Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

Khun Sommai Tongphasook Page 1 26/Sep/03

Vibration Diagnosis
Mass Unbalance

A) Force Unbalance สัญญาณจะอยูในตําแหนงมุมเดียวกันและไมเปลี่ยนแปลง ขนาดการสั่นเนือ่ งจากการไมสมดุลย


จะเพิ่มขึน้ เปนสัดสวนกําลังสองของความเร็ว ภายใต First Rotor Critical (ความเร็วเพิม่ ขึ้น 3 เทา มีผลใหคาการ
สั่นสะเทือนเพิม่ ขึ้น 9 เทา) 1X RPM เกิดขึน้ และสูงเดนกวาสัญญาณอื่นเสมอ. สามารถถูกแกปญหาไดโดยติดมวล
ถวงดุลยเพียงกอนเดียวที่ระนาบตรงจุดศูนยกลางมวลของชิ้นงานหมุน. มุมที่ตางกันระหวางตําแหนง OB & IB ทั้ง
แนวนอน และแนวตั้งมีคาประมาณ 0, ํ เชนเดียวกัน, มุมทีแ่ ตกตางระหวางคาที่อานไดระหวางแนวนอนและแนวตัง้
บน Bearing แตละตัวของชิน้ งานจะมีคาประมาณ 90 ํ (±30 ํ)

B) Couple Unbalance ตําแหนงมุมที่อานไดตรงกันขาม 180 ํ ระหวางปลายทั้งสองบนเพลาเดียวกัน. 1X RPM เกิดขึ้น


และสูงเดนกวาสัญญาณอื่นเสมอ. ขนาดการสั่นจะแปรเปลี่ยนไปตามกําลังสองของความเร็วที่เพิ่มขึ้น ภายใต First
Rotor Critical Speed. อาจจะเปนสาเหตุใหการสั่นสะเทือนตามแนวแกนมีคาสูง เชนเดียวกับในแนวรัศมี. การแกปญหา
ตองติดมวลถวงดุลยอยางนอยใน 2 ระนาบ. ใหสังเกตุวามุมตางกันระหวางตําแหนง OB & IB ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง
มีคาเปนประมาณ 180 ํ. เชนเดียวกัน, มุมทีแ่ ตกตางระหวางคาที่อานไดระหวางแนวนอนและแนวตัง้ บน Bearing แตละ
ตัวจะมีคาประมาณ 90 ํ (±30 ํ) .
Khun Sommai Tongphasook Page 2 26/Sep/03

C) Dynamic Unbalance เปนแบบของการไมสมดุลยที่พบบอยที่สุด คือแบบจากการรวมกันของ Force และ Couple


Unbalance. 1X RPM สูงเดนกวาสัญญาณอื่น และตองการการแกปญหาทั้ง 2 ระนาบแนนนอน ทัง้ นี้ ผลตางมุมในแนว
รัศมีระหวางตําแหนง OB & IB สามารถมีคาใดคาหนึ่งระหวาง 0 – 180o. อยางไรก็ดี, ผลตางของมุมเทียบระหวาง OB
& IB ในแนวนอนควรใกลเคียงกับแนวตั้ง (± 30 o).ประการตอมา, ถาเปนการไมสมดุลยเปนหลักแลวโดยปกติผลตาง
ของคามุมที่อานไดระหวางแนวนอนและแนวตั้งจะมีคาประมาณ 90 o (± 40 o)

D) Overhung Rotor Unbalance ทําใหเกิดคาสูงที่ 1X RPM ทั้งแนวแกน และแนวรัศมี. คาที่อานไดตามแนวแกนมี


แนวโนมทิศทางเดียวกัน ขณะที่คาที่อานไดตามแนวรัศมีอาจจะไมนิ่ง. อยางไรก็ตาม, ผลตางมุมในแนวนอนควร
ใกลเคียงกับแนวตั้ง (± 30 o). Overhung Rotor มีผลทั้ง Force และ Couple Unbalance, ซึ่งแตละแบบจะตองการการ
แกไขเชนกัน. ดังนั้นสวนใหญการถวงดุลยแลวตองทําการติดมวลใน 2 ระนาบเพื่อตอตานผลทั้ง Force และ
Unbalance.
Khun Sommai Tongphasook Page 3 26/Sep/03

Eccentric Rotor
การเยื้องศูนยเกิดเมื่อศูนยกลางการหมุน เยือ้ งจากศูนยกลางรูปทรงทางเรขาคณิตของ Pulley, Gear, Bearing, Motor
armature เปนตน. คาการสั่นสูงสุดที่ 1X RPM ของชิ้นที่เยื้องศูนยในแนวทิศผานจุดศูนยกลางของชิ้นงานหมุนทัง้ สอง.
เทียบคามุมที่อา นไดจากแนวนอนและแนวตั้งมักตางกันเปน 0o หรือ 180 o (แตละคาบอกถึงการเคลื่อนที่ตามแนว
เสนตรง). ความพยายามทีจ่ ะถวงดุลของชิ้นงานหมุนมักมีผลลดการสั่นในทิศหนึ่งแตเพิ่มขึ้นอีกทิศหนึ่งในแนวรัศมี
เสมอ(ขึ้นอยูกบั ขนาดของการเยื้องศูนย)

Bent Shaft
การคดงอของเพลากอใหเกิดการสั่นมากตามแนวแกน ดวยคามุมที่ตางตามแนวแกนบนเครื่องจักรชิน้ เดียวกัน มี
แนวโนมเปน 180 o โดยปรกติการสั่นหลัก เกิดที่ 1X ถาคดงอใกลกึ่งกลางเพลา, แตเปน 2X ถาคดงอใกลจุดเชื่อมตอ
หนาแปลน (จงระวังคาที่อานจากทิศการวางตัวจับสัญญาณสําหรับแตละแนวแกน ถากลับทิศตรงกันขาม.) ใหใช Dial
Indicator เพื่อยืนยันการคดงอของเพลา

Misalignment

A) Angular Misalignment การเยื้องแนวเชิงมุม มีลักษณะการสั่นที่สูงตามแนวแกน, มุมตางกัน 180o ระหวางหนา


แปลน. โดยรูปแบบแลวจะมีการสั่นสะเทือนสูงตามแนวแกน ดวยทั้ง 1X และ 2X RPM. อยางไรก็ตาม, ก็ไม
ผิดปรกติถาเกิดสูงที่ 1X, 2X หรือ 3X. ลักษณะเหลานีจ้ ะชี้ถึงปญหาการประกอบหนาแปลนเชนกัน. การเยื้องแนว
เชิงมุมที่รุนแรงอาจจะกระตุน ใหเกิด Harmonics ของ 1X RPM ขึ้นไดมากมาย. ไมเหมือนกับ Mechanical loosness
แบบ C, ตรงที่ Harmonics ที่หลากหลายไมมีการเพิ่มของ Noise Floor ใน Spectrum.
Khun Sommai Tongphasook Page 4 26/Sep/03

B) Offset Misalignment การเยื้องแนวเชิงขนาน มีลักษณะการสั่นคลายคลึงกับการเยื้องแนวเชิงมุม, แตแสดงคาการ


สั่นสูงในแนวรัศมีดวยมุมตางกันประมาณ 180o ระหวางหนาแปลน. การสั่นที่ 2X มักจะโตกวา 1X ซึ่งการ
เปรียบเทียบเชิงสัมพัทธมักจะถูกกําหนดโดยชนิดและโครงสรางของหนาแปลน. เมือ่ ไรก็ตามไมวา การเยื้องแนว
เชิงมุมหรือ เชิงขนาน เริ่มรุนแรง, ก็สามารถสรางการสั่นสูงของ Harmonic ที่สูงๆ (4X – 8X), หรือไมก็เปนชุด
Harmonic ทั้งหมดที่ คลายคลึงปรากฏใน Mechanical Looseness. ชนิดและวัสดุของหนาแปลนมักจะมีอิทธิพล
อยางใหญหลวงตอตลอดทั้ง Spectrum เมือ่ การเยื้องแนวรุนแรง. ยังคงไมมีรูปการเพิม่ ของ Noise Floor ปรากฎให
เห็น.

C) Misalign Bearing Cocked on Shaft. Bearing เอียงเฉียง (Cocked Bearing) จะเกิดการสั่นที่เห็นไดในแนวแกน. จะ


เกิดการเคลื่อนไหวบิดสายดวยมุมที่ตางกันประมาณ 180 o จากบนลงลาง และ/หรือจากขางหนึ่งไปสูอ ีกขางหนึ่งใน
ทิศแนวแกนบนโครงสรางรองรับ Bearing เดียวกัน. ความพยายามทีจ่ ะปรับแนวหนาแปลน หรือการถวงดุลจะไม
มีผลตอการแกปญหา. ปรกติแลว Bearing ตองถูกถอดและติดตั้งใหถูกตองเทานั้น.

Mechanical Looseness
การหลวมคลอนเชิงกล ถูกกําหนดโดยแบบใดแบบหนึง่ ของ Vibration Spectrum แบบ A , B หรือ C
Khun Sommai Tongphasook Page 5 26/Sep/03

แบบ A. สาเหตุจากโครงสรางหลวม / ความไมแข็งแรงของ Feet, Baseplate หรือ Foundation ของเครื่องจักร; รวมทั้ง


การเสื่อมของ Grouting, การหลวมของ Hold – Down Bolts ที่ฐาน; และการบิดตัวของโครงสราง หรือฐาน ( เชน Soft
foot) การวิเคราะหมุม อาจจะไดรับคาที่ตางกันประมาณ 90 o- 180 o ระหวางการวัดในแนวดิ่งบน Bolt, Machine Foot,
Base Plate หรือ Base ของเครื่องจักร

แบบ B.โดยทั่วไปเกิดจากการหลวมของ Bolt ยึด Pillowblock, การแตกราวในโครงสราง หรือแทนรองรับ Bearing

แบบ C. โดยปรกติเกิดจากการสวมสอดที่ไมเหมาะสมระหวางชิ้นสวนประกอบ ซึ่งเปนเหตุใหเกิด Harmonics ขึ้น


มากมายจาก Nonlinear Response ของสวนหลวมคลอนตอแรงพลศาสตรจากชิ้นงานหมุน. ตนเหตุใหเกิดรูปยอดตัด
(Truncation) ของ Time Wave Form และการเพิ่มของ Noise Floor ใน Spectrum. แบบนี้มักจะเกิดจากปลอก Bearing
หลวมในฝาครอบ, Bearing หลวมและหมุนไดบนเพลา, ระยะเผื่อสวมที่มากเกินไปไมวา Sleeve หรือ Rolling Elemant
Bearing, การหลวมของ Impeller บนเพลา ฯลฯ. มุมที่อานไดมักจะไมนิ่ง และอาจจะแปรเปลี่ยนไดอยางกวางๆ จาก
การวัดในแตละครั้ง, โดยเฉพาะถาชิ้นสวนหมุนมีการเลื่อนตําแหนงไปบนเพลาจากการ Start ในแตละครั้ง. การหลวม
เชิงกล มักจะใหคาอยางสูงเฉพาะทิศทาง (Highly directional) และอาจจะเกิดคาที่อา นไดตางกันอยางมากเมื่อ
Khun Sommai Tongphasook Page 6 26/Sep/03

เปรียบเทียบกับตําแหนงทีเ่ พิม่ มุมทีละ 30 o ในทิศรัศมีตลอดวงรอบของ Bearing Housing. ใหสังเกตดวยวาการหลวม


มักจะเกิดผลคูณคงที่ของตัวเลขที่ลงตัวของ Subharmonic 1/2 หรือ 1/3 X RPM (0.5X, 1.5X, 2.5X,)

4. Rolling Element Bearing Failure Stages.

Stage 1 : สิ่งชี้บงเริ่มแรกของปญหาตลับลูกปนปรากฏที่ Ultrasonic Frequency ชวงประมาณ 250 – 350 KHz;


แลวตอมา, เมือ่ การสึกกรอนเพิ่มขึ้น, ความถี่ที่ปรากฏมักจะลดลงมาเหลือประมาณ 20 – 60 KHz (1,200 - 3,600
kCPM) ที่ความถี่เหลานี้จะตรวจจับไดโดย Spike Bnergy (gSE), HFD(g) และ Shock Pulse (dB). จากตัวอยาง
Spike Energy อาจปรากฏขึ้นแรกเริ่มที่คาประมาณ 0.25 gSE ในขั้นที่ 1 (คาที่แทจริงขึน้ อยูกับตําแหนงการวัด และ
ความเร็วรอบของเครื่องจักร). การได Enveloped Spectra ที่ความถี่สูง จะยืนยันวาตลับลูกปนเสียหายในขัน้ ที่ 1
หรือไม.

