กลุ่มชาติพันธุ์ลีซู หรือลีซอ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

กลุมชาติพันธุลีซู หรือลีซอ

(Lisu)
เผาลีซู

1. ประวัติความเปนมา
กลุมชาติพันธุลีซู(Lisu) อยูในกลุมตระกูลธิเบต-พมา และนักภาษาศาสตรและนัก
ประวัติศาสตรบางกลุมมีความเชื่อวา กลุมชาติพันธุลีซูสืบเชื้อสายมาจากกลุมอารยัน
กลุมชาติพันธุลซี ู อาศัยอยูในประเทศจีน พมา ไทย ตอนเหนือของอินเดีย
กลุมชาติพันธุลีซูที่อาศัยอยูในประเทศไทย สวนใหญอพยพมาจากมณฑลยูนนาน ประเทศ
จีน เดินทางเขาพมากอนแลวจึงอพยพเขามาถึงประเทศไทยในที่สุด โดยตั้งหลักแหลงในแถบแมสะ
ลอง แลวอพยพไปอยูที่ดอยชาง อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงรายและบริเวณอื่นๆ อีก เชน อมกอย
แมจอกหลวง โดยกลุมแรกอพยพมาถึงแมสะลองเมื่อประมาณ 85 ปที่แลว ในขณะนี้ชาวลีซูกระจาย
กันตั้งบานเรือนอยูในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย

2. โครงสรางการปกครอง
ตามประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมาแตดั้งเดิม หัวหนาหมูบา นดํารงตําแหนงโดยการสืบสาย
โลหิต แตปจจุบันธรรมเนียมดังกลาวไดเปลี่ยนแปลงไป โดยใหผูมีอาวุโสภายในหมูบานเลือก
หัวหนา การเลือกหัวหนามักไมมกี ารขัดแยงกัน เพราะเขาถือเอาความเหมาะสมเปนสําคัญ หากมี
เรื่องสําคัญที่ตองตัดสินใจ หัวหนาหมูบา นจะไมตดั สินโดยพลการ จนกวาจะมีผูอาวุโสในหมูบาน
ทั้งหมดใหความเห็นชอบ แตหากเปนเรื่องเล็กๆ นอยๆ ที่ตองตัดสินใจโดยฉับพลัน หัวหนาหมูบาน
ก็จะพิจารณาตัดสินทันทีโดยไมตองขอความเห็นจากบรรดาผูอาวุโส

3. โครงสรางทางสังคม
3.1 การสืบตระกูล จะถือการสืบสายโลหิตทางฝายบิดาเปนสําคัญ เมื่อบุตรชายคนโต
แตงงานตองนําภรรยาเขามาอยูบานบิดามารดาของตน เพราะถือวาบุตรชายเปนผูไดรับมรดกสืบแซ
สกุลและบุตรชายคนโตเปนใหญในบรรดาพีน่ อง ถานองชายแตงงาน บุตรชายคนโตที่มีครอบครัว
แลว จะแยกเรือนออกไปอยูตางหาก
3.2 การแตงงาน การเกี้ยวสาวของลีซตู างจากเผาอื่นตรงทีช่ าวลีซนู ิยมแสดงความรักกัน ณ
ครกกระเดื่องตําขาวกลางลานบาน หลังรับประทานอาหารค่ําแลว หญิงสาวมักนิยมตําขาวเพื่อใช
บริโภคในครอบครัว เมื่อไดยินเสียงตําขาวชายหนุมที่สามารถเกี้ยวพาราสีหญิงสาวก็จะรีบแตงตัว
ออกจากบาน ไปชวยตําขาวและจะพูดจาเกี้ยวพาราสีกันเปนลํานําบทเพลงโตตอบกัน เมื่อรักใคร
ชอบพอกันฝายชายจะเปนฝายขอแตงงาน โดยผานแมสื่อ ฝายชายตองเสียคาสินสอดใหพอแมฝาย
หญิง คาสินสอดไมแนนอนแลวแตฝายหญิงจะเรียกรอง ถาฝายชายยากจนก็อาจจะยอมไปอยูที่บาน
ฝายหญิง ชวยทํางานใหพอแมของภรรยาสักระยะหนึ่ง แตหากบานใดมีลูกสาวคนเดียว อาจมี
เงื่อนไขวาฝายชายไมตองเสียคาสินสอดแตขอใหชายไปอยูก ับฝายหญิงเพื่อเลี้ยงดูพอแมตน

