Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 16

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 5 แรง


และการเคลื่อนที่
เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง จำานวน 2
ชัว่ โมง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่
2 ปี การศึกษา 2552
ผู้สอน นางสาววราภรณ์ โทพิลา โรงเรียนวัดเขา
ปิ่ นทอง
...................................................................................................
....................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 4.1
เข้ า ใจธรรมชาติ ข องแรงแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรง
นิ วเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความร้้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนร้้และนำาความร้้ไปใช้ประโยชน์อย่างถ้กต้องและมีคุณธรรม

2. ผลการเรียนรูท
้ ่ีคาดหวัง
อธิบายความหมายของแรง จำา แนกและอธิบายลักษณะของแรง
ชนิ ดต่างๆ
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของแรงและแรงเสียดทานได้
2. จำาแนกและอธิบายลักษณะของแรงชนิ ดต่างๆ ได้

4. สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการดำา เนิ น ชีวิตในปั จจุ บัน สิ่งที่จะเข้ามามีบทบาทและ
เกี่ยวข้องอย่้เกือบตลอดเวลาคือ แรง และไม่จำาเป็ นว่าต้องมีการกระทำา
เท่ า นั้ นจึ ง จะมี แ รงได้ วั ต ถุ ท่ี อ ย่้ น่ิ ง หรือ กำา ลั ง เคลื่ อนที่ ก็ มี แ รงกระทำา
เช่น รถยนต์ท่ีจอดอย่้มีแรงดึงด้ดของโลกมากระทำา หากรถยนต์กำาลัง
เคลื่ อนที่ จ ะมี แ รงฉุ ด ของเครื่ องยนต์ แรงเสี ย ดทานกั บ พื้ น และ
แรงดึงด้ดของโลกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เป็ นต้น
แรง (force) จึงหมายถึง สิ่งที่ทำาให้วัตถุเปลี่ยนสภาพและลักษณะ
ของการเคลื่อนที่ เช่น เริม
่ เคลื่อนที่ เคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลง หรือหยุด
นิ่ ง เปลี่ ย นทิ ศทางการเคลื่ อนที่ หรือ เปลี่ ย นร้ ปร่ าง แรงมี หลายชนิ ด
เช่ น แรงดึ ง แรงผลั ก แรงดั น แรงเสี ย ดทาน แรงดึ ง ด้ ด ของโลก
เป็ นต้น

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำาเขูาส่้บทเรียน
1.ผ้ส
้ อนนำาภาพทีเ่ กีย
่ วข้องกับการทำากิจกรรมต่างๆ ในชีวต
ิ ประจำา
วันให้นก
ั เรียนศึกษาและอภิปราย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
 ว่ า ว มี ก า ร เ ป ลี่ ย น ทิ ศ ท า ง
การเคลื่ อนที่ ได้ เนื่ องจากอะไร
แนวตอบ แ ร ง ดึ ง ห รื อ แร ง ดั น
คนเล่นว่าว

 จากภาพการบั ง คั บ รถม้ า ให้


เคลื่ อนที่ ไปในทิ ศ ทางต่ างๆ หรือหยุด
การเคลื่อนที่ อะไรเป็ นสาเหตุทท
่ี ำาให้มา้
หยุดการเคลื่อนที่
แนวตอบ แรงดึง รถม้า

 ส า เ ห ตุ ท่ี ทำา ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้
สว่านเจาะลงบนเนื้ อไม้ได้ นั กเรียนคิด
ว่าน่าจะมีแรงใดเข้ามาเกีย
่ วข้อง
แนวตอบ แรงดัน แรงฉีก หรือ
แรงบิด
สว่านเจาะไม้
2. คร้แจ้งจุดประสงค์การเรียนร้้
5.2 ขั้นสอน
1. คร้แบ่งกลุ่มนั กเรียน กลุ่มละ 4 คน โดยคละเพศและ
ความสามารถแล้วกำาหนดให้มีหัวหน้ากลุ่ม และรองหัวหน้ากลุ่ม
2. คร้ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ มศึ กษาเรื่อง แรงและชนิ ดของ
แรง จากใบความร้้ ท่ี 1 เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง และจากหนั ง สื อ
เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 หน่วยการเรียนร้้ที่ 5
เรื่อง แรงและแรงเสียดทาน
3. นั กเรีย นศึกษาพร้อ มทั้ งทำา ใบงานที่ 1 เรื่อง แรงและ
ชนิ ดของแรง โดยอภิปราย และสรุปวิธีการทดลอง
4.นั กเรียนแต่ละกลุ่มอภิปราย เพื่อสรุปผลการทดลองตาม
ใบงานที่ 1 โดยคร้แนะแนวทางในการสรุป
5. นั กเรียนอภิปรายผลการทดลองหน้าชั้นเรียน
5.3 ขั้นสรุป
1. คร้และนั กเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง แรงและชนิ ดของแรง
แนวสรุป แรง คือ สิ่งที่ทำาให้วัตถุเปลี่ยนสภาพและ
ลักษณะของการเคลื่อนที่ แรงมีหลายชนิ ด เช่น แรงดึง แรงผลัก แรง
ดัน แรงเสียดทาน เป็ นต้น
2. คร้เปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

6. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1. หนั งสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

1 หน่วยการเรียนร้้ที่ 5 เรื่อง แรงและแรงเสียดทาน


2. ใบความร้้ท่ี 1 เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง
3. ใบงานที่ 1 เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง
6.2 แหล่งการเรียนรู้
-

7. การวัดผลและการประเมินผล
7.1 วิธีการวัดและประเมินผล
ตรวจใบงานที่ 1 เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง
7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล
ใบงานที่ 1 เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง
7.3 เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใบงาน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 จึงจะถือว่า
ผ่านเกณฑ์

8. บันทึกผลหลังสอน
8.1 ผลการสอน
.....................................................................................................
..............................................................................................................
.............................................................................................................

8.2 ปั ญหา / อุปสรรค


.....................................................................................................
..............................................................................................................
.........................................................................................................
8.3 ขูอเสนอแนะ / แนวทางแกูไข
.....................................................................................................
..............................................................................................................
.............................................................................................................

ลงชื่อ ..............................
....................ผ้้สอน

(..................................................)
วัน
ที่.......เดือน.....................พ.ศ. ............
ใบความรู้
ที่ 1 ด
แรงและชนิ

กิจกรรมการดำา เนิ น ชีวิตในปั จจุ บัน สิ่งที่จะเข้ามามีบทบาทและ


เกี่ย วข้องอย่้ เ กื อ บตลอดเวลา คื อ แรง และไม่ ใ ช่ ว่ าต้ อ งมี การกระทำา
เท่านั้ นจึงจะมีแรงได้ วัตถุท่ีอย่้น่ิ งหรือกำา ลังเคลื่อนที่ก็มีแรงมากระทำา
เช่น รถยนต์ท่ี จอดอย่้มีแรงดึ ง ด้ดของโลกมากระทำา ถ้ารถยนต์ กำา ลั ง
เคลื่ อนที่ จ ะมี แ รงฉุ ด ของเครื่ องยนต์ แรงเสี ย ดทานกั บ พื้ น และ
แรงดึงด้ดของโลกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เป็ นต้น
แรง (force) หมายถึ ง สิ่งที่ ทำา ให้ วัตถุเ ปลี่ ยนสภาพและลักษณะ
ของการเคลื่ อนที่ เช่ น เริ่ม เคลื่ อนที่ เคลื่ อนที่ เ ร็ ว ขึ้ น ช้ า ลง หยุ ด นิ่ ง
เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนร้ปร่าง แรงมีหลายชนิ ด เช่น
แรงดึง แรงผลัก แรงดัน แรงเสียดทาน แรงดึงด้ดของโลก เป็ นต้น
ปริมาณของแรงทีก
่ ระทำาต่อวัตถุในทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ เป็ นปริมาณที่
บ่งบอกเฉพาะขนาดหรือขนาดและทิศ มีอย่้ 2 ชนิด คือ
1. ปริม าณสเกลาร์ (scalar quantity) หมายถึ ง ปริม าณที่ มี แ ต่
ขนาดเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ไม่ มี ทิ ศ ทาง เช่ น ความยาว พื้ นที่ ปริม าตร
มวล เวลา ระยะทาง อุณหภ้มิ ความหนาแน่น อัตราเร็ว พลังงาน หาก
มี ก ารกล่ า วออกมาจะมี ค วามสมบ้ ร ณ์ ใ นตั ว เช่ น เชื อ กเส้ น นี้ ยาว 10
เมตร วั ต ถุ ก้ อ นนี้ มี ม วล 5 กรั ม วั น นี้ มี อุ ณ หภ้ มิ ส้ ง สุ ด 30 องศา
เซลเซียส เป็ นต้น
2. ปริมาณเวกเตอร์ (vector quantity) หมายถึง ปริมาณที่ มีท้ ั ง
ขนาดและทิ ศทาง ในการกล่าวถึ งปริมาณเวกเตอร์ ต้องบอกทั้ งขนาด
และทิศทางจึงจะเข้าใจ ซึ่งแรงที่กระทำาต่อวัตถุต้องบอกขนาดของแรง
และทิศทางที่กระทำาต่อวัตถุ เช่น โรงเรียนอย่้ห่างจากบ้าน 1 กิโลเมตร
ไปทางทิศใต้ รถยนต์คันหนึ่ งแล่นจากกรุงเทพฯ ไปอยุธยา ซึ่งอย่้ทาง
ทิศเหนื อของกรุงเทพ ด้วยความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง จะเห็นได้
ว่ า แรงที่ ก ระทำา ต่ อ วั ต ถุ คื อ ความเร็ ว ในการย้ า ยตำา แหน่ ง จั ด เป็ น
ปริมาณเวกเตอร์
ปริมาณใดๆ ที่มีท้ ังขนาดและทิศทาง ให้ใช้ล้กศรแทนขนาด และ
หั วล้ กศรแทนทิ ศทาง เช่ น รถยนต์ คัน หนึ่ ง แล่ น ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก
ด้วยความเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

เวกเตอร์แทนความเร็ว จากภาพ 6 ช่องแทนความเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง


การยูายตำา แหน่ ง หรือ ระยะกระจั ด (displacement) เป็ นปริมาณ
เวกเตอร์ เพราะมีท้ ังขนาดและทิศทางของวัตถุจากจุดอ้างอิง และทำาให้
สามารถบอกตำาแหน่งของวัตถุได้จากการกระจัดจากจุดอ้างอิง ปกติใช้
อั ก ษรตั ว พิ ม พ์ ใ หญ่ และตั ว หนาแทนเวกเตอร์ แต่ ไ ม่ ส ะดวกในการ
เขียน จึงกำาหนดให้เขียนล้กศรไว้บนตัวพิมพ์ใหญ่แทน เช่น A
P4
P2
A B C

P1 P3

จากภาพเวกเตอร์ B แทนระยะกระจัดจาก P3 ไป P4 เวกเตอร์ C


มีขนาดเท่ากับเวกเตอร์ B แต่มีทิศตรงข้ามกัน ดังนั้ นหากเวกเตอร์ B
แทนระยะกระจั ด จากจุ ด P3 ไปยั ง จุ ด P4 และมี ข นาดและทิ ศ ทาง
เดี ย วกั น กั บ เวกเตอร์ A ซึ่ ง แทนระยะกระจั ดจากจุ ด P1 ไปยั ง จุ ด P2
เราสามารถนิ ยามว่า เวกเตอร์ A = เวกเตอร์ B ถึงแม้วา่ จุดเริม
่ ต้นจะ
ไม่ใช่จด
ุ เดียวกัน แต่ถา้ มีทศ
ิ และขนาดเดียวกัน เวกเตอร์ท้งั สองเท่ากัน

5N 10 N
5N

5N 5N

5N 5N
10 N
ทิศทางการกระทำาของแรงต่อวัตถุ

แรงลัพธ์ (resultant force) คือ ผลรวมของแรงย่อยที่กระทำา กับ


วัตถุ แรงย่อยที่กระทำา กับวัตถุอาจจะมีหลายแรง การหาแรงลัพธ์ของ
แรงย่อยจะใช้การเขียนเวกเตอร์แทนแรง โดยความ ยาวของเวกเตอร์
ต้ องมีมาตราส่ว นที่ แสดงถึง ขนาดของแรงด้ ว ย เมื่ อเอาเวกเตอร์ข อง
แรงย่อยมาเรียงต่อกันตามขนาดและทิศทาง ก็จะได้แรงลัพธ์ท่ีมีขนาด
ของแรงเป็ นหน่วยเดียวกัน
ใบงานที่ 1
เรื่อง แรงและชนิ ดของแรง

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิ บ ายความหมายของแรง และวิ เ คราะห์


ปริมาณเวกเตอร์ได้
คำาชี้แจง ใหูนักเรียนทำากิจกรรมและตอบคำาถาม
1 การใชูแรง
อุปกรณ์การทดลอง
1. ดินนำ้ามัน
2. เครื่องชัง่ สปริงของนิ วตัน
3. รถทดลอง
4. ล้กนำ้าหนั ก
5. กระดาษจดบันทึก
วิธีทำาการทดลอง
นำาดินนำ้ามันมาสร้างปราสาท โดยใช้แรงต่อไปนี้ ช่วยคือ
• แรงดัน • แรงบิด • แรงดึง • แรงฉีก
1. ปั้ น ดิ น 2.. แ บ่ ง 5. นำา ส่ ว น 7. นำา ทุ ก ชิ้นมา
นำ้ ามั น เป็ นร้ ป อ อ ก เ ป็ น 3 ที่ ส า ม ม า ปั้ น ต่ อ กั น เ ป็ น
ทรงกระบอก ส่วน เ ป็ น ร้ ป ท ร ง ปราสาท ดัง
กลม ภาพ

3. นำา ส่ ว นที่ 4. นำา ส่ ว นที่


6. แบ่ ง ร้ ปท ร ง ก ล ม
หนึ่ ง สองมา
ออกเป็ น
มาปั้ น แ บ่ ง ค รึ่ ง ปั้ น
2 ส่วน
แผ่นอิฐ เป็ น
ปั้ นให้
ร้ปสี่เหลี่ยม ร้ ป ท ร ง
เป็ นร้ปกรวย 2 ร้ป
กระบอก
บันทึกผลการทดลอง (โดยเขี
2 อัน ยนชื่อชนิ ดของแรงที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน)
2 การวัดแรง
อุปกรณ์การทดลอง
1. เครื่องชัง่ สปริงของนิ วตัน
2. รถทดลอง
3. ล้กนำ้าหนั ก
4. กระดาษจดบันทึก
วิธีทำาการทดลอง
ใช้เครื่องชัง่ สปริงของนิ วตันวัดค่าของแรงที่เกิดจากการกระทำาต่อ
ไปนี้

1. ฉีกกระดาษ

2. ออกแรงเคลื่ อนย้ า ย
หนั งสือ

3. ดึงรถทดลอง
4. ยกล้กนำ้าหนั ก

ผลการทดลอง
1. แรงที่ใช้ฉีกกระดาษ
2. แรงที่ใช้เครื่องย้ายหนั งสือ
3. แรงที่ใช้ดึงรถทดลอง
4. แรงที่ใช้ยกล้กนำ้าหนั ก
3 ใหู นั กเรียนศึ กษาถึ งกิ จกรรมที่ เกิ ดขึ้ นดั งภาพ และ
ช่ ว ยกั น คิ ด ว่ า กิ จ กรรมต่ า งๆ เหล่ า นี้ เกิ ด จากการ
ใชูแรงชนิ ดใด

เปิ ดฝาขวด
จับปากกา ขยำากระดาษ

เปิ ดฝากระป๋ อง เขี ย นหนั ง สื อ


ทิ้งขยะลงตะกร้า

4 ใหูนักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
1. ให้เขียนชื่อแรงที่ไม่สามารถสัมผัสได้ อย่างน้อย 3 ชนิ ด

2. ถ้าให้นายแดงออกแรงดันรถ 5 นิ วตัน ไปทางทิศตะวันออก นายดำา


ออกแรงดัน 3 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออกเช่นกัน จงหาแรงลัพธ์ และ
เขียนเวกเตอร์แทนแรง
3. มี แ ร ง 5 แ ร ง ก ร ะ ทำา ใ น แ น ว
ระนาบเดียวกัน และกระทำาที่จุดเดียวกัน
ถ้า 4 แรงแรกมีขนาดและทิศทางตามที่
แสดงไว้ แรงที่ 5 จะต้ อ งมี ข นาดและ
ทิ ศ ทางอย่ า งไร แรงนี้ จึ ง จะอย่้ ใ นภาวะ
สมดุล

เฉลยใบงานที่ 1 แรงและชนิ ด
ของแรง
1 การใชูแรง
1. แรงบิด
2. แรงฉีก
3. แรงดัน
4. แรงดึง
5. แรงบิด
6. แรงฉีก
7. แรงดึง
2 การวัดแรง
ผลการทดลองเป็ นไปตามการทดลองที่เกิดขึ้นจริง
3 จงตอบคำาถามต่อไปนี้
เปิ ดฝาขวด ใช้แรงบิด
จับปากกา ใช้แรงดัน
ขยำากระดาษ ใช้แรงดัน
เปิ ดฝากระป๋ อง ใช้แรงดัน
เขียนหนั งสือ ใช้แรงกด
ทิ้งขยะลงกระป๋ อง ใช้แรงดัน
4 จงตอบคำาถามต่อไปนี้
1. แรงโน้มถ่วง แรงประจุไฟฟ้ า แรงแม่เหล็ก
2. นายแดง ออกแรง 5 นิ วตัน
นายดำา ออกแรง 3 นิ วตัน
แรงลัพธ์ 8 นิ วตัน
3. ข้อ ก.

You might also like