Stage 2 : รองรอยเสียหายเล็กนอยเริ่ม “เคาะ” ความถี่ธรรมชาติ (fn) ของตลับลูกปนซึ่งเกิดเดนชัดที่ชวง 30 – 120


K CPM. ความถี่ธรรมชาติเชนนี้อาจเปน Resonance ของโครงสรางรองรับตลับลูกปนไดดว ย. ความถี่ขางเคียง
(Sideband Frequeneics) เริ่มปรากฏที่เหนือกวาและต่ํากวาความถี่ธรรมชาติขณะปลายชวงของขั้นที่ 2 . Overall
Spike energy สูงเพิ่มขึ้น (ดังตัวอยาง, จาก 0.25 เพิ่มเปน 0.5 gSE)
Khun Sommai Tongphasook Page 7 26/Sep/03

Stage 3 : ความถี่และจํานวนเทาของความถี่ที่เสียหายของ Bearing เริ่มปรากฏขึ้น. เมื่อการสึกกรอนเพิ่มมากขึ้น,


จํานวนเทาของความถี่ที่เสียหายเริ่มปรากฏมากขึ้น และเหลา Side Bands , รวมทั้งความถี่ของ Bearing และความถี่
ธรรมชาติของชิ้นสวน Bearing ก็โตขึ้น. Overall Spike Energy เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ดังตัวอยาง, จาก 0.5 เพิ่มเปน
มากกวา 1 gSE). โดยทั่วไปการสึกกรอนขณะนี้สามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลาและอาจลามเปนวงตลอดของ
Bearing, เฉพาะอยางยิ่งเมื่อเหลา Side bands รวมกับจํานวนเทาของความถี่ที่เสียหายของ Bearing เกิดขึ้น. High
Frequency Demodulated (HFD) และ Enveloped Spectra จะชวยยืนยันถึงสภาวะขัน้ ที่ 3. จงเปลีย่ น Bearing เสีย
เดียวนี!้ (ไมคํานึงถึงขนาดของความถี่ที่เสียหายของ Bearing ในกราฟ Sprectrum)

Stage 4 : เขาสูขั้นสุดทาย, ขนาดการสั่นที่ 1X RPM คอยไดรับผลกระทบ. มันเพิม่ ขึ้น, และมักจะเกิดเพิ่มขึน้ ใน


หลาย Harmonics. ความถี่ที่เสียหายเอง Bearing ขาดหายไมปะติดปะตอ และเหลาความถี่ธรรมชาติของชิ้นสวน
Bearing เริ่มที่จะขาดหาย โดยทั้งหมดจะถูกแทนทีด่ วยความถี่สุม ๆ ที่แถบยานความถี่สูง ฐานความถี่เชื่อมตอแผ
กวาง แบบ “Nosie Floor” อีกทั้งขนาดของ High Frequemey Noise Floor และ Spike Energy อาจจะพบวาลดลง
จริง; แตกอนพัง, โดยปรกติทั้ง Spike Energy และ HFD จะพุงโตเกินขนาด
Khun Sommai Tongphasook Page 8 26/Sep/03

Resonance
การกําธร เกิดเมื่อความถี่ของแรงกระทํา ตรงกับความถี่ธรรมชาติของระบบ, และสามารถเกิดขยายการสั่นอยาง
มาก, ซึ่งยังผลใหอายุการใชงานสั้นกวากําหนด, หรือไมก็เปนความเสียหายรุนแรง. ความถี่ธรรมชาติของระบบ อาจจะ
เปนของชิ้นงานหมุน แตก็มกั เกิดจากฐานรองรับ (Support Frame), ฐานราก (Foundation), ชุดเกียร (Gear box) หรือ
แมแตชุดสายพานขับ (Drive belts). ถาชิ้นงานหมุน หมุนตรงหรือใกลเคียงกับความถี่ธรรมชาติ, มันเกือบจะเปนไป
ไมไดเลยทีจ่ ะถวงดุลย เนื่องจากประสบการณแลวคามุมอานมีการเลื่อนเปลี่ยนอยางมาก ( 90 ํ ที่ตําแหนงทีก่ ําธร,
เกือบจะ 180 ํ เมื่อเลยผานจุดกําธร). มักแกปญหาโดยเปลีย่ นความถี่ธรรมชาติใหสูงขึน้ หรือต่ําลง. โดยทัว่ ไปความถี่
ธรรมชาติตองไมเปลี่ยนแปลงไปกับการเปลี่ยนแปลงความเร็วซึ่งชวยทําใหการแยกแยะไดงายขึน้ (ยกเวนในเครื่องจักร
ที่ใช Plain Bearing ขนาดใหญ หรือในชิ้นสวนหมุนซึ่งมีลักษณะเปนคานยื่น (Over hung)

Rotor Rub
การขัดสีของชิ้นงานหมุนกอเกิด Spectrum คลายคลึงกับการหลวมคลอนเชิงกล เมื่อชิน้ สวนหมุนสัมผัสกับ
ชิ้นสวนอยูน ิ่ง. การขัดสีอาจเกิดบางชวงหรือทั่ววงรอบของการหมุนของเพลา. โดยปรกติกอใหเกิดเลขอนุกรมของ
ความถี่, ซึ่งบอยครั้งเกิดการกระตุนใหเกิดการกําธรหนึ่งคาหรือกําธรหลายคา. บอยที่กระตุนใหเกิดความถี่ที่เปน
เศษสวนลงตัวของ Subharmonics (1/2 , 1/3 , ¼ , 1/5 , -----1/n), ขึ้นกับตําแหนงของความถี่ธรรมชาติของชิ้นงานหมุน.
การขัดสีของชิ้นงานหมุนสามารถกระตุนใหเกิดความถี่สูงเปนจํานวนมาก (คลายกับเสียงรบกวนชวงความถี่กวาง
ของชอลคที่ถูกลากถูตามแนวกระดานดํา). มันสามารถเกิดรุนแรงในชวงเวลาสั้น ๆ ถาเกิดจากเพลาสัมผัสกับปลอก
เพลาแบบบิท (Bearing Babbit). การขัดถูตลอดวงรอบการหมุนของเพลาสามารถเกิด ”การเคลื่อนที่ยอนกลับ” กับ
Khun Sommai Tongphasook Page 9 26/Sep/03

ชิ้นงานหมุนวนที่ความเร็ววิกฤตในทิศทางตรงขามกับการหมุนของเพลา (การไมคงนิ่งภายในสามารถนําไปสูการ
เสียหายยิ่งใหญได.)

Journal Bearing

A) Wear / Clearance Problems โดยทัว่ ไปหลังการสึกของปลอกเพลา จะเกิดชุดอนุกรมของ Harmonics


( ขึ้นถึง 10 หรือ 20 เทา). การปายถูปอกเพลามักจะใหขนาดการสั่นในแนวดิ่งสูงเมื่อเทียบกับในแนวนอน, แตอาจ
แสดงเพียงคาเดียวที่ 1X RPM. ปลอกเพลาที่ระยะเผื่อเกินขนาด อาจจะเกิดการไมสมดุลยไดบาง และ/หรือการเยื้องแนว
ทําใหการสั่นสูงขึ้นเล็กนอยซึ่งจะต่ํากวามากถาระยะเผื่อของ Bearing อยูในเกณฑขอ กําหนด.

B) Oil Whirl Instability การไมเสถียรภาพจากการไหลวนของน้ํามันเกิดขึน้ ที่ 0.40 – 0.48 X RPM และมักจะ


คอนขางรุนแรง. คาการสั่นถูกพิจารณาวาสูงเกินปรกติเมือ่ มีขนาดเกิน 40 % ของ Eearing Clearance. การไหลวนของ
น้ํามันจะสรางการสั่นที่เกิดจากการกระตุนของชั้นน้ํามันใหมีคาเบีย่ งเบนจากภาวะหมุนปรกติ (ขึ้นกับสัดสวนมุมและ
การเยื้องศูนย) เปนเหตุใหลิ่มน้ํามันไป “ผลัก” เพลาใหเคลื่อนไปโดยรอบใน Bearing. แรงไมสมดุลยในทิศทางที่หมุน
มีลักษณะการหมุนวน (หรือโคจรไปตอเนือ่ ง). การไหลวนของน้ํามันมีสภาพไมเสถียรเพราะวาเปนการสรางแรงหนี
ศูนยที่เพิ่มขึน้ ตามแรงไหลวน. สามารถเปนเหตุใหน้ํามันไมสามารถรองรับเพลาไดตลอดและกลายเปนไมคงนิ่งเมื่อ
ความถี่ในการไหลวนสอดคลองกับความถี่ธรรมชาติของชิ้นงานหมุน. การปรับเปลี่ยนความหนืดของน้ํามัน, ความดัน
ของน้ํามันหลอลื่น และแรงกระทําจากภายนอกสามารถมีผลตอการไหลวนของน้ํามัน
Khun Sommai Tongphasook Page 10 26/Sep/03

B) Oil Whip Instability การไหลสะบัดจากน้ํามันอาจเกิดไดถาเครื่องจักรทํางานที่หรือสูงกวา 2 เทาของความถี่


วิกฤตของชิ้นงานหมุน. เมื่อชิน้ งาน หมุนขึ้นสู 2 เทาของความเร็ววิกฤต, การไหลวนของน้ํามันจะเขาใกลความถี่
วิกฤตของชิ้นงานหมุนอยางมาก และอาจจะกอใหเกิดการสั่นที่สูงเกินที่ชั้นของน้ํามันสามารถรองรับไดตลอด.
ความเร็วไหลวนจะ “ติดอยูก ับ” ความถี่วกิ ฤตของชิ้นงานหมุน และทีค่ านี้จะไมเปลี่ยนความถี่ถึงแมวาเครื่องจักร
เรงความเร็วใหสูงขึ้นและสูงขึ้นอีก. ทําใหเกิดการสั่นที่ความถี่ต่ํากวารอบการหมุนโคจรไปตอเนื่องตรงคาความถี่
วิกฤตของชิ้นงานหมุน. การคงสภาพไมเสถียรนี้สามารถนําไปสูการเสียหายอยางใหญหลวงได.

C) Hydraulic and Aerodynamic Forces

A) Blade Pass & Vane Pass ความถี่การตัดผานใบพัด (BPF) = จํานวนใบ X RPM. ที่ความถี่นี้มีอยูใน Pump, Fans
และ Compressor, และปรกติแลวไมถือวาเปนปญหา. อยางไรก็ตามขนาดที่โตของ BPF (และ Harmonics) สามารถเกิด
ใน Pump ได ถาชองวางระหวาง Vanes หมุนและ Diffusers ที่อยูนิ่ง มีคาไมเทากันตลอดรอบวง. บางครั้ง BPF (หรือ
Harmonics) สามารถตรงกับความถี่ธรรมชาติของระบบกอใหเกิดการสัน่ รุนแรงไดดวย. BPF สูง ๆ สามารถเกิดขึ้นถา
Impeller Wear Ring เกิดยึดติดกับเพลาหรือวาการเชื่อมยึด diffuser Vanes ลมเหลว. BPF สูง ๆ ยังสามารถเกิดจากการ
คดงอในทออยางฉับพลัน, ขัดขวางการไหล, การปรับ Damper หรือวาตําแหนงของชิ้นงานหมุนของ Pump หรือ Fan
เยื้องศูนยกับ Housing ก็ไดเหมือนกัน.
Khun Sommai Tongphasook Page 11 26/Sep/03

B) Flow Turbulence การไหลปนปวนมักเกิดขึน้ ในพัดลมเนื่องจากการแปรเปลี่ยนในความดันหรือความเร็วของ


อากาศผานพัดลมหรือทอมที่เชื่อมตอ. ภาวะกระจัดกระจายของการไหลนี้เปนเหตุใหเกิดการปน ปวนซึ่งจะเกิดการสั่นที่
ความถี่ต่ําแบบสุม ๆ , ในชวงความถี่ 50 – 2,000 CPM. ถาการกระเพื่อมเกิดขึ้นภายใน Compressor, การสั่นที่ความถี่สูง
ยานกวาง ๆ แบบสุมๆ ก็สามารถเกิดได. การปนปวนทีม่ ากเกินสามารถกระตุนใหเกิดยานความถีส่ ูงไดดวย.

C) Cavitation ปรกติ Cavitation จะเกิดขึ้นแบบสุม ๆ, พลังงานยานความถี่กวาง ๆ ที่สูงกวา ซึ่งบางครั้งก็ทับ


Harmonics ตาง ๆ ของ BPF. ปรกติจะชี้บงถึงความดันดานดูดที่ไมเพียงพอ (Starvation). Cavitation สามารถทําลาย
ภายในตัว Pump ไดอยางรุนแรง ถาปลอยทิ้งไวโดยไมทําการแกไข. มันสามารถกัดกรอน (Erode) ครีมใบพัด. เมื่อเกิด
Cavitation, มักจะมีเสียงราวกับวา “กอนกรวด” กําลังวิ่งผาน Pump. โดยปรกติ Cavitation เกิดจากการไหลเขาไม
เพียงพอ. สามารถเกิดระหวางการตรวจครัง้ หนึ่ง, และหายไปในการตรวจครั้งหนา (ถาเกิดเปลี่ยนคาตั้งวาวลดานดูด)

Gears

A) Normal Spectrum แสดงความเร็วของ Gears & Pinion ดวยความถีค่ ูขบเกียร (GMF) และคานอยมาก ๆ ของ GMF
Harmonics. โดยทัว่ ไป GMF Harmonics จะมี Sidebands รอยพวกมันดวยคาเทากับความเร็วรอบการหมุน. Peak ของ
พวกมันจะต่ําและไมมีความถี่ธรรมชาติของชุด Gear ถูกกระตุน. แนะนําใหตั้งคา Fmax ที่ 3.25 X GMF (เปนอยางนอย)
เมื่อทราบจํานวนฟน. ถาไมทราบจํานวนฟน, ใหตั้งคา Fmax ที่ 200X RPM ของเพลาแตละอัน.
Khun Sommai Tongphasook Page 12 26/Sep/03

B) Tooth Wear ตัวชี้บงการสึกของฟนคือ การกระตุนของความถี่ธรรมชาติของเกียร สอดคลองกับ Sidebands รอบตัว


มันดวยคาเทากับความเร็วรอบการหมุนของเกียรที่สึก. ขนาดการสั่นที่ความถี่คูขบอาจจะเปลีย่ นหรือไมเปลี่ยนแมวา
ขนาดและจํานวน Sidebands ที่ลอมรอบสูงมากขึ้น. ปรกติ GMF เกิดขึ้นเมื่อการสึกหรอถูกพบเห็นได. Sidebands
อาจจะเปนตัวชี้บงดีกวาพวกเหลา GMF. การสั่นสูงที่พบทั่วไปไมวา 2X GMF หรือไมก็ 3X GMF (โดยเฉพาะ 3X
GMF) ก็ชี้บงไดเชนกัน แมวา คาที่ GMF ยังคงยอมรับได.

C) Tooth Load คาที่ความถี่ Gear Mesh มักจะเปลี่ยนแปลงงายตอ Load. ขนาด GMF ที่สูงไมไดบงชี้ถึงตัวปญหาเสมอ
ไป, โดยเฉพาะอยางยิ่งถาคาที่ความถี่ Sideband ยึดคงระดับต่ําและไมมีความถี่ธรรมชาติของ Gear ถูกกระตุนขึน้ . การ
วิเคราะหในแตละครั้งควรกระทํากับระบบที่เดินเต็มกําลังเพื่อใหสามารถเปรียบเทียบกันได.

D) Gear Eccentricity and Backlash. โดยความเปนจริง ขนาด Sidebands รอบ GMF Harmomies มักชี้ถึงปญหา Gear
Eccentricity, Backlash หรือ Non- Parallel Shafts ซึ่งใหการหมุนของ Gear ตัวหนึ่งไป “Modulate” ตอขนาดของ GMF
หรือตอความเร็วรอบของคูขบ. ปญหาของ Gear ถูกกําหนดดวยระยะชวงความถี่ของ Sideband. โดยปกติระดับ 1X
RPM ของ Eccentric, Gear จะสูงดวย ถาปญหาการเยื้องศูนยของ Gear เปนปญหาหลัก. ทั่วไปแลวคา Backlash ที่ไม
เหมาะสมจะกระทบตอ GMF Harmonics และความถี่ธรรมชาติของ Gear, ทั้งคูจะมี Sideband ที่ 1X RPM. ขนาด GMF
มักจะลดเมื่อ Load เพิ่มถา Back lash เปนเหตุ.
Khun Sommai Tongphasook Page 13 26/Sep/03

E) Gear Misalignment เกือบทั้งหมดของการประกอบที่เยื้องศูนยมักจะกอใหเกิด Harmonics ที่ 2X GMF หรือสูง


กวา ซึ่งมี Sideband เทากับความเร็วรอบ. บอยครั้งที่เห็นเพียงขนาดนอย ๆ ของ 1X GMF, แตคาที่สูงกวากลับพบที่ 2X
หรือ 3X GMF. ที่สําคัญคือตองตั้งคา Fmax ใหมากพอที่จะใหครอบอยางนอย 3 GMF Harmonics. Sideband รอบ 2X
GMF มักจะมีคา 2X RPM ดวย. ใหสังเกตุวาขนาดของ Sideband ทางฝงซายมือและขวามือของ GMF มักจะไมคอย
เทากันและมี GMF Harmonics เกิดเนื่องจากการเยื้องศูนยของฟนเกียร. สาเหตุจากรูปแบบการสึกทีไ่ มเทากัน.

F) Cracked / Broken Tooth ฟน Gear ที่แตกหรือหักจะเกิดคาสูงที่ 1X RPM ของ Gear เฉพาะใน Time Waveform
เทานั้น, รวมกับกระตุนคา Sideband ของความถี่ธรรมชาติที่ 1X RPM. มันเปนการดีทสี่ ุดที่จะตรวจวัดจาก Time
Waveform ซึ่งจะแสดงยอดการพุงที่แหลมคม (Spike) ทุกครั้งเมื่อฟนเฟองที่มีปญหา พยายามที่ขบกับฟนคูสบ. เวลา
ระหวางการกระแทก ( Ì ) จะตองสอดคลองกับ 1/RPM ของ Gear ที่มีปญหา. ขนาดของ Impact Spike ใน Time
Waveform มักจะสูงกวา 1X RPM ใน FFT เปน 10 เทาถึง 20 เทา!
Khun Sommai Tongphasook Page 14 26/Sep/03

G) Gear Assembly Phase Problems; Gear Assembly Phase Freq.(GAPF) อยูในรูปสัดสวนของ GMF/NA (เมื่อ
NA > 1). มันหมายถึงสัดสวน TG/ NA ของฟน Gear จะสัมผัสกับสัดสวน TP/ NA ของฟน Pinion และจัดทําใหเกิด
รูปแบบการสึกหรอแบบ NA , ซึ่งคือเลข ห.ร.ม. ของจํานวนฟน Gear และ Pinion (NA = Assembly Phase Factor).
GAPF (หรือ Harmonics) ปรากฏใหเห็นทันทีตั้งแตเริ่มถามีปญหาในการผลิต. มันก็ปรากฏใหเห็นทันทีระหวางการ
ตรวจวิเคราะหความถี่ (Spectrum)ตามชวงเวลาไดดว ย ซึง่ ชี้ถึงปญหาถามีสิ่งแปลกปลอมเขาแทรกระหวางคูขบ,
ยังผลใหเกิดความเสียหายในบริเวณขบของฟนขณะสิ่งแปลกปลอมแทรกและออกขณะขบ หรือขณะ Gear ไดปรับตัว
ในการเริ่มขบกันใหม ๆ

H) Hunting Tooth Problems. ความถี่ Hunting Tooth (FHT) เกิดเมือ่ พบสิ่งผิดพลาดทั้ง Gear และ Pinion ซึ่ง
อาจจะเกิดขึ้นระหวางกระบวนการผลิต, เนื่องจากสงผิด หรือหยิบผิดที่หนางาน. มันสามารถกอใหเกิดการสั่นทีส่ ูง
มากได แตเนือ่ งจากมันเกิดโดดเดนที่ความถี่ต่ําที่นอยกวา 600 cpm ,จึงมักจะถูกมองขาม. Gear ชุดที่มีปญหาฟนนี้จะ
กอปญหาซ้ํา ๆ ที่โดยปรกติจะสงเสียง “คําราม” จากตัวขับ. ผลกระทบสูงสุดเกิดขึ้นเมื่อฟนทั้งคูของ Faulty Pinion
และ Faulty Gear มาขบกัน ณ. เวลาเดียวกัน (ในบางชุดขับ, เหตุการณนี้มักจะเกิดสักครั้งของทุก ๆ 10 – 20 รอบ
หมุน, ขึ้นอยูกบั สูตรคํานวณของ FHT) จากรูปสังเกตุวา TGEAR และ TPINION เจาะจงถึงจํานวนของฟนบน Gear และ
Pinion. NA คือ Assembly Phase Factor ซึ่งมักจะเปนตัว Modulate สัญญาณทั้ง GMF และ Gear RPM.
Khun Sommai Tongphasook Page 15 26/Sep/03

I) Loose Bearing Fit. ระยะเผื่อที่เกินขนาดของ Bearig ที่รองรับ Gears ไมเพียงแตกระตุน ใหเกิด Harmonics ที่
หลากหลายของรอบการหมุน, แตยังมักเกิดการสั่นตอบสนองสูงที่ GMF, 2GMF และ/หรือ 3GMF. อันที่จริงแลว
การสั่นสูงที่คาเหลา GMF เปนผลจากการตอบสนองและไมใชสาเหตุของการหลวมภายใน Bearing ที่รองรับการขบ
ของเฟอง. ระยะเผื่อที่เกินกําหนดนี้สามารถเปนเหตุจากการสึกของ Bearing ที่มากเกินหรือไมก็จากคาพิกัดการแนน
ของ Bearing ที่ไมเหมาะสม กับ Journal ระหวางการติดตั้ง. การปลอยทิ้งไวโดยไมแกไข, มันสามารถเปนเหตุให
เกิด Gear สึกหรออยางรุนแรงและสรางความเสียหายตอชิ้นสวนอื่น ๆ ดวย

AC. Induction Motors

A) Stator Eccentricity, Shorted Laminations Or Loose Iron. ปญหา Stator จะเกิดคาการสั่นสะเทือนสูง


ที่ 2X ของความถี่กระแสไฟ (2FL). การเยือ้ งศูนยของ Stator จะสรางชองวางอากาศที่ไมคงที่ระหวาง
Rotor และ stator ซึ่งกอใหเกิดการสั่นกระจายออกไปทัว่ ทุกทิศทุกทางมากมาย. ความแตกตางของชองวาง
อากาศไมควรเกิน 5% สําหรับมอเตอรเหนี่ยวนํา และ 10% สําหรับมอเตอรซินโคนัส (Synchronus). Soft
Foot และฐานที่โคงหอ (Warp Bases) สามารถกอเกิดการเยื้องศูนยที่ Stator ได. การสูญเสียแกนเหล็ก
(Loose Iron) เนื่องจากการรองรับ Stator ออนหรือหลวมคลอน. การลัดวงจรของ Stator Laminations
สามารถเกิดความรอนขึ้นเฉพาะจุดไมสม่ําเสมอซึ่งสามารถดัดโคงแกนมอเตอรได. สิ่งนี้จะสรางการ
สั่นสะเทือนเนือ่ งจากเหนี่ยวนําความรอน (Thermally – induced vibration) ซึ่งสามารถเพิ่มคาขึ้นอยางมี
นัยสําคัญกับเวลาทํางานเปนเหตุเกิดปญหา Stator Distortion และ Static air gap.
Khun Sommai Tongphasook Page 16 26/Sep/03

B) Eccentric Rotor (Variable Air Gap.) การเยื้องศูนยของ Rotor ทําใหชองวางอากาศระหวาง Rotor และ
Stator หมุนเปลี่ยนซึ่งกอใหเกิดการสั่นเปนจังหวะ (โดยทัว่ ไประหวาง 2FL และ Harmonic ของ Running Speed ที่
ใกลเคียง). บอยครั้งที่ตองใช “การขยาย” แถบ Spectrum เพื่อแยก 2FL และ Harmonic ของ Running Speed. การเยื้อง
ศูนยของ Running Speed กอใหเกิดคาที่ 2FL ลอมรอบโดยความถี่ขางเคียงของ Pole Pass Frequency (FP)
เชนเดียวกับความถี่ขางเคียงของ FP ลอมรอบ Running Speed. FP เองจะปรากฏคาที่ความถี่ต่ํา (Pole Pass Frequency
= Slip Frequency X # Poles). คาทั่ว ๆ ไปของ FP อยูในชวง 20 – 120 CPM, (0.3 – 2.0 Hz). Soft Foot หรือ การ
เยื้องแนว. (Misalignment) มักจะโนวนาวใหเกิดการแปรเปลี่ยนระยะชองวางอากาศเนื่องจากการบิดตัว (ปญหาอยาง
แทจริงจากทางกลศาสตร; ไมใชปญหาทางไฟฟา)

C) Rotor Problems การหักหรือแตกของ Rotor Bar หรือ Shorting Ring; การเชื่อมตอไมดีของ Rotor Bar
และ Shorting Ring; หรือการลัดวงจรของ Rotor Lamination จะสรางการสั่นสูงที่ 1X Running Speed กับความถี่
ขางเคียงของ Pole Pass Frequency (Fp). นอกจากนั้นปญหาเหลานีย้ ังทําใหเกิดความถี่ขางเคียง FP รอบ ๆ
Harmonics ของ Running Speed ที่ 2X, 3X, 4X และ 5X. การสูญเสียหรือแตกหักใน Rotor bar จะถูกแสดงที่
ความถี่ขางเคียงเทากับ 2 FL รอบ Rotor Bar Pass Frequency (RBPF) และ/หรือ เหลา Harmonic ของมัน (RBPF =
จํานวน Bar X RPM). มักจะใหคาสูงที่ 2X RBPF, กับคาเพียงเล็กนอยที่ 1X RBPF การ Arc เนื่องจากการ
เหนีย่ วนําไฟฟาระหวางการหลวมของ Rotor Bars และ End Rings มักจะแสดงคาสูงที่ 2X RBPF (กับความถี่
ขางเคียง 2 FL ); แตคาเพิ่มเล็กนอย หรือไมมีเพิ่มที่ 1X RBPF.
Khun Sommai Tongphasook Page 17 26/Sep/03

D) Phasing Problem ปญหาที่เกี่ยวกับเฟส มีสาเหตุมาจากการหลวมหรือการแตกหักของ Conmectors ซึ่งจะทํา


ใหเกิด Vibration มากเกินปกติ ที่ 2 เทาของความถี่ไฟฟา (2FL) ซึ่งจะมี Sidebands ที่ 1/3 เทาของความถี่ไฟฟา (1/3
FL) รอบ ๆ ความถี่ FL คาที่ความถี่ 2 FL นัน้ อาจมีคามากเกิน 1.0 in/sec ได ถาปญหาไมถูกแกไข. นี้คือปญหาถา
Connector ที่เสียหาย มีการสัมผัสและไมสัมผัสบางเปนระยะ ๆ. การหลวมหรือแตกหักของ Connectors ตองถูกแกไข
เพื่อปองกันการเสียหายใหญหลวง.

AC Synchronous Motors

Loose Stator Coils ใน Synchronous Motor ทําใหเกิด Vibration คอนขางสูงที่ Coil Pass Frequency (CPF)
ซึ่งมีคาเทากับ จํานวนของ Stator Coils X RPM (#Stator Coils = #Poles X #Coils/Pole). Coil Pass Frequency จะมี
sidebands เกิดขึ้นที่ 1X RPM. ปญหาของ Synchromous Motor อาจจะถูกบงดวย Amplitude สูง ที่ประมาณ
60,000 – 90,000 CPM, ประกอบดวย Sidebands ที่ 2 FL . ควรทําการวัดอยางนอยหนึ่ง Spectrum ใหครอบคลุมถึง
ความถี่ 90,000 CPM บน Bearing ของ Motor แตละคา.

DC Motors And Controls


Khun Sommai Tongphasook Page 18 26/Sep/03

A) Normal Spectrum ปญหาของ DC Motor สามารถตรวจสอบไดโดยการวิเคราะห Vibration. มอเตอรแบบ


Full – wave Rectified (6 SCR’S) จะใหสัญญาณที่ 6 เทาความถี่ไฟฟา (6 FL = 360 HZ = 21,600 CPM); ขณะที่
มอเตอรแบบ Half – wave Rectified (3 SCR’S) จะใหสัญญาณที่ 3 เทาความถี่ไฟฟา. (3FL = 10,800 HZ CPM).
โดยทั่วไป SCR Firing Frequency จะปรากฏอยูใน Spectrum ของ DC Motor, แต Amplitude จะต่ํา. สังเกตุวาจะ
ไมมี Peaks อื่น ๆ ที่จํานวนเทาของ FL

B) Broken Armature Windings, Grounding Problems or Faulty System Tuning เมื่อสเปคตรัมของ DC


Motor เดนชัดดวยคาสูง ที่ความถี่ SCR หรือ 2X SCR, ลักษณะนี้โดยทั่วไปจะบงบอกถึงปญหา Broken
Motor Winding หรือ การปรับแตงที่ผิดพลาดของระบบควบคุมไฟฟา. การปรับแตง ที่เหมาะสมเพียงอยาง
เดียว สามารถที่จะลดการสัน่ ทั้งที่ SCR และ 2X SCR ลงได ถาปญหามาจากระบบควบคุมไฟฟา.
โดยทั่วไป ขนาดของการสั่นมากที่ความถี่เหลานี้จะมีคา โดยประมาณมากกวา 0.1 in/sce peak ที่ 1X SCR
และประมาณ 0.4 in/sce ที่ 2X SCR Firing Frequency.

C) Faulty firing Card or Blown Fuse เมื่อ Firing Card หนึ่งเสียหายแลวคาพลังไฟฟาจะสูญเสีย 1/3 , และจะ
เกิดการเปลีย่ นแปลงความเร็วอยางผิดปรกติเปนระยะของมอเตอร สิ่งนี้จะชักนําใหคาสั่นสูงขึ้นที่ความถี่ 1/3 และ 2/3
X SCR (1/3 X SCR Freq. = 1 X FL สําหรับ DC motor แบบ Halt – Wave Rectified, แตมีคาเปน 2X FL สําหรับ
DC Motor แบบ Full – Wave Rectified SCR)
คําเตือน : การกําหนดคา Card / SCR จะตองทราบกอนทําการแกไขปญหา Motor. (#SCR ‘s, #Firing Cards,
etc.)
Khun Sommai Tongphasook Page 19 26/Sep/03

C) Faulty SCR, Shorted Control Card, Loose Connections and/or Blown fuse. จะเกิด Vibration สูงจนเห็น
ไดชัด จากการรวมตัวกันของหลายหลายความถี่ไฟฟา (FL) และความถี่ SCR Firing. โดยปรกติแลว, SCR ที่เสีย
1 ตัวสามารถเกิดการสั่นสูงขึ้นที่ FL และ/หรือ 5 FL ในมอเตอรแบบ 6 SCR. จุดทีพ่ ึงจําคือตองไมมีคาการสั่นที่
FL, 2FL, 4FL, หรือ 5FL ปรากฏใน Spectrum ของ DC Motor

D) Faulty Comparitor Card. จะกอใหเกิดความเร็วรอบไมคงที่ หรือ “Hunting”. สิ่งนี้เปนเหตุใหเกิดการยุบและ


สรางขึ้นใหมของสนามแมเหล็ก. Sidebands เหลานี้มกั จะมีการแกวงโดยประมาณและตองใช FFT ที่ละเอียดสูง
เพื่อแยกเยะพวกมัน. Sidebands เชนนี้สามารถเกิดจากการสรางของสนามแมเหล็กทีส่ รางขึ้นและสรางใหมอยาง
ตอเนื่อง.

F) Electrical Current Pass Thru DC Motor Bearing. โดยทั่วไป Fluting จากการเหนี่ยวนําทางไฟฟาถูกพบ


โดยชุดของความถี่ที่มีระยะหางเทากับความถี่ของ Bearing ที่ Outer races (BPFO) เปนสวนใหญ, แมวา Fluting จะ
พบทั้งบน Outer และ Inner races ก็ตามที. พวกมันสวนใหญมักปรากฏใหพบทีก่ ึ่งกลางสัญญาณมักอยูในชวง
ความถี่ 100,000 ถึง 150,000 CPM. แนะนําใหใช Spectrum ที่มีคา Fmax 180 K CPM กับความละเอียดที่ 1600
เสน สําหรับตรวจวัดทั้ง Out Board และ Inboard Bearing ของ DC Motor
Khun Sommai Tongphasook Page 20 26/Sep/03

Belt Drive Problems.


Belt Freq. = 3.142 x Pulley RPM x Pitch Diam
Belt Length
Timing Belt Freq. = Belt Freq. x # Belt Teeth
= Pulley RPM x # Pulley Teeth.

A) Worn, Loose or Mismatch Belts. ความถี่สายพานจะต่ํากวารอบของ Motor หรือ Driven Machine. เมื่อ
สายพานสึก, หลวม หรือไมเขาคูกัน, โดยทั่วไปมักเกิดได 3 ถึง 4 เทาของความถี่สายพาน. บอยครั้งที่ 2 เทาของ
ความถี่สายพานจะแสดงคาเดนชัดกวาสวนอื่น. ขนาดการสั่นโดยปรกติแลวจะไมคงที่, บางครั้งความเร็วรอบของ
ทั้งตัวขับและตัวตามก็ไมคงที่ดวย. ในสวนของการขับโดย Timing Belt, การสึกหรือการเยื้องศูนยของ Pulley จะ
ถูกบงชี้จากการสั่นสูงที่ความถี่ของ Timing Belt. ชุดโซขบั เคลื่อนจะบอกปญหาไดที่ความถี่ของ Chain Pass
Frequency ซึ่งเทากับจํานวนฟน Sprocket x RPM.

B) Belt/Pulley Misalignment จะเกิดการสั่นสูงเดนที่ 1X RPM ในแนวแกน. อัตราสวนการสั่นของตัวขับกับตัวตาม


ขึ้นอยูกับตําแหนงเก็บขอมูล. เชนเดียวกับความสัมพันธของ Mass และ Frame Stiffness. บอยครั้งที่ Pulley เยื้อง
ศูนย, แลวพบวาคาสูงของการสั่นบนแนวแกนของ Motor กลับเปนความถี่ของ Fan หรือกลับกัน. สามารถยืนยันได
โดยการวัดคา Phase โดยตั้งคา Phase filter ตรงรอบของ Pulley ที่มีคาการสั่นตามแนวแกนสูงสุด แลวเปรียบกับ
ตําแหนง Phase ตรงความถี่เฉพาะนี้ท่ี Rotor แตละตัวในแนวแกน.
Khun Sommai Tongphasook Page 21 26/Sep/03

C) Eccentric Pulleys ทําใหเกิดการสั่นสูงที่ 1X RPM บน Pulley ที่เยื้องศูนย. โดยทัว่ ไปการสัน่ จะมีคาสูงสุดใน


แนวของสายพาน และจะเห็นไดทั้งบน Bearing ของชุดขับและชุดตาม. บางครั้งอาจจะเปนไปไดที่จะทํา Balance
ชุด Pulley ที่เยื้องศูนยเหลานี้โดยการติด Washer ยัง Taper-lock Bolts. อยางไรก็ด,ี ถึงแมจะ Balance ได, คาการ
เยื้องศูนยจะยังคงโนมใหเกิดการสั่นและความเคนลา (Fatigue Stress) กลับไปกลับมาในตัวสายพาน. การเยื้องศูนย
ของ Pulley สามารถถูกตรวจสอบยืนยันไดจากการวิเคราะหเชิงมุม (Phase Analysis) แสดงผลตางของมุมแนวนอน
และแนวดิ่งตองใกลเคียง 0๐ หรือ 180๐

D) Belt Resonance สามารถกอใหเกิดการสั่นสูงขึ้นได ถาความถี่ธรรมชาติ, เขาใกล หรือ ตรงกับความเร็วรอบของ


Motor หรือตัวตาม. ความถีธ่ รรมชาติของสายพานสามารถเปลี่ยนคาไดโดยการเปลี่ยนความตึงของสายพาน, ความ
ยาวของสายพาน หรือหนาตัดของสายพาน. Belt Resonance สามารถถูกตรวจพบไดโดยการปรับสายพานตึง แลว
หยอน ขณะทําการวัดการตอบสนองที่ Pulleys หรือ Bearing. อยางไรก็ตาม, เมื่อเดินเครื่อง, ความถี่ธรรมชาติของ
สายพานที่แนวโนวทีจ่ ะสูงกวาบนดานที่ตงึ และต่ํากวาบนดานทีห่ ยอน.
Khun Sommai Tongphasook Page 22 26/Sep/03

Beat vibration, Beat Frequency เปนผลจากความถี่ที่ใกลเคียงกัน 2 คาเสริมกันและหักลางซึ่งกันและกัน.


ปรกติการวิเคราะหความถี่เชิงกวาง (Wideband Spectrum) จะแสดงใหเห็นเพียงการขึ้นลงเปนจังหวะของยอดสัญญาณ
อันเดียว. เมื่อขยายเขาไปดูในยอดสัญญาณนี้ จริงๆ แลวจะพบคาสัญญาณที่ใกลชิดกัน 2 ความถี่. ความถี่ที่แตกตางกัน
ของเหลา 2 สัญญาณ (F2 – F1) นี้คือ Beat Frequency ซึ่งมันปรากฏที่การวิเคราะหความถี่เชิงกวาง. Beat Frequency
นี้มักไมถูกพบในชวงการวัดแบบปรกติ เนือ่ งจากมันเกิดอยูในชวงความถี่ต่ํา, โดยปรกติชวงความถี่อยูประมาณเพียง
แค 5 – 100 CPM.
คาการสั่นสะเทือนสูงสุดจะเกิดขึ้นเมื่อ Time Waveform ของความถี่หนึ่ง (F1) เขามาในตําแหนงมุมเดียวกับ
Time Waveform ของอีกความถี่หนึ่ง (F2). คาการสั่นสะเทือนต่ําสุดจะเกิดขึ้นเมื่อ Waveforms ของทั้งสองความถี่
วางตัวตางกัน 180๐

You might also like