4. การกระจายตัว
กลุมชาติพันธุลีซูอาศัยอยูในประเทศไทยเปนจํานวนไมนอย กระจายอยูตามจังหวัดตาง ๆ
ทางภาคเหนือ โดยเฉพาะภาคเหนือตอนบน ในเขตจังหวัดเชียงใหมมีลีซอู าศัยอยูมากที่สุด
รองลงมา คือ จังหวัดเชียงราย และแมฮองสอน ตามลําดับ สวนทางภาคเหนือตอนลางจะมีชาวลีซู
อาศัยอยูมากในเขตจังหวัดตาก นอกจากนี้ยังกระจายกันอยูใ นจังหวัดกําแพงเพชร เพชรบูรณ
สุโขทัย ลําปาง และพะเยา จากการสํารวจประชากรชาวเขา
ในประเทศไทยพบวามีชาวลีซูที่อาศัยอยูในประเทศจํานวน 38,299 คน จะเห็นวาจํานวนประชากร
ของเผาลีซูจะนอยที่สุดในจํานวน 6 เผาหลัก

5. เศรษฐกิจ
อาชีพทีส่ ําคัญของชาวลีซูคือ การทําไรขาว ขาวโพด พริก ฝาย มันฝรั่งและพืชผักตางๆ การ
ทําไรขาวเพียงเพื่อบริโภคภายในครอบครัวตลอดปมากกวาขายเปนสินคา การทําไรขาวโพดมี
ความสําคัญรองจากการทําไรขาว ขาวโพดที่ผลิตไดนําไปเลี้ยงสัตว เชน หมู ไก บริโภคเองบางและ
บางสวนนํามาหมักตมกลั่นเปนสุราขาวโพด เพื่อดื่มในระหวางงานพิธีฉลองปใหมหรืองานพิธีอื่น
ภายในครัวเรือนและหมูบา น สวนพืชผักอื่นๆ ก็ปลูกแตเพียงพอสําหรับบริโภคในครอบครัวเทานั้น
นอกจากนี้แลวชาวลีซูยังเลี้ยงสัตวตางๆ เชน ไก หมู แพะ แกะ มาอีกดวย โดยเฉพาะหมู
และไกนั้นเปนสัตวเลี้ยงที่จะขาดเสียมิได ทุกหลังคาเรือนจะเลี้ยงสัตวทั้งสองชนิดนี้ ทั้งนี้เพื่อใชใน
การประกอบพิธีกรรมตางๆ ตามประเพณีของเผา นอกจากการทําไรและเลี้ยงสัตวแลว ผูชายชาวลีซู
ยังเปนนักลาสัตวที่มีฝมืออีกดวย โดยเฉพาะการใชหนาไมจะมีความสามารถเปนอยางดี

6. ลักษณะบาน
บานของชาวลีซนู ิยมปลูกติดกับพืน้ ดิน แตก็มีลีซใู นบางพืน้ ที่ที่ปลูกบานยกพื้นขึ้นสูง
เล็กนอย บางแหงชอบกอดินดิบทําเปนฝาบาน หรือใชไมไผสานกั้นเปนฝาบาน เสาบานทําดวยไม
ไผหรือไมอื่นสุดแตจะหามาได ภายในบานนิยมแบงเปนหอง ใชไมไผสานเปนฝากั้นหอง มี
หองรับแขกใชนั่งและนอน และหองนอนเจาของบาน โดยทางซายมือและขวามือของหองรับแขก
จะเปนหองนอนของเจาของบานและครอบครัว นอกจากนีจ้ ะมีแทนบูชาดวงวิญญาณบรรพบุรษุ
และผีเรือน (คลายกับแทนหรือหิ้งบูชาของชาวจีน) ที่มุมในสุดของหองรับแขกอีกดวย
7. ครอบครัว/เครือญาติ
ครอบครัวของชาวลีซเู ปนลักษณะครอบครัวขยาย มีหