การสื่อสารทางการเมืองแบบตะวันออก

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 12

รายงานการศึกษา

อิทธิพลแนวคิดตะวันออกกับการเมืองการ
ปกครอง

โดย
นายสุระชัย ชูผกา
เลขทะบียน 5007300030

เสนอ
2

รศ.ดร. สุรัตน์ เมธีกุล

รายงานนี เ้ ป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาวิชาการสื่อสาร


และความคิดทางการเมือง
(วส.811)

ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2550

อิทธิพลแนวคิดตะวันออกกับการเมืองการปกครอง
สุระชัย ชูผกา

ความสำาคัญแห่งแนวคิดทางการเมืองตะวันออก

ปั จจุบันหลายประเทศในเอเชียได้ปรับเปลีย
่ นระบอบ
การเมืองการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยตามหลักการและ
3

แนวคิดที่สอดคล้องกับปรัชญาเสรีนิยมจากตะวันตก ซึ่งรวมถึง
ประเทศไทยที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองจาก
ระบอบสมบ่รณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐ
สภาเมื่อพ.ศ. 2475 จวบจนปั จจุบัน
แม้สังคมประเทศในเอเชียได้ปรับเปลี่ยนระบบสังคม
การเมืองสู่ความเป็ นประชาธิปไตยทีส
่ อดคล้องกับทิศทางการ
พัฒนาเศรษฐกิจในระบบทุนนิยม แตูรากฐานมรดกทาง
วัฒนธรรมแบบตะวันออกไมูวูาจะเป็ นแนวคิดทางด้านศาสนา
ปรัชญา ขนบประเพณีที่สืบทอดมาแตูครัง้ โบราณกาลก็ยังคงฝั ง
ลึกอยู่ตัวบุคคลที่ขับเคลื่อนระบบสังคมการเมืองแบบแยกแยะได้
ยาก
ผลพวงแหูงการปะทะสังสรรค์ของหลักการประชาธิปไตยที่
นำ าเข้าจากตะวันตกกับรากฐานวัฒนธรรมตะวันออกมักปรากฏให้
ได้เห็นอยู่เสมอๆ ไมูวูาจะเป็ นการสาบานตูอหน้ าพระพุทธร่ปของ
นั กการเมืองวูาจะไมูซ้ ือเสียงในการเลือกตัง้ ทัว
่ ไปเพื่อเรียกความ
เชื่อมัน
่ จากประชาชน การกราบไหว้พระภ่มิเจ้าที่กูอนเข้ารับ
ตำาแหนู งรัฐมนตรีในกระทรวงตูางๆ ตามความเชื่อวูาจะเป็ นสิริ
มงคลของนั กการเมืองไทย หรือการต้องไปเคารพศาลเจ้า
บรรพบุรุษที่เสียชีวิตในชูวงสงครามโลกของนายกรัฐมนตรีของ
ประเทศญี่ปูุนที่แสดงถึงความศรัทธาและเคารพบรรบุรุษแม้จะ
เรื่องนี้จะเป็ นประเด็นขัดแย้งทางการเมืองระหวูางประเทศกับจีน
ก็ตาม
4

แบบอยูางที่กลูาวมา ล้วนไมูจำาเป็ นในระบอบประชาธิปไตย


แตูเป็ นสิ่งที่ขาดไมูได้ในการดำารงอยู่ของสังคมประเทศนั น
้ ๆ จน
ไมูอาจกลูาวได้วูาสังคมการเมืองของประเทศในเอเชียทีย
่ ึดตาม
ระบอบประชาธิปไตยในเชิงเนื้ อหาและร่ปแบบจะดำาเนิ นไปใน
ทิศทางที่สอดคล้องกับหลักการและแนวคิดประชาธิปไตยของ
ประเทศต้นกำาเนิ ดในสังคมตะวันตก หากดำาเนิ นไปอยูางผสาน
สอดคล้องกับเลือดเนื้ อทางความคิด ความเชื่อแบบตะวันออกเป็ น
สำาคัญ
รายงานฉบับนี้จึงมูุงทบทวนรากฐานคติความเชื่อในสังคม
ตะวันออกที่ได้สูงผลตูอความเป็ นไปในระบอบการเมืองการ
ปกครอง โดยเลือกเน้ นมองผูานจากบางชูวงตอนของสังคมไทย
และญี่ปูน
ุ ที่มีพัฒนาทางสังคมการเมืองในทิศทางเดียวกัน เพื่อ
ค้นหาแงูมุมการดำารงอยู่ของแนวคิดทางการเมืองแบบตะวันออก
ในระบบประชาธิปไตยของประเทศ

แนวคิด พราหมณ์ -พุทธกับสังคมการเมืองไทย

การกำาเนิ ดขึ้นของอาณาจักรสุโขทัย ได้ใช้เงื่อนไขทางพุทธ


ศาสนามาเป็ นแกูนกลางในการยึดโยงผ้่คนเข้าหากันในสมัย
5

อาณาจักรสุโขทัยรูุงเรือง ผ้่ปกครองของอาณาจักรถึงขนาดมีการ
เชิญพระจากประเทศศรีลังกามาเข้ารูวมพิธีทางศาสนาที่วังจัดขึ้น
จากการศึกษาของ ประภัสสร เธียรปั ญญา(2550)ทีร่ ะบุวูา
นครรัฐอิสระตูางๆ ในลูุมแมูน้ำ าเจ้าพระยาร้่จักทัง้ ศาสนาพุทธและ
พราหมณ์มาเป็ นเวลานานแตูได้เลือกนั บถือศาสนาพุทธนิ กาย
เถรวาท เพื่อใช้เป็ นหลักในการรวบรวมผ้่คนหลายชนเผูาและเชื้อ
ชาติเข้ามาอยู่ในสังคมของนครรัฐเดียวกันได้ หลักคำาสอนของ
ศาสนาพุทธเถรวาทสามารถทำาให้ผีบรรพบุรุษของชนเผูาตูางๆ
อยู่รูวมกันได้อยูางสงบสุข และมีสิ่งยึดเหนี่ ยวอันเดียวกันผสาน
สังคมหลายวัฒนธรรมเข้ามาเป็ นหนึ่ งเดียวได้
อยูางไรก็ตามกูอนกำาเนิ ดอาณาจักรอยุธยานั น
้ ขอมหรือ
เขมรเป็ นเจ้าอาณาจักรในพื้นที่แถบลูุมภาคกลางของไทยมา
ตัง้ แตูกูอนศตวรรษที่ 11 และเมื่อถึงราวกลางศตวรรษที่ 17
ลพบุรีได้กลายเป็ นเมืองศ่นย์การปกครองในแถบนี้ โดยยึดหลัก
ความเชื่อในทางศาสนาพราหมณ์ที่ถือวูาผ้่ปกครองเป็ นตัวแทน
ของเทพ ตลอดจนยึดคติทางพราหมณ์ภายใต้แนวคิดของศาสนา
ฮินด่แบบเขมรเจ้าผ้่ปกครอง มีมีการแบูงชนชัน
้ หรือระบบไพรูกับ
นายอันเป็ นโครงสร้างทางสังคม
ขณะเดียวกันอิทธิพลแนวคิดเกี่ยวกับพุทธศาสนาที่มีความ
เจริญรูุงเรืองจากอาณาจักรสุโขทัยก็ได้แผูเข้ามาผสมผสานทาง
สังคมจนเป็ นเงื่อนไขที่นำาไปสู่การเปลี่ยนโฉมระบบการเมืองใน
ยุคสมัยนั น
้ และเป็ นจุดเริ่มต้นของอาณาจักรอยุธยา
6

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (Kennon Breazeale :1999) นั ก


วิชาการผ้่เชี่ยวชาญที่สุดคนหนึ่ งของไทยให้คำาอธิบายของจุด
กำาเนิ ดอยุธยาวูา ผ้่นำาของลพบุรีได้ขยายอาณาเขตมาใช้อยุธยา
เป็ นเมืองทูาสำาคัญเพื่อมูุงค้าขายทางทะเลกับตูางชาติ ซึ่งเป็ นการ
เปิ ดพื้นที่ให้เหลูาพูอค้า ประชาชนผ้่มีความชำานาญทางการค้าได้
เข้ามามีบทบาท และเป็ นสูวนหนุนนำ าไปสู่การกำาเนิ ดขึ้นของ
อาณาจักรอยุธยาในศตวรรษที่ 19
ในประเด็นนี้สุจิตต์ วงษ์เทศ (กรุงเทพธุรกิจ: 2551) ศิลปิ น
แหูงชาติผ้่ครำ่าหวอดอยู่กับการศึกษาประวัติศาสตร์สังคมการเมือง
ไทย ชี้ประเด็นวูา
“ประเด็นอยูท
ู ี่อยุธยาเปลีย
่ นศาสนาคือเดิมทีอยุธยานับถือ
ฮินดูกับพุทธมหายานจากละโว้ เราเรียกวูาขอม วันดีคืนดี
มีอโยธยาศรีรามเทพนคร เกิดเป็ นพุทธเถรวาทขึ้นมา ก็
เพราะพูอค้าขึ้นเป็ นกษัตริย์ เถราวาทเปิ ดชูองให้พูอค้าขึ้น
เป็ นกษัตริย์ได้ เขาเรียกวูาผู้มีบุญ ถ้าเป็ นพราหมณ์กับ
มหายานนี่กลูุมอื่นไมูมีทางเป็ นเจ้าได้”
(กรุงเทพธุรกิจ,จุดประกาย 1 ม.ค. 2551. กำาพืด
อยุธยา ภาคพลเมือง น 1)

ร่ปลักษณ์ทางการปกครองของอยุธยาได้รับอิทธิพลแหูงการ
ผสมผสานอยูางชัดเจนระหวูางศาสนาฮินด่ กับพุทธศาสนา ดังที่
David K. Wyatt (1996) เน้ นให้เห็นอิทธิพลดังกลูาวที่ปรากฏ
7

ผูานพระนามของปฐมกษัตริย์แหูงอยุธยาที่ใช้ช่ ือวูา “รามาธิบดี”


พร้อมกับการจัดให้มีการจัดพระราชพิธีด่ ืมนำ้ าพิพัฒน์ สัตยาขึ้นซึ่ง
เป็ นไปตามลักษณะพิธีการกวนเกษียรสมุทรในคติพราหมณ์ ขณะ
เดียวกันกษัติรย์ก็นับถือและให้ความเคาราพตูอพุทธศาสนาเป็ น
อยูางยิ่ง ดังเห็นได้วูาในอาณาเขตของอยุธยามีการสร้างวัดไว้ใน
วังเป็ นไปตาคติพุทธศาสนาในการสร้างพระบรมาติเจดีย์ไว้กลาง
เมือง และที่ตูางๆรอบอาณาเขตอยูางกว้างขวาง
ลักษณะดังกลูาวเป็ นสูวนสำาคัญที่ผ้่ปกครองแหูงอยุธยา
เลือกใช้คติพราหมณ์มาสถาปนาอำานาจแหูงการปกครองในฐานะ
สมมติเทพ ซึ่งมีความชอบธรรมอยูางส่งสุดในการปกครองผ้่คน
และคัดค้านอำานาจจากเขมรในฐานะที่ผ้่ปกครองก็มีสถานะเดียว
กับผ้่ปกครองแหูงเขมร แตูในเวลาเดียวกันการให้ความสำาคัญตูอ
ศาสนาพุทธและปรับเอาคติพท
ุ ธมาผสมกับคติพราหมณ์ในการ
ควบคุมกำาลังคนของอาณาจักร โดยเห็นได้จากการสืบทอดระบบ
นาย กับไพรูมาจากอาณาจักรละโว้ แตูก็เปิ ดให้มีการเลื่อนลำาดับ
้ ได้ ไมูวูาจะเป็ นเรื่องยศ บรรดาศักดิ ์ ตลอดจนการ
จากชนชัน
บัญญัติกฎมณเฑียรบาล แม้แตูหากไพรูได้กระทำาความดีในทาง
หนึ่ งทางใดอันเป็ นไปในทางทีส
่ อดคล้องกับหลักธรรมะการทำาดี
ได้ดี ทำาชัว
่ ได้ชัว
่ หาใชูใช้ระบบวรรณะยึดโยงผ้่คนอยูางตายตัวไมู
การผสมผสานคติทางพราหมณ์ฮินด่ และพุทธศาสนาได้
ดำารงอยู่เรื่อยมาในยุคอยุธยา ดังที่สุจิตต์ วงษ์เทศขนานนามวูา
“ความเป็ นอยุธยาเป็ นเบ้าหลอมรวมสุวรรณภ่มิ ทวารวดี มัน
ตกผลึกที่นี่ เป็ นรัฐจารีตรัฐสุดท้ายกูอนจะขึ้นเป็ นรัฐสมัยใหมู สิ่ง
8

ที่เรียกวูาจารีตประเพณีดัง้ เดิมมาจากไหนก็มาจากอยุธยา”
(กรุงเทพธุรกิจ: อ้างแล้ว)
แนวคิดแหูงการผสมผสานคติดังกลูาวได้มีการปรับ
ประยุกต์ข้ ึนใหมูอีกครัง้ เพื่อการรับใช้สังคมการเมืองไทยอีกครัง้
ในการการสถาปนายุคสมัยรัตนโกสินทร์ผูานระบบกฎหมายตรา
สามดวง ซึ่งปภัสสร (2550) ได้ระบุวูาเป็ นแหลูงรวมจักรวาล
วิทยาสยามของทัง้ พุทธเป็ นแกนหลัก และมีความเชื่อทางด้าน
พราหมณ์และผีมาหนุนเสริม โดยใช้อำานาจของกฎแหูงกรรมใน
พุทธศาสนาคอยควบคุมคนที่เน้ นสภาพที่เป็ นอยู่ในชาตินี้เป็ นผล
จากการกระทำาในชาติที่แล้ว และให้ทำาบุญหวังผลในชาติหน้ า
ผูานข้อบัญญัติและคำาอธิบายในตัวกฎหมายตราสามดวงหมวด
ตูางๆ
ขณะเดียวกันกฎหมายตราสามดวงได้อำานวยพลังอำานาจ
จากเทพเจ้าจากคติพราหมณ์มาหนุนนำ าอำานาจการปกครองของ
กษัตริย์พร้อมเปิ ดพื้นที่ดลบันดาลให้ผ้่บ่ชาได้ประสบความสำาเร็จ
ไปด้วย และมีคติความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีบรรพบุรุษมาให้ความ
คุ้มครองระดับครัวเรือนอยูางสอดประสาน
จากลักษณะดังกลูาวจึงเห็นได้วูาผ้่ปกครองของไทยได้
สถาปนากฎหมายตราสามดวงโดยผสมผสานคติความเชื่อที่ดำารง
อยู่และที่มีมาแตูโบราณกาลเพื่อหนุนเสริมอำานาจของชนชัน

ปกครองและเป็ นเครื่องมือในการให้อำานาจความชอบธรรมใน
การกระทำาการควบคุมผ้่คนและดำารงการยอมรับในสถานภาพ
แหูงสถาบันปกครองส่งสุดตูอสังคมที่ดำารงอยู่มาจวบจนปั จจุบัน
9

แนวคิดขงจือ
้ กับสังคมการเมืองญี่ปุ่น

แนวคิดของสำานั กขงจื้อ (Confucious)หรือเรียกอีกอยูางวูา


สำานั กหยู่ มีแนวความคิดทางการเมืองการปกครองแบบจารีต
หรือประเพณีนิยมจีมีขงจื้อเป็ นผ้่กูอตัง้ สำานั กคิดนี้ มีหลักคิดเน้ น
ในหลักปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับฐานะ ตำาแหนู ง หน้ าทีท
่ ี่ตนมีอยู่
โดยต้องทำาหน้ าที่ให้ถ่กต้อง ตามหลักประเพณี ศีลธรรมที่มีแตู
โบราณ ตลอดจนเน้ นให้ทุกฝู ายรักษาหลักคุณธรรม การสร้าง
สำานึ กผิดชอบชัว
่ ดี ความร้่สึกละอายตูอความชัว
่ ผ้่ปกครองต้องซื่
สัตย์เห็นแกูคุณธรรมและต้องสร้างความนู าเชื่อถือให้เกิดขึ้นแกูผ้่
ใต้ปกครองเป็ นสำาคัญ(สุโขทัยธรรมาธิราช : 2549 น. 216-217)
ในประเทศญี่ปูุนนั กวิชาการที่สนใจการศึกษาอิทธิพล
ปรัชญาขงจื้ออยูาง Nisida (Christopher : 2005) ระบุวูา ตัง้ แตู
ยุคโตกุกาวาเป็ นต้นมาได้มีการนำ าเอาหลักแนวคิดของเหลูา
ปรัชญาเมธีสำานั กขงจื้อในประเทศญี่ปูุนเข้ามาเป็ นแนวปฏิบัติของ
กลูุมโชกุนฝู ายตูางๆ จนกลายเป็ นกุญแจสำาคัญในการกำาหนดขึ้น
เป็ นหลักกฎหมายส่งสุดของญี่ปูุนเพื่อสร้างเสถียรภาพและความ
เป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันให้กับสังคมญี่ปูุน โดยกฎหมายส่งสุดอัน
ถือได้วูาเป็ นรัฐธรรมน่ญของประเทศได้เน้ นหลักปฏิบัติในเรื่อง
ของระบบอาวุโส และการแบูงลำาดับขัน
้ ในตำาแหนู งหน้ าที่ความรับ
ผิดชอบ ตลอดจนการยึดในหลักความมีระเบียบวินัยในการ
ปฏิบัติตูอตนเองและผ้่อ่ ืน และการมูุงสร้างสังคมแหูงความเป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันอยูางสันติสข
ุ อันเป็ นหลักสำาคัญของปรัชญา
10

ขงจื้อซึ่งพัฒนาสอดคล้องขึ้นมาพร้อมๆ กับวิถีซาม่ไรเป็ นอยูางยิ่ง


จึงทำาให้หลักคิดของขงจื้อได้กระจายตัวไปยังผ้่คนในสังคม
ลักษณะการประพฤติปฏิบัติตามวิถีขงจื้อได้กลายมาเป็ น
สูวนหนึ่ งของการวางระบบอาวุโส ความมูุงมัน
่ อดทนตูอการ
ปฏิบัติตามหน้ าที่และภาระกิจ ตลอดจนการสำานึ กละอายตูอการก
ระทำาความผิด การยึดมัน
่ ในระบบอาวุโสและระบบคุณธรรมตูางๆ
ยังคงเป็ นที่สืบทอดสู่สังคมการเมืองญี่ปูุนตัง้ แตูอดีตจนถึงใน
ปั จจุบัน ดังเห็นได้จากลักษณะการทำางานอยูางมูุงมัน
่ ของคน
ญี่ปูุน การให้ความสำาคัญกับความจงรักภักดีตูอระบบงานหรือ
หนู วยงานต้นสังกัดซึ่งจะคอยด่แลให้ความคุ้มครอง การให้ความ
นั บถืออยูางส่งสุดตูอบรรพบุรุษ เจ้านาย หัวหน้ างาน อยูางเป็ น
ลำาดับขัน
้ ตูางๆ แนวปรัชญาขงจื้อจึงถือได้วูาเป็ นหลักสำาคัญที่ทุก
ฝู ายยึดถือ และเป็ นสิ่งที่แทรกซึมอยู่วิถีที่ใช้กำากับควบคุมผ้่คน
ทุกฝู ายให้ดำารงอยู่รูวมกันตัง้ แตูในระบบเล็กจนถึงระบบใหญู

จากการศึกษาที่ผูานมาได้แสดงให้เห็นอยูางเดูนชัดแล้ววูา
แนวความคิดและหลักความเชื่อตูางๆ ของผู้คนในแถบถิ่นเอเซีย
ไมูวูาจะเป็ นความเชื่อในทางศาสนาพุทธ คติพราหมณ์ และ
ปรัชญาขงจื้อ นับเป็ นสูวนหนึ่งในการกลูอมเกลาและขับเคลื่อน
ความเป็ นไปในสังคมการเมือง ทัง้ ผูานทางเงื่อนกำาหนดจากฝู าย
ปกครอง ระบบกฎหมาย วิถีปฏิบัติ ตลอดจนความรู้สึกนึกคิด
ของผู้คนในสังคม ที่ไมูวูาจะมีระบบการปกครองในรูปแบบทัน
11

สมัยอยูางไร แนวคิดตะวันออกที่กลูาวมาล้วนเป็ นแกูนแท้แหูง


รูปแบบการเมืองการปกครองทัง้ สิ้น

หนั งสืออ้างอิง

กรุงเทพธุรกิจ,จุดประกายศิลปะวัฒนธรรม 1 มกราคม พ.ศ.


2551.กำาพืดอยุธยา ภาคพลเมือง.

ประภัสสร เธียรปั ญญา. จักรวาลวิทยาสยาม ความเชื่อผสมผสาน


พุทธ-พราหมณ์-ผี จาก
กฎหมายตราสามดวง. เอกสารประกอบการอภิปรายในการ
สัมมนาทางวิชาการเรื่อง กติกาและอำานาจในสังคมไทย.
โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รูวมกับโครงการ
ปริญญาเอกสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 25
กันยายน พ.ศ. 2550.

สุโขทัยธรรมาธิราช. ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิดทางการเมือง
และสังคม หนู วยที่ 1-7.
สำานั กพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครัง้ ที่ 2
พ.ศ. 2549.
12

Christopher S Goto-Jones. Political Philosophy in Japan


Nishida, the Kyoto School and
Co-Prosperity. 2005. London. Routledge.

Watt, David K. Studies in Thai History. 1996.


SilkwormBook. Bangkok.

Kennon Breazeale, editor. From Japan to Arabia:


Ayutthaya’s Maritime Relation with
Asia. 1999. The Foundation for the Promotion of
Social Science and Humanities Textbooks Project.

You might also like