตอผูเที่ยวชม
- วิธกี ารนําเสนอ
จะมีอิทธิพลตอการนํามาใชเปนแนวคิด ในการเริ่มตนสําหรับแนวคิดของ Organization
theme ซึ่งสิ่งที่กลาวมานี้ The Minnesota Zoo ใชเปนตัวกํากับในวิธกี ารออกแบบ
จากการตรวจสอบสวนประกอบของพื้นที่ จะเปนตัวชวยเสริมการจัดการ การพัฒนา
สถานที่ของสวนสัตว เชน พบความไมตอเนื่องของสายน้ําแตละสาย จึงไดมีการนําเสนอความเห็นที่
จะทําการเชื่อมสายน้ําและนําสายน้ําไปสูทะเลสาบที่มีอยูตรงกลาง มีพื้นทีม่ ีความสวยงามที่มี
ทะเลสาบที่อยูตรงกลางและใกลกันนั้นมีเนินเขา เราจะใชพื้นที่บริเวณดังกลาวเปนทางเขาสวนสัตว
และกลุมอาคาร สวนที่เปนที่ราบที่อยูรอบๆ เนินเขาเปนสถานที่อุดมคติสําหรับสรางลานจอดรถและ
อาคาร
ลําดับความสําคัญของ theme นั้นจะมีความสําคัญเพือ่ ที่จะตั้งตนในชวงการวางแผนและ
ออกแบบสวนสัตว การจัดการอยางเปนระบบและการแปลผล theme ควรจะมีการคิดไปพรอมๆ กัน
กับงานใหการศึกษา งานการสรางจิตสํานึกดานการอนุรักษ ใหเขาไปเปนสวนรวมในการออกแบบ
สวนสาธารณะและการออกแบบสวนแสดง โดย theme ที่มีความสําคัญที่สุดจะเปนสวนที่จะรองรับ
หลักการขององคกร ที่จะเปนตัวแนะนําการพัฒนาทั้งหมดในลําดับตอนั้นมา และในลําดับตอมานั้น
ควรจะใหความสัมพันธที่กวางขึ้นในการที่จะเตรียมความยืดหยุนที่จําเปน ทีมีความตองการ
หลากหลายของสวนแสดงและการแปลความหมายของ theme เชน theme เรื่อง The river of life
ที่ new Indianapolis Zoo ไดจัดตั้งขึ้นบนแนวความคิดกวางไว
เราไมเคยย่ําซ้ํารอยเทาในแมน้ําสายเดิมที่มีการเคลื่อนไหลตอเนื่อง ( Heraclitus ) แมน้ําคือ
ความมั่งคั่งและคุนเคย เปนความหมายของการเปลี่ยนแปลงที่ตอเนื่องทั้งหมด เปนเครื่องหมายของ
การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เปนความหลากหลายของระบบนิเวศวิทยา ยังเปนสวนหนึ่งของ
ประวัติศาสตรของมนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งที่สามารถปลุกเราใหเกิดการผสมผสานกันระหวางการ
อนุรักษและนวัตกรรมที่เปนลักษณะของ Indianapolis สัญลักษณของแมน้ําจะหมายถึงแมน้ําที่
ไหลเขาสูตัวเมืองซึ่งจะเปนผลโดยตรงจากการกระทําของคนและสติปญญา ในขณะที่สิ่งอื่นๆ จะ
เปนตัวแทนของปฏิกิริยาที่ไมมีการปดบัง การปดบังจากจากผลของธรรมชาติ สิ่งสําคัญอีกอยาง
หนึ่งคือ เปนเนื้อหาที่จะทําใหคําวา white river state มีความสําคัญขึ้น เปนการเฉลิมฉลองน้ําและ
แมน้ําที่แหลงกําเนิดของสิ่งมีชีวิต ( James Associates, 1983 )
แนวคิดการจัดการสวนแสดง ( Organizational theme ) ที่มีเนื้อหาในเรื่องการสํารวจและการ
คนพบ (Exploration and discovery ) เปนเนื้อหาที่นาสนใจและเหมาะสมโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อใชการ
เดินทางตามเสนทางของนักเดินทางหลายๆคน The Roanoke Zoo ใชการเดินทางของ Lewis and
Clark , The Wasington Park Zoo พัฒนา Safari walk , นักเรียนออกแบบ Group a ใหความ
84

สนใจกับ Peary route ที่เดินทางไปที่ดินแดนขั้วโลก( Artic ) ซึง่ วิธีการคิดดวยวิธีการนี้จะไมสิ้นสุด


รูปแบบของ theme จะมีความสัมพันธอยางชัดเจนกับลําดับของเหตุการณที่นาสนใจและสวนแสดงที่
เสนอตอผูเที่ยวชมสวนสัตว
แนวคิด ( theme ) ที่มีพื้นฐานความตองการใหประชาชนมีความเขาใจในเรื่องของ
ความสัมพันธของโลกกับธรรมชาติ โดยใชงานใหการศึกษาและงานดานการอนุรักษ ซึ่งเปนลักษณะ
ของ theme ที่จะโนมเอียงที่จะนําเอาลักษณะของวัฒนธรรมที่เปนองคประกอบสวนหนึ่งของ
สิ่งแวดลอม โดยเปาหมายจะเปนการผสมผสานความเหมาะสมระหวางสัตวกับสิ่งแวดลอมที่เปน
ธรรมชาติ นักเรียนออกแบบกลุม D ใชแนวคิดมนุษยกับธรรมชาติเปน theme เปนองคประกอบ

ดูรูปที่ 52 แนวคิดหลักสําหรับพืน้ ที่เชื่อมตอ ( Conceptual Theme Foucing on Transitional Space -


พื้นที่เชื่อมตอที่มีพื้นที่ของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและธรรมชาติ ซึ่งจะเปนพื้นที่สําคัญที่ผเู ที่ยวชม
จะเขามาเรียนรูการพึ่งพาอาศัยกันอยางอยางตอเนื่องระหวางคนและสัตว
J Arnold Bolz เปนผูชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางคนและธรรมชาติ วาเปนสิ่งพืน้ ฐาน
และมีความยิ่งใหญ ซึ่งเปนเรื่องที่มีทั้งผูที่เห็นดวยและไมเห็นดวย โดยความขัดแยงจะเกิดขึ้นหากมี
จุดเริ่มตนถาเขาคิดตัวเองวา ตัวเขาเองเปนสิ่งมีชีวิตที่มามาจากนอกโลก ( คนในเมืองใหญที่มี
โอกาสไดอยูกับสิ่งแวดลอมปาธรรมชาตินอย อยูแตในปาคอนกรีต ) เมื่อเขามายังโลกความรูสึกที่
เกิดขึ้นคือความแตกตางจากโลกเดิมของฉัน เกิดความกลัว เกิดความรูสึกกาวราวและแปลกแยก
จากโลกใบนี้ แตถาเขามีจุดเริ่มตนจากเขาคือสิ่งที่เติบโตจากธรรมชาติ และรูวาโลกใบนี้คือบานของ
เขา บานที่เขาจะตองดูแลและรับผิดชอบ เพราะเขามีลูก มีหลานที่จะตองอยูในโลกใบนี้ โลกที่
ทรัพยากรอุดมสมบูรณเพื่อใหชีวิตของลูกหลานของเขาสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข
85

การนําเสนอเรื่องความสัมพันธของมนุษยกับธรรมชาติ โดยผานการนําเสนอภาพที่บอกวา
มนุษยเปนผูทําลายธรรมชาติ ( ซึ่งเปนวิธีการนําเสนอที่แบบที่นํามาซึ่งความขัดแยง ) แตสวนสัตว
จะใชวิธีการนําเสนอทีส่ ามารถเขามาแทนที่ ที่จะแกไขปญหาความขัดแยงระหวางคนและธรรมชาติ
โดยจุดประสงคของสวนสัตวเพื่อสนับสนุนความเขาใจธรรมชาติของสิ่งแวดลอม ใน
แนวทางของความบันเทิงและการศึกษา การเขามาแทนที่ความรูสึกที่ไมถูกตองดวยการสราง
ความรูสึกเชื่อมโยงโลกสวนตัวของผูเที่ยวชมกับภาพสัตวที่เขาจะไดเห็น การสรางความรูสึกดังกลาว
เปนขบวนการตอเนื่อง โดยเริ่มจากสิ่งที่เขาคุนเคยกอนแลวคอยผานไปสูสิ่งที่ไมคุนเคย ซึ่งจะคอย
สรางความเชื่อมโยงจากสิ่งที่คุนเคยคืบไปหาสิ่งที่ไมคุนเคย
สวนสัตวจะเปนผูสํารวจและแสดงความสัมพันธนี้
1. ความสัมพันธระหวางคนและการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในเขต Indianapolis การสราง
ความเขาใจในความสัมพันธเหลานี้จะใหผูเที่ยวชมรูถึงความเปนมาของสถานที่ สถานที่ทาง
ประวัติศาสตร ไดเขาใจถึงรูปแบบของสิ่งแวดลอมที่มีในเมือง Indianapolis และมีผลกระทบของ
การเปลี่ยนแปลงสภาพปามาเปนสภาพสิ่งแวดลอมที่เปนเมือง เพื่อใหผูเที่ยวชมมีจุดอางอิงวาใน
อนาคตอาจจะมีสิ่งใดเกิดขึ้นบาง
2. ความสัมพันธระหวางประชาชนและธรรมชาติที่มีภูมิอากาศเหมือนกันที่อยูรอบๆโลก โดยใชการ
แสดงที่สมจริงของสิ่งแวดลอมใหไดมากที่สุด สวนสัตวจะเลือกชนิดของสัตวทสี่ ามารถปรับตัวเขาได
กับภูมิอากาศของเมืองอินเดียนาโพลิส วิธีการนําเสนอจะใชการเคลื่อนที่ของผูเที่ยวชมไปรอบๆโลก
จากอินเดียนาโพลิส จากตะวันออกสูตะวันตกผานเวลากลับมาที่อินเดียนาโพลิสที่ 40 degree
north latitude
3. ความสัมพันธระหวางประชาชนกับสัตวในสวนสัตว โดยใชภาพและบรรยากาศที่ผูเที่ยวได
สัมผัสคือคือครูที่ดีที่สุด จุดมุงหมายของพวกเราคือการจัดแสดงภาพ สิ่งแวดลอมและบรรยากาศ
ระหวางผูเที่ยวชมกับสัตวใหดีที่สุด โดยการใชสภาพภูมิอากาศตามปกติของเมืองอินเดียนาโพลิส
เปนพืน้ ฐาน ผูเที่ยวชมการเคลื่อนยายระหวางสวนแสดงจะคอยๆ เปลี่ยนภาพ การคอยเคลื่อนที่ไป
จะสรางความรูสึกที่ผูเที่ยวและสัตวเสมือนอยูภายในพื้นที่แหงเดียวกันในขณะที่เที่ยวชม
แนวคิดที่จะสรางความสัมพันธใหเกิดขึ้นในความรูสึกของผูเที่ยวชมโดยผานสิ่งที่ไดสัมผัสใน
สวนสัตว ควรจะเปนสิ่งที่วัดไดในดานการพัฒนาดานกายภาพ
วิธีการออกแบบที่ใชที่ the new Indianapolis จะเริ่มตนโดยการออกแบบรูปแบบ
รอง ( sub –theme ) ที่จะใชเปนองคประกอบสําหรับรูปแบบหลักขององคกร ( Organizational
theme )
เพื่อเปนการสนับสนุน รูปแบบหลัก, the river of life โดยการใชรูปแบบรอง 4 รูปแบบ
( sub team) จึงไดถูกเลือกเขาเพื่อใชเปนตัวแทนของ biomes of the world
86

ดูรูป 53 river of life ซึ่งเปนรูปแบบรองของ biomas of the world , The indiapolis zoo ใช
รูปแบบรองเพื่อออกแบบการจัดการในอนาคตและแสดงถึงความหลากหลายของสวนแสดงสัตว
โดยแตละรูปแบบรองจะมีสวนที่เกี่ยวของกับน้ําในระดับที่ตางๆกันไดแก น้ํา ( The
Waters ) ทะเลทราย ( The Desert ) ที่ราบ ( The Plain ) ปา ( The Forest )
แนวคิดของสวนแสดงสัตวที่จะจัดไวภายใน theme รอง มีตัวอยางเชน the water
complex จะจัดรูปแบบของแหลงน้ําพอเปนตัวอยางในหลายรูปแบบ และจะนําผูเที่ยวชมไปยัง
สถานที่ตาง ๆเหลานี้ ซึ่งสวนใหญเปนสถานที่ที่อยูหางไกลจากอินเดียนาโพลิส เชน สระน้ํา
Indiana , แมน้ําอเมซอน เกาะ Micronesian และ coral reef
ทะเลทรายจะจัดแสดงในตัวอาคารโดยจะมีสวนของพืชและสัตวที่อาศัยอยูในทะเลทราย ซึ่ง
โดยปกติสัตวที่อยูในทะเลทรายจํานวนมากจะมีกิจกรรมในชวงเวลากลางคืน ดานนอกจะเปน
ทะเลทรายในลักษณะที่คุนเคยที่รอนและแหงโดยจะนําเสนอในหัวขอ “ ความหนาวในทะเลทราย
“ พื้นที่ราบ ( The Plains ) มีการจําลองเอาทุงหญาซาวันนาของแอฟริกา หรือทุงหญาแบบอื่นๆ
เชน ทุงหญาในอเมริกาใต ในอเมริกาเหนือ ยูเรเซีย ออสเตรเลีย โดยในสวนของแอฟริกาจะมีสวน
แสดงของชาง แรดขาว ฮิปโปโปเตมัส นู กาเซลทอมสัน อื่นๆ
สวนที่เปนปาเปนสวนที่จัดแสดงในตัวอาคาร มีกลุมของตนไมยืนที่มีลักษณะใบกวางลําตน
ขนาดสูงใหญของปาในรัฐอินเดียนาโพลิส รวมทั้งมีการจําลองปาดิบชื้นและมีสัตวที่หากินในปาดิบ
ชื้นที่มีการจัดแสดงในลักษณะใหสัตวหากินตามพื้นที่อยางอิสระ ( Jame Associated and zoo
Plan Associate 1983 )
การคัดเลือกสัตวควรจะเลือกใหเหมาะกับรูปแบบหลัก ( major theme ) สัตวที่มีอยูแลวใน
รายการจะเปนสวนที่สําคัญที่จะเปนตัวเลือกในขั้นตอนการคัดเลือกสัตว แตมีความจริงอันหนึ่งก็คือ
87

แผนการคัดเลือกชนิดสัตวอาจตองใชเวลาหลายปกวาที่จะทราบวา มีความเหมาะสมหรือไม สัตวแต


ละชนิดจะมีอายุขัยของตัวเอง แตที่สําคัญคือแผนการตองใหกรอบแนวคิดไววา ตองการกลุมสัตวใด
สวนสัตวใชวิธีแบงพื้นที่ดวยวิธีใด เชน การแบงตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร หรือการใชแบงตามลักษณะ
ภูมิอากาศ ( bioclimatic theme ) เชน The point defiance Zoo ที่กําหนดสัตวเปนกลุม Marine
mammal นก สัตวขนาดเล็กในรัฐ Washington
งานหลักของการวางแผนและออกแบบสวนสัตวไมไดเปนเพียงการ การจัดการระบบและ
การวางรูปแบบสวนแสดงตางๆใหสวยงามเทานั้น แตการจัดวางสวนแสดงใหเปนลําดับซึ่งจะเปนอีก
วิธีการหนึ่งที่จะเปนการพัฒนาเปาหมายของสวนสัตว

ดูรูปที่ 54 ระบบของการเคลื่อนไหล : ความจริงของแนวคิด : ระบบการเคลื่อนไหล ( The


circulation ) ความหมายสําคัญคือการควบคุมการเคลื่อนที่ของผูเที่ยวชมโดยใชพาหนะ เสนทาง
เพื่อใหเกิดจังหวะ และวางลําดับของเรื่องราวที่จะตองการสื่อของงานใหการศึกษา โดยใหเสนทาง
เดินเทาเปนเสนทางหลักในการควบคุมและจัดการลําดับของการเที่ยวชมสัตว
ระบบทางเดินเทาจะเปนสวนหนึ่งของระบบการเคลื่อนไหลของผูเที่ยวชม ระบบการเคลื่อน
ไหลจะเปนตัวกําหนดตําแหนงของผูเที่ยวชมในพื้นที่ รวมทั้งควบคุมและมีอิทธิพลภาพและความรูที่
ผูเที่ยวชมจะไดรับ ซึ่งจะเปนงานที่มีความยากมากขึ้น ถาระบบของการเคลื่อนไหลระบบนั้นมีทั้ง
สวนแสดงสัตวที่อยูในตัวอาคาร และ สวนแสดงกลางแจงที่เปนสวนหนึ่งของลําดับของการนําเสนอ
การแสดงสัตว
( Zucconi and Nicholson ,1981 ) การเคลื่อนไหลของผูเที่ยวชมในวงรอบการชมสัตวจะ
เปนพื้นฐานในการพัฒนาในสวนของเนื้อหาและลําดับ ( storyline ) ที่จะนําเสนอแกผูเที่ยวชม
88

เมื่อผูเที่ยวชมผานเขาไปในสวนแสดงของในตัวอาคารและในสวนกลางแจง การจัดการขอมูลที่จะ
สงผานไปยังผูเที่ยวชมจะตองมีวิธีการสงผานเขามาในหลายๆ รูปแบบ จุดสําคัญที่ทาทายการ
สื่อสารขอความสําคัญของเนื้อเรื่องใหไดประสิทธิภาพคือ ความไมกลมกลืนกันระหวางสิ่งแวดลอมที่
เราจัดบรรยากาศในสวนแสดงกับสิ่งแวดลอมที่เปนรูปแบบจริงดวยภาพรวมของรูปแบบนั้นๆ
ตัวอยางเชน สวนแสดงขนาดเล็กที่บรรจุเอาพืชตางๆ ของทะเลทรายในเขตตะวันตกเฉียงใต ที่ไม
สามารถสื่อถึงความรูสึกของสิ่งแวดลอมในแบบที่เปนความจริงได การจัดทะเลทรายควรจะเปนสวน
หนึ่งของเนื้อหาของลักษณะในพื้นที่เขตนั้น เชนเปนรูปแบบหนึ่งของพื้นที่ในทวีปแอฟริกา
จุดแรกของการเคลื่อนตัวของผูเที่ยวชมเคลื่อนผานเขาไปในตัวอาคารนั้น ผูออกแบบจะวาง
รูปแบบการเคลื่อนไหลของผูเที่ยวชมในพื้นที่ตัวอาคารอีกพื้นที่หนึ่ง โดยรูปแบบการเคลื่อนที่ใน
อาคารรวมทั้งเนื้อหาและลําดับ จะตองพยามที่รักษาความตอเนื่องกับเรื่องราวกอนที่จะเขาสูอาคาร
และออกจากอาคาร เมื่อผูเที่ยวชมเขาไปในอาคารการใหขอมูลที่เปนภาพรวมของลักษณะทาง
ธรรมชาติที่เปนลักษณะเฉพาะของเขตนั้นๆ จุดที่ใหขอมูลจะแสดงขอมูลที่ขนาดปายและขนาด
ตัวอักษรที่ชัดเจนเพื่อแสดงใหเห็นเนื้อหาในตัวอาคารและความชัดเจนในการบอกเสนทาง
เมื่อผูเที่ยวชมผานเขาไปในพื้นที่ตัวอาคาร สวนแสดงจะมีการนําเสนอสัตว พืชและการตกแตง
พื้นที่ทั้งในสวนแสดงและโดยรอบตามลักษณะของพื้นทีน่ ั้นๆ ตอจากนั้นมีการเพิ่มเติมโดยการใช
ขอความและภาพสัญลักษณ เพื่อเปนการตอกย้ําเนื้อหาและลําดับเรื่องราวใหชัดเจนยิ่งขึ้น
การออกแบบระบบการเคลื่อนไหลในการเดินทางชมสวนสัตวนั้น ควรจะมีแนวคิดพื้นฐานที่จะ
พัฒนาเปาหมายและรูปแบบ ( theme ) มีขอสังเกตลักษณะของเสนทางเคยมีการออกแบบและใชงาน
ไปเปนรูปแบบที่ไมแนะนําใหนํามาใช เชน
- เสนทางการเดินทางเสนตรง ( lineal )
- เสนทางการเดินทางเปนกลุมกอน ( cluster )
- เสนทางการเดินทางลักษณะเปนแกนกลางแลวแตกแขนงออกไป ( axial )
ตัวอยางรูปแบบของเสนทางการเที่ยวชมทั้ง 4 รูปแบบจะชวยในสื่อความหมายและเตรียม
ในสวนของเนื้อหา
- เสนทางการเดินทางแบบทางหลัก ( primary ) และเชือ่ มตอไปดวยเสนทางรอง (
secondary )
- เสนทางการเดินทางแบบวงกลม( loop )
- เสนทางการเดินทางแบบทางตัน ( cul-de-sac )
- เสนทางการเดินทางแบบในศูนยการคา ( mall )
องคประกอบของรูปแบบเสนทางจะตองไมสรางความสบสนกับการสื่อรูปแบบหลัก(
89

organizing theme ) ที่เราจะใชในการแสดง theme เชน “ Safari Walk ” ที่ the Washington Park
zoo
ดูรูปที่ 55 Safari Walk Washington
Park zoo - ทางเดินซาฟารี ที่แสดง
ภาพโดยรวมมุมสูงที่ใชรูปแบบของ
พื้นที่ในแอฟริกาตะวันออก ที่ใหผู
เที่ยวชมสัมผัสกับสัตว แบบเห็นสัตว
อยางใกลชิดและมีเวลาที่จะสังเกต
พฤติกรรมของสัตวดวย

ผูเที่ยวชมที่ออกจากสวนแสดง stroke และ มาลายซึ่งเปนพื้นที่เคยเปนแมน้ําแตปจจุบันแหง


กลายเปนพื้นดินและมีตน Thronwood ขึ้นแซม ผูเที่ยวชมจะมีการเคลื่อนที่อยางตอเนื่องไปยังพื้นที่
ที่มีตน thronwood ขึ้นอยางหนาแนนซึ่งจะเปนพื้นที่จุดชมสัตว จากจุดชมสัตวจุดนี้จะเห็นภาพของ
ลําธารสายเล็ก ๆตื้น ที่จะมีระดับของความลึกมากขึ้นตามลําดับความกวางของลําธาร สุดแนวของ
พื้นน้ําจะเปนพื้นที่ของหาดทรายสําหรับฮิปโปโปเตมัส มีการตกแตชายหาดดวยทอนไมแหงขนาด
ใหญ จุดที่ลึกที่สุดลําธารจะอยูชิดกับทางเดินชมสัตว เพื่อใหผูเที่ยวชมไดเห็นพฤติกรรมของฮิปโป
ภายในน้ํา ที่เปนพฤติกรรมเฉพาะตัวและพฤติกรรมสังคม เห็นลักษณะรางกายของฮิปโปทีม่ ชี วยให
สัตวชนิดนั้นอยูรอดสืบลูกหลานมาไดเปนระยะเวลานาน ในขณะที่มีสัตวบางชนิดไดสูญพันธุไป
เนื่องจากไมสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของโลกได
เมื่อผูเที่ยวชมผานไปที่โครงการที่ 2 ก็จะมาถึงจุดชมสัตวที่เปนรมเงาที่ผูเที่ยวชมไดเห็น
ภาพของทุงหญาซาวันนา( the Savanna Viewing Shelter ) เมื่อมองจากจุดชมสัตวจะเห็นทุงหญา
โลงกวาง ที่เปนพื้นที่อยูสูงถัดจากพื้นที่ของสายลําธาร โดยทุงหญากวางจะคลุมพื้นที่ไปทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ ดานขวามือของผูเที่ยวชมจะเห็นเปนภาพระยะไกลของฮิบโปพรอมกับแอนติ
โลพและมาลาย ดานซายจะเห็นแรงหัวขาวที่รวมตัวกันอยูบนหาดทราย โดยมีกลุมของแอนติโลพที่
กระจายในพื้นที่ที่มีความสูงกวา ในทิศตะวันตกผูเที่ยวชมจะมีโอกาสเห็นยีราฟ จีรีนุค รวมทั้งเหยี่ยว
secretary bird
90

การแปลแนวคิดจากพื้นทีต่ นแบบในแบบของแอฟริกาตะวันออก ที่เปนปาละเมาะทีม่ กี าร


เปลี่ยนแปลงฤดูกาลทั้งแบบชุมชื้นและแบบแหงแลง และเปนพื้นที่ราบที่มีการเคลื่อนยายของสัตว
โดยมีสัตวที่ปรากฏใหเห็นรวมกัน ซึ่งจะมีสีสันและลวดลายที่แตกตางกันของสีขนลําตัวของสัตวชนิด
ตางๆ ( Guthrie Slusarenko and Leeb, 1983 )
การตัดสินถึงความเหมาะสมของรูปแบบ( theme ) แตละรูปแบบนั้นสามารถดูไดจากความ
สอดคลองกับเปาหมาย ( goal ) ปรัชญา ( philosophy )และหนาที่ขององคกรนั้นๆ ที่มีตอสังคม (
values of institution ) สิ่งที่จะตองกลาวในลําดับถัดไปคือ ถึงแมวาจะไมมมี าตรฐานในการวัด
คุณลักษณะของ theme นั้นสอดคลองกับหลักสําคัญ 3 ประการ
ไดมีการยกตัวอยาง สวนสัตวเด็กของสวนสัตวในเมือง Philadelphia ที่ใชรูปแบบ
สถาปตยกรรมในสมัยวิคตอเรีย Victorian Image ( Victorian adj. of or relating to the reign of Queen
Victoria (1837–1901). ภาพที่ปรากฎตอสายตาผูเที่ยวชมเปนภาพที่เปนที่ชื่นชอบและนาจดจํา แตทําให
เกิดคําถามถึงสวนแสดงแหงนี้สอดคลองกับความเปนสวนสัตวหรือไม ตามความเห็นของ Akeley
1936 หรือไมโดยเขาใหความเห็นวา “ สัตวไมสามารถอยูไดอยางโดดเดี่ยว ถึงแมวาโดยแนวคิดแลว
สัตวบางชนิดไดแสดงใหเห็นถึงความสามารถที่จะปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมทีม่ ิใชเปนลักษณะ
ของถิ่นที่อยูเดิมของสัตวชนิดนั้นไดเมื่อเวลาผานไปชวงหนึ่ง ” จากขอความที่ปรากฎในแผนแมบท
ของสวนสัตวเด็กที่ Philadelphia zoo ไดบรรยายลักษณะที่มีความจําเพาะและใหจินตนาการถึง
theme ทีใ่ ชเปนตัวสรางบรรยากาศ ซึ่งเปนลักษณะสิ่งกอสรางที่ผูเที่ยวชมรูสึกคุนเคยแตเปนสิ่งที่
แปลปลอมสําหรับสัตว ( ดูรูปที่ 56 ) ซึ่งจากความคิดของ Akeley 1936 ก็เปนสิ่งที่ตองใชเปน
ขอพิจารณาในอนาคตเชนกัน
91

ดูรูปที่ 56 The New Children ‘ s Zoo ที่ Philadelphia Zoological Garden บรรยากาศแบบ
วิคตอเรียที่ใชเปนจุดที่แสดงถึงประเพณี ประวัติศาสตรเปนสวนที่ชวยในการสรางบรรยากาศ เปนตัว
หลักของ organization theme ซึ่งเปนแนวคิดที่ดีที่สามารถดึงดูดผูเที่ยวชมกลุมเด็กและวัยรุน รวมทั้ง
เปนสวนแสดงที่มีรูปแบบชัดเจน
การออกแบบในสวนสัตว สวนใหญแลวตองการบรรยากาศที่รมรื่นโดยมีตนไมเปนตัวชวยที่
แสดงถึงความเขียวอยางตอเนื่อง สวนแบบ Victoria ที่ชวยในการประสานรวมกันของตัวอาคารที่มี
รูปทรงหลายแบบและสัตวหลายชนิดไวดวยกัน เมื่อตัวอาคารที่ดูแปลกตานั้นรวมกับตัวสัตว จะเปน
ภาพที่มีความสวยงามเมื่อถูกโอบลอมดวยการตกแตงดวยองคประกอบอื่น ถึงแมจะผานไปเนิ่นนาน
หลายป สวนแบบ Victoria และโครงสรางยังคงอยูเปนสวนประกอบที่สามารถสรางความพึงพอใจ
ความประทับใจใหกับผูเที่ยวชม เปนสวนที่มีความสําคัญสวนหนึ่งของสวนสัตว และยังเปนสวนที่
เสริมใหสวนนี้มีความแตกตางจากสวนอื่นๆ ของสวนสัตวดวย
การพัฒนา theme นี้ เราจะตองจัดการเรื่องของกิจกรรมสําหรับสวนสัตวเด็ก ในสวนที่อยู
รอบๆตัวอาคารของถนนวิคตอเรียน ซึ่งกิจกรรมที่ทําเพิ่มขึ้นนี้ยังชวยใหสวนสัตวเด็กเปนสถานที่
มากกวาสวนที่ชวยในการสรางบรรยากาศ ถนนจะเปนในลักษณะเสนตรงที่จะชวยใหผูเที่ยวชม
เขาใจองคประกอบไดโดยงาย โดยจะมีสิ่งปลูกสรางและสวนตกแตงในพื้นทีด่ านซาย-ขวา ดานบน-
ลางของผูเที่ยวชม ใหเกิดภาพที่ชัดเจน มีลําดับที่เขาใจงายโดยเริ่มตั้งแตจุดเริ่มตน จัดทํารูปแบบ
ของ Victorian house ใหคลายกับ ฟลาเดเฟยตะวันตก ที่เตรียมความเปนธรรมชาติ การจัดแตง
สวนแบบสวนตามบานทั่วไปและมีรูปแบบของกิจกรรมที่สามารถเรียนรูหรือทํากิจกรรมดวยตัวของผู
เที่ยวชมเอง ( Venturi, Rauchj, Scottch Brown, 1981 )
Theme รองมักจะเปนสวนที่เปนสวนประกอบของโซน โดยการใชรูปแบบพื้นที่ตาม
ธรรมชาติตามสวนตางๆของโลก ตัวอยางเชน Zoogeographic หรือแบบ bioclimate เปนตน สวนสัตว
The Minnesota Zoo จะใชแนวคิดที่ผสมเอาการจัดพื้นที่แบบ 3 แบบคือ
1 จัดกลุมสัตวตามภูมิประเทศ ( zoogeographic )
2. การสํารวจสัตวตามพื้นที่สวนตางๆ ( exploratory ) เชน เสนทางขึ้นเหนือ ( North trek )
3. สวนแสดงสัตวปศุสัตว (Farm
area)
ดูรูปที่ 57 ความมากนอยของ
โอกาสที่สัตวจะแสดงออกมาได
นั้นจะขึ้นอยูกับความมากนอยของ
การสรางและพัฒนาเปาหมาย การ
ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงพื้นที่
92

เดิม ระยะเวลาในการสรางซึ่งมักจะปรากฏผลในลักษณะของการผสมผสาน Theme ขององคกรที่มี


หลายรูปแบบ

รูปแบบโดยทั่วไปของ sub theme ที่ใชกันในการจัดพื้นที่สวนสัตว มาเปนเวลานานอยาง


ตอเนื่อง เชนการแบงตาม family ของสัตวเชน เสือ หมี สัตวกีบ และสัตวมีเขา พบวาสวนสัตวโดย
สวนใหญจะไมใชแนวคิดการจัดการพื้นที่กับรูปแบบ sub theme ใดเพียงอยางเดียยว รวมทั้งการ
ปฏิบัติจริงก็เปนไปไมไดที่จะสรางสวนสัตวโดยใช them เพียง theme เดียว ประเด็นสําคัญในการนํา
แนวคิดไปใชคือการปรับปรุงสวนแสดงสัตวใหมีรูปแบบของ them ที่ชัดเจนและรักษา theme
รูปแบบการจัดการพื้นที่ในสวนสัตวที่ถูกเลือกใชเปนรูปแบบหลักคือแบบ zoologeographic และ
bioclimatic ซึ่งไดมีการนําไปใชมากกวาแบบแบงพื้นที่ตามกลุมสัตว ( taxonomic ) นอกจากนั้นยัง
พบวาบางสวนสัตวเปนการนําไปใชแบบผสมทั้งสองรูปแบบ
แนวคิดการแบงพื้นที่สวนสัตวแบบกลุมสัตวตามถิ่นที่อยูของสัตว ( Zoogeographic Organizational
concept )
แนวคิดการแบงกลุมสัตวตามถิ่นที่อยูเชิงภูมิศาสตร นั้นเนื่องจากโลกมีพื้นที่หลายแหงที่มี
ความหลากหลายของชนิดสัตว ถานําสภาพทางภูมศิ าสตรเหลานี้มาจัดเปนพื้นที่ภายในสวนสัตว ก็
จะสรางความหลากหลายของสิ่งแวดลอมภายในสวนสัตว ซึ่งมีการนําแนวความคิดนี้มาใชในสวน
สัตวมาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว สวนประกอบทีจ่ ะนํามาใชในการออกแบบพื้นที่ตามแนวคิดนี้ เชน -
พื้นที่ทางภูมิศาสตรที่จะเลือก
- การเลือกชนิดของสัตว
- ขนาดพื้นที่
- ลักษณะทางกายภาพ ( เชนพืชที่จะปลูก ดิน ภูมิอากาศ )
- การแปลความหมายของเปาหมาย
- การพัฒนาประวัติศาสตรของสวนสัตว
พื้นที่ทางภูมิศาสตรที่เลือกสําหรับเปน theme สามารถเลือกไดหลายขนาดและรูปแบบ เชน
พื้นที่บางแหงของโลกไปจนถึงบางพื้นที่ภายในรัฐ
สวนสัตว The Minnesota Zoo ไดแบงพื้นที่เปน 7 พื้นที่ตามสภาพภูมิศาสตรคือ
เอธิโอเปยน ( Ethiopion ) พาลเรียติก ( Palearctic ) นีโอโทรปคอล ( Neotropical ) ใกลอารคติก
( Near Artic ) ตะวันออก ( Oriental ) ออสเตรเลีย มารดากัสการ ใหอยูใตหลังคาเดียวกัน ในแตละ
สวนแสดงจะติดกับพื้นที่กลางแจงโดยมีการวางแผนในอนาคตจะมีบางลักษณะทางภูมิศาสตรจะมี
การแบงพื้นที่แยกยอยลงไปอีก
93

ดูรูปที่ 58 แนวคิดการจัดการพื้นที่สวน
สัตวแบบ zoogeographic ที่ The
Minnesota Zoo ใชพื้นที่ทางภูมิศาสตร
เพื่อรวมประกอบการจัดโชวสัตว

ลักษณะทางภูมิศาสตรของทวีปทั้ง 6 ทวีปของโลกมักจะถูกนํามาใชเปนสวนในการออกแบบ
การจัดการพื้นที่การจัดแสดงสัตวอยูบอยครั้งเชน แอฟริกา เอเชีย อเมริกาใต อเมริกาเหนือ
ออสเตรเลีย และยุโรป ดูตัวอยางคําบรรยายแนวคิดของสวนสัตวโคลัมบัส ( The Columbus Zoo
Concept ) )
การจัดแสดงสัตวที่มาจากพื้นที่ทางภูมิศาสตรเดียวกันทั้งกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม รวม
กับสัตวในกลุมนก ปลาและสัตวเลื้อยคลาน ในชนิดที่สามารถอยูรวมกันได การจัดแสดงในลักษณะ
ที่รวมกันแบบนี้ การออกแบบใหสวนประกอบของสวนแสดงที่จะทําใหสัตวแตละชนิดดูเดนขึ้นโดย
การใช สี พื้นผิวและรูปทรง ( Schooley , Cornelius Associates, 1977 )
การจัดแสดงพื้นที่บางสวนของพื้นที่ทวีป ( continental ) มักจะใชเพื่อเลาถึงสิ่งแวดลอม
โดยเรื่องที่เลาจะแสดงออกโดยการใชพืช ดิน อากาศ วัฒนธรรมพื้นบานและประวัติศาสตรกอนยุค
ประวัติศาสตร เรื่องราวพื้นฐานหรือการแปลเรื่องราวของสวนแสดงจะทําไดหลากหลาย บางครั้งใช
เรื่องมนุษยที่มีอิทธิพลเหนือถิ่นที่อยูของสัตว การปรับปรุงพฤติกรรมของสัตว สภาพภูมิอากาศ
94

ดูรูปที่ 59 Geographic/water regime concept


พื้นที่ที่มีความแตกตางทางภูมิศาสตร 5 แหงไดถูก
จัดวางอยูกับแหลงน้ํา เพื่อแสดงถึงความสําคัญ
อิทธิพลและความเกี่ยวเนื่องที่มีตอน้ํา ถิ่นที่อยู
ของสัตว และตัวสัตว

พื้นที่นั้นไมตองถึงกับเขมงวดใหถูกตองตามลักษณะทางนิเวชวิทยาทุกอยาง แตใหใชการ
ผสมผสานกันระหวางภูมิประเทศของพื้นทีณ ่ บริเวณที่สรางสวนแสดงกับลักษณะทางกายภาพที่จะ
ทําใหผูเที่ยวชมทราบไดโดยงายวาพื้นที่สวนนี้คือสวนใดของโลก
The North Carolina Zoo ใชแนวคิด Zoogeographic ที่ใชการจัดการพื้นที่เปน กลุมของสัตว
ที่มีถิ่นที่อยูเดียวกัน( habitat cluster) และ การออกแบบพื้นที่ตามลักษณะถิ่นที่อยูของกลุมสัตวนั้น (
habitat area )
สําหรับบริเวณที่จะมีการกอสราง แนวทางหนึ่งในการเริ่มตนในเรื่องของแนวคิดแบบของ
สวนธรรมชาติที่จะจัดแสดงพืชและสัตวอยูรวมกัน ที่จัดใหมีสภาพใกลเคียงกับที่เกิดจริงในธรรมชาติ
การจัดพื้นที่ใหคลายกับสภาพถิ่นที่อยูของสัตวไมตองกระจายจนคลุมพื้นที่ทั้งหมด แตจัด
ใหอยูเปนกลุมที่เหมาะสม เพื่อลดความรูสึกที่หนาแนนมากเกินไปและใหเกิดประโยชนใชสอยใน
รูปแบบอื่น พื้นที่ของสวนแสดงตองเอื้อในการมองเห็นตัวสัตวเพื่อชวยใหเพิ่มโอกาสที่จะศึกษาตัว
สัตวมากขึ้น ที่สวนสัตว North Carolina Zoo จะแบงพื้นที่ออกเปน 7 โซน โดยชนิดของสัตวที่แบง
ออกเปนกลุมตามถิ่นที่อยูที่เปนแหลงกําเนิด คือ 1. อเมริกาเหนือ 2. อเมริกาใต 3. ยุโรป 4. เอเชีย
5. แอฟริกา 6. ออสเตรเลีย 7. โลกทะเล
95

รูปที่ 60 Hierarchy of
Organization Theme: North
Carolina Zoo โดยในสวนของ
Zoogeographic area ทั้ง 7 โซนนั้น
แตละโซนจะถูกแบงออกเปน กลุม
ของถิ่นที่อยูของสัตว ( habitat
cluster ) และตอไปในอนาคตจะมี
การแบงออกตามชนิดสัตว ( habitat
area ) โดยลําดับของการเที่ยวชมแต
ละ theme จะชวยในการเปรียบเทียบ
ลักษณะของสิ่งแวดลอมที่เปน
ธรรมชาติตามถิ่นที่อยูนั้น

ในแตละกลุมของสัตวที่แบงตามสภาพภูมิศาสตร( Zoogeographic cluster ) จะ


ประกอบดวยหลายๆ ลักษณะของถิ่นที่อยู (several habitat ) แตละลักษณะถิ่นที่อยู ( habitat )
จะถูกกําหนดตามกลุมพืชและสัตว เชน ระดับความสูงจองพื้นที่ สภาพอากาศ สภาพภูมิ
ประเทศ

ดูรูป 61 African Habitat Cluster: North Carolina Zoo – ความชัดเจนและการแยกถิ่นที่อยูตาม


ธรรมชาติและการจัดการพื้นที่ในรูปแบบที่จะกระตุนความอยากรูอยากเห็นและเรียนรูในขณะที่เกิด
ความเพลิดเพลินไปดวย
96

แตละ habitat จะถูกแยกจากกันดวยการใชพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะทางการ


เห็นและกายภาพ ( visual/physical transition ) เชน เสนที่เปนลักษณะสัน (ridge line ) , ยอดลูก
คลื่น ( crest ), แนวปา ( patch of forest ) ทางเดินเทาจะเปนทางเดินที่จะนําผูเที่ยวชมไปยังแตละ
ถิ่นที่อยู การใหความสําคัญในการจัดวางและความสัมพันธระหวางรูปแบบของถิ่นที่อยู ซึ่งจะเปน
สวนสําคัญที่จะกระตุนใหเกิดความตื่นเตนใหเกิดกับผูเที่ยวชมเมื่อไดเห็นสัตวในสิ่งแวดลอมที่เปน
ธรรมชาติ
ภายใน Zoological cluster ตองมีจุดเดน ( primary habitat ) เชนเกาะลิง ที่ราบแอฟ
ริกา (Hammond Association and Clark Association,1974 )
ลักษณะทางภูมิศาสตรที่จะใชเปนตนแบบสําหรับเปน organization theme จะตองมีปจจัย
รวมจาก
- ลักษณะของทองถิ่น (อากาศ ภูมิประเทศ)
- ลักษณะของพื้นที่ที่จะสราง
- สัตวที่จะนํามาจัดแสดง
- เปาหมายของสวนสัตว
- การออกแบบทัศนียภาพของทีมงานออกแบบ
ที่ The Point Defiance Zoo ที่ใชแนวคิด ริมฝงทะเลแปซิฟก ( Pacific Rim ) เปนตัวอยางที่
แสดงถึงความคิดที่รวบรวมรวบเอาองคประกอบหลายๆอยางมารวมกัน ( creative synthesis )
The Pacific Rim Geographic Real theme จะเหมาะสมกับ Point Defiance Park Zoo/
Aquarium เนื่องจากเมือง Tacoma ตั้งอยูบนริมฝงมหาสมุทร Pacific และพื้นที่ของเมือง เมื่อมี
มหาสุทรแปซิฟที่เปนภาพของแหลงขอมูลทางการศึกษา การคา การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และ
การพักผอนหยอนใจ แตอยางไรก็ตามเมืองแหงนี้ก็ยังไมสามารถใชโอกาสที่มไี ดอยางเต็มที่
เนื่องจากไมมีสถานที่ที่มีโครงสรางและการใชงานในลักษณะทั้งสองอยางของสวนสัตวและที่จัด
แสดงสัตวน้ํา ดังนั้นการที่จะสรางสวนแสดงสัตวที่มีการผสมผสานของสวนแสดงสัตวทะเล พื้นที่บก
น้ําจืด ซึ่งจะเปนลักษณะที่โดดเดนและพิเศษของ the Point Defiance Park facility
มหาสมุทรแปซิฟกพื้นที่ที่มีลักษณะจําเพาะ มีพื้นที่กวางขวาง มีลักษณะทางภูมิอากาศ
หลากหลาย มีสวนที่เปนภูเขาไฟและเกาะใหญนอยเปนจํานวนมาก
แนวคิด The Pacific Rim เปนแนวคิดของทะเลเปด เปนพื้นที่มีสัตวอยูมากมายและพื้นที่ที่
มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ ลักษณะภูมิอากาศในบริเวณชายฝง และ พื้นที่บก ที่อยูตามริม
ชายฝงของทะเล โดยสวนแสดงจะจัดแสดงสัตวและพืชไดอยางนาประทับใจและหลากหลายเพื่อให
เหมาะสมกับความเปนสวนสัตวและสวนแสดงสัตวน้ําระดับโลก และในเวลาเดียวกันจะวางแผนงาน
อยางระมัดระวังในการเลือกชนิดพืชและสัตวที่จะนํามาจัดแสดง
97

สิ่งที่เกิดขึ้นรอบๆ มหาสมุทรที่กวางใหญแหงนี้ พวกเราจะไดพบกับพื้นทีม่ ีความนาสนใจ


ในเรื่องของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่มีตามลักษณะทางภูมิศาสตรและลักษณะ
ภูมิอากาศ ที่ทําใหเราไดมีโอกาสศึกษาในเชิงเปรียบเทียบความเหมือนของระบบนิเวศที่เกิดขึ้นใน
พื้นที่ของตางทวีปกัน ความสัมพันธที่เกิดขึ้นในสถานะที่มีสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน ของกลุมสัตวที่
มีการพัฒนาลักษณะพิเศษ ภายหลังการแยกออกจากกันไปอยูในสิ่งแวดลอมที่มีความยากลําบาก
กลุมสัตวที่มีถุงหนาทองในออสเตรเลียคือตัวอยางที่แสดงถึงการปรับตัวที่แสดงความแตกตางกัน
มากจากสัตวที่อยูใน Alaska และ Siberia เมื่อเราอานขอมูลเราพบวาปลาที่อยูในชายฝงทะเล
แปซิฟกของอเมริกากลาง จะมีความสัมพันธกับปลาที่อยูในชายฝงแอฟริกาตะวันออกหรือปลาที่อยู
ในทะเลแคริบเบียน
วิชาธรณีวิทยาสามารถใชเปนหลักในการอธิบายถึงลักษณะทางภูมิศาสตรทางทะเล สภาพ
ภูมิอากาศ พืชที่พบในภูมิอากาศนี้ ความสัมพันธของพืชและสัตว เมื่อไดคนควาขอมูลเหลานี้แลวก็
จะพบถึงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและลักษณะภูมิประเทศในเขตทะแปซิฟก ( Jones and
Jones,1979 )
ในประวัติศาสตรสวนสัตว สวนสัตวจะใหความสําคัญกับการนําสัตวจากทุกสวนของโลก
จนบางครั้งการวัดความสําเร็จของสวนสัตวมากนอยเพียงใดขึ้นกับจํานวนของชนิดสัตว ยิ่งมากชนิด
ยิ่งดี ในปจจุบันมีบางสวนสัตวที่ผูออกแบบและผูจัดการบางคนมีความเชื่อวา จะตองจัดหาสัตวจาก
ตางประเทศในชนิดที่สามารถดึงดูดความสนใจของผูเที่ยวชม เชน ชางและเสือ ทําใหแนวคิดที่จะ
นําเอาสัตวทีมีประจําถิ่น (รัฐหรือสัตวประจําถิ่น ) อาจไมสามารถประสานรวมกับแนวคิดรวมหลักได
( overall organizational theme ) รวมทั้งบางกรณีสัตวชนิดดังกลาวไมสามารถดึงดูดความสนใจของ
ผูเที่ยวชมได
การวาง theme แนวคิดการใชพื้นที่สวนสัตวโดยเลือกชนิดสัตวที่มีทองถิ่นที่สวนสัตวนั้น
ตั้งอยู จะมีความเหมาะสมกับสวนสัตวขนาดกลางและมีงบประมาณจํากัด โดยเฉพาะสวนสัตวที่มุง
ใหการศึกษาในแงของธรรมชาติวิทยาของพื้นที่ทองถิน่ นั้นๆ เชน สวนสัตว The Turtleback Zoo ใน
เมือง Newark Newjersy ที่ตองการมีเปาหมายที่จะจัดแสดงสัตวปาภายในมลรัฐ N.J ในอดีตและ
ปจจุบัน โดยมุงประเด็นในเรื่องที่เกี่ยวของกับการเกษตรกรรมซึ่งเปนเรื่องที่มีความสําคัญของรัฐนี้
โดยแสดงถึงสวนและสัตวทอี่ ยูใกลสวน รวมทั้งสวนในเมืองที่มีพืชหลายชนิดและสัตวหลายชนิดอยู
รวมกัน
The Arizona –Sonara Desert Museum ไดใชในการผสมผสานที่ลงตัวของเรื่องเนื้อหาทาง
ธรรมชาติ พิพิธภัณฑ สวนแสดงสัตวน้ําและสวนพฤษศาสตร ซึ่งเปนตัวอยางที่ดีที่จะใชสิ่งแวดลอม
ในพื้นที่นั้นๆ เปนตัวสรางจุดสนใจ โดยใชพื้นที่ทะเลทราย Great Sonoran รวมทั้งการใหความสําคัญ
98

ในการออกแบบสวนแสดง การนําเสนอขอมูลตางๆ การใชพื้นที่รอบๆ ซึ่งไดกลายเปนสถานที่ที่มี


ความโดดเดนระดับชาติ โดยไมไดใชจุดสนใจจากตางชาติ
ดูรูป 62 Reginal Habitats: Arizona-
Sonaras Desert Museum - ซึ่งเปนการ
นําเสนอในรูปลักษณใหมที่นําเอาความ
หลากหลายทางธรรมชาติที่มีในถิ่นที่อยู
นั้นๆ ซึ่งจะใชเปนตัวอยางเปนที่ดีใน
การนําเอาสิ่งแวดลอมที่มีในทองถิ่น
ขึ้นมานําเสนอ ในลักษณะที่เปนสวน
สัตวหรือพิพิธภัณฑ โดยการนําเสนอจะ
ประกอบดวยหมายเลข 8 ภูเขา 9 แมน้ํา
ในเขตกึ่งรอนชื้น 10 ทะเลทรายในสวน
ของเชิงเขา 11 ทุงหญา 12 เชิงเขา 13
แมน้ําที่ไหลผานภูเขา 14.Raptor
Canyon

แนวคิดการจัดพื้นที่โดยใชการแบงกลุมสิ่งมีชีวิตตามลักษณะทางภูมิอากาศ (Bioclimatic Organization


concept)
การแบงพื้นที่ในสวนสัตวโดยใชรูปแบบตามลักษณะภูมิอากาศ เปนผลมาจากการวิเคราะห
สิ่งแวดลอมของโลกหลายๆ แบบจากมุมมองทางนิเวศวิทยา ทีแ่ ตกตางจากวิธีการจากการแบงตาม
พื้นที่ทางภูมิศาสตรตามแหลงที่มาของสัตวชนิดนั้นๆ โดยที่ แนวคิด Bioclimatic จะมองที่ลักษณะ
ทางภูมิอากาศของพื้นที่ที่สัตวนั้นอยู โดยแหลงที่พบสัตวจะเปนแหลงที่มีความเหมาะสมกับสัตวชนิด
นั้นในแงของสภาพอากาศและพืชพรรณ เมื่อเราใชวิธีการแบงพื้นที่โลกออกตามสภาพภูมิอากาศ เรา
ก็จะเห็นวาสัตวที่อยูในเขตปาดิบชื้นของประเทศบราซิลจะมีความใกลเคียงในเรื่องพฤติกรรมกับสัตว
ที่อยูในปาดิบชื้นของมาเลเซีย
เมื่ออยูในขั้นตอนการออกแบบสวนสัตว การพิจารณาชนิดสัตวโดยพิจารณาที่สัตวเปนสวน
หนึ่งของระบบธรรมชาติที่มีความเคลื่อนไหว ทําใหเราตองมาใหความสําคัญกับถิ่นที่อยูที่สัตวชนิด
นั้นอาศัยอยู โดยถิ่นที่อยูคือการรวมกันของ ภูมิอากาศ พืช รวมทั้งอิทธิพลที่มาจากดิน ระดับความ
ชัน รูปแบบของพื้นที่ ระดับความสูง วิธีการจัดการพื้นที่ ( organization approve ) ของสวนแสดงที่
เปนธรรมชาติโดยดูจากความตองการของสัตว ลักษณะพฤติกรรม โดยจัดสิ่งแวดลอมใหไดใกลเคียง
99

กับสภาพภูมิอากาศ พืชพรรณตามธรรมชาติของสัตว โดยใหไดตามภาพที่มีลักษณะของความพึ่งพา


อาศัยระหวางสัตว พืชหรือบางครั้งจะมีคนเขาไปรวมดวย
) การแบงพื้นที่โลกตามสภาพภูมิอากาศ ( Bioclimatic Zone of the World )
การใชวิธีการจัดพื้นที่ในสวนสัตวแบบลักษณะภูมิอากาศ โดยสวนแสดงสัตวจะมีการ
ออกแบบและจัดกลุมเพื่อที่จะแสดงบางรูปแบบในหลายๆแบบของลักษณะภูมิอากาศของโลก ใน
ระบบของการจัดกลุมสิ่งมีชีวิต หรือโลกของพืชพรรณมีการศึกษาโดยนักวิทยาศาสตรหลายคน
( Schimper and Von Faber, 1935 Odum , 1971, Holdring, 1972, Walter, 1973 ) โดยขอตกลงที่
กลาวถึงพืชพรรณไมจะมีความสัมพันธกับลักษณะภูมิอากาศในแตละแบบ โดยแบงเปนรูปแบบที่
หลักๆ ของลักษณะภูมิอากาศ เชน ทุงหญา ปาเขตรอน ทะเลทราย ภูเขา ซึ่งในแตละโซนยัง
สามารถแยกยอยไดอีก เชน ทุงหญาที่สามารถแบงไดเปน ทุงหญาแพรี่ ทุงหญาซาวันนา ทุงหญาส
แตรบป หรือ ปาเขตรอนที่สามารถแยกยอออกไดเปนปาเบญจพรรณ ปาดิบชื้น
การเลือกโซน ( Selection of Zone )
งานลําดับแรกของผูออกแบบสวนสัตวคือการทําความเขาใจและการปรับระบบการแบง
bioclimatic zone classification system ใหเขากับ exhibit theme หรือ organization theme เพื่อสราง
ความพึงพอใจแกผูเที่ยวชมและสรางสิ่งแวดลอมในสวนแสดงที่เหมาะสมกับตัวสัตว โดยที่ตองจัด
zone ใหเขากับ organization frame work ที่เขากับเปาหมายของสวนสัตว งบประมาณ ลักษณะพื้นที่
สัตวที่จะนําเขามาจัดแสดงในปจจุบันและอนาคต ซึ่งเงื่อนไขที่กลาวมาเหลานีจ้ ะเปนตัวกําหนดถึง
ความสําเร็จหรือลมเหลวของสิ่งแวดลอมที่จะสรางขึ้น
การออกแบบที่ woodland park zoo ในเมือง Seattle ไดแสดงถึงการรวมเอาแนวคิดแบบ
biocliomatic เพือ่ ที่จะนําไปสูการกําหนดความตองการสําหรับการจําลองโดยเฉพาะอยางยิ่งตนไมและ
พืชพรรณใหเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศของเมืองซีแอทเติ้ล
มีนักธรรมชาติวิทยาหลายคนไดศึกษาวิธีการที่จะแบงลักษณะของพื้นที่ของโลก แตแนวคิด
ที่ไดรับการยอมรับคือแนวคิดของ Holdridae ( 1972 ) เขาไดคิดระบบการแบงพื้นที่ของโลกตาม
ลักษณะภูมิอากาศโดยใชตัววัด 3 อยางคือ 1. อากาศ 2. การกลั่นตัวของไอน้ํา 3. การระเหยของ
น้ํา
100

ดูรูปที่ 63 ตัววัด 3 อยาง


โดยใชวิธีของ Holdridge
Bioclimatic zone ที่ใชในการ
แบงและกําหนดอาณาเขตของ
โลก

ซึ่งเขาไดคิดระบบที่ใชแบงพื้นที่ของลักษณะภูมิอากาศ โดยการสรางสามเหลี่ยม โดยใช


สามตัววัดคืออุณหภูมิ การกลั่นตัวเปนหยดน้ํา การระเหยเปนไอ ซึ่งอยูตามมุมของสามเหลี่ยม
ขอกําหนดสําหรับการเลือกลักษณะถิ่นที่อยูหรือโซนมักจะมีขอพิจารณารวมจากงานใหการศึกษา
เชนพฤติกรรมของสัตว การอนุรักษ
พื้นที่แตละลักษณะภูมิอากาศ (the bioclimatic zone ) จะมีความสําคัญตอการ
วิวัฒนาการและการกระจายตัวของสังคมพืช ที่จะสงผลตอสังคมสัตว โดยเฉพาะนกและสัตวเลี้ยง
ลูกดวยน้ํานม ที่รางกายตองรักษาอุณหภูมิในรางกายใหคงที่ สัตวที่มีพละกําลังมากยอมตองการ
อาณาเขตการหากินกวาง สัตวที่มีขนาดใหญจะพบในสังคมพืชที่มีความหลากหลายกวา เนื่องจาก
เหตุผลเหลานี้ ลักษณะภูมิอากาศ ( the bioclimatic zone ) จะเปนตัวชวยในเรื่องของการจัด
แสดงสัตวภายในสวนสัตว ( Jones, Coe, and Paulson , 1976 )
ขอกําหนดในการเลือกลักษณะของสวนแสดง วาจะตกแตงดวยลักษณะของพื้นที่แบบใดมี
เหตุผลอยูหลายประการ รวมทั้งงานใหการศึกษาก็ตองนําเขามารวมในการพิจารณาดวย เชน ใน
หัวขอเรื่องพฤติกรรมของสัตว การสื่อสารเรื่องงานดานการอนุรักษ
ถิ่นที่อยูใ นหลายรูปแบบเชน บึงเอเวอรเกรท ( Everglades ) , หมูเกาะฮาไว ( Hawaii ) , รัฐ
อลาสกา ( Alaska ) ปาฝงตะวันออกของประเทศ ทุงหญาแพรี่ ทะเลทราย เปนตัวเลือกในฐานะ
ตัวแทนในลักษณะพื้นที่ของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ประชาชนคุนเคยและไมคุนเคย ทุงหญาแพรี่
101

เปนลักษณะพื้นที่ที่ผูเที่ยวชมสวนใหญคุนเคย ดังนั้นการนําเสนอจะนําเสนอในเรื่องความ
หลากหลายของชนิดสัตวและความสัมพันธที่มีกับระบบนิเวศที่ผูเที่ยวชมอาจจะยังไมทราบ หรือจะ
นําเสนอในแนวคิดอื่นๆที่ ผูเที่ยวชมเขาใจในเนื้อหาอยูแลว เนื่องจากเปนลักษณะที่พบในทองที่นั้น
ภายนอกสวนสัตว
ในกลุมของถิ่นที่อยูที่ไมเปนที่คุนเคยของผูเที่ยวชม เชน Alaska, Hawaii , ทะเลทราย และ
Everglades โดยการเลือกถิ่นที่อยูในลักษณะนี้จากลักษณะที่มีความจําเพาะและดูลึกลับ รวมทั้ง
ชนิดสัตวและชนิดของพืชเพื่อใชในการจัดแสดงมีเปนจํานวนมาก ความหลากหลายของถิ่นที่อยู
รวมกับสวนแสดงสัตวจะเปนการเพิ่มการเห็นคุณคาความสัมพันธระหวางสัตวและถิ่นที่อยู และถิ่นที่
อยูในกลุมนี้เปนกลุมที่ถูกทําลายจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม ทําใหพื้นที่เหลานี้ถูกมองขาม
ซึ่งความจริงแลวพื้นที่เหลานี้เปนแหลงที่อยูของสัตวที่หายาก ( Design group B , 1985 )
อีกจุดประสงคหนึ่งของการเลือกใช bioclimatic theme คือเพื่อการสรางลําดับของภาพที่
เกิดขึ้น การเริ่มตนของการลําดับภาพตองการความเขาใจอยางชัดเจนของการพัฒนาเปาหมาย การ
กําหนดวาแตละสวนสวนแสดงมีความสัมพันธ มีจุดประสงค และมีการประสานสอดคลองกันของ
ลักษณะของสวนแสดงที่อยูขางเคียง
ความสําคัญของระบบนิเวศจะมีไมเทาเทียมกัน ขึ้นอยูกับประเด็นที่เราจะเลือกมาจัดแสดง
ถาเรามุงประเด็นไปที่งานดานการอนุรักษเราก็จะเลือกพื้นที่ที่ถูกบุกรุกทําลาย เชน ปาดิบชื้น และ
ระบบนิเวศวิทยาทางทะเล หรืออีกตัวอยางหนึ่ง สวนแสดงในลักษณะของที่ราบอินเดียนาจะมี
ความพิเศษอยางหนึ่งคือโดยมีพื้นฐานในเรื่องสัตวและวัฒนธรรมของทองถิ่นที่ปรากฏกอนยุค
civilization
1. ปาดิบชื้น ( Tropical Rainforest ) เปนระบบนิเวศที่ไดรับการพิจารณาวาถูกคุกคามใน
ระดับที่รุนแรง สัตวที่นํามาจัดแสดงใหเลือกชนิดที่แสดงถึงการพัฒนาที่พึ่งพาอาศัยความ
หลากหลายของระบบนิเวศวิทยาที่สัตวชนิดนั้นอาศัยอยู
2. ระบบนิเวศวิทยาทางทะเล การจัดแสดงสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมที่อยูในทะเล ที่แสดงถึง
ความหลากหลายของชีวิตที่อยูในทะเล การนําเสนอการแสดงความสามารถของสัตวทะเลที่เลี้ยงลูก
ดวยน้ํานมเชน แมวน้ําที่แสดงถึงความฉลาดและพฤติกรรมตามธรรมชาติ
3. ที่ราบอินเดียน มีการนั่งเรือเพื่อชมสัตวในสวนแสดง เปนสวนที่เพิ่มเติมเขาไปในระบบนิเวศนี้
การใชศูนยมรดกทางวัฒนธรรมดั้งเดิมที่นําแสดงรวมกับการแสดงของสัตว โดยใชการจัดแสดงสัตว
หลายๆชนิดรวมกับวัฒนธรรมเคยมีในชวงกอนหนานี้ เพื่อใหผูเที่ยวชมไดเห็นถึงความเจริญที่เกิดขึ้น
ที่มีผลกระทบตอพื้นที่ และเชื่อมความสัมพันธไปถึงบางพื้นที่ของโลกที่ยังอยูในสภาพทีย่ ังไมพัฒนา
หลังจากการจัดเรียงลําดับในสวนของระบบนิเวศที่เลือกมาใชในการจัดการพื้นที่ไดแลว
งานในลําดับถัดมาจะเปนการเพิ่มหนวยยอยเขาไปในแตละพื้นที่ของระบบนิเวศใหมีความเหมาะสม
102

คือ การเพิ่มรูปแบบทางภูมศิ าสตรเขาไปภายในพื้นที่ของระบบนิเวศวิทยา ยกตัวอยางเชน ระบบ


นิเวศแบบปาดิบชื้นจะประกอบดวยสวนแสดงปาดิบชื้นในทวีปเอเชีย ประเทศอินโดนีเซียและแอฟ
ริกา ความสัมพันธของระหวางพื้นที่แตละระบบนิเวศที่ติดกันจะขึ้นกับลักษณะทางภูมศิ าสตร
ยอย เชน พื้นที่ที่ติดกับระบบนิเวศแบบปาดิบชื้นในเอเชียจะใชสวนแสดงระบบนิเวศแบบภูเขา
ของทวีปเอเชีย หรือพืน้ ที่ที่ตอจากสวนแสดงภูมิศาสตรแบบปารอนชืน้ ในทวีปแอฟริกาจะใชสวน
แสดงภูมิศาสตรแบบทุงหญาซาวันนาในแอฟริกา ( Design group C , 1985 )
การจัดพื้นที่แบบสภาพภูมิอากาศ ( bioclimatic zone ) รอบๆ พื้นทีบ่ ริการผูเที่ยวชม ซึ่งเปน
พื้นที่ศูนยกลางกอนที่จะออกไปสูพื้นที่สวนแสดงสัตวตางๆ จะเปนวิธีการที่ใชเพื่อเพิ่มคุณลักษณะ
ของสวนสัตวและสิ่งแวดลอมใหมีความนาสนใจมากขึ้น แผนการจัดการสําหรับพื้นที่ที่เปนจุดเดน
ที่สุดของ the new Indianapolis จะใชวิธีการดังตอไปนี้
สวนแสดงสําหรับสวนสัตวแหงใหมจะใชการจัดการรอบๆ พื้นที่บริการผูเที่ยวชม ( the
common ) โดยใชพื้นที่ที่มีความสําคัญของโลก 4 สวนคือ น้ํา ทะเลทราย ปาและที่ราบ

ดูรูปที่ 64 พื้นที่บริการผูเที่ยวชม ( the common ) ที่สวนสัตว new Indianapolis Zoo ที่จัดเปนจุด


ศูนยรวมของผูเที่ยวชมที่ใชเปนสวนของการจัดการที่สรางความรูสึกความเปนศูนยรวมโดย the
common จะสรางจุดรวมของธรรมชาติทั้ง 4 อยาง
1.Common เปนบริเวณสําหรับพื้นที่ที่มีลักษณะจําเพาะของผูเที่ยวชมในสวนสัตวโดยให
เปนจุดเขาสูสวนกลางจากแตละพื้นที่สวนแสดง การตกแตงจะใชตนไมในรัฐอินเดียนา ทั้งไมพุม
ดอกไม มีภัตตาคาร รานขายของที่ระลึก สนานเด็กเลน โรงฉายภาพยนตร อาจมีการเพิ่ม
บรรยากาศโดยการเพิ่มมาลากเลื่อนเขาไปดวย
103

2. Water biomes เปนพื้นที่สวนนี้จะที่สัตวอาศัยอยูใ นน้ํา อยูรอบๆ น้ํา สวนแสดงในสวน


นี้จะประกอบดวยปลาฉลาม ปะการัง นกหากินตามชายฝง นก puffin นก penguin สวนแสดง
ธรรมชาติของแมน้ําอเมซอน ในสวนแสดงกลางแจงเชน สิงโตทะเล หมีขั้วโลก ตัววอรัส สระน้ํา
ขนาดใหญสําหรับปลาวาฬ
3. Dessert biomes พื้นที่สวนนีจ้ ะประกอบดวยสัตวที่อยูในพื้นที่แหงแลง ลักษณะของ
สวนแสดงที่อยูในตัวอาคารจะเปนไปในลักษณะที่ผูเที่ยวชมเดินผานเขาไปในทะเลทราย เชน
ทะเลทรายในเวลากลางวันจะมีสัตวและตกแตงสวนแสดงดวยพืช สวนอื่นของตัวอาคารจะเปนสัตว
ทะเลทรายที่หากินในเวลากลางคืนและสัตวที่สามารถปรับตัวใหอาศัยอยูในสภาพที่แหงแลงได สวน
พื้นที่กลางแจงจะจัดแสดงเดียวอูฐโหนก Bactrian Camel และ กาเซล โดยใชสิ่งแวดลอมตาม
ธรรมชาติในลักษณะของทะเลทรายในที่สูงจากระดับน้ําทะเลและมีอากาศหนาว
4. Forest biomes สวนแสดงนี้จะใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมในแนวตั้งที่ปรากฏอยูในปา
โดยประกอบดวยปลูกตนไมที่เปนตัวแทนของปาเบญจพรรณ ปาสน สวนแสดงของสัตวแตละชนิด
ควรจะอยูใกลกันเพื่อสรางความรูสึกใกลชิดกัน ในสิ่งแวดลอมขนาดใหญเปนอาคารที่ควบคุม
สิ่งแวดลอมสําหรับพืช และ สัตวจากปาดิบชื้น (tropical rain forest )
5. Plain biomes ในพื้นที่สวนแสดงนี้จะประกอยดวยสัตวจากทุงหญา 4 แหงของโลก คือ
Africa, Euracia , North America, South America พื้นที่สวนแสดงจะเปนแบบเปด เปนบริเวณ
กวางเปนพื้นที่ทุงหญาและใหผูเที่ยวชมไดสัมผัสสิ่งแวดลอมแทจริงของสัตวกลุมนี้ ( Shea , 1985 )
การเลียนแบบและสรางภาพจําลองโซนในแบบสภาพภูมิอากาศ (Duplication and Simulation of
Bioclimatic zone )
การวิเคราะหพื้นที่ของสวนสัตวจะมีความสําคัญ เนื่องจากจะเปนปจจัยสําคัญตอรูปแบบ (
theme ) ที่เราจะตองเลือกมาใชในพื้นที่ สวนประกอบยอยของภูมิอากาศ( micro –climate ) ของพื้นที่
ที่เปนตัวปจจัยสําคัญเชน ลักษณะพื้นที่ ความชัน ดิน พืชพรรณ น้ําที่อยูที่ผิวดินและใตดิน ซึ่งการ
เลือกวาจะสรางภาพจําลองในแบบสภาพภูมิอากาศใดตองขึ้นกับสภาพพื้นที่เดิม ถาพื้นทีท่ จี่ ะสรางนั้น
นั้นไมเหมาะกับ รูปแบบภูมิอากาศที่เราเลือกมาเปนตนแบบ ( bioclimatic zone ) เราจําเปนตองสราง
สวนประกอบยอยของภูมิอากาศ ( micro- climate )ที่จําเปนใหพอเปนตัวสรางภาพใหกับถิ่นที่อยูของ
สัตวได
สภาพสวนประกอบยอยของภูมิอากาศ ( micro- climate ) ของพื้นที่กอสรางจะเปนปจจัยที่
สําคัญในการกําหนดความเปนไปไดในการจําลองลักษณะภูมิอากาศที่เราเลือกมาเปนตนแบบ
ระดับของการปรับสิ่งกอสรางใหไดใกลเคียงกับลักษณะที่เราเลือกมาใหไดมากนอยเพียงใด
นั้น ขึ้นกับเงินทุนที่เรามีเพื่อใหงานที่ออกมามีความสวยงามและเหมาะสมในงานดานการจัดการดวย
104

ลักษณะทางกายภาพของ พื้นที่ทางภูมิอากาศที่เราจะทําในพื้นที่สวนแสดงนั้นตองมีการ
วิเคราะหและเปรียบเทียบวาตรงกับความตองการของสวนแสดงและสัตว หรือไม เนื่องจากตองดูวา
พื้นที่สวนแสดงนั้นอยูในโซนใดและพื้นที่ขางเคียงเปนสวนแสดงใดดวย สวนประกอบของ
ภูมิอากาศที่สําคัญคือ อุณหภูมิ ฝน รวมทั้ง ความชื้น ลมและชวงความยาวแสงแดด การแบงดวยวิธี
งายๆ เชน เย็น ชื้น รอน แหง เปนสิ่งที่ไมเพียงพอ ตองดูถึงฤดูกาล ชวงเวลาของกลางคืนและ
กลางวันซึ่งเปนสิ่งที่มีความสําคัญของลักษณะของโซน น้ําตองกําหนดใหชัดเจนวาเปนฝน หมอก
หรือ หิมะ
แตละ bioclimatic zone จะตองมีการวิเคราะหถึงสัตวที่จะเอามาแสดงเพื่อจะยืนยันถึงความ
หลากหลายตลอดทั้งสวนสัตว ความแตกตางในเรื่องการดําเนินชีวิตของ ตามชนิดของสัตวนม สัตว
ปก สัตวเลือ้ ยคลาน ที่อาศัยอยูในโซน เรื่องราวที่นาสนใจหรือ sub 3theme ที่สามารถนํามาเปน
ขอมูลที่จะสื่อไปยังผูเที่ยวชมได เชน การปรับตัวทางลักษณะทางรางกายสัตวเพื่อใหเหมาะสมกับ
พื้นที่ ( animal adaptation ) พฤติกรรมการกินอาหารของสัตว ( feeding habit )
การเขียนลายเสนลงบนแผนที่สวนสัตวเพื่อแสดงจุดที่ตั้งและขนาดพื้นที่แบบคราวๆ เพื่อใช
เปนแบบอางอิงในการออกแบบสวนแสดง จะมีปจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับจํานวนและความหลากหลาย
ของ bioclimatic zone ที่เลือกมาใช ลักษณะทางกายภาพของสวนสัตวเอง ขอแนะนําเพิ่มเติม
สําหรับงานดังกลาวคือ
- แยกลักษณะทางภูมิศาสตรที่ตางกันออกจากกันเชน ปาดิบชื้น ตองแยกออกจากภูเขา
- เพื่องายตอการจัดการ สวนแสดงที่มีลักษณะถิ่นทิ่อยูแบบเดียวกันควรอยูใกลกัน
- การออกแบบที่จะสรางลักษณะแตพื้นที่ใหเกิดความแตกตาง เพื่อใหผูเที่ยวชมมีโอกาสที่จะ
เปรียบเทียบพื้น แตละแบบที่ในโลกที่สวนสัตวเลือกนํามาจัดจําลองใหดู
105

บทที่ 6 การออกแบบภูมิทัศนของสวนแสดงสัตวเมื่อมองจากจุดชม
( Landscape Architech of zoo exhibit form viewing point )
ขอในการพิจารณาทั่วไปในการออกแบบ ( General Design Consideration )
ประเด็นสําคัญในการออกแบบสวนแสดงสัตวคือการเตรียมลักษณะทางกายภาพที่จะสื่อถึงงานให
การศึกษา งานดานการอนุรักษ สื่อถึงตัวสัตว และถิ่นที่อยูของสัตวไปถึงผูเที่ยวชม
จุดมุงหมายของการออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอมที่ดสี ําหรับสัตว เพื่อใหเกิดความพึงพอใจและ
ความสนุกสนานแกผูเที่ยวชม
สวนแสดงสัตวที่มีในสวนสัตวที่ดีมีความเกี่ยวเนื่องกับคน สัตว พืช โดยจะเปนสวนใหผูเที่ยวชม
- เกิดความรูสึกที่ดีตอตัวสัตว
- เกิดความเขาใจตอความสัมพันธระหวางคน พืช สัตว
- ใหการศึกษาแกผูเที่ยวชมถึงแนวคิดดานการอนุรักษ และมีสวนในการสรางความสนุกแกผูเที่ยว
ชม ( Robinson, 1985 )
ผูออกแบบจะตองมีความเขาใจใน
- คุณลักษณะพื้นฐานของวัตถุแตละชนิดที่จะนํามาใชในการออกแบบที่ประกอบไปดวย
ขนาด รูปราง สีและพื้นผิว
- วัสดุตางๆ นําเขามารวมกับหลักทางการออกแบบ (ความตัดกันของสี เกิดสัดสวน ความ
106

สมดุล ความสมบูรณ ) ซึ่งความรูพื้นฐานของทั้งสองสวนจะเปนตัวชวยในการนําเอาทุกองคประกอบ


มารวมกันอยางลงตัว เพื่อใหสวนแสดงนี้เปนสิ่งที่นาจดจํา สนุกสนานและเกิดการเรียนรู
สวนแสดงจะตองมีการสรางภาพเพื่อสื่อขอความที่มีความหมาย ซึ่งขอความที่มีความหมายนั้น
ประกอบดวย 2 สวนคือ
1.ขอความนั้นมีเนื้อหาที่ใหความรูแกผูเที่ยวชม
2. การสื่อขอความนั้นเกิดจากรูปราง พื้นที่ เสน สีและแสง ของวัตถุที่มีในสวนแสดง โดยใหทุก
องคประกอบมีความสัมพันธกัน ตองใหความสัมพันธโดยทั้ง 2 สวนเกิดความสอดคลองกัน มีสวน
ชวยเหลือซึ่งกันและกัน แตถาเกิดความขัดแยงกันผลที่จะเกิดขึ้นคือความลมเหลวในการสื่อสาร
สวนแสดงในสวนสัตวจะประสบความสําเร็จ ควรจะตองมีการออกแบบโดยมุมมองขององค
รวม ( holistic ) สรางจุดสนใจอยูที่ความสัมพันธระหวาง คน สัตว พืช ซึ่งไมงายเลยที่จะตองจัด
วางสวนตางๆ เหลานี้ใหเกิดภาพโดยรวมที่ลงตัวและสรางความรูใหเกิดขึ้น
การแปลความหมายสิ่งที่เห็นในสวนแสดง ทุกๆองคประกอบมาประกอบเปนภาพรวม มี
ความสําคัญมากกวาที่จะมองทีอ่ งคประกอบใดองคประกอบหนึ่ง แตอยางไรก็ตามการแปล
ความหมายก็ยังขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูของแตละบุคคลดวย

จุดประสงคของสวนแสดงและเปาหมายของการศึกษา
จุดประสงคจําเพาะของสวนแสดงจะผันแปรไปตาม
1.เปาหมายของสวนสัตวแหงนั้นๆ
2.กลุมผูออกแบบมีแนวคิดสรุปของกลุม อยางไร
3.รูปแบบของผูเที่ยวชม
ความแตกตางในเรื่องของมุมมองของผูเ ที่ยวชมเมื่อชมสวนแสดงสัตว ( การมองสวนแสดงสัตว
คือการเชื่อมโยงองคประกอบตางๆ ที่มภี ายในสวนแสดง )
- ความแตกตางในเรื่องมุมมองจะมีความเชื่อมโยงกับสวนประกอบในสวนแสดง
- เปาหมายและผูใช
- ตัวขององคประกอบจะเปนผูสรางความแตกตางในรูปลักษณของสวนแสดง โดยสิ่งที่จะ
เกิดขึ้นอาจจะเปนไดตั้งแตการจําลองถิ่นที่อยูจนถึงภาพในลักษณะของรูปธรรม
จุดประสงคของการออกแบบที่ The Robert J. Lafortune North American Living Museum
เปนการออกแบบที่ไมไดตองการใหเปนสวนสัตว แตจะออกแบบสวนแสดงสัตวของสัตวหลาย
ชนิดใหเปนเหมือนกับพิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา ( Natural History Muesum , natural history
n.1 the scientific study of animals or plants, especially as concerned with observation rather than
experiment and presented in popular form.) ซึ่งเปนการนําเอาพืชและสัตวมาจัดการในรูปแบบของ
107

ลักษณะทางธรรมชาติจากพื้นที่สวนตางๆของโลก ( geographic theme ) จะเปนการใชสัตวมีชีวิต


เปนพื้นฐานของสวนแสดง แตจะไมใหความสําคัญกับสัตวมากกวาองคประกอบอื่นๆ โดยจะจัด
สวนแสดงใหสัตวอยูในโครงรางของธรรมชาติโดยรวมและทุกๆ องคประกอบทางธรรมชาติจะมี
ความสําคัญที่ทัดเทียมกัน เพื่อที่จะใหเกิดภาพที่สื่อใหเห็นวาองคประกอบภายในสวนแสดงนั้น
มีความหมายตอสัตวที่อาศัยอยูเพียงใด นอกจากนั้นยังมีการนําเสนอในเนื้อหาดานประวัตศิ าสตร
ในสวนของธรณีวิทยาและโบราณคดี เพื่อที่จะใหเกิดความเขาใจถึงสภาพในปจจุบัน รวมทั้งเปน
ขอมูลเพื่อใชทํานายถึงสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต( Zucconi, 1979 )
มีการจัดศูนยเรียนรูทางธรรมชาติ โดยใหมีหองเรียนรูที่ตองการใหเด็กสามารถเรียนรูเรือง

ชีวิตของสัตว โดยการใชสัตวมีชีวิต เลือกชนิดที่นารักเด็กสามารถเรียนรูไดโดยไมมีมีความรูสึก
หวาดกลัว เพื่อใหเด็กเห็นในคุณคาและใหความเคารพตอสัตวที่อยูรวมโลกกับเรา สัตวที่มี
ชีวิตจะมีประโยชนมากตอการเปนอุปกรณในเรื่องการสอนเรื่องอนุรักษและธรรมชาติ
( Naumer, 1968 )
ความจริงอันหนึ่งที่ทีมออกแบบสวนแสดงสวนสัตวที่มักถูกมองขามไปวา ประชาชนมาที่
สวนสัตวเพื่อมาดูสัตวไมไดอยากมาดูกรง ( ดูรูป 65 )
สวนแสดงที่มี theme ที่ดีนั้นตองสามารถใหภาพที่ใกลเคียงกับถิ่นที่อยูจริงและตองไมบดบังภาพของ
สัตวที่กําลังแสดงพฤติกรรมตางๆ การทําใหสัตวลดความโดดเดนลงเปนสิ่งที่ตองหลีกเลี่ยง
( Muller,1975 )
ดูรูป 65 Elephant ที่ San diego
Wildlife Park วิธีการออกแบบสวน
แสดงตองทําใหสัตวที่นํามาจัดแสดงมี
โดดเดน เปนจุดสนใจ ซึ่งการ
ออกแบบตองใหความสนใจกับความ
จริงขอนี้
108

เมื่อเปรียบเทียบเหตุผลของผูเที่ยวชมที่มาที่สวนแสดงสวนอื่นๆของสวนสัตวกับไปที่สวนสัตว
เด็กจะไดขอสังเกตที่นาสนใจ คือ การมาเที่ยวที่สวนสัตวนั้นเปนรูปแบบหนึ่งของความบันเทิงของ
สังคมมนุษย

ดูรูปที่ 66 Big cat Country ที่ St louis Zoo การออกแบบสวนแสดงสัตวตองใหความสําคัญกับความ


จริงที่วาการเที่ยวสวนสัตวเปนสถานที่ ที่ทํากิจกรรมรวมกับคนในครอบครัว เพื่อนหรือสมาชิกคนอื่น
ในสังคม
ผูเที่ยวชมประมาณ 70 เปอรเซ็นตบอกวาการเที่ยวสวนสัตวนั้นไมไดมาเพื่อการชมสัตว มี
เพียง 30 เปอรเซ็นตที่บอกวามาเพื่อชมสัตวหรือมาที่สวนแสดงสัตวบางแหง ถึงแมวาสวนสัตวเด็ก
คือภาพที่เปนบริเวณที่พอและแมตองใชเวลารวมกับเด็กๆ มีถึง 93 เปอรเซ็นตที่มาที่สวนสัตวเด็ก
เนื่องจากมีกิจกรรมที่สวนสัตวเด็ก ที่เปนการแสดงถึงความคาดหมายพิเศษกับกิจกรรมในสวนสัตว
เด็ก ( Normadia, 1983)
ถึงแมวาจะมีความหลากหลายขอคิดเห็น ในเรื่องแนวคิดหลักในการพัฒนาเปาหมายของสวน
สัตว รวมทั้งประเด็นใดคือประเด็นที่เราตองใหความสําคัญกอนและหลัง แตมีความเห็นที่เปนที่
ยอมรับกันทั่วไปวา สวนสัตวจะตองใหความสําคัญกับเปาหมายงานดานการใหการศึกษามากขึ้น ถา
เรามุงประเด็นที่ทําในเรื่องของงานการอนุรักษทรัพยากรที่มีในโลก ในปจจุบันสวนสัตวตองนําเสนอ
งานดานการอนุรักษดวยวิธีการที่มีเหมาะสมไปสูผูเที่ยวชม ชองทางที่สําคัญคือการออกแบบสวน
แสดงสัตวที่ไมเพียงแคใหการศึกษากับประชาชนเกี่ยวกับสัตวที่มีในโลกเทานั้น แตตองแสดงถึง
ความสัมพันธที่สัตวตางๆ ที่มีกับธรรมชาติและตัวของมนุษย ผูเที่ยวชมควรออกจากสวนสัตวดวย
109

ความรูสึกที่ใหความเคารพกับตัวสัตวมากขึ้น เห็นคุณคาภายในตัวสัตว เห็นวาควรใชทรัพยากรที่มี


ในโลกอยางประหยัด สวนแสดงสัตวที่แสดงถึงชีวิตประจําวันของมนุษยที่มีความเกี่ยวเนื่องกับสัตว
ปา ( cultural exhibit theme )เชน ชาวบานในจังหวัดสุรินทรกับชาง จะเปนผูชวยสงขอมูลการอนุรักษ
ที่เขาใจไดงาย มองเห็นคุณคาและสามารถสรางอารมณรวมไดงาย
จุดประสงคหลักที่อยูเบื้องหลังสวนแสดงคือ
- การแสดงขอมูลที่มีอยูในหลากหลายหัวขอ เชนถิ่นที่อยู พฤติกรรม การปรับตัว
- การออกแบบสวนแสดงตองการที่จะนําเสนอที่จะใหสัตวแสดงประสาทสัมผัส (การใชหู ตา จมูก )
พฤติกรรมทางสังคม
- สวนแสดงที่ตองการสื่อความหมายในเรื่องของการวิวัฒนาการ เชนที่ Copenhagen zoo ในหัวขอ
“ A tale of tell ” ซึ่งเปนสวนแสดงสัตวที่มีจุดประสงคที่ดี
ประชาชนมาที่สวนสัตวเพื่อเรียนรูบางสิง่ ที่พวกเขาไมมีโอกาสที่จะไดเรียนรู การไดมี
โอกาสเดินเที่ยวกับผูทสี่ ามารถถายขอมูลตางๆใหเขาได ความเขาใจก็จะเพิ่มมากขึ้น เปนการสราง
ความพึงพอใจ กระตุนความอยากรูอยากเห็นและเกิดการเรียนรูในเนื้อหาเหลานี้
ผูเที่ยวชมมาเที่ยวที่สวนสัตวสิ่งที่ไดกลับออกไปไมใชเพียงความสนุกสนาน การเขามาใน
สวนสัตวเปนการเพิ่มโอกาสที่จะไดใกลชิดกับกับสัตวและพืช เปนการสรางโอกาสที่จะสรางแรง
บันดาลใจเพื่อการเรียนรู

ดูรูปที่ 67 Waterhole exhibit ที่ Brookfield zoo ผูท ี่เขามาในสวนสัตวโดยเฉพาะกลุมเด็ก ซึ่งเห็น


ไดชัดเจนวาไมไดเขามาเพื่อการพักผอนและสนุกสนานเทานั้น แตยังมาเพื่อการเรียนรู มีโอกาสได
ใกลชิดกับสัตวและพืช
110

การออกแบบสวนสัตวตองทราบวาความสนใจของผูเที่ยวชมนั้นมีความแตกตางกันและ
หลากหลาย ในหลายๆครั้งผูเที่ยวชมบางคนมิไดมาเพื่อการศึกษาและเรียนรู ความสนใจในแตละครั้ง
นั้นอาจขึ้นอยูกับบุคคลที่เขารวมในการมาเที่ยวครั้งนั้น หรือขึ้นอยูกับสิ่งที่สัตวแสดงใหเขาไดเห็น

กระบวนการออกแบบที่มีการประสานและรวมมือ ( Collaborative Design Process )


กระบวนการออกแบบตองอาศัยความรวมมือจากบุคคลหลายสาขาอาชีพ นักภูมิ
สถาปตยถูกนําเขามาในการสรางสรรคและพัฒนาสวนแสดงในสวนสัตว ซึ่งเปนหนึ่งในผูที่เกี่ยวของ
ผูที่เกี่ยวของในกระบวนการออกแบบนี้จะประกอบดวย สถาปนิก วิศวกร นักใหการศึกษา นักธรรม
ชาติวิทยา นักบริหาร หัวหนาผูเลี้ยงสัตว นักพฤษศาสตร ผูเลี้ยงสัตว สัตวแพทย และสมาชิกของ
สวนสัตว ใหบุคคลเหลานี้มาเปนผูรวมงาน ( Participant ) รวมทั้งมีประธานในการประชุมรวม ซึ่ง
ในคณะกรรมการทํางานนี้ตองเขาใจในงานของตัวเอง ชวยเหลือ เกื้อหนุนซึ่งกันและกันเพื่อใหการ
ออกแบบสรางสวนแสดงสําเร็จสมบูรณ เอื้อประโยชนตอผูใชงานทุกฝาย เนื่องจากเปนงานทีน่ ําเอา
ความรูจากหลายๆสาขาวิชามารวมกันเพื่อบรรลุจุดประสงคหลักของสวนสัตว
ผมชอบผูเลี้ยงสัตว ไปจนถึงวิศวกรผูที่สามารถนําขอมูลในเนื้อหาทางกายภาพและเคมีมา
ดัดแปลงใชใหการออกแบบสวนแสดงสัตว ใหปรากฏเปนรูปเปนรางโดยไดประโยชนจากขอมูลที่มี ผู
เลี้ยงสัตวจะสามารถเลี้ยงดูสัตวไดดีและถูกตองมากขึ้น หากไดขอมูลในสวนของระบบนิเวศและ
พฤติกรรมของสัตวจากนักชีววิทยา มาใชในการปรับสภาพกรงเลี้ยงใหเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และจะ
เปนความสําเร็จที่ดียิ่งถาเราสามารถที่จะเตรียมสภาพตามธรรมชาติใหกับสัตวทุกตัวที่เรารับผิดชอบ
ดูแลอยู ( Tolson, 1985 )
การออกแบบเปนขั้นตอนพื้นฐานและสําคัญตอการกระบวนการพัฒนางานทั้งหมดใหสําเร็จ
สมบูรณ ในขบวนการพัฒนาจากความรูสึกขึ้นไปเปนแนวคิด จนถึงแบบงานกอสรางที่พรอมนําไป
สรางได เปนขบวนการแปลความคิดของผูรวมงานแตละคน ใหอยูภายใตความเห็นที่เปนขอตกลง
ของสมาชิกภายในกลุม โดยเปนกลุมคนที่มีความเขาใจในเรื่องธรรมชาติ กายภาพ วัฒนธรรมและ
ขอมูลดานพฤติกรรม ที่จะนํามาใชในการสรางสวนแสดงในสวนสัตว การออกแบบเปนขบวนการที่
จะรวบรวม คัดแยกและสรุปความคิดที่หลากหลายหรือบางสวนที่เปนทฤษฏี หลักการและขั้นตอน
เพื่อใหเกิดจุดรวมที่สมานฉันท
นักภูมิสถาปตยมักจะเปนผูออกแบบสวนแสดงสัตวที่อยูกลางแจง และเปนผูแปลงขอความที่
เปนความคิดและเปาหมายไปสูภาพที่มีมิติทั้งสามสวน (กวาง - ยาว - สูง ) โดยจะเปนผูเลือกและจัด
วางวัสดุทางธรรมชาติ เชน หิน ดิน น้ําและพืช ความสําเร็จในการแปลงเปาหมายและความคิด
ตองการออกแบบที่เปนการรวมเอาสวนตางๆ ในกระบวนการพัฒนาซึ่งมุงไปที่การสื่อสารขอมูลไป
111

ยังผูเที่ยวชม การออกแบบไมไดเปนผลิตภัณฑเชิงเดี่ยว แตเปนกระบวนการที่ตองรับผิดชอบที่จะ


รวมเอาเนื้อหาและคําอธิบายของสวนแสดง ที่สอดคลองกับธรรมชาติของขาวสารและปรัชญาของ
มนุษย
- เราเขาใจในขอมูลที่เรามีมากนอยเพียงใด
- ขอมูลสวนใดที่เราละเลยไปหรือไม
- เราจะมีการเชื่อมประสานระหวางสวนเนื้อหาที่มีทั้งหมดและคําอธิบายประกอบแลว
- เราไดมีการตรวจสอบแลวหรือยังวาสวนแสดงสัตวนั้นสอดคลองกับเปาหมายการทํางาน
ของสวนสัตวหรือยังและเชื่อมสวนตางของสวนแสดงเชน สวนที่สัตวอยู สวนของบริเวณบริการ
ประชาชน สวนใหการศึกษาอยางเหมาะสมและลงตัว
- เราไดมีการจัดวางองคประกอบตางๆ ที่สื่อไปยังผูเที่ยวชมใหเกิดภาพที่ชัดเจน นาสนใจ
สวนบริการผูเที่ยวชม การแปลวัสดุไปชวยเสริมเปาหมาย
พวกเราตองมีการปรับปรุงสิ่งกระตุนจากสิ่งแวดลอมเทาที่จะทําได เพื่อแสดงใหไดขอมูลที่ชัดเจน ที่
นาสนใจไปสูประชาชนโดยมีความหวังที่จะใหเกิดการบันทึกเกิดความกระตือรือรนในการอนุรักษ
การผสมผสานวิธีการทางสถาปตยกรรมในการออกแบบสวนสัตว ( An Integrated Approach to
Zoological parkitecture )
- อิทธิพลของแนวคิดของคุณ Hagenbeck ที่ใชในการออกแบบสวนแสดง ที่ไดมีสวนที่นําเสนอสิ่ง
ใหมใหเกิดขึ้นที่แตกตางจากสวนแสดงที่มีอยูเดิม
- มีผอู อกแบบบางคนที่มีความเชื่อวาหินเทียมไมไดมีความสวยงามไดทัดเทียมกับหินธรรมชาติและ
บางครั้งหินเทียมก็ไมเขากับลักษณะถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ
- ลักษณะทางกายภาพของสวนแสดงที่ออกมาจะแสดงถึงทัศนคติของผูออกแบบ ที่จะแสดงออกมา
ในเรื่องของการจัดวางและการตกแตง ( seting and furnishing ) สวนแสดงสัตว ซึ่งแสดงออกมาใน
หลายรูปแบบ ของนามธรรม รูปธรรม สถาปตยกรรม
- ในหลายๆสวนแสดงจะเปนตัวแทนของวิธีการออกแบบที่ไมสามารถสื่อสารเรื่องราวของสัตวชนิด
นั้นได เนื่องจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพที่เปนจุดสําคัญของถิ่นที่อยูเดิมของสัตวชนิดนั้นๆ ไมได
นํามาใชเปนแนวคิดในการออกแบบตั้งแตเริ่มตน
- พื้นที่สําหรับสัตวสวนแสดงสัตวในพื้นที่ของสวนสัตวโดยทั่วไปจะนอย การเพิ่มองคประกอบอื่นๆ
ที่จะเขามาชวยเสริมเพื่อใหไดภาพที่ดีขึ้นเชน นําลักษณะและสวนสําคัญที่แสดงถึงถิ่นที่อยู ขนาดและ
บรรยากาศของถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ
บทบาท ความสําคัญ และการออกแบบสวนแสดงที่มีลักษณะเปนสิ่งกอสรางหรือตัวอาคาร
ในสวนสัตวมีแนวคิด 2 ขอที่ตองพิจารณาคือ ขอพิจารณาอันแรกคือ สวนแสดงสัตวที่เปนลักษณะ
ตัวอาคาร( animal house ) ที่จะเปนการแสดงแบบจําลองสิ่งแวดลอมโดยรวมที่มีทั้งหมดเขาไปอยูใน
112

ตัวอาคาร และตัวอาคารนั้นวางอยูบนพื้นที่ที่มีการตกแตงพื้นที่ในรูปแบบของสวนสาธารณะ ( Park


setting )

ดูรูปที่ 68 Feline Building ที่ Toledo zoo


วิธีการทางสถาปตยกรรมที่นํามาใชใน
การออกแบบสวนแสดงกับตัวอาคารสวน
แสดงสัตว ( animal house ) การจัดวางที่
ใชตนไมเปนสวนเสริมแตงที่ตัวอาคาร
มากเปนพิเศษเพื่อชวยเปนสวนเติมเต็มกับ
ตัวอาคาร

วิธีการที่ 2 ที่ใหความสําคัญกับการออกแบบและสรางสวนแสดงทั้งในพื้นที่ภายในสวน
แสดง และพื้นที่คอกกักที่จําลองเอาลักษณะของถิ่น
ที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ โดยเลือกใชวัสดุที่เปน
ธรรมชาติ สวนตัวอาคารจะถูกพิจารณาความสําคัญ
ใหเปนลําดับที่ 2 และพยายามที่จะหาวิธีที่จะปดบัง
ใหเห็นโครงสรางใหนอยที่สุด
รูปที่ 69 Elephant exhibit, สวนสัตวนอรทแคโรไล
นา เปนวิธีการผสมผสานเพื่อลดการมองเห็นสิ่ง
ปลูกสรางตางๆ ที่มีในสวนแสดงสัตว ดวยการใช
วัสดุธรรมชาติ นวัตกรรมในการออกแบบเรื่องการ
เดินทางและเสนทางเดินภายในสวนสัตว ( แนวคิด
ทางสถาปตยกรรมคือลดการเห็นโครงสรางที่มีใน
113

สวนแสดงใหมากที่สุดและ การใชพืช หิน ดินเปนสวนประกอบสําคัญของสิ่งแวดลอมภายในสวน


แสดงสัตว )

เนื่องดวยลักษณะทางธรรมชาติที่นํามาใชในสวนสัตวมีหลายรูปแบบ ดังนั้นสิ่งแวดลอมที่มี
ในสวนแสดงสัตวตองเปนที่พึงพอใจของสัตว ผูเที่ยวชม ผูเลี้ยงสัตว การออกแบบสวนแสดง
ตองการกระบวนการที่ใชการพิจารณาที่ละเอียด ไมควรใชการรวบลัดหรือมองปญหาไมรอบดาน
มองอะไรก็งายไปหมด อะไรก็ไดไปเสียหมด การออกแบบดวยสาขาอาชีพใดอาชีพหนึ่งเชนวิศวกร
หรือนักภูมิสถาปตย ที่จะมีความถนัดในสาขาของตนเองเพียงอยางเดียว จะทําใหสิ่งที่ออกมาไมได
สนองตอบความตองการที่รอบดาน เราตองการความเขาใจ เราตองการความรวมมือที่ลงตัว มีสวน
แสดงที่ใชประโยชนได มีการจัดการดานการสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ มีการสรางสภาพแวดลอมที่
มีนาสนใจ เปนที่ชนื่ ชอบและชวยในเรื่องงานใหการศึกษาดวย
- การออกแบบสวนสัตวที่ดีจะใชวิธีการหลายวิธี เพือ่ ที่จะใชในการจัดวางและใชในงานกอสราง
โดยตองมองในเรื่องขอเท็จจริงที่วาสวนสัตวจะตองใชเวลาในการพัฒนาและปรับปรุงในสภาพ
สิ่งแวดลอมทางกายภาพ ใชเวลาในการปรับปรุงชนิดและจํานวนสัตวที่มีในสวนสัตว ใชเวลาในการ
ปรับปรุงเรื่องการจัดการ
- ดังนั้นการออกแบบควรจะอยูบนพื้นฐานของความรวมมือ โดยตองมีการปรับเปลี่ยนการตามความ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
- การออกแบบทางสถาปตยกรรมและการพัฒนาพื้นที่ความจะมีความยืดหยุนไปตามแผนงาน
สถานที่ ความสามารถในการจัดการและไมควรไปกําหนดใหไปอยูในความคิดของผูออกแบบคน
หนึ่งคนใด
การออกแบบสิ่งกอสรางในสวนสัตวมักจะเกิดเหตุการณ ในสิ่งสําคัญกลับไมใหความสําคัญ
แตกลับไปใหความสําคัญในสิ่งที่ไมควรใหความสําคัญ เชน
- ใหความสําคัญกับสถาปตยกรรมและการตกแตงสวนดานนอกสวนแสดงมากกวาใหความสําคัญ
การตกแตงภายในสวนแสดง
- การใชโครงสรางทางสถาปตยกรรมรวมสมัย (contemporary architecture ) ที่มีโครงสรางใน
ลักษณะที่สรางอารมณตื่นเตน และกินพื้นที่เขาไปพื้นที่สีเขียวที่จะใชปลูกตนไม
- การในโครงสรางสถาปตยกรรมแบบสมัยใหม (modern architecture ) และสรางความกลมกลืน
โดยการใชพืชที่มีราคาแพงเขามาประกอบ
- การจัดสวนในพื้นที่อยูนอกสวนแสดงที่มีรูปแบบในลักษณะเปนสวนที่จัดสําหรับตัวอาคาร ซึ่งไม
เหมาะสมกับพื้นที่แบบสวนแสดงสัตว หรือการใชองคประกอบหรือเครื่องตางๆ ที่ไมไดตอบสนอง
ความตองการที่ถูกตองและเหมาะสมตอสัตวหรือผูเที่ยวชม
114

- การใชคุณลักษณะของตัวอาคารหรือสิ่งกอสรางที่มีรูปราง สีหรือองคประกอบบางสวนที่บดบัง
คุณลักษณะที่ถูกตองและเหมาะสมของสวนแสดงนั้นๆ
- องคประกอบในสวนแสดงที่สรางขึ้นเพื่อเปนตัวแทน เชนแสงที่ผานพื้นคอนกรีตที่เปนตัวแทนของ
พื้นปาที่โลงเตียน หรือ การใชรูปทรงขององคประกอบในสวนแสดงเปนแบบ free form ( เชนสระ
น้ํา อาณาเขตของสวนแสดงสัตว ) ที่เปนรูปทรงแบบที่พบตามธรรมชาติ แตจากทั้ง 2 ตัวอยางนี้
อารมณที่เกิดขึ้นไมสามารถใชจําลองไดกับสภาพที่เกิดขึ้นในถิ่นที่อยูของสัตวได
- สวนแสดงทีไ่ มสามารถสื่อสารในเรื่องของงานใหการศึกษา งานดานการอนุรักษ และความบันเทิง
ได
การตอบสนองความตองการของผูเที่ยวชม ( People Considerations )
การออกแบบสวนแสดงสัตวตองใหความสําคัญกับกับพฤติกรรมของผูเที่ยวชม โดยมี
ประเด็นที่ตองสรางความเขาใจเปนเบื้องตนเชน
- ตองมีความเขาใจวาลักษณะของสิ่งแวดลอมที่ดึงดูดความสนใจและชวยใหผูเที่ยวชมสามารถสรุป
รวบรวมองคประกอบที่มีทั้งหมดในสวนแสดงวาจะเกิดภาพในลักษณะเชนใดขึ้น
- วิธีการออกแบบสวนแสดงควรจะเริ่มที่รูปแบบที่มีการตอบสนองหรือมีเปาหมายทางดาน
อารมณ กอนที่จะเลือกและจัดการสวนประกอบสวนแสดง
- สวนแสดสัตวตองมีการออกแบบเพื่อใหใชประโยชนตามความตองการในดานตางๆ
(range of function ) เพื่อที่จะตอบสนองความตองการของผูเที่ยวชมได

ดูรูปที่ 70 Small Mammal National Zoo , Washington DC. การออกแบบสวนแสดงการออกแบบสวน


แสดงสัตวตองใหความสําคัญกับพฤติกรรมของผูเที่ยวชม โดยพิจารณาผูเที่ยวชมจะไดเห็นสัมผัส
อะไร การจัดการสิ่งแวดลอมที่จะทําใหเกิดแรงจูงใจอยางไรที่จะทําใหเกิดความตื่นเตน สรางความ
พึงพอใจใหกับผูเที่ยวชมที่เขาสวนสัตว ทีม่ าดวยความคาดหวังและความตองการ
115

- สวนแสดงในสวนสัตวที่ดีจะตองมีการนําเสนอแนวคิดใหกับประชาชน
- ตองมีสวนที่ใหบริการตอประชาชน
- ตองสรางความสนุกสนาน
- มีรูปแบบที่ไมเปนทางการ
- มีสวนใหการศึกษา
- เปนที่รองรับกับผูเที่ยวชมทุกกลุมอายุ
- สรางความรูสึกดีเชิงบวกกับองคกรและตัวสัตว
- เตรียมสิ่งที่นาสนใจและรูปแบบใหมในการชมสัตวและพืช
- ใหผูเที่ยวชมไดมองเห็นสัตวโดยที่ไมมีการเบี่ยงเบนความสนใจ ใหสัตวเปนสิ่งที่โดดเดน
ที่สุดในสวนแสดง
- มีความปลอดภัยใหกับผูเที่ยวชม
- ตองสรางบรรยากาศเหมือนกับวาสัตว พืช มีชีวิตอยูในปา ( Robinson, 1985 )
การสรางความนาสนใจใหเกิดกับผูเที่ยวชม มีความจําเปนที่จะตองทําใหเกิดขึ้นเพื่อความ
ชัดเจนในการสื่อสารของหัวขอของงานใหการศึกษา ผูเที่ยวชมจะตองถูกนําเขาสูสวนแสดงดวย
วิธีการเขามาทีถ่ ูกสรางใหเกิดความคาดหวัง เชนในการเที่ยวชมสวนสัตวในเวลากลางคืนที่มี
บรรยากาศของความมืดที่มีความลึกลับ ตื่นเตน หรือการเที่ยวชมสวนสัตวในเวลากลางวัน ทีให ่
ความสําคัญกับลําดับการชม ใหดูวากอนที่จะเขามาที่สวนแสดงนี้ไดชมสวนแสดงใดมากอน สามารถ
เชื่อมโยงเนื้อหากันไดหรือไม
ความประทับใจเมื่อเริ่มตนในการชมสวนแสดงจะเปนสวนที่มีความสําคัญมาก เพราะจะเปน
สวนที่มีอิทธิพลตอการเที่ยวชมในลําดับถัดๆมา สิ่งที่เห็นเปนลําดับแรก จะเปนภาพที่มีความซับซอน
ตอมาผูเที่ยวชมจะกวาดสายตาใหกวางที่สุดกอนภายในเวลาที่สั้นที่สุด เพื่อที่จะกําหนดทิศทางและ
พรอมที่จะชมภาพอื่นๆที่อยูขางหนาตอไป ดังนั้นความสนใจของผูเที่ยวชมตองอยูในระดับที่นาพึง
พอใจในชวงการชมครั้งแรก ถาผูเที่ยวชมเห็นสัตวที่ปวยหรือมีความพิการ ผูเที่ยวชมก็จะเกิดความไม
พึงพอใจเกิดขึ้น ( Hutchins , Hancocks, and Crockett, 1984 )
ผูเที่ยวชมจะมีแนวโนมที่จะใชเวลาสั้นๆ ในการชมสวนแสดงแตละแหง โดยมีความคิดวา
นาจะเดินไปขางหนาอาจจะพบอะไรที่หนาสนใจที่อยูขางหนาก็ได ซึ่งลักษณะของสวนสัตวที่มีความ
หลากหลายของสัตวจะเปนตัวกระตุนพฤติกรรมของผูเที่ยวชมในลักษณะดังกลาว ดังนั้นงานที่สําคัญ
สวนหนึ่งของการออกแบบสวนสัตวที่ไมเพียงแตดึงดูดความสนใจของผูเที่ยวชมเทานั้น แตตองใหผู
เที่ยวชมใชเวลามากขึ้นในแตละสวนแสดงดวย
การจัดวางองคประกอบ การสรางอารมณและการนําเสนอเมื่อเขาสูสวนแสดง ควรจะสราง
อารมณใหกับผูดู เชน ความกลัวที่สามารถกระตุนไดอยางรวดเร็วใหเกิดความตืน่ เตนซึ่งเปนรูปแบบที่
116

มีอิทธิพลที่ทรงพลัง แตไมควรเปนอิทธิพลเชิงลบ แตถาใชไดอยางเหมาะสมก็จะเกิดความตื้นเตน


เหมือนกับรถไฟเหาะตีลังกา ( ที่มีความสนุกตืน่ เตนและความปลอดภัย ) ที่จะทําใหเกิดความ
ประทับใจ เกิดความทรงจําขึ้นทันทีเมื่อไดพบเห็น ภาพที่จะใชเชนผูเที่ยวชมไดเขาไปใกลและเห็น
สัตวที่มีอันตรายอยางใกลชิด เชนสัตวกินเนื้อขนาดใหญ สัตวกินพืชที่มีขนาดใหญ สัตวที่มีพิษ
สวนแสดงทีจ่ ัดใหผูเที่ยวชมอยูในตําแหนงที่เห็นสัตวกินเนื้อ หรือเห็นเหยื่อที่เปนสัตวมีชีวิต มีการจัด
มุมที่นําเสนอเปนภาพเคลื่อนไหวจากโทรทัศน เปนกลไกที่ใหผเู ที่ยวชมเห็นความรูสึกที่เหยื่อมีการ
หนีหรือดิ้นรมที่จะมีชีวิตอยูตอไป หรือเห็นความสามารถของผูล าทีต่ องมีที่ตองแสดงออกมาเพื่อหา
อาหารเลี้ยงชีวิต ซึ่งเมื่อผูเที่ยวชมไดมีโอกาสชมในสิ่งที่แปลกใหมจะเปนการสรางจุดสนใจใหกับผู
เที่ยวชม
สัตวควรปรากฏตอสายตอผูเที่ยวชมในสภาพที่ไมถูกบังคับและผูเที่ยวชมตองไดรับการดูแล
อยางเต็มที่ มิใหไดรับอันตรายที่เกิดจากตัวสัตวในสวนสัตว เพื่อใหผูเที่ยวชมเกิดความรูสึกวาสิ่งที่
เห็น เชน สัตวกินเนื้อขนาดใหญไมสามารถออกมาทําอันตรายได ( Coe,1985 )
ระดับของความไมแนนอน ระดับของความนาสงสัย ( Uncertainty )จะมีผลตอภาพที่ผูเที่ยว
ชมเห็น ผูเที่ยวชมจะลดพื้นที่ในการมองลง ในบริเวณหรือพื้นที่ที่มีระดับความไมแนนอนหรือความ
นาสงสัยสูง เพื่อใหผูเที่ยวชมเห็นสวนแสดงเปนลําดับของสิ่งแวดลอม การใชสีที่กลมกลืนกัน
พื้นผิว รูปแบบและขนาดจะชวยใหผูเที่ยวชมสามารถประมวลภาพของสวนแสดงหนึ่งๆ ที่
ประกอบดวยสวนประกอบตางๆ ไดงา ยและเร็วขึ้น ( การไปชมสัตวเลื้อยคลานขนาดเล็ก เชนงู
เพื่อใหเห็นตัวสัตวไดงายขึ้นผูออกแบบจะตองใชกรงขนาดเล็ก การตกแตงกรงใชวัสดุที่เหมาะสม
เชนทอนไมขนาดเล็ก พืชขนาดเล็กในการตกแตงกรง )
- ขอควรระวังในการออกแบบคือ การเกิดภาพที่เกิดความขัดแยงของขอมูลดานการศึกษากับฉากของ
สวนแสดง ( เชน การตกแตงสวนแสดงดวยตะบองเพชรซึ่งจะสื่อถึงพื้นที่แบบทะเลทราย แตนําสัตว
ในปาดิบชื้นเขาไปจัดแสดง )
- เปนเรื่องที่ยากที่จะนําเสนอเรื่องราวจากสวนแสดง ที่มีรูปรางสี่เหลี่ยมเหมือนหองน้ํา
- ความสอดคลองเนื้อหาที่จะสื่อทั้งหมดในสวนสัตวจะทําไดยาก เนื่องจากมีรูปแบบของปาย หรือ
สื่อความหมายหลากหลายๆ รูปแบบที่ไดมีการกอสรางในชวงหลายๆปที่ผานมา
- ปายหรือรูปแบบการสื่อเนื้อหาในรูปแบบอื่นๆ เปนสิ่งที่มีความจําเปนสําหรับการสื่อสารที่ประสบ
ความสําเร็จและเทคนิคที่เลาเรื่องราวตองมีความหลากหลายใหเหมาะสมกับเนื้อหา
ในอดีตชนิดสัตวที่มีลักษณะสีขนกลมกลืนกับสิ่งแวดลอมที่สัตวอยู จะถูกนํามาจัดแสดงใน
สวนจัดแสดงที่มีฉากหลังฉูดฉาด หรือมีสีพื้นสีเดียวที่ตัดกับสีของตัวสัตวเพื่อใหผูเที่ยวชมมองเห็นตัว
สัตวไดอยางชัดเจน แนวคิดนี้คือ ตองการใหสัตวทุกตัวปรากฏตัวอยูในสวนแสดงสัตวตลอดเวลา
แตแนวคิดนี้ผูเที่ยวชมจะไมมีโอกาสสัมผัสถึงความสามารถในสัตวบางชนิด ที่สามารถอําพราง
117

ตัวเองใหกลมกลืนกับสิ่งแวดลอมไดและไมไดสัมผัสความซับซอน หลากหลายของธรรมชาติ รวมทั้ง


ความสนุกสนานที่จะพึงมี เนื่องจากการคนหาตัวสัตวที่มีในสวนแสดง ( Bacon and Hallet,1981)
อีกวิธีหนึ่งที่จะปรับปรุงและยืดเวลาที่ผูเที่ยวชมจะใชเวลาในการชมสัตวนานขึ้น โดยผานการ
สังเกตโดยตรง
ดูรูปที่ 71 Children’ s Zoo / Education center ที่
Washington Park Zoo การอยูรวมกับสัตว โดยผาน
การสัมผัสอื่นๆจะเพิ่มเวลา เกิดความประทับใจ
และทําใหผูเที่ยวชมเกิดความสนุกสนาน

ผูเที่ยวชมจะใชการสัมผัสโดยวิธีการอื่นๆ เพื่อที่จะทราบรายละเอียดของสัตวชนิดนั้นๆ มาก


ขึ้น การสรางสวนแสดงที่ผูเที่ยวชมมีสวนรวมและสามารถสัมผัสได ( participatory and hand on
exhibit ) การมีสวนรวมของผูเที่ยวชมที่จะทําใหเกิดการเปรียบเทียบ ที่จะสามารถแยกแยะความ
แตกตางได( comparative identification )ซึ่งสามารถใชประโยชน ในการนําสื่อสารขอมูลดานการ
อนุรักษและวัฒนธรรม
เปนหนาที่ของผูออกแบบที่จะตองนําผูเที่ยวชมใหมีสวนรวมกับสวนแสดง ทีจ่ ะทําใหเกิด
ความปฏิสัมพันธในระดับสูง ผูเที่ยวชมเมื่อไดสัมผัสกับการแสดงออกของสัตวในสวนแสดงใน
หลากหลายลักษณะ เชน การไดยินเสียง เห็นการเคลื่อนไหวในรูปแบบตางๆ รับกลิ่นที่ไมพึง
ประสงค สิ่งเหลานีจ้ ะเปนตัวเสริมกับภาพที่เขาไดเห็น ใหเพิ่มอรรถรสมากยิ่งขึ้น ทําใหภาพที่ไดรับ
มีอารมณและความรูสึก เปาหมายทางการศึกษาของผูออกแบบคือ การทําใหเกิดปฏิกิริยาตอบกลับที่
สรางความรู สติปญญาจากการสัมผัสจากภาพที่ทําใหเกิดอารมณ และมีองคประกอบจากประสาท
สัมผัสดานอื่นๆ นอกจากการเห็น ซึ่งเปนสิ่งที่จะทําใหผูเที่ยวชมไดเกิดการเรียนรูมากขึ้น
ขอสรุปของผูเที่ยวชมเมื่อเขามาเที่ยวในสวนสัตวนั้น จะเกิดขึ้นจากการสังเกตที่ไดเห็นความ
แตกตางระหวางสัตวหลายชนิด ที่อาศัยสวนแสดงสัตวที่สามารถจําลองถิ่นที่อยูของสัตวชนิดตางๆ
118

นั้นได รวมทั้งสวนแสดงเอื้อใหสัตวสามารถแสดงพฤติกรรมพื้นฐานไดเปนอยางดี เมื่อผูเที่ยวชมเห็น


ภาพที่นาประทับใจที่มีความแตกตางกันของภาพเหลานี้ ผูเที่ยวชมก็จะเกิดความเขาใจในเรื่องของ
เรื่องราวในหลายๆ แงมุมของสัตวชนิดนั้นๆและความสัมพันธในระบบนิเวศ ซึ่งจะเปนสวนสําคัญที่
จะสามารถสื่องานดานการอนุรักษไดชัดเจนยิ่งขึ้น ( Muller,1975)
การพิจารณาจากความตองการของสัตว ( Animal Consideration )
สุขภาพและสวัสดิภาพของสัตวที่อยูในกรงเลี้ยง เปนสิ่งที่มีความสําคัญสูงสุดที่จะตองถือ
เปนปจจัยที่สําคัญของในการออกแบบ ดังนั้นทีมงานผูออกแบบตองประกอบไปดวยผูมีประสบการณ
ที่มีความรูและความสามารถ เชนผูเลี้ยงสัตว สัตวแพทยที่รับผิดชอบดูแลสัตวชนิดนั้นมานานและมี
ขบวนเก็บขอมูลที่เปนระบบ ซึ่งเปนความตองการสําหรับทุกๆ สวนแสดงที่จะสรางขึ้นใหมหรือทํา
การปรับปรุง เพื่อใหไดสวนแสดงที่มีความบกพรองนอยที่สุด
เปนเรื่องที่ยากที่จะเขียนถึงกฏในการเลี้ยงดูนกทุกชนิดที่อยูในสภาพกรงเลี้ยง โดยเฉพาะที่
อยูในสวนสัตว เนื่องจากความแตกตางในดานความตองการที่จะดูแลสัตวหลายๆชนิด เรามีกฏ
เพียงไมกี่ขอที่สามารถใชไดกับทุกกรณีโดยที่ไมมีขอยกเวน ความคาดหวังจากสาธารณะที่มักจะมี
ความเห็นที่ขัดแยงกับกับผูเลี้ยง ที่ตองการจะมุงการทํางานไปที่งานดานการอนุรักษ นอกจากนั้น
ความจริงคือสวนสัตวหลายๆแหงทีม่ ีขอผิดพลาดเกิดขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นถือวาเปนสิ่งใหม ใหถือวาสิ่ง
นั้นเปนขอเตือนใจ..
มีการตีพิมพขอมูลที่กลาวถึงสิ่งแวดลอมที่จําเพาะและที่เหมาะสมสําหรับสวนแสดงสัตวใน
หลายชนิด โดยเฉพาะขอมูลในสวนของงานดานภูมิสถาปตย ในขบวนการการออกแบบซึ่งตอง
ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญในหลายสาขาอาชีพเขามารวมเพือ่ ใหขอมูล สรุปขอมูลและตรวจสอบแบบ
งานกอสรางใหไดแบบสําหรับใชในงานกอสราง เพื่อใหไดสวนแสดงที่มีสภาพเหมาะสมกับสัตว
ชนิดนั้นๆ ที่กลาวมาทั้งหมดเปนความรับผิดชอบรวมกันของทีมงานทั้งหมด ไมใชของผูหนึ่งผูใด
เพราะไมมีการออกแบบใดที่สมบูรณแบบ แตควรใหมีความผิดพลาดนอยที่สุด เนื่องจากการ
ออกแบบมีปจจัยที่เปนขอจํากัดที่ทําใหความตองการของหลายฝายไมสามารถบรรลุตามความตองการ
ได
สวนแสดงตัวบีเวอรที่ดี นั้นจะตองมีสิ่งรบกวนนอยที่สุด เพื่อใหคูที่จะผสมพันธุไดมีโอกาส
แสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ ดังนั้นในเรื่องของความปลอดภัย สวนของสระน้ําและคอกกักที่ไมถูก
รบกวน จะตองมีการจัดหาไมสดใหทุกวัน ( Friedman, 1987 )
การสรางความนาสนใจกับสัตวและสวนแสดงสัตวแตละชนิดใหเกิดกับผูเที่ยวชม เปนเรื่องที่
มีความสําคัญที่เราจะตองพิจารณา โดยองคประกอบทีม่ ีผลตอความนาสนใจของสวนแสดงเชน
ตําแหนงของสวนแสดงในสวนสัตว ลักษณะของพื้นที่และความเหมาะสมถึงเรื่องราวใหการศึกษา
สัตวที่นารัก สัตวที่ดูสงางามจะเปนสัตวที่ไดรับความสนใจ แตสัตวที่ดูแลวไมสวยงาม (ในความรูสึก
119

ของคน ) แตเปนที่นิยมทีจ่ ะจัดแสดงเหลานี้เชน หนูที่อยูในสวนแสดงที่อยูภายในทอระบายน้ําที่


Emmen และ Insect world ที่ Cincinnati เปนตัวอยางที่นําเสนอผูเที่ยวชมในรูปแบบของความไมนาดู
ผูเ ที่ยวชมมักจะมีจุดเริ่มตนปฏิกริยาในทางที่ไมพึงพอใจกับสัตวที่มีลักษณะไมนาดู แตสวนแสดง
จะตองพยายามบอกใหผูเที่ยวชมไดเห็นจุดที่นาสนใจ และทําใหเห็นคุณคาของสัตวชนิดนั้นดวยการ
อธิบายสิ่งที่ไมนาดูนั้น เกิดจากการปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมที่สัตวชนิดนั้นอาศัยอยู สวนแสดงที่
เปนที่ชื่นชอบของผูเที่ยวชม มีองคประกอบหลายอยางที่สามารถตอบสนองกับผูเที่ยวชมหลายกลุม
มีความเหมาะสมกับสัตวที่อาศัยอยูในสวนแสดงนั้น ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมดนั้นมาจากขบวนการการ
ออกแบบ การปรับปรุงพัฒนาของสวนสัตวในทุกสวนงาน และความตอเนื่องในเรื่องของการจัดการ
ของเจาหนาที่ทั้งหมดที่ตองทําทุกวัน

ดูรูป 72 อูฐโหนกเดียว ที่ Toledo Zoo นกฟลามิงโกที่ Brokfield Zoo หมีขาวขั้วโลกที่ Milwaukee
country zoo ความสําเร็จของสวนแสดงสัตวนั้นเกิดจากองคประกอบหลายประการ ที่จะตอบสนอง
ความตองการของผูเที่ยวชม แตความสําเร็จที่เปนจุดสําคัญแลวเพื่อสัตวที่อยูในกรงเลี้ยง นั้นหมายถึง
ตองเริ่มตนทีก่ ารใหความสําคัญกับการออกแบบ การพัฒนาและการจัดการที่ถูกตองเหมาะสม
120

สวนแสดงที่ดีนั้นคือ สวนแสดงที่เปดโอกาสใหใหสัตวแสดงพฤติกรรมการสืบพันธุเปนปกติ
ปลอดภัยสําหรับผูเลี้ยงสัตว สัตวอยูในสิ่งแวดลอมที่เปนสภาพทีเ่ หมาะสมคลายกับสิ่งแวดลอมที่
แทจริง รวมทั้งที่ความเครียดที่เปนธรรมชาติของชีวิต การที่ยกเอาความเครียดออกไปโดยการทําให
ชีวิตงายดาย ปลอดภัยไปเสียหมดจะทําใหสัตวสรางความเครียดที่ไมเปนธรรมชาติขึ้น สัตวจะ
แสดงอาการที่แสดงถึงความผิดปกติทางพฤติกรรม ขอดีของการใหสัตวอยูรวมกันหลายชนิดที่จะทํา
ใหเกิดปฏิสัมพันธ ที่จะทําใหเกิดความเครียดที่เปนธรรมชาติ เชนตัวอื่นๆ เขากําลังทําอะไรอยู การ
ใหโอกาสที่สัตวจะไดเลี้ยงลูกออน เปนการเปดโอกาสใหสัตวไดแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ ซึ่ง
สภาพโดยทั่วไปในสวนแสดงตองความปลอดภัยสําหรับสัตวและผูเลี้ยงสัตว ( Robinson,1985 )
การออกแบบสวนแสดงสัตว
ในปจจุบัน การออกแบบสวนแสดงอยูในชวงการพัฒนา ซึ่งจะมีรูปแบบหลายรูปแบบเชน -
การจัดแสดงสัตวทมี่ ีการสื่อแนวคิดชัดเจน( thematic display )
- การจําลองใหใกลเคียงถิ่นทีอ่ ยูเ ดิม ( replication of the animal’s natural habitat )
- สวนแสดงที่มีสัตวหลายชนิดอยูรวมกัน ( mix species exhibit)
- รูปแบบตามระบบนิเวศวิทยา ( ecological theme )
- การจัดการตามลักษณะพฤติกรรมของสัตว ( behavioral engineering )
ยังไมมีขอสรุปวาถึงรูปแบบที่ดีที่สุด( เปนธรรมชาติหรือเปนแบบนามธรรม ) ปะการังเทียม
ที่ Shedd Aquarium หรือปาดิบชื้นจําลองที่ Tropical world ที่ Brookfield zoo ดูแลววาไมมีความ
แตกตางในเรื่องของการแสดงพฤติกรรมของสัตว แตมีความแตกตางในเรื่องของปฏิกิริยาของผูเที่ยว
ชม การจะจําลองสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติภายในสวนแสดงจะทําในรูปแบบใด ขึ้นอยูกับชนิดของ
สัตว เปาหมายดานงานใหการศึกษา งบประมาณ พื้นที่และความคิดสรางสรรคของทีมงาน
ในชวงเวลา 10 ปที่ผานมาการออกแบบสวนแสดงสัตวสวนใหญ จะมีการเปลี่ยนแปลงไปใน
ทิศทางที่จะปรับปรุงคุณภาพของชีวิตสัตว สิ่งที่เปนตัวขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลงเกิดจากปรัชญา
ที่ผูที่เขามาจัดการสวนสัตวรูวาสัตวในกรงเลี้ยงไมไดตองการเพียงอาหาร น้ําและหองเปลาๆ เพื่อ
การมีชีวิตอยูเทานั้น การออกแบบคือ การสรางถิ่นที่อยูที่เปนปาและสามารถควบคุมสิ่งแวดลอมได
( Tolson,1985 )
สภาพแวดลอมในพื้นที่ที่จะสรางสวนแสดง เปนสวนสําคัญตอสภาพแวดลอมที่จะจัดใน
สวนแสดงในสวนของพืชพรรณ น้ํา ลักษณะภูมิประเทศ การวางตําแหนงและทิศทาง
ลักษณะของปา northeast Asia template forest จะมีความใกลเคียงกับ Wooden
Pittsburgh hill ที่อยูรอบสวนสาธารณะ การใหคําแนะนําที่เปนรูปภาพที่อธิบายความเหมือนและ
ความแตกตางระหวางสองพื้นที่ เชนชนิดของตนไมทีแตกตางจากตนไมทอี่ ยูใ นเขต Asia เชน สน
เมเปล birch โอค จูปเตอร ( Coe,1984 )
121

ชนิดของพืชพันธุ ทิศทางและ ตําแหนงจะเปนสวนที่สําคัญในการเลือกพื้นที่สรางและมีผล


ตอลักษณะของสวนแสดงหมีแพนดาที่ Louisvill zoo ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีความชันเพียงเล็กนอย พื้นที่
ประกอบดวย ตน white oak และ scarlet oak เนินเขาจะชวยบังแสงแดดในชวงบาย มีตนไมที่
ชวยกันลมหนาวทีพ่ ัดเขามาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือในชวงฤดูหนาว ( Poglayen-Neuwall, 1974 )
คลายคลึงกับตําแหนงของสวนแสดงนกน้ํา ( The waterfowl exhibit ) ครอบคลุมพื้นที่สวนหนึ่งของ
the temperate deciduous forest zone และเปนพื้นที่ที่มีปาไมแบบเบญจพรรณ เชน buch, elm,
locust , bird และสน ( Coe , 1980 )
พื้นที่ของสวนสัตวเปน พื้นที่ที่เปนธรรมชาติ สิ่งปลูกสรางที่เกิดขึ้นในสวนสัตวเชน เชน
อาคาร ถนน รั้ว สะพาน สายไฟและปายตางๆ ความโดดเดนของวัตถุเหลานี้จะขัดแยงกับ
บรรยากาศของสวนแสดง ผลกระทบจากสิง่ ทีม่ องเห็นเหลานีค้ วรลดลงดวยการใชการออกแบบและ
จัดวาง เชน คอกกักของแรดที่สวนสัตว Pittsburg Zoo จะซอนสวนที่เปนตัวอาคารไวหลังเนิน ใน
สวนของคอกกัก รั้ว ควรจะตองซอนจากสายตาของผูเที่ยวชม ถาสิ่งเหลานี้จะเปนสวนที่รบกวนภาพ
ของความเปนปาของสวนแสดงสัตว ( Coe, 1984 )
ฉากหลังของสวนแสดงชะนีจะเปนตัวอยางที่จะทําใหเกิดการพูดคุยในเรื่องการจัดการสวน
แสดงสัตว โดยสวนแสดงนี้จะใชมีคอนกรีตเปนวัสดุหลัก คอนกรีตเมื่อนําใชเปนวัสดุทําผนังจะเปน
วัสดุที่ลิง ชะนีปนไมไดเนื่องจากเปนพื้นผิวที่เรียบ ไมมีทจี่ ับ รวมทั้งคอนกรีตที่ตั้งในแนวดิ่งจะมี
ความสูงและชัน ยังใชเปนสวนของกําแพงสําหรับพื้นที่ของสวนแสดงดานในและคอกกัก
ดังนั้นโจทยขอหนึ่งที่เกิดขึ้นคือคอนกรีตเหมาะสมกับการสรางสวนแสดงนี้ เพื่อตอบแนวคิด
การจําลองถิ่นที่อยูตามธรรมชาติหรือไม ซึ่งเปนงานที่ไมงายเลยในการนําไปปฏิบัติ โดยใชตัวอยาง
จากสวนแสดงชะนีทใี่ ชปูนปนเปนสวนประกอบ ภาพที่ปรากฏเปนการสื่อสารที่ไมถูกตองไปยังผู
เที่ยวชม สิ่งที่พบเห็นในเอกสารที่จะเลือกวัสดุปูนปนเขาเปนวัสดุในงานกอสรางคือ การเขียนวาการ
ใชเทคนิคปูนปนนี้เพือ่ ใหเกิดความนาประทับใจ ( impression ) ถาใชคําวา impression และนํา
คอนกรีตมาเปนวัสดุ จึงเปนการสรางปาคอนกรีตเปนสิ่งที่ไมเหมาะสมสําหรับมุมมอง และไม
เหมาะสมสําหรับการเปนสวนที่กันสัตวออกและเปนตัวแบงอาณาเขตระหวางคนสัตว ( barrier )
คําถามย้ําที่มตี อเนื่องไปเชน คอนกรีตเปนวัสดุที่สามารถสื่อไปยังวาผูเที่ยวชมวานี่คือลักษณะ
ของถิ่นที่ที่แทจริงของชะนีไดหรือไม ( Karstein, 1977 )
ลักษณะของพื้นที่วาง ( Spatial Character )
ความเปนธรรมชาติของภาพของสวนแสดงที่ปรากฏตอผูเที่ยวชม จะถูกกําหนดจากตัว
เปาหมายของสวนแสดง ซึ่งเปาหมายนั้นคือความพยายามที่จะหาวิธีการที่จะสามารถสนองความ
ตองการทางดานจิตใจและความตองการทางชีววิทยาของของสัตวชนิดนั้นๆ
122

การออกแบบที่เหมาะสมตอความตองการของสัตวตองมีการปจจัยภายในเชน พืชพรรณ
ภายในสวนแสดง คอนใหนกเกาะ อางอาบน้ําสําหรับสัตวที่ชอบเลนน้ํา สัตวสวนใหญจะใชพืชทีม่ ี
ในสวนแสดงสําหรับการซอนตัว ถาสัตวเหลานี้มีการเคลื่อนไหวไปมาที่สะดวก การปลูกตนไมใหดู
เปนธรรมชาตินั้นขอดีเพิ่มเติมอีกหลายประการ ( แตตองมีเงื่อนไขที่ตองเลือกชนิดของตนไมให
เหมาะสมดวย ) เชน เปนสวนชวยหนุนในงานใหการศึกษา เปนจุดกินน้ําสําหรับสัตวที่กินน้ําจาก
ใบไม หรือหยดน้ําที่หยดจากใบไม ชวยรักษาระดับของความชื้นที่เหมาะสมภายในกรงเลี้ยง การมี
ตนไมจะชวยลดความเครียดของสัตวเนื่องจากกิจกรรมของผูเที่ยวชม การที่หลบภัย (คอกกัก )มี
ความจําเปนมากสําหรับบางสวนแสดง โดยเฉพาะสวนแสดงที่มีสัตวเปนคู มีตัวผูมากกวา 1 ตัว
ในฤดูผสมพันธุ สัตวที่เปนตัวดอยจะไมสามารถหนีจากตัวผูที่ดุและแข็งแรงได การตายเนื่องจาก
ความเครียดจะเปนผลที่เกิดติดตามมา ( Tolson, 1983 )
จุดประสงคของสวนแสดง ในหลายจุดประสงคเชน การตกแตงสวนแสดงใหเลียนแบบ
ธรรมชาติพบวา เปนการใหความสําคัญในดานงานใหการศึกษา มากกวาความตองการของสัตว
รวมทั้งแนวคิดการแสดงในลักษณะที่เปนรูปแบบ( The thematic system display concept ) ที่จะมีผล
โดยตรงตอความสําเร็จที่ใหความสําคัญกับงานใหการศึกษาของสวนแสดง
การกอสรางสวนแสดง ปาดิบชื้นสําหรับนกที่ Taronga Zoo เปนตัวอยางที่ดีของแนวโนม
การออกแบบสวนสัตวที่ใชการจัดแสดงที่มีรูปแบบ ( the thematic display ) ซึ่งในปจจุบันการ
ออกแบบที่ใหความสําคัญกับลักษณะรางกายของสัตว และความตองการทางดานจิตใจของสัตว
โดยเลียนแบบถิ่นที่อยูของสัตวที่สามารถตอบสนองกับสัตวไดนั้น เปนแนวคิดที่ไดรับการยอมรับ
อยางกวางขวาง
มีสวนแสดงสัตวไมมากนักที่จะสามารถสื่อในเรื่องงานใหการศึกษาไดสําเร็จในระดับที่นาพึง
พอใจ สวนแสดงสัตวที่มวี ิธีการจัดแสดงสัตวที่มีรูปแบบจะเปนวิธีการรักษาสิ่งที่ถูกละเลยไป ( The
thematic approach is an attempt to remedy this omission. ) ภายใตหลักการนี้คือการจัดการ
สัตวและสวนแสดงเพื่อสื่อถึงภาพหนึ่งภาพหรือหลายภาพ ซึ่งเปนภาพที่มีเนื้อหาอยูในหลักวิชาเชน
- animal natural history
- พฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตวชนิดนั้น (Behavior)
- ลักษณะของสัตวที่ปรับตัวใหเขาถิ่นทีอ่ ยู (Physical adaptation)
- การแบงสัตวเปนกลุมๆตามลักษณะทางรางกาย (Taxonomic relationship)
- ประเด็นอื่นๆ ในเนื้อหาของวิชาชีววิทยา (Other feature of its biology)
ซึ่งสามารถสรางประเด็นในแงความแตกตางของสวนประกอบของสัตวปา การจําลองสิ่งแวดลอม
และการอธิบายโดยการใชปายและรูปภาพ (Muller, 1977)
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของสวนสัตวในสังคมมีผลจากสาเหตุหลายประการเชน
123

- การเพิ่มขึ้นของทําลายพืชพรรณและสัตวปาทั่วโลก
- ปญหาที่มนุษยตองเผชิญกับความไมแนนอนของธรรมชาติทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเชน ปญหา
โลกรอน น้ําทวม ความแหงแลง
- ผูเที่ยวชมใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น
- สวนสัตวมคี วามสําเร็จของการเพาะขยายพันธุส ัตวในสภาพกรงเลี้ยง
มีผลใหสวนสัตวเตรียมเรื่องงานใหการศึกษาตามความเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผูเที่ยวชม
การจัดองคประกอบในสวนแสดงและพื้นที่โดยรอบใหอยูในสภาพที่เปนธรรมชาติ จะชวยใหสวน
สัตวสามารถตอบตอความตองการของผูเที่ยวชมที่เขามาเที่ยวในสวนสัตวได
ในนกเหมือนกับสัตวชนิดอื่นที่มีรายชือ่ อยูในรายการสัตวที่อยูในการเสี่ยงตอการสูญพันธุ
รวมทั้งรายชื่อดังกลาวก็มีอัตราที่เพิ่มขึ้นจนอยูในระดับทีไ่ มสมดุลกับจํานวนของประชากรไมถูก
รบกวน เหตุผลเหลานีท้ ําใหสวนสัตวตองแสดงบทบาทของผูผลิต ในสวนที่ผลิตไดคือจัดการสัตวที่
ตนครอบครองอยูใหถูกตองและเหมาะสม เพื่อใหสัตวเหลานี้สามารถเพิ่มจํานวนขึ้นในสวนสัตวได
ลดบทบาทการเปนผูบริโภคอยางเดียวที่นําสัตวตัวใหมเขามา เมื่อสัตวที่มีอยูเดิมตายไปเหมือน
ในชวงที่ผานมา กระแสความคิดที่สวนสัตวเปนผูนําสัตวจากปายังคงมีอยางตอเนื่อง การลดกระ
ดังกลาวทําไดโดยการใชการออกแบบสวนแสดงสัตวเขามาเกี่ยวของ จัดสภาพสวนแสดงสัตวใหดู
สมจริง สัตวสามารถปรับสภาพตัวเองใหเขากับสภาพภายในสวนสัตวได ภาพที่บังเกิดขึ้นเพื่อใหผู
เที่ยวชมไดเกิดการเรียนรูมากขึ้นในเรื่องชีวิตของนก ซึ่งผลที่จะติดตามมาคือเปนการเสริม
ภาพลักษณของสวนสัตวใหดียิ่งขึ้น ( Osten, 1985 )
คําจํากัดความของสวนแสดงสัตวที่จําลองเอาลักษณะของถิ่นที่อยูมีดวยกันหลายคํา ซึ่งในที่นี้
ยกมา 3 ประโยคดวยกันคือ 1. Realistic Nature Habitat 2. Modify Nature Habitat 3. Naturalistic
Habitat
1.การสรางสวนแสดงสัตวแบบสมจริงตามลักษณะถิ่น
ที่อยูของสัตวตามธรรมชาติ ( Realistic Nature
Habitat )

ดูรูปที่ 73 ชะนีที่ Miami Metro เปนความพยายามที่


จะนําเอาจุดสําคัญของถิ่นที่อยูตามธรรมชาติของสัตว
เพื่อชวยใหสวนแสดงสัตวเปนสถานที่เปนตัวชวย
สงเสริมพฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตว และเปน
สวนชวยในดานการศึกษาใหดียิ่งขึ้น
124

การสรางสวนแสดงสัตวแบบสมจริงตามลักษณะถิ่นที่อยูของสัตวตามธรรมชาติ จะเปน
การสรางถิ่นที่อยูในสวนของภาพทั่วไป ลักษณะของพื้นที่ ลักษณะของสังคมพืช พฤติกรรมสัตว
ซึ่งการที่จะสรางใหไดตามที่กลาวมานี้ตองอาศัยงานวิจัย ใชเวลา ความชํานาญ และทุน
โดยทั่วไปผลงานที่เกิดขึ้นจะใหความสําคัญที่สัตวไดแสดงพฤติกรรมของสัตวและงานให
การศึกษาแกผูเที่ยวชม
2.Modify Nature Habitat
( ดูรูป 74 ) แรติคูเรทยีราฟ ที่มิลวอคกี้ซู “ The
Modified network habitat “ ใชวัสดุธรรมชาติเพื่อ
สรางความพึงพอใจ ที่ไมเหมือนกับถิ่นที่อยูตาม
ธรรมชาติของสัตว แตเพียงพอที่จะสรางความพึง
พอใจความตองการของสัตว และความตองการของ
ผูเที่ยวชมจะเห็นสัตวใน “ wild lamp “
ในกรณีที่ไมสามารถสรางสวนแสดงสัตวที่มี
ลักษณะของฤดูกาล ภูมิอากาศ ลักษณะของพื้นที่
สังคมพืช (ชนิดของพืชในพื้นที่ ) ใหเหมือนกับถิ่นที่
อยูของสัตวชนิดนั้นๆ ได การใชองคประกอบของ
ถิ่นที่อยูใ นสวนของพืชและตนไมทดแทน ใชการ
ดัดแปลงพื้นที่และผสมผสานกับสิ่งแวดลอมของ
พื้นที่สวนแสดงที่มโี ดยรอบ

3. Naturalistic Habitat
( รูปที่ 75 ) ชะนีมือขาวที่ Denver Zoo , The
naturalistic habitat โดยใชหิน น้ํา หญา พืชมาเปน
องคประกอบในการตกแตงสิ่งแวดลอมภายในสวน
แสดง นําโดยรูปแบบของสิ่งที่มนุษยสรางขึน้ และ
องคประกอบ
125

การออกแบบ การสรางและการตกแตงจะใหความสําคัญกับการจําลองทุกองคประกอบจาก
ถิ่นที่อยูจริงนอยมาก เปนรูปแบบที่ใชวัสดุจากธรรมชาติแตนําวัสดุเหลานี้เพียงเพื่อการตกแตง
เทานั้น ( Robinson,1985 )
The Realistic Nature Habitat จะใหความสําคัญกับการเลียนแบบหรือจําลองถิ่นที่อยูตาม
ธรรมชาติของสัตวชนิดนั้นๆ ซึ่งเปนเตรียมใหผูดูไดเห็นภาพในเชิงนิเวศวิทยาและเปนภาพใกลเคียง
กับสภาพธรรมชาติในลักษณะเทาที่จะเปนไปได ผูดจู ะใชเวลาไมนานที่จะหยุดดูสวนแสดงที่เปน
ธรรมชาติ แตสิ่งที่ควรจะไดรับคือภาพบรรยากาศของภูมิทัศนโดยรวมที่เปนธรรมชาติ ใหผูเที่ยวชม
มีความรูสึกวาตัวเองกําลังอยูภายในพื้นที่เดียวกันกับที่สัตวอาศัยอยู ( Coe, 1980 ) ถึงแมวาจะมี
ความเห็นวาสวนแสดงทุกแหงควรจะตองมีลักษณะตามที่มีในถิ่นที่อยูของสัตวนั้น เพื่อใหสัตวได
แสดงพฤติกรรมของสัตวชนิดนั้นได แตในทางการปฏิบัติแลวสวนสัตวสวนใหญก็ไมไดลงมติวาเปน
เอกฉันทที่จะยอมรับแนวคิด Natural exhibit
ขอโตแยงตอแนวคิด natural exhibit ก็คือเรื่องความปลอดภัย คาใชจายในการกอสราง
วิธีการกอสราง มุมมองจากสัตวแพทยหรือจากผูเลี้ยงสัตวที่อาจจะไมปลอดภัยตอการทํางาน (
เกาะชะนี- ผูแปล ) ซึ่งเปนประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมา มีบางทานที่พูดถึงวา กรงคือกรง ทําไมตรง
ลงทุนในราคาสูงและการบํารุงรักษาที่ยุงยาก รวมทั้งสวนแสดงในลักษณะนี้จะเปนแหลงหมักหมม
สะสมเชื้อโรคและพยาธิ
แนวคิด สวนแสดงที่เปนธรรมชาติ มีขอสนับสนุนจากเหตุผล 5 ขอคือ
1. งานใหการศึกษา
2. สิ่งแวดลอมที่เปนความตองการของสัตว
3. การลดความแปลกแยกระหวางสัตวและคน
4.ความสวยงาม
5. ผูเลี้ยงสัตวกับการจัดการภายในสวนแสดง
ขอ 1 ถามีการดําเนินงานที่ดี สวนแสดงที่เปนธรรมชาติก็เปนสื่อการสอน เปนการสื่อโดย
ไมไดใชขอความ สิ่งจะผูรับสารจะรับไดจากการการเห็น พื้นดิน กอนหิน พืชพรรณ ผูเที่ยวชมเห็น
ความสัมพันธระหวางสัตวกับระบบนิเวศวิทยา สัตวก็จะเปนสื่อที่สําคัญ ทั้งหมดที่กลาวมาจะเปน
เปาหมายของงานใหการศึกษา หนึ่งในเปาหมายของงานใหการศึกษาคือการใหเห็นความซับซอน
และสิ่งทีส่ นใจของลักษณะรางกายสัตว ลักษณะทางสรีระ การปรับตัวของพฤติกรรม ( Austin,
1965 ) ที่จะมีผลใหสัตวแตละชนิดสามารถอยูรอดไดในสิ่งแวดลอมตามธรรมชาตินั้นๆ
ขอ 2 ไมเพียงแตเปนการตกแตงเทานั้น แตโครงสรางที่หลากหลายและซับซอน จะมีสวน
ในการกระตุนใหสัตวมีการตอบสนองโดยการแสดงพฤติกรรมออกมา
126

ขอ 5 สวนแสดงที่มีการจัดแตงอยางเปนธรรมชาตินั้นจะเปนการสรางความพึงพอใจใหกับผู
เลี้ยงสัตวที่เลี้ยงสัตวชนิดนั้นอยู สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นกับผูเลี้ยงสัตวคือความรูสึกผิดที่เกิดขึ้นกับตัวเอง
หากตองเลี้ยงสัตวในสภาพที่เหมือนถูกกักขังมากเกินไป แตถาผูเลี้ยงสัตวดูแลสัตวในสภาพที่สัตวไม
ถูกกักขังนักความรูสึกแบบนี้จะลดลง
ขอดีอีกประการหนึ่งที่สําคัญคือ เปนการนําภาพของระบบนิเวศวิทยาทีไ่ ดผลกระทบจาก
มนุษยมีผลนอยที่สุด เชน ภาพในลักษณะเดียวกันกับอุทยานแหงชาติและเขตหามลาสัตวปาที่มี
กฎหมายในลักษณะคุมครองสัตวปาจากการกระทําของมนุษย สวนสัตวและพิพิธภัณฑที่จะนําเสนอ
ความพึงพอใจในสิ่งที่ควบคุมได ที่ผูเที่ยวชมคุน เคยที่เปนภาพการปฏิสัมพันธกันระหวางคนกับ
องคประกอบที่คัดเลือกจากเปนธรรมชาติ ( Bacon, 1980 )
การจําลองในลักษณะที่เลียนแบบธรรมชาติในรูปแบบที่มีคากอสราง และการบํารุงรักษาที่
นอยกวาแบบ traditional hand exhibit ซึ่งพบบางครั้งภาพที่ออกมาไมเปนทีพ่ ึงพอใจ ดังนั้นวิธีการ
ออกแบบและกอสรางในรูปแบบอื่น ทีม่ ีเปาหมายที่จะใหไดภาพของปาที่จะกระตุนใหสัตวได
แสดงออกตามลักษณะของรางกายและสรีระวิทยาที่ตัวเองมีอยางเต็มที่ ตัวอยางเชนที่ การนํา
นวัตกรรมที่ทําที่ Tropic world ที่ Brookfield Zoo ที่จะเปนสัญญาณที่บอกกระตุนถึงความคิด
สรางสรรค ที่มีตอเนื่องในการพัฒนาในเรื่องของการออกแบบสวนแสดงในสวนสัตว

ดูรูปที่ 76 Tropical World :


Brookfield Zoo ที่แสดงภาพ
องคประกอบที่สําคัญ
( abstraction ) ของปาเขตรอนที่จะ
ชวยกระตุนผูเที่ยวชมใหเกิดความ
ตื่นเตนในภาพของปา โดยสวน
แสดงนี้จะมีบรรยากาศของความ
ลึกลับและความหลากหลายที่จะ
สราง Mindscape ที่จะทําใหเห็น
ถึงความสําคัญของงานให
การศึกษา
127

สวนแสดงปาดิบชื้นนําองคประกอบสําคัญของปาดิบชื้น โดยภาพจะแสดงความสัมพันธ
ไปจนถึงโครงสรางของลักษณะสังคมของปาดิบชืน้ โดยตนไมจะเปนตนไมเทียม ที่สรางจากวัสดุ
gunite tree และการใช epoxy คลุมในสวนของ rope vine เพื่อใหทําความสะอาดไดงายและการ
สรางคอกใหมองเห็นสัตวไดงาย สวนแสดงสัตวจะมีการแบงเปนชั้นๆ เหมือนกับพื้นปา เรือนยอด
ระดับกลาง เรือนยอดระดับสูงที่มีเถาวัลย หนาผาที่มีขอบหรือแนวโผลออกมา การใชน้ําและทอน
ไมที่วางนอนอยูเพื่อแบงพื้นที่ปาในสวนพื้นดินในสวนที่มีความแตกตางกัน
กอนที่จะทําการออกแบบสวนแสดงสัตวความเขาใจในตัวสัตว วาสัตวตองการพื้นทีม่ าก
นอยเพียงใด พฤติกรรมของสัตวชนิดนัน้ ๆในหลายๆ ดาน สัตวชนิดดังกลาวอาศัยอยูบริเวณใดของ
พื้นปา อาศัยอยูบนตนไมหรือบนพื้นดิน ขอมูลเหลานี้จะใชเปนขอมูลในการออกแบบ เชน ตําแหนง
การวางตนไม ตําแหนงของเกาะหลายๆเกาะจะตองมีความสัมพันธกับความสามารถในการกระโดด
และการปนปายของสัตว ในกรณีที่เปนชนิดสัตวที่มีพฤติกรรมทํารายตัวอื่น จะตองมีการจัดการ
เพิ่มเติม เชน มีคอกกักสําหรับกักตัวที่ทํารายตัวอื่น มีพื้นที่ออกกําลังกายอีกสวนหนึ่งเพื่อใหสัตวตัว
ที่อาจจะถูกทําราย ไดมีพื้นที่ออกมาจากคอกกักบางหรือระบบของคอกกักที่สามารถสลับเอาสัตวทกุ
ตัวออกมายังสวนแสดงได ( Robinson,1985 )
สวนแสดงสัตวที่มีสัตวหลายชนิดอยูรวมกัน ( Mixed Species Exhibit )

ดูรูปที่ 77 Forest edge exhibit ที่สวนสัตว North Carolina Zoo สวนแสดงที่มีสัตวหลายชนิดรวมกัน


ออกแบบมาเพื่อที่จะใหความสําคัญกับการสือ่ สารถึงเรื่องราวพื้นฐานของวิชาชีววิทยา เชน การ
วิวัฒนาการของการปรับตัว การแขงขัน ลักษณะของพฤติกรรม รูปแบบโดยรวมที่แสดงถึงภาพที่
แทจริงของโลกของสัตว
128

สวนแสดงสัตวที่รวมสัตวหลายชนิดอยูรวมกันจะนําเสนอความยิ่งใหญและสวยงามของถิ่นที่
อยูตามธรรมชาติ ซึง่ จะใหความสําคัญกับการแสดงของสัตวในบางระบบนิเวศ ในอันที่จะสงผลตอ
งานใหการศึกษา การผสมผสานของสัตวกับสิ่งแวดลอมตามถิ่นที่อยูของสัตว จะเปนการสื่อ
ความหมายที่มีประสิทธิภาพในเรื่องราวพื้นฐานของวิชาชีววิทยา ( การวิวัฒนาการในเรื่องการปรับตัว
ของสัตว การแขงขัน ลักษณะทางพฤติกรรม) เปนการนําไปสูงานดานการอนุรักษถิ่นที่อยูตาม
ธรรมชาติของสัตวชนิดนั้น ( Juvik,1976 )
แตละสวนสัตวจะมีสภาพที่แตกตางกัน เชนลักษณะพื้นที่ ชนิดของสัตวที่มี การให
ความสําคัญของหัวขอตางๆ ในการพัฒนาที่แตกตางกัน สิ่งทีก่ ลาวมานี้ทําใหแตละสวนสัตวมีวิธีการ
นําเสนอในเรื่องของการจัดแสดง Mixed Species Exhibit ที่แตกตางกัน การนําสัตวหลายชนิดมาอยู
รวมกันเปนหัวขอที่จะตองมีแหลงอางอิง เชน สวนสัตวแหงอื่นๆ เลี้ยงสัตวชนิดใดรวมกันบาง พื้นที่
เทาใด รูปแบบการจัดการและปญหาที่เกิดขึ้น
1.พื้นที่ตองมีการใชอยางมีประสิทธิภาพตัวอยางเชน จัดพื้นที่ใหเหมาะสมกับพฤติกรรมของสัตว
เชนบางชนิดอยูบนตนไมและบางชนิดอยูบนพื้นดิน
2. Mixed exhibit จะมีสิ่งที่ตองนําเสนอสิ่งที่นาสนใจและนําเสนอแบบใกลชิด ถาลักษณะของการ
แบงพื้นที่สัตวเปนแบบการแบงตามถิ่นที่อยูของสัตวสัตว ซึ่งเปนกลุมสัตวที่อยูรวมกันตามพฤติกรรม
ในถิ่นที่อยูเดิม
3. การอยูรวมกันของสัตวหลายชนิดตองมีการจัดการเรื่องจํานวนใหเหมาะสม ในเบื้องหลังอาจตอง
มีการกักตัวผูของสัตวชนิดดังกลาวไวในคอกกัก เนื่องจากทํารายสัตวชนิดอื่นๆ
4. ในชนิดสัตวที่ยังมีจํานวนนอยในสวนสัตวหรือสัตวที่มีจํานวนนอยในปาธรรมชาติ อาจพิจารณา
ไมนํามาจัดแสดง หากจะนํามาแสดงควรมีจํานวนที่มากเพียงพอแลว
การเลือกสัตวมาอยูรวมกันเพื่อจัดแสดง จํานวนทั้งชนิดสัตวและจํานวนในสัตวแตละชนิด
ตองมีการพิจารณาอยางรอบคอบ ถาสัตวที่อยูบนตนไมตองจัดเตรียมตนไมและราวไตสําหรับการ
หอยโหนไวดวย หากเปนสัตวที่มีการขุดตองเตรียมพื้นที่ไวให การทราบถึงลักษณะของถิ่นที่อยูของ
สัตวแตละชนิดเปนสิ่งที่ตองใหความสําคัญ ความเปนไปไดของชนิดสัตวทจะสามารถอยู
ี่ รวมกันได
แตการตัดสินวาอยูกันไดหรือไมก็ตอเมื่อนําสัตวแตละชนิดมาอยูรวมกันจริงๆ ( crotty,1980 )
รูปแบบงานใหการศึกษา ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับสวนแสดงแบบสัตวหลายชนิดอยูรวมกัน ใน
หัวขอความสัมพันธของผูลากับผูถูกลา ( predator – prey relationship )
129

ดูรูปที่ 78 สวนแสดง หมีขั้วโลก กับแมวน้ําที่ Hagenbeck Zoo เมือง Hamburg ในชื่อหัวขอ ภาพ
แหงความจริง ( illusion of reality ) โดยจัดแสดงผูลากับผูถูกลาอยูใกลกัน การออกแบบจะทําใหภาพ
ที่ปรากฏในลักษณะทีส่ ัตวอยูรวมกันจากสายตาของผูเที่ยวชม ในขณะที่ความจริงนั้นสัตวจะแยกจาก
กันดวยการใชคู
แตในการใชรูปแบบสวนแสดงแบบนี(้ predator – prey relationship )ก็อาจจะเกิดปญหา
บางอยางขึ้น เชน
- มีสัตวบางชนิดเปนสิ่งที่ไมควรนํามาจัดแสดงในลักษณะความสัมพันธแบบผูลาและผูถูกลา
- การนํารูปแบบความสัมพันธระหวางผูลากับผูถูกลานี้มาใช อาจจะไมทําใหเกิดภาพที่นาตื่นเตน
อยางที่คาดไว เนื่องจากพบวาสัตวจะตางฝายตางอยู และเปนเรื่องยากที่จะทําใหสัตวผูลาตื่นตัวอยู
130

ตลอดเวลา การใชวิธีการกระตุนในรูปแบบใหมๆ จะทําใหเกิดพฤติกรรมที่จะทําใหเกิดภาพที่


นาสนใจ ใหเห็นภาพที่แสดงความสัมพันธที่เกี่ยวเนื่องกันของธรรมชาติ
- ถานําสัตวทไี่ มไดอยูรวมกันจริงในปานํามาอยูรวมกันในสวนแสดงเดียวกัน ก็จะเกิดภาพในลักษณะ
ที่สัตวจะอยูกันเปนกลุมๆ ตามชนิดของตัวเอง
- ในขณะที่สวนแสดงที่นําสัตวหลายชนิด อยูรวมกันจะสรางภาพจําลองของความสัมพันธที่เกิดขึ้น
ในปา ซึ่งการนําเสนอในลักษณะเชนนี้เปนเปนการนําเสนอในลักษณะที่นาสนใจมากขึ้นโดยการใช
“ ภาพจําลองของความจริง ” ( illusion of reality ) และใหเกิดความรูสึกในลักษณะภาพที่เปนองค
รวมของนิเวศวิทยาหรือในหัวขอของสิ่งแวดลอม ( Friedman,1985 )
สวนแสดงนิเวศวิทยาของสัตวผูลา ( The Predator Ecology exhibit ) ที่ Brookfield zoo
จะใชวิธีการหลายๆอยาง ที่จะแสดงความสัมพันธของผูลาและผูถูกลาและพฤติกรรมที่เกิดขึ้น โดย
ภายใน predator ecology exhibit จะใชสวนแสดงที่ดูแลวสวยงามตอเนื่องกันหลายสวนแสดง ใช
การแสดงการจะนําเหยื่อใหกับสัตวที่เปนผูลา ตัวอยางเชนใช cement rabbit ในสวนแสดง bobcat
เพื่อใหสัตวผูลาแสดงการจับเหยื่อใหดู
ตัวอยางที่สองคือ สวนแสดงตัว weasel ที่ Minesota zoo ที่มีตัววีเซล 8 ตัวจะมีการ
หมุนเวียนทุกชั่วโมง เนื่องจากตัววีเซลจะมีการเคลื่อนไหวในชวงสั้นๆ เทานั้นก็จะนอนหลับแลว
การหมุนเวียนทุกชั่วโมงนั้น เมื่อตัววีเซลตัวใหมเขามามันจะทําเครื่องหมายดวยการสํารวจไปทั่ว
และการเคลื่อนไหวจะคอยๆลดลง เมื่อเวลาผานไป 45 นาที ก็จะถูกเรียกเขาและเอาตัวใหมเขาไป
โดยไมแสดงการลาหนู ผูเที่ยวชมจะเห็นวาวีเซลเปนสัตวที่มีขนาดเล็กเปนนักกีฬาที่ยิ่งใหญ มีการ
อธิบายวาวีเซลสามารถลาหนูได โดยที่วีเซลมีขนาดเล็กกวาหนู mice แตก็ยังที่สามารถลาหนูได
ตัวอยางของสัตวชนิดอื่นที่ ใชวิธีการคลายกันที่สามารถหมุนเวียนไดทุกๆ 2-3 ชั่วโมงเพื่อใหสัตวมี
การเคลื่อนไหว เชน ลิงค เสือพูมา ( Friedman, 1985 )
สิ่งที่ใชบอยคือการใชคูที่กวาง เพื่อแยกสัตวออกจากกัน แตภาพที่ผูเที่ยวชมเห็นจะเปน
ภาพที่สัตวนั้นอยูรวมกัน ซึ่งจะใชหลักการเสนสายตา ถึงแมวาวิธีการนี้จะยากที่จะทําใหสําเร็จตาม
แนวคิด รวมทั้งภาพที่จะสื่อออกมาจะเขาใจยากและไมเปนไปตามจุดมุงหมาย การทดลองในคูของ
สัตวอื่นๆ ยังที่จะทําตอไป และใชวิธีการใชวิธีอื่นๆ อีกตอไป เชน eastern cottontail และงู
diamonback rattle จะแยกออกจากกันโดยใชกระจกซึ่งจะมีความชัดเจนที่สามารถเห็นสัตวทั้ง 2 ชนิด
ไดอยางชัดเจน นกเคาแมว great horn owl และตัว สกั้งค จะแยกออกจากกันโดยการใชเสนลวด อีก
ตัวอยางหนึ่งคือตัวแรคคูนและตัว bobcat ที่แยกจากกันดวยกระจก ซึ่งขอกําหนดการสรางคอกที่จะ
สามารถสรางไดในอนาคตเชน การใชคู กระจก เสนลวด การใช board walk ( boardwalk n. a
wooden walkway across sand or marshy ground. )
131

ทั้ง Dr. Fossey และ Dr. Goodall ( 1984 ) ไดรายงานถึงความรุนแรงของการตอสูกันของ


ลิงกอลิลาหรือลิงชิมแพนซี ที่เปนการเผชิญหนาที่ตนื่ เตนอีกชนิดหนึ่งของสัตว เราจะมีโอกาสไดเห็น
วาลิงที่มีใหญและมีขนสีน้ําเงินของลิงกอลิลาที่โตเต็มวัยแลวแสดงพฤติกรรมอยางไรออกมา เปนไป
ไดไหมวาเราจะนําการเผชิญหนาที่นาตืน่ เตนเหลานี้มาจัดแสดงในสวนสัตว ( Dr maple 1981 )
คาดวาการเอาสวนแสดงกอลิลาที่อยูตางกลุมกันมาอยูในบริเวณที่ติดกันจะทําใหตัวจาฝูง
( Silverback Champ ) ของแตละกลุม จะรวมการแสดงอาการกาวราว ขมขูตอกันขามสิ่งกีดขวาง
ที่กันขวางอยู การแสดงพฤติกรรมเกรียวกราดระหวางกันจะมีผลใหความสัมพันธในกลุมแข็งแรงขึ้น
ซึ่งการกระตุนนี้จะมีผลตอการผสมพันธ แตสิ่งสําคัญของสวนแสดงสัตวในลักษณะเชนนี้จะตองมี
พื้นที่ใหสมาชิกบางตัวสามารถหลบจากการเผชิญหนาไดหากตองการ มีตัวอยางที่นําเอาลิงชิมแพน
ซี 2 กลุมมาอยูชิดกันจะเปนการกระตุนใหลิงทั้งสองกลุมแสดงพฤติกรรม defense behavior ภาพที่
เกิดขึ้นจะเปนภาพที่นาตืน่ เตนสําหรับผูเที่ยวชม ( Coe and Maple, 1984 )
สวนแสดงแบบนิเวศวิทยาที่มีการนําเสนออยางตอเนื่อง ( Ecological Continuum Exhibits )
รูปแบบอื่นๆ ของการจัดแสดงถิ่นที่อยูท ี่เปนธรรมชาติทปี่ ระณีตและหลากหลาย คือ
ความสามารถในการรวมเอาสัตวหลายๆชนิด เขามารวมกับสวนแสดงที่มีการจัดใหจําลองลักษณะ
ของถิ่นที่อยูตามถิ่นที่อยูที่สัตวชนิดนั้นอยูตามธรรมชาติ มีการจัดการกับพื้นที่วางใหเปนธรรมชาติ มี
ความตอเนื่องของระบบนิเวศนวทิ ยา ทีแ่ สดงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะชวยใหผูเที่ยวชม
เกิดความเขาใจ เกิดการเปรียบเทียบเมื่อเห็นความเปลี่ยนแปลงและความแตกตางระหวางถิ่นที่อยู
การประสานระหวางสวนแสดงตางๆ จะนําเอาความหลากหลายของรูปแบบและพื้นฐานในเรื่องอื่นๆ
เชน
1. การเปลี่ยนของระบบนิเวศจนกระทั่งระบบนั้นคงที่
2. การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในแนวราบอยูบริเวณใดของเสนแวง ( latitude )
3. การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ตามระดับความสูงจากระดับน้ําทะเล ( altitude ) ลองดูตัวอยางที่จะ
แสดงถึงสื่อของของงานใหการศึกษาและความตื่นเตนที่แตละสวนแสดงไดเตรียมไว
1.สวนแสดงแบบนิเวศวิทยาที่มีการนําเสนออยางตอเนื่อง แบบการเปลี่ยนแปลงของระบบบนิเวศ
จนกระทั่งระบบนั้นคงที่ ( Successional Gradient/ Ecological Continuum Exhibits )
ใชตัวอยางของพื้นที่ทกี่ ารเกษตรทีถ่ ูกปลอยรกราง แสดงใหเห็นสังคมพืชที่มีการเปลี่ยนแปลงไป
ตามเวลา เห็นภาพของระบบนิเวศทีม่ กี ารเคลื่อนไหวและพัฒนา โดยใชตัวอยางในรูปที่ 79
132

รูปที่ 79 Abandoned Farmland Display ความตอเนื่องของการแบงลําดับที่แสดงโดยลําดับสังคมพืช


บนพื้นที่ถูกปลอยรกรางในพื้นที่ตะวันออกเฉียงใตของสหรัฐอเมริกา a หญา ( 1-10 ป ) b . ปา
ละเมาะ 10-25 ป c. ปาสน 25-100 ป d. ปาของตนไมใบกวาง มากกวา 100 ป ( hardwoodn.1 the
wood from a broadleaved tree as distinguished from that of conifers.)
จะเปนภาพที่เห็นความตอเนื่องของพื้นที่เกษตรกรรมที่ถูกปลอยราง เกิดเปลี่ยนแปลงอยางไร
ไปตามชวงเวลา ซึ่งจะเปนตัวอยางที่งายตอการทําความเขาใจ การจัดลําดับความตอเนื่องของของการ
เปลี่ยนแปลง
พื้นที่ในรูปแบบอื่นๆ ที่มีเอกสารหลักฐานขอมูลและใชเปนตนแบบได เชนพื้นที่ที่มีการ
เคลื่อนไหลของลาวา เนินทราย หลมโคลน ปาที่ถูกเผาทําลายดวยไฟ โดยที่การฟนตัวของแตละ
เหตุการณทางธรรมชาติที่กลาวมาขางตน จะมีลําดับของการเปลี่ยนแปลงทีม่ ีความจําเพาะของ
องคประกอบของพืชและสัตว ซึ่งสามารถนํามาใชประกอบการแสดงได ( Juvik,1976 )
133

2 สวนแสดงแบบนิเวศวิทยาที่มีการนําเสนออยางตอเนื่อง แบบการเปลี่ยนแปลงตามตําแหนงของ
พื้นที่ (.Latitude Gradient / Ecological Continuum Exhibits )
เสนทางจากเมือง Abdidjan ไปยังเมือง Timbuktu ความเปลี่ยนแปลงไปตามตามตําแหนงของพื้นที่
โดยดูจากรูปที่ 80

รูปที่ 80 จากAbidjan ไปยัง Timbuktu ความเปลี่ยนแปลงในแนวราบ การเดินทางขึน้ เหนือในเขต


แอฟริกาตะวันตก ระบบนิเวศจะมีการเปลี่ยนแปลงจากปาดิบชื้น ( 5 N) ไปเปนแบบทะเลทราย
( 17N ) โดยเปน a. ปาดิบชื้น ( 0-300 กม ) b.. ทุงหญาซาวันนา ( 300-600 กม ) c กึ่งทะเลทราย (
600-900 กม ) d. ทะเลทราย ( 900-1200 กม )
องคประกอบทางสิ่งแวดลอมตัวสําคัญคือความชื้น โดยเสนทางจะเปนสวนแสดงทีแ่ สดง
สิ่งแวดลอมในรูปแบบของ lowland tropical และ sub tropical จะมีการเปลี่ยนแปลงจากปาดิบชื้น
ไปเปนทุงหญาซาวันนาไปจนถึงทะเลทราย สวนแสดงที่ตอเนื่องนี้จะสามารถทําใหเกิดขึ้นไดดวยการ
ขับรถผานสวนสัตวในระยะทาง 1 กิโลเมตรจากพื้นที่จริง 1,300กิโลเมตร ( Junk, 1976 )
สวนแสดงจําลองถิ่นที่อยูแบบอเมริกาเหนือ รูปแบบภายในสวนแสดงนี้โดยทั้งหมดจะใชน้ํา
คลุมพื้นที่เกือบทั้งหมด เพื่อใชเปนตัวแทนธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตของทวีปอเมริกาเหนือ การ
เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีน้ําไปยังพื้นที่แหง เมือ่ ผูเที่ยวชมเขามาในพื้นที่สวนนี้ก็จะพบกับสัตวที่ผูเที่ยว
ชมคุนเคย เชนตัวบีเวอร กวางมูส เอริเกเตอร เปดหลายๆชนิดที่พบในบึงตางๆ โดยทางเดินชมจะ
อยูเหนือน้ําและมองเห็นเขื่อนของตัวบีเวอร
การสรางความแตกตางระหวางพื้นที่น้ําและพื้นที่ปาแบบ dry temperate forest จะใช
ทางเดินเล็กๆ พรอมกับดานขางของทางเดินจะใชตนไมที่เปนสัญลักษณของปาเบญจพรรณของ
134

indiana เสนทางเดินจะคอยๆเพิ่มความแหงแลงมากขึ้นจนกระทั่งตน lush tree ถูกแทนที่ดวยพืชที่


เปนตัวแทนของพื้นที่แหงแลง
พื้นที่ของทางเดินจะเปลี่ยนจากดิน ( rich soil ) กลายเปนดินทราย ซึ่งจะพื้นที่ที่เปนที่ราบ
กวางใหญปรากฏแกสายตา โดยจะใชสวนแสดงที่มีสัตวหลายชนิดอยูรวมกัน เชน ไบซัน พรอง
ฮอรน แพรี่ดอค ซาเก เกราส ซึ่งสัตวที่กลาวมาเปนสิ่งมีชีวิตที่เปนสัตวประจําพื้นที่
โดยพื้นที่สวนนี้จะปลูกตนไมที่ขึ้นในพื้นทีแ่ บบหนองหรือบึง (marsh ) เชน willow, birch ,
lillies และ water weed
- willow n. a tree or shrub of temperate climate which typically grows near water, has narrow leaves
and pliant branches yielding osiers and wood, and bears catkins. [Genus Salix: many species.]
- birchn. a slender hardy tree which has thin, peeling, typically silver-grey or white bark and yields a
hard, pale, fine-grained wood. [Betula pendula (silver birch) and related species.]
- lilyn. a bulbous plant with large trumpet-shaped, typically fragrant, flowers on a tall, slender stem.
[Genus Lilium: many species.] used in names of other similar plants, e.g. arum lily.)
- waterweed n. vegetation growing in water, typically with inconspicuous flowers.)
การใชทางเดินที่ทําจากไมซึ่งจะนําผูเที่ยวชมผานเหนือพื้นที่น้ํา มุมมองของผูเที่ยวชมจากทางเดิน
เทาจะเห็น สัตวประจําพื้นที่แบบหนองน้ําเชน นกน้ําหลากชนิดและที่สรางความสนใจใหกับผูเที่ยว
ชมไดมากคือ การดําเนินชีวิตของบีเวอร เห็นการสรางเขื่อน สวนประกอบที่สําคัญของสวนแสดงนี้
คือ การนําเสนอความคิดในลักษณะของภาพที่จะแสดงใหเห็นวา สิ่งแวดลอมที่มีน้ําเปน
องคประกอบหลักใหญนี้ ระบบนิเวศที่มีความสมบูรณนี้มีความสลับซับซอนและเปนที่อยูอาศัยของ
พืชและสัตวอยางไร สัตวที่อาศัยอยูมีการปรับอยางไรเพื่อดํารงชีวิตในถิ่นที่อยูลักษณะนี้ ( Design
group A, 1985 )
สวนแสดงที่จําลองลักษณะพื้นที่ของทวีปออสเตรเลีย ซึ่งความนาสนใจอยูที่สัตวที่เปน
สัญลักษณของพื้นที่ทวีปออสเตรเลียเชน สัตวในกลุมของสัตวที่มีถุงหนาทอง พื้นที่จะตกแตงดวยพืช
ที่อยูในทุงหญาแหงแลง ปาเบญจพรรณเพื่อใหภาพที่ตัดกับพื้นที่ที่เปนเกาะ
สวนแสดงนี้เริ่มเมื่อผูเที่ยวชมเดินผานสะพานที่ทอดผานคู และผานเขาไปในพื้นที่จําลองปา
ฝงตะวันออกเฉียงใตของออสเตรเลีย พืชทีน่ ําปลูกจะปลูกอยางหนาแนนเชน พืชกลุมเฟรินและ
กาฝาก มีแสงที่สองจากระยะไกลผานทุงหญามา เมื่อเดินตามทางเดินมาจะเห็นหมีโคอาลาอยูบน
ตนยูคาลิปตัส และมองเห็นทุงโลงกวางแหงแลง บริเวณที่เปนสวนเชื่อมตอระหวางทุงหญาและปา
ละเมาะจะเปนพื้นที่ที่ตองการน้ํานอย โดยสัตวที่อยูในแตละบริเวณจะมีปายบรรยายถึงการปรับตัว
เพื่ออยูในสภาพที่แตกตางกัน ยกตัวอยางเชน จิงโจเทาใหญตองการน้ํามากกวาจิงโจแดง แหลงน้ํา
จะมีความสําคัญกับสัตวหลายชนิด เมื่อผูเที่ยวชมผานมาที่ทุงหญาความสนใจของผูเที่ยวชมจะอยูที่
135

แหลงน้ํา ซึ่งนกและสัตวหลายชนิดที่อยูใกลบริเวณนี้ เมื่อผานเขาสูทุงหญาแหงแลง ปาละเมาะที่


อยูรวมกับทุงหญา จะเปนตัวบงบอกถึงความถี่ของฝนที่ตก ( Design Group, 1985 )
3 .สวนแสดงสัตวที่ใชการแสดงระบบนิเวศแบบตอเนื่องแบบการเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูงจาก
น้ําทะเล ( Altitude Gradient / Ecological Continuum Exhibits )
พื้นที่ในบริเวณรูเวนโซรี่ ( Ruwenszori range )
สวนสัตวเปนสถานที่ที่มีซึ่งมีพื้นที่ภายในจํากัด การจําลองภาพที่มีลําดับการเปลี่ยนแปลง
ตามความสูง จะมีความเปนไปไดมากกวาแบบการเปลี่ยนแปลงในแบบพื้นที่ตามแนวราบ

ดูรูป ที8่ 1 การจัดแสดงพื้นที่บริเวณรูเวนโซรี ( Ruwensori Range Display ) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น


ตามลําดับความสูงโดยใชพื้นที่ตามของสูงของ Ruwensori Range ในแอฟริกาตะวันออก การ
เปลี่ยนแปลงตามลําดับความสูง
a. ทุงหญาซาวันนาที่ระดับความสูง 1000 เมตร
b. ปาดิบชื้น 1750 เมตร ปาไผที่ระดับความสูง 2500 เมตร e. ปาสนเขาที่ระดับความสูง 10,000
เมตร
พื้นที่หลากหลายของถิ่นที่อยูบนภูเขาจะเปนตัวแทนของถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ โดยยนยอ
ขนาดของระบบนิเวศน เมือ่ เปรียบเทียบกับลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแนวราบ เนื่องจากภูมิอากาศ
ที่เพิ่มขึ้นทุก 100 เมตรที่สูงจากระดับน้ําทะเลจะเทากับความเปลี่ยนแปลงอยางหยาบในการเดินทาง
ขึ้นไปทางดานขั้วโลกเหนือ 100 กิโลเมตร สวนแสดงจําลองภูเขาสามารถใชมาตราสวนที่เล็กกวา
แบบจําลองในพืน้ ราบและสามารถแสดงภาพที่สมบูรณแบบครบถวน
136

การใชทางที่มีความลาดชันในระดับกลางจะใหความรูสึกของทางเนินลาด โดยมีสิ่งกีดขวาง
อยูดานหนาของเขา ความชันที่เหมาะสม ควรจะควบคุมดวยปจจัยที่มีอยูจริงในภูมิประเทศและ
ตามลักษณะการเคลื่อนที่ของผูเที่ยวชม เชน ทางเดินเทา ทางรถไฟ
ความหลากหลายของขอมูลทางชีววิทยาทั้งในระดับพื้นฐานและระดับสูงจะสามารถ
ถายทอดไดเปนอยางดี โดยการถายทอดผานรูปแบบของระบบนิเวศแบบภูเขา โดยแนวคิด
ประกอบดวย
- กลไกการปรับตัวของพืชและสัตว
- สายการวิวัฒนาการมารวมกัน
- ความหลากหลายของรูปแบบในในระบบนิเวศวิทยา
- ความแตกตางของลักษณะของพรรณพืชและสัตวในพื้นที่ที่มีระดับความสูงแตกตางกัน
ตัวอยางเชน เสือดาว( Panthera pardus )กับ เสือดาวหิมะ ( P. uncial ) ( juvik,1976 )
สวนแสดงปาอะเมซอน สวนแสดงปาดิบชื้นจะสื่อความรูไปยังผูเที่ยวชมไดในหลายหลาย
รูปแบบ การเดินทางทองเที่ยวเริ่มตนที่ปากแมน้ําอะเมซอนโดยจะเห็นตัวไคแมนที่ยาว 14 ฟุต โดยผู
เที่ยวชมจะเห็นไคแมนลอยตัวอยูในน้ํา จากจุดนี้จะเปนการเดินทางไปตามลําน้ําอะเมซอน การ
เที่ยวชมจะเปนไปในลักษณะสะพานแขวนที่พาดไปตามแนวเรือนยอดของตนไมภายในปาอะเมซอน
การเห็นตัวสัตวจะอยูตามระดับความสูงที่แตกตางกัน ไดเห็นตัวและไดยินเสียงสัตวในกลุมนกและ
ลิง พืช เชนกลุม Lianas และ Epiphytes ที่อยูในตนไม น้ําที่อยูในลักษณะลําธารขนาดเล็กและ
ละอองฝนจะชวยใหเกิดความรูสึกแบบปาดงดิบ ( Design group D, 1985 )
- liana n. a woody climbing plant that hangs from trees, especially in tropical rainforests. the free-
hanging stem of such a plant.
- epiphyte n. a plant that grows non-parasitically on a tree or other plant.

Muana Kea Mountain : Panacwa Rainforest Zoo เปนสวนสัตวที่สรางเสร็จใหมมีสวน


แสดงที่จําลองระบบนิเวศแบบภูเขาโดยจําลองเอา Muana Kea Mountain ซึ่งมีความสูงของยอด
เขาที่ระดับความสูง 4,200 มีหินภูเขาไฟปกคลุม โดยบริเวณระดับลางสุดของภูเขาจะเปนเมือง
City of Milo
137

ดูรูปที่ 82 สวนแสดงที่จําลองระบบนิเวศของภูเขามัวนาคี ( Muana Kea Mountain Ecozone


Exhibit ) 1. volcanic lava flow plant succession exhibit 2. ปายแสดงขอมูลสัตวปาในเกาะ
ฮาไว 3.สวนแสดงนกที่มีถิ่นที่อยูในเกาะฮาไว 4. สวนแสดงสัตวขนาดเล็กของเกาะฮาไว 5. สวน
แสดงนกในทองถิ่นของฮาไว 6. สวนแสดงหมูปา 7. สวนแสดงนกของฮาไว โดยเฉพาะกลุมนก
กินผึ้ง ( honeycreeper, a Hawaiian songbird, several kinds of which are endangered. [Family
Drepanididae: several species.] 8. สวนแสดงนกเหยี่ยวของฮาไว 9. สวนแสดงหาน
Mauna Kea จะเปนตัวอยางของระบบนิเวศที่มีลักษณะจําเพาะอีกแหงหนึ่งของโลก โดย
เปนระบบนิเวศที่ถูกรบกวนจากมนุษยนอยมาก เปนพื้นที่ที่มีความสูงชันมีลักษณะของสังคมพืชและ
สัตวที่มีความหลากหลายของชนิดพันธุ ถึงแมวาชนิดพันธุของสัตวมีกระดูกสันหลังจะมีลักษณะของ
ความไมประสานกลมกลืนอยางเดนชัด แตเปนการแสดงถึงลักษณะของพื้นที่ที่เปนเกาะมีการ
รบกวนจากปจจัยภายนอกนอย ตองมีการคัดเลือกชนิดของนกเพื่อที่จะเปนตัวอยางสําหรับสวน
แสดงและเปนการแสดงภาพของแนวคิดทางนิเวศวิทยา
ทางเดินเทาจะนําผูเที่ยวชมผานไปตามลําดับของระบบนิเวศ จากระดับน้ําทะเลไปยังยอด
ของภูเขา พืชพรรณจะถูกปลูกและบํารุงรักษาใหอยูในสภาพที่เหมาะสม สวยงาม วางจัดอยาง
ถูกตองตามพื้นที่ที่วางแผนไว การเติมสวนแสดงสัตวเขาไปโดยเนนไปที่สัตวที่หายากของเกาะฮา
ไว
Pike Peak : สวนแสดงที่จําลองภูเขาจะแสดงองคประกอบ ที่แสดงการเปลี่ยนแปลงจากทุง
หญาแพรี่ ไปเปน boreal forest ( ซึ่งจะมีทั้งปาสนและปาของตนไมใบกวาง ) และเปลี่ยนแปลงไป
138

เปนปาสนเขา ในสวนของปาแบบ boreal forest นี้สัตวที่นํามาจัดแสดงเชน บีเวอร หมีดํา ลิงค


กวางมูส นกกระเรียนวูปปง
ผูเที่ยวชมจะเดินทางไปตาม winding path ซึ่งจะผานไปสูพื้นที่ของปาอัลไพน ( alpine
area ) ชนิดของพืชแบบพื้นที่ปาอัลไพนและปาคอนนิเฟอร จะมีการตัดแตงกิ่งที่แหงตายไปออก
เพื่อใหมีลมพัดผาน ปลูกพืชในสวนที่กันลมแทรกตามกอนหินและระดับความลาดชัน จากจุดนี้ผู
เที่ยวชมสามารถชมสัตวที่มีถิ่นที่อยูบนภูเขาสูง และสิ่งแวดลอมเปนแบบปาอัลไพน หรือสามารถ
พักผอนในพื้นที่ปาแบบอัลไพนได
ตามเสนทางที่จะนําไปสูภูเขาจะเห็นหิมะเกาะตัวอยูตามพื้นดิน ผานถ้ําที่มีน้ําหยดที่เกิดจาก
น้ําแข็งละลาย โดยที่ถ้ําสวนนี้อาจเปนเสนทางเดินที่ผูเที่ยวชมอาจจะเดินผานเขาไปหรือไมก็ได ซึ่ง
จะเปนเสนทางที่ผานไปที่สวนแสดงปาอัลไพนที่อยูดานบน สัตวที่แสดงอยูในสวนแสดงนี้ที่มี
ลักษณะพื้นที่เปนภูเขา เชน แกะบิ๊กฮอรน กวางเอลค กระตายแฮร เหยี่ยว แพะภูเขา และเมน
โดยมีลําธารสายเล็กเปนตัวชวยจัดใหบรรยากาศในพื้นที่เหมาะสม
ทางเดินที่อยูบนยอดของภูเขาจะถูกสรางขึ้น เพื่อใหผูเที่ยวชมไดเห็นภาพของรอยเชื่อมตอ
ของทุงหญาแพรี่และภูเขาจากมุมสูงของยอดเขา และจากสวนแสดงของทุงหญาแพรี่ก็จะมีมุมมองที่
มองมาที่สวนแสดงแบบภูเขา เพื่อใหเกิดความเขาใจในลักษณะเดียวกันแตตางมุมมองไป
( Design Group D, 1985 )
glacier n. a slowly moving mass of ice formed by the accumulation and compaction of snow on mountains or near the poles.

การออกแบบสวนแสดงสัตวใหเหมาะสมกับพฤติกรรมสัตว (Behavioral Design )


สัตวที่มีการเคลื่อนไหวในสวนแสดงจะเปนสิ่งสําคัญ ที่จะสรางความนาสนใจใหกับผูเที่ยว
ชม เชน สวนแสดงบีเวอรที่สวนสัตวมิเนโซตา ความชื่นชอบของผูเที่ยวชมนั้นเกิดจากพฤติกรรม
ของบีเวอรเอง ที่เปนกิจกรรมประจําวันเชน การใชฟนกัดเพื่อลมตนไม อีกตัวอยางหนึ่งคือการแสดง
ของเหยี่ยวที่สวนสัตวซานดิเอโก ซึ่งเปนสิ่งที่บงบอกวาผูเที่ยวชมตองการความสนุกสนานในขณะที่
ไดเรียนรูไปในตัวดวย
ถึงแมวาเราจะมีการจัดสวนแสดงใหเปนธรรมชาติ แตสวนแสดงที่ไมมีการเคลื่อนไหวของ
สัตวเปนภาพที่ไมดึงดูดใจ และจะสังเกตไดวาจะไมมีผูเที่ยวชมเขามาชม ผูเที่ยวชมจะยายไปชมใน
สวนแสดงอื่นที่มีการเคลื่อนไหวของสัตวมากกวา ผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตวก็มีความคาดหวังที่จะได
เห็นสัตวที่มีการเคลื่อนไหว กระโดดโลดเตนอยูภายในสิ่งแวดลอมที่นารืน่ รมย ถาหากสวนสัตวไม
พยายามสรางสวนแสดงสัตวที่สรางโอกาสใหสัตวไดแสดงพฤติกรรมที่นาสนใจ ความตองการที่จะ
มาเที่ยวชมสวนสัตวลดลงและการอุดหนุนกิจการของสวนสัตวก็จะลดลงดวย
การออกแบบสวนแสดงที่ใหความสําคัญ กับวิธีการที่จะกระตุนและเอื้อใหสัตวไดแสดง
พฤติกรรมตามธรรมชาติ จะเปนประโยชนตอตัวสัตวเองและตอผูเที่ยวชม พฤติกรรมสัตวที่แสดง
139

ความผิดปกติคือ การแสดงพฤติกรรมบางอยางซ้ําๆ กัน เชน การเดินไปเวียนมาในพื้นที่แคบของ


เสือโครง ทั้งที่มีพื้นที่กวางขวางที่สัตวสามารถจะเดินไปได เปนการแสดงถึงการจัดการที่จะสงเสริม
ใหสัตวมีพฤติกรรมปกติในชวงที่ผานมายังไมถูกตอง วิธีการที่จะชวยใหสัตวมีพฤติกรรมที่ถูกตอง
นั้นบางวิธีเปนวิธีงายและใชเงินไมมากเชน
- สวนแสดงนากทะเลที่สวนสัตววอชิงตันไดจัดหากอนหินและหอยกาบ ที่เปนอาหารในธรรมชาติ
อยางหนึ่ง เพื่อใหนากทะเลแสดงพฤติกรรมการทุบหอยกาบ โดยนากจะวางกอนหินที่หนาอกแลว
ทุบหอยเพื่อกินเปนอาหาร
- สวนสัตวเดนเวอรที่สวนแสดงนกที่จัดแสดงนกจากทั่วโลก ( The Denver’s zoo bird world ) การ
ทําละอองน้ําเหมือนฝนตกพรอมมีเสียงฟาตก ฟารองวันละ 3 ครั้ง
- สวนสัตวโคเปนเฮเกน มีกลองใสน้ําหวานวางไวบนที่หางสูงเพื่อใหหมีปนขึ้นไปกินน้ําผึ้ง
- ตัวอยางที่มี่จุดเริ่มตนจากงานวิจัยของ เจน กูดออลที่มีการนําไปใชในสวนสัตวอื่นๆอยางแพรหลาย
คือ ภายในสวนแสดงลิงชิมแพนซีมีการทําจอมปลวกเทียม ที่ภายในมีถวยใสอาหารที่ลงิ ชิมแพนซี
ชอบเชน น้ําผึ้ง น้ําผลไม มัสตารต ซึ่งเปนภาพที่แสดงถึงความพึงพอใจของสัตวและผูเที่ยวชมก็
ชอบภาพที่เกิดขึ้นดวย จอมปลวกเทียมที่ The North Carolina Zoo จะมีระบบคอมพิวเตอรที่ควบคุม
เวลาการปลอยอาหารออกมา
140

ดูรูปที่ 83 จอมปลวกเทียมทีส่ วนแสดงลิงชิมแพนซีที่สวนสัตว The North Carolina Zoo รูปซายมือ


แสดงชวงงานกอสรางและชวงขวามือที่การกอสรางเสร็จสิ้นแลว ซึ่งจอมปลวกเทียมที่สรางขึ้นนี้จะมี
คอมพิวเตอรที่ควบคุมการปลอยเม็ดอาหาร
การออกแบบที่เพิ่มและกระตุนพฤติกรรมตามธรรมชาติ โดยการเตรียมอุปกรณ วัสดุ
เพื่อใหภายในสวนแสดงสัตวมีสิ่งแวดลอมทางกายภาพที่เหมาะสม เพื่อใหเปนการจัดการที่ทําเปน
ประจําทุกวัน สวนแสดงที่เปนตัวอยางที่เปนที่ชื่นชอบของประชาชน คือสวนแสดงบีเวอรที่สวน
สัตว Minesota Zoo ที่มีปจจัยที่สําคัญครบถวน
สวนแสดงนี้ไดออกแบบดวยจุดประสงค 3 ประการคือ
1. เปนสวนแสดงที่ตองการใหบีเวอรไดแสดงพฤติกรรมอยางเต็มที่ เชนตัดตนไม การบํารุงรักษา
เขื่อน การสรางจุดซอนอาหาร การกินอาหาร การผสมพันธุ การเลี้ยงลูกออน
2. สรางสิ่งแวดลอมสระน้ําของบีเวอรโดยการเพิ่มสวนแสดงของสัตวเลี้ยงดวยน้ํานม นก ปลา
สัตวเลื้อยคลาน สัตวสะเทินสะเทินบกและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ที่เปนลักษณะของสระน้ําของบี
เวอรที่อยูในปา
3. ใหผูเที่ยวชมไดมีโอกาสไดเห็นและเขาใจถึงสัตว โดยการใหโอกาสแกสัตวไดแสดงพฤติกรรม
ในชวงกลางวัน รวมทั้งเตรียมขอมูลใหกับผูเที่ยวชมดวย
จุดที่เปนจุดที่ระดับน้ําตื้นเปนบริเวณที่มีตนไมที่หางจากจุดชมสัตวประมาณ 1 เมตร ที่ทํา
ใหผูเที่ยวชมเห็นภาพพฤติกรรมการตัดตนไมของบีเวอรอยางใกลชิด ตารางการแสดงการซอมเขื่อน
ของตัวบีเวอรจะผันแปรไปตามฤดูกาล ซึ่งผูเลี้ยงสัตวจะเริ่มการนําไมเขาในสวนแสดงบีเวอรในชวง
เชาและคอยๆ ใหตลอดทั้งวัน เพื่อใหผูเที่ยวชมมีโอกาสไดเห็นพฤติกรรมการซอมเขื่อนมากที่สุด
บีเวอรที่โตเต็มที่แลวจะมีอัตราการเผาผลาญพลังงานลดลง และใชไขมันที่สะสมในรางกาย
เปนแหลงพลังงาน แตบีเวอรที่อายุนอยยังตองมีพฤติกรรมการสะสมอาหาร การสรางที่ซอนอาหาร
141

จะมีแทรกในสวนของกิจกรรมการตัดไม ที่ตองมีการใชในจํานวนมาก มีเคลื่อนยายจากสระน้ําใน


ระดับลางไปยังจุดสระน้ําที่อยูสูงขึ้น และวางอยางระมัดระวังในจุดที่ซอนอาหาร ซึ่งความสนใจของ
ผูเที่ยวชมจะอยูในกิจกรรมตางๆ ของบีเวอร
การใชอาหารจะเปนสิ่งดึงดูดใจสําหรับผูเที่ยวชมดูตัวอยางใน
รูป 84 Giant panda : London Zoo
การดูสัตวกินอาหารเปนจุดดึงดูดที่
เปนที่ชื่นชมของ เปนจุดที่การ
ออกแบบตองใหความสําคัญ
เนื่องจากการทํากิจกรรมดังกลาว
เปนโอกาสที่มีไมจํากัด ซึ่งเปน
กิจกรรมที่สามารถใชควบคุมทั้งตัว
สัตวและผูเที่ยวชมในเรื่องของ
พฤติกรรมที่แสดงออกและตําแหนง

การวางตําแหนงของที่กินอาหารของสัตว เปนการกระตุนใหสัตวมีการเคลื่อนที่และสราง
โอกาสใหผูเที่ยวชมไดเห็นสัตวจากหลายๆมุม เปนการสรางกิจกรรมที่นาสนใจใหเกิดกับผูเที่ยวชม
มากยิ่งขึ้น ที่สวนสัตว The Woodland Park ที่สวนแสดงบีเวอรจะมีการตัดทอนไมในลักษณะบาก
ดวยขวานหรือมีดใหคลายกับการกัดดวยตัวบีเวอร โดยเฉพาะการตัดตนไมในบริเวณรอบสวนแสดง
เพื่อเปนการกระตุนตัวบีเวอรใหเห็นตนไมที่ถูกโคนใหลมลง ซึ่งวิธีการที่กลาวมานี้ไมสามารถกระตุน
ตัวบีเวอรใหแสดงพฤติกรรมไดอยางเปนที่พึงพอใจของผูเที่ยวชมก็ตาม แตก็เปนตัวอยางที่จะพยายาม
จําลองสิ่งแวดลอมเพื่อกระตนพฤติกรรมสัตวใหเกิดขึ้น ดังนั้นการทดลองดวยวิธีการหลายๆวิธีอยาง
ตอเนื่องจะมีความจําเปน เชนการควบคุมระดับน้ําใหอยูในระดับต่ําที่จะเปนการคงระดับใหบีเวอรยัง
สรางและรักษาสภาพเขื่อนอยูตลอดเวลา
ทันทีที่นําบีเวอรเขามาในสวนแสดง ผูเลี้ยงสัตวพยายามที่จะชักนําตัวบีเวอรใหแสดงการ
รักษาเขื่อนดวยวิธีที่ใหน้ําอยูใ นระดับต่ํากวาจุดที่อุดรู มีการเพิ่มและลดระดับน้ําในสระน้ําที่อยู
ดานบน ในหลายๆครั้งในแตละวัน เพื่อสรางความไมแนนอนและลดระดับน้ําจนกระทั่งน้ําแหง
ปลอยใหระดับน้ําจนถึงจุดที่น้ําไหลเออ จนลนเหนือจุด spillway
142

ความอดทนที่จะทดสอบแนวคิดใหมๆ และเพิ่มความสามารถของเจาหนาที่ ในเรื่องของ


วิธีการอุปกรณหรือเครื่องมือที่มีขั้นตอนการใชซับซอน ที่จะพัฒนาใหสัตวมีการเคลื่อนที่ในอันที่จะ
เปนการปรับปรุงพฤติกรรม การออกแบบวิธีการที่ใชในสวนแสดงนกที่ The Minesota Zoo และใน
สวนแสดงสัตวผูลาหลายๆชนิด ที่ The Brookfield Zoo
ในสวนแสดงนากแสดงเงื่อนไขใหนากแสดงการจับปลาและกินปลามีชีวิต นากถูกฝกให
ตอบสนองกับเสียงระฆัง เมื่อมีการปลอยปลาและทําใหนากตื่นขึ้นและไลลาปลา การใชสัตวมีชีวิต
ปลอยใหผูลาลาเหยื่อนั้นมีขอจํากัดเชนกัน เนื่องจากผูเที
 ่ยวชมบางทานไมเห็นดวยถาเหยื่อมีขนาด
ใหญ แตถาเปนปลาหรือแมลงจะไมคอยมีปญหา ( Friedman, 1985 )
สวนแสดงเสือโครงไซบีเรียจะมีรูปซากสัตวที่ปนจากปูนปน ที่บริเวณโดยรอบของสวนชอง
ทองจะมีกลไก ถาเสือโครงไปแตะตามตัวของหุนกวางปูนปนตามจุดตางๆ มากพอก็จะมีลูกชิ้นเนื้อ
ไหลออกมาใหกิน ภาพที่ผูเที่ยวชมเห็นจะเปนภาพที่เสือกําลังตะกุยที่ซากและกินอาหาร
สวนแสดงเสือพูมา เมื่อเสือพูมาปนขึ้นไปขั้นสูงสุดเนินในสวนแสดง ก็จะผาน micro –
switch ซึ่งจะเปนตัวควบคุมกลไกใหหุนของหนูวูดแรทวิ่งที่พื้นของสวนแสดง เสือพูมาก็จะวิ่งลงมาที่
พื้นและตบไปที่ตัวหนูหลายๆครั้ง ก็จะมีลูกชิ้นเนื้อไหลออกมาเปนรางวัล
สวนแสดงที่ออกแบบมาเพื่อใหสัตวแสดงพฤติกรรมการลาเหยื่อของสัตวผูลา ใหผูเที่ยวชม
เห็นความสัมพันธระหวางสัตวผูลากับผูถูกลา โดยสัตวผูลาแสดงพฤติกรรมการไลลาและโจมตี
เหยื่อที่ใชอาจเปนเหยื่อปลอมหรือเหยื่อจริงมีชีวิต การนําเสนอในรูปแบบเหลานี้ตองระวังคําครหาที่
อาจเกิดจากผูเที่ยวชมบางกลุม ที่จะโจมตีวานําภาพที่ดูโหดรายนําเสนอในที่สาธารณะ ประเด็น
อื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีการนําเครื่องยนตกลไกมาควบคุมเหยื่อปลอมเพื่อกระตุนสัตว เชน
- ใชงานไดไมนาน ซึ่งอาจมีอายุการใชงานตั้งแต 1 วันจนถึง 5ปจนกระทั่งถึงจุดที่ตองหยุดการใช
เนื่องจากไมสามารถกระตุนสัตวได
- ในชวงกลางป 1970 ซึ่งเปนชวงที่มีการนําคอมพิวเตอรเขามาใชอยางแพรหลาย ซึ่งเครื่องมือ
เหลานี้ตองการผูปฏิบัติที่มีความรู ชื่นชอบในงานดานอีเลคโทรนิค และตองเปนเจาหนาที่ทํางานกับ
เครื่องเหลานี้อยางเต็มเวลา
- ความเสียหายที่มักเกิดขึ้นกับอุปกรณตาง ๆ เนื่องจากการประเมินความแข็งแรงของสัตวต่ําเกินไป
( Friedman,1985 )
143

การออกแบบองคประกอบตางๆ ที่มีภายในสวนแสดง ( Design Component )


ดูรูปที่ 85 สวนแสดงชางที่ The
Kansas City Zoo สวนพื้น สวน
กําแพง สวนที่อยูเหนือพื้นดินของ
สวนแสดง การออกแบบอยางจําเพาะ
ที่มีลักษณะที่จะกระตุนพฤติกรรมของ
สัตวและทําใหการพัฒนางานของสวน
สัตวตามจุดมุงหมายไดสําเร็จ

หนึ่งในอิทธิพลที่สําคัญในพฤติกรรมสัตวในสวนแสดงสัตว คือองคประกอบทางกายภาพที่
อยูกับสัตวทุกวัน โดยแตละองคประกอบมีคุณสมบัติและลักษณะที่แตกตางกัน เชน ขนาด รูปราง
สี ลักษณะของพื้นผิว น้ําหนัก ซึ่งผูอ อกแบบจะเปนผูกําหนด ผูใชสถานที่คือ สัตวและคน การ
กําหนดและจัดวางองคประกอบที่เลือกใหตรงกับความตองการของสัตวและใหเกิดภาพที่นาดู
นาสนใจกับผูเที่ยวชม โดยในสวนนี้จะใหความสําคัญสิ่งแวดลอมของสัตวที่ประกอบดวยสวนพื้น
( base ) ดานแนวตั้ง ( vertical ) เหนือศรีษะ ( overhead ) ในแนวราบ สวนประกอบแตละอยาง
ภายในพื้นที่ของสวนแสดงจะมีผลตอลักษณะอื่นๆของสวนแสดงและมีผลตอพฤติกรรมของสัตว คํา
บรรยายที่จะกลาวในหัวขอตอๆไปนี้จะไมกลาวถึงทุกองคประกอบ แตจะกลาวถึงในสวนที่เกี่ยวของ
กับความตองการของสัตว และการออกแบบองคประกอบตางๆ ที่เกิดจากทีมงานที่ประกอบดวย
ผูเชี่ยวชาญในแตละสาขามาทํางานรวมกัน ( the collaborative team )
144

ดูรูปที่ 86 ถาขนาดใหญนี้จะเรียกวากรงหรือไม การใช


กรงแบบที่เปนซี่ลวด ที่เปนลักษณะของกรงสัตวที่ใช
ตอเนื่องกันมาเปนเวลานาน จะเปนภาพที่มีความแตกตาง
กับสวนแสดงที่ไมมีสวนบดบังสายตา ที่ Sandiago Wild
Animal Park แตถึงอยางไรก็ตามทัง้ 2 กรณีก็ยังเปนสภาพ
สวนแสดงทีย่ ังมีอยูในปจจุบัน การจําลองใหไดพื้นที่
เทากับอาณาเขตในพื้นที่ธรรมชาติเปนสิ่งที่เปนไปไมได
การออกแบบสวนแสดงใหสามารถสรางความรูสึกแหง
เปนอิสระใหเกิดขึ้นภายในใจของผูเที่ยวชมได

ขนาด (Size )
สวนแสดงสัตวในอุดมคติคือ สวนแสดงที่ใกลเคียงกับถิ่นที่อยูตามธรรมชาติของสัตว
ขอจํากัดทีท่ ําใหไมสามารถสรางสวนแสดงสัตวใหไดตามความตองการดังกลาวเชน พื้นที่ภายใน
สวนสัตวที่มีไมเพียงพอ
สวนสัตวที่จัดลําดับความสําคัญของการพัฒนารูปแบบและพื้นที่เปนลําดับตน มักจะมีการใส
ขอกําหนดที่จะตองการใหสวนแสดงที่ปรับปรุงใหมดูเปนธรรมชาติ คําถามที่มักเกิดขึ้นเชนสวน
แสดงสัตวควรจะมีความกวางใหญเทาใดจึงจะเปนสิ่งที่สัตวพึงพอใจ และเมื่อปรากฏตอสายตาของผู
เที่ยวชมจะไมเปนในลักษณะที่เปนเหมือนกรง ซึ่งไมใชคําตอบที่งายสําหรับคําถามนี้ มีตัวอยางใน
สวนสัตวในเคนยาและแอฟริกาที่มีบางสวนแสดงที่มีขนาดใหญจะมีการใชคู รั้วไฟฟา คูน้ําที่มีสวน
กระตุนชักนําใหสัตวแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ และเมื่อผูเที่ยวชมไดเห็นพฤติกรรมเหลานี้ก็จะ
เกิดความพึงพอใจ
145

ขอมูลโดยทั่วไปมักจะบอกพื้นที่ที่ตองการอยางนอยและจํานวนสัตวที่สามารถรับได จาก
ประสบการณและการทดลองพวกเราก็พอจะทราบถึงความสําคัญของขนาดสวนแสดง จะมีผลตอ
ขนาดฝูง จํานวนสัตว และถาเปนสวนแสดงสัตวที่มีสัตวหลายชนิดอยูรวมกันจะสามารถจัดแสดงได
กี่ชนิดและจํานวนเทาใด
ขนาดของสัตวไมไดเปนตัวกําหนดตายตัวถึงการกําหนดขนาดพื้นที่ที่สัตวตองการ แตขึ้นอยู
กับพฤติกรรมที่สัตวตอ งการแสดงออก
สิ่งที่พบเห็นดวยทั่วไปคือสัตวที่มีขนาดใหญตองอยูในกรงขนาดใหญ และสัตวขนาดเล็กถูก
บังคับใหอยูในกรงขนาดเล็กเชนใชตูปลาขนาดเล็ก สัตวที่มีขนาดเล็กควรจะนํามาเลี้ยงในสวนแสดง
ที่มีขนาดใหญเทาที่จะเปนไปได และถาเปนชนิดสัตวที่เปนสัตวสังคมทีต่ องอยูรวมกันหลายตัว ยอม
ตองการพื้นที่มากกวาชนิดสัตวที่อยูตามลําพัง
พื้นที่ของสวนแสดงตองมีความสัมพันธกับพฤติกรรมของสัตวที่ตองการแสดง สัตวผูลาที่มี
ความคลองแคลว เชน monitor lizard ผูเ ลี้ยงตองพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่โดยดูจาก
พฤติกรรมที่จะแสดงออกมา สัตวผูลา ที่ใชการดักซุมในการลาเหยื่อ เชนงู visperids ซึ่งมีรูปราง
อวนสั้นจะตองการพื้นที่นอยลงเมื่อดูจากขนาดของรางกาย เตา mata-mata เปนสัตวที่ลาเหยื่อที่
เปนปลาโดยการทําตัวใหกลมกลืนกับสิ่งแวดลอม ซึ่งจะแตกตางจากเตาชนิดอื่นๆ ที่มีการเคลื่อนที่
นอย แตในชวงฤดูกาลผสมพันธุซ ึ่งเปนชวงเวลาทีเ่ ตา mata-mata ตองการพื้นที่เพื่อการเกี้ยวพา
ราสีและการผสมพันธุ ซึ่งพบวาในสระน้ําที่มีขนาดใหญจะประสบความสําเร็จในการเพาะขยายพันธุ
มากกวา จากตัวอยางตางเหลานี้เปนการบงบอกใหรูวากอนที่จะทําการออกแบบสวนแสดง
ของสัตวชนิดใดการศึกษาทําความเขาใจธรรมชาติของสัตวชนิดนั้นๆใหชัดเจนเสียกอน
( Tolson,1985 )
นกตองการพื้นที่มากกวา 3 เทาของความยาวรางกายเพื่อตองการพื้นที่สําหรับการบิน
และนกแตละชนิดมีความแตกตางในเรื่องของอาหาร คอนเกาะ การจับคู การนอนหลับ ในสวนจัด
แสดงตองตองการสิ่งแวดลอมที่มีความเครียดนอย แตผูเที่ยวชมสามารถมองเห็นตัวสัตวได นก
ตองการสิ่งแวดลอมที่ใกลเคียงกับธรรมชาติที่นกอยู เพื่อนกจะไดมีโอกาสแสดงพฤติกรรมตาม
ธรรมชาติ นกเปนสัตวเกิดความเครียดไดงาย เชนความเครียดที่เกิดจากการตองอยูรวมกับสัตวชนิด
อื่นๆ ซึ่งในการจัดการสัตวในลักษณะนี้ ตองมีพื้นที่ใหสัตวสามารถหลบหลีกกันและกันได
นกลาเหยื่อ เชนเหยี่ยว นกอินทรีตองการสวนแสดงที่มีขนาดใหญ การจัดการตองพยายามใหมี
พื้นที่กวางขวางที่สุดเทาที่จะทําได แตตองใหพอเหมาะเนื่องจากนกที่นําเขาใหมจากปา จะบินใน
ลักษณะที่จะเปนอันตรายตอตัวนกได
พื้นที่โดยรวมของสวนแสดงมักจะมีจํากัด เปนสิ่งจําเปนที่จะตองมีพื้นที่สํารองภายในสวน
แสดง แตพื้นที่ดังกลาวไมควรจะเทากับพื้นที่หลัก รวมทั้งรูปรางควรจะตองแตกตางกันดวยเพื่อสราง
146

ความนาสนใจใหมากขึ้น ที่สวนแสดงสัตวแอฟริกาที่ Whisdas Zoo จะมีรูปรางของพื้นทีส่ ํารอง


แตกตางจากพื้นที่หลัก ซึ่งพื้นทีส่ ํารองนี้จะจะสนองความตองการที่แตกตางกันของสัตวแตละชนิด
ตัวอยางเชน พื้นที่หลักเปนพื้นที่ของแรดขาวที่ตองการพื้นที่สําหรับการอยูรวมกันหลายตัว มีพื้นที่
สํารองสําหรับสัตวชนิดอื่นที่อยูภายในสวนแสดงที่ จะใชสําหรับการหลบในเวลาที่ตองการหลบภัย
ลดความเครียด เชนการใชเสาไมฝงดินเปนชวงๆ เพื่อใหสัตวขนาดเล็กหลบเขาไปไดแตสัตวขนาด
ใหญเขาไปไมได ซึ่งทําใหสัตวขนาดเล็กมีพื้นที่ที่จะกินอาหารโดยไมถูกแยงจากสัตวขนาดใหญ
( Toovey, 1979 )
รูปทรงของพื้นที่สวนแสดง ( Shape )

รูปที่ 87 แมวน้ําที่ St louis zoo เปนสวนแสดงที่มีรูปทรงอิสระเพื่อที่จะใหสัตวสามารถหลบหลีกกัน


ได สรางโอกาสใหแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ ภาพทีเ่ ห็นจะใหญกวาพื้นที่จริง
การออกแบบโดยใชแนวคิด “ รูปทรงที่ตอบสนองการใชงาน ” ( form follows function )
รูปทรงของพื้นที่สวนแสดงมักจะเกี่ยวของกับวัตถุสิ่งของที่มนุษยสรางขึ้น แตก็สามารถใชเปน
แนวคิดในการออกแบบพื้นที่ของสวนแสดงสัตวได พบวารูปทรงสี่เหลี่ยมจะเปนแนวคิดที่มนุษย
มักจะนํามาใชมาก แตรูปทรงดังกลาวพบไดนอยในธรรมชาติ นอกจากนั้นรูปทรงนี้ควรจะหลีกเลี่ยง
เนื่องจากเปนรูปทรงที่ไมเอื้อใหใหสัตวตัวที่ดอยกวาสามารถหลบหลีกได ( Bacon, 1980 )
สวนแสดงที่มสี วนแบงพื้นที่ระหวางสัตวกับผูเที่ยวชม ( barrier ) เปนแบบกําแพงปูนและ
สวนขอบปนเปนรูปหยัก ซึ่งรูปหยักจะมีในหลายรูปแบบดวยกันเชนแบบเปลือกหอย ซึ่งลักษณะ
ดังกลาวก็จะเปนการสรางบรรยากาศคลายตนไมที่มีในธรรมชาติ
-สวนรูปทรงของพื้นที่ที่เปนทรงกลมก็จะดูเปนธรรมชาติ รวมทั้งจะมีผลนอยตอทิศทางการเคลื่อนที่
ของสัตวและเปนรูปทรงของพื้นที่มีสวนโคงจะใหความรูสึกที่เปนอิสระ
- พื้นที่แบบยาวรีแบบรูปบุหรี่ซิกาจะเหมาะสมกับการเปนที่วิ่งของนกกระจอกเทศ
147

- รูปรางของพื้นทีส่ วนแสดงทีเ่ อื้อใหผูเที่ยวชมเห็นภาพที่ดีที่สุด ที่สวนแสดง African Plain ที่


Whipsnada จะเปนรูปตัวแอล ถาจุดชมที่มุมดานในของตัวแอลจะเปนบริเวณที่ไมบดบังมุมมองของผู
เที่ยวชมที่ทําใหสามารถมองเห็นพื้นที่ไดทั้งหมด
- รูปรางสวนแสดงที่เปนรูป clover leaf ที่ออกแบบโดย Coe and Maple ที่สวนแสดงลิงอุรังอุตังเปน
ตัวอยางที่ดีของรูปทรงที่ตอบสนองความตองการในดานการใชงาน ( form follow function )
ในปาลิงอุรังอุตังเพศผูจะประกาศอาณาเขตโดยการรองเปนเสียงยาวๆ และแสดงทาทางบน
ตนไม ฝูงของลิงอุรังอุตังจะเปนฝูงของตัวเมียไมมีตัวผูอยู ซึ่งจะมีตัวเมียที่โตเต็มวัย ลูกออนของตัว
เมียหลายตัว ในชวงฤดูผสมพันธุ ตัวเมียที่โตที่สุดจะเปนผูเลือกตัวผูและคลอเคลียกับตัวผูตัวนั้น
ในชวงฤดูผสมพันธ
สถานการณในสวนสัตวจะไมเหมือนกับเหตุการณในปา การจับคูจะเปนไปในลักษณะผู 1
ตัว ตอตัวเมีย 1 ตัว การจัดการที่ดีควรจะจําลองรูปแบบมาจากในปา โดยใหสวนแสดงในรูป
cover leaf ตัวเมียหลายตัวจะใชพื้นที่รวมกลาง ที่จะเชื่อมไปยังตัวผูที่อยูแยกกัน โดยตัวเมีย
เทานั้นที่สามารถผานไปยังพื้นที่ของตัวผูได สําหรับตัวผูจะแยงชิง ตอสูกันดวยการใชเสียง long
call ซึ่งจะมีสวนแสดงของชะนีอยูใกลๆกับสวนแสดงลิงอุรังอุตังก็จะเกิดเปนการประสานเสียงของ
สัตว 2 ชนิดขึ้น ( Coe and Maple, 1994 )
พื้นที่สวนพื้นดิน ( Base Plan )

รูปที่ 88 แจคคาสส เพนกวิน ที่ Fort


Wayne Children’s Zoo : Indiana พื้นที่
สวนพื้นดินที่ประกอบดวยวัสดุหลายอยาง
มีหลายระดับและหลายรูปทรง จะชวยให
พื้นที่ภายในสวนแสดง ซึ่งจะเปนการสราง
โอกาสใหสัตวไดแสดงพฤติกรรมมากขึ้น
และเปนการสรางความสนใจใหกับผูเที่ยว
ชมมากยิ่งขึ้น
148

พื้นที่สวนพื้นดิน ( Base Plan ) การเลือกวัสดุ การจัดวางและขนาดขององคประกอบสําหรับพื้นที่


สวนพื้นดินนั้น วัสดุที่เปนตัวเลือกเชน น้ํา หญา ทราย คอนกรีต ดิน ตนไม ซึ่งสิ่งตางๆเหลานี้ จะ
มีคุณสมบัติที่แตกตางในเรื่องของรูปราง การเชื่อมความสัมพันธระหวางวัสดุเหลานี้จะเปนจุดเริ่มตน
สําหรับสวนพื้นที่ในแนวตั้งและพื้นที่ที่อยูเหนือศีรษะขึ้นไป
สวนพื้นดินของสวนแสดงลิงชิมแพนซี ( Design Group B) 1985 ) พื้นที่ถูกแบงโดยเสนทาง
น้ําเนื่องจาก ลิงชิมแพนซี จะหลีกเลี่ยงพื้นที่ที่เปนน้ําและลําธาร (Fossy,1983 ) ดังนั้นทางเดินชมของ
ผูเที่ยวชมจะใชทางเดินที่เชื่อมระหวางยอดไมและเชื่อมตอกันตลอดทั้งสวนแสดง มุมมองหลักจึงเปน
แบบทางเดินเทาที่ยกตัวสูงขึ้น
ในการออกแบบในสวนของพื้นที่สวนพื้นดินนั้น ใหมององคประกอบตางๆดวยภาพที่วัตถุมี
มิติในกวาง – ยาว - สูง และกินพื้นที่ในสวนของพื้นที่แนวตั้งดวย การตกแตงโดยใหพนื้ ที่แนวราบมี
หลายระดับจะเปนการเพิ่มความนาสนใจ ตัวอยางเชน การแบงระดับของพื้นที่เปนชั้นๆ ที่ Big Cat
Country Exhibit ที่ St louis Zoo ซึ่งก็จะเปนผลดีตอสัตวที่จะไดกระโดดและซอนตัว
สวนแสดงบีเวอรที่สวนสัตว Minesota Zoo จะมีพื้นที่ในแนวระนาบหลายระดับ จะมีสระ
น้ํา 2 แหงที่ตางระดับกันและแบงกันดวยเขื่อน โดยที่แนวดวยรอบของของสระจะเปนขอนไมที่กอง
รวมกันเปนพื้นที่ภายในของบีเวอร สระน้ําที่อยูต่ําลงมาจะมีสวนของ aspen tree ที่วางไว บีเวอร
จะมากัดตนไมเหลานี้ จะมีสัตวชนิดอื่นรวมใชพนื้ ที่กับตัวบีเวอร ( Friedman, 1980 )
น้ําเปนวัตถุในพื้นที่แนวระนาบ ที่ใชเปนสวนประกอบในสวนที่ครอบคลุมพื้นที่ในสวน
แสดง ซึ่งการใชน้ํานี้จะมีสามารถสนองความตองการหลายๆประการ
- สวนแสดงนกที่ Danver Zoo สวนของสระน้ําจะมีความลึกของน้ําตื้นๆ ซึ่งจะมีกอนหินวางที่กน
สระและมีสายน้ําไหลผานตลอดเวลา พบวามีนกขนาดเล็กอาศัยเลนน้ําในบริเวณนี้ (Freihett and
Schmitt,1977 )
- The Australian Exhibit ใชน้ําอยูในรูปของการจําลองลําธารน้ําไหลที่ทั้งจิงโจ และนกอีมูมาแชน้ํา
ในชวงฤดูรอน
- น้ําจะเปนสวนที่ชวยสรางความพึงพอใจใหกับผูเที่ยวชม โดยในจิงโจจะเปนสัตวที่มีการเคลื่อนที่
และมีกิจกรรมนอยในเวลากลางวัน ละอองน้ําจากน้ําตกจะชวยใหบรรยากาศในบริเวณพื้นที่ชมสัตว
และสวนที่สัตวพัก การใชน้ําเปนสวนกันอาณาเขตระหวางคนและสัตว ที่กันสัตวออกในลักษณะคู
น้ํา ถึงแมวา น้ําสวนดังกลาวสัตวจะใชประโยชนหรือไมก็ตาม การใชน้ําเปนสวนประกอบเพื่อสราง
ความหลากหลายและนาสนใจใหกับสวนแสดง ( Coe and Maple, 1984 )
การใชวัสดุที่มีความนิ่มเชน หญา ดิน ทราย กรวดจะมีขอดีกับสัตวบางชนิดในดานที่สัตว
บางชนิดไดมีโอกาสขุดดินและใชดินในการเลน ซึ่งจะเปนการทดแทนในกรณีที่สัตวมีพื้นที่ไม
เพียงพอ
149

- ถาสวนแสดงมีการใชพืชและสวนประกอบอื่นๆ เชน วัสดุที่ออนนิ่ม จะตองใชขอพิจารณาหลาย


อยาง เพื่อจะใชมาเปนตัวบงชี้ในการเลือกใชในการออกแบบแผนงานการใชพื้นที่
วัสดุที่มีความออนนุม มักจะเกิดปญหาในการบํารุงรักษา เชนหญาอาจโดนเหยียบย่ําจนเปน
โคลน ทรายและดินจะไหลรวมมากับน้ําและไปอุดตันชองทางการระบายน้ํา พืชอาจจะถูกทําลายจาก
ปจจัยหลายๆอยาง ดังนั้นการเลือกใชวัสดุเชนหิน คอนกรีต แอสฟล อิฐจะถูกเลือกมาใชเพื่อ
แกปญหาดังกลาวและวัสดุเหลานี้ก็จะมีขอดีอีกหลายอยางที่เปนประโยชนตองานกอสราง
ผูออกแบบจะเปนผูเลือกวัสดุในการออกแบบเพื่อใหสิ่งที่ออกมาใกลเคียงกับถิน่ ที่อยู
ใกลเคียงกับธรรมชาติ การเลือกทางสายกลางหรือเลือกวัสดุบางอยางที่ใกลเคียงกับธรรมชาติ ก็มี
ทั้งขอดีและขอเสีย สภาวะพิเศษที่ตองพิจารณาเชนระหวางคอนกรีตกับดิน ตนไมเปนลําตนหรือไม
เลื้อยกับพื้นที่สําหรับเครื่องเลน พื้นที่หรือการใชที่วาง ภูมิอากาศ ขอเรียกรองของผูเที่ยวชม การใช
พื้นที่ของสัตวชนิดตางๆ
การเลือกใชคอนกรีตดวยเหตุผลหลายอยาง ขอดีคือการควบคุมพยาธิ เนื่องจากดินจะเปน
แหลงเพิ่มจํานวนและสะสมเชื้อโรค มีตัวอยางที่สวนสัตวแหงหนึ่งที่การตายของสัตวเกิดขึ้นจากซูโด
โมนาสที่มีอยูในดิน (Favata, 1985 )
พื้นที่ที่มองดูแลวแข็ง เราจะใชวัสดุที่ดูแลวออนนุมปดทับไว เพื่อใหเกิดความรูสึกที่เปน
ธรรมชาติ ในขณะที่ยังชวยลดปญหาในการบํารุงรักษา ในบางเวลาวิธีการโดยตรงจะใชในการ
ออกแบบเปนชั้นๆ ที่สรางพฤติกรรมที่ไมเปนธรรมชาติหรือการที่มากเกินไปและสวนใดที่ดูเรียบ
และไมมีสีสัน การใช epoxy resin จะใชปดในสวนของพื้นที่ที่ใชวสั ดุที่แข็งเพื่อปองกันขนสัตว
และชวยในการทําความสะอาด
พื้นที่ในแนวตั้ง (vertical Plane )
รูปที่ 89 Dall Sheep ที่สวนสัตวเดนเวอร
จุดประสงคมีดวยกันหลายหัวขอในการ
ออกแบบพื้นที่ในแนวตั้ง เชน สรางความโดด
เดนที่ฉากของสวนแสดงเนื่องจากจะทําหนาที่
เปนสวนแบงพื้นระหวางคนและสัตว
( barrier ) จําลองลักษณะพื้นที่ใหใกลเคียงกับ
ถิ่นที่อยู โดยเปนสวนของฉากหลัง เปนสวน
สําคัญของลักษณะของสวนแสดง
150

พื้นที่ในสวนของแนวตั้ง( vertical plan ) ของสวนแสดง จะทําหนาที่


-พื้นที่โดยรอบของพื้นที่สวนแสดงจะเปนพื้นที่ของสวนที่กันสัตวหลุด ( barrier ) โดยใชรูปแบบ
หลายๆอยาง เชน คู กําแพง รั้ว กระจก กอนหิน
- เปนพื้นที่เมื่อผูเที่ยวชมมองมาที่สัตวจะเปนสวนของฉากหลังของสวนแสดงสัตว
- ใชเปนพื้นที่ใหสัตวมีโอกาสแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ เชน เนินเขา กอลิลาจะใชสําหรับเปน
ที่เลนและอาบแดด ใชเปนที่แสดงทาทางขู แสดงอาณาเขตพื้นที่ของตัวเอง ( Coe and Maple ,
1985 )
- ผนังที่มีลักษณะเปนหินกอนใหญไมวาจะทําจากหินจริงหรือหินจําลอง ขอนไม เนินดิน หินกอน
ใหญ เปนวัสดุที่สัตวจะใชในการปนปายและหลบซอน
- พื้นที่ในแนวดิ่งมีบอยครั้งที่ใชเปนพื้นที่สรางจุดสนใจแกผูเที่ยวชม เชนสวนแสดงของนกที่
Talonga Zoo, Australia โดยสวนแสดงนี้ออกแบบมาเพื่อแสดงชีวิตของนกในปาดิบชื้นของ
ออสเตรเลีย และแสดงภาพความพิเศษและลําดับชนิดของสัตวในลําดับความสูงต่ําของตนไม นกที่
อยูบนชั้นยอดสุดของปาคือนกพิราบกินผลไม นกกินน้ําผึ้งหลายชนิด, Fig bird, Oriole birdและนก
แกวLorikeet นกที่อยูในความสูงระดับกลางของความสูงตนไม เชน Yelloe robins, Bower birds,
Cat birds, King Parrots, Glossy Cockatoo, Sacred Kingfisher พื้นที่บนพื้นดิน เชน Lyre Birds,
Victoria Crowned Pigeons ( Muller,1977 )
พื้นที่ในแนวตั้งจะถูกออกแบบเพื่อสนองความตองการของผูเที่ยวชม โดยจะเปนสวนของ
ฉากหลังสําหรับสัตว ซึ่งอาจจะเปนกําแพงหรือใชตนไม จุดประสงคหลักของผนังที่ The Houston
Zoo ที่ Gorilla exhibit เพื่อที่จะใชเปนฉากเพื่อใหการแสดงสัตวมีความสมบูรณและประโยชน
ทางออม เพื่อเปนสิ่งที่ชวยเพิ่มคุณภาพชีวิตใหกับสัตว
ตัวอยางในการออกแบบพื้นที่แนวตั้ง เชนสวนแสดงลิงกอลิลา ที่ ใช barrier เปนแบบคูแหง
โดย barrier แบบนีจ้ ะมีขอดีคือมุมมองของผูเที่ยวชมจะไมมีวัตถุมาขวางกั้นสายตา และในสวน
ดานหลังของคูแหงที่อยูตรงกันขามกับจุดชมสัตว จะใชพื้นที่ดานหลังคูแหงใหทําหนาที่เปนเหมือน
ฉากละครเวที โดยใชการปลูกตนไมหลังคูแหงซึ่งคูแหงมีความกวางประมาณ 3-4 เมตร ตนไมที่
ปลูกขึ้นจะเปนการจําลองบรรยากาศปาเขตรอน แทนการใชผนังปูนปนที่จะดูเปนธรรมชาตินอยกวา
สวนการปลูกตนไมในสวนแสดงจะโดนทําลายจากลิงกอลิลา
เพื่อเปนการทําความเขาใจกับคําวา พื้นเวที ( stage ) ก็ลองมานั่งฟงคําวิจารณหรือลอง
สังเกตปฏิกิริยาของผูเที่ยวชม ซึ่งสวนแสดงลิงกอลิลาที่ตอเนื่องจากบรรยากาศของปาดิบชื้นของ
สวนแสดงนกจากปาเขตรอน วาการจัดแสดงสัตวของสวนสัตวแหงนี้ไดสรางความรูสึกใหกับผูเที่ยว
ชมเสมือนวาเดินทางทองเที่ยวในบรรยากาศของปา ไมใชบรรยากาศของที่คุมขัง ซึ่งความรูสึก
151

เหลานี้เกิดขึ้นเนื่องจากการวางแผนออกแบบเพื่อสรางภูมิทัศนและบรรยากาศที่เปนธรรมชาติ
( Werler,1975)
พื้นที่เหนือศีรษะ ( Overhead Plan )

ดู
รูปที่ 90 สวนแสดงนกแบบเดินเขาชมภายใน ที่ North Carolina Zoo พื้นที่เหนือศรีษะของสําหรับ
สวนแสดงนี้จะประกอบดวยหลังคารูปโคงครึ่งวงกลม ตนไม และกอนหิน ซึ่งทั้งหมดจะมีผลตอ
บรรยากาศและมีอิทธิพลตอพื้นที่ของสวนแสดงที่เลียนแบบถิ่นที่อยูของสัตว
สวนหลังคาของสวนแสดงเปนสวนที่มีความสูง สี พื้นผิว ความขุน ซึ่งเปนขอกําหนดโดย
รูปแบบของบรรยากาศของสวนแสดง ที่เปนความตองการของกลุมผูออกแบบ ขอแตกตางระหวาง
พื้นที่ดานแนวตั้งกับพื้นที่เหนือศีรษะ คือความพรามัวของภูมทิ ัศนของธรรมชาติ เชนทุงหญาแพรี่
ปาละเมาะ จะมีพื้นที่แนวตั้งที่มีพืชตามลักษณะของพื้นที่และเหนือศรีษะเปดโลง ในขณะที่ภูมิทัศน
ของปาและภูเขาพื้นที่ทั้งสองสวนจะจะคอนขางแนนทึบตามลักษณะของตนไมที่มีในพื้นที่
- พื้นที่เหนือศีรษะและพื้นที่ในแนวตั้งจะเปนสวนควบคุมแสงที่ผานมาที่สวนแสดง ทําให
พื้นที่ทั้งสองแหงนี้จะมีอิทธิพลตอบรรยากาศของสวนแสดง
- การใหความสนใจถึงความสัมพันธทั้งสองสวนนี้ การทําความเขาใจวาทําไมปาดิบชื้นจึง
มืดและทุงหญาซาวันนาจึงสวาง เนื่องจากจุดกําเนิดแสงและตัวกั้นแสง จะเปนตัวกําหนดวา
บรรยากาศที่จะเกิดขึ้นจะอยางไร
พื้นที่สวนเหนือศีรษะของสวนแสดงสัตวที่มีตาขายคลุมดานบน จะเปนสวนที่กันสัตวใหอยู
ภายในพื้นที่และชวยลดแรงปะทะจากลมฝน เชนตาขายที่คลุมสวนแสดงนกน้ํา ที่ The Woodland
Park ใชตาขายสีดํา การมองเห็นวัสดุชนิดนี้จะมีความเดนชัดนอยกวาสีอื่นๆ และเปนวัสดุที่มีความ
แข็งแรงเพียงพอ ที่จะควบคุมนกใหอยูภายในสวนแสดงไดโดยที่ไมไดตองตัดปก ตาขายชนิดนี้ยัง
152

ใชไดกับนกชนิดอื่นๆเชน เปด mallard นกนางนวลl อีกา นกเคาแมว และพื้นที่เหนือศีรษะ จะเปน


สวนที่ใหแสงผานหรือเปนสวนที่ใหรมเงา ที่จะเปนสวนที่สงแสงผานมาที่พื้นดิน

องคประกอบภายในสวนแสดง ( Features )

ดูรูปที่ 91 เกาะชะนีที่ Miami Metro Zoo องคประกอบหลายอยางที่มีในพื้นที่ของสวนแสดง


เปรียบเทียบไดกับเฟอรนิเจอรที่มีในหอง เปนสวนที่กระตุนใหสัตวแสดงกิจกรรม ตนไมเทียมที่
สรางขึ้นเปนองคประกอบในสวนแสดงรวมกับตนไมชนิดอื่นๆ จะเพิ่มในการสรางโอกาสใหสัตว
แสดงพฤติกรรมปกติ และพฤติกรรมที่เกิดขึ้นของสัตวสรางจุดสนใจใหกับผูเที่ยวชม
อุปกรณหรือเครื่องใชในสวนแสดง ถูกกลาวถึงแลวในเนื้อหาสวนการออกแบบที่เหมาะสม
กับพฤติกรรมสัตว( ( Behavior Design ) พฤติกรรมของสัตวที่อุปกรณมีสวนชวยใหสัตวไดมีโอกาส
แสดงพฤติกรรมมากขึ้นเชน การปนปาย เลน ทํารัง ตัวอยางของเครื่องเลนเชนทอนซุงที่วางตัวใน
มุมตางๆ ซอนไปมาในสวนแสดงของหมีแพนดาในสวนสัตว The National Zoo ในเมืองวอชิงตัน ดี
ซี ( Mulen,1975 ) รูปแบบของอุปกรณจะมีดวยกันหลากหลายรูปแบบซึ่งจะผันแปรตามความ
ตองการของสัตว
คอกกักและสวนแสดงตองมีการจัด การตกแตงดวยอุปกรณตางๆ ตามความตองการของ
สัตวแตละชนิด
- ตนไมที่มีระดับความสูงตางๆกัน จนกระทั่งมีความสูง 5 เมตร ตนไมขนาดใหญที่มีการ
ปองกันโดยการใช fiber glass และ poly ester เพื่อใชเปนที่ปนปาย
- อุปกรณที่สัตวไดปนปาย โหนตัวเชนเชือก เปลหลายรูปแบบ ทอนไมยาว
- วัสดุที่ใสเขาไปในสวนแสดงเพื่อใหสัตวใชเปนวัสดุรองนอนเชน ใบไมสดพรอมกิ่งกาน ใบไมแหง
เนื้อไมที่ฝานเปนชิ้นบางๆ
153

- วัสดุที่สัตวไดเลน เชนทราย น้ําในสระน้ํา


- ในสวนแสดงกอลิลาที่ใหหนิ ขนาดใหญใหลิงไดปนปายและซอนตัว ชิ้นของไม kambala เพื่อคลุม
เสาไมที่ใชปนปายซึ่งเปนที่ลิง ape ใชซอนตัวและใชทุบตีเหมือนกลอง ( Vogt,1977 )
ตนไมไดรับการพิจารณาเนื่องจากเหมาะสมในการปนปายและใชเปนทีส่ รางรัง
กิ่งไมขนาดเล็ก ฟางแหง ควรเตรียมไวใหลิงอุรังอุตังใชสรางรังนอนอยางที่เคยทําในปา ซึ่ง
ลิงจะมีการยายที่นอนบอยๆ โดยจะนอนจุดเดิมไมเกิน 2 วัน เมื่อลิงมาอยูในสวนสัตว ลิงจะนอนใน
จุดเดิม การเตรียมวัสดุดังกลาวใหผูเที่ยวชมก็จะมีโอกาสไดเห็นการสรางรังนอนของลิงอุรังอุตัง
( Group B, Design,1985 )
ปญหาอยางหนึ่งของการใชตนไมจริงปลูกในสวนแสดง คือการปกปองตนไมจากการทําลาย
โดยสัตว โดยวิธีการปองกันนั้นไมไดไปบดบังความสวยงามของตนไมและไมรบกวนกิจกรรมของ
สัตวมากเกินไป
ที่ The Pittsburg Zoo มีสวนแสดงที่ปลูกตนไม linden สูง 50 ฟุตคลุมดวยตาขายที่เปน light
stell mesh มีเสือดาวที่นั่งนอนอยูบนหางไมสูงจากจุดที่ผูเที่ยวชมยืนประมาณ 20 ฟุต หรือนอนอยู
โคนตนไม ถาตนไมจริงไมสามารถปลูกได ตนไมเทียมจึงถูกสรางขึ้นมาเพื่อกระตุนใหเกิดสภาพที่
เปนธรรมชาติขึ้น
ตนไมเทียมหลายตนที่มีความสูงและมีกิ่งกานไปจรดเพดานคอก กิ่งไมที่อยูดานบนของ
ตนไมจะสานตัวไป เพื่อใหลิงกอลิลารุนเด็กปนปายและวิ่งเลนตามกิ่งไม เคลื่อนที่ดวยการโหนตัวไป
ตามกิ่งไม ในบางกิ่งของกิ่งไมจะถูกออกแบบใหเปนที่นั่งของลิงและลิงก็ชอบนั่งที่ดงั กลาวเปนประจํา
เถาวัลยที่นํามาจากปาแลวพาดไวแลวตรึงใหแนนดวยเกลียวเชือก กอลิลาจะใชเถาวัลยสําหรับโหน
แกวงตัว ปนปายเลนนอกจากนั้นจะนํามากัดเลน ดึงเอาเปลือกและกินเขาไป ( Werler, 1975 )
การใชตนไมเทียมปูนปนรวมกับการใชกิ่งไมและใบไมสดเพื่อใหลิงกอลิลาไดจับไม ทึ้ง
ใบไมและขวางตนไมเลน มีความคิดที่หลากหลายที่ใชตนไมมาเปนสวนประกอบ การจัดแสดงบี
เวอรที่ The Minesota Zoo
ทอเหล็กที่นําไปฝงดินที่จะใชเปนที่เสียบกิ่งไม ลําตนของตน aspen ที่จะตองนําลําตนใหม
มาเสียบแทนทุกวัน ไมที่นํามาวางตองมีขนาดใหญเพียงพอที่จะเสียบใหแนนกับทอเหล็ก เพื่อใหบี
เวอรกัดไม ถาเสียบไมแนนบีเวอรจะยกไมออกจากแทน สิ่งที่ผูเที่ยวชมจะไดเห็นคือ พฤติกรรมการ
กัดไม ขนไม เก็บไมชิ้นเล็กๆ ไวที่จุดซอนอาหาร กินใบไม ลอกเปลือกออกและกินเปลือก ซึ่งตองมี
การเตรียมการที่จะตองปลูกตนไมที่จะนํามาใชในสวนแสดง ซึ่งการตัดฟนไมเหลานี้มาใชงานตองมี
การจัดการเพื่อใหมีไมเพียงพอเชนพื้นที่ปลูก จํานวนตนไม วงรอบของการตัดไมมาใชงาน
( Friedman,1981 )
การออกแบบสําหรับผูเที่ยวชม ( Design for people )
154

จุดประสงคในเรื่องงานใหการศึกษาและงานดานการอนุรักษ
- การออกแบบสวนสัตวเพื่อที่จะใหผูเที่ยวชมไดรับความสนุกสนาน เปนเปาหมายที่สําคัญ
นับตั้งแตสวนสัตวเริ่มเกิดขึ้นในหนาประวัติศาสตรโลก
- การพัฒนาสวนสัตวในยุคปจจุบันไดสรางเปาหมายเพิ่มในเรือ่ งของงานใหการศึกษาและงาน
ดานการอนุรักษพืชและสัตว โดยที่สวนสัตวจะทําหนาที่สรางจิตสํานึกใหแกประชาชนในเรื่อง
สิ่งแวดลอมโดยเฉพาะในเรื่องสัตวปาที่ลดจํานวนลงและเรื่องของวัฒนธรรมทองถิ่น
- การออกแบบสวนแสดงที่มีแนวคิดในหัวขอเรื่องงานดานการอนุรักษและวัฒนธรรม ที่จะ
ทําใหเกิดการเรียนรูเมื่อผูเที่ยวชมเขามาในสวนสัตว พรอมทั้งไดรับความบันเทิงไปดวย
วิธีการออกแบบตองการวิธีการแบบใหมเพื่อใหผูเที่ยวชมไดชมสัตวพรอมกับสิ่งแวดลอม
ของสัตวชนิดนั้น ซึ่งตองใชสื่อที่หลากหลายที่จะสรางความรูสึกกับขอมูลที่ตองการสื่อออกไปใหผู
เที่ยวชมจะไดรับทราบ โดยใหความสําคัญกับลําดับเรื่องราวที่จะนําเสนอ ในการเคลื่อนที่ชมสัตว
ของผูเที่ยวชม จุดชมสัตวเปนจุดที่ผูเที่ยวชมไดอยางใกลชิดและชัดเจน เสนทางการเคลื่อนที่ผสาน
กับเรื่องราวที่นาสนใจและนาจดจําหรือไม
การออกแบบใหสวนแสดงประสบความสําเร็จในหัวขอเรื่องการอนุรักษ ( conservation
teme ) ตองการการเริ่มตนที่เปาหมายดานงานใหการศึกษา ที่สามารถใหแนวทางในการออกแบบ
และพัฒนาสวนสัตว
การเลือกหัวขอดานสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมเปนเรื่องที่สําคัญ โดยเฉพาะในหัวขอเรื่องที่มี
ผลกระทบตอผูเที่ยวชมสวนสัตว การสื่อความหมายและการจัดแสดงในหัวขอภายในเรื่องราวของ
สัตวในสวนแสดงตางๆนั้นจะมีความจํากัด เนื่องจากความคิดสรางสรรคและความรอบรูของกลุมของ
ผูออกแบบเอง
การวิเคราะหและการเลือกเปาหมายจากรายงานของแผนแมบท นิตยสารทางวิชาการ และ
รายงานการเสนอเพื่อเริ่มตนงานออกแบบของนักศึกษา ไดแสดงใหเห็นถึงเรื่องราวที่จําเพาะ
โดยเฉพาะในเรื่องของระบบนิเวศวิทยา
การสรางสวนแสดงที่ทําใหสัตวและพืชมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดี ใหสัตวไดมี
โอกาสแสดงกิจกรรมตามธรรมชาติ ผูเทีย่ วชมไดเขาใจถึงความสัมพันธระหวางสัตว สิ่งแวดลอม
และโลก ( Shea,1985 )
จุดประสงคการใหการศึกษาที่สวนแสดง The North American Exhibit เพื่อกระตุนความ
สนใจและใหเห็นความสําคัญของสิ่งแวดลอมในทวีปอารคติก โดยนําเสนอในเรื่องสิ่งแวดลอมที่มีผล
จากน้ํามือมนุษย ( Design Group A,1985 )
สวนแสดงจะทําหนาที่ในเรื่องงานใหการศึกษาใน 2 จุดประสงคคือ 1 ใหผูเทีย่ วชมไดทราบ
ถึงความหลากหลายของชนิดพืชและสัตวในปาดิบชื้น 2. ทราบถึงการคุกคามทําลายพื้นที่ปาดิบชื้น
155

จากความตองการใชพื้นที่เพื่อหาประโยชน เมื่อเขามาเทีย่ วชมในในสวนแสดงสวนนี้จะเกิดความ


ประหลาดใจในปาดิบชื้นในความหลากหลาย เห็นคุณคาและเกิดความรูสึกอยากจะรักษาปาชนิดนี้
ไว ( Design Group C,1985 )
จุดประสงคของสวนแสดงนี้เพื่อใหผูเที่ยวชมไดเขาใจถึงการลาสัตว การทําเหมืองแรที่มีผล
ตอหมีขั้วโลก การอนุรักษหมีขาวมีวิธีการอยางไร ( Design Group , 1985 )
หัวขอในเรื่องสิ่งแวดลอม การใชทรัพยากรของโลกอยางขาดจิตสํานึกและใชอยางฟุมเฟอย
จะเปนขอมูลที่นําเสนอเพื่อกําหนดสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม สําหรับหัวขอในสวนแสดงที่นําเสนอของ
งานดานการอนุรักษ ผลกระทบที่เกิดจากตัวสัตว การทําเหมืองแร การขุดน้ํามัน การทําปาไม การ
ทําเกษตรกรรมในพื้นที่ที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะในแหลงที่พืชและสัตวที่ใกลสูญ
พันธุและจัดแสดงในสวนแสดงเหลานี้
การนําเสนอหัวขอการอนุรักษในสวนสัตว ( Conservation Issue )
การใชทรัพยากรของโลกอยางผิดพลาดเนื่องจากความไมเขาใจ ไมอยากเขาใจและความ
ละโมบอยากไดของมนุษย เปนเนื้อหาที่ตองการจะสื่อสารเมื่อไดกําหนดแนวคิดในการออกแบบสวน
แสดงสัตวที่จะตองการสื่อในเรื่องของงานอนุรักษ ( conservative theme ) ผลกระทบการลาสัตว การ
ทําเหมืองแร การตัดไม การทําเกษตรกรรมในพื้นที่ปาธรรมชาติซึ่งจะมีผลกระทบตอสัตวที่ใกลสูญ
พันธุ โดยดูตัวอยางจากสวนแสดงสัตวตอไปนี้
สวนแสดงแตละสวนแสดงควรจะอยูบนพื้นฐานที่จะอนุรักษสัตวชนิดนั้นๆ ผูเที่ยวชมไดรับ
ขอมูลถึงวาชนิดสัตวใดเปนชนิดที่ถูกคุกคามและอัตราใกลสูญพันธุของสัตว สาเหตุของการ
ลดจํานวนลงและวิธีทเี่ ปนไปไดที่จะเปนการอนุรักษสัตวชนิดนั้น เมื่อผูเที่ยวชมออกจากสวน
สัตวจะไดเขาใจและเห็นความสําคัญของการอนุรักษและเราจะชวยปองกันการสูญพันธุของชนิดสัตว
นั้นอยางไร ( Design Group B, 1985 )
การที่มนุษยเขาไปใชประโยชนจากทรัพยากรภายในพื้นที่ทวีปอารคติก โดยเฉพาะการ
สํารวจและขุดเจาะน้ํามัน พัฒนาการคาขาย กีฬาลาสัตว ซึ่งกิจกรรมที่กลาวมามีผลกระทบตอหมี
ขั้วโลก สวนแสดงจะแสดงถึงการลาหมีขาวของมนุษยซึ่งทําไดโดยงาย และหมีขาวเปนสัตวที่
สามารถปองกันตัวเองไดนอยมากจากการลาของมนุษยเมื่ออยูในน้ํา และการนําในประเด็นที่หมี
เปนสัตวผูลาที่อยูในระดับสูงสุดของหวงโซอาหาร จะเกิดอะไรขึ้นถาหมีขาวหมดไปจากหวงโซ
อาหาร ผูลาของหมีจะมีเพียงแตมนุษยเทานั้น การลาของหมีขาวของชนเผาเอสกิโมกับนักลากลุม
อื่นๆ จะแตกตางกันโดยที่กลุมแรกจะลาเพื่อใชในการยังชีพ แตกลุมที่ 2 จะลาเพื่อความ
สนุกสนาน ( Design group A, 1985 )
จิงโจชนิดพันธุขนาดเล็กหลายชนิดไดหายไปจากทุงหญาออสเตรเลีย เนื่องจากการนําสัตว
เศรษฐกิจเชน วัว แกะ เขามาและสิ่งที่ติดตามมาคือจิงโจแดงและจิงโจเทาเพิ่มจํานวนขึ้น
156

เนื่องจากสามารถปรับตัวเขากับทุงหญาที่มีการเลี้ยงสัตวได นักอนุรักษตองออกมาปกปองประโยชน
การใชสอยจากการใชพื้นที่ และทําใหมีการจัดการกลุมจิงโจและแกะใหอยูในพื้นที่เดียวกัน
( Design Group E, 1985 )
พื้นที่ปาดิบชื้นที่สําคัญของโลก 3 แหง คือพื้นที่ลุมน้ําอเมซอนในทวีปอเมริกาใต เขตลุม
น้ําคองโกในแอฟริกากลาง หมูเกาะของประเทศอินโดนีเซียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ปาดิบชื้น
เปนพื้นที่ทีมีความหนาแนนของสิ่งมีชีวิตตอพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตรที่มากกวาระบบนิเวศในปาชนิด
อื่น มีพืชอยูเปนจํานวนมากที่ยังไมมีการศึกษาถึงมูลคาทางเศรษฐกิจและวิทยาศาสตร พื้นที่
ดังกลาวถูกทําลายเพื่อใชเปนพื้นที่สําหรับเลี้ยงสัตวและทําเหมืองแร พืชและสัตวจํานวนมากถูก
คุกคามจากพื้นที่ปาถูกทําลาย สัตวที่อยูในพื้นที่ดังกลาวเกิดการแยงชิงพื้นที่มากขึ้น ( Design
group D, 1985 )
งานดานการอนุรักษที่นําเสนอในลักษณะพื้นที่ เพื่อใชในงานใหการศึกษาแกผูเที่ยวชม
เกี่ยวกับปาดิบชื้น ถูกทําลายจากมนุษย โดยเตรียมพื้นที่ที่มีความแตกตางระหวางปาดิบชื้น
และพื้นที่ปาดิบชื้นที่ถูกทําลายกลายเปนพื้นที่เกษตรกรรม ตัวอยางคือ เมื่อเดินผาน สวน
แสดงที่สวยงามมีสิ่งแวดลอมที่เปนตนไมที่ขึ้นแนนทึบและมีสัตวปาจากนั้นผูเที่ยวชมก็จะผานไปสู
พื้นที่เกษตรกรรมที่มีการหักลางถางพง มีทุงนาที่ปลูกขาวในกระทอมที่มีอุปกรณลาสัตวตางๆ
รวมทั้งเสนทางที่เขาไปในปาเพื่อการตัดซุง สรางความรูสึกที่ออนไหวใหเกิดขึ้นในเสนทางที่เดินผาน
แปลผลขอมูลจากภาพที่เห็นวาพื้นที่ปามีการถูกทําลายกลายเปนพื้นที่เกษตรกรรมและใหขอมูล
เพิ่มเติม อัตราการลดลงของพื้นที่ปาดงดิบเปนไปในอัตราทีส่ ูงมากตอวัน แสดงภาพการตัดตนไม
ทําลายปาที่เกิดขึ้นในเขตทั้ง 3 เขตดังกลาว ( Design Group D,1985 )
ตัวอยางของการออกแบบสวนแสดงที่ใชแนวคิดทางสิ่งแวดลอม
วัฒนธรรมของชนพื้นเมืองทั่วโลกมีการใชทรัพยากรทั้งที่สรางใหมได และแบบที่ใชแลวหมด
ไป ทวีปอารคติกเปนพื้นที่ที่มีลักษณะจําเพาะทั้งในเรื่องของอากาศ พืชและสัตว สวนแสดงนี้จะใหผู
เที่ยวชมไดสัมผัสกับบรรยากาศของพื้นที่ทวีปอารคติก เนื้อหาที่มีภายในสวนแสดงนี้จะจัดแสดงการ
ทําลายที่มีผลกระทบจากการที่มนุษยเขาไปใชพื้นที่ ( Design Group B,1985 )
พื้นที่ที่จัดแสดงความแตกตางกันของพื้นที่ที่ปาดิบชื้นที่สมบูรณและพื้นที่ปาที่ถูกทําลายจาก
ฝมือมนุษย ตัวอยางของพื้นที่จัดแสดง เชน ผูเที่ยวชมเดินผานพื้นที่ปาที่ตนไมขึ้นอยางหนาแนน
และมีสัตวปา จากนั้นผูเที่ยวชมจะผานไปสูพื้นที่นาขาว บานของพรานลาสัตว และถนนที่ตัดเขาไป
ยังเหมืองแร บรรยากาศดังกลาวสรางขึ้นเพื่อใหผูเที่ยวชมไดสัมผัสความรูสึกถึงความเสียหายที่
เกิดขึ้น รวมทั้งการใหขอมูลถึงความเสียหายของพื้นที่ปาดิบชื้นตอวันนั้นมีปริมาณมากนอยเพียงใด
( Design Group D, 1985 )
157

เมื่อผานเขาไปสูพื้นที่ที่มีการใหขอมูล ผูเที่ยวชมจะผานเขาไปสูพื้นที่ของปาสน พื้นที่สวน


ดังกลาวจะมีการจัดพื้นที่ของผูเที่ยวชมและสัตวเสมือนอยูในพื้นที่เดียวกัน มีองคประกอบเชนตนไม
ความลาดชันของพื้นที่ กอนหิน โดยสัตวที่แสดงอยูในพื้นที่สวนนี้ ในสวนแรกจะเปน หมาปาอาร
ติก สุนัขจิ้งจอก ที่จัดแสดงในสิ่งแวดลอมที่เปนปา ทางเทาจะนําไปสูพื้นที่สวนแสดงที่อยูถัดไปซึ่ง
พื้นที่จําลองของเหมืองรางที่ถูกทิ้งไว เห็นตัว wolverline ในที่โลงกวาง โดยที่สวนปลายสุดของ
พื้นที่จะเปนที่พักของนายพรานทีส่ รางดวยทอนซุง ในบริเวณดังกลาวจะจัดแสดงอุปกรณการลาสัตว
ทั้งในแบบพื้นบานและในยุคปจจุบันนํามาแสดงเปรียบเทียบกัน ลําธารที่ใชทําความสะอาดตัวสัตว
การถลกหนังกวางคาริบู มีกระดูกกวางที่ถูกวางกองทิ้งไว ในสวนนี้กวางคาริบูจะถูกยกขึ้นมาในสวน
ประเด็นของสัตวที่ถูกลาและไดผลกระทบจากเหมืองแร การอพยพเคลื่อนยายถิ่นของกวางคาริบูจะ
ถูกรบกวนดวยการทอสงนํามันที่ชื่อ Alaskan ถึงแมวางานกอสรางดังกลาวจะมีการจัดการเพื่อให
สงผลกระทบตอสัตวปาใหนอยที่สุดแลวก็ตาม แตฝูงกวางยังถูกรบกวนและความสวยงามของพื้นที่
ก็ลดลง ดังนั้นการจัดแสดงในสวนนี้ จึงเปนการสื่อสารในเรื่องผลกระทบของทอสงน้ํามันที่
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยการนําชิ้นสวนบางสวนของทอสงซึ่งมีขนาดใหญเพียงพอที่คนที่คนจะ
เดินเขาไปภายในทอได และภายในทอจะมีการจัดแสดงภาพของผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสัตวปา และ
สิ่งแวดลอม

ดูรูปที่ 92 ที่สวนแสดงกวางคาริบู ผลกระทบที่เกิดขึ้นของทอสงน้ํามันที่มีผลตอการอพยพของกวาง


คาริบู นําทอสงนํามันจัดวางไวในสวนแสดงคาริบูจะเปนกระตุนเตือนใหผูเที่ยวชมไดตระหนักถึง
ผลกระทบตอการเคลื่อนยายของกวางและสิ่งแวดลอมที่ทอสงน้ํามันพาดผาน
เมื่อผานจากปาที่มีลักษณะผสมผสานกันระหวางปาเบญจพรรณกับปาดิบชื้นจะไปสู
กระทอมที่มีการจัดแสดงเครื่องมือดักสัตว ทั้งแบบที่ใชในปจจุบันและในอดีต แสดงรวมกับหนังสัตว
ที่ฟอกแลวหลายชนิด ผูเที่ยวชมจะเห็นตัวมิงคอยูในถิ่นที่อยูที่เปนลําธาร เรื่องทั่วไป เรื่องของการ
คาขายขนมิ้งค ถัดไปเปนสระน้ําของตัวบีเวอร จุดพักผอนที่ไดยินเสียงน้ําไหล จากนั้นภาพตอไปจะ
158

เปนภาพของเขื่อนคอนกรีต เปนภาพของภูมิทัศนที่ถูกกัดเซาะ แหลงน้ําที่ไมมีปลา ปาที่ไมสัตวปา


ตัดภาพจากเขื่อนก็จะเปนสระน้ําที่มีบีเวอรอาศัยอยูอีกครั้ง รวมทั้งภาพของเขื่อนที่สรางโดยบีเวอร
โดยเขื่อนของบีเวอรจะเปนสวนแสดงถึงความหลากหลายของระบบนิเวศวิทยาที่มีตอคุณภาพน้ํา มี
ผลที่มีความแตกตางจากเขื่อนที่สรางโดยมนุษย ผูเที่ยวชมจะไดเห็นภาพของนากที่ไดรับผลกระทบ
ที่ทําใหประชากรลดจํานวนลง จากการกระทําของคน ( Design Group, 1985 )
ผูเที่ยวชมกับการชมสัตว ( People/Animal Interaction )

ดูรูปที่ 93 African , Savana, Fort Wayne,


Children Zoo ความสําเร็จของการ
ผสมผสานระหวางพื้นทีส่ ัตวและผูเที่ยว
ชม ดูไดจากสวนแสดงนี้ ซึง่ ตองการ
ความเขาใจลักษณะจําเพาะของการเห็น
ของมนุษย ผูออกแบบตองทราบถึงภาพที่
ผูเที่ยวชมจะเห็นเมื่อมีสิ่งแวดลอมเขามา
เปนสวนประกอบดวย อะไรคือจุดดึงดูด
อะไรเปนจุดที่รักษาระดับความนาสนใจ
และภาพใดเปนเงื่อนไขที่จะเปนภาพที่ผู
เที่ยวชมจะจดจําได

การออกแบบที่ประสพความสําเร็จในสวนของพื้นที่ของผูเที่ยวชม
- อาจจะอยูภายในหรืออยูติดกับพื้นที่ของสัตว
- เปนพื้นที่ที่ผูเที่ยวชมไดเห็นตัวสัตวและเห็นพฤติกรรมของสัตว
- เปนสวนในเชื่อมความสัมพันธระหวางพื้นที่ของผูเที่ยวชมและพื้นที่ของสัตว
- เปนสวนทีช่ วยสนับสนุนการสื่อสารของขอมูล และเปนการปฏิสัมพันธที่จะทําใหเกิด
โอกาสการเรียนรูอยางไมมีจํากัด
- พื้นที่ชมสัตวตองสรางเงื่อนขัยทางสิ่งแวดลอมที่จําเปนตอการสรางการเรียนรูอยางเหมาะสม
ที่ผูเที่ยวชมจะเกิดการเรียนรู เมื่อไดเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมซึ่งสรางขึ้นในพื้นที่ชมสัตว ขอมูลที่
ผูเที่ยงชมจะไดรับนั้นเกิดจากประสบการณที่ตนไดสัมผัสมาโดยตรง และไดรับรูจากประสาทสัมผัส
ของรางกายในหลายๆ ชองทาง
การรับรูของคนจะมีการเรียงลําดับจากนอยไปหามากดังนี้คือ การไดยิน การอาน ไดเห็น ลง
มือทํา การเรียนรูจากสถานการณหรือเหตุการณ แตผูเรียนจะสามารถรับไดมากหรือนอยจะขึ้นอยูกับ
159

- ความรูพื้นฐานของผูเรียนคนนั้น
- การนําเสนอที่มีความสัมพันธกัน ทันสมัย ถูกตอง
- เปนขอมูลที่เปนประโยชน เขาใจได
- จัดแสดงออกมาในสื่อที่นาสนใจ
การเรียนรูจะเกิดไดมากขึ้นเมื่อประกอบดวยแรงจูงใจ ความคาดหวัง ความรูสึกที่ทาทาย
มากกวาการพูดคุยขอมูลใหฟงเพียงอยางเดียว
การสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่เอื้อใหเกิดการเรียนรูนั้นตองมีการเคลื่อนไหวและความซับซอน
ซึ่งประกอบดวยผูคน สัตว และสิ่งแวดลอมที่รายลอมสัตวชนิดนั้นๆอยู โดยสิ่งแวดลอมทั้งหมดที่
สรางขึ้น ตองมีความเขาใจถึงการประมวลผลของการสัมผัสรับรูในการเห็นภาพของมนุษย การแปล
ความหมายของความรูในเรื่องธรรมชาติวิทยาของสัตวชนิดนั้นๆ ใหเปนลักษณะทางกายภาพอยาง
แทจริง เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญของกระบวนการออกแบบ ความสวยงามที่พบเห็นไดในสวน
แสดง จะประกอบดวยการเรียนรูจากการผสมผสานการมองสิ่งตางๆ ของมนุษย เชน ขนาด รูปทรง
ตําแหนง แสง สี อากาศ พืช สัตว ซึ่งการรับรูและเขาใจของผูเที่ยวชมยังมีผลจากวัฒนธรรม
ประเพณี ลักษณะทางสังคม ลักษณะของสัตว พฤติกรรมของสัตว เศรษฐกิจ การเมือง เปนตน
คุณลักษณะตามธรรมชาติและการจัดวางตัวของวัตถุ จะมีผลตอความรูสึกและอารมณของ
มนุษย โดยเกิดจากการประมวลผลจากภาพที่ไดเห็นรวมกับประสบการณเดิมของผูรับภาพนั้น รวม
ทั้งประสาทสัมผัสอื่นๆ ก็เปนสวนเสริมในการสรางอารมณและความรูสึกเชน สัมผัสรอนหนาวที่รับ
จากความรูสึกทางกายที่เกิดขึ้น
- แนวความคิดและอารมณความรูสึกที่ตองการใหเกิดขึ้น กับผูเที่ยวชมที่สวนแสดงสัตว คือ
ในเรื่องของความเขาใจถึงสิ่งแวดลอมในถิ่นที่อยูเดิมที่สัตวชนิดนั้นอยู พฤติกรรมและงานดานการ
อนุรักษ
ผูออกแบบสวนแสดงสัตวตองรับผิดชอบในสวนของการกําหนดชนิดของวัสดุและ
กําหนดการจัดวางวัสดุภายในสวนแสด ใหสอดคลองกับงานใหการศึกษาและงานดานการอนุรักษ
- - ความรับผิดชอบของผูออกแบบสวนแสดงสัตวจะมีผลอยางยิ่งตอการเรียนรูของผูเ ที่ยว
ชม
- การออกแบบสวนแสดงสัตวที่มีองคประกอบและอุปกรณภายในสวนแสดง ที่ชวยใหสัตวแสดง
พฤติกรรมตามที่สรางโอกาสใหสัตวไดแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาตินั้น ผูออกแบบตองมีความ
ตระหนักสุขภาพใจของสัตวนั้นจะดีไดก็ตอเมื่อ สัตวไดแสดงออกตามลักษณะของรางกาย ซึ่งจะใช
เปนขอมูลในการเลือกวัสดุและจัดวางวัสดุ
การออกแบบสวนแสดงสัตวที่นําเอาการแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตว เขามาเปน
แนวคิดรวมจะเกิดขอสังเกตที่วา วัสดุที่นํามาใชจะตองมีความตอเนื่องประสานกับองคประกอบอื่นๆ
ไมแยกกันอยางชัดเจนหรือรวมกันจนเปนสิ่งเดียวกัน แตจะมีความสัมพันธกับสิ่งอื่นๆในระดับที่
160

แตกตางกัน ( Arnheim, 1977 ) ทฤษฏีการมองเห็นภาพของมนุษยจะเปนตัวชวยแนะแนวทางสําหรับ


ผูออกแบบ ในการเริ่มตนสําหรับการจัดลําดับการนําเอาองคประกอบเขามาประกอบกันจนไดเปน
งานที่เสร็จสมบูรณ ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นจะไดความพึงพอใจในแงของ วัสดุและรูปลักษณะที่เลือกนํามาใช
มีความปลอดภัย ความรูสึกและอารมณที่ไดกําหนดไวในแนวทางการออกแบบ วาจะใหเกิด
ความรูสึกใดไดเกิดขึ้นตามนั้น
ระดับของปฏิกิริยาระหวางกัน ( Level of interaction ) ระดับของปฏิสัมพันธระหวางผูเที่ยว
ชมและสิ่งแวดลอมจะมีสวนสําคัญ ที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคภาพที่ใหเกิดอารมณและความรูสึก
ขึ้น
การออกแบบสวนแสดงสัตว จะมีดวยกันหลายวิธีการที่จะสรางภาพที่มีจุดสนใจ เกิด
ขบวนการเรียนรูและทําใหการเที่ยวชมสัตวมีความสนุกสนาน
161

ดูรูปที่ 94 ระดับของปฏิสัมพันธระหวางผูเที่ยวชมกับการสื่อดานการศึกษาและความบันเทิงที่สวน
สัตวสรางสรรคขึ้น ซึ่งมีวิธีการหลากหลายวิธีที่จะสรางความสนใจ สรางกระบวนการเรียนรู และ
ความสนุกสนาน ก. การสังเกต สวนแสดงสิงโตที่สวนสัตวแคนซัส ซิตี้ ข. การแสดงความสามารถ
ของชางแอฟริกาที่สวนสัตว ไมอามี แมโทร ค.การสื่อความหมายโดยใชภาพ ที่สวนสัตวลินคอนท
ปารค ง. การนําสัตวใหผูเที่ยวชมใกลชิดที่มีการฝกจนเชื่อง จ. สัตวมีกิจกรรมรวมกับผูเที่ยวชม เชน
การใหผูเที่ยวชมสัมผัส
ก. การสังเกต ( observation ) กอนที่จะเขามาเที่ยวสวนสัตวผูเที่ยวชมมักรับรูเรื่องของสัตวชนิดตางๆ
จากโทรทัศน วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ ผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตวเพื่อความบันเทิงและการพักผอน ไมไดเพือ่
มารับทราบขอมูลที่หนักสมอง
ผูเที่ยวชมสวนสัตวจะใชการสัมผัสทางประสาทตาเพื่อรับชมภาพเปนชองทางสําคัญในการ
รับขอมูล
- สวนสัตวในยุคที่ยังมีระดับการจัดการยังไมดีนัก กลิ่นจะเขามาเปนสิ่งสัมผัสรวมอีกสวนหนึ่ง
162

- ประสาทสัมผัสทางเสียงในขณะเดินเที่ยวชมสัตว อาจไดยินเสียงสัตวบางชนิดรองเชนเสียงรอง
ของชะนี เสียงรองของนกกาฮัง หรืออาจจะมีผูเที่ยวชมบางคนใชการตะโกนเพื่อเรียกความสนใจ
จากตัวสัตว แตการกระทําในลักษณะดังกลาวถือวาเปนการรบกวนสัตว ซึ่งไมควรกระทํา
- การสัมผัสตัวสัตวอาจจะเกิดขึ้นไดในสวนที่สวนสัตวจัดเตรียมไวให ผูที่ชมสามารถสัมผัสไดเชนที่
สวนสัตวเด็ก
การออกแบบสวนแสดงสัตวจะตองใหความสําคัญกับภาพที่ผูเที่ยวชมไดเห็น เนื่องจากภาพ
เปนชองทางสําคัญที่ผูเที่ยวชมจะใชในการรับรูถึงเรื่องราว เมื่อเขามาในสวนสัตว และลําดับตอไปสิ่ง
ที่จะเกิดขึ้นตามมาคือ การแทรกงานใหการศึกษาเขามา ซึ่งตองอาศัยประสาทสัมผัสจากภาพที่เกิดขึ้น
ขอมูลของแมวน้ําที่จะตองสื่อใหกับแกผูเที่ยวชม ในการชมสวนแสดงของสัตวชนิดนี้ เชน
การใหผูเที่ยวชมทราบวาตาของแมวน้ํามีขนาดใหญและไมมที อน้ําตา ซึ่งจะทําใหดูเหมือนวาสัตว
ชนิดนี้กําลังรองไห และเมื่อดูแมวน้ําในตอนดําน้ําที่อยูใตน้ําก็จะเห็นวามีหนังตาที่ 3 มาคลุมปดตา
ไว เราจะใหผูเที่ยวชมมองผานเลนสเพื่อใหเห็นภาพ ในลักษณะเดียวกันกับทีแ่ มวน้ําเห็นภาพเมื่อ
ภาพขณะอยูในน้ํา โดยมองเขาไปในสวนแสดงปลาซึ่งจะมีปลาหลายชนิดจัดแสดงอยู ดวยกิจกรรม
นี้ผูเที่ยวจะไดสัมผัสกับบางมุมของชีวิตแมวน้ําในบรรยากาศที่แมวน้ําเปน ( Design Group
A,1985 )
พื้นที่ชมสัตวของสวนแสดงสัตวกลุมสัตวกินเนื้อ ที่ตองลาสัตวชนิดอื่นเปนอาหาร จะจัด
แสดงสวนของฟนและเล็บเพื่อใหผูเที่ยวชมไดเห็นและสัมผัสพื้นผิว ขนาด รูปทรง ความแหลมคม
ซึ่งสัตวกลุม นี้จะใชอวัยวะเหลานี้ชวยในการลาสัตว
การใชกลอง periscope เพื่อใหผูเที่ยวชมเห็นภาพภายในในลักษณะที่มองจากตา
ของนกหรือตาของแมลง เพื่อจะใหผูเที่ยวชมเห็นภาพทีมองจากตานก วาขนาดของวัตถุ
จะเปนอยางไรเมื่อนกมองมาที่วัตถุและความแหลมคม ความสามารถในการรับภาพของตา
นก
การจัดแสดงใหเห็นความแตกตางของสัตวและพืชในสวนของลักษณะ สี ขนาด รูปราง
เพื่อเปนการสื่อใหเห็นถึงความหลากหลายที่มีในระบบนิเวศวิทยา เชน สัตวเทากีบในทุงหญาซาวัน
นาของแอฟริกาที่มีสีสันของรางกายและลักษณะของเขาที่แตกตางกัน
ขบวนการเรียนรูทผี่ สมผสานระหวางความสนุกสนานและขอมูล ตองสรรหาวิธีการทีผ่ ูเที่ยว
ชมชื่นชอบและมีประสิทธิภาพในการสื่อสารขอมูลในเรื่องสัตวและพฤติกรรมสัตว
ในพื้นที่สวนแสดงของลิงชิมแพนซี ที่ไดจัดแตงสวนแสดงใหมีอุปกรณที่ใหสัตวไดแสดง
พฤติกรรมอยางเต็มที่ จัดหาสัตวเพื่อใหเกิดโครงสรางสังคมที่เหมือนกับสังคมในปา ผูเที่ยวชมมี
โอกาสที่จะเห็นพฤติกรรมตามธรรมชาติ ความเฉลียวฉลาดของลิงไมมีหาง ซึ่งเปนสัตวที่มีลักษณะ
163

ของสายพันธุกรรมที่มีความสัมพันธกับมนุษย รวมทั้งการนําเสนอในแงมุมของลิงชิมแพนซีมี
ความสัมพันธอยางไรกับพื้นที่ปาที่ตัวเองอาศัยอยู
การจัดแสดงโดยการนําเสนอพฤติกรรมตามธรรมชาติของลิงชิมแพนซี ที่มีความสัมพันธกับ
สิ่งแวดลอม ผานการใชอุปกรณที่เปนวัสดุธรรมชาติหรือจําลองวัสดุธรรมชาติ พฤติกรรมที่ผูเที่ยวชม
ไดเห็นจะเปนภาพตัวแทนของพฤติกรรมที่สัตวแสดงในปา อุปกรณที่เราจัดไวจะเปนตัวกําหนดใหลิง
ชิมแพนซีตองปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมในสวนแสดง ตัวอยางของกิจกรรมที่จะจัดใหมี เชน
แบบตางๆของการเคลื่อนที่ ซึ่งดวยกันหลายรูปแบบ การเดินบนทอนไมที่แข็งแรง การแกง
ไกวตัวบนกิ่งไม การเคลื่อนที่โดยใชเชือก การเคลื่อนที่บนพื้นดินโดยใชมือและเทาทั้ง 4 ขาง
แสดงความแข็งแกรงของรางกาย การเคลื่อนยายวัตถุที่หนัก เชนทอนไมแหง เพื่อเอา
อาหารที่อยูใตทอนไม
การแกไขปญหาโดยการใชอุปกรณ ตัวอยางเชน การแกปญหาเพื่อจะกินผลไมที่อยูในวัสดุที่
เปดยากหรือผลไมเปลือกแข็ง
ความสามารถในการแกปญหาและความสามารถในการเคลื่อนที่ เพื่อเอาอาหารที่แขวนอยู
สูงเกินกวาที่จะเอื้อมถึงดวยความสามารถของรางกายปกติ
ข. การสื่อความหมาย ( interpretation ) การสื่อขอมูลโดยการใชรูปภาพและเจาหนาที่ เปนแนวคิดที่
จะใหสวนชมสัตวของสวนแสดงเกิดกิจกรรมประจําวัน
- ขอมูลที่จะนํามาสื่อตองมีการตรวจสอบแลววาถูกตอง และการออกแบบปายขอมูลทั้งในสวน
ขอความและรูปภาพ ที่จะชวยในการเปนสวนที่สรางความสนุกสนาน และดึงดูดความสนใจของผู
เที่ยวชม ซึ่งจะเปนโอกาสทีจ่ ะสื่อความรูใหแกผูเที่ยวชม
- องคประกอบทุกอยางของพื้นที่สวนแสดงจะตองใชเปนเครื่องมือในการสอน ชวยเตรียมในสวน
ของความหมายภาพและเปนตัวสื่อขอความ
- จุดชมสัตวที่ใชงานเพื่อการสื่อความหมายไดดีนั้น ตองมีพื้นที่ที่เพียงพอและอยูในตําแหนงที่
เหมาะสม ภาพที่เห็นจากจุดชมตองมีการผสมผสานอยางลงตัวของฉาก เรื่องราวที่จะนําเสนอ ลําดับ
ของเรื่องราว วิธีการสื่อที่ไปถึงผูเที่ยวชม
สวนแสดงผึ้งหาน้ําหวาน เปนสวนแสดงที่สื่อใหเห็นถึงการพึ่งพากันระหวางแมลงและพืช มีพนื้ ที่
ปลูกไมยืนตนและพืชลมลุกหลายๆ ชนิด โดยเลือกปลูกพืชที่ใหน้ําหวานที่สรางดอกไมที่ในหลาย
ลักษณะ หลายกลิ่นและสีสันเพื่อดึงดูดแมลงมาที่ดอกไมเพื่อชวยในการผสมเกสร ในพื้นที่
สวนกลางอาจวางรังผึ้งเลี้ยงไวโดยมีพื้นที่ที่ปลูกตนไมและดอกไมที่เปนแหลงหาน้ําหวานอยูโดยรอบ
เพื่อจัดแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางผึ้งและพืช
แมลง สวนแสดงขนาดเล็กที่แสดงแนวคิดวา สัตวมีการพัฒนาระบบการปรับตัวจนมีสีลําตัวเพื่อ
ปกปองตัวเองจากผูล า การจัดแสดงจะใหขอมูลและรูปภาพถึงเหตุผลสําหรับการพรางตัวและมี
164

ความแตกตางจากการจําลองตัวอยางไร โดยใชตัวอยางจากแมลงทีม่ ีสีสันกลมกลืนกับสิ่งแวดลอม


หรือใชสัตวที่สามารถฝกใหเชื่องได มาจัดแสดงพรอมกับสิ่งแวดลอมที่สัตวชนิดนั้นสามารถปรับตัว
ใหกลมกลืนได ( Design Group B, 1985 )
ขอควรระวังเมื่อตองกําหนดปริมาณของสิ่งแวดลอม ที่จะแสดงถึงเนื้อหาที่ตองการสือ่ ใหทราบ
ขอเท็จจริงก็คือ การอานและการไดยินมักจะลืมไดงาย ดังนั้นการนําเสนอขอมูลใหกับผูเที่ยวชมควร
เลือกใชการปฏิบัติและการเห็นภาพ

สวนแสดงสัตวที่สามารถสื่อสารขอมูลโดยผานทางประสาทสัมผัสของรางกายหลายชองทาง
( Multisensory )
การออกแบบสวนแสดงสัตวสามารถสื่อขอมูลไดหลายชองทาง นอกเหนือจากวิธีการหลักคือ
การมองเห็น โดยผานสัมผัสทาง กลิ่น เสียง สัมผัส รส ซึ่งจะเปนวิธีการที่ไมเพียงสรางความ
นาสนใจ แตยังสรางคําถามใหผูเที่ยวชมเอาไปคิดเพื่อหาคําตอบเพิ่มเติม ที่จะนําไปสูการหาความรู
เพิ่มในโอกาสหนา สวนแสดงในลักษณะดังกลาวยังเพิ่มความนาสนใจและความสนุกสนานอีกดวย
สวนงานใหการศึกษาและความสนุกสนานเพลิดเพลินสําหรับผูเที่ยวชม ควรจะตองผสมผสาน
กันจนเปนเรื่องเดียวกัน การศึกษาควรเปนแบบไมเปนทางการ การใชประสาทสัมผัสตางๆ เชน
เห็นสัตวกระโดดโลดเตนในสวนแสดงที่เปนธรรมชาติ ฟงเสียงนกรองที่ดังผานพุมไมออกมา ไดกลิ่น
หอมของดอกไม จะเปนการสือ่ สารที่มคี วามนาสนใจและเพิ่มความหลากหลายใหวิธีการให
การศึกษา ( Design Group E,1985 )
การออกแบบสวนแสดงสัตวเพื่อใหสอื่ ขอมูลผานไปยังประสาทสัมผัสหลายๆชองทางนั้น
ในทางการปฏิบัติแลวการนําเสนอที่สรางความตื่นเตนและสนุกสนาน ควรจะเปนการสื่อขอมูลใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทําใหการนําเสนออาจทําไดโดยผานประสาทสัมผัสแบบใดแบบหนึ่งเทานั้น
ตัวอยางที่ยกมานําเสนอเชน
การสัมผัส – ความรูสึก ( Touch – Feel )
ก ขอมูล หมีขั้วโลกสามารถทนทานตออากาศที่หนาวเย็นของอากาศและน้ํา โดยอาศัยอยูกลางแจง
และวายน้ําในน้ําที่หนาวเย็นตลอดทั้งป ในชวงที่ตัวเมียเลี้ยงลูกในฤดูหนาวจะหลบในถ้ํา อุณหภูมิ
ปกติในชวงฤดูหนาวของเวลากลางวันในทวีปอารติกจะเปน – 60 องศาฟาเรนไฮต ในชวงฤดูรอนจะ
เปน 60 องศาฟาเรนไฮน อุณหภูมิของน้ําที่หมีขาววายอยูจะสูงประมาณ 27 องศาฟาเรนไฮต
รางกายของหมีขาวจะมีสวนของขน ผิวหนังและไขมันจะเปนสวนที่ชวยใหหมีสามารถอยูร อดไดใน
สภาพที่อากาศหนาวเย็น รางกายของหมีขาวมีความสามารถในการกระจายความรอน ทําใหหมี
ขาวมีความทนทานตอความรอนในชวงฤดูอบอุนได ความจริงขอหนึ่งก็คือรางกายของหมีขาวจะมี
สองอุณหภูมิดวยกัน โดยที่สวนเทาจะเปนบริเวณทีม่ ีอุณหภูมิที่เย็นกวาสวนอื่นๆ ของรางกาย
165

ข.เปาหมายของงานใหการศึกษา เพื่อใหผเู ที่ยวชมเขาใจถึงขนของหมีขาวชวยในการอาศัยอยูใน


สภาพความหนาวเย็นในถิ่นที่อยูที่หมีขาวอยูไดอยางไร
ค วิธีที่ผานประสาทสัมผัสตางๆ เพื่อเปนการเปดโอกาสใหผูเที่ยวชมไดสัมผัสกับหนังและขนของ
หมีขั้วโลกที่สวนแสดง ซึ่งขนและหนังจะชวยใหหมีสามารถอาศัยอยูใ นสภาพอากาศที่หนาวเย็นของ
ทวีปอารติก
การอธิบายถึงสถานที่ที่ขนสัตวมาจากไหน ซึ่งขนสัตวเหลานี้มาจากการลักลอบลาสัตวอยาง
ผิดกฎหมาย
ใหผูเที่ยวชมไดสัมผัสถึงความเค็มของน้ํา ความเย็นของน้ําทะเลที่หมีขาววายอยู เพื่อใหผู
เที่ยวชมเกิดจินตนาการวาจะเกิดความรูสึกอยางไรถาวายน้ําในทะเลสาบในฤดูหนาวและมีการแสดง
ที่บอกวาน้ําเกลือมีจุดเยือกแข็งที่ต่ํากวาน้ําจืด
เสียงและการไดยิน ( Hear – Sound )
ก เนื้อหา หมีขั้วโลกและสัตวชนิดอื่นๆ ของขั้วโลกมีประสาทสัมผัสดานการไดยินที่ลดลงเพื่อลด
การไดยินเสียงของน้ําแข็งแตกซึ่งจะดังตางจากเสียงอื่นๆ เนื่องจากเสียงของน้ําแข็งจะดังและเกิดขึ้น
บอยครั้ง หมีขั้วโลกเปนนักลาที่ลงมืออยางเงียบเชียบ เหยื่อที่ลาเชน แมวน้ํา ( seal )
หมีขั้วโลกจะใชเสียงบางเสียงสําหรับการสื่อสาร แมวน้ําจะมีประสาทสัมผัสการไดยินที่ดี
แมวน้ําจะใชการสื่อสารใตน้ําโดยใชเสียง click vocalization หรือบางครั้งก็ใชเสียง echolocation
ซึ่งประสาทสัมผัสเหลานี้จะมีความสําคัญเมื่อการเห็นลดลงในน้ําที่ขุน
ข จุดประสงคของงานใหการศึกษา ใหผูเที่ยวชมไดยินเสียงของสิ่งแวดลอมแบบอารคติก รวมทั้ง
เสียงรองของหมีขั้วโลกและแมวน้ํา
ค วิธีการสื่อขอมูลผานประสาทสัมผัส ขยายเสียงที่เกิดจากการเคลื่อนที่ ในชวงการดําน้ําทีอ่ ยูใต
น้ําและเสียงรองจําเพาะของแมวน้ําและหมีขาว ( Design Group A,1985 )
เสียงและกลิ่นจะใชเปนองคประกอบทีจ่ ะชวยใหผูเที่ยวชมรูสึกวาตนถูกลอมรอบดวย
สิ่งแวดลอมธรรมชาติรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เชน เสียงของเทาที่เดินลากผานใบไมแหง เสียงรองของ
แมลง เสียงรองของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดเล็ก เสียงลมที่พัดผานตนไม เสียงน้ําที่ไหลในลําธาร
เสียงที่เกิดขึ้นนี้อาจใชเสียงจากเครื่องเลนเทป ที่ไดจากการบันทึกเสียงจริงของธรรมชาติ การเปดปด
จะเกิดจากกลไกลําแสงพาดผานชองทางเดิน ตัวอยางของกลิ่น เชนกลิ่นของใบไมที่เนาเปอย
กลายเปนดิน
ง. การสรางความมีสวนรวม ( Participatory ) สวนแสดงที่กระตุนใหผูเทีย่ วชมไดมีสวนรวมทั้งทาง
รางกายและทางอารมณ จะมีสวนเพิ่มความตื่นเตนและการเรียนรู การไดสัมผัสจะกระตุนความเขาใจ
ในสัตวชนิดนั้นๆ ผูเที่ยวชมกลุมเด็กที่จะมาที่สวนสัตวมีความตองการที่จะสัมผัสใกลชิดกับสัตว เมื่อ
166

ไดวิเคราะหสาเหตุการมาเที่ยวสวนสัตวพบวา 47 % มีความคาดหวังวาจะสามารถใหอาหารแกสัตว
ได สามารถสัมผัสสัตวได เด็กตองการใกลชิดสัตว อยากสัมผัส อยากใหอาหาร ( Normadia, 1983 )
สวนแสดงสัตวที่ผูเที่ยวชมสามารถสัมผัสสัตวได ( Hand on exhibit ) เปนสวนแสดงที่มีเพื่อ
ตอบสนองความตองการการสัมผัสของมนุษย ( Tactile stimulation ) ดังนั้นพื้นที่ที่ผูเที่ยวชมสามารถ
เขาใกลชิดและสัมผัสสัตวไดจึงเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญสวนหนึ่งของสวนสัตว
สวนแสดงที่เพิ่มโอกาสการมีสวนรวมของผูเที่ยวชม โดยใหผูเที่ยวชมไดใชประสาทสัมผัส
อื่นๆมากขึ้น มากกวาการเห็นเพียงอยางเดียว ผลที่จะเกิดขึ้นจากการใชประสาทสัมผัสและอารมณที่
เกิดขึ้นจะมีสวนชวยใหผูเที่ยวชมเกิดความสนุกสนาน เพิ่มชองทางการศึกษา ระดับของการมีสวน
รวมตองการกิจกรรมทางรางกายและเหตุการณที่มีผลกระทบตออารมณ บางครั้งประสบการณที่ผู
เที่ยวชมไดรับจะเปนสิ่งที่มีความสนุกสนาน คลายกับการนําผูเที่ยวชมไปสูสถานที่จําลองถิ่นที่อยูตาม
ธรรมชาติของสัตว
ผูเที่ยวชมที่มีประสบการณในการเที่ยวดูนกในทางเดินศึกษาในอุทยานแหงชาติ มีขอปฏิบัติ
ในการเที่ยวชมลักษณะดังกลาวเชน การแตงตัวที่กลมกลืนกับสีสันรอบขาง สอดสายสายตาหา
เปาหมายในระยะใกลไกลและระดับสูงต่ํา ขอปฏิบัติที่กลาวมาก็จะทําใหมีโอกาสไดพบนกชนิดตางๆ
มากชนิดขึ้น ในการเดินเที่ยวชมสัตวในสวนสัตวมีขอปฏิบัติเชน พูดคุยกันดวยเสียงที่เบา มองหา
ตําแหนงที่สัตวอยูและชี้ใหเพื่อนรวมกลุมไดทราบตําแหนง ( Cotty, 1980 )
การออกแบบสวนชมสัตวใหผูเที่ยวชมไดมีกิจกรรมรวม ที่จะทําการเที่ยวชมสัตวมีความ
สนุกสนานภายใตแนวคิดงานใหการศึกษา เชน
- การเคลื่อนที่ของจิงโจ มีปายเชิญชวนกระโดดในทาทางที่คลายกับจิงโจกระโดด
- การปองกันตัวของพืชจากการถูกสัตวกินพืชมากัดกินดวยการใหทดลองเดินผานพืชกลุม
ตะบองเพชรที่ปลูกเวนชองใหทดลองเดินผาน
- การเรียนรูภาพที่เห็นดวยตาของนกโดยการเตรียมกระจกที่มีลักษณะเปนกระจกชิ้นเล็กตอ
กันเปนกระจกบานใหญ
- การแสดงใหเห็นถึงความเร็วในการวิ่งของสัตวผูลาและสัตวกินพืชที่เปนผูถูกลา ดวยการ
ใชหุนรูปสัตววางบนรางเลื่อนที่ควบคุมดวยเครื่องยนตและสายพาน
สวนแสดงสัตวที่มีงานใหการศึกษาที่ใหขอมูลในลักษณะการเปรียบเทียบตัวมนุษยกับสัตว
โดยจุดประสงคหลักของแนวคิดนี้เพื่อเพิ่มความเขาใจในเรื่องของการปรับตัวและการวิวัฒนาการของ
สัตวใหเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม ลองดูตัวอยางของกิจกรรมการเปรียบเทียบความสามารถระหวาง
มนุษยกับสัตว
167

การเคลื่อนที่และการสรางสมดุล
ก.โหนเชือก เปนบริเวณทีผ่ ูกเชือกไวเพดาน โดยผูเที่ยวชมใชมือและแขนไตขึ้นดานบนตามความ
ยาวของเชือก เมื่อผูเที่ยวชมถึงจุดสูงสุดจะมีกระดิ่งใหสั่นเพื่อหยุดเวลาที่แสดงวาใชเวลานานเทาใด
การโหนเชือกขึ้นนี้ผูเที่ยวชมสามารถเปรียบเทียบเวลาของตัวเองกับลิงอุรังอุตังได
ข.บันไดมือ ( Monkey Bar ) นําเครื่องเลนเด็กบันไดมือวางไวที่พื้นที่ชมสัตว และดัดแปลง
บันไดมือจัดติดตั้งไวในภายในพื้นที่สวนแสดงลิงอุรังอุตัง เมื่อผูเที่ยวชมเห็นลิงอุรังอุตังเลนเครือ่ งเลน
ก็จะเกิดความอยากที่จะเครื่องเลนดังกลาวขึ้นมา และสามารถเปรียบเทียบการใชเวลาบันไดมือ(
monkey bar ) ของอุรังอุตัง
ค. คานทรงตัว ( Balance Beam ) นําคานไมแข็งวางไวในสวนแสดงลิงอุลังอุตังและนําไมใน
ลักษณะดังกลาววางที่จุดชมสัตว เมื่อผูเที่ยวชมเห็นลิงเดินผานคานไม ผูเที่ยวชมก็เกิดความอยากที่
จะลองเดินผานไมคานนั้นบาง และสามารถเปรียบเทียบเวลากับลิงอุรังอุตังได
ความแข็งแกรง
ก การยกน้ําหนัก โดยบริเวณนี้จะเปนบริเวณที่จะโชวความแข็งแรงของลิงอุรังอุตัง และความแข็งแรง
ของผูเที่ยวชมเมื่อเปรียบเทียบกับลิงอุรังอุตัง โดยจะมีลูกตุมน้ําหนัก 2 อันใหคุณไดทดลองยกดู มี
แบบยกแขนเดียวและแบบยก 2 แขน มีขอความที่เขียนวา ลิงอุรังอุตัวยกตุมน้ําหนักนี้ไดคุณทําได
หรือไม
ข. Tug of War พื้นที่นี้แสดงกําลังแรงดึงของลิงอุรังอุตัง โดยจะเปนการแขงดึงเชือกกันระหวางลิง
กับผูเที่ยวชม หรือเปนการออกแรงดึงเพื่อเปรียบเทียบกําลังกับลิงอุรังอุตัง ซึ่งกิจกรรมในลักษณะ
ดังกลาวตองเปนลิงที่มีการฝกมาแลวและมีการควบคุมโดยครูฝก
การสรางกิจกรรมใหกับผูเที่ยวชมควรจะตองใชพฤติกรรมของสัตวที่แสดงในถิ่นที่อยูตาม
ธรรมชาติเปนตนแบบ หรือเปนจุดเริ่มตนของความคิด
- Habitat Plays capes เปนตนไมเทียมทีใ่ หเด็กสัตวสามารถไตเขาไปในตนไม ที่มีชองในตนไมทํา
เหมือนเปนโพรงไมที่นกเขาไปทํารังและวางไข เมื่อเด็กเขาไปในโพรงและมองออกมาดานนอก
เหมือนกับโผลออกมาจากรังของนกหัวขวาน
- สวนแสดงแพรี่ดอค พื้นที่ชมสัตวจะสามารถเห็นภาพโพรงใตดินที่แพรี่ดอคขุดเปนทางซับซอน
และเห็นพื้นที่เหนือโพรง
สัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัยอยูใตพื้นดิน เปนพื้นที่ที่ไมมีแสง มีการขนยายดินจํานวนมาก
ขึ้นมาที่เหนือโพรงดินจากการขุดโพรง หาอาหารในพื้นที่ใกลโพรง การหลบหนีจากศัตรูผูลาก็มี
วิวัฒนาการในการสรางประสาทสัมผัส มีการปรับตัวใหเหมาะสมกับถิ่นที่อยูทั้งในดานสรีระวิทยา
พฤติกรรม สวนแสดงของสัตวกลุมนี้จุดแสดงสัตวจะนําเสนอภาพในขณะที่สัตวอาศัยอยูใตดิน ซึ่งจะ
168

ทําใหเขาใจไดถึงกลไกตางๆที่สัตวชนิดนี้มีก็เพื่อการอยูรอดตามลักษณะของพื้นที่ ( Friedman,
Joslin, Parker and Robinson ,1984 )
สวนสุดทายที่สําคัญของพวกเรา สําหรับจัดแสดงที่นําเสนอรูปแบบในเรื่องการเคลื่อนไหวของ
สัตว โดยจัดแสดงหุนจําลองสัตวขนาดใหญที่สวนขอตอขาที่สามารถขยับได เด็กหรือผูใหญ
สามารถปนขึ้นไปนั่งขี่ได ( Animal mechanic : Zoo gym ) และ มีพื้นที่ใหเด็กนั่งบนหลังสัตวเชนมา
ที่มีเจาหนาคอยจูงให ( riding area ) โดยมีขอความอธิบายเพิ่มเติมในพื้นที่สวนนี้วา การ
เคลื่อนไหวของสัตวเหลานี้จะควบคุมโดยกฎพื้นฐานทางธรรมชาติ เมื่อคุณบังคับสัตวที่มีชีวิตหรือปน
ปายบนหุนจําลอง ก็ลองดูวาแขนขามีระบบการทํางานอยางไร คุณสามารถเรียนรูกฎอันเดียวกันกับ
นก จิงโจหรือกบ มีสวนแสดงที่นําความคิดดังกลาวนี้ไปใชคือที่ The Physic Playground ที่
Exploratorium ใน Sanfrancisco มีชิงชาและอุปกรณที่ออกแบบมาเพื่อการสอนกฎในวิชาฟสิกค
( Kimche,1978 ) แตในปจจุบันยังไมมีการใชหุนจําลองสัตวที่นําเสนอกฎของกลไกการเคลื่อนที่ของ
สัตว ( Brody,1981 )
สวนแสดงทีม่ ีการสรางกิจกรรมรวมใหกับผูเที่ยวชม ตําแหนงหรือลําดับของสวนแสดงควรจะ
เปน
- เปนจุดเชื่อมของการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาหรือเรือ่ งราวที่จะนําเสนอแกผูเที่ยวชม
- เปนจุดที่ใหผูเที่ยวชมมีจุดพักเพื่อไมใหผูเที่ยวชมเคลื่อนตําแหนงไปยังสวนแสดงถัดไปเร็วจนเกินไป
- เปนพื้นที่ผูเที่ยวชมไดผอนคลายหรือเปนจุดสรางความทาทาย
- ขยายเวลาในการเที่ยวชมสัตว
- กิจกรรมที่สรางขึ้นจะเปนโอกาสที่จะสอดแทรกขอมูลไดมากขึ้น สวนแสดงแตละแหงที่ใชการ
สรางกิจกรรมรวมใหกับผูเที่ยวชมตองมีความแตกตางในเรื่องของเนื้อหาและขอมูล
ตัวอยางการสรางกิจกรรมใหกับผูเที่ยวชมสัตวบนพื้นที่จุดชมสัตว โดยกิจกรรมที่สรางขึ้นอยู
บนพฤติกรรมของตัวสัตว ( animal action activity ) บนพื้นที่จุดชมสัตวจะสรางโครงสรางในการปน
ปายใหกับเด็ก โดยจําลองเอาโครงสรางที่ใหสัตวปนปายในสวนแสดง เด็กสามารถปนปายใน
โครงสรางที่สรางขึ้นนี้โดยการเลียนแบบการเคลื่อนที่แบบที่แพะทํา สวนผูใหญที่มาที่สวนแสดงนี้
แลวสนุกสนานไปกับการปนปายและถึงแมวาความคิดนี้จะไมจําเพาะ พวกเราก็มีความรูสึกวา
รูปแบบของการตอบสนองทางกายภาพ จะเปนสวนสําคัญที่จะใหผูเที่ยวชมที่เลนไดเขาใจพฤติกรรม
สัตว
จากตัวอยางงานของ Troup, 1997 ที่กลาวถึงสวนแสดงสัตวที่มีการสรางกิจกรรมใหผูเที่ยวชม
โดยใชองคประกอบที่มีในสวนแสดงสัตว สวนแสดงลิงที่มีลักษณะเปนเกาะจํานวน 4 เกาะที่
ลอมรอบดวยน้ํา แตละเกาะจะมีตนไผที่ลิงสามารถปนปายและหอยโหนได ในพื้นที่สวนชมสัตวจะมี
การจําลองลักษณะทุกอยางที่เหมือนกับเกาะของสัตวกลุมลิง เสมือนเปนเกาะที่ 5 มีเครื่องเลนที่ให
169

ลิงไดปนปายและแกวงตัว ตนไม กอนหิน หญา มีสิ่งที่แตกตาง เชน ตนไผถูกแทนที่ดวยทอเหล็ก


คูน้ําถูกแทนที่ดวยทางเดินเทา จะมีปายที่ชวยอธิบายแกผูเที่ยวชมวา เครื่องมือเหลานี้จะชวยในการ
เลียนแบบพฤติกรรมของลิงและยังเปนการสื่อขอมูลที่มีความเกี่ยวเนื่องเชน ลิงจะไมมีพฤติกรรมการ
เคลื่อนที่แบบชะนี ( brachiating skill )
ในสวนแสดงใหมของยีราฟ หอคอยสูงที่สรางขึ้นมาเพื่อสรางความสามารถใหผูเที่ยวชมได
เห็นยีราฟที่ระดับสายตา และในขณะเดียวกันเพื่อที่จะไดเห็นภาพจากมุมมองของยีราฟ
ฆ.วีดิทัศน( Video ) ภาพเคลื่อนไหว ในรูปแบบของโทรทัศนและภาพยนตร เปนเครื่องมือเผยแพร
ขอมูลและขาวสารที่สําคัญในปจจุบัน และยังเปนสิ่งที่นําความแปลกใหมไปถึงที่บานดวย ผลกระทบ
ที่เกิดจากโทรทัศนที่มีตอสวนสัตวและพิพิธภัณฑมีทั้งในดานบวกและในดานลบ
- โทรทัศนและภาพยนตรเปนเครื่องมือทางดานการตลาดที่ทางสวนสัตวยังใชประโยชนจากชองทาง
ในรูปแบบนี้นอยอยู
- เปนแหลงขอมูลที่ตอเนื่องความตอเนื่อง ทีจ่ ะเปนแหลงที่ใหขอมูลแกประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับ
สภาวะปจจุบัน ในเรื่องสถานการณของสิ่งแวดลอมของโลก สัตวปาและถิ่นที่อยูของสัตว ( ใน
ปจจุบันมีรายการโทรทัศนที่มีชื่อเสียง มีการนําเสนอไปทั่วโบกคือ รายการดิสคัฟเวอรรี่และรายการ
เนชั่นแนลจีโอกราฟฟก -ผูแปล )
ผลที่เกิดขึ้นการออกแบบสวนแสดงสัตวในสวนสัตว และในพิพิธภัณฑไดบังเกิดภาพที่ชัดเจน
มาเปนระยะเวลาชวงหนึ่งแลว โดยแตเดิมการออกแบบสวนแสดงสัตวในชวงมาภาพที่ปรากฏออกมา
ในแบบ 2 มิติคือกวางกับยาว แตเมื่อผูออกแบบสวนแสดงสัตวโดย นาย ฮาเจนเบค ที่ออกแบบสวน
แสดง ในลักษณะของการสรางบรรยากาศที่โอบลอมผูเที่ยวชม เสมือนผูเที่ยวชมอยูในสถานที่จริงที่
เปนถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ ( immersion creation ) รวมทั้งมีวิธีการที่จะสื่อสารขอมูลจาก
องคประกอบที่จะสรางขึ้น ที่ทําใหการเที่ยวชมไดความบันเทิงและมีเนื้อหาสาระ ภาพที่เห็นใน
โทรทัศนหรือภาพยนตรที่มีการเคลื่อนไหว เสียง และเนื้อหาที่นาสนใจเมื่อเปรียบเทียบกับภาพใน
สวนสัตวทําใหภาพของสวนสัตวดูหยุดนิ่ง
การนําเสนอภาพเคลื่อนไหวของสัตวจากโทรทัศน มีการนํามาใชเพื่อเปาหมายในการ
นําเสนอพติกรรมสัตวทั้งในปาและในสวนสัตว เชนในชวงที่หมีขาวอยูภายในคอกกักเพื่อเลี้ยงลูก ดู
พฤติกรรมของบีเวอรในชวงที่อยูภายในเขื่อนใตน้ํา เพื่อสื่อภาพในชวงที่ไมสามารถมองเห็นสัตวได
จากสวนแสดงปกติ
การนํากลองวีดีโอวงจรปดไปจับภาพสัตวในขณะทีอ่ ยูในพื้นทีท่ ี่เปนสวนตัว เชน การติดตัง้
กลองขนาดเล็กที่ปองกันตัวกลองดวยโลหะและ กระจกใส สามารถหมุนกลองไดเปนมุม 90 องศา
เพื่อจับภาพในชวงที่ตัวบีเวอรอยูภายในบานใตน้ํา ซึ่งภาพนี้จะนําเสนอภาพบนจอโทรทัศนใน
บริเวณจุดชมสัตว หรืออาจนําภาพในพื้นที่อื่นๆ มานําเสนอ
170

จุดชมสัตว ( Exhibit Viewing )


ตําแหนงของผูเที่ยวชมเมื่ออยูในบริเวณสวนแสดงสัตว ควรอยูในตําแหนงที่กําหนดไว
เพื่อใหเห็นวัตถุในสวนแสดง (ในสิ่งที่เราตองการใหเห็น) ที่เปนศูนยกลางของพื้นที่สวนแสดง ( จุด
ที่เห็นภาพสัตวและองคประกอบอื่นไดดีที่สุด ) โดยตําแหนงดังกลาวนั้นตัวของผูเที่ยวชมอยูใน
ตําแหนงที่ถูกควบคุมอยางแนนอนโดยระบบของการไหลและเคลื่อนในวงรอบการชมสัตว
- ผูออกแบบไมไดออกแบบเพื่อควบคุมตําแหนงของผูเที่ยวชมเทานั้น แตยังออกแบบที่จะ
กําหนดใหผูเที่ยวชมมีลําดับการชมและมีความตอเนื่องของสวนแสดง ระบบของไหลและเคลื่อนใน
วงรอบการชมสัตวที่ถูกตองและสมบูรณ ( มีเรื่องราว ลําดับ ความตอเนื่อง มีเรื่องราว ) ภาพที่มอง
จากทางเดินเทาทั้งในแนวตั้งและแนวระนาบที่ดูกลมกลืน ความกวางของทางเทา ลักษณะของพื้นผิว
ทางเทา ตําแหนงของจุดชมสัตว การปลูกตนไม ลักษณะของอาณาเขตของสวนแสดง ซึ่งที่กลาวมา
ทั้งหมดนี้จะเปนปจจัยสวนหนึ่งที่มีอิทธิพลตอเนื้อหาของธรรมชาติ การปฏิสัมพันธกันระหวางคน
และสัตว
171

ดูรูปที่ 95 การควบคุมมุมมองของของผูเที่ยวชม การเลือกแนวคิดที่เหมาะสม วาจะเปนแบบ


ตําแหนงของสัตวและวัตถุที่เปนองคประกอบของสวนแสดง ตองไดรับการพิจารณาแลววา
เมื่อมองจากจุดชมโดยผูเที่ยวชมแลวสามารถสรางภาพที่ทําใหเกิดเรื่องราว ที่ใหเกิดความเขาใจใน
เรื่องราวของความสัมพันธระหวางคนและสัตว
เปนไปไดหรือไมที่ผูเที่ยวชมจะเกิดความรูสึกตัวในทันทีที่ เมื่อตําแหนงที่ผูเที่ยวชมยืนอยูที่จุด
ชมสัตวแลวตําแหนงของสัตวสัตวในสวนแสดอยูสูงกวา ผูเที่ยวชมจะเกิดความยําเกรงในตัวสัตว
หรือถาตัวสัตวอยูต่ํากวาแลวผูเที่ยวชมเกิดความรูสึกวาตัวสัตวนั้นดอยกวาตนเอง ตัวอยางเชน ถา
จุดชมสัตวอยูเหนือจุดที่สิงโตหรือชางยืนอยู ความรูสึกวาเรานั้นมีอันดับในพื้นทีแ่ หงนั้นสูงกวาสัตว
เหลานี้ แตถาในทางกลับกันเราจะเกิดความรูสึกเชนไร
และถาเปนอยางที่กลาวมานั้นจริง ถาลําดับที่เกิดขึน้ ในฝูงสัตวนั้นแสดงออกใหเห็นใน
ลักษณะของตําแหนงความสูงต่ําของจุดที่สัตวอยู สามารถสื่อความรูสึกมายังมนุษยไดเชนเดียวกัน
ในเหตุการณที่ผูเที่ยวชมยืนอยูที่จุดชมสัตว ทีอ่ าจจะอยูในตําแหนงที่สูงหรือต่ําเมื่อเทียบกับจุดที่สัตว
อยู ความคิดนี้สามารถนํามาใชรวมในการออกแบบสวนแสดงสัตวดวย
จากตัวอยางดังกลาว กระบวนการกําหนดพื้นที่ระหวางสัตวกับผูเที่ยวชม จึงมีแนวคิดอยู
ประการหนึ่งวา ถาตําแหนงที่สัตวอยูเหนือตําแหนงจุดชมที่ผูเที่ยวชมยืนอยูจะเปนการสราง
ความรูสึกที่เกิดกับผูเที่ยวชมวา สัตวนั้นอยูในสถานะที่เหนือกวาตน สัตวเปนสิ่งมีคุณคาที่ตองรักษา
ไว ถาสัตวอยูต่ํากวาตําแหนงจุดชม ผูเที่ยวชมก็จะเกิดความรูสึกสัตวนั้นอยูในฐานะที่ดอยกวาตน
การกลั่นแกลงสัตวดวยวิธีการตางๆ จะเกิดขึ้น ( Coe,1985 )
172

การกําหนดตําแหนงของผูเที่ยวชมที่มองมาทีส่ วนแสดงอาจมีดวยกันหลาย ๆ ตําแหนง โดย


จะพิจารณาตามการแสดงออกของพฤติกรรมของสัตว เพื่อที่จะใหเกิดภาพที่ผูเที่ยวชมเกิดความ
ประทับใจ และจดจําภาพเหลานี้กลับไปบานจากมุมหนึ่งมุมใด หรือจากขางใดของหนึ่งของสวน
แสดง ภาพที่ปรากฏใหเห็นจะเปนภาพที่มี 2 มิติ แตภาพนั้นสามารถทําใหดูดีมากขึ้นหรือขยายให
ใหญขึ้นโดยการใชฉากที่เปนภูมิทัศนจากสวนแสดงที่อยูติดกัน ผูเที่ยวชมที่ผานเขามาภายในสวน
แสดงนก Villarsles Dombes ภาพที่ผูเที่ยวชมจะเห็นนกโดยไมมีตาขายบดบังและการออกแบบ
โดยรอบสวนแสดงก็จะชวยใหองคประกอบของภาพที่ผูเที่ยวชมสวยงามสมบูรณยิ่งขึ้น ( Malvieille,
1981 )

ดูรูปที่ 96 สวนแสดงนกที่ villarsled Domberes ตําแหนงตางๆของผูเที่ยวชมที่มองไปยังพื้นที่สวน


ตางๆของสวนแสดงสัตว เมื่อตัวของผูเที่ยวชมอยูที่ตําแหนงจุดศูนยกลางของสวนแสดง ภาพของ
ฉากหลังที่ผูเที่ยวชมเห็นจะเปนภูมิทัศนของสวนแสดงที่อยูติดกัน
ความสัมพันธของผูเที่ยวชมกับการมองเห็นตัวสัตวจากตําแหนงตางๆ จะมีสวนกระตุนใหผู
เที่ยวชมเกิดความรูสึกกับภาพสัตวที่ไดเห็น และเพิ่มโอกาสที่จะใหผูเที่ยวชมไดเห็นสัตวอยางใกลชิด
173

( ดูรูปที่ 97 ) Temperate Forest/Indiana Plain Exhibit การที่ผูเที่ยวชมมองเห็นกวางมูสหรือ


อเมริกันไบซันทีต่ ัวสัตวอยูในระดับเดียวกับสายตา รวมทั้งเห็นตนหญาที่ขึ้นโตเต็มที่แลว ภาพทีผ่ ู
เที่ยวชมไดเห็นจะสรางความรูสึกวาสัตวเปนสิ่งมีสวยงามและยิ่งใหญ รวมทั้งเกิดความเขาใจถึง
ลักษณะถิ่นที่อยูของสัตวดวย ภาพที่เห็นจากทางเดินชมสัตวจะถูกบังบางสวนดวยตนไมที่ปลูกไวใน
สวนแสดงจะเปนการสรางความรูสึกตื่นเตนขึ้น
จุดชมสัตวที่มีลักษณะเปนอุโมง โดยสวนของเพดานอุโมงคจะเปนหองหลาย เปนหองที่
แสดงวงจรชีวิตของหนู เชนชวงการเพาะขยายพันธุ การกินอาหาร ผูเที่ยวชมมองดูหนูผาน
พลาสติกใสรูปโคงที่ติดอยูบนเพดานอุโมง ทีผ่ ูเที่ยวชมสามารถสอดหัวเขาไปไดเพื่อมองเห็นภาพที่
อยูภายใน โดยพลาสติกใสเหลานี้จะวางไวที่ระดับความสูงตางๆ เพือ่ ที่จะใหเด็กไดเห็นภาพแบบ
เดียวกันกับผูใหญ ( Seaton, 1977 )
ผูเที่ยวชมที่ผานสวนแสดงทุงหญาแพรี่ โดยระดับสายตาของผูเที่ยวชมอยูในจุดที่ไมเกินยอด
หญา และผูเที่ยวชมมีความรูสึกวาถูกครอบคลุมดวยสิง่ แวดลอมของทุงหญาแพรี่ ชนิดสัตวที่จะได
เห็นเปนชนิดแรกคือแพรี่ดอคที่อยูใตดินและเห็นแพรี่ดอคที่อยูบนพื้นดิน รวมกับอเมริกันไบซัน
ธรรมชาติที่อยูเปนฉากที่อยูรอบๆ ตัวสัตวจะเปนสวนที่สรางความประทับใจ ถึงแมวาภาพที่เห็นจะ
เสมือนวาสัตวทั้งสองชนิดปรากกฏอยูในสวนแสดงเดียวกัน แตสัตวแตละชนิดจะถูกแบงดวยคู
( Design GroupE,1985 )
สวนแสดงที่ใหผูเที่ยวชมผานเขาไปในพื้นที่ที่เปนพื้นที่ของสัตว จะเปนประสบการณที่เปนที่
สนุกสนานพึงพอใจของผูเที่ยวชม แตก็จะนํามาซึ่งปญหาที่แอบแฝงอยู
สวนแสดงนกที่ผูเที่ยวชมเขาไปอยูภายในสวนแสดงได ความแตกตางของสวนแสดงใน
รูปแบบนี้ของแตละสวนสัตว จะมีความแตกตางในเรื่องของจํานวนและชนิดของนกที่มีในสวนแสดง
174

นก ขอดีคือของสวนแสดงแบบนี้คือ จะทําใหผูเที่ยวชมไดใกลชิดกับตัวสัตวและเกิดความรูสึกวา
ตนเองเปนสวนหนึ่งของโลกของนก ซึ่งจะเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดยากแมแตในปาธรรมชาติ ความใกลชิด
กับนกจะเปนการสรางความพึงพอใจ ใหเกิดกับผูเที่ยวชมทุกกลุมอายุและมีผูเที่ยวชมจํานวนเพียง
เล็กนอยที่ไมพอใจ แตในแงของความปลอดภัยพื้นที่บริเวณนี้เปนพื้นที่ของนกซึ่งเราไมสามารถ
ควบคุมได อาจเกิดไดทั้งกรณีที่นกถูกทํารายจากผูเที่ยวชม ( เคยมีกรณีที่ผูเที่ยวชมเขามายิงนกเลน
ในกรงนกใหญของสวนสัตวบางแหง – ผูแปล ) หรือผูเที่ยวชมถูกทํารายจากนกในกรณีที่อยูในชวง
ฤดูกาลผสมพันธ ( เคยมีกรณีที่ผูเที่ยวชมถูกทํารายจากนกยูงเพศผูที่เดินเที่ยวอิสระในสวนสัตว –ผู
แปล ) ( Oston,1985)
การวางตําแหนงของผูเที่ยวชมใหอยูในตําแหนงที่อยูเหนือพื้นที่ของสัตว ทีจ่ ะทําใหผูเที่ยวชม
เกิดความรูสึกที่ตัวเองมีสถานะสูงกวาสัตว นั้นเปนขอที่ควรหลีกเลี่ยง นอกจากนั้นการมองจาก
มุมมองในระดับที่สูงเชนการมองจากหอคอยสูง ที่สามารถมองเห็นภาพรวมโดยรอบไดทั้งหมดนั้น
จะเปนการชวยใหตนเองทราบวาขณะนี้ตัวเองนั้นอยูที่ใด แตวิธีการนี้จะเปนวิธีการที่ไมเอื้อตอการ
สรางความรูสึกลึกลับ เพื่อที่จะสรางความสนใจของสถานที่ เนื่องจากเปนการใหขอมูลทีม่ ากเกินไป
แกผูเที่ยวชม และที่สําคัญภาพของความเปนปาที่เราตองการใหเห็น ก็จะถูกผสมดวยสวนบริการ
เห็นคอกกัก เห็นพื้นที่ของแผนกโยธาที่เปนสวนของงานซอมบํารุง
ภาพมุมสูงในสวนที่มองจากรถไฟหรือรถยนตโดยสาร เปนมุมมองที่ควบคุมองคประกอบของ
ภาพใหเกิดความสมบูรณไดไดยากกวามุมมองอื่นๆ เนื่องจากพื้นที่ที่สามารถมองเห็นพื้นที่ได
กวางขวางกวา แตก็มีตัวอยางในสวนสัตวบางแหงที่มุมมองจากมุมสูงสามารถสรางความพึงพอใจแก
ผูเที่ยวชมได
- ผูเที่ยวชมที่เขามาที่เขาที่ที่สวนแสดง Bat and Rat exhibit ที่ Brookfield Zoo โดยเดิน
ขึ้นจุดชมที่มีลักษณะเปนหอสูงที่มีระดับความสูงระดับเดียวกับยอดไม ผูเที่ยวชมจะถูกลอมรอบดวย
บรรยากาศของปาเขตรอนชื้น ในชวงเย็นจะไดสัมผัสกับภาพที่นาตื่นเตนของฝูงคางคาวนับพันตัวที่
กําลังบินผานทองฟา ( Friedman, Joslin, Parker and Robbin, 1984)
- ที่สวนแสดง the Danver bird exhibit ที่ผูเที่ยวชมจะไดเห็นภาพแบบ bird eye view
โดยจะตองเดินขึ้นไปบนหอคอยสูง เมื่อมองจากจุดชมไปจะเห็นภาพของกลุมยอดไมและเห็นโพรง
ของนกเงือกผู เมียที่จับคูกัน โดยจุดชมจะสูงจากพื้นดิน 45 เมตร ภาพที่เปนภาพประทับใจคือภาพ
ที่เห็นเรือนยอดของปาไม ( Freihett, Clayton, Schmitt, 1977 )
จุดชมสัตวที่วางอยูหลายระดับจะทําใหสามารถรองรับผูเที่ยวชมไดมากขึ้นและโอกาสที่จะได
เห็นภาพสวยๆ ดี ..ความแตกตางของตําแหนงจะทําใหผูเที่ยวชมมีโอกาสที่จะไดเห็นพฤติกรรมของ
สัตวหลากหลายขึ้น
175

ดูรูปที่ 98 Australian South American Exhibit ที่ The Potter Zoo, Lansing หอคอยที่มองลงใน
ระดับที่ต่ําลงมาผูเที่ยวชมจะมีจุดในการมองภาพหลายตําแหนง เปนภาพที่ไมมีการปดบังสวนที่อยู
รอบๆตัวสัตว ยังใหโอกาสที่ผูเที่ยวชมจะไดประสบการณที่หลากหลายของพฤติกรรมสัตวจากหลาย
ระดับ และถูกครอบคลุมดวยถิ่นที่อยูของสัตว
สวนแสดงหมีขาวที่มองผานกระจกใส จุดที่ผูเที่ยวชมยืนอยูถามองในระดับที่ต่ําลงไปจะเปน
บริเวณที่หมีกําลังวายน้ําอยู และมองเห็นภาพที่หมีกําลังขึ้นจากน้ําไปยืนบนกอนน้ําแข็งหรือกอนหิน
ปญหาในเรื่องภาพที่ผูเที่ยวชมไดเห็น ไมไดมีปจจัยจากเรื่องตําแหนงของผูดูเทานั้น การลดการ
รบกวนจากฝูงชนที่เขามาชมซึ่งอาจเปนภาพ เสียง การสัมผัส การเห็นวัตถุที่ดูไมเปนธรรมชาติหรือ
ดูไมกลมกลืน เชนคอกกัก สายไฟ สิ่งเหลานี้ควรจะการบังหรือพรางโดยการใชตนไมหรืออุปกรณ
อื่นในทางสถาปตยกรรม แตถาทําในสิ่งเหลานี้มากเกินไปก็จะเปนการทําลายความตอเนื่องของภาพที่
จะแสดงจะทําใหความนาสนใจของภาพลดลง แนวทางของ The Point Defiance Zoo ที่แสดงใหเห็น
ถึงขอปลีกยอยตางๆของปญหา
มีบางสวนแสดงที่สามารถมองเห็นไดจากเสนทางหลักของวงรอบการชมสัตว
เสนทางรองแยกจากเสนทางหลักการตกแตงเสนทางจะใชรูปลักษณและวัสดุที่คลายกับสวน
แสดงสัตวซึ่งจําลองลักษณะพื้นที่ตามธรรมชาติ รวมทั้งการออกแบบที่จดุ ชมซึ่งทั้งหมดนี้เพื่อให
ผูเที่ยวชมเกิดความรูส ึกใกลชิดกับสัตว โดยจุดชมทีม่ ีทั้งลักษณะที่ยื่นล้ําเขาไปในพื้นที่สวนแสด
( The nodal viewing station )หรือแบบจุดชมสัตวที่มีตามเสนทางเดิน ( The linear viewing
station )
การออกแบบสวนจุดชมสัตวตอ งใหความระมัดระวังในเรื่องของภาพที่มองเห็นจากสวนแสดง
ตองลดองคประกอบที่ไมจําเปนออกเชน การเห็นสวนแสดงที่อยูติดกันที่ไมมีความเกี่ยวของกัน โดย
สิ่งที่เราตองการคือใหสัตวเปนสื่อที่โดดเดนที่สุด ใหผูที่ชมไดเห็นในรายละเอียดของที่สามารถ
176

เห็นไดเชน การปรับตัวแบบจําเพาะของสัตว พฤติกรรมการกินอาหาร การแสดงออกทางสีหนาและ


ความรูสึก
177

ดูรูปที่ 99 แนวคิดการออกแบบจุดชมสัตวที่ port defiance Zoo, Washington zoo เปนจุดชมแบบ โดย


จุดชมที่มีทั้งลักษณะที่ยื่นล้ําเขาไปในพื้นที่สวนแสด ( The nodal viewing station )หรือแบบจุดชม
สัตวที่มีตามเสนทางเดิน ( The linear viewing station ) ในเสนทางรอง ( Secondary Pathway ) ที่
มีจุดประสงคที่จะสรางความรูสึกใหกับผูเที่ยวชมเสมือนวาผูเที่ยวชมกําลังอยูในบริเวณเดียวกับสัตว
178

โดยบริเวณดังกลาวจําลองลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้น รวมทั้งมีการควบคุมจัดการชนิดสัตว
ที่ผูเที่ยวชมจะไดชมในลําดับถัดไป ซึ่งการจัดการเรื่องนี้ยังตองควบคุมความเปนธรรมชาติใหตอเนื่อง
สวยงามดวย The envelopment concept จะออกแบบใหจุดชมสัตวจะตองอยูในตําแหนงที่เห็นสัตวได
ชัดเจนที่สุดและลดภาพที่เกิดจากสวนประกอบของสวนแสดงสัตวเชนคอกกักสัตว

ลําดับของสวนแสดง ( Exhibit Sequencing )


แตละสวนแสดงจะถูกออกแบบใหอยูในสิ่งแวดลอมที่มีเรื่องราวและเนื้อหา ( context )
เรื่องราวและเนื้อหา ก็คือ สิ่งแวดลอมในพื้นทีข่ องสัตว พื้นที่โดยรอบจุดชมสัตว พื้นที่ของคนและ
สวนใหบริการตางๆ ปายและสื่อในการใหการศึกษา รวมทั้งองคประกอบที่ผูเที่ยวชมสามารถรับรูและ
สัมผัสในระดับที่รูสึกตัวและไมรูสึกตัว ( Crotty, 1980 )
- แผนการพัฒนาหลัก ( Master Plan ) จะเปนตัวกําหนดการออกแบบ เรื่องราวและเนื้อหา ซึ่งในการ
ตัดสินใจที่สวนแสดงใด ตองอางอิงจากแผนการพัฒนาหลักที่ไดวางกรอบไวแลว
- โครงงาน รูปแบบ แบบที่จะออกมาจะตองใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมผูเที่ยวชมจะไดสัมผัส
โดยเริ่มตั้งแตกอนที่ผูเที่ยวชมจะเขามาถึงพื้นที่สวนแสดงสัตว สามารถสรางอารมณใหเกิดกับผูเที่ยว
ชมและตอบความคาดหวังของผูเที่ยวชม
- สวนแสดงจะตองสามารถสื่อสารอยางเหมาะสมในเรื่องของเปาหมาย ความสนุกสนาน งานให
การศึกษาแกผูเที่ยวชม ในขณะที่อยูในสวนแสดง ใหความรูสึกอยากอยูชมตอกอนที่ผูเที่ยวชมจะไป
ยังสวนแสดงอื่นที่อยูถัดไป
- ระบบเคลื่อนไหลของผูเที่ยวชมในวงรอบการชมสัตวและสวนแสดงจะมีลักษณะจําเพาะ
ไปตามความตองการของสวนสัตวแตละแหง วาจะวางแผนใหวงรอบการชมสัตวใหออกมาใน
ลักษณะใด
ที่ The St Louis Zoo การกอสรางและพัฒนาพื้นที่จะใชมุมมองของเสนทางและวิธีการเคลื่อน
ตัวของผูเที่ยวชมจํานวนมาก ซึ่งมีปจจัยที่สําคัญอยู 2 ประการคือ
1. การสรางทางเดินเทาเชื่อมจากจุดพื้นที่ศูนยกลางของผูเที่ยวชม ( อาจเปนพื้นที่แรกที่ออกจากลาน
จอดรถ หรือผานจากจุดขายบัตรและผานเขามาในพื้นที่ชมสัตว) ซึ่งมุงหวังวาจะเปนสวนที่จะกระตุน
ใหผูเที่ยวชมออกเดินทาง เพื่อใหเดินไปชมมีสวนแสดงมาลายและอูฐ อยูถัดจาก จุดพักผอนของ
สวนสัตว
2. การวางตําแหนงสวนเสือไซบีเรีย ถัดจากสถานีรถไฟตองการสรางความตื่นเตนในชวงการรอ
รถไฟ รวมทั้งภาพความสนุกสนานเมือ่ เห็นรถไฟโผลออกมาจากอุโมงคที่อยูใกลๆ ( Schultz, 1981 )
ลําดับของสิ่งที่ไดพบจะออกแบบถึงลําดับการแสดงที่จะสามารถชักนํา ใหเกิดการคาดเดาวาจะ
ไดพบอะไร เกิดความรูสึกถึงความลึกลับ เกิดความกระตือรือรนที่จะกระตุนใหผูเที่ยวชมอยากคนหา
ความรูดว ยความสนใจ ดวยความสนุกสนานพึงพอใจ มีขอควรจําเชน เปนเสนกั้นบางๆ ระหวาง
179

ความนาสนใจกับความนาเบื่อหนาย เมื่อตองจัดการกับผูเที่ยวชมที่มีระยะเวลาสั้นในการเที่ยวชม ทํา


อยางไรที่จะใหผูเที่ยวชมที่มีระยะเวลาในการเที่ยวชมสั้นแตสามารถรับขอมูลจํานวนมากที่ควรจะตอง
รับทราบ
การใช theme หรือเรื่องราวที่จะสามารถโนมนําใหเกิดความรูสึกตอเนื่องระหวางสวนแสดง ที่
จะทําใหผูเที่ยวชมสามารถเรียนรูไดโดยงายขึ้น เกิดความสนุกไมเกิดความสงสัยหรือมีความแตกตาง
ในชนิดสัตวในสวนสัตว The aquatic กบ-เขียด สัตวเลื้อยคลาน นกใน Sonoran Desert Region
Exhibit จะแสดงเนื้อหาที่มีความตอเนื่อง
การแปลผลเนื้อหาที่จะนําเสนอจะเปนการแสดงของการวิวัฒนาการที่มีความเกี่ยวพันกัน
ระหวางชนิดสัตวที่มีความแตกตางกัน
กลยุทธการแปลผลแบบรวมมือกัน แบบประสานกันจะขึ้นอยูกับการจัดแจงแตละสวนแสดงที่
โดยใหแตละสวนแสดงมีความสัมพันธตอเนื่องกับแนวคิดบางแนวคิด เชน วิวัฒนาการของสัตว
สัตวเลื้อยคลานที่มีวิวัฒนาการจากสัตวครึ่งบกครึ่งน้ําและนกที่มีวิวัฒนาการมาจากสัตวเลื้อยคลาน
( Francheti,1980 )
การจัดการในเรื่องการจัดแสดงสวนแสดงสัตวที่นําเอาแนวคิดเรื่องลําดับมีหลายประเด็นที่ตอง
จัดการเชน ลําดับของชนิดสัตวที่ผูเที่ยวชมจะไดพบเห็น พื้นที่ระหวางสวนแสดงจะเปนพื้นที่ที่จะให
ขอมูลแกผูเที่ยวชม สัตวที่จะไดชมตอไปวาถิ่นที่อยูตามธรรมชาติของสัตวชนิดนั้นๆ มีลักษณะเชนใด
และหัวขอในดานงานการอนุรักษเปนอยางไร
180

ดูรูปที่100 Exhibit Oriantation Area พื้นที่เพิ่มรายละเอียด เปนสวนที่ใหขอมูลแกผูเที่ยวชมถึงสัตวที่


จะไดเห็น เปนการอธิบายแบบตางๆ รูปแรกที่ The Milwankee Zoo และรูปที่ 2 ที่ The displak kios
ที่ The Cincineti Zoo และรูปที่ 3 เปนปายที่นาสนใจที่ The Miami Metro Zoo

ที่ The Robert Lafontune North American Museum จะนําเสนอในเรื่องราวตามธรรมชาติ


ขอมูลที่นาสนใจที่เกี่ยวกับพื้นที่ ถิ่นที่อยูข องสัตวชนิดนั้น เปนการพัฒนา ตัวชวยเสริมเนื้อหา
เสนทางการเที่ยวชมซึ่งจะเปนสวนหนึ่งของ Introductory Concept
181

กลยุทธในเรื่องนี้กอนที่จะเขาแตละโซน จะมีพื้นที่ปายที่แสดงกับผูเที่ยวชมวากําลังจะเขาสู
พื้นที่ของโซนใด เชน ทุงหญาซาวันนาในแอฟริกา นําเสนอลักษณะของพื้นที่แบบนี้มีลักษณะ
จําเพาะอยางไร นําเสนอขอมูลสัตวในลักษณะของความสัมพันธกับสัตวชนิดอื่นและพื้นที่ใน
ลักษณะนี้ ในถิ่นที่อยูและสิ่งแวดลอม 3 ใน 4ของพื้นที่สวนแสดงจะตอเนื่องถึงกัน ดวยทางเทาโดย
จะมีการผสมผสานกันทั้งชนิดของสัตวและพืช ( Zucconi, 1979)
พื้นที่ที่แสดงขอมูลกอนที่จะเขาสวนแสดงสัตว ( Pre-animal exhibit ) เปนพื้นที่จัดแสดง
ศิลปะและวัฒนธรรมของผูคนในพื้นที่ที่นําสัตวชนิดนั้นๆ มา The Pre Exhibit ควรจะเปนสวนที่มี
การนําเสนอที่ดี สรางอารมณสนุกสนาน มีการสรางกิจกรรมใหกับคนไดในระดับสูง กิจกรรมที่
เกิดขึ้นในพื้นที่นี้จะทําใหเกิดความคาดหวังวาเกิดอะไรขึ้นในพื้นที่ถัดไป ที่จะเปนความตอเนื่องตอไป
เมื่อผูเที่ยวชมเขาสูพื้นที่ชมสัตวที่อยูในสิ่งแวดลอมของสัตว เชนหมูบานชางของชนชาวสวยในพื้นที่
จังหวัดสุรินทร หมูบานของชาวพื้นเมืองในแอฟริกา
ลําดับสวนแสดงจะเกิดความชัดเจนได ตองมีขอตกลงที่ชัดเจนวาจะใชการแบงการใชพื้นที่
แบบ Zoogeographic หรือ bioclimatic โดยเฉพาะในกรณีที่สัตวที่อยูในแผนจํานวนมากและใช
แนวคิดสวนแสดงแบบจําลองถิ่นที่อยูของสัตว การเรียงลําดับสวนแสดงสัตวนี้รวมเอาพื้นที่ระหวาง
สวนแสดงดวย
สวนแสดงสัตวที่นําเสนอภาพปาแบบ Alaska’ s Tundra ซึ่งองคประกอบสําคัญของภาพจะ
เปนทะเลและภูเขา สวนแสดงจะจําลองถิ่นที่อยูใหใกลเคียงธรรมชาติใหไดมากที่สดุ เทาที่จะเปนไป
ได ซึ่งเปนการสรางความรูสึกใหเกิดกับผูเที่ยวชมวา ธรรมชาตินั้นเปนสวนประกอบที่สําคัญในการ
ดํารงชีวิตของสัตว และยังเปนการสรางที่อยูที่เหมาะสมใหกับสัตวดวย สวนแสดงสัตวควร
ประกอบดวยสัตวมากกวาหนึ่งชนิด ซึ่งจะเปนการนําเสนอที่นา สนใจ ดูเปนธรรมชาติและสามารถ
สื่อความหมายได
ระบบการเคลื่อนไหลของผูเที่ยวในวงรอบการชมสัตวดวยทางเดินเทา( The Pedestrian
circulation system ) และภูมทิ ัศนที่อยูโ ดยรอบ จะเปนสวนสําคัญที่จะใชในการควบคุมลําดับของ
ภาพ ขอมูลและ ประสบการณที่ผเู ที่ยวชมจะไดรับ แนวคิดในการออกแบบเสนทางไดแบงลําดับชั้น
ของเสนทางออกเปนเสนทางหลัก ( Primary Pathway ) เสนทางรอง ( Secondary pathway ) เสนทาง
ยอย ( Tertiary Pathway ) โดยที่แตละเสนทางจะมีการใชงานแตกตางกันทําใหรูปลักษณที่เกิดขึ้น
แตกตางกันไปดวย
182

ดูรูปที่ 101 เสนทางหลัก


ก. ทางสายหลัก ( Primary Path ) หนาที่หลักคือการควบคุมและเคลื่อนยายผูเที่ยวชมจํานวนมากเริ่ม
จากทางเขา ทางเดินสายหลักมีจุดเริ่มตนจากทางเขาของสวนสัตว และตอเนื่องไปพื้นทีท่ ีผูเที่ยวชม
สวนใหญมีกิจกรรและตอเนื่องไปทีส่ วนแสดงสัตว พื้นผิวทางเดินหลักควรจะเปนแบบ hard surface
เปนเสนทางทีก่ วาง เปนเสนทางตรง มีสวนใหบริการเชน รมเงา มานั่ง ที่ชายน้ํา ศูนยอาหาร
มุมมองที่เห็นไดไกล เชน สระน้ําขนาดใหญ เห็นบางสวนของสวนแสดงที่สามารถมองเห็นไดจาก
เสนทางนี้ แตไมควรมีการมองเห็นสวนแสดงในระยะใกล เนื่องจากจะเปนการขัดขวางการ
ไหลเวียนของการจราจรและลักษณะของพื้นที่เหลานี้จะมีความแตกตางกับพื้นที่ของสัตว

ข.เสนทางรอง ( Secondary path ) หนาที่ของเสนทางในลําดับนี้คือ จะเปนชองทางไปยังสวนแสดง


จะเปนสวนที่มีทิวทัศนหลากหลาย เสนทางอาจมีลักษณะเปนเสนโคง สวนบังสายตา รมเงา มานั่ง
ทีข่ ายน้ํา
183

ดูรูปที่ 103 เสนทางรอง


ค เสนทางยอย ( Tertiary Path ) จุดประสงคหลักคือ เปนการเตรียมใหผูเที่ยวชมไดมีสวนรวมโดยเขา
ไปเสมือนเขาไปในถิ่นที่อยูของสัตวและไดใกลชิดสัตว (เที่ยวชมตองตองใชเวลาในเสนทางนี้มากขึ้น
ออกแรงเดิน เปนเสนทางเดินที่แคบ คดเคี้ยว อาจเปนชวงที่มีความสูงชันใหเหมาะสมกับถิ่นที่อยู
ของสัตว และเกิดความทาทาย ผูเที่ยวชมเกิดความรูสึกเหมือนเดินอยูในปา มีความตื่นเตน
ประหลาดใจ มีความนาสนใจ ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือบรรยากาศที่เกิดขึ้นในเสนทางยอย

ดูรูปที่ 104 เสนทางยอย


ตําแหนง ความยาว สัดสวนของแตละทางเดินจะขึ้นอยูกับรูปแบบของสวนสัตว ถาสวนสัตวที่
มีจุดเดนที่เปนสถานที่พักผอนหยอนใจในรูปแบบคลายสวนสาธารณะควรจะมีเสนทางหลักมากที่สุด
การที่จะใหเห็นภาพโดยตรงจากสวนแสดงสัตว จะเปนเสนทางยอย
ทางเลือกอื่นๆในการเคลื่อนที่ภายในสวนสัตวรูปแบบอื่นๆ เชน รถไฟ รถโดยสาร โมโนเรล
เปนวิธีการที่จะสามารถเคลื่อนยายผูคนจํานวนมาก ออกจากพืน้ ที่ที่ผูเที่ยวชมจํานวนมาก ภาพที่ผูเที่ยว
184

ชมเห็นจากการเคลื่อนที่แบบตางๆเหลานีจ้ ะไดภาพในลักษณะที่เห็นจากเสนทางแบบที่ 1หรือ 2 แต


บางครั้งระบบที่เปนทางเลือกก็ควรไดรับการเพิ่มสิ่งพิเศษบางอยางเพิ่มเติม
การใชแพทองไปในแมน้ําเปนอีกรูปแบบหนึง่ ของการเคลื่อนที่แตเปนชองทางที่พิเศษที่จะได
เห็นตัวสัตวและถิ่นที่อยูของสัตว โดยถิ่นที่อยูในลักษณะที่เปนแมน้ําจะเปนลักษณะที่สําคัญของแต
ละสวนแสดงสัตวที่เสนทางนั้นผาน ความคิดของการใชแพเพื่อยายผูเที่ยวชมผานถิ่นที่อยูแบบแมน้ํา
เปนการแสดงทีจ่ ะทําใหเห็นถึงลักษณะที่จําเพาะของนิเวศวิทยาของแมน้ํา ( Design Group B,
1985 )
การนําวัฒนธรรม เขามารวมในสวนแสดงสัตว
ในปจจุบันพบวามีกระแสการนําวัฒนธรรมมาเปนองคประกอบสวนหนึ่ง ในการออกแบบสวน
สัตว ซึ่งเปนผลมาจากแนวคิดที่จะนําเอาสิ่งที่มีอยูภ ายในถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ เมื่อมนุษยเปน
สวนหนึ่งถิ่นที่อยูแลว การนําวัฒนธรรมเขามาดวยจึงเปนการเชื่อมโยงเพื่อที่จะนําไปสูสวนแสดงสัตว
ที่อยูในถิ่นที่อยูนั้น ตั้งแตในพื้นที่เขตปา temperate เปนสวนที่ทําใหพื้นที่มนุษยไดตั้งรกรากมาเปน
เวลานานแลว สวนแสดงนี้จึงนําเสนอในลักษณะวัฒนธรรม แบบชนบท มากกวาที่จะแสดงใน
ลักษณะเปนพื้นที่ปา โดยมีการใชยุงขาว ลานบานและแนวไมที่ใชเปนแนวลดแรงปะทะของลม โดย
พยายามที่จะจัดวางสิ่งตางๆเหลานี้ไมใหเกิดเปนภาพที่ขัดแยง โดยนําลักษณะทางเกษตรกรรมเชนรั้ว
สะพาน มานั่ง ทางเดิน การใชรูปแบบของวัฒนธรรมมักจะนําสิ่งประดิษฐของผูคนที่อยูใกลชิดกับ
สิ่งแวดลอมที่สัตวที่เปนผลมาจากผูคนและธรรมชาติผสมผสาน มาเชื่อมโยงกับความเสียหายที่เกิด
ขึ้นกับระบบนิเวศวิทยาในเกาะฮาไวหลังจากที่ชาวยุโรปไดทําการตัดไมทําลายปา นําสัตวที่ไมเคยมี
ในเกาะเขามา โดยนําเสนอภาพที่กอใหเกิดปญหาในแงมุมดานการอนุรักษสัตวปาที่เกิดขึ้นในเกาะที่
อยูหางไกลจากแผนดินใหญ
แนวทางการออกแบบที่นําเอาเนื้อหาทางวัฒนธรรมมาใชในสวนสัตวและพิพิธภัณฑ จะเปน
แนวทางการที่จะใชเปนแนวคิดในการสรางงานที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น หากเรากลับไปทบทวนงาน
ออกแบบสวนแสดงสัตวก็จะพบไดวาการนําองคประกอบของวัฒนธรรมทั้งจากลักษณะของ
สิ่งกอสรางไปถึงขาวของเครื่องใชเปนแนวคิดที่มีมานานแลว ( ดูรูปที่ 105 ) โดยแนวคิดนี้เปนสิ่งที่จะ
ชวยสรางแรงบันดาลใจแกผูออกแบบ สําหรับการออกแบบสวนแสดงสัตวที่จะทําการสรางขึ้นใหม
และชวยในงานดานงานใหการศึกษาดวย
185

ก .สวนแสดงชนเผาอะบอริจินในทวีปออสเตรเลีย ( Australian Aboriginal exhibit ) ความสัมพันธ


ระหวางกับมนุษยกับธรรมชาติมีมามากกวา 50,000 ป ชนเผาอะบอริจินที่อาศัยอยูในทวีป
ออสเตรเลียมีการสืบเผาพันธุมามากกวา 2,000 รุน เปนชนเผาเรรอนที่ทองเที่ยวไปมาภายในพื้นที่
ของเผาตัวเอง ในชวง 50,000 ป ดํารงชีวิตดวยการลาสัตวและอยูรวมกลุมกัน
ชาวเผาอะบอริจินจะพัฒนาความรูสึกผูกพันลึกซึ้งกับแผนดินที่ตัวเองอาศัยอยู เขาไมไดมอง
กอนหิน ตนไมหรือแหลงเปนเพียงหนึ่งของสถานที่เทานั้น แตสิ่งเหลานี้คือสิ่งที่บรรพบุรุญสราง
เอาไวและจิตวิญญาณของบรรพบุรุญยังคงอาศัยอยู พวกเขามีความเชื่อวาการตั้งครรภเกิดขึ้นจาก
วิญญาณของบรรพบุรษุ ที่อาศัยอยูในพื้นที่แหงนั้น การใชทรัพยากรที่มีอยางจํากัดเพื่อสรางสิ่งของที่
186

มีความสําคัญสําหรับการอยูรอด เชน กระทอมที่มีความทนทานตอสภาพอากาศจะสามารถสรางได


อยางรวดเร็วจากกิ่งไมที่อยูในบริเวณนั้น งานศิลปะที่สรางขึ้นนั้นเพื่อบรรยายเหตุการณที่เกิดขึ้นใน
โลกบนพื้นที่ที่พวกเขาอยู โดยการวาดลงบนพื้นดิน เปลือกไม ผนังถ้ําโดยการใชสีจากดินเหนียวที่มี
สีสันตามธรรมชาติ บุมเบอแรงเปนหลักฐานที่แสดงถึงภูมิปญญาของชาวอะบอริจิน
สวนแสดงทวีปออสเตรเลียไดนําเสนอวัฒนธรรมเผาอะบอริจินที่พบในหมูบาน โดยจะ
ประกอบดวยกระทอมหลายๆแบบ การเตนรํา พื้นที่สําหรับนอน และมีกระทอมขนาดใหญ 2 หลัง
ที่จัดแสดงในหัวขอเรื่อง การอยูรอดในปา ศิลปะและพิธีการของชนเผาอะบอริจิน
พื้นที่กลางของหมูบานจะประกอบดวยกระทอมที่ผูเที่ยวชมสามารถปน และไดเห็นสภาพที่
แทจริงของชาวอะบอริจินวานอนอยางไรในเวลากลางคืน มีสถานที่ใหผูเที่ยวชมทดลองสราง
กระทอมโดยการใชวัสดุแบบเดียวกับที่ชาวอะบอริจินใช
ก. เสนทางการเดินทางพิชิตเขาโลกเหนือของเพอรรี่ ( Peary’ s North Pole expedition ) สัตวและ
ความอยูรอดของมนุษย ในสวนแสดงนี้ ผูเที่ยวชมจะไดสัมผัสบรรยากาศและความรูสึกแบบที่
Edwin Peary ในป 1909 จะไดเห็นความมุงมั่นและการประสบความสําเร็จในการเดินทางไปขั้วโลก
เหนือ ความยากลําบากและการทรยศหักหลังที่เกิดขึ้นในการเดินทาง ภายในสวนแสดงไมได
นําเสนอเฉพาะสัตวทอี่ ยูในพื้นที่นี้เทานั้นแตจะนําเสนอเรื่องของนักสํารวจ เสนทางการเดินทาง ชีวิต
ของผูคน ความอยูรอดของผูคนที่มีความสัมพันธกับสัตว ในชวงป 1900 สัตวจะถูกลาเพียงเพื่อเปน
อาหารและเครื่องนุงหม ซึ่งจะไมมีผลกระทบตอจํานวนของประชากรสัตวปา การใชเสนทางของ
Peary จะใชเปนตัวอยางในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศตั้งแตสิ่งแวดลอมแบบทุนดาขึ้นไปทาง
เหนือจนถึงสิ่งแวดลอมแบบขั้วโลกเหนือ
ข. สวนแสดงเอเชีย ( Asia Exhibit ) แนวคิดในเรื่องความสัมพันธระหวางมนุษยและ
ธรรมชาติ โดยใชตัวอยางจากเรื่องราวที่ปรากฏในวัฒนธรรมของชนชาติในทวีปเอเชีย ซึ่งจะชวยให
ผูเที่ยวชมเกิดความเขาใจและตระหนักถึงความสัมพันธระหวางชนชาติเอเชียกับสัตว มนุษยและ
ธรรมชาติ สวนแสดงหลายๆจะตองจัดเตรียมภาพที่ชนชาติตางๆ ในทวีปเอเชียมีความสัมพันธกับ
สัตวชนิดตางๆ ภูมิทัศน สถาปตยกรรมและสิ่งแวดลอม ในดานของความสัมพันธและความ
แตกตาง จะตองนําเสนอในลักษณะที่สัตวเปนตัวแทนของเปนถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ โดยสภาพ
สิ่งแวดลอมของถิ่นที่อยูนั้นจะเปนสวนที่สนับสนุนที่จะลดความเครียดใหแกสัตว เชนหมูบานชาง ใน
จังหวัดสุรินทรของประเทศไทย
เนื้อหาในวิชาภูมิสถาปตยที่นํามาใชในการออกแบบสวนแสดงสัตว เปนวิชาที่ประกอบดวย
เนื้อหาวิชาอื่นๆอีกหลายสวน ที่จะตองมารวมประสานกันซึ่งทั้งหมดก็เพื่อจะใหเกิดความสําเร็จตาม
ภาระและหนาที่ของสวนสัตว โดยจะตองใหความสําคัญกับสุขภาพและสวัสดิภาพของสัตวเปน
อันดับตนๆ รวมทั้งความพึงพอใจที่จะเกิดกับผูเที่ยวชม
187

การออกแบบสวนแสดงที่ประสบความสําเร็จคือ สามารถตอบสนองทางความตองการ
ทางดานจิตใจและความตองดานรางกาย รวมทั้งสรางจุดสนใจใหกับผูเที่ยวชม โดยจะตองสราง
ภาพที่นาสนใจ นาจดจําทีส่ ามาถกระตุนความตองการที่จะศึกษาหาความรูเพิ่มเติมในสัตวชนิดนั้น
ยิ่งขึ้น สวนแสดงที่จําลองถิ่นที่อยูตามธรรมชาติและการนําสัตวหลายๆชนิดมาอยูในภาพเดียวกัน
จะเปนการนําเสนอภาพที่สามารถตอบสนองภาระและหนาที่ของาวนสัตวไดดี โดยในการออกแบบ
ตองมีองคประกอบทีป่ ระกอบจากมิติตางๆ ทั้งในแนวระนาบ แนวตั้งและแนวที่อยูเหนือศีรษะขึ้นไป
รวมทั้งวัสดุที่จะนําเขามาเปนองคประกอบ จะเปนสวนที่กระตุนและสงเสริมใหสัตวไดแสดง
พฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตวชนิดนั้นๆ
การออกแบบสถานที่ที่สามารถดึงดูดผูเที่ยวชมไดนนั้ คือ ตองสรางความสนุกสนานใหเกิดขึ้น
เปนเปาหมายแรก และตองสอดแทรกขอมูลที่สงเสริมเขาใจในเรื่องของธรรมชาติวิทยาใหมากยิ่งขึ้น
ซึ่งทั้งสองประการที่กลาวมาขางตนก็เพื่อใหผูเที่ยวชมที่เขามาเที่ยวชมในสวนสัตว เห็นคุณคาของ
สัตวปาและธรรมชาติเพื่อทีจ่ ะเกิดจิตสํานึกที่จะชวยกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ตามแตละบุคคล
จะสามารถทําได ซึ่งความสําเร็จจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อตัวของสวนสัตวเองสามารถรวมเอามนุษยและ
สัตวมาพบกันที่สวนแสดงสัตว วิชาภูมิสถาปตยจะเขามาชวยในสวนของตําแหนงของผูเที่ยวชมใน
ขณะที่อยูในพื้นที่สวนแสดงควรจะอยู ณ. ตําแหนงใด จึงจะไดเห็นองคประกอบตางๆ อยาง
ครบถวนทั้งพืชพรรณ สัตวและวัสดุอื่นๆที่นําเขามาประกอบในสวนแสดง ลําดับของสวนแสดง
ภายในวงรอบการชมสัตว ความหลากหลายทางสิ่งแวดลอมที่จัดสรางขึ้น โดยเฉพาะในสวนของ
เรื่องราวที่จะนํามาสื่อในงานใหการศึกษา และเนื้อหาทางวัฒนธรรมก็จะถูกดึงเขามารวมโดยเฉพาะ
ในชวงที่กําลังจะเขาสูพื้นที่การชมสัตว
188

บทที่ 7 การออกแบบการจําลองพื้นที่ถิ่นกําเนิดสัตวในสวนของพืช
ในพื้นที่ของสวนสัตวในสวนของสัตวและคน
(Design of Plant Habitats for Animals and People)
การพัฒนาและการจัดการพื้นที่ ( Developememt and Management Zone )
การเลือกชนิดและการจัดวางตนไมในสวนสัตว มีสาเหตุจากปจจัยหลายประการดวยกัน
โดยตัวของสวนสัตวเองมีการแบงพื้นที่ตามลักษณะการใชงานและการตกแตงพื้นที่ เปน 2 สวน
ดวยกันคือ 1. สวนแสดงสัตว 2. สวนบริการผูเที่ยวชม ถึงแมจะมีลักษณะการใชงานที่แตกตางกัน
แตการออกแบบตองสอดคลองกัน ไมควรเปนไปในลักษณะตางฝายตางทํา โดยไมมีเกี่ยวเนื่องกัน
ในเบื้องตนใหทุกการตัดสินใจในการออกแบบ ตองใหความสําคัญจุดประสงคหลักของสวนสัตว ที่
ประกอบดวยงานนันทนาการ งานใหการศึกษา งานวิจัยและการสรางจิตสํานึกการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ และลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ การตัดสินใจในระดับรองลงมา
(subsequence decision ) ตองใหความสําคัญกับแนวคิดการเลือกชนิดและจัดวางตนไมเพื่อการจัด
แสดง
189

ดูรูป 116 สวนแสดงแรดดําที่สวนสัตว สวนสัตวเดนเวอร และสวนแสดงนกฟลามิงโกที่ซีเวิลด


ความแตกตางระหวางพื้นที่สวนแสดงสัตว พื้นที่กลางบริการผูเที่ยวชม พื้นที่สําหรับอาคาร
สํานักงานของเจาหนาที่แผนกตางๆ ซึ่งรูปแบบของพื้นทีต่ างเหลานี้จะมีความแตกตางกันตามแนวคิด
รวม ( overall exhibit concept ) ความแตกตางของรั้ว พืชที่ตกแตง ของสวนแสดงสัตวสองแหงจะ
แตกตางกัน สวนแสดงแรดดําจะใชผนังกําแพง แตสวนแสดงนกฟลามิงโกจะใชพืชที่ตกแตง
โดยรอบเปนตัวแบง
รูปแบบของการออกแบบตนไมในสวนสัตวไมควรจะอิงกรอบหนึ่งกรอบใดทั้งหมด เชน
เพื่อความสวยงาม หรือเลียนแบบลักษณะธรรมชาติของถิ่นที่อยูของสัตว แตเปนไปในลักษณะ
ผสมผสาน ใหภาพที่เกิดขึ้นเปนภาพที่มีลักษณะทางกายภาพที่สนองตองการของมนุษย คือ มีความ
เปนระเบียบ สวยงามในสภาพที่เปนธรรมชาติ เนื่องจากตัวของสวนแสดงตองตอบสนองตอผูใชงาน
4 ฝาย ( สัตว ผูเลี้ยงสัตว สัตวแพทยและผูเที่ยวชม ) ซึ่งไมตอบสนองตอทุกฝายไดอยางสมบูรณ
การออกแบบพื้นที่ ( The design of space ) สวนแสดงสัตว โดยแนวคิดพื้นฐาน คุณลักษณะ
ตางๆ ภายในสวนแสดงจะตองถูกกําหนดจากสิ่งมีชีวิตเชนสัตวและพืชที่ถูกเลือกเขาไปจัดแสดง แต
ปรากฏวาแนวคิดดังกลาวเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดยากในพื้นที่สวนสัตว มีเหตุผลที่สืบเนื่องจาก
- พื้นที่ภายในสวนแสดงไมเพียงพอที่จะที่จะจําลองถิ่นที่อยูตามธรรมชาติที่แสดงถึงการ
พึ่งพาอาศัยกันของสัตวและพืช
- ความไมลงตัวกันของในความตองการของผูเที่ยวชมและสัตว
การสรางสรรคสวนสัตวใหเปนที่อยูที่เหมาะสมกับสัตวและพึงพอใจแกผูเที่ยวชม ตองการบุคลากรที่
มีความเชีย่ วชาญเรื่องการจัดสวนและนักภูมิสถาปตย ในกระบวนการออกแบบทั้งในสวนของสวน
บริการประชาชนและสวนแสดงสัตว
- การจัดการตนไมในสวนสัตวเปนงานที่ประกอบดวยงานหลายสวนเขารวมกัน การปลูก
190

ตนไมใหเติบโตสวยงามภายในสวนแสดงและมีสนองตอบตอจุดประสงคตางๆ เพื่อใหสวนแสดง
บรรลุตามความมุงหมายนั้น มีขอเท็จจริงที่ตองทําความเขาใจในเบื้องตน เชน
- เปนงานทีต่ องใชการลองผิดลองถูก
- ใชการวิจัยเพื่อใหไดพืชที่เหมาะสม เนื่องจากตนไมแตละชนิดมีความแตกตางในเรื่องของ
ความยากงายในเรื่องของการบํารุงเลี้ยง
- วิธีการปองกันตนไม ซึ่งสิ่งเหลานีจ้ ะตองใชเวลาที่จะตองใหผูปฏิบัติไดเรียนรูวิธีการ
จัดการ ที่เหมาะสมกับพื้นที่
- ทรัพยากรที่ม(ี ระบบน้ํา คุณภาพดิน จํานวน ความเอาใจใสของผูปฏิบัติงาน ฯลฯ ) และ
- ชนิดสัตว
- ถายทอดประสบการณใหกับผูรวมปฏิบัติงาน
พืชทีจ่ ะเลือกมาปลูกในสวนแสดงสัตวทจี่ ะมีสวนชวยในงานดานใหการศึกษาของสวนสัตว
- เปนสวนประกอบในการอธิบายพฤติกรรมตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ
- กระตุนความเขาใจในเรื่องสิ่งแวดลอมที่สัตวนั้นอาศัยอยู เชนปาแบบดิบชื้น
- พืชจะแสดงถึงการพึ่งพากันของพืชและสัตวโดยการแสดงขอมูลในเรื่องของหวงโซ
อาหารและรูปแบบถิ่นที่อยู
- แสดงใหเห็นภาพของสังคมของธรรมชาติซึ่งจะเปนแหลงอาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดหลายชนิด
สัตวไมสามารถแยกจากพืชไดเนือ่ งจากพืชจะเปนแหลงอาหาร รมเงา
ประโยชนในดานงานใหการศึกษาที่เกิดจากการจําลองถิ่นที่อยูโดยใชตนไมรวมกับสัตว จะ
ออกมาในแนวของวิชาชีววิทยาในเรื่องการปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมที่ตนอาศัยอยู ทําใหตัวสัตวเกิด
การวิวัฒนาการและการแขงขัน เกิดการปรับตัวในดานสรีระของรางกายและพฤติกรรม ถาหากไมมี
พืชที่กลมกลืนกับสวนแสดงของสัตว ที่จะเปนสวนเสริมใหภาพสัตวที่ปรากฏแกสายตาของผูเที่ยวชม
สวนแสดงสัตวแหงนั้นจะดูแหงแลงขาดชีวิตชีวา ซึ่งมักจะเกิดขึ้นกับผูดูแลสวนสัตวที่ขาดความเขาใจ
วา สิ่งที่เหมาะสมที่จะตองจัดการใหเกิดขึ้นในสวนแสดงสัตวและพื้นที่โดยรอบนั้นตองทําอยางไร
( Hohn, 1981 )
การปลูกพืชโดยรอบสวนแสดงจะเปนการเสริมภาพโดยรวมของสวนสัตว โดยจะ
- ทําหนาที่เปนสวนฉากของสวนแสดงและนอกสวนแสดง
- พืชจะเปนสวนเสริมของภาพ
- เปนสวนที่เพิ่มความนาสนใจในสวนแสดง
- มีผลตอสภาพอากาศโดยรอบเปนที่ใหรมเงาแกสัตวและสรางความนารื่นรมยใหแกผูเที่ยว
ชม
การใหความสําคัญกับพืชในสวนสัตวจึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญและใหผลที่เหนือความคาดหมาย
อยางไมจํากัด เชนแนวคิด Zoological Park คือแนวคิดที่สวนสัตวเปนที่สะสมพันธุไมที่นาสนใจ
191

และลักษณะการจัดตกแตงพืชในสวนแสดงหลายแบบที่เหมาะสมกับกลุมสัตว แมแตสวนสัตวที่ให
ความสําคัญกับการตกแตงโดยใชพชื ทองถิ่น ก็ตองมีชนิดพืชอยางหลากหลายเพื่อใหเกิดความ
เหมาะสมกับสวนแสดงสัตวชนิดนั้นๆ
เมื่อมองในภาพรวมก็จะเห็นวารูปลักษณของสวนสัตวในหลายๆ แหงที่มีอายุมากวาสิบหาป
ขึ้นไป ประกอบดวยระบบหรือแนวคิดหลายแนวทีแ่ ตกตางกัน เนื่องจากการพัฒนาเปนระยะ
เวลานานโดยผูน ําหลายๆคน ซึ่งมีความแตกตางในเรื่องของแนวคิดและการใหความสําคัญในเรื่อง
หัวขอการพัฒนา ภาพที่เกิดขึ้นในสวนสัตวก็จะเห็นสิ่งแวดลอมหลากหลายแบบที่จะเปนตัวแทนของ
การออกแบบในรูปแบบตางๆ
ผลสืบเนื่องจากแนวคิดจะสงผลถึงลักษณะภูมิอากาศ วัฒนธรรม รายการของชนิดสัตวและ
พืชที่สวนสัตวคัดเลือก เปนสิ่งทีช่ ัดเจนวาไมมีรูปแบบการปลูกพืชรูปแบบใดแบบหนึ่ง ที่จะสามารถ
ตอบสนองความตองการไดครบถวนหรือเหมาะสมกับพื้นที่ จึงมีความจําเปนที่จะตองออกแบบ
เพื่อที่จะคัดเลือกชนิดพืชและการจัดวางอยางตอเนื่อง เพื่อใหตนไมที่เราปลูกในสวนสัตวได
องคประกอบที่ลงตัว ถาเรามีความมุงหวังทีจ่ ะสรางสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมและพิเศษสําหรับผูเที่ยว
ชมและสัตว
192

ดูรูปที่ 107 สวนแสดงเสือชีตาที่แคนซัส ซิตี้ซู นกฟลามิงโกที่ ซานดิเอโก ซู โดยการใชตนไมเปน


ฉากหลังเพื่อสรางความโดดเดนใหกับสัตว ซึ่งแสดงใหความพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
พื้นที่บริการแกผูเที่ยวชม ( People Zone )
การจัดสวนในสวนสัตวในแบบที่เนนความสวยงามทั้งในรูปแบบเปนระเบียบดูเปนแถว เปน
แนว ( formal ) หรือการจัดแบบคลายกับปาธรรมชาติซึ่งบรรยากาศที่เกิดขึน้ จะคลายกับ
สวนสาธารณะ การเลือกใชรูปแบบดังกลาวเพื่อจุดประสงคที่จะสรางความสนใจใหกับผูเที่ยวชม
การออกแบบสวนสาธารณะที่มีมามากกวา 100 ป หลักการโดยทั่วไปคือ จะตองมีพื้นที่บางสวนที่
ตองปลูกพืชที่มสี ีสัน เพื่อใหเกิดความสวยงามตลอดทั้งป สรางความตื่นตาตื่นใจใหกับผูเที่ยวชม
ตัวอยางเชน สวนที่มีการจัดเปนแบบอังกฤษ ซึ่งจะมีลักษณะการจัดวางดอกไมที่หลากหลายชนิด
รวมกัน ( Maxwell,1975 ) โดยปกติทั่วไปการจัดสวนในสวนสัตวจึงมีจุดประสงคเพื่อความสวยงาม
ทําใหสวนสัตวเปนสวนสาธารณะที่อยูในเมืองใหญเหมือนกับโอเอซิสที่หอมลอมดวยตึกอาคาร
193

ดูรูปที่ 108 พื้นที่บริการผูเที่ยวชม ( People Place ) ที่ Detroit Zoo and Hagenbeck Tierapark ,
Hamberg เปนการออกแบบการจัดสวนในพื้นที่ของผูเที่ยวชมแหงแรกของสวนสัตว รูปที่ 1 ที่
Detroit Zoo เปนการจัดสวนในรูปแบบที่เปนแถว เปนแนวและเปนการออกแบบที่มอี งคประกอบ
ของสิ่งกอสราง โดยมีพื้นฐานแนวคิดการใชพืชประดับตกแตงเพื่อความสวยงาม ใชหลักวิชา
ทางพฤษศาสตรและมีจุดสนใจอยูที่การสรางบรรยากาศที่เปนธรรมชาติ รูปที่ 2 ใชการจัดแบบ
สวนสาธารณะ โดยปรับประสานแนวคิดทางระบบนิเวศวิทยาและธรรมชาติของพืชแตละชนิด
194

จากการสังเกตสวนสัตวจํานวนมาก ดูสิ่งปลูกสรางที่เกิดขึ้นในชวงเวลาที่ผานมา จะพบวามี


การปลูกพืชที่มดี อกไมที่มีสีสัน เพื่อลดความแข็งของสิ่งกอสรางที่มีภายในสวนสัตว ( Bradford and
Foreman, 1975 ) การปลูกพืชที่เลือกมาปลูกจะใชเพื่อการตกแตงใหเกิดความสวยงามจะเหมาะสมกับ
บริเวณทางเขาและบริเวณที่ประชาชนมาชุมนุมรวมกันมากๆ ซึ่งพืชเหลานี้ตองการการดูแลเอาใจใส
อยางสม่ําเสมอ และการปลูกพืชในลักษณะนี้จะดูขัดแยงกับสวนแสดงที่ตองการการตกแตงอยางเปน
ธรรมชาติ
การจัดภูมิทัศนแบบเปนธรรมชาติ ( Natural land scape ) โดยความหมายคือ การจัด
พื้นที่เกิดจากการเลียนแบบจากพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่เราตองการจะใชเปนตนแบบ การเลือกชนิดและ
จัดวางพืชไมไดเกิดจากความคิดของมนุษย ( Natural landscape, almost by definition, are
made up of species unaltered by man.) แตในทางปฏิบัติแลวการจัดภูมิทัศนแบบธรรมชาติ เรา
จะใชการจัดสวนในแบบผสมผสานและการจัดตามรูปแบบเดิม ที่เปนที่นิยมจัดกันมา ซึ่งจะเปนการ
ใชพืชหลายชนิดและหลากสีสันเพื่อใหเกิดสีสันที่ตัดกัน โดยที่กลาวมาทั้งหมดนีเพื้ ่อตอบสนองความ
ตองการการสรางภูมิทัศนแบบธรรมชาติ ( Horticultural hybrids and popular clonal varieties,
including variegated and unnaturally colored specimen plant represent the opposite end
of the plant spectrum from that desire to recreat natural landscape ) นักแตงสวนในสวนสัตว
สวนใหญมีความพยายามที่จะตกแตงพื้นที่ใหเกิดความสวยงาม แตความสวยงามมักจะตัดสินกัน
ดวยความพอเหมาะของตัวเองเปนหลัก ทําใหรูปแบบการจัดสวนในพื้นที่สวนสัตวจึงออกมาใน
รูปแบบของการปลูกดอกไมที่มีสีสันสวยงาม มีการตัดแตงเปนรูปทรงเปนอยางดี พื้นหญา
เขียวที่มีตนไมใหญเปนรมเงา ( coe, 1984 )......
ภาพของสวนแสดงสัตวที่มีตนไมที่มีดอกไมสวยงามขึ้นที่สวนหนาของสวนแสดงสัตว จะ
เปนสวนที่เบี่ยงเบนความสนใจออกจากตัวสัตว แตความคิดนี้ถูกปฏิเสธที่สวนสัตว Chester
และ Bristol ทั้งสองแหงไดชื่อวาเปนสวนสัตวที่มีดอกไมสวยงาม มีผูเที่ยวชมกลุมผูสูงอายุมาที่สวน
สัตวโดยมีเปาหมายแรกคือการมาชมดอกไม ที่สวนสัตว paignton จะรวมเอาสวนสัตวและ
สวนพฤษศาสตร โดยมีจุดประสงคที่ใชเปนงานใหการศึกษาและเปนวัสดุอุปกรณในการเรียนรู
วิทยาศาสตร ความพยายามเหลานี้เพื่อที่จะผสมผสานวัตถุหลายๆอยางเพื่อสรางความพึงพอใจแก
ผูเที่ยวชม การปลูกพืชแตละตนตองมีการบอกถึงวัตถุประสงค มีการวางแผนรวมทั้งจดบันทึกไว
ดวย โดยจุดประสงคที่มีเชน ความสวยงาม เพื่อการศึกษาหรือมีความนาสนใจในเนื้อหาทาง
วิทยาศาสตร มีความสัมพันธกับสัตวที่อยูภายในสวนแสดง( Michelmore,1975 )
แนวคิดในการปลูกตนไมในสวนสัตวไมไดเปนกฎเกณฑที่ตายตัว แตมีขอที่ชวยในการ
พิจารณาบางอยางเชน
- ตอบสนองความตองการที่หลากหลายของผูเที่ยวชม
195

- การเปลี่ยนภาพของของการเที่ยวชมโดยทําใหที่เปนฉากหลัง
- การบดบังในสิ่งที่ไมกลมกลืน
- เปนสวนทีส่ นับสนุนความหลากหลายและสรางความประทับใจของสวนแสดงสัตว
ความสําเร็จของภาพโดยรวมของสวนสัตวจะมีความใกลชิดกับการออกแบบ การกอสราง
การบํารุงรักษาพืชที่ปลูก วิธีการออกแบบหลายๆ วิธีที่ไดรับความสําเร็จ
เมื่อชาวอเมริกันเริ่มใหความสนใจในเรื่องของสิ่งแวดลอม ความรูสึกและความตองการที่
บังเกิดติดตามมาเชน เริ่มมีความรูสึกวาสัตวปายอมตองการอยูในปาธรรมชาติที่มีความเหมาะสมกับ
ตัวเอง ผูเที่ยวชมตองการสถานที่ที่มดี อกไมและตนไมที่สวยงามรมรื่นเพื่อการพักผอนหยอนใจ ซึ่ง
สวนสัตวสามารถสนองความตองการที่กลาวมาของผูคนได ทําใหภาพของสวนสัตวในสังคมชัดเจน
ขึ้น วาสามารถสนองความตองการในดานใดแกสังคมไดบาง สิ่งที่เกิดติดตามมาคือสวนสัตวไดรับ
การสนับสนุน โดยดูไดจากเงินคาผานประตูหรือการชวยเหลือจากสังคมในรูปแบบอื่นๆ การใช
ความสวยงามจากตนไมและดอกไมจะชวยใหการเที่ยวชมสัตวนาสนใจ ทําใหผูเที่ยวชมใชเวลาใน
การชมสัตวและเกิดความพึงพอใจจะมากขึ้น ถาหากสิ่งแวดลอมในสวนแสดงเปนธรรมชาติมี
ความสัมพันธถิ่นที่อยูเดิมของสัตว ถึงแมวาจะมีผูกลาววาผูเที่ยวชมจะมาทีส่ วนสัตวไมไดมาเพื่อ
ศึกษาหาความรู แตมาเพื่อพักผอนและโดยการสัมผัสสิ่งที่นาเพลิดเพลินใจ ตนไมก็เปนปจจัยที่
สําคัญที่จะตอบสนองความตองการตามที่กลาวมาไดเปนอยางดี แตตองมีการออกแบบที่สามารถ
ตอบสนองความตองการผูใช ( มนุษยและสัตวที่เปนผูใช ) ( Norfleet , 1983 )
196

พื้นที่ระหวางผูเที่ยวชมกับสัตว (Animal/People Zone)

( ดูรูปที่ 109 ) Asian Elephant, ที่ Milwaukee Country Zoo การปลูกตนไมในพื้นทีร่ ะหวางผูเที่ยวชม
และสัตวมกี ารใชงานทีห่ ลายอยางทีส่ ําคัญดวยกัน เชน พืชที่อยูสวนหนาของผูเที่ยวชมเพื่อชวยสราง
สวยงามในการปดบัง barrier ชวยสรางบรรยากาศที่รมรื่นแกผูเที่ยวชม พื้นทีด่ านหลังของสวนแสดง
จะเปนฉากหลังที่ชว ยใหเกิดภาพที่สวยงาม สรางความกลมกลืนระหวางสวนแสดงและพื้นที่โดยรอบ
แนวคิดในการออกแบบการเลือกชนิดและจัดวางตนไมภายในพื้นที่สวนแสดงสัตวที่ให
ความสําคัญกับถิ่นที่อยูของสัตว ซึ่งแนวคิดดังกลาวก็ยังเปนแนวคิด ที่ตองนํามาใชในพื้นที่บริเวณ
โดยรอบสวนชมสัตวดวย โดยถือวาพื้นที่ดังกลาวเปนสวนหนึ่งของสวนแสดงสัตวที่จะชวยใหการ
ทํางานสวนแสดงสมบูรณยิ่งขึ้น “support landscape ”
พื้นที่อยูโดยรอบสวนแสดงสัตว ( support area ) จะแบงเปนสวนตางๆคือ พื้นที่ดานหลัง (
back ground ), สวนที่ผูเที่ยวชมยืนอยู ( fore ground ) และดานขางของสวนแสดง ( the side of
an exhibit ) ซึ่งพื้นที่ทั้งหมดเปนระยะที่อยูในสายตาของผูเที่ยวชมขณะที่ยืนชมสัตวอยู
การจัดภูมิทัศนในลักษณะที่แสดงใหเห็นถึงถิ่นที่อยูตามธรรมชาติของสัตวที่อยูในสวนแสดง
สรางความพึงพอใจแกผูเที่ยวชม และเปนพื้นที่ทสี่ ัตวออกมาไมได ภูมิทัศนเหลานี้จะเปนจะเปนสวน
ที่เสริมภูมิทัศนที่อยูภายในสวนแสดงที่ใชแนวคิดการจําลองถิ่นทิข่ องสัตวในสวนแสดง
นอกจากนั้นยังชวยในกรณีที่การจัดภูมิทัศนตามแนวคิดดังกลาวอาจไมสามารถทําได
เนื่องจากปองกันการถูกทําลายจากสัตว จึงเลือกที่จะวางตนไมที่เปนตัวแทนของปาตามธรรมชาติไว
ดานนอกแทน (Tune, 1974 )
197

การแบงพื้นที่ของสวนสัตว โดยใชแนวคิดตามพื้นที่ของถิ่นที่อยูของสัตว ( zoo geographic


theme ) เปนตัวจัดการสวนแสดงสัตวและจัดแสดงสัตวนําเสนอแกผูเที่ยวชม ซึ่งการตกแตงพื้นที่
โดยรอบสวนแสดงสัตว ( Support landscape concept ) เพื่อเสริมแนวคิดดังกลาว
- ทําใหผูเที่ยวชมไดเห็นภาพของลักษณะถิ่นที่อยูของสัตวชัดเจนยิ่งขึ้น
- เปนสวนชวยในการสื่อขอมูลทางการศึกษา
- สรางภูมิทัศนที่ใหผูเที่ยวชมชื่นชอบและเกิดการจดจํา
- เห็นความสําคัญของการปกปองพื้นที่ที่เปนถิ่นที่อยูข องสัตว
- เห็นความสําคัญของงานดานการอนุรักษ
ตนไมที่นําปลูกใน The Point Defiance Zoo เมืองวอชิงตัน ไดมีการจัดการและเลือกชนิดของตนไม
ตามแนวคิดการจัดภูมิทัศนในบริเวณโดยรอบสวนแสดงสัตว ( the support landscape )
ตนไมภายในพื้นที่ของสวนสัตวที่มีการตกแตงตามลักษณะภูมิประเทศตามถิ่นที่มาของสัตว
( geographic zone landscape ) ตองมีการคัดเลือกเปนอยางดีเพื่อใหตนไมเหลานีจ้ ําลองลักษณะ
ของสิ่งแวดลอมในทองถิ่นนั้น รายละเอียดที่นํามาจําลองคงไดบางสวนเฉพาะที่โดดเดนและเปน
สัญลักษณของปาชนิดนั้นๆ โดยพืชที่ปลูกจะเปนตัวสรางอารมณและรูปแบบของสวนแสดง เพื่อให
ผูเที่ยวชมเห็นภาพในชวงเคลื่อนที่เขามาและเคลื่อนออกไปใหตอเนื่องกับภาพของสวนแสดงที่อยู
ถัดไป พืชอาจใชปายบอกชื่อ บอกถึงลักษณะจําเพาะของตนไมและการปรับตัวของสัตวที่นํามา
แสดง ( Jones and Jones, 1979 )
ในการนําตนไมปลูกในสวนแสดงของสัตวบางชนิดอาจไมประสบความสําเร็จ เนื่องจากถูก
กัดกิน ซึ่งจะเห็นไดชัดในสวนแสดงที่โลงเตียน เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิทัศนที่อยูโดยรอบสวนแสดง
หากตองพบกับปญหาดังกลาวการจัดพื้นที่สวนแสดง( the support landscape ) ก็จะเปนฉากที่จะชวย
ลดระดับของความแตกตางได
198

ดูรูปที่ 110 Reticulate Giraffe ที่ Milwaukee country Zoo พฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตวตองการ


การออกแบบที่ปกปองพืชทั้งภายในและใกลกับพื้นที่ที่สัตวอยู การปกปองอาจใชกอนหินและ
สายน้ําโดยวางสิ่งประกอบเหลานี้ใหเปนสวนหนึ่งของสวนแสดง เพื่อใหไดภาพที่ดูกลมกลืนเปน
ธรรมชาติ
การปลูกตนไมในพื้นทีจ่ ุดชมสัตวที่กลมกลืนกับพื้นที่ภายในสวนแสดงสัตว ผูเ ที่ยวชมจะเกิด
ความรูสึกเสมือนอยูในพื้นที่เดียวกันกับสัตวที่อยูในสวนแสดง แตการปลูกตนไมในพื้นที่ใกลจดุ ชม
สัตวมีขอควรระวังในเรื่องมุมมอง เชน
- ปลูกตนไมที่เปนทรงพุมโดยปลูกอยูด านหลังของผูเที่ยวชมเพื่อไมใหบดบังการเห็นตัวสัตว ตนไมที่
เลือกมาปลูกควรใชตนไมในลักษณะทรงพุมที่โตชาสลับกับไมที่มีลักษณะลําตนสูง
- ผูออกแบบตองระวังไมใหจุดทีป่ ลูกตนไมไปบดบังการเห็นภาพของเด็กหรือผูพกิ ารที่นั่งรถเข็น
( Robertson, 1986 )
การออกแบบสวนแสดงมักจะจะใหความสําคัญกับการออกแบบสวนขอบเขตที่แบงพื้นที่
ระหวางคนกับสัตว ( barrier ) ซึ่งเปนสวนที่มีขอมูลที่เพียงพอสําหรับการออกแบบโดยเฉพาะใน
กลุมสัตวที่มีการจัดแสดงในสวนสัตวทั่วไป เชน ผลงานการรวบขอมูลของ R.T. Reiher ในป 1976 ที่
ใหขอมูลในสัตวสิงโต เสือ หมีและลิงขนาดใหญ และผลงานของ Jones and Jones ที่จัดพิมพใน
รายงานของ Woodland Park Zoo, 1976 ซึ่งเปนเอกสารอางอิงที่ดี
การใชตนไมเหมือนเปนตัวกั้นระหวางผูเที่ยวชมกับสัตว การใชเปนสวนประกอบของสวน
แสดงมานานแลวตั้งแตสมัยของ Hagenbeck โดยจะใชตนไมเปนสวนที่ชวยซอนหรือบังกําแพง และ
คูแหง แตบางครั้งพบวาการใชวิธีการนี้กลับเปนผลใหเกิดสิ่งแปลกปลอมของภาพ ( foreign
landscape illusion )
199

The sobell pavilions ไดถูกออกแบบโดยเปนกรงตางๆ เรียงตอกัน และกันผูเที่ยวชมให


แยกออกใหหางจากกรงโดยการปลูกพืช สัตวที่อยูในกรงจะเอื้อมมือลอดลวดตาขายออกมาทึ้งใบไม
เพื่อกัดกินหรือทึ้งเลน ในชวงเวลาตอมาพบวาพื้นที่บางสวนรอบกรงจะเปนพื้นที่วางเปลา รวมทั้งผู
เที่ยวชมจะทําลายตนไมโดยการยืนในบริเวณที่ปลูกตนไมเพื่อยืนดูสัตว ถึงแมวาสวนกรงจะถูกหอม
ลอมโดยตนไมที่ปลูกในระยะที่กวาง พืชที่มีใบเขียวตลอดทั้งปจะเปนสวนที่ดึงดูดความสนใจได
สวนดอกกุหลาบและpotentilas จะออกดอกในฤดูรอน ในพื้นที่ระหวางคอกเราจะใชตนไผและไม
เลื้อยเพื่อใหเกิดรมเงาและสรางภาพที่ใกลเคียงกับธรรมชาติ ( Maxwell,1975 )
สิ่งที่ปรากฏใหเห็นในสวนแสดงสัตวในสวนสัตวโดยทั่วไป จะพบวาการเลือกชนิดและการ
จัดวางตนไม ทั้งในสวนภายในสวนแสดงและพื้นที่อยูระหวางสวนแสดงมักจะออกแบบตอบสนอง
ความตองการของผูเที่ยวชมเปนสวนมาก แตตอบสนองตอสัตวในระดับที่คอนขางนอย
การนําตนไมมาปลูกตกแตงพื้นที่ภายในสวนแสดงสัตวเปนสิ่งที่มีการปฏิบัติกันทั่วไป
บางครั้งพบวาจุดประสงคการปลูกตองการที่สนองความพึงพอใจสําหรับผูเที่ยวชมเปนหลัก และให
ประโยชนแกสัตวที่อยูอาศัยในคอกเพียงเล็กนอย เชน การใชตนไมชนิดจากปาดิบชื้นประดับตกแตง
ในสัตวเลื้อยคลานขนาดใหญ เชน จระเข มีสัตวปาบางชนิดที่มีขนาดใหญที่มีการออกตัวอยาง
รวดเร็วเชน ถานําตนไมมาอยูในเสนทางของสัตวชนิดนั้นจะกลายเปนสิ่งที่เปนอันตรายตอสัตวได
ตําแหนงของการวางตนไมที่เหมาะสมตองอยูหางจากผูเที่ยวชมพอเหมาะ เพื่อใหผูเที่ยวชมไดมี
โอกาสไดเห็นและเกิดความประทับใจ
200

ดูรูปที่ 111 Tasmanian wildlife sanctuary ธรรมชาติของสัตวปาที่อยูในพื้นที่ที่ประกาศเปนเขต


อนุรักษสัตวปา ภาพที่ปรากฏจะเห็นการผสมผสานแบบองครวม ที่แสดงใหเห็นความสัมพันธที่พึง
พากันระหวางคน พืช สัตวและไมมีสวนใดสวนหนึ่งที่ถูกแบงแยกออกจากกันโดยพื้นที่
201

พื้นที่ของสัตว ( Animal Zone )

รูปที่ 112 Gorilla Exhibit: woodland Park Zoological Gardens – เปนสวนแสดงที่เปนตัวอยางของ


การเชื่อมโยงกันระหวางพืช สัตวและมนุษย ที่แสดงใหเห็นถึงบทบาทของพืชที่นําไปจัดวางในสวน
แสดงสัตวและพืชจะชวยในการสื่อสารขอมูลดานการอนุรักษดวย
ตนไมที่นําจัดแสดงในสวนแสดงสัตวจะทําหนาที่สําคัญในการสื่อความหมาย โดยจะทําใหผู
เที่ยวชมเห็นความสําคัญของถิ่นที่อยูของสัตว วาถิ่นที่อยูนั้นมีความสําคัญตอสัตวอยางไร เมื่อสัตว
ไดแสดงกิจกรรมตางๆที่มีใหผูเที่ยวชมไดเห็น
สวนแสดงสัตวที่มีการจัดนิเวศอยางเหมาะสมจะชวยใหการจัดแสดงสัตว เกิดภาพที่ปรากกฎ
ตอผูเที่ยวชมในลักษณะของสัตวเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติของโลก มากกวาที่จะเปนภาพของสวน
แสดงในสวนสัตว ซึ่งสัตวแตละชนิดจะมีลักษณะสภาพของสิ่งแวดลอมที่จําเพาะแตกตางกัน
การนําตนไมเขามาตกแตงในสวนแสดงสัตวจึงเปนสวนสําคัญในการสรางจินตนาการให
เกิดกับผูเที่ยวชม ในเรื่องบทบาทของสวนสัตวในดานการอนุรักษและงานใหการศึกษา “ คุณไม
สามารถคาดหวังกับบุคคลคนนั้นไดในเรื่องของการอนุรักษสัตว ถาบุคคลนั้นยังไมเขาใจเรื่อง
ภาพรวมของถิ่นที่อยูของสัตว ” ประชาชนตองเขาใจในเรื่องของการอนุรกั ษถิ่นที่อยู ซึ่งไมใชเรื่อง
ของพืชหรือสัตวชนิดหนึ่งชนิดใด จากขอความที่กลาวมาทั้งหมดจะเห็นไดวาตนไมเปนเครื่องมือ
สําคัญที่สวนสัตวจะใชเพื่อเพิ่มความสําคัญของงานใหการศึกษา ( Norfleet ,1983 )
หนาที่อันแรกของพืชในสวนแสดงเพื่อตอบสนองความตองการในเรื่องกายภาพและทาง
อารมณของสัตว สัตวก็เหมือนกับพืชที่จะไมขึ้นในสิ่งแวดลอมที่วางเปลา มีตัวอยางจํานวนมากที่
สัตวที่อยูในกรงเลี้ยงสามารถสืบพันธุและมีอายุขัยยืนนานตามอายุขัยปกติ เนื่องจากการอยูใน
สิ่งแวดลอมที่ใกลเคียงกับธรรมชาติ ในการจัดการสัตวปาในสวนสัตวจึงเปนไปไมไดที่จะไมนําเรื่อง
ของพืชเขามาเกี่ยวของ ( Allee and Schmidt, 1951 ) ( Hohn,1981 )
202

การตกแตงภายในสวนแสดงสัตวดวยตนไมจะเปนสวนที่เติมเต็ม ที่ทําใหผูเที่ยวชมเห็นความ
หลากหลายของชนิดสัตว เห็นลักษณะรางกายของตัวสัตว การแบงกลุมของชนิดสัตว
ตนไมจะเปนตัวชวยใหเห็นถึงปจจัยที่มีความสําคัญในการออกแบบสวนแสดงสัตว “ สวน
แสดงสัตวทปี่ ระสบความสําเร็จคือสรางความพึงพอใจใหกับผูเที่ยวชม ผูเลี้ยงสัตว เจาหนาที่โยธา
ตัวสัตว และพืชดวย ที่มองดูแลวรื่นรมยแตไมดึงความสนใจไปจากตัวสัตว การบํารุงรักษาไมยุงยาก
แนวคิดการปลูกพืชตองเขียนขึ้นในกระบวนการวางแผน ซึ่งตองมองจากทุกมุมมองที่เปนตัวชวยใน
การพิจารณา ( Robert,1985 )

ความตองการของสัตว (Animal Needs )

ดูรูปที่ 133 โคอาลาที่ Toronga Zoo, Sydney ความตองการและลักษณะนิสัยของสัตวจะเปน


ตัวบงชี้การคัดเลือกชนิดและการจัดวางพืชในสวนแสดง เชนพฤติกรรมการการปนปาย กินใบพืช
ของโคอาลาตองการลําตนและกิ่งกานของตนไมที่มีการวางตัวทั้งในแนวตั้งและแนวนอน
การออกแบบพืชภายในสวนแสดงตองการความเขาใจลักษณะของตัวสัตวและพฤติกรรม
ปกติ ซึ่งความเขาใจดังกลาวจะชวยในการปกปองทั้งพืชและสัตว ในขณะที่สามารถสนองความ
ตองการของสัตวไดถูกตองทั้งความตองการทางรางกายและจิตใจ
การนําแนวคิดการจําลองถิ่นที่อยูตามธรรมชาติของสัตวปา มาทําใหเกิดขึ้นจริงใน
สวนแสดงสัตวในแบบสมบูรณแบบ เปนเรื่องที่มีความยุงยากอยูพอสมควร เนื่องจาก
ความจํากัดในเรื่องของภูมิอากาศ พื้นที่ การหาพืชที่จะนํามาปลูก ดังนั้นแนวทางที่จะ
เปนไปไดคือ การใชพืชพรรณที่มีในทองถิ่นของตน ซึ่งตองใชการสังเกตเมื่อนําสัตวชนิด
นั้นมาเลี้ยงในพื้นที่และมีการนําพืชหลายชนิดมาทดลองปลูก ผลที่ไดจากการสังเกตตนไม
203

ชนิดใดที่ตรงกับความตองการของสัตวบาง เชน เปนชนิดที่กินใบไมได เปนที่ขัดถูตัวได


ใชเปนที่ใชเล็บตะกุยเพื่อประกาศอาณาเขต และสัตวแสดงใหเห็นถึงวามีการกิจกรรมและ
ใชประโยชนจากตนไมชนิดนี้อยางชัดเจน ( Hediger, 1968 ) ชนิดของพืชที่เลือกมาทดลอง
ปลูกอาจไมสามารถตอบสนองความตองการของสัตวไดครบทุกดาน เชนเปนชนิดที่สัตว
ชอบกินใบ แตอยางนอยสามารถตอบสนองตอความตองการทางรางกายและอารมณของ
สัตวได สัตวมีการแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติมากยิ่งขึ้น หรือเปนชนิดที่สามารถจําลอง
ลักษณะของพืชที่เปนสัญลักษณของถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นได โดย 2 ขอที่กลาวมาก็เปน
ตัวเลือกที่ดีที่จะสามารถสรางภาพที่นาพึงพอใจใหกับผูเที่ยวชมได ( Holm, 1981 )
การปลูกตนไมในสวนแสดงทุกสวนแสดงในสวนสัตวจะตองสะทอนถึงรูปแบบของถิน่ ที่อยูที่
มีความหลากหลายแตกตางกัน ตอบสนองความตองการทั้งดานรางกายและจิตใจของสัตว เปนฉาก
หลังของสวนแสดงสัตว ชวยลดอาการทางประสาทและพฤติกรรมกาวราวระหวางสัตวดวยกัน ชวย
ลดความตึงเครียด ( Michelmore, 1975 ) ความตองการของสัตวแตละชนิดจะมีความจําเพาะที่
แตกตางกัน ซึ่งจะเปนขอมูลสําคัญในการออกแบบ
เมื่อนําตนไมและพืชลมลุกขนาดใหญปลูกในสวนแสดงนก ปจจัยที่เขามาเกี่ยวของ เชน
ตนไมขนาดใหญจะเปนคอนเกาะและเปนที่ทํารังของนก แตตองดูความเหมาะสมของกิ่งกานตนไมที่
นํามาจัดวางวากีดขวางเสนทางการบินของนกหรือไม จํานวนของตนไมและลักษณะทรงพุมของ
ตนไมเอื้อใหแสงแดดสามารถสองผานมาที่พื้นดินได ที่จะชวยใหพืชที่อยูที่พื้นดินสามารถ
เจริญเติบโตได และพืชลมลุกที่นําเขาไปปลูกไมกีดขวางการเขาไปทํางานของผูเลี้ยงสัตว
เชนการใหอาหาร และน้ํา การทําความสะอาด
204

การเจริญเติบโตของตนไม

ดูรูป 114 ชะนีที่แคนซัสซิตี้ซู อัตราการเจริญเติบโตของพืชและสัตวเปนประเด็นที่ตองใหความ


สนใจ ตนไมที่จะนํามาปลูกมีหลายขนาดเพื่อที่จะใหมีความเหมาะสมกับพฤติกรรมและน้ําหนักของ
สัตว ถาในสวนแสดงของชะนีไมมตี นไมที่เจริญเติบโตเต็มที่เหมือนอยางที่เห็นในรูป กอนที่จะนํา
ชะนีปลอยเขาสูส วนแสดงควรดูขนาดของตนไมและการเจริญเติบโตของตนไมเหมาะสมกับสัตว
หรือไม
ลักษณะทรงพุม ลักษณะใบ พื้นผิวของเปลือกไม ลําตนของพืชแตละชนิดมีลักษณะจําเพาะ
และแตกตางกัน ซึ่งสิ่งตางๆเหลานี้เปนที่ชื่นชอบของผูเที่ยวชม
ผูออกแบบตองนึกถึงความจริงของพืชประการหนึ่งวาพืชมีความแตกตางจากวัสดุเชน
คอนกรีต เหล็ก โดยที่พืชนั้นมีการเติบโต มีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและฤดูกาล พืชเปน
สิ่งมีชีวิตที่มีสัญลักษณ มีความหมาย มีความสัมพันธกับสิ่งอื่นๆรอบขาง สามารถสรางบรรยาย
และสรางความรูสึกใหกับสถานที่ที่นั้นได เมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุในงานกอสรางทั่วไป ตนไมเปนสิ่ง
ที่หลากหลาย แตกตางและสรางความพึงพอใจไดมากกวา เมื่อนําพืชไปรวมกับกระบวนทาง
ความคิด การแสดงออกเชิงศิลป อารมณและความรูสึกโดยพื้นฐาน ตนไมจะสามารถสรางและ
205

ยกระดับของพื้นที่บริเวณนั้น ตนไมสามารถสรางอารมณไดมากกวาวัสดุที่เปนองคประกอบทาง
สถาปตยกรรม ( Robertson, 1985 )
เมื่อตองทํางานกับสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตวซึ่งมีการเจริญเติบโตที่แตกตางกัน ตองการ
ความคิดสรางสรรคและความอดทนที่จะตองทําความเขาใจถึงความจริงที่เกิดขึ้น ตัวอยางที่นาสนใจ
เชนในสวนแสดงยีราฟ เมื่อยีราฟสูงขึ้นเราตองหาตนไมที่สูงกวาและเมื่อยีราฟสูงเกินกวาตนไมเดิม
เราตองหาตนใหมมาแทน ทายที่สุดเราตองจัดหาตนปาลมที่มีความสูงเกือบ 7 เมตร เราใชตนปาลม
หลายตนเนื่องจาก เราสามารถหาตนไมที่ขนาดความสูงตางๆไดและในราคาที่ไมแพงเกินไป ปญหา
อันหนึ่งที่เกิดขึ้นคือยีราฟมากัดกินใบของตนปาลมในสวนที่ยีราฟกัดกินถึง ( Gibbons, 1983 )
การออกแบบเพื่อตอบโจทยที่ตั้งไววา “ ในวันที่เปดสวนแสดงตนไมที่ปลูกในพื้นที่ตองเติบ
ในสภาพที่สวยงาม ” ซึง่ ในบางครั้งการกําหนดลําดับของงานกอสรางจะชวยในการตอบโจทยที่ตั้ง
ไวได ตัวอยางเชน ในสวนแสดงปาเขตรอนของอเมริกา ( tropical American exhibit ) เราจะทํางาน
ในสวนของภูมิทัศนเปนจุดแรกและสรางกรงคลุมตนไมดานบน เมื่องานทุกอยางเสร็จสิ้น ตนไมที่
เราเริ่มงานเปนลําดับที่หนึ่งก็สมบูรณพรอมเปดใหผเู ที่ยวชมชมได สภาพของสวนแสดงก็จะเปน
ธรรมชาติ ซึ่งวิธีการนี้ก็เปนวิธีการแกไขกรณีที่ตองรอคอยหลายๆป เพื่อที่จะใหตนไมนั้นเติบโตและ
ใหญ ถึงแมวาจะเปนการเพิ่มคาใชจายแตประโยชนที่ไดรับนั้นจะมากกวาเงินที่จายไป
(Gibbon,1983)
กอนที่จะปลอยสัตวเขาสูสวนแสดงควรที่จะใหพืชไดมีการเจริญเติบโตชวงหนึ่งกอน แต
บางครั้งมีผูอํานวยการสวนสัตวกลาววา ถาเปดชาจะเปนการทําใหประชาชนตองรอนานเกินไป แต
นั้นเปนการประเมินความตองการของผูเที่ยวชมนอยเกินไป ในความเขาใจในเรื่องความสวยงามของ
พื้นที่ที่สัตวอยู ที่สวนสัตวซีแอทเติ้ลทําปายอธิบายแกผูเที่ยวชมวาทําไมสวนแสดงแหงนี้จึงไมมสี ัตว
เขามาจัดแสดงในชวงปแรก หลังจากที่สวนแสดงไดสรางเสร็จสิ้นแลวและใหทราบถึงสาเหตุ
เนื่องจากยังไมนําสัตวดวยเหตุผลใด ซึ่งอาจมีคําพูดที่อาจไดยินเชน “ โอโฮ ขนาดนี้ยังไมพออีกเหรอ
จะเอาสวยขนาดไหน ขนาดนี้ก็ดีกวาของเดิมแลวแหละ ” แตชวงเวลาที่จะใหตนไมไดแข็งแรงจน
พอเพียงนั้นเปนสิ่งสําคัญ โดยเฉพาะสัตวกับที่กินใบไมเปนอาหารหรือกลุมลิงขนาดใหญ แตอาจจะ
ไมจําเปนสําหรับสัตวกินเนื้อซึ่งไมทําลายตนไม ( Coe, 1984 ) วิธีการปลูกที่จะใหตนไมเติบโตอยาง
รวดเร็วใหทันวันเปดงาน ก็คงเปนอักวิธีหนึ่งที่จะใหสวนแสดงอยูในสภาพที่นาพึงพอใจในวันเปด
งาน
ตัวอยางการออกแบบการปลูกตนไม ( An Experimental Planting Design Approach )
วิธีการปลูกตนไมภายในสวนแสดงสัตวที่ประกอบดวยการเลือกชนิดของตนไม ตําแหนงที่
วางตนไมภายในสวนแสดง การบํารุงรักษา ซึ่งทุกขั้นตอนที่กลาวมาเปนการทดลองปลูก ลองผิด
ลองถูกไปกอน เนื่องจากไมมีขอมูลที่เปนพื้นฐานวาพืชชนิดใดเหมาะสมกับกับสัตวชนิดใด เชนสวน
แสดงยีราฟกินใบไมของตนไมชนิดใดและไมกินใบไมของตนไมใด พืชชนิดใดสามารถทนทานกับ
206

สัตวชนิดใดได ดังนั้นการออกแบบจึงเปนการออกแบบในลักษณะของการทดลอง โดยผูออกแบบ


และเจาของงานตองเขาใจลักษณะของงาน วาเมื่อทํางานในครั้งนี้แลวอาจตองมีการปรับปรุงในครั้ง
ตอไป หากงานที่ไดทําไปแลวมีจุดที่ตองปรับปรุงแกไข เพื่อหาจุดที่ประสบความสําเร็จตามความคิด
ที่ตั้งไว เนื่องจากไมมีรูปแบบและวิธีการทีแ่ นนอนตายตัวสําหรับการปลูกพืชในสวนแสดง
ความสําเร็จขึ้นอยูกับการทดลองปลูกตนไมรวมกับการใชพื้นที่รวมกับสัตวภายในสวนแสดง
( Robertson, 1985 ) สําหรับแนวคิดในเรื่องการจัดภูมิทัศนที่ตองทํากันอยางตอเนื่องคือ ถาทําแลวยัง
ไมเปนที่พอใจในครั้งแรก ตองหาวิธีการอื่นๆในครั้งตอๆไป วันหนึง่ เราจะพบวิธีการและรูปแบบที่
เหมาะสมกับสัตวชนิดนั้น ( Gibbon, 1986 )

ตนไมที่สัตวชอบกินใบไมเมื่อนํามาปลูกภายในและรอบสวนแสดงสัตวตองสังเกตการกิน
ของสัตว ซึ่งบางครั้งจะพบวาสัตวจะชอบกินอาหารที่ผูเลี้ยงสัตวจัดเตรียมไวให

ดูรูปที่ 115 โคอาลาที่ Healvills Sanctury, Victory, Australia สัตวที่อยูในกรงเลี้ยงไมสามารถคาดเดา


ไดถึงชนิดของพืชที่สัตวชอบกิน ปริมาณที่สัตวตองการ แตโคอาลาเปนชนิดสัตวที่มีนิสัยการกินที่
แนนอนที่เปนใบยูคาลิปตัส การนําใบไมของพืชมาทดลองกอนที่จะปลูกก็เปนการบอกไดคราวๆ วา
สัตวชอบกินใบไมชนิดนี้หรือไม
ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายของพืชหลายชนิด ทีเ่ ปนตัวบงชี้ถึงความเคลื่อนไหว ความ
สมบูรณ แสดงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม ก็สามารถใชเปนตัวชี้แนะในการออกแบบการปลูก
ตนไมสวนแสดงสัตวได
207

( ดูรูป 116 ) สวนแสดงลิงชิมแพนซีที่ North Carolina Zoo เปนสิ่งแวดลอมภายในกรงที่นาประทับใจ


ดูสมบูรณ มีความเคลื่อนไหว แสดงถึงการใชแนวคิดของระบบนิเวศวิทยาที่มีความหลากหลายของ
ชนิด ซึ่งประกอบดวยหญาหลายชนิดที่ไมถูกทําลาย ตนไมที่มีทั้งชนิดไมที่มีลําตนสูงที่ปกคลุมพืน้ ที่
ดานบน รวมทั้งลูกไมที่พึ่งงอกเจริญเติบโตขึ้นมา
ดังนั้นการออกแบบจึงมีความจําเปนที่ตองใชพืชหลายชนิด เพื่อใหเกิดความแนนอนมากขึ้น
ถาหากใชพืชนอยชนิดอาจถูกทําลายหมดโดยสัตวที่อยูในคอก การออกแบบมักจะเปนแบบการ
ทดลอง เพื่อใหทราบวาพืชที่ปลูกจะสามารถทนทานและอยูรอดในสวนแสดงไดหรือไม พืชที่
เหลืออยูก็จะเปนพืชที่เหมะสมกับสภาพพื้นที่ และทนทานตอการทําลายของสัตวที่อยูในสวนแสดง
การขาดขอมูลในการเลือกชนิดพืชสําหรับพื้นที่กลางแจง ตองการการทําวิจัยและติดตามผล
การสังเกตถึงปฏิกิริยาระหวางพืชกับสัตวภายในสวนแสดง ซึ่งควรตองมีการเก็บขอมูลเพื่อใชในการ
ออกแบบครั้งตอไป การประเมินผลภายหลังงานกอสรางจะเปนงานสําคัญอีกชิ้นหนึ่ง เพื่อที่จะไดทํา
การออกแบบและการจัดการสวนแสดงสัตวใหเปนสวนแสดงที่จําลองถิ่นที่อยูของสัตวไดดียิ่งขึ้น
ตัวอยางการประเมินผลการกอสรางการจําลองถิ่นที่อยูอาศัยของสัตวปาในสวนแสดงสัตว
- การใชรั้วไฟฟาสามารถใชในการแยกพื้นที่ระหวาง slot bear กับ spectacle bear
- พื้นดินที่ปูดวยหญาสามารถทนทานการทําลายของหมีได
- ทอนไมขนาดใหญที่ใสเขาไปในสวนแสดงของหมีหมา พบวาสัตวชอบมากใชเวลาเลนกับ
ทอนไมเปนเวลาหลายชั่วโมง ( Roger,1981 )
มีบางรายการที่ประสบความสําเร็จแบบไมนาเชื่อ ซึ่งขัดกับความคิดที่มีอยูเดิม แตบาง
รายการกับลมเหลว ตัวอยางตอไปในสวนแสดงลิงกอลิลา
- พื้นหญาและพืชลมลุกที่ปลูกไวเจริญเติบโตดีไมมีการกัดทําลาย
208

- ดินชนิดที่มีการไหลซึมของน้ําดีมีเกาะตัวกันแนน ทําใหรากของพืชเกาะดินดี
- ระบบน้ําที่ใชรดหญาแบบหัวฉีดลอย ควรวางทิ้งไวในตอนกลางคืน พบวาลิงกอลิลาไมชอบ
น้ําที่พนออกมาแบบฝกบัวอาบน้ํา
- หลีกเลี่ยงการปลูก Nettle และ thistles เปนพืชอาหารที่ลิงกอลิลากินในปารวมทั้ง spiney
barberries
- พบวาลิงกอลิลาชอบไปคุยหาอาหารเชนแครอท ผลไมและกะหล่ําปลี ที่คนเลี้ยงไปหวานไว
ตามพงหญาสูง
- สวนแสดงที่มีพื้นที่ขนาดใหญใชเวลาในการบํารุงรักษาไมมาก
- ตนเมเปตายเนื่องจากรากเสียหายในชวงการขนยายและเปลือกถูกลิงลอกกิน ตองใชการ
ปองกันตนไมทุกตนดวยรั้วไฟฟา ( Coe,1984 )

การคัดเลือกพืชเพื่อปลูกในสวนแสดงสัตว ( Plant Selection )

ดูรูปที่ 111 สวนแสดงแอนติโลพ ที่สวนสัตวแคนซัสซิตี้ การคัดเลือกพืชที่จะนํามาปลูกในสวน


แสดง มีปจจัยที่ใชเปนขอบงชี้เชน ความทนทานตอการเหียบย่ําจากสัตว อัตราการเจริญเติลโต การ
ระบายน้ําของดิน ลักษณะของรมเงา และเปนพืชที่มีพิษตอสัตวหรือไม กลุมพืชที่เราเลือกไดอยางลง
ตัว จะสามารถเห็นวาพืชจะมีสวนสําคัญ ตอความการเชื่อมโยงพึงพาอาศัยกันระหวางพืชและสัตว
209

ปจจัยที่มีผลตอการเลือกชนิดของพืชที่จะปลูกในพื้นที่ของสัตว เชน
- ความเปนพิษหรือไม
- รสชาด
- อัตราการเจริญเติบโต
- ใชเปนวัสดุรองรังของนกไดหรือไม
- หาไดงาย ลักษณะคลายกับพืชในทองถิ่นของสัตว
- เหมาะสมกับดินในพื้นที่
- เหมาะสมกับความชื้นในพื้นที่
- เหมาะสมกับการเปนฉากหลัง เปนรมเงา ความสวยงาม
ดูตัวอยางการตกแตงสวนแสดงหมีแพนดาที่ Louisvill Zoo
ดานนอกสวนของกําแพงจะใชตนไมชนิดที่ไมผลัดใบหลายชนิดเปนตัวบังกําแพง เชน
Douglass fir , Austrian pine, Japaness Pine, juniper, และตนไผ ซึ่งตนไผเปนเปนตนไมที่ให
บรรยากาศของถิ่นที่อยูประเทศจีน ไผเปนแหลงอาหารของหมีแพนดา เปนรมเงาในชวง 10.00 -
13.00 น. สําหรับการปรับปรุงภูมิทัศนในดานทิศตะวันออกเฉียงใต โดยใชพืชในกลุม
Rhododendren มาปลูก ( Poglayen Nevwall, 1974)
การเลือกตนไมโดยมองจากลักษณะของตนไมเปนสิ่งที่ตองพิจารณาโดยเฉพาะสวนที่ฤดูกาล
เขามาเกี่ยวของเชนใบ ดอก สีและลักษณะพื้นผิวของเปลือกของลําตน ผล การเลือกตนไมเพื่อใชใน
การบังองคประกอบของสิ่งกอสราง ใชขอพิจารณาในสวนของรูปทรงของตนไม ความหนาแนนของ
ใบไม ลักษณะพื้นผิวของเปลือกลําตนและความสูง สวนการวางตําแหนงของตนไม มักจะพิจารณา
การเปนลําดับที่สองในขบวนการออกแบบพื้นที่ของสัตว
สวนแสดงของสัตวในสวนสัตวไมใชการตกแตงภูมิทัศนเพื่อความสวยงาม และ
ไมใชพื้นที่ที่จะนํากฎของการจัดสวนที่คํานึงถึงองคประกอบเรื่องความกลมกลืน ลําดับ
ความสมดุล ความมีเอกลักษณ การออกแบบไมไดมีจุดประสงคเพื่อความสวยงามและการ
ตกแตงเปนอันดับหนึ่ง แตใชแนวคิดที่ออกแบบเพื่อใหไดบรรยากาศความเปนธรรมชาติ
ขั้นตอนการคัดเลือกตนไมจึงเปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากเปนการเพิ่มในสวนของลักษณะที่
เลียนแบบสิ่งแวดลอม ( Robertson, 1985 )
การสรางสรรคพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับสัตว การใชวัสดุจากพืชเปนเรื่องที่ยากและทาทาย
แตเปนงานที่จัดลําดับความสําคัญกับความตองการของสัตวเปนเบื้องตนและไมใหความสําคัญกับ
ความสวยงามจนมากเกินไป โดยความจริงก็คือการจําลองลักษณะสิ่งแวดลอม ทีแ่ สดงออกในเรื่อง
ของความเคลื่อนไหวที่มีความประสานสอดรับกัน ความแตกตางและความเหมาะสมลงตัว ซึ่งจะเปน
ภาพภูมิทัศนที่นาจดจําที่ติดอยูในความทรงจําของผูเที่ยวชม
210

ขอสรุปของพวกเราคือสรางถิ่นที่อยูตามธรรมชาติของสัตว รูปแบบที่มีตั้งแตปา ดงดิบชื้น


จนถึงทะเลทราย ซึ่งจะมีวิธีการหลายอยางและปญหาอีกมากที่เราตองเอาชนะ โดยเปาหมายคือ
การปลูกตนไมในชนิดที่เราตั้งเปาหมายไว ขั้นตอนการทํางานจะเริ่มตนที่การเขียนรายชื่อตนไม
ทั้งหมด เชนเริ่มที่กลุมพืชที่มีใบขนาดใหญเพื่อสรางบรรยากาศปาทึบ แตปญหาที่มักติดตามเมื่อนํา
รายชื่อพืชเหลานี้ไปตรวจสอบกับหนังสือวาพืชกลุมดังกลาววามีพิษหรือไม ก็จะพบวาพืชที่เปนเรา
เขียนรายการมาสวนใหญมีพิษ ไมปลอดภัยที่จะปลูกในสวนแสดง เมื่อผานการตรวจสอบรายชื่อพืช
แลว เรามีรายชื่อไมมากนักที่จะเปนตัวเลือกในการสรางปาแบบดิบชื้นและปาแบบทุงหญาซาวันนา
ถาเราจินตนาการตอไปวาถาพืชเหลานี้สามารถอยูรอดไดและเจริญเติบโต ประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับ
สัตวหรือหรือผูเที่ยวชม ตัวอยางเชน เสือจะสนุกสนานกับสภาพสิ่งแวดลอมใหมของสวนแสดง เสือ
โครงเดินผานตนไผที่ขนึ้ อยางแนนหนา แลวลงน้ําวายน้ําเลนในสระน้ํา ภาพที่จะเกิดขึ้นจะสรางความ
นาประทับใจกับผูเที่ยวชมมากเพียงใด ( Maxwell,1975 )
การออกแบบการปลูกพืชในสวนแสดงสัตว ในขบวนการคัดเลือกตนไมที่จะนํามาจัดมีลําดับ
การคัดเลือก เชน เปนพืชชนิดที่ไมมีพิษเปนลําดับที่สําคัญที่สุด ดังนั้นในขบวนการจึงมีขบวนการที่
จะคัดเอาพืชชนิดที่มีพิษออกไปเสียกอน ( Chew, 1983 ) แหลงขอมูลที่จะทราบวาพืชชนิดนี้มีพิษ
หรือไมโดยดูจากหนังสือการจัดสวน การขอขอมูลจากสํานักงานเกษตรกรรมหรือสํานักงาน
สาธารณสุขในพื้นทีน่ ั้นๆ หรือจากหนังสือของ Kingbury ชื่อหนังสือ Poisonous Plant of the
United state and Canada ซึ่งจะมีรายชื่อของพืชที่อาจจะเปนพิษและกลาวถึงชนิดของพิษ แตขอมูล
ในหนังสือ Kingbury ยังไมไดถือวาเปนขอสรุปที่โตแยงไมได ตัวอยางเชน Burmuda Grass
( Cynodon dactylon ) ที่จะเปนสาเหตุใหเกิด Photosensitivity ในวัวในพื้นที่ทางตอนใตของ
สหรัฐอเมริกา แตเปนหญาที่มีการแพรกระจายในแอฟริกาตะวันออกที่เรียกวาหญาสตาร
( Coe,1984 )
พืชที่สามารถทนทานตอการทําลายจากสัตวในสวนแสดงได โดยพืชนั้นมีการปกปองตนเอง
อาจมีลักษณะเชน มีหนาม กิ่งกานที่ยืดหยุน เปลือกหนา ยอดสั้นหนา พืชลมลุกที่ปกคลุมพื้นดิน
ตองมีรสชาติที่ไมนากินสําหรับสัตวกินพืช ซึ่งจะเปนเหตุใหพืชดังกลาวไมเปนที่สนใจของสัตว
( Robertson, 1985 )
รสชาดจากการกินที่ทดสอบโดยมนุษยอาจจะไมใชปจจัยในการเลือกชนิดพืช เชน chaparral
ซึ่งมีรสชาติเผ็ดรอน California peper ซึ่งรสชาติที่คนกินแลวไมอรอยแตสัตวกินแลวอรอยเหมือนกิน
ไอศกรีม ( Gibbon, 1983 )
ใหความใสใจกับลักษณะของพืชและการวางตําแหนงของพืช จะมีผลการขยายพื้นที่เชน
หญาแพมพาสการปลูกจะลงเปนเต็มพืน้ ที่หรือลงเปนกลุมใหญๆ 25-30 กลุมตอพื้นที่ the miscanthus
จะปลูกใหรอดจะตองใชรั้วที่สูง 3 ฟุต
211

อัตราการเติบโตของตนไมจะมีผลตออัตราการรอด เมื่อตองปลูกตนไมไวในสวนแสดง
ในขณะที่ตนไมเปนสวนทีแ่ ตกใบเขียวและทรงพุมใหญใหรมเงาแกสัตวที่อยูใ นสวนแสดง สราง
ความพึงพอใจและความรื่นรมยใหกับผูเที่ยวชม พืชที่ใชการขยายพันธโดยการใชรากและลําตนใตดิน
จะเปนพืชกลุมทีม่ ีอัตราการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว จึงเปนตนไมกลุมที่ใชในการปรับปรุงพื้นที่วาง
เปลาเนื่องจากสามารถเติบโตในสภาพพื้นที่ไมเอื้ออํานวยเทาที่ควร พืชที่มีการเจริญเติบโตไดเร็วจะ
เปนพืชตัวเลือกในชวงแรกของการปลูกเนื่องจากจะใชเปนพืชสําหรับคลุมดิน แตการที่จะไดตนไมที่
นาพึงพอใจตองการเวลาอยูชวงระยะเวลาหนึ่งกวาจะไดสภาพโดยรวมที่นาพึงพอใจ การคาดหวังวา
จะใหสวยงามในเร็ววันนั้นเปนสิ่งที่คาดหวังเชนนั้นไดยาก ( Robertson , 1985)
การบํารุงรักษาและการปองกันการทําลายตนไม (Maintenance and Plant Protection)

รูปที่ 118 มาลายและนูหางขาวที่ The African Veldt, Kansas City Zoo สัตวที่นํามาจัดแสดงกินหญา
เปนอาหารหลัก การดูแลพืน้ หญาในสวนแสดงเปนเรื่องที่ยุงยาก ตัวอยางของปญหาเชน พื้นที่ใน
สวนแสดงมีนอยเกินไป หญาฟนตัวไมทัน แตยังมีปจจัยรวมจากวิธีการใหน้ําและการใสปุย
ภูมิทัศนของสวนแสดงตองการการบํารุงรักษาอยางเอาใจใสและพิถีพิถัน เนื่องจากอาจถูก
ทําลายจากสัตวภายในคอก เปนพื้นที่ที่อยูใ นสายตาของผูเที่ยวชม รวมทั้งตนไมเปนองคประกอบใน
งานใหการศึกษาและงานดานการอนุรักษ เพื่อใหตนไมอยูในสภาพที่สมบูรณตองประกอบดวยระบบ
น้ํา การใสปุย การตัดแตง ดูการระบายน้ําของดิน การปองกันการทําลายจากสัตวในคอก
เมือ่ ปลูกตนไมลงไปตองสังเกตพฤติกรรมของสัตววามีการทําลายตนไมหรือไม เมื่อปลอย
สัตวลงไปแลวตองใชความพยายามอยางเต็มที่ที่จะปกปองพืช จากการทําลายของสัตวที่อยูในสวน
แสดงสัตว ตัวอยางการปกปองเชน การใชรั้วชั่วคราว การเพิ่มอาหารใหกับสัตว เพิ่มอาหารที่สัตว
ชอบเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจจากตนไมที่ปลูกลงไป
212

วิธีการปกปองขึ้นอยูกับชนิดของสัตว เชนเปนสัตวที่กินใบไมหรือหญาเปนอาหารหลัก เปน


สัตวที่ปนปายไดดี ขนาดตัวเล็กหรือใหญ ขนาดของพื้นที่ ขนาดและชนิดของพืชในสวนแสดง
สัตวแตละชนิดทีน่ ํามาจัดแสดงจะมีวิธีปองกันตนไมที่แตกตางกันไป แรดมีนอขนาดใหญ
และน้ําหนักมากสามารถทําลายตนไมที่บอบบางได การใชกอนหินวางรอบตนไม ใชเสาไม
หรือเสาซิเมนตเปนวงรอบตนไมก็ขึ้นอยูกับลักษณะพื้นที่ ตัวสัตวและการทดลองทํา วิธีการ
ปกปองที่ใชไดกับสัตวชนิดหนึ่งอาจไมสามารถใชไดกับสัตวอีกชนิดหนึ่ง เชนยีราฟใชตาขายพันรอบ
ตนไม แรดขาวใชกอนหิน กวางและแอนติโลพตองใชทั้งสองวิธีรวมกัน
สวนแสดงชางเปนสวนแสดงที่ทาทายในการปองกันหญาและตนไม เนื่องจากชางจะพยายาม
ดึงหญาและทําลายตนไมเพื่อกินเปนอาหาร การปลูกตนไมและใชรั้วไฟฟาลอมไว ซึ่งเราคาดวาจะ
ปองกันชางได แตชางสามารถเรียนรูไดโดยชางจะใชงาแซะที่ลูกตุมลวดไฟฟาในชวงที่ไมมีไฟฟา (
รั้วไฟฟาจะทํางานเปนจังหวะ ) ซึ่งสามารถฟงเสียงได แซะเอาลวดไฟฟาออกจากตนไมและลม
ตนไมลงเพื่อกินเปลือก ไดมีการทดลองใชลวดที่แข็งแรงกวาที่มีลักษณะคลายเสนเปยนโนที่จะไม
ขาดงาย ( Gibbon, 1983)
สัตวที่กินหญาจะกินหญาในสวนแสดงจนหมด สาเหตุรวมอื่นๆ ที่ทําใหหญาไมขึ้นเชน
พื้นที่ในสวนแสดงมีนอย ความบอบบางของหญา เวลาที่จะใหหญาฟนตัวไมเพียงพอ วิธีการใหน้ํา
กับวิธีการใสปุยที่เหมาะสม ทุงหญาเปนแหลงอาหารของสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม การจัดการโดย
มนุษยเมื่อนําทุงหญาเขามาจัดการ ตองใหอยูในสภาพแปลงหญาที่มีการบํารุงรักษาไมมีการปลอย
สัตวเขามากัดโดยอิสระ เนื่องจากการเหยียบย่ําของสัตวจะเปนสาเหตุที่ทําใหหญาไมขึ้น
( Michalemore, 1985) การใหเวลาเพื่อใหหญางอกรากที่ฝงตัวลงในดินนานพอเปนจะเปนปจจัยหนึ่ง
ที่จะทําใหหญาสามารถอยูไดในพื้นที่ของสวนแสดงสัตว มีบางสวนสัตวใหเวลาสําหรับการเตรียม
พื้นที่ที่เปนหญาและเตรียมระบบน้ําที่เพียงพอทีจ่ ะดูแลนานเกือบ 2 ป ถาปลูกหญาแลวการเจริญของ
หญายังไมเพียงพอ แลวปลอยใหสัตวเขาพื้นที่รวมทั้งระบบน้ําที่จะเลี้ยงดูหญาไมเพียงพอ พื้นที่ของ
หญาที่ปลูกไวสวยงามในครั้งแรกก็จะกลายเปนพื้นดินวางเปลาไมมีหญาคลุมตามเดิม
ไมยืนตนและไมพุมเตี้ยทีป่ ลูกภายในสวนแสดงของสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม ตองมีการ
ปองกันจากการกัดกินของสัตว กรงเล็บและเขา หรือสัตวขนาดเล็กที่ใชตนไมในการปนปายหอย
โหนไปมาเชน ลิง ชะนี และ “ สวนแสดงของสัตวที่กินใบไมเปนอาหารเปนเรื่องที่ยากมากในการ
บํารุงเลี้ยงและปกปองตนไมที่นํามาปลูก ” สัตวจะกินเมื่อเห็นใบไมสีเขียว เนื่องจากสัตวบางชนิดที่
กินเปลือกดวย การจะใหตนไมมีการเจริญเติบโตไมเพียงจะตองปกปองตนไมเทานั้น แตตองมองถึง
ชวงที่สัตวพยามยามจะกินใบไมโดยการใชขาหนายันตนไม ( C hew,1983 )
213

การจําลองถิ่นทีอ่ ยู ( Habitat Simulation )


การเริ่มตนที่ดีและยอมรับวิธีในการออกแบบสวนแสดงสัตวที่ใชแนวคิดการจําลองถิ่นที่อยู
ของสัตวโดยการใชตนไมและการองคประกอบตางๆ หลักวิชาทางภูมิสถาปตยเพื่อการตกแตงพืน้ ที่จะ
มีผลทําใหสวนแสดงสัตวไดภาพที่ปรากฏหลากหลายรูปแบบ โดยในชวงของกระบวนการออกแบบ
จะเกิดรูปแบบ ( style ) เกิดความคิดเห็น ( opinion ) ที่หลากหลายขึ้น ซึ่งเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นวา
การจําลองถิ่นที่อยูนั้นขึ้นอยูกับการแปลผลของมนุษย โดยแนวคิดที่เปนกระแสหลักในปจจุบันของ
การออกแบบสวนแสดงคือ immersion ( หมายถึงการสรางความรูสึกใหกับผูเที่ยงชมเสมือนกําลังอยู
ในระบบนิเวศที่เปนถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้น ) คําอธิบายลักษณะของแนวคิดนีไ้ ปใชอางอิงในการ
ออกแบบเชน เหมือนจริง ( realistic ) เนื้อหาสาระ ( essence ) รูปธรรม( Abstraction ) ถูกตอง
( accurate ) ความรูสึก ( sense ) ลักษณะ( character ) ลอกเลียนแบบ ( duplication ) จําลอง
( miniature ) มีชีวิตชีวา ( living )
ความเขาใจคําจํากัดความและมองเห็นความแตกตางของคําเหลานี้ มีความจําเปนตอการ
ออกแบบเพื่อใหงานสําเร็จ การออกแบบสวนแสดงสัตวในแบบจําลองลักษณะของธรรมชาตินั้นไม
สามารถหาขอสรุปและตัดสินไดวา วิธีการที่เหมาะสมสําหรับการเลียนแบบถิ่นที่อยูจะใชวิธีการ
อยางไร แตการออกแบบจะเปนการเรียนรูรวมกับการใชจินตนาการเพื่อหาขอสรุป มีการตั้งคําถาม
ในคณะทํางานที่จะใหเกิดความคิดเห็นจากผูรวมงานแตละคน ซึ่งคําถามนี้ก็จะทําเกิดความคิด
ตอเนื่อง กระตุนใหเกิดการพูดคุยเรื่องของคําถามและคําตอบของการออกแบบ
ภูมิสถาปตยภายในสวนแสดงเปนสวนเล็กๆของธรรมชาติและออกแบบใหเปนตัวแทนที่
แสดงลักษณะทีถ่ ูกตองของถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ ตามชนิดสัตวที่นํามาจัดแสดง โดยใชพนื้ ฐานและ
ขอมูลที่แปลผลจากชีวิตพืชและสัตว ความสนใจจะตรงไปยังขอมูลในเรื่องของสีและความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่อยูรวมกันในระบบนิเวศ ที่สิ่งมีชีวิตสิ่งหนึ่งจะมีความเกี่ยวเนื่องกับ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆอยางไร ( Jones and Jones, 1979 )
ความเปนไปไดที่จะกําหนดพืชที่เปนตัวแทนของลักษณะถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้น โดยที่ผู
เที่ยวชมสวนใหญก็จะใหความสนใจกับตนไมมากขึ้น ถาภูมิทัศนที่ชวยพื้นที่ในการจําลองถิ่นที่อยู
ของสัตว ขอเท็จจริงประการหนึ่งคือมีพืชไมกี่ชนิดที่สามารถเปนตัวแทนของปาบางลักษณะ
ได เชน พืชที่มีสีใบเปนเสนขนาดเล็กคลายเข็ม จะใชตัวแทนของปาแบบสนเขา( conifer forest )
ในขณะที่รูปทรงลําตนและทรงพุมของ horney locust หรือ hawthorne จะเปนตัวแทนของตน
acacia ของปาแอฟริกันซาวันนา ( Turner, 1974 )
พื้นที่สวนแสดงสัตวไมใชการจัดภูมทิ ศั นเพื่อความสวยงาม โดยใชแนวคิดการจัดสวนที่มี
แบบแผนและรูปทรง แตเปนการจัดภูมิทัศนที่ใชแนวคิดการจําลองสิ่งแวดลอมของถิ่นที่อยูของสัตวที่
นํามาจัดแสดง ซึ่งหมายถึงการนําองคประกอบที่สําคัญของถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นมาดวย โดยเรา
214

ตองคนหาเนื้อหาสาระที่แทจริงของถิ่นที่อยูนั้น โดยการใชการคัดเลือกและจัดวางวัสดุ การ


คัดเลือกและจัดวางตนไมเพื่อใหเกิดภาพและความรูสึกของสิ่งแวดลอมที่เราไปจําลองมา
การนําเสนอสวนแสดงสัตวในรูปแบบที่เปนธรรมชาติ ( naturalistic ) ถูกนําเสนอครั้งแรกๆ
โดย Carl Hagenbeck การนําเสนอในรูปแบบที่เปนธรรมชาติ มีความคิดอยู 2 แบบคือ
1. เนนความสวยงามโดยไมใหความสําคัญกับความเหมือนจริง
2 จําลองอยางเหมือนจริงตามลักษณะนิเวศวิทยาและภูมิศาสตรของถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ
( coe,1984 )
การไมใหความสําคัญกับการนําแนวคิดเรื่อง ๆ theme ( แนวคิดหลัก ) ในบางสวนสัตว การ
นําเรื่องการตกแตงพื้นที่โดยใชตนไมเขามาใช จะเปนสวนสําคัญที่มาชวยคงสภาพของสิ่งแวดลอม
โดยรวมที่เปนธรรมชาติไว สัตวไดใชประโยชนจากตนไมเหลานี้ เชน รมเงา เปนพืชอาหาร ผูเที่ยว
ชมไดรับความรมรื่นและสภาพแวดลอมที่เหมาะแกการชมสัตว ( Holm, 1981 )
- ไมวาเราจะใชแนวคิดในการออกแบบเปนแบบใดหรือใชแนวคิดการจําลองถิ่นที่อยูของสัตวในการ
ออกแบบสวนแสดงสัตว แนวคิดลวนแตมีผลตอภาพที่ผูเที่ยวชมจะไดเห็น
- สิ่งที่จะตองใหความสําคัญมากกวาภาพที่ผูเที่ยวชมจะไดเห็นคือการออกแบบที่ใหสัตวไดแสดง
พฤติกรรมตามธรรมชาติได
- สิ่งที่เปนสิ่งยอมรับในลําดับถัดมาคือความสมจริงในภาพของความเปนถิ่นที่ของสัตวชนิดนั้น โดย
การใชพืชที่มีในทองถิ่นมากกวาความถูกตองของพืชตามหลักพฤษศาสตร วาเปนชนิดของพืชที่มา
จากถิ่นที่อยูข องสัตวชนิดนั้นจริงๆ
- ความเขาใจวาวัสดุใดคือองคประกอบของภูมิทัศนนั้นๆ จะมีสวนสําคัญตอภาพของสวนแสดง
- ไมใชเพียงรูปลักษณของตนไมเทานั้นที่จะเปนสวนประกอบในการสรางบรรยากาศของสวนแสดง
แตยังมีเรื่องของลักษณะของพื้นที่และการจัดวางตําแหนงของตนไมอีกดวย
การออกแบบตนไมในพื้นที่ของสวนสัตวนั้นเปนงานสรางสรรคที่สรางความรูสึกทั้งทาง
อารมณและความรูสึกสัมผัสทางกาย ( รูสึกรอนหนาว สบาย ) โดยผานทางประสาทสัมผัสตางๆ
และภาพรวมที่เกิดขึ้น
- รูปราง ขนาด ความกวางยาว ของตนไมจะมีผลตอขนาด รูปรางและภาพของพื้นที่วาง
- ลักษณะทางกายภาพของตนไมเชนรูปทรง ขนาด ลักษณะเปลือก จะมีผลตอความรูสึกและ
อารมณของมนุษย
-ตนไมจะเปนสวนของผนัง หลังคาและพื้นดินของพื้นที่วาง เปนสวนที่ทําใหเกิดลักษณะของพื้นที่
- ผูออกแบบจะตองจินตนาการวาภาพทีผ่ ูเที่ยวชมจะเห็นเมื่อเขามาในพื้นที่ ขณะอยูที่จุดชมสัตว
และเดินออกไป ภาพที่จะเกิดขึ้นจากพื้นที่ดังกลาว และจากระยะตางๆ นั้นภาพจะมีการ
เปลี่ยนแปลงไปอยางไร ( Robertson, 1985 )
215

การออกแบบพื้นที่เพื่อสรางภาพที่มีอารมณและความรูสึก( A Spacial Design Approach for Creating


Perceptual Effect )

ดูรูปที่ 119 Hagenbeck Tierpark, Hamburg สวนแสดงสัตวที่มีสัตวหลายชนิดอยูรวมกันที่ Tierpark


เปนสวนแสดงสัตวที่มีภาพเปนที่นาจดจํา ซึ่งเปนผลมาจากความเปนธรรมชาติที่ประกอบดวยพื้นดิน
ที่มีหญาปกคลุม พื้นที่แนวตั้งที่มีลําตนของไมพุมและตนไม พื้นที่แนวเหนือศีรษะที่มีเรือนยอดของ
ตนไมและทองฟา
กรอบของภาพที่ใชเปนจุดอางอิงที่กําหนดการรับรูพื้นที่ของผูชมสวนสัตวก็คือ มิติทั้ง 4
สวนของสวนแสดงสัตว มิติทั้ง 4 สวนเมื่อเปรียบเทียบกับหองที่ประกอบดวยพื้นที่ 3 สวนคือพื้น
(floor ) แนวตั้ง ( ผนัง) พื้นที่เหนือศรีษะ (เพดาน ) และมิติสวนที่ 4 คือเครื่องใชภายในหอง ซึ่งก็
คือกอนหิน ตนไมและน้ําที่ประกอบอยูในสวนแสดง พื้นที่สวนนี้ออกแบบใหมนุษยเปน
องคประกอบที่สําคัญ ในกรณีของสวนแสดง ตองใหความสนใจของมนุษยมุงไปที่สัตวทั้งหมด
พื้นที่แนวราบสวนพื้นดินและองคประกอบตางๆ ในสวนแสดงเชน กอนหิน ตนไมที่ปรากฏ
ตอสายตาผูเที่ยวชมภายในกรอบของเวลา (ที่มี 4 มิติ ) ภาพเหลานี้มีความตอเนื่องและมีการ
เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พื้นที่ของภาพจะมีการเปลี่ยนแปลงศูนยกลางตามการเคลื่อนที่ของผูมอง
ภาพในที่นี้คือตัวของผูเที่ยวชม พื้นที่ของภาพเปนสิ่งที่มีขอบเขตและ ถูกกําหนดดวยองคประกอบ
หลายอยาง ระยะทางและทิศทางมีความสัมพันธอยางคงที่กับผูเที่ยวชม
ความรูสึกและอารมณที่เกิดจากภาพทีผ่ ูเที่ยวชมเห็นสวนแสดงนั้นเกิดจาก ธรรมชาติภายใน
สวนแสดงที่มีมิติทั้ง 4 สวนที่ประกอบดวยพื้นที่ 3 สวน ( พื้นราบ พื้นที่แนวตั้ง พื้นที่เหนือศรีษะ )
และสวนที่ 4 ที่เปนองคประกอบจากวัสดุอื่นที่นําเขามาตกแตงรวม ซึ่งวัสดุเหลานี้จะมีคุณสมบัติ
216

ตางๆ กันเชนลักษณะของพื้นผิว ความโปรงใส ความสูง สีและแสงโดยอารมณและความรูสึกที่เกิด


จากภาพที่ผูเที่ยวชมเห็น ก็คือบรรยากาศโดยรวมของสวนแสดงสัตวแหงนั้นๆ อารมณและความรุสึก
ที่จะเกิดจากการดูสวนแสดงนั้น มีไดหลากหลายขึ้นอยูกับลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตว เชน สงบสุข
( serenity ) ดึงดูดใจ( grandeur ) โศกเศรา( desolution ) ลึกลับ( mystery ) สนุกสนาน ( gaiety )
การเขาใจในเรื่องลักษณะประจําตัว( คุณสมบัติ, attribution ) ลักษณะทางกายภาพ ( physical
description ) รูปลักษณที่เห็น(perceptual characteristics ) อารมณและความรูสึกที่เกิดจากการมอง
วัตถุ( perceptual effect ) ของวัสดุที่จะเลือกนําเขามาตกแตงพื้นที่ของสวนแสดงสัตว ซึ่งขอมูลของ
วัสดุตามที่กลาวมาทั้ง 4 ประการดังกลาว จะเปนสิ่งที่ชวยใหการสรางสรรคภูมิทัศนภายในสวน
แสดงสัตวประสบความสําเร็จ เปาหมายทีส่ ําคัญของการออกแบบสวนแสดงสัตวคือการสรางภาพที่
เปนที่ประทับใจติดตรึงในความรูสึก และสามารถสื่อขอมูลงานใหการศึกษาไปยังผูเที่ยวชม อารมณ
และความรูสึกที่เกิดจากภาพจะตองรวมเขาเปนสวนหนึ่งของแนวคิดในการออกแบบ ซึ่งแนวคิดจะ
เปนจะเปนสวนสําคัญในความตอเนื่องของลําดับในการตัดสินใจในการออกแบบ
หนาที่ของผูออกแบบสวนแสดง คือผูกําหนดธรรมชาติของพื้นที่ทั้ง 3 สวนของสวนแสดง
( แนวราบ แนวตั้งและพื้นที่เหนือศีรษะ )และเลือกวัสดุที่จะนําเขามาตกแตงภายในพื้นที่ ซึ่งตอง
อางอิงจากขอมูลลักษณะประจําตัวของวัสดุ ลักษณะทางกายภาพ รูปลักษณที่เห็นรวมกับอารมณและ
ความรูสึกที่เกิดจากการมองวัตถุเพื่อใหงานออกแบบสําเร็จเปนรูปรางออกมา
การออกแบบคือการคัดเลือกวัตถุ จัดวางและเพื่อใหภาพรวมของวัตถุที่คัดเลือกมาไดแสดง
รูปราง สี พื้นผิว ขนาด ทิศทาง แสงซึ่งจะเปนการรวมเอาสิ่งตางๆเหลานี้เพื่อสรางภาพที่ไดสราง
อารมณและความรูสึก
4 ขั้นตอนในกระบวนการการแปลผลคือการทําความเขาใจและการสื่อสารโดยการใชลักษณะ
ของวัตถุตางๆ ที่เราเลือกนํามาเขียนในการออกแบบ รวมกับการจัดวางวัตถุตางๆเหลานี้ลงในพื้นที่
ทั้ง 3 แนวภายในสวนแสดงคือพื้นที่แนวราบ พื้นที่แนวตั้งและพื้นที่เหนือศีรษะ กระบวนการแปล
ผลแนวคิดนั้นมีความเกี่ยวเนื่องจาก
1. การเขียนอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสดวยประสาทสัมผัสตางๆ จากถิ่นที่อยู
ของของสัตวชนิดนั้นๆ ( abstract and verbal image of a habitat effect )
2. การบรรยายออกมาเปนลักษณะทางกายภาพที่จับตองได
3 ลักษณะของภาพที่ผูเที่ยวชมจะไดเห็น ( การสรางภาพสเก็ต )
4. มีความเชื่อมโยงกับคุณลักษณะสําคัญของถิ่นที่อยูในแบบนั้นๆ
การคัดเลือกปจจัยของถิ่นที่อยูของสัตวและความจําเพาะที่สามารถใหแนวทางโดยการทําตาม
กระบวนการ 4 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 คุณลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตว ( habitat attribution ) .ใหเขียนถอยคําที่เกี่ยวของกับ
อารมณและความรูสึกที่เกิดจากการมองภูมิทัศนที่จะจัดสรางขึ้น จากงานวิจัยของ Craik ( 1970 )
217

กลาววาการบรรยายฉากของภูมิทัศน โดยใชคําพูดที่สามารถสื่อของอารมณได( semantic descriptor )


จะเปนพื้นฐานของการกําหนดขอบเขตของคุณลักษณะของแตละอารมณและความรูสึกที่จะเกิดขึ้นใน
ภูมิทัศน โดยแตละถอยคํานั้นเปนประธาน( subjunctive ) และแสดงองคประกอบในลักษณะแยก
สวนแตละสวน เนื่องจากไมสามารถใชคําบรรยายหนึ่งใดกลาวใหครบถวนไดในครั้งเดียว( Gestalt
effect )
ขั้นที่ 2 คําบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical Description ) เปนคําบรรยายทั่วไปที่มีการ
กําหนดในถอยคําที่ทําใหเกิดภาพสมจริง ที่อานแลวสามารถจินตนาการในลักษณะทางกายภาพได
และเกิดบรรยากาศของถิ่นที่อยูของสัตวดวย ใหขอมูลที่สามารถนําไปใชในสถานที่กอสรางใน
ลักษณะที่เขาใจงายและสามารถวัดเปนหนวยได
ขั้นที่ 3 คุณลักษณะของภาพที่มนุษยเห็น ( Perceptual Characteristics ) การที่มนุษยมองเห็น
ลักษณะทางกายภาพของวัตถุ (รูปทรง ทิศทาง ขนาด สี เสียง พื้นผิว ) ทีป่ ระกอบกันขึ้นเปนถิ่นที่
อยูของสัตวจะทําใหเกิดอารมณและความรูสึกตางๆ ขึ้น รวมทั้งเห็นลักษณะเฉพาะของของถิ่นที่อยู
แบบนั้นๆ โดยวัตถุนั้นถูกคัดเลือกและจัดวางในขบวนการออกแบบตามขอกําหนดตางๆ ของถิ่นที่อยู
ของสัตว ภาพที่จะเห็นจะตองลดความซับซอนของสิ่งแวดลอมจากตนแบบที่จําลองมาใหเปนภาพที่
งายชัดเจนและมีผลชัดเจน
ขั้นที่ 4 คําบรรยายคุณลักษณะของพื้นที่ ( site factor ) พื้นที่ในสวนแสดงจะประกอบวัสดุ
ตางๆ หลากหลาย เมื่อนําวัสดุมาผสานกันในพืน้ ที่ก็จะเกิดเปนภาพที่สามารถบรรยายออกมาเปน
คําพูดได คําบรรยายลักษณะตางๆของพื้นที่ ( site factor ) จะสามารถบอกเปนชวงได ตัวอยางเชน
พื้นผิว ( จากละเอียดไปหาหยาบ ) ความยาว( สั้นไปหาสูง ) ความสวาง (มืดไปหาสวาง ) ความ
หนาแนนของยอดไม( จากบางไปหาหนา ) ตนไมดูใบขนาดเล็กหรือใหญ เสียงจากทุมไปหาแหลม
ลักษณะการวางตนไมวางเปนกลุมหรือกระจาย แตละความมากนอยของแตละลักษณะจะมี
ความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกับวัสถุในภูมิทัศนและวัสดุที่จะสรางในสวนของพื้นทีแ่ นวราบ พื้นที่แนวตั้ง
พื้นที่เหนือศีรษะ และองคประกอบในพื้นที่สวนแสดง
ตามที่ไดกลาวไปแลววาการผสมผสานของความจําเพาะของแตละองคประกอบจะทําใหเรา
สามารถบรรยายลักษณะของพื้นที่เปนคําพูดได เชน ความปลอดภัย ความโดดเดี่ยว ความใหญโต
คําบรรยายลักษณะของสวนแสดงสัตวและองคประกอบของพื้นที่ทั้ง 3 ระนาบมีดังตอไปนี้
1.พื้นราบ ( base plan ) ความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการมองเห็นและสัมผัสดวยมือกับวัสดุที่อยูใน
พื้นที่นี้ ซึ่งเปนการสัมผัสสีและพื้นผิว เชนทราย ดิน หญา หิน ไมพุม ขอนไม หินกอนขนาดใหญ
เปนตน
2.พื้นที่แนวตั้ง ( vertical Plane ) องคประกอบของพื้นที่สวนนี้จะประกอบดวย
- พื้นผิว ลักษณะพื้นผิวของวัตถุที่อยูภายในพื้นที(่ ซึ่งจะมีมิติในเรื่องของขนาดและพื้นที่ ) เชน
พื้นผิวของใบไม และความหนาแนนของตนไม
218

-. ความโปรงใส เปนผลที่เกิดจากการกระจายตัวของตนไม ( การครอบครองพื้นที่มากนอย


เพียงใดและขนาดของตนไมแตละตน ) พื้นที่ของทอนซุงและขนาด ความหนาแนน (จํานวน
ทอนซุงและกิ่งไม ลักษณะของใบไม )
-. การปรากฏของภาพ เปนผลที่เกิดจากความยาวและขอบเขตของภาพ (บังทั้งหมด บังเปน
ชวงๆ หรือภาพในลักษณะมุมกวาง
-. ความเขมขนของแสง เปนผลตามปริมาณของแสงที่ผานเขามา
3. พื้นที่เหนือศีรษะ ( overhead plan ) องคประกอบของพื้นที่จะประกอบดวย
- ความสูง ระยะจากพื้นดินถึงระดับยอดไมในระดับลาง( lower canopy )
- ความทึบ (opacity) เปนผลจากความหนาแนนและความทึบของยอดไม (จํานวนของกิ่งไม /
ใบไม และพื้นที่ของยอดไม )
- พื้นผิว เกิดจากรูปแบบและขนาดของตนไม
- เสียง ความแรงของเสียงเชน เสียงของสัตว ลม น้ําและชวงเวลาของเสียง เร็ว กลับซ้ํา เสียง
ตอเนื่อง
4. องคประกอบสําคัญที่อยูประจําที่ ( Feature Static ) วัตถุที่มคี วามโดดเดนที่เห็นในรูปของ
- พื้นผิว เชนเปลือกไม หิน ตนไม
- ทิศทาง (ทอนไมที่วางราบกับพื้น ) ลําธาร ไมเลื้อย การวางทอนซุง
- สี(ความเขมขนและปดคลุมไว )
อารมณและความรูสึกที่เกิดจากภาพที่มนุษยมองสวนแสดงสัตวที่จําลองถิ่นที่อยูของสัตว
( Habitat perceptual effect )
ขั้นตอนที่แสดงในยอหนาถัดไป เปนขบวนการแปลผลเพื่อกําหนดจุดอางอิงของภูมิทศั น
( landscape attribution ) ลักษณะทางกายภาพทีส่ ามารถสื่อเรื่องราวและความหมาย ( physical
description ) ลักษณะของภาพทีป่ รากฏ ( perceptual characteristics ) คําบรรยายลักษณะของ
พื้นที่ทแี่ สดงถึงอารมณในลักษณะตางๆที่เกิดขึ้นจากการมอง เชนแจมใส( serenity) , โดดเดี่ยว
อางวาง( desolation), ลึกลับ( mystery ) และ สนุกสนาน ( gaiety ) ซึ่งเราสามารถใชเปนแนวทาง
สําหรับการออกแบบภูมิทัศน ที่มีผลตออารมณที่มีความเหมาะสมกับลักษณะถิ่นที่อยูของสัตว
219

ฟาแจมใส ( Serenity )

ดูรูปที่ 120, ความสดชื่นแจมใส( serenity ) ,สวนแสดงหมีหมา, ที่ Miami Metro Zoo พื้นผิว
เรียบ เปนคลื่นในสวนหญาที่เปนรูปแบบงายหรือวงกลมของหิน มีบรรยากาศสงบเงียบและเปน
ภาพที่ทําใหเกิดความรูสึกสงบมีสมาธิ ( contemplative perceptual effect )
ขั้นที่ 1 คุณลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตว ( habitat attribution )
ผอนคลาย สวยงาม สันติสุข เชื้อเชิญ ขี้เกียจ ปลอดภัย เงียบ สะดวกสบาย ใกลชิดสนิทสนม
คิดพิจารณา
ขั้นที่ 2 คําบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical Description )
แบน เรียบ ลูกคลื่น กลม สะอาด เงียบ ไมเคลื่อนไหว คลื่น นุม งาย
ขั้นที่ 3 คุณลักษณะของภาพที่มนุษยเห็น ( Perceptual Characteristics )
- รูปแบบ - เบา กลม
- สี - โทนสวาง ใชโทนสีเย็น
- พื้นผิว - เบา กลาง นุม
- เสียง - มาแบบหยุด ขาด ปานกลาง
- ทิศทาง - ผานเขามาอยางนุมนวล เคลื่อนตัวในแนวราบ หยุดนิ่ง
- อัตราสวน - มีบางสวนนูนออกมา
- ระดับ - กลาง ไมมีความแตกตางอยางชัดเจน นิ่มนวล
ขั้นที่ 4 คําบรรยายคุณลักษณะของพื้นที่ ( site factor )
1 พื้นราบ คอนขางเรียบ ประกอบดวยความละเอียด เรียบนิ่ม โดยใชวัสดุ ทราย หญา มอส
เฟรินส ใบไมและน้ํา
220

2. พื้นที่แนวตั้ง มีทอนซุง ที่มีพื้นผิวของใบไมละเอียดจนถึงหยาบปานกลาง ที่วางไวแบบ


ไมเปนระเบียบ ภาพอยูในระยะใกล ใหแสงสวางไปถึงพื้นและมีแสงขนาดกลาง
3. พื้นที่เหนือศีรษะ ที่ความสูงประมาณ 8- 20 เมตร ยอดไมความทึบในระดับปานกลางและ
การกระจายตัวของแสงตลอดทั่วทั้งในสวนแสดง ยอดไมใชใบไมขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางและมี
การกระจายตัวอยางสม่ําเสมอ เสียงขนาดกลางและมาแบบขาดๆหายๆ
4. สวนประกอบ ทอนไมและกอนหินเลือกที่มีพื้นผิวละเอียดและสีไมฉูดฉาด

ใหญโตสงางาม ( Grandeur )

ดูรูป 121, Paul Sheep ที่ Danver Zoo ลักษณะของภาพเงาที่มีเหลี่ยมมุมและรอยขรุขระ มีพื้นผิวที่


ขรุขระและหยาบของภูเขา สรางความรูสึกใหเกิดความนาสนใจ ในภาพที่ยกสูงขึ้นและบรรยากาศที่
ออกมาในลักษณะที่มีอันตราย ตื่นเตน

ขั้นที่ 1 คุณลักษณะของถิ่นที่อยูของสัตว ( habitat attribution )


พายุ นากลัว แข็งแรง ตื้นเตน รุนแรง บังคับ พลัง ตื้นตันใจ อันตราย ปา บันดาลใจ
ขั้นที่ 2 คําบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical Description )
หิน สูงชัน หอคอย เหลี่ยมมุม ใหญ ซับซอน ตกหลน หยาบ เชิงผา เดินลดเลี้ยว เสี่ยง ความชัน
เขาชัน
ขั้นที่ 3 คุณลักษณะของภาพที่มนุษยเห็น ( Perceptual Characteristics )
รูปราง - เบา ปด หาง จําเพาะ
สี - โทนสีดําหนัก โทนสีอบอุน
221

พื้นผิว - คลายกัน หยาบ


เสียง - นิ่มนวล ทันที
ทิศทาง - การเคลื่อนที่ในทางเรียบ
อัตราสวน - ใหญ ไมจํากัดความนาเบื่อ ในลักษณะนูนออกมา
ความหนักเบา - ต่ํา กระจาย จํากัดความแตกตาง
ขั้นที่ 4 คําบรรยายคุณลักษณะของพื้นที่ ( Habitat Site Factor )
1.พื้นที่ราบมีหลายระดับที่ประกอบดวยวัสดุ (หิน ทอนไม ถ้ําขนาดเล็ก ) โดยลักษณะพื้นผิวของ
พื้นที่จะหยาบและขรุขระ ตนไมใชตนไมลําตนขนาดใหญ
2.พื้นที่แนวตั้ง ลักษณะพื้นผิวจะหยาบ วัสดุทนี่ ํามาใชประกอบเชนทอนไมขนาดใหญหลายทอน ซึ่ง
วางหางๆกันเพื่อใหเกิดความโปรงโลง แสงแดดสามารถสองผานไดไดเปนชวงๆ กระจายตามแนว
ของพื้นที่
3. พื้นที่เหนือศีรษะ เรือนยอดของตนไมสูง 20 เมตร เรือนยอดไมทึบแนนเนื่องจากยอดไมทับซอน
กันและกัน เรือนยอดที่แนนทึบจะทําใหเกิดสีที่ดํามืดแนนทึบ ใบไมที่ใหญและกิ่งไมทสี่ านกระจาย
ทั่วทั้งเรือนยอด มีเสียงที่ดังตอเนื่องและเสียงดังในสวนแสดง
4. รูปทรงของวัสดุที่เลือกใชจะเปนรูปทรงแบบรัศมี พื้นผิวหยาบและอาณาเขตของสีกินพื้นทีป่ าน
กลาง เชนกิ่งไมที่แตกออกในแนวตางๆ รากไมที่แตกแขนงเพื่อยึดลําตนกับพื้นดิน เปลือกไมที่มี
พื้นผิวหยาบและแตละสีมีพื้นที่ปานกลาง
ความโดดเดี่ยว ( Desolation )

รูปที่ 122 ความโดดเดี่ยว, สวนแสดงชาง, ที่ Miami Metro Zoo พื้นที่ราบในลักษณะพื้นเรียบ พื้นที่
ในแนวตั้งและพื้นที่เหนือศีรษะซึ่งจะเปนสวนฉากที่สรางความรูสึกเหงาและโดดเดี่ยว ใชสีที่เปน
222

โทนสีเดียวกันและการกระจายตัวของแตละสีใหเกิดความขัดแยงในระดับเล็กนอย เพื่อเปนสวนเติม
เต็มในสวนพื้นผิวที่หยาบของชางและใชรูปแบบของตนไมจําลอง
ขั้นที่ 1 คุณลักษณะของภูมิทัศน ( Landscape attribution )
แข็ง หนาวและปลาวเปลี่ยว ไมสดใส นาเบื่อ ไมมีแรงบันดาลใจ ทําลาย นิจนิรันด ไมนาสนใจ
ขั้นที่ 2 คําบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical Description )
ใหญ แข็ง สีโทนเดียว แหงแลง กวาง เปด กระจาย ตอเนื่อง
ขั้นที่ 3 คุณลักษณะของภาพที่มนุษยเห็น ( Perceptual Characteristics )
รูปแบบ เปดโลง สวาง มีลักษณะจําเพาะ พื้นที่วาง
สี สีทึบ โทนสีเย็น
ทิศทาง เคลื่อนไหว พื้นที่ราบ
อัตราสวน ใหญ ความเบื่อไมจํากัด ภาพนูนออกมา
ความหนักเบา ต่ํา การกระจายตัวต่ํา ความแตกตางนอย
ขั้นที่ 4 คําบรรยายคุณลักษณะของพื้นที่ (Habitat Site Factor )
1.พื้นที่ราบ ประกอบดวยพื้นผิวที่หยาบเล็กนอย เปนพื้นที่ที่ไมมีวัตถุวางอยู ( พื้นดินไมมีการปลูก
หญา มีใบไมรวงอยูเล็กนอย )
2. พื้นที่แนวราบ ตนไมลําตนขนาดกลางจํานวนมาก ลักษณะทรงพุมที่มีใบไมอยูหนาแนนและมีการ
กระจายตัวอยางสม่ําเสมอ ( ฉากหลังแนนทึบ ) ทําใหระยะตัวผูมองถึงจุดสิ้นสุดของภาพสั้น
แสงอาทิตยจะสามารถผานเขามาจากดานหลังไดเปนสวนๆ ถาเปนชวงเชาหรือบายๆ แสงของพระ
อาทิตยจะผานเขามาไดนอย
3. พื้นที่เหนือศีรษะ มีความสูงปานกลาง 8-20 เมตร ซึ่งมีเรือนยอดที่แนนที่ประกอบดวยกิ่งไมและ
ใชใบไมที่หยาบ มีเรือนยอดที่ทับซอนกัน เสียงภายในพื้นที่จะเปนเสียงที่นุมและเปนเสียงที่แตกตาง
กันและพุงเขามาทันที มีลมพัดมาออนๆ มีเสียงดังมาแตไกลของลําธารหรือน้ําตก
4. วัสดุภายในสวนแสดงมีนอยและวางตัวอยางกระจัดกระจาย
223

ความลึกลับ ( Mystery )

ดูรูปที่ 131 ความลึกลับ สวนแสดงกวางที่ Miami Metro Zoo การเลือกปลูกตนไมที่มีทรงพุมเตี้ยและ


ความหลากหลายของพื้นผิวของตนไมจะทําใหฉากหลังมีลักษณะแนนทึบ และเปนการสรางพื้นทีร่ ม
เงาของตนไมที่ทําใหการมองเห็นตัวสัตวไมชัดเจน ทําใหผูเที่ยวชมจะตองตั้งใจในการมองฝูงกวางที่
อยูใตรมไมมากยิ่งขึ้น
ขั้นที่ 1 คําบรรยายคุณลักษณะของภูมิทัศน ( Landscape attribution )
ตองหาม ลี้ลับ ซึมเศรา ปดบัง สับสน เศรา ประหลาด ไมแจมใส
ขั้นที่ 2 คําบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical Description )
เปยก ปด รมเงา น้ํา หมอก แยกตัว ลึกลับ เปนกอน พื้นที่เปยกหยุน ตม ชื้น ต่ํา
ขั้นตอนที่3 คุณลักษณะของภาพที่มองเห็น ( Perceptual Characteristic )
รูปราง - ความสับสน ความแตกตางที่ซับซอน ขอบริมที่พรามัว
สี - ดํา โทนสีเย็น ขอบเขตที่จํากัด
พื้นผิว - ความหนัก—เบาไมจํากัด
เสียง - ดัง เร็ว แปลก
ทิศทาง - การเคลื่อนทีเ่ ขาดานใน ทิศทางเปนมุม ไมมีความเดนชัด
อัตราสวน - เล็กไปหาใหญ มีสวนที่บังสายตา
ความหนักหรือเบา - ความแตกตางในเรื่องของความมืด การกระจายตัวของวัตถุในเรื่องของ
ระยะทาง
ขั้นที่ 4 คําบรรยายคุณลักษณะของพื้นที่ (Habitat Site Factor )
1. พื้นที่ราบ ประกอบดวยวัสดุที่มีลักษณะของพื้นผิวที่ละเอียดและหยาบ เชน มอส เฟรินส
224

น้ํา ใบไมที่ใบหยาบ ตนไมที่มีลําตนขนาดใหญ


2. พื้นที่ในแนวตั้ง มีตนไมที่มีลําตนขนาดเล็ก พันธุไมเลื้อย ใบไมขนาดกลาง หญาที่ปลูก
ใหแนนเพื่อปดบังการเห็นพื้นที่ดานขาง
3. พื้นที่เหนือศีรษะ พืชที่มีเรือนยอดต่ําและบาง ใบไมที่มีลักษณะหยาบและละเอียด เรือน
ยอดแยกกัน มีขนาดแตกตางกันและมีหลายชนิด เสียงที่มีความแตกตางกัน 2 เสียง นิ่มดังและยาว
(มาอยางรวดเร็วและตอเนื่อง )
4. วัสดุที่เลือกใชจะมีความชัดเจนของพื้นผิวและสี
ความรื่นเริง ( Gaiety )

ดูรูปที่ 124,ความรื่นเริง( Gaiety) , สวนแสดงนกฟลามิงโก, Sandi ago Zoo การออกแบบสวนแสดง


ใชแนวคิดที่ใหสีสันของนกฟลามิงโกตัดกับฉากหลังที่เปนโทนสีดํา โดยมีองคประกอบเสริมอื่นๆ
เชนพื้นที่แนวราบใชหญาที่มีลักษณะพื้นผิวละเอียดและพื้นที่แนวตั้งพืชหลายชนิดอื่นที่มีลักษณะลํา
ตนและใบสวยงาม เพือ่ ใหองครวมทั้งหมดของสวนแสดงสรางความรูสึกสนุกสนาน รื่นเริงแกผู
เที่ยวชม
ขั้นที่ 1 คําบรรยายคุณลักษณะของภูมิทัศน ( Landscape attribution )
อิสระ ความสุข เชื้อเชิญ เพื่อน ตื่นเตน กระตุนปลุกเรา ยินดี อุดมสมบูรณ งอกงาม ชื่นชม สีสัน
ฉูดฉาด หรูหรา
ขั้นที่ 2 คําบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical Description )
ขาว สูง ตรงไป ตรงมา ชัดเจน หลากหลาย สดใส ราเริง สดชื่น กระฉับกระเฉง
ขั้นตอนที่3 คุณลักษณะของภาพที่มองเห็น ( Perceptual Characteristic )
รูปราง - สวาง ชัดเจน หลากหลาย
225

สี - ความเขมสีจาง โทนสีอบอุน
พื้นผิว - สวาง แข็ง-นุม บอบบาง
เสียง มาเปนระยะดังๆ
ทิศทาง- มั่นใจ แนนอน การเคลื่อนที่แบบออกดานนอก
อัตราสวน - มนุษย ภาพเวาเขาดานใน
ความมาก นอย สวาง เห็นความแตกตาง หริ่บหรี่ วูบวาบ
ขั้นที่ 4 คําบรรยายคุณลักษณะของพื้นที่ (Habitat Site Factor )
1.พื้นที่แนวราบ พื้นเปนคลื่น วัสดุในพื้นที่ในลักษณะละเอียด นิ่ม (ทราย น้ํา มีใบไมแหงหลนตาม
พื้นดินเล็กนอย )
2.พื้นที่แนวตั้ง พื้นผิวเรียบ ประกอบดวยไมที่มีลําตนขนาดเล็ก มีไมเลื้อย ใบไมมพี ื้นผิวแบบ
ละเอียด การปลูกไมประดับใหวางในลักษณะตางๆ แตสม่ําเสมอเพื่อสรางบรรยากาศที่สดใสและเกิด
ภาพในลักษณะมุมกวาง พื้นที่มีแสงสวางผานเขามาเปนพื้นที่กวาง
3. พื้นที่เหนือศีรษะ ที่มีระดับความสูงปานกลาง 8-20 เมตร ทรงพุมของตนไมมีลักษณะแยกจากกัน
เมื่อมองภาพรวมพื้นผิวเปนแบบละเอียดและกระจายบางๆ มีเสียงที่ดังแบบตอเนื่องและดัง เปนเสียง
น้ําไหลของลําธาร น้ําตกและเสียงนกรอง
4.วัสดุที่เลือกใช จัดวางเพื่อใหวัสดุแตละอยางดูโดดเดนชัดเจน พื้นผิวหยาบ มีรูปทรงที่เปนกลาง
และมีทิศทางออกไปทุกทิศทาง โทนสีเขมชัด
ความสําเร็จของการสรางสวนแสดงสัตวที่สรางความอารมณและความรูสึกใหแกผูเที่ยวชม
ไดนั้น เกิดจากการเปดโอกาสใหผูมีสวนเกี่ยวของทุกสวน ไดมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
และใชการทดลอง เนื่องจากแตละทานจะมีความคิดเห็นในการแปลความหมายคําบรรยายลักษณะ
ตางๆของพื้นที่ ( site factor ) และมีความเขาใจที่แตกตางในเรื่องของคุณสมบัติของวัสดุที่จะเลือก
นํามาใช และวัสดุเหลานั้นมีน้ําหนักมากหรือนอยเพียงใด ในการใชในการสื่อความหมาย การสราง
ภาพที่สื่อความรูสึกออกมาเปนภาระหนาที่ของผูออกแบบ ในกระบวนการนั้นตองเขาใจในเรื่องของ
ถิ่นที่อยูที่จะนํามาจําลอง ชนิดสัตว ชนิดของพืช ลักษณะภูมิประเทศ ดิน หินและน้ํา
ภูมิอากาศจะมีอิทธิพลตอการกําหนดชนิดสัตวและพืช วาจะมีสัตวชนิดใดอาศัยอยูไดและจะ
มีพืชชนิดใดสามารถกระจายตัวครอบคลุมภายในพื้นที่ที่มลี ักษณะภูมิอาการในลักษณะนี้ได การ
ผสมผสานระหวางการแบงพื้นที่ภายในสวนสัตวตามลักษณะภูมิอากาศ ( climatic zone ) และการ
ออกแบบตนไม จะเปนกระบวนการที่ชวยเตรียมสวนแสดงสัตวที่จะใชแนวคิด ในลักษณะการ
จําลองลักษณะธรรมชาติและชวยในการกําหนดกลุมสัตวลงในพื้นที่ ซึ่งแนวคิดนี้จะเกิดคําถามที่สราง
ขึ้นมา เพื่อสอบถามถึงความเขาใจถึงโครงสรางของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในภูมิอากาศของสัตวชนิด
นั้นๆ และธรรมชาติของภูมทิ ัศนที่จะทําการจําลองไวภายในสวนแสดงสัตว ซึ่งจะมีคําบางสวนที่
เกี่ยวกับตนไมที่จะถูกเลือกเขามาเพื่อตกแตงพื้นที่
226

- ขนาดที่เหมาะสม ขนาดของตนไม กวาง ยาว สูง รูปทรง ขนาดของพื้นที่


- รูปทรง ขนาดและจํานวนของตนไมที่ความเหมาะสมของพื้นที่
- พื้นที่ถูกลอมรอบดวยตนไม ( open space ) หรือพื้นที่ถูกปกคลุมดวยเรือนยอดของตนไม (
canopied space )
- ภาพที่จะเกิดขึ้นมีความหนาแนนของตนไมอยางไร
- องคประกอบของพืชในภูมิทัศนเชน จํานวนชนิดของพืช จํานวนของตนไมในแตละชนิด ความ
หลากหลายของชนิดพันธุ ลักษณะการกระจายตัว รูปแบบของการจัด
- การเปลี่ยนแปลงของลักษณะภูมิอากาศ มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางไร
- คําถามเหลานี้จะเปนตัวชวยที่จะผูออกแบบไดจับใจความสําคัญของลักษณะโครงการและ
องคประกอบทางพฤษศาสตรของพืชที่จะทําการจําลองถิ่นที่อยูของสัตว
- การสรรหาชนิดพืชที่มาจากถิ่นที่อยูของสัตวเพื่อนํามาตกแตงไมใชประเด็นที่สําคัญ แตถาสามารถ
หาพืชที่มีในทองถิ่นที่สามารถสรางความรูสึกของผูเที่ยวชมที่มีตอพื้นที่และสรางลักษณะของ
สิ่งแวดลอมใหไดตามความตองการของผูออกแบบที่จะสรางสรรขึ้นมา
งานที่มีความโดดเดนนาสนใจของ Jones and Jones ที่ทําใหกับ The Woodland Park Zoo
เพื่อใชเปนเอกสารอางอิงในการจําลองถิ่นที่อยูของสัตว ซึ่งสวนสัตวแหงนี้เลือกวิธีการแบงพื้นที่
ภายในสวนสัตวแบบตามลักษณะภูมิอากาศ ซึ่งบทความที่เลือกมาใหอานนี้เปนสวนหนึ่งของแผน
แมบท ในสวนของ แนวทางการพัฒนาสวนสัตวในระยะยาวและฉากที่จะสรางขึ้นในสวนแสดงสัตว
( Longe Range Plan Development Guideline and Exhibit Scenario )

แผนงานการจําลองถิ่นที่อยูข องสัตวที่สวนสัตว ( Habitat Simulation Scenario ) : Woodland Park


Zoo
ปาเขตรอน (Tropical Forest)
การบรรยายในสภาพความเปนจริง ปาดิบชื้น ( Tropical rain forest ) ตนไมขนาดใหญ ทีค่ วามสูง
180 ฟุตและเหนือกวา 100 ฟุต เปนเรือนยอดที่มีความตอเนื่อง ตนไมจะมีในหลายลักษณะ โผลขึ้น
จากกลุมหรือเรือนยอดตอเนื่อง ตนไมขนาดเล็กที่อยูที่พื้นดิน ( understory tree ) การเจริญเติบโตได
ไมเต็มที่ เชนเปนตนไมที่มที รงพุมเตี้ยและพืชสมุนไพร ใน ปาที่มีสภาพสมบูรณ พืชที่อยูพื้นดินจะ
ไมหนาแนนทําใหสัตวขนาดใหญสามารถผานเขาไปได ขนาดของลําตนของตนไมจะเล็กและมีรากที่
แตกแขนงออกชวยในการค้ําจุนลําตน ชนิดของตนไมที่เปนเรือนยอดของปาจะมีลักษณะของใบที่
เปนมันวาวมีสารเคลือบ มีตัวปองกันการระเหยของน้ํา linas และ ephiphytes จะเปนพืชที่เปน
สัญลักษณของปาดิบชื้น ปาดิบชื้นจะมีความหลากหลายของพืชในพื้นที่นี้จะมีอยูสูงมาก โดยอาจมี
หลายรอยชนิดในพื้นที่ไมกี่เอเคอรของพื้นที่ปา ที่มีความอุดมสมบูรณ ปาลมจะมีอยูมากมายในกลุม
227

ประเทศโลกใหม (อเมริกาใต ) แตมีนอยในทวีปเอเชียและไมมีในปาแอฟริกา พื้นดินจะมีใบไมปก


คลุมอยางหนาแนน มีพื้นที่เพียง 1 เปอรเซ็นตที่แสงแดดสามารถสองผานไปถึงพื้นดินไดและมีตนไม
ที่อยูที่พื้นดินในจํานวนนอย
ในปาเบญจพรรณ( Tropical deciduous forest ) ความสูงของตนไมจะต่ํากวาในปาดิบชื้น
ความสูงของยอดไมอยูที่ 30-80 ฟุตและจะมีการผลัดใบในฤดูรอน การรวงของใบไมมีผลมาจาก
ระยะเวลาของความแหงแลงและระดับของน้ําที่อยูใตดิน.. พืชที่อยูที่พื้นดินจะมีลักษณะใบที่เล็กและ
พื้นผิวหยาบ จํานวนของพืชมีความหนาแนนกวาปาดิบชืน้ เนื่องจากมีแสงแดดสองผานไปได
มากกวา Linas หาไดยากขึ้น แตพืชในกลุม epiphytes ที่ทนแลงไดดีจะมีอยูเปนจํานวนมาก
โดยเฉพาะกลวยไมและ bromeliads ในปาเบญจพรรณของประเทศออสเตรเลียจะมีตนยูคาลิปตัสที่
เขียวตลอดทั้งปไมมีการผลัดใบเปนชนิดพันธุที่มีมากที่สุด
ในปาเขตรอนจํานวนของชนิดพืชจะมีเปนพันชนิด ลักษณะทั่วไปของพืชเหลานี้ เชนเปลือก
ของตนไมจะเรียบและสีจาง มีรากค้ําจุน ใบไมเปนรูปวงรี ขอบใบเรียบไมมีหยัก ( entire margin )
และมีปลายยาว พืชในกลุม Gymnosperm เกือบจะหาไมพบ ( ยกเวน Cycade ) กลุมสมุนไพรจะ
พบไดนอย พืชในกลุมใบเลี้ยงเดี่ยว( monocote ) จะโดดเดน ซึ่งรวมทั้งกลุม tree like
( Palmae,Cyclanthaceae , Musaceae,Zingiberaceae, Marantacease ) และ Epiphytes ( Aracease,
Bromeliaceae, Orchidacease ) สิ่งที่เปนตัวบงชี้ของความหลากหลายคือ การเตรียมรายชื่อพืชในกลุม
family dictot ซึ่งมีความหลากหลายในปาเขตรอน โดยแตละกลุมแตละตระกูลจะมีนับเปนรอยชนิด
เชน Piperaceas, Moraceae, Annonaceas
ในพื้นที่สวนนี้จะมีการเกื้อกูลตอการอยูอาศัยกับสัตวหลายชนิด ความหลากหลายของชนิด
สัตวมีมากทั้งระดับ (family และ order) เปนพื้นที่เหมาะแกการดํารงชีวิต เนื่องจากเปนแหลงที่มี
ความหลากหลายของพืชและแหลงอาหารที่หลากหลาย สัตวสวนใหญจะเปนชนิดที่หายากและมี
จํานวนประชาการอยูนอย ถึงแมวาจํานวนประชากรโดยรวมจะเปนตัวเลขที่มากกวาพื้นที่ในลักษณะ
อื่น กิจกรรมของสัตวจะมีความเคลื่อนไหวตลอดทั้งป การผสมพันธุสวนใหญจะเปนแบบเปน
ชวงเวลาที่แนนอนในแตละป พฤติกรรมดังกลาวจะถูกควบคุมโดยวงจรของฝน เราจะพบจํานวน
ชนิดของสัตวใหญในปาที่มีลักษณะเปดโลง ที่ปาไมไมแนนมากนักที่จะชวยใหการเคลื่อนทีข่ องสัตว
ดีขึ้น กลุมสัตวที่อาศัยอยูในตนไมก็เปนอีกกลุมหนึ่งที่มีจํานวนมาก (ลิง โพรซิเมียน สล็อท ตัวกิน
มด ตัวนิ่ม กระรอก และ procyonides ) ชนิดสัตวที่มีการเคลื่อนที่ระหวางตนไม ( glider ) เชน
กระรอกบิน anomalurids, flying lemur ) และทีส่ ามารถบินไดเชน คางคาว คางคาวจะมีความ
หลากหลายของชนิดพันธุมากขึ้นในปาเขตรอน และเปนสวนที่เพิ่มตัวเลขความหลากหลายของสัตว
เลี้ยงลูกดวยน้ํานม โดยจะมีความหลากหลายของชนิดพันธุมากยิ่งขึ้นเมื่อเขาใกลบริเวณที่เปนเสน
ศูนยสูตร Aviomorp กลุมหนู เชน agoutis pacas และกลุมกวางขนาดเล็กและแอนติโลพ จะเปน
แหลงอาหารสําหรับสัตวกลุมกินเนื้อขนาดใหญ เชนเสือจากัวร เสือดาว และเสือโครงมีนกเปนจํานวน
228

หลายรอยชนิด ในพื้นที่ไมกี่เอเคอรของปาอะเมซอน นกชนิดที่อยูบนยอดไมจะมีขนาดใหญ สีชัดเจน


และนกชนิดที่อยูตามใกลกับพื้นดินจะมีสีสันกลมกลืนกับพื้นที่ซึ่งจะเปนบริเวณที่คอนขางรมครึม
เนื่องจากมีแสงผานเขามาในพื้นที่นอย และรูวาสัตวนั้นอยูในพื้นที่ดวยการไดยินเสียง กลุมนกทีเ่ ปน
สัตวประจําปาเขตรอนเชนไกฟา นกพิราบ นกแกว นกฮัมมิ่ง นกเงือก นกทูแคน นกหัวขวาน นก
แตวแรว เบริดออฟพาราไดซ เปนตน
การบรรยาย การจําลองถิ่นที่อยูในสวนของตนไม
ถึงแมวาปาเขตรอนในทวีปอเมริกาใต แอฟริกาและเอเชีย เมื่อมองโดยผิวเผินแลวจะ
เหมือนกัน แตก็มีขอแตกตางที่เดนชัดอยูที่จะใชเปนพื้นฐานไดเชน
- ทั้ง 3 เขตจะมี trailing linas อยางอุดมสมบูรณ
- มีเพียงอเมริกาเทานั้นที่มี bromeliad festoon branch
- ในขณะที่แอฟริกาจะมีตนปาลมอยูนอย
- สวนปาในเอเชียจะมีตนกก หวาย ไมไผ
- ดังนั้นการสรางความแตกตาง เชนการใช artificial bromeliads ในสวนของพื้นที่สวนของ
foreground ของพื้นที่อเมริกาใต ใชปาลมในพื้นที่อเมริกาใตและเอเชียในชวงฤดูรอน ใชตน
ไผและกก ออในพื้นที่เอเชีย
ตนไมในลักษณะใบผสม ( Compound – leave plant ) จะพบไดทั่วไปในปาเขตรอน เชนเดียวกับ
ในเขตแหงแลง พืชที่จะใชเปนพืชจําลองพื้นที่สวนนี้เชน Black Locust ( Robinia pseudoacacia ) ,
honey locust (Gleditsia tricanthos ), ailanthus ( Ailanthus altissimal ), aralia (Aralia spinosa ),
Kentucky coffee tree (Gymnocladus dioica ) และ silk tree (Albizzia julibrissin ) ซึ่งตนไมเหลานี้มี
ความเหมาะสม ที่จะนํามาตกแตงพื้นที่ที่เปนสวนแสดงสัตวที่มีถิ่นที่อยูในปาเขตรอน ซึ่งการใชตนไม
เพื่อตกแตงพื้นที่แบบปาเขตรอน ตองแสดงใหเห็นถึงความหลากหลายของชนิดไมที่มีในปามากกวา ที่
จะจัดแสดงตนไมในลักษณะเปนกลุมตนไมชนิดตางๆ หรือหากตองการแสดงความสวยงามของตนไม
บางตน โดยการวางตนไมบางชนิดที่มีความโดดเดน เมื่อมองจะเห็นความแตกตาง เมื่อวางอยูรวมกับ
ตนไมตนอื่นๆที่ขึ้นติดกันอยางหนาแนนหรือขึ้นอยูตนเดียวในปาซาวันนา ซึ่งสามารถใชตนไมใน
ลักษณะเปนรายการที่เปนตัวเลือกในการตกแตงพื้นที่แบบ bioclimatic Zone
พื้นที่ทั้งหมดของสวนแสดงในโซนปาเขตรอน
- การใชตนไมในกลุมที่มีใบขนาดเล็ก ( small-leaved ever green ) ที่ไมใชพืชในกลุมสน ( not
coniferous ) เชน Portugal laurel ( Prunus lusitanica ), privet ( Ligustrum spp ), Carolina cherry
( Prunus caroliniana ) และ California bay (Umbellularia californica ) ซึ่งจะจะดูเหมาะสมเมื่อเสริม
ดวยพืชที่อยูบริเวณพื้นดิน ( foliage ) เชน Fatasia , Fatshedera, Gunnera, knotweed ( Polyganum
spp ) และ Devil’ s club ( Oplopanax horridum )
229

- ตัวอยางของพืชคลุมดินชนิดที่มีใบขนาดใหญ ( Large foliage tree ) เชน Magnolia, Paulownia


และ Catalpa
- พืชที่อยูในกลุมไมเลื้อย( Vine ) เชน evergreen Clematis, Actinidia, Akebia, Wisteria, Grape
( Vitis spp ) และ Polygonum ซึ่งจะชวยในการสรางความรูสึก “ ผานสวนนี้เขาไปไมได “ จะชวยใน
การพรางโครงสรางและทําใหสวนที่เปนหินหรือคอนกรีตดูนิ่มนวลขึ้น ไมเลื้อยไมวาจะเปนชนิดที่มี
ชวงอายุแบบฤดูกาลเดียวหรือตลอดไป เชน hope ( Humulus lupulus ), scarlet runner bean
( Phaseolus coccineus ) , even morning glory ( Convoluvulus sepium ) และ nasturtium
( Tropaeolum majus ) ซึ่งไมเลื้อยเหลานีจ้ ะเปนตัวกั้นวัสดุตางๆที่มีในสวนแสดงกอนที่ไมยืนตนจะ
เจริญขึ้นมา การใชไมเลื้อยแบบเถาวัลย กับสัตวบางชนิดเชนลิง ตองดูใหเหมาะสมเนื่องจากถาวาง
ใกลกําแพงอาจเปนชองทางใหสัตวปนออกจากสวนแสดงได
พืชตระกูลปาลมและคลายปาลมเชนกลวย ( Musa spp. ) ซึ่งมานํามาตกแตงพื้นที่จะไดผล
เปนที่นาพอใจ สวนแสดงที่นําไปปลูกเชน สวนแสดง Repile House สวนแสดงนกจากปาเขตรอน
ใหพิจารณาในเรื่องของจํานวนของตนไมแตละชนิดที่นํามาตกแตง โดยเฉพาะในสวนของพื้นที่สวน
ชมสัตวและสวนดานหนาของสวนแสดง ( foreground )
ชนิดของตนไผและพืชที่มีลักษณะคลายตนไผเหมาะสําหรับปลูกตกแตงในพื้นที่เชน timber
bamboo ( Phyllostachy bumbusoides ), golden bamboo ( P aurea ), black-stem bamboo ( P nigra ),
dwarf bamboo (Sasa pygmaea ), heavenly bamboo ( nandina domestical ) cane ( Arundo donax )
และพืชในกลุมตนออ ( reed) เชน common reed ( phragmites communis ) , reed like giant
knotweeds ( Polygonum sachalinense ) พืชกลุมนี้มีลักษณะการขยายพื้นที่ไปเรื่อยๆ มีบางแหงใช
การปลูกไวในกระบะเพื่อจํากัดพื้นที่ กฎโดยทั่วไปคือจะไมปลูกพืชชนิดนี้รวมกับไมยืนตนชนิดที่โต
ชา
ตัวอยางคําบรรยายลักษณะสวนแสดงสัตวที่มีการจําลองลักษณะถิ่นที่อยูของสัตวในสวนของลักษณะ
ของพื้นผิว ดินและน้ํา ( Description of Simulated Habitat )
ตัวอยางที่ 1 สวนแสดงกอลิลา
a. พืชพรรณ ( Vegetation ) ภายในสวนแสดงมี ตนไมขนาดใหญทขี่ ึ้นไมหนาแนนและ
ตอเนื่องกระจายตัว พื้นทีโ่ ดยรอบสวนแสดงจะเปนเนินเขา (อยูภ ายนอกคูแหงซึ่งมองไมเห็น )และมี
กลุม ของตนกลาของตนไมที่มีใบกวางและไมมีการผลัดใบ อยูรวมกับตนไผและfatsia
หนาผาที่วางตัวอยูตามแนวของคูแหงดานนอกของสวนแสดง ดานบนสุดของหนาผาจะปก
คลุมดวยพืชลมลุกที่มีลักษณะใบยาวกวาง สวนหนาของหนาผาจะถูกเคลือบทาดวยความเขียวของ
มอสและมีเฟรินทที่เกาะตัวอยู ซึ่งเปนบริเวณที่มีน้ําไหลซึมอาบสวนหนา หนาผาจะตกแตงแทรก
ดวยกอนหินซึ่งจะมีมานของของสายกานลําตน acasia และ evergreen chematis ปลูกประดับแทรก
ตามกอนหิน เหนือลําธารของหนาผา จะมีสวนของตนไมใหญซึ่งมองจากจุดชมผูเที่ยวชมจะเห็น
230

เฉพาะสวนของเรือนยอดตนไม และสิ่งที่ผูเที่ยวชมจะไดเห็นจากจุดชมสัตวในสวนที่อยูตรงขามกับ
เนินเขาจะเปนภาพฝูงกอลิลากําลังหากินอยูใตตนไมที่เขียวสด
ผูเที่ยวชมจะเขาสูสวนแสดงกอลิลาตามทางเดินที่มีลักษณะโคง ดานบนจะมีรมเงาของตน
magnolia ซึ่งเปนพืชที่มีลักษณะใบใหญ และตน albizzia ที่มีลักษณะใบเปนมัน บริเวณจุดชมสัตว
ใหเนนการใชกลุมของตนปาลม
b พื้นดินและพื้นน้ํา ภายในสวนแสดงจะมีลําธารที่มีตลิ่งสูงชัน โดยขอบของลําธารจะเปนหินเทียม
ที่ทําเลียนแบบหินแกรนิต ขนาดใหญ สายน้ําของลําธารจะขดเคี้ยวไปมาซึ่งจากจุดชมจะมองเห็นขอบ
ลําธารเปนบางชวง เนื่องจากถูกบดบังดวยเหลี่ยมเขา บางชวงของลําธารจะไหลผานหินกอนใหญ
ริมน้ําที่เปนหญาสีเขียวและสุดทายของสายลําธารจะตกเปนน้ําตกที่แผออกเปนมานลงสูหวงน้ําเบื้อง
ลาง
สวนของเนินเขา( ที่อยูดานนอกของคูแหง ) ตั้งแตสวนของยอดเนินทอดตัวลงต่ํามาที่เชิงเนิน
เขาจะเปนสวนที่โลนโลงเตียนเนื่องจากการตัดฟนทําลายปา เพื่อทําเกษตรกรรมแบบโบราณที่มีการ
ทําไรเลื่อนลอย เปลี่ยนแปลงปลูกไปเมื่อดินเริ่มเสื่อมสภาพ มีบางพื้นที่มีมีหญาขึ้นสูง แสดงถึงพื้นที่
ที่ปลอยใหรกรางโดยไมมีการทําประโยชนและมีตนไมใหญที่ลมลงกองกับพื้น
โดยทั่วไปแลวที่ราบที่เปนดินทรายจะถูกกัดเซาะดวยการไหลของน้ําซึ่งจะทําใหเกิดเกาะ
ทางโคงของสายน้ํา เกิดลําคลองสาขาของแมน้ําสายใหญ สิ่งเหลานี้จะเกิดในฤดูกาลน้ําหลาก การ
เกิดน้ําทวมจะเปนการกัดเซาะเอาตลิ่งริมฝงแมน้ําในดานฝงดานนอกและเกิดการสะสมตะกอนบริเวณ
ริมฝงดานในของโคงแมน้ํา
b ดิน ดินของสวนริมฝงน้ําเมื่อถูกกัดเซาะจากกระแสน้ําของแมน้ํา จะเผยใหชั้นดินที่เปนทรายหรือ
กอนกรวด และเห็นรากของตนไมที่สานไปมาที่อยูท ี่พื้นดินชั้นบน ซึ่งจะชวยยึดพื้นดินบางสวนไว
c . น้ํา น้ําสีดําและสะทอนแสงไหลผานชาๆ ผาน mossy bank และ มีกอบัวอยู ( Mymphaea )
กระแสน้ําจะไหลในลักษณะเปนวงกลมเล็กๆ อยางตอเนื่อง
ฉากที่ _2 สวนแสดงลิงแสม ( Long –tail Macaque )
A. พืชพรรณ ( vegetation ) พืชพรรณภายในสวนแสดงจะเปนตนไมที่ขึ้นบนดินซึ่งมีความ
หนาของหนาดินบางๆ ที่คลุมบนกอนหิน พืชที่ขึ้นจะขึ้นหางกันกระจายตัวทั่วไป ซึ่งสวนใหญจะ
เปนหญาและพืชลมลุก และจะมีไมพุมลําตนแหงๆ ขึ้นแทรกปะปน โดยพืชกลุมนี้จะขึ้นบนพื้นที่ที่
เปนกอนกรวดและมีรากที่ฝงในชั้นดินที่ลึก
หญาและตนไมบนเกาะเลือกชนิดที่สามารถทนทานกับการทําลายของสัตวไดดี หญาเชน
Quack Grass ( Agropyron repens ) ที่อยูใกลน้ํา reed Canary Grass ( Phalaris arundinacea ) ใน
พื้นที่ที่อยูสวนกึ่งกลางของสวนแสดงทีม่ ีตนไมใหญเชน honey locus เพื่อใหสัตวไดมีการเคลื่อนที่
ในแนวตั้ง
การเตรียมพื้นที่สําหรับการปนปาย และใชทอนไมขนาดใหญเปนหางใหปนปาย
231

B. พื้นดินและน้ํา สวนของคูน้ําจะเหมือนริมฝงแมน้ําที่สูงชันที่มีดินเปนดินเหนียว มีกระแสน้ําไหล


เชี่ยว เกาะแกงเปนหิน สายน้ําที่ไหลแรงแสดงถึงปริมาณน้ําฝนที่ตกหนัก มีปริมาณการไหลของอยาง
รวดเร็ว ดานมุมหนึ่งของสวนแสดงมีน้ําตกทีม่ ีระดับความสูงประมาณ 8-10 ฟุต จะแสดงอัตราการ
ไหลที่คอนขางชา 3-10 แกลลอนตอนาที เนื่องจากมีพื้นที่การระบายนอย ชั้นของน้ําตกกอนที่จะตก
ลงสูแมน้ํา ( คูน้ํา ) กวางกวาชั้นที่อยูดานบน ลักษณะของสายน้ําที่ตกลงมาคลายแผนกระดาษกวางๆ
ย้ําจุดประสงคของน้ําตกที่สรางขึ้นมานั้นเพื่อใชสําหรับเปนฉากหลังที่เปนธรรมชาติ มากกวาที่จะเปน
การสรางภาพที่นาสนใจโดยการสรางน้ําตําที่มีลักษณะการไหลของน้ําแบบอึกทึกคึกโครม
ฉากที่ 4 เสือ
ก พืชพรรณ ในสวนของสระน้ําจะปลูก Dense canebrakes of ( Arundo donase ), Phragmites
commenis ,Giant knotweed, Polynonum spp. ที่ขึ้นจากสระ `โดยในชวงบายจะมีแสงแดดสองผาน
ตนไผ แสงจะตกที่พื้นน้ําเปนชวงๆและเกิดเปนประกายขึ้น ภายในสระน้ําจะมีตนกลุมของบัว (
lilies ) และ กอของกกขึ้น( luckweed ) และมีทอนไมขนาดใหญวางลมลงในสระ ดานขวาจะเปนเนิน
ที่คลุมดวยหญา
B พื้นดินและน้ํา สระน้ําที่เปนคอนกรีตควรทาดวย dark-tinted gunite โดยที่พื้นสระจะมีการ
ยกสูงเปนบางชวงเพื่อวางกระถางบัว( water lily ) `พื้นที่กนของสระน้ําบางสวนเวนพื้นที่ไวไมตอง
เทคอนกรีตเพื่อใชเปนพื้นที่สําหรับปลูกจําพวกกก ออหรือหญา พื้นที่ตรงกลางของสระน้ําจะตองมี
พื้นที่สําหรับการระบายน้ําโดยการฝง trickle head พื้นที่น้ําตองการพื้นที่กวางแตไมลึก มีการ
ผสมผสานกันของตนไม พื้นดินเพื่อสรางบรรยากาศที่ไมชัดเจนคลุมเคลือ ที่สรางความรูสึกที่ทําให
พื้นน้ําที่ใหญขึ้น น้ํามีการเติมและบําบัดออกเพื่อใหน้ําสะอาด
ฉากที่ 5 สวนแสดงกวางดาวหรือ Sloth bear
ก. พืชพรรณ ปาจําลองโดยใชตนไมที่มีลักษณะใบกวางและเขียวตลอดทั้งปและตนไมจากปา
ดิบชื้น รูปทรงพุมโดยใชตนไมที่มีขนาดใหญ ( Magnolia granaillora, หรือใช Majestic beauty
หรือ Ulmus glabra, Ulmu pumila ซึ่งมีลักษณะรูปพรรณใกลเคียงกัน ตนไมเหลานี้จะวางตําแหนง
ในลักษณะเปนกลุม หรือใหเกิดรูปรางทรงแบบ multi trunk thicket และใชการปองกันตนไมดวย
การใชค(ู เนื่องจากหมีเปนสัตวที่มีการทําลายตนไมสูง )
ข. ภูมิประเทศ มีความลาดชันเล็กนอย มีลูกคลืน่ บางเพื่อชวยในการระบายน้ํา
ค. ดิน ควรจะมีการระบายน้ําที่ใสกรวดสีน้ําตาลตามทางเดินสัตวเพื่อใหมีการขัดสี มีบอ
ทรายไวบางสวนของพื้นดินดวย
ฉากที่ 6 สวนแสดงแรด
ก.พืชพรรณ ใชตนไมทรงสูงใบแนน เชนตนไผ ปลูกที่กลางเกาะของสระน้ําและเปนฉากบังระหวาง
ทางเดินชมสัตวของผูเที่ยวชมกับสระน้ํา ลักษณะของลําตนไผที่เปนเสนตั้งฉากบางๆ จะทําใหภาพที่
ผูเ ที่ยวชมเห็นพื้นที่ชมสัตวในลักษณะที่มีสิ่งบดบังบางสวน ( semi-transparent ) การปลูกบัวในสระ
232

น้ํา ( water lilis ) จะเหมาะสมกับสวนแสดงสัตวชนิดนี้ เนื่องจากเปนพืชในตระกูล Nymphaea ที่มี


การกระจายทั้งพื้นที่ template และเขตรอน( tropical region ) ฉากหลังของสวนแสดงจะปลูกตนไม
เชน timber bamboo ( Phyllostachys bambusoides ) , Cane (Arundo donase) , Giant knotweed
( Polygonum spp ) ไมทอนขนาดใหญขวางในแนวตั้งริมสระน้ําเพื่อเปนที่ใหแรดไดเอาสีขางเขาถู
และวางในสระน้ํา
ข.ภูมิประเทศ ราบเรียบอยูในระดับเดียวกันกับปากสระน้ํา พื้นของสระน้ํามีการลาดเอียงเล็กนอย
ค.พื้นดิน ในพื้นที่กันพื้นที่ไวไมใหแรดขาวเขาไปเหยียบย่ําจะปลูกหญา โดยเปนดินที่มีการระบาย
น้ําดีเพื่อทนทานตอการเหยียบย่ําของรถแมคโคร
ง.น้ํา สระน้ําคอนขางใหญ คอยๆลาดเอียงจากดานในพื้นทีส่ วนแสดงสัตวไปสูงสุดที่ดานหนาติดกับ
พื้นที่ชมสัตวที่มีความลึกประมาณ 5 ฟุต คือจุดของผนังคู สระน้ําที่ใชวัสดุคอนกรีตเพื่องายตอการ
ทําความสะอาดและพื้นผิวที่มีความหยาบเพื่อความสะดวกตอการเดินของแรด
มีเกาะกลางสระน้ําที่โดยตัวเกาะเปนคอนกรีตและโดยรอบเกาะจะมีทอเหล็กลอมรอบ เพื่อ
เปนแนวปองกันตนไมไมใหแรดไปชนตนไม ในสวนของของสระน้ํามีการปลูกไมน้ําเชน บัว (
water lilly ) ซึ่งปลูกภายในกระถางที่วางอยูใตน้ํา และมีระบบการระบายน้ําที่ดีเพื่อใหการปลอยน้ํา
ออกสะดวก
ปาโปรงและทุงหญาซาวันนา ( Savanna )
คําบรรยายสภาพจริง พื้นที่ปาซาวันนา เปนทุงหญาทีม่ ีตนไมขึ้นประปรายกระจัดกระจาย จุดที่
ตนไมเจริญเติบโตไดเนื่องจากรากของตนไมนั้น สามารถจะหยั่งลงไปถึงแหลงน้ําในดิน ซึง่ รากพืช
ตองผานชั้นดินที่มีความแข็ง ซึ่งเปนสภาพที่ที่พบไดทั่วไป ลักษณะของปาจะมีตั้งแตปาเต็งรังแบบ
เขตรอนหรือปา Thorn (ปาตนไมมีหนาม) และปาแบบทุงหญา จะมีความหนาแนนของตนไมที่
แตกตางกันไปตามพื้นที่ มีความหลากหลายของชนิดตนไมที่ต่ําและเปนชนิดที่มคี ุณสมบัติทนไฟปา
ฤดูกาลจะมีความแตกตางกันอยางชัดเจน หญาและพืชลมลุกจะมีการเจริญเติบโตในชวงเริ่มตนของ
ฤดูฝน
เนื่องจากมีความหลากหลายทางชนิดพันธุต่ําจึงสามารถระบุชนิดของพืชได โดยในพื้นที่แหง
แลงจะมีหญา ( Pannicum, Pennisetum, Andropogonและ Imperata ตนไมในตระกูล Prosopis,
Acacia, Curatella, Byrsonima, Adansoniaและ Euphobia สวนในทุงหญาซาวันนาที่ชุมชื้น จะมีหญา
Leesia , Oryzaและ Paspalum เปนพืชกลุมหลักและพืชกลุม Palm เปนลําดับที่รองลงมา
ทุงหญาซาวันนาเปนปาที่มกี ารผสมผสานของพืชตางชนิดกัน ที่ประกอบเปนทุงหญาสลับปา
ไม เปนสิ่งแวดลอมที่เหมาะกับสัตวหลายชนิด พื้นที่ปาในลักษณะนีจ้ ึงเปนบานของสัตวเลี้ยงลูกดวย
น้ํานมที่มีขนาดใหญที่สุด สัตวกีบหลายชนิด ชางปาแอฟริกา สัตวกินเนื้อขนาดใหญ ในพื้นที่ปาที่มี
ลักษณะคลายกันแตอยูตางทวีปกัน และมีความหลากหลายของชนิดพันธุสัตวนอยกวา เชน พื้นที่
ทางตอนใตของทวีปอเมริกาใตซึ่งเปนถิ่นที่อยูของนกเรีย และพื้นที่ของนกอีมูในทวีปออสเตรเลีย ใน
233

ทวีปออสเตรเลียจะมีจิงโจอยูหลายชนิดซึ่งเทียบไดกับ สัตวเทากีบในแอฟริกา สัตวกีบจะมี


ความสําคัญในการเปนตัวควบคุมพืชในทุง หญา โดยที่สัตวโดยสัตวแตละชนิดจะมีแหลงอาหารและ
วิธีการกินอาหารที่มีความแตกตางกัน นี้เปนสาเหตุที่สัตวหลายชนิดสามารถอยูรวมกันได
ลักษณะของพื้นที่ซึ่งเปนพื้นที่เปดโลง ยังเปนที่อยูของสัตวทขี่ ุดรูอยูในดินกลุมสัตวเลี้ยงลูก
ดวยน้ํานมและสัตวเลื้อยคลาน สัตวปกในกลุมเหยีย่ วและนกอินทรีซึ่งเปนสัตวทสี่ ามารถมองจาก
ระยะไกลไดดี นอกจากนั้นปาซาวันนายังมีฤดูกาลที่มีความแตกตางกัน ในชวงเวลาหนึ่งพื้นที่แหงนี้
อาจเหมาะสมกับสัตว แตเมื่อถึงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ สัตวบางกลุมตองมีการอพยพ
เพื่อไปยังพื้นที่ที่เหมาะสมโดยเฉพาะในเรื่องอาหาร
คําบรรยายการจําลองถิ่นที่อยู ( Description of Simulated Habitat )
ฉากที่ 1 ทุงหญาและปาโปรงซาวันนา
ก. พืชพรรณ จะจําลองลักษณะของทุงหญาที่มีหญาขึ้นสั้นๆ ตนไมขึ้นกระจายเปนจุดๆ
บริเวณใดที่ไมใชหญาสั้นๆ ก็จะเปนหญาขึ้นสูงสีน้ําตาล มีดอกไมสีน้ําเงินขึ้นแซมในชวงฤดูรอน
- ตนไมขนาดเล็กความสูง 30-50 ฟุต ( 10-17 เมตร ) โดยเปนพืชที่เปนตระกูลมีหนาม
( Thorny Legume ) ที่มีเรือนยอดลักษณะคลายรูปรม ปลายแบน หรือรูปแจกัน ใบขนาดเล็ก เปลือก
หนาขรุขระ ซึ่งในฤดูรอนจะมองดูเหมือนตนไมตาย ซึ่งรวมถึงตน Whistling thorns ( ant – gall
acacia ) และมีรังของนก weaver bird
- ไมพุมจะมีใบมันและกิ่งกานที่มีหนาม เปนชนิดที่กินได หญาจะขึ้นสูงในฤดูฝน โดยจะมี
ความสูง 2-5 ฟุต โดยจะขึ้นเปนหยอมๆ และมีรากฝงลึก ชนิดของพืชพรรณจะมีการเปลี่ยนแปลง
ตามชนิดของดิน
ข. ดิน
- bare laterite จะพบตาม เนินดินของพื้นดินที่เปนที่ราบ ( crest of the plan )
- latosole จะพบรอบๆแหลงน้ํา
- ดินชนิด bare stony sand จะพบในบริเวณที่มีตนไมที่มีหนามและมีกอหญาขึ้นเปนยอมๆ
- The slope foot brown soil จะเปนดินทีอ่ ุดมสมบูรณและจะเหมาะกับไมพุมบางชนิด
- หญาที่อยูใกลแหลงน้ําจะมีความสูงประมาณ 7 ฟุตจะอยูปะปนกับ reed , wild rice ( Zizania
aquatica ) , sedge ไมพุมหนาตามริมฝงลําธารและรอบๆบึง
การจัดพื้นที่ในสวนทาเดินชมสัตวในโซนสัตวแอฟริกา อาจเลียนแบบพื้นที่ปาในทุงหญาซา
วันนาซึ่งพอจะแบงไดเปน 3 ลักษณะคือ
1. พื้นที่ของตน Throny savanna tree ซึ่งขึ้นเปนแนวหนาแนน มีจุดชมสัตวซึ่งสรางไวสําหรับชม
ยีราฟ ( Giraffe house ) ขึ้นแทรกในแนวตนไม ซึ่งแนวของ Throne savanna tree จะเปนสวนใหรม
เงาในแนวทางเดินชมสัตว
234

2 พื้นที่แบบ The Gallery savannah จะเปนกลุมของตนไมที่มีความสูงประมาณ 50 – 80 ฟุต ที่ขึ้น


กันอยางหนาแนน มีไมเลื้อยเลื้อยแซมบางสวน
3 พื้นที่แบบ The savannah woodland ตนไมจะอยูกันหางๆ ทรงพุมของตนไมคลายกับตน acacia
ที่มีกิ่งกานเปนระเบียบ และมีเรือนยอดสม่ําเสมอ มีจอมปลวก ในสวนของขอบปาทุงหญาซาวันนา
จะมีหญาสูง ไมพุมและไมยืนตน ผูเที่ยวชมจะกระจายอยูตามทางเดินเล็กๆ ซึ่งมีบรรยากาศแบบซา
วันนาลอมรอบอยู
ค. ภูมิประเทศ พื้นดินควรเปนพื้นราบที่มีหญาขึ้น มีแหลงน้ํา มีหบุ เขา พื้นที่ควรเปนแบงอาณาเขต
ของไมพุมที่กิ่งกานมีหนาม ( thron scrub ) , พื้นที่ของตนไมสูงที่มีไมเลื้อยขึ้น ( gallery forest ) และ
ทุงหญาและปาโปรงซาวันนา
การทําจอมปลวกโดยใชวัสดุหินภูเขาแกรนิต( granite boulder ) โดยใชสีเทาออนโดยมีความ
สูง 6-8 ฟุต มีตนไมที่วางเดี่ยวอยูหลายตน ทุงหญาจะเปลี่ยนจาก thron scrub ไปเปน savanna
woodland พื้นที่ราบแลวคอยๆ เปลี่ยนไปเปน gallery forest ในลักษณะพื้นที่แบบหุบเขาเปนพื้นที่
สวนหนึ่งของสวนแสดงลิงจากปาเขตรอน
ง. ดิน ดินที่นําเขามาจะเปนแบบดินละเอียดซึ่งจะคลุมทับดินที่มีความหยาบมากกวา เพื่อใหพื้นผิว
ทนทานตอการเหยียบย่ําและมีการระบายน้ําที่ดีเพื่อใหเกิดการระเหยที่เร็วขึ้นจากชั้นหิน ( parent
bedrock )
จ. น้ํา น้ําจะเปนสายธารตื้นที่มีความลึก 1-2 ฟุต บางครั้งที่ขยายอาณาเขตเปนสระน้ํา
ฉากที่ 2 ลิงบาบูน
ก.พืชพรรณ สวนที่อยูใกลน้ําปลูกหญา fountain grass ( Pennisetum setaceum ) สวนที่เปนสวน
รอบๆสระน้ําและอยูในน้ําตื้นๆ จะปลูก rushes ( Junus spp. ) สวนพื้นที่แนวตลิ่งเหนือขึ้นไปจะเปน
ที่ลาดเอียงที่ระบายน้ําไดดีปลูกพืชคลุมบางๆดวย fescue ( Festuca orina )
- ไมพุมที่มีหนามและตนไมยืนตนที่มีหนาม จะประกอบดวย ( Caragana pygmae, Caraganana
arborescene, Rosa acicularis, Ailanthus altissimasaplugs and Aralia spinosa and elata )
ข.ลักษณะภูมิประเทศ ริมฝงของแมน้ําจะเปนดินเหนียวที่คลุมดวยหญาสั้นๆ ซึ่งลักษณะดังกลาวจะ
ตอเนื่องขึ้นไปตามแนวตลิ่งจนถึงขอบของแผนดินที่เปนหินแกรนิต โดยลักษณะของหินจะเปนรูป
spheriodal ดวยหินจะเปนจุดสีดํา บางชวงจะมีกอนหินขนาดใหญ โผลขึ้นจากพื้นดินเหมือนโดมสูง
15 ฟุต สมาชิกของฝูงลิงบาบูนจึงอยูตามพื้นดินที่มีความสูงแตกตางกันและลักษณะพื้นผิวที่จะทําให
บาบูนมีตัวเลือก พื้นที่ภายในสวนแสดงจะเห็นลิงบาบูนกําลังเลน กิน อาบแดดและพักตามใตตนไม
ที่มีรมเงา
ค.ดิน โดยโครงสรางของดินควรจะมีการระบายน้ําที่ดี เพื่อใหดินอยูในสภาพที่แหง มีหญา
คลุมดินใหทนทานตอการเหยียบย่ําของลิงบาบูนโดยไมใหเกิดสภาพเปนโคลนเลน
235

ง.น้ํา น้ําที่ไหลแรงคอยตามฤดูกาล โดยตัวของทางน้ําจะเปนแนวตลิ่งที่เปนดินเหนียวที่มีความชัน


เกือบจะเปนกําแพง มีตลิ่งบางสวนที่เปดใหเห็นแนวกอนหิน สีของน้ําในชวงฤดูน้ําหลากจะเปนสี
น้ําตาลออนตามลักษณะของสีดิน มีลูกลิงบาบูนเลนอยูริมตลิ่ง
ฉากที่ 3 เสือดาว
ก. พืชพรรณ ใช ใชพืชที่มีลักษณะคลายตน Throny เปนสวนใหญเพื่อเปนการชวยทําใหสี
ขนของเสือดาวชัดเจนขึ้น นอกจากนั้นการใชตน Gnarld ( Robinia spp )ลําตนขนาดใหญ เพื่อแสดง
ถึงใหเห็นวาเสือดาวจะเลือกนอนในกิ่งไมที่ยื่นยาวออกไป
ฉากที่ 5 ฮิปโปโปเตมัส
ก.พืชพรรณ ปลูกพืชคละกัน เชน หญาทีข่ ึ้นในแหลงน้ําที่ใบมีลักษณะผิวสัมผัสหยาบและพืชจําพวก
กกและออทีข่ ึ้นตามแนวของลําธาร การใชบัว Water lilies ( Nymphae ) โดยปลูกในพื้นที่ที่มีการ
ปองกันการกัดทําลายของฮิปโป โดยการใช floating log ในสวนแนวพื้นที่ริมตลิ่งปลูกเสริมดวย ไม
พุม thornและตนไมที่มีรูปรางลักษณะคลายตน acacia
ข. ภูมิประเทศ เปนดินเหนียวสีเทาดํา ระดับน้ําจะต่ํากวาริมตลิ่งประมาณ 4-5 ฟุต
ฉากที่ 6 Australian Savanna
ก. พืชพรรณ การปลูกตนยูคาลิปตัสหลายชนิดจะเปนสวนสําคัญในการสรางบรรยากาศ แบบ frost-
hardy ตัวอยางสําหรับชนิดพืชที่จะนํามาตกแตงในสวนแสดง เชน E. gunni, E microtheca, E
niphophila, ( Elaegnus argustifolar ) ตัวอยางอื่นๆ ที่เปนตัวเลือกเชน ตนไมขนาดเล็ก Russian alive
( Elaegnus argustifolar) และ ไมพุมขนาดใหญ Elaegnus ( Coral silver ) ซึ่งตนไมทั้งสองชนิดจะ
มีใบเปนสีเงินที่ใชเปนพืชตัวแทน Australia Acacia และควรจะใชตลอดทั้งสวนแสดงโดยเฉพาะ
สวนที่ใชตนไมเปนเพื่อบังตัวอาคาร ตัวเลือกสําหรับตนไมที่จะใชในสวนที่จะเปนฉากหลังของสวน
แสดง เชน silver -leaved willow ( Salix spp )
- ตัวเลือกตัวอื่นในกรณีที่ไมสามารถหาตนยูคาลิปตัสได เชน Albizzia, Robinia hispidia, Gleditsia,
Koelrentria และ Populus simonii,
- The spiny grass ( Triodia ) เปนชนิดหญาที่แสดงลักษณะของทุงหญาของทุงหญาซาวันนาของ
ออสเตรเลีย และปลูกในสวนดานหนา( จุดชมและรอบๆจุดแสดง ) รวมทั้งพื้นที่ที่สัตวอยูดวย
ทุงหญาโลงกวางที่เปนที่อยูอาศัยของนกอีมูและวอลลาลูจะมีตน Gum Tree กระจายอยูท ั่วไป
รวมทั้งพื้นที่ในลําธารที่แหง พื้นที่โดยรอบทะเลสาบและบนเกาะกลางทะเลสาบก็จะมีตน Gum tree
ซึ่งถาเปนฤดูน้ําหลากตนไมเหลานี้จะถูกน้ําทวม
- Golden yellow floating heart ( Limnanthemum ) ลอยและในสีโทนอบอุน ชวยเปน
องคประกอบใหหงสดําดูสวยงามขึน้
- โดยรอบพื้นที่สวนแสดงและพื้นที่เสนทางชมสัตวของผูเที่ยวชมการปลูกตนยูคาลิปตัสจะ
ชวยในเรื่องของรมเงาและไดเห็นตนไมชนิดนี้อยางใกลชิด
236

ข.ภูมิประเทศ พื้นที่ราบที่มีรอ งรอยของทางน้ําไหลตั้งแตสิ่งที่อยูบนพื้นดินทั้งหมดไป


จนถึงลําธารที่แหงไปจนถึงลําธารที่แหงที่ในฤดูน้ําหลากจะกลายสภาพเปนลําธาร
- ใกลกับจุดศูนยกลางของทุงหญาโลงกวาง ซึ่งเปนพื้นที่ของสวนแสดง วอลลารู ( wallaroo ) และ
นกอีมู จะมีกอนหินแกรนิตสี cinnamon โผลขึ้นมาเปนรูปหกเหลี่ยมและมีพื้นผิวคลายรูของรังผึ้ง
เนื่องจากถูกกักกรอนดวยแรงลมและมีการเปลี่ยนแปลงทางสารเคมี การใชวัสดุที่มีลักษณะคลาย
หินแกรนิตเพื่อใชเปนวัสดุในสวนของคอกกักสําหรับวอลลาลูและนกอีมูได หินในลักษณะดังกลาวนี้
จะเปนหินที่สวยงาม แตไมคอยพบบอยนักในปาซาวันนาของออสเตรเลีย แตจะเปนลักษณะที่เปน
เนินเขาหินแกรนิตจะพบไดในปาซาวันนาของแอฟริกา
ค. ดิน หินกรวดกอนกลมสีน้ําตาลแดงปูตามทางลาดชันรอบลําธารแหงและปูรองที่กนของลําธาร
แหง ทรายซึ่งจะอยูในสวนทางเดินสัตวหรือพื้นที่ที่สัตวมาคลุกฝุนเลน ซึ่งเปนทรายที่มีสีเหลืองเขม
ซึ่งทรายที่เกิดจากสึกกรอนของ cintrex material
ง. น้ํา สระน้ําของหงสดําหรือ บิลลาบอง ( Billabong ) เปนทะเลสาบที่ตื้น พื้นทําดวยคอนกรีตเพื่อ
ความสะดวกตอการทําความสะอาด มีลําธารที่ไหลจากพื้นที่แสดงสัตวโซนทุงหญาซาวันนา เขามาที่
lagoon ทางตอนใตและมีลําธารสายที่ 2 ตอจากทางดานเหนือที่เปนพื้นที่สวนแสดงวอลลาลูและนก
อีมูแตตองมีการบําบัดน้ํากอนที่จะเขามาที่สวนของหงสดํา
ทะเลทราย ( Desert )
คําบรรยายในสถานที่จริง ( Description of Actual Conditions )
ไมพุมจะขึ้นกระจัดกระจาย โดยไมจะมีลักษณะกิ่งกานจํานวนมากตั้งแตโดยเปนไมพุมทีม่ ี
ลักษณะขนาดเล็กเลี่ยไปตามพื้นดินและมีขนาดใบเล็กและหนาซึ่งจะเปนลักษณะเฉพาะของพืชที่เจริญ
ในทะเลทราย มีพืช 2 กลุมที่พบไดทั่วไป พืชอวบน้ํา ( succulent ) ที่มีการเก็บน้ําในกิ่งกานและมี
การเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว มีการผลิดอกเปนชวงเวลาประจําทุกป และ เมล็ดจะงอกออกเปนตน
ออน ทันที่ที่มีฝนตกหนัก ในชวงฤดูฝนการตกของฝนนอยและไมแนนอน ซึ่งอาจมีการตกเปนชวง
กระจายตามชวงเวลาของฤดูฝน ดินมีฤทธเปนดางเนื่องจากมีการระเหยของน้ําจากดินในปริมาณสูง
และมีน้ําเขามาทดแทนนอย ซึ่งจะเปนตัวจํากัดการเจริญเติบโตของพืชทัง่ ในแงปริมาณและจํานวน
ชนิดพันธุ
ลักษณะของชนิดพันธุพืชในพื้นที่ทะเลทรายจะประกอบดวย พืชที่มีลักษณะเชนนี้
1 ไมพุม-ใบเล็ก ( Acacia, Prosopia, Cercidium, Larrea, Commiphora )
2. พืชอิ่มน้ํา ( Opumtia, กระบองเพรช, Agave, Yucca, Aloe, Sanneviera, Crassula, euphorbiaและ
milkweeds )
3. พืชอายุสั้น หญา ( Mesembryanthemumและ ในกลุมของ Polemoniaceae และ Boraginceae )
( ยอหนา 3, ซาย, หนา 167, ang )
237

สัตวที่อยูในสิ่งแวดลอมในลักษณะเชนนี้จะมีกลไกรางกายและพฤติกรรมที่ปรับตัวที่จะ
สามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยใชน้ําในปริมาณนอย พบวาสัตวที่อาศัยอยูในทะเลทรายจะมีลักษณะของ
รางกายที่คลายกันแมจะอยูตางพื้นที่กัน เชน ขายาว ลําตัวขนาดกลาง หนูบางชนิดจะมีสีของลําตัว
คลายกับสีทรายในทะเลทราย หรือในสัตวที่คลายหนูที่มีหางยาวที่พบในทะเลทรายหลายแหง แต
สัตวเหลานี้ในการแบงกลุมของสัตวนั้นตางกลุมกัน เชน Kangaroo rat ในอเมริกาเหนือ เจโรบาส
และเจอรบิลของเอเชียและแอฟริกา Dasyures ของทวีปออสเตรเลีย ตัวอยางอื่นๆอีกเชน Kit foxes
ของทวีปอเมริกา fennecs ในทวีปแอฟริกา และ jack rabbit ในอเมริกาเหนือ , caviids ในทวีป
อเมริกาเหนือ , small kangaroo ในออสเตรเลีย โดยสัตวเลี้ยงลูกดวยนมสวนใหญจะหากินในเวลา
กลางคืน จะมีพฤติกรรมตางๆมากในชวงเวลาที่มีความชื้นสูงและเปนชวงที่มีนกลาเหยื่อนอย แตจะมี
ground squirrels ที่จะมีการเคลื่อนไหวในชวงที่มีอากาศรอนของเวลากลางวัน สัตวสวนใหญสีขน
ลําตัวจะกลมกลืนไปกับสีของสิ่งแวดลอมเชน สีทรายจางหรือสีทรายดํา เพื่อเปนการพรางสายตา
สัตวผูลา สัตวเลี้ยงเลื้อยคลานหลายชนิดสามารถปรับตัวอยูไดในสภาพอากาศและภูมิประเทศแบบ
ทะเลทราย
คําบรรยายสําหรับการจําลองถิ่นที่อยู ( Description of Simulated Habitats )
ฉากที่หนึ่ง Sonoran Desert
ไมพุมที่ขึ้นอยู 2 ขางทางของรองน้ําที่มีน้ําไหลผาน จะจําลองเอาลักษณะของพืชที่อยูพื้นที่
ของทะเลทรายโซนาราน เชน creosote bush ( Larrea ) และ mesquite ( Prosopis ) พืชหลายชนิดใน
กลุมของ Swordleave yucca ( yucca glauca ) Y. harrimaniae, Y whipplei ซึ่งเปนพืชในแถบมลรัฐ
ตะวันตกเฉียงใต ซึ่งพบไดนอยในมลรัฐซิแอตเทิล ปลูกรวมกับตะบองเพชรที่ทนหนาวไดดี เชน
opuntia ซึ่งเปนสวนที่ปลูกไวขางเสนทางของผูเที่ยวชม รองน้ําที่แหงะเปนดินวางๆ มีวัชพืชที่ปลิว
ตามลม ไมพุมที่ลําตนลมลงและถูกดินทับบางสวน เห็นรากของตนไมที่ถูกแรงน้ําพัดใหลมลง มี
ตะบองเพชรขนาดใหญรูปรางคลายถังเบียร ( Fero Cactus spp ) Ocotillo ( Fonquieria splendens ),
Cholla ( Opuntia spp )
ข. ดิน กอนกรวดจะเชื่อมประสานกับ คอนกรีต หรือดินซีเมนต หินภูเขาไฟสีแดงจะวางตัว
กระจัดกระจายตามพื้นที่มีหินโผลขึ้นมา การทําปูนปนที่มีพื้นผิวแบบทะเลทรายที่มีคุณสมบัติปองกัน
การขุดและกัดเซาะที่เกิดจากสัตว รวมทั้งการกัดเซาะที่เกิดจากน้ําฝน
พืชทะเลทรายจะไมเหมาะสมกับการปลุกในดินที่ชุมน้ํา แตจะเหมาะกับดินทรายที่มีการไหล
ผานของน้ําอยางรวดเร็ว ความตองการน้ําและปุยในชั้นดินที่อยูใตลงไป จะใชการควบคุมอัตโนมัติ
ดวยโดยการใชแทงที่ควบคุมความชื้นในดิน ในกรณีที่มีความชื้นในดินมากเกินไปก็จะทําใหน้ําไหล
ออกโดยการใช agriculture drain lines
การใชระบบผิวดินที่น้ําผานไมได ( impervious surface ) และ ระบบการใหน้ําในชั้น
238

ใตผิวดิน ( subsurface irrigation/drained ) ซึ่งจะเปนการลดการงอกของวัชพืชในชนิดที่เราไมตองให


เจริญเติบใตขึ้น ดังนั้นสวนของหนาดินจะตองใช ยาฆาวัชพืช (herbicide ) กอนที่วัชพืชจะเกิด
ฉากที่ 2 Barbary Sheep
ก.พืชพรรณ
- Dwart caragana and tamarisk
- พืชในกลุม low growing brooms ( Genista horrida ), G hispanica และ Cytisus battandieri
- Rockrose ( Cistus spp ) ก็เปนตัวเลือกที่ดี
- Thin desert Grass จะใชเปนตัวเลือกที่จะใชปลูกแทน blue fescue ( Festuca ovina glauca ) ปลูก
รวมกับกอนหินตามธรรมชาติ
- พืชที่กลาวมาขางตนทั้งหมดจะปลูกรวมกับดอกไมในตระกูล Composital ซึ่งเปนพืชที่เปนพืช
ทองถิ่นของเมดิเตอรเรเนียน ในทวีปแอฟริกา โดยปลูกในสวนจุดชมสัตว สวนที่เปนหญาควรปลูก
ในพื้นที่ของสัตว
ทุงหญาสเตรป ( Stepps )
คําบรรยายสภาพแทจริง พื้นที่นี้จะกระจายอยูภายในทวีป โดยพืชจะมีลักษณะลําตนสั้น ที่
ประกอบดวยหญาและพืชลมลุกหลากชนิด ซึ่งความหลากหลายของชนิดพันธุจะขึ้นอยูกับปริมาณ
ของน้ําฝน ตั้งแตพื้นที่โลงที่ประกอบดวยหญาลําตนสั้นที่ขึ้นหางๆกันหรือหญาลําตนสูงที่ขึ้นติดกัน
อยางหนาแนน
- ในพื้นที่แหงแลง bunchgrass จะมีมากกวาชนิดอื่น ทุงหญาสเตปจะเปนพื้นที่ทีมีสัตวกิน
พืชหลายชนิด และหญาจะเปนแหลงอาหารของสัตวกินพืชเหลานี้
- ในชวงฤดูใบไมผลิจะเปนชวงที่มีความชุมชื้นและเปนชวงที่มีการผลิดอกของพืชลมลุก
และพืชสวนใหญจะมีลําตนที่แหงในชวงทายของฤดูรอนโดยมีสีน้ําตาลที่จะเปนสีที่เดนกวาสีอื่นๆ
(ยอหนา1,ขวา, 168,ang )
- หญาลําตนสูงในพื้นที่ชุมชื้นเชน Andropogon, Panicum, Sorghastrum และ Spartina
- หญาที่มีความสูงปานกลางในพื้นที่ก่ํากึ่งระหวางพื้นที่ชุมชื้นและแหงแลง( intermediate
area ) จะประกอบดวย Andropogon, Stipa, Agropyron, Koeleria และ Oryzopsis
- หญาลําตนสั้นในพื้นที่แหงแลง Bucholoe Bouteloue , Poa และBromus และมีพืชลมลุกอีกหลาย
ชนิด
ทุงหญาสเตรปจะมีอากาศที่หนาวเย็นกวา เปนพื้นที่หากินของสัตวกีบขนาดใหญ ซึ่งจะมี
การเคลื่อนยายอพยพเปนชวงเวลาในแตละปขึ้นอยูกับปริมาณของอาหาร แตชนิดของสัตวกินพืชใน
ทุงหญาสเตรปจะนอยกวาในทุงหญาซาวันนา รวมทั้งชนิดของสัตวผูลาก็นอยกวา เชน wolf และ
ชนิดที่มีขนาดเล็กลงมา เชน coyote , jackal สิ่งที่เหมือนกับในทุงหญาซาวันนาคือการที่มีความ
หลากหลายในกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่กินพืชที่อาศัยอยูใตพื้นดิน ซึ่งบางชนิดอยูรวมกันเปนกลุม
239

สังคม ความหลากหลายของนกในทุงหญาสเตปจะต่ํากวาในทุงหญาซาวันนา ( ในสวนที่อยูต่ํากวา


เสนศูนยสูตร )
คําบรรยายการจําลองถิ่นที่อยู
ฉากที่ 1 Great Plain
ก. พืชพรรณ หญาที่มีลําตนสั้นในทุงหญาแพรี่ เชน
- buffalo grass ( Buchloe dactyloides )
- blue grama ( Bouteloua gracilis )
- little blue stem ( Andropogon scoparius )
- western wheat grass ( Agropyron amithii )
จะปลูกอยูทามกลางพืชลมลุกเชน lupines และชนิดอื่นๆที่อยูในตระกูลเดียวกัน โดยปลูกแนว
ดานขางพื้นที่ชมสัตวและทางเดินชมสัตว( public area ) ที่สัตวกินไมถึง ภายในพื้นที่ของสัตวเลือก
ปลูกพืชชนิดที่ทนทาน ปรับตัวไดดี เชน bent grass ( Agrontia spp ) Perennial rye (Lolium perene )
ซึ่งภาพที่เกิดขึ้นจะเห็นเปนภาพของฤดูใบไมผลิตลอดเวลา แตหญาจะมีการตายในชวงทายของฤดู
รอนเนื่องจากไมสามารถทนทานตอสภาพความแหงแลงได
ไมพุมเชน chockecherry (Prunusviginiana ) Saskatoon
serviceberry ( Amelanchier alnifolia ) และ wolf willow ( Elaegnus commutate ) จะปลูกบน north
– facing proteced slope และแหลงน้ําที่ปลูก aspen ( Populus tremuloides) และตนไมที่ทนแลงไดดี
เชน Sage ( Artemisia spp ) Cactus ( Opuntia spp ) ควรจะปลูกไวในดินทราย ในพื้นที่สวน
สาธารณะจะปลูก lodgepole pine ( Pinus contorta ) รวมกับ aspen โดยทั้งหมดนี้ใหอยูสวนดานนอก
ที่ไบซันและpronghorn กัดกินไมถึง
ฉากที่ 2 Patagonian stepps
ก. พืชพรรณ เปนพื้นที่มีเปนหญาขึ้นแยกกันเปนกอๆ (Tufted grassland )โดย 75 % จะปลูก
บนกอนกรวด
- ไมพุม thorny ( berberis darwini ) จะทําเปนแนวกันระหวางผูเที่ยวชมและพื้นที่ของสัตว
ฉากที่ 3 Maned wolf
ก. พืชพรรณ หญา 2 ชนิดคือ
1 หญาชนิดที่ขึ้นเปนกอและมีรูปทรงเตี้ย ( low tussock ) จากตนหญา fearhegrass ( Stipa spp ) มี
ความสูง 18 – 24 นิ้ว
2 Pampas grass ( Cortaderia selloana ) ที่มีความสูง 6-8 ฟุตที่จะรวมเปนทรงพุมหนาเพื่อบังรั้วและ
คอกกัก
- Lower fountain grass และหญา Orchard grass (Dactylis glomerata ) หญาเหลานี้จะชวยสรางภาพ
ใหเกิดเปนทุงโลง และเห็นเปนกอหญาที่ขึ้นเปนกอดูเหมือนเปนเสนยาวไปตามแนวราบของทุงหญา
240

ฉากที่ 4 Patagonian pond


ก. พืชพรรณตามริมฝง เปนพื้นที่ที่มีการผสมผสานกันระหวางตนกกที่มีความสูงของกอสูง
(การปลูกควรปลูกในกระถางเพื่อปองกันการขยายตัว ) เพื่อใหแนวชายฝงมองดูเปนกลุมๆ ของตนกก
และระหวางของตนกกจะปลูก low – growing rush ( Jumcus ) และ Sedges ( Carex ) โดยใหพืชที่
กลาวมาขึ้นไปตลอดแนวของสระ
ข. พืชพรรณที่อยูฉากหลังของชายฝง( อยูอีกฟากหนึ่งของสระ) ควรจะใชกอหญาที่มีทรงพุม
ต่ํา ( Low tufed grass ) เหมือนกับที่เคยใชใน Maned wolf Exhit การใชหญา tall pampas ที่มีลักษณะ
ลําตนสูง ( cortaderia ) จะไมคอยเหมาะสมกับ transiform southern pampas แตจะมององคประกอบ
ปกติของสวนที่จะอยูรวมกับ Maned wolf
-ในพื้นที่สวนแสดงสัตวและโดยรอบที่เปนทรงพุม การหวานเมล็ดหญาลงบนพื้นดินที่มีกอนกรวดที่
มีลมพัดมาอยางตอเนื่อง ทําใหวัตถุที่มีขนาดเล็กปลิวตามลมไป การปลูกหญาเปนกระจุกควรใชแผน
พลาสติกคลุมดินไวเพื่อปองกันการแยงพื้นที่จากวัชพืช
ค. น้ํา สระน้ํามีพื้นที่ 80*100 ฟุต ความลึกเฉลี่ยประมาณ 4 ฟุต โดยที่ผนังบอใหมีความชันไว เปน
การขัดขวางการเจริญเติบโตของวัชพืชที่จะเกาะตามผนัง กนสระอาจใชดินเหนียวหรือแผนพลาสติก
กันการรั่วซึมและถมทับอีกชั้นหนึ่งดวยทราย สระน้ําในปริมาตรขนาดนี้ไมจําเปนตองมีการเปลี่ยน
ถายน้ําเปนประจํา บริเวณทํารังสามารถทําไดหลายหลายแหงในบริเวณน้ําตื้น

Temperate Deciduous Forest


temperate zone n. each of the two belts of latitude between the torrid zone and the northern and southern frigid
zones.
deciduous /adj./1 (of a tree or shrub) shedding its leaves annually. Often contrasted with evergreen.
ก. การบรรยายสภาพแทจริง เปนลักษณะของปาที่มีตนไมคอนขางสูงและมีการผลัดใบของ
ตนไมในชวงฤดูหนาว ตนไมจะมีการแบงเปนชั้นตามลําดับความสูงในหลายชั้น โดยมีชั้นของพืช
ลมลุกและชั้นของไมพุม มีปริมาณของแสงผานคอนขางมากในชวงตนของฤดูใบไมผลิ โดยชวง
ระยะเวลาดังกลาวพืชลมลุกจะผลิดอกใหเห็น มีตนไมบางชนิดที่มีผลในลักษณะเปลือกแข็งและจะมี
การทิ้งผลในปริมาณมาก โดยจะมีตนสนเปนไมที่ครอบครองพื้นที่มากที่สุด ปารูปแบบนี้จะเปน
พื้นที่ที่อยูกึ่งกลางระหวางปาแบบไทกาและปาแบบทุงหญาสเตป
พื้นที่แบบนี้จะลักษณะหลากหลายแบบตั้งแตมีพืชชนิดเดียวเปนพืชหลักในพื้นที่จนถึงมีพืช
หลากหลายชนิด พืชที่พบไดบอย เชน Acer, Fagus, Quercus, Carya, Juglans, Fraxinus, populus,
salis และมีไมพุมอีกหลายชนิด บางชนิดไมมีการผลัดใบ มีพืชลมลุกหลากชนิดเชน Orchidacease,
Liliaceae, Ranunculaceae, Rosaceae, Sareifragaceae
( ยอหนา2,ซาย, 170,ang )
241

สัตวเลี้ยงลูกดวยนมจะมีพฤติกรรมนอยลงในชวงอากาศหนาวเย็น ในฤดูใบไมรวงมีคางคาว
บางชนิดและนกประมาณมากกวาครึ่งหนึ่งที่อาศัยอยูในปารูปแบบนี้ จะมีการอพยพยายถิ่นมาที่พื้นที่
บริเวณเสนศูนยสูตร และกลับมาใหมในฤดูใบไมผลิ มีการสะสมอาหารของสัตวบางชนิดสามารถทํา
ไดเนื่องจากอุณหภูมิที่ลดลง และเปนวิธีการปรับตัวที่สําคัญของสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมบางชนิด เชน
กระรอกที่จะเอาลูกนัทฝงไวในตนไมตระกูลบีชและเมเปล โดยปาชนิดนี้จะเปนที่อยูอาศัยของสัตวลี้
ยงลูกดวยนมขนาดใหญและสัตวกีบที่เปนเหยื่อ หนูขนาดเล็กและนกนานาชนิด
คําบรรยายการจําลองลักษณะของพื้นที่
ฉากที่ 1 นกน้ํา ของปาแบบ Temperate Deciduous Forest
ก. พืชพรรณ สวนแสดงนกน้ํา ( waterfowl exhibit ) พื้นที่โดยรอบสระน้ําจะปลูกตนไมที่มี
ในทองถิ่นที่มีลักษณะใบกวางและพืชลมลุกอยูใตตนไมใหญซึ่งจะคลุมพื้นดินไปจนถึงริมฝงน้ํา
พืชที่อยูบนผิวน้ําเชน water lilies ( Nymphace ), Spatterdock ( Nymphar advena ), Pondweed
( Potamongeton ), duckweed ( Lemna )
พืชชนิดที่โผลขึ้นมาเหนือน้ํา Cattail ( Typhalatifolia ), reed ( Scirpus ), rushes ( Juncus ) ,
arrow head ( Sagaittaria ) , Giant bur - reed ( Sparganium ), spiderlily ( Crinum americanum ),
Pickerel – weed ( Pontederia ), wild rice ( Zizania aquatica ), sedges (caren ), purple loosestrife
( Lythorum salicaria ) , buttonbush ZCephalanthus occidentalis ), fringed gentian (Gentiana
Crinita ), และ steeple – bush ( Spiraea tomentosa )
พื้นที่ไมพุม ตัวอยางพืชที่ปลูก willow ( Saliz discolor ), cranberry ( Viburnum trilobum ),
blueberry ( Vaccinium ), elderberry (Sambucus ), spicebush (Lindera benzoin ), sweet pepper bush
( Clethera ), black willow (Salix nigra ), red maple ( Acer rubrum )
ข. ภูมิประเทศ ( Terrain ) บึงน้ําจะเห็นแนวขอบเขตดวยพืชพรรณที่เปนพืชน้ําที่โผลพนจาก
ผิวน้ํา มีตนไมทรงพุมเตี้ยที่จะทําหนาที่เปนฉากและชวยบังรั้วที่อยูลอมรอบบึงน้ํา ตาขายที่คลุมอยู
ในพื้นที่ดานบนและพื้นที่โดยรอบ ขนาดของลวดตาขายขนาดเล็กและใหดึงแบบขึ้งตึง ซึ่งจะทําให
ตาขายที่คลุมพื้นที่สวนนี้มองเห็นไมชัดเจน พืชที่ปลูกภายในรั้วควรจะเปนแบบทรงพุมเตี้ย ใหแสง
ตามธรรมชาติผานเขามาโดยไมถูกกันแสงดวยตนไมสูง ลักษณะของบึงน้ําจะทําใหเกิดความแตกตาง
โดยมีตนไมที่โตเต็มที่อยูโดยรอบ
( ยอหนา3, ขวา,170, ang )
สวนแสดง swamp นี้จะมีความแตกตางจาก marsh โดย swamp จะประกอบดวยตนไมที่
เปนชนิดพันธุในปาเบญจพรรณ ที่เจริญเติบโตเต็มที่แลวที่สามารถขึ้นไดในระดับน้ําตื้น มีทั้งตนไม
ขนาดเล็กและตนไมขนาดใหญ มีทอนไมที่เกิดจากตนไมที่ลมลง มีกิ่งไมที่หักอยูริมสระ ที่ทําใหเกิด
ภาพปาไมที่ถูกน้ําทวม มองเห็นตนไมที่ถูกตัวบีเวอรกัดแทะแตยังไมเสร็จ เห็นเขื่อนของตัวบีเวอรที่
อยูไมหางออกไป มีไมลมลุกที่ขึ้นในพื้นที่น้ําตื้นๆ ที่อยูใตตนไมขนาดใหญได ยังมีสวนของหญาที่
242

ขึ้นบนเนินดิน ภาพโดยรวมของพืชพรรณจะเปนไมพุมมากกวาที่จะเปนหญาที่ขึ้นแลวมองดูคลายกับ
เปนพรมที่อยูใตตนไมแตละตน
ทางเดินและสะพานที่พาดผานสระน้ํา ควรจะแคบเทาที่จะเปนไปได แตตองใหการเดินผาน
ไดโดยสะดวก และเห็นภาพไดโดยรอบ เสนทางเดินใน สวนแสดงนกน้ํา ควรจะแคบเพื่อกระตุน
ลักษณะที่เปนปา ที่ไมมีการจัดการ ซึ่งจะสมบูรณถาใชเสนทางในลักษณะทางเดินเพียงทางเดียวไมมี
การเดินยอนกลับ
ค. น้ํา สระน้ําธรรมชาติและสระน้ําที่ตัวบีเวอรอาศัยอยูจะมีความลึกที่ผันแปรตั้งแต 2-4 ฟุต
แลวจะเชื่อมกับสระน้ําที่สรางดวย gunite ที่มีความลาดเอียงไปหาทอระบายน้ําทิ้ง ขอบดานบนของ
gunite จะต่ํากวาระดับน้ํา 12 นิ้ว สวนที่จมน้ําแตอยูเหนือ gunite จะถูกคลุมดวยเยื่อใยที่น้ําซึมผาน
ไมได ( impervious membrane ) และประกอบดวยดินผสมทรายกรวดเพื่อเปนพื้นที่สําหรับปลูกพืชที่
มีเปนกลุมที่ลําตนโผลพนน้ําขึ้นมา
ฉากที่ 2 Red Deer ของปาแบบ Temperate Deciduous Forest
ก.พืชพรรณ พืชที่ขึ้นในพื้นที่น้ําจะประกอบดวย bulrush ( Scirpus ), water lilies ( Nymphaea )
และมีพืชน้ําที่มีลักาณะขึ้นเปนกอ ๆ เชน ryegrassและ red fescue ( lolium perene )และ Festuca rubra
ไมมีไมพุมที่อยูภายในพื้นที่ที่กวางอยู แตจะปลูกไมพุมนอกพื้นที่ที่สัตวอยูเชน shrub dog wood
( Corum stolonifera )
ตนไมจะประกอบดวย white birch ( betula verrucosa ) ที่โรยตัวอยูเหนือคูน้ําบริเวณพื้นที่ชม
สัตว ตนไมเชน oak ( Ouercus robber ), beech (Fagus syhatica ) และ pine ( Pinus syhestris ) อยูบน
better drained slope พรอมกับมีปาสนที่หนาแนนที่จะชวยเพิ่มรมเงา ชวยบังรั้วที่มีอยูทั้งภายในและ
ภายนอกพื้นที่ของสัตว รวมทั้งบังลานจอดรถที่อยูดานหลังอีกดวย ลําตนของตนไมจะปองกันดวย
steel-reinforce synthetic fiberglass หรือ urethane ที่มีการปนเปนรูปเปลือกไม ที่จะยังทําใหตนไม
สามารถเจริญเติบโตไดเปนปกติ
ข.ภูมิประเทศ ( terrain ) ควรจะมีความลาดชันไปทางดานหลังเล็กนอยของสวนแสดงเพื่อชวยใหการ
ระบายน้ํา สําหรับปาไมแบบ upland forest type
ค. ดิน การระบายน้ําที่ดีโดยมีระบบการระบายน้ําแบบ under drainage ในพื้นที่ที่ต่ํากวาเพื่อปองกัน
การพังทลายของดิน เนื่องจากโครงสรางดินถูกทําลายจากการเหยียบย่ํา รวมทั้งการมีเนินเล็กของผิว
ดินก็จะชวยใหการระบายของดินดีขึ้น
ง. น้ํา สระน้ําที่มีแนวของสระน้ําอยูใกลจุดชมสัตว โดยความลึกในดานที่อยูใกลจุดชมสัตว
จะมีความลึก 4 ฟุต สรางดวยวัสดุคอนกรีต ใกลกับพื้นที่สัตวจะคอยๆตื้นขึ้นและมีดินที่จะชวยให
พืชที่อยูบนผิวน้ําและพืชที่โผลพนน้ําขึ้นมา ในสระน้ําไมตองมีระบบการหมุนเวียนน้ํา ไมตองมีการ
เปลี่ยนน้ําบอยๆ
243

Temperate Rain Forest


ก. คําบรรยายสภาพแทจริง เปนปาที่มีตนไมสูงที่สุดในโลก ซึ่งปาชนิดนี้จะอยูในพื้นที่
บริเวณริมชายฝงของมหาสมุทรแปซิฟกในทวีปอเมริกาเหนือ พืชพรรณที่เปนพืชเดนคือไมยืนตน
กลุมสน กลุมพืชที่อยูใตลงมาจากกลุมตนสนเชน ไมยืนตนบางชนิดที่ไมมีการผลัดใบ โดยมีไมพุม
และพืชลมลุกอยูบริเวณโดยรอบๆตนไม เนื่องจากมีปริมาณของแสงผานไดมากกวาปาดิบชื้น มี
ระดับความชื้นสูงขึ้นเนื่องจากมีฝนตกชุกและมีไอน้ําจากทะเล มีพืชในกลุมของ epiphytes อยู
หนาแนน รวมทั้งมีมอสและไลเคน ยังพบปาชนิดนี้ในออสเตรเลียและนิวซีแลนด ซึ่งจะเปนปาที่มี
ตนไมขึ้นอยางหนาแนน โดยตนไมสวนใหญจะเปนตนไมยืนตนและถามองอยางผิวเผินจะคลายปา
ดิบชื้น
ตนสนขนาดใหญจะเปนพืชที่พบเปนสวนใหญในพื้นทีข่ องทวีปอเมริกาเหนือ ชนิดของสน
ที่พบเชน Abies, Tsuga, Picea, Pseudotesuga, Thujaและ Sequoial จะเปนพืชที่พบไดบอย ตนไมที่
อยูบริเวณพื้นดิน เชน Alnus , Acer และไมพุม เชน Ericaceae จะเปนชนิดที่เดน พืชลมลุกที่อยูที่
พื้นดินใตตนไม เชน เฟรินหลากลายชนิดในกลุม ( Polypodiaceae ) และ Saxifragaceae, Liliaceae,
Orchidaceae และอีกหลายๆ แฟมิลี่
ในออสเตรเลียและนิวซีแลนด จะเปนยูคาลิปตัสและอกาติสจะเปนพืชที่พบมากที่สุด
ในพื้นที่แบบนี้จะไมมีพืชชนิดใดที่เปนพืชที่เดนที่สุดที่เปนสัญลักษณของปาแบบนี้ โดยมีพืช
หลายชนิดที่พบในปาแบบอื่นๆดวย มีเพียงในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนดที่แตกตางจากพื้นที่
อื่น ชนิดของพืชที่พบในเขตพื้นที่เขตตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ตามแนวชายฝงของ
มหาสมุทรแปซิฟกจะมีลักษณะใกลเคียงกับปา temperate deciduous ในพื้นที่ทวีปอเมริกาเหนือ
คําบรรยายลักษณะของการจําลองที่อยู
ฉากที่ 1 เสือคูกา ในพื้นปาแบบ Temperate Rain Forest
ก. พืชพรรณ ตนเมเปลที่มีใบขนาดใหญ ( Acer macrophyllum ) ทีมีลักษณะของกิ่งกานใหญที่เสือ
สามารถเกาะพักนอนได บริเวณพื้นดินใตตนไมมีเศษใบไม เศษไม กอนหินและมีพืชเชน Sword
fern( Polystichum munitum ) และ brackien ( Pteridium aquilinum ) ซึ่งจะมีลักษณะทรงพุมแผ
ออกไปเพื่อรับแดดซึ่งสองลงถึงพื้นดินเปนบางชวงของวัน ตอไมของตนสนจําพวก Abies ที่ยังมีราก
ชวยยึดตัวอยูและกองหินจะเปนที่ฝนเล็บของเสือ ใกลกันนั้นจะมีสายของตน hemlock herophylla
ซึ่งจะใชเปนสวนที่ชวยบัง รวมทั้งมีสวนพื้นดินไมเลื้อยเชน vine maple ( Acer circinatum ) ที่มี
ลักษณะใบสีสดใส ที่มีบางสวนพาดผานเหนือลําธารและเลื้อยไปคลุมกอนหิน ตลอดทัง้ หมดของ
สวนที่ต่ําลงมาของสวนแสดงจะเห็นทอนไมที่ลมอยูกับพื้นจะถูกปกคลุมดวยมอสและเฟรินท
Huckberry ( Vaccinium spp ) and Salal (Gaultheria shallon ) จะพบไดทั่วไป
244

ฉากที่ 2 Gray wolf Temperate Rain Forest


ก. พืชพรรณ ตนไมขนาดใหญซึ่งมีดินที่สิ่งแวดลอมชวยลดการเกิดดินแข็งตัว โดยพื้นที่
ใตตนไมจะมีเปลือกไมที่ลอกตัวตกลงมาสะสมอยูเปนจํานวนมาก ชนิดพืชที่ปลูกเลือกปลูกเปนชนิด
พืชที่อยูบริเวณที่เปลี่ยนแปลงจากพื้นที่รกรางมาเปนปา temperate rain forest เชน England spruce
( Picea englemanii ) และ aspen ( Populus tremuloides ) ที่ปกคลุมเนินเขาอยูซึ่งเมื่อมองสูงขึ้นไปจะ
เปนสวนแสดงของกวางคาริบู
ปลูก Maple ( Acer macrophyllum ) , Cedar ( Thuja plicata ) , Douglas fir ( Pseudotsuga menziesii )
และHemlock ( Tsuga hyterophylla ) โดยปลูกใหแนนในพืน้ ที่เชื่อมตอกับสวนแสดงกวางวาปติ
และเสือคูกาซึ่งอยูต่ําลงไป และปลูก Madrona ( Arbutus menziesii ) , bay laurel ( Umbellularia
californica ) และ Oak ( Quercus garryana ) ที่จะเปนพื้นที่เชื่อมตอกับ Chaparral exhibit
การปลูกพืชสวนใหญจะปลูกอยูตามแนวเสนรอบวงของสวนแสดง พื้นที่ที่สัตวอยูและนอก
เขตพื้นที่สัตว การปลูกไมพุมและพืชใตตนไมใหญ ควรจะอยูในระดับที่จํากัดเพื่อไมให wolve ใช
เปนที่ซอนตัว การปลูกพืชคลุมดินใหหลีกเลี่ยงชนิดที่มี fox tail และดอกไมปาที่มีลักษณะเปนตนเฟ
รินทขนาดใหญ คูและรั้วควรปลูก nettle, blackberry และ birair เพื่อไมให wolf ใชเปนที่หลบซอน

ฉากที่3 wapiti
ก.พืชพรรณ ตนไมที่อยูในพื้นที่ของสัตวควรจะถูกปองกันดวยการใชfiberglass ที่จะทําหนาที่เปน
เปลือกนอก การปลูกพืชกลุมไมเลื้อยเพื่อปกคลุมกําแพงและรั้ว Bank of salal (Gaultheria shallon ) ,
hackberry ( Vaccinum spp.), ocean spray ( Holodiscus discolor ) , sword fern ( Polystichum
munitum )
พืชหลักในพื้นที่ที่จําลองถิ่นที่อยูของกวางวาปติอยูจะเปนหญา ซึ่งจะเปนพื้นที่เปดโลง ซึ่งจะแตกตาง
โดยที่จะลอมรอบสวนแสดงและพื้นที่ทางเดินชมสัตวที่จะปลูกตนไมใหหนาแนน
ข. น้ํา มีลําธารขนาดใหญ ไดยินเสียงน้ําไหลและเสียงน้ําที่ตกจากหนาผา ในบริเวณที่ใกลกับสายน้ํา
ผานจะมีมอสและเฟรินทเกาะขางๆ จากจุดชมวิวจะเนหนาผาสูง 6-8 ฟุต จากจุดชมจะเห็นสายน้ําที่
ไหลตอไปยังเขื่อนของบีเวอร มีลําธารสายที่ 2 ที่เล็กที่เงียบกวาสายแรกที่ผานลงมาที่สระน้ําที่มี
ขนาดเล็กกวา

You might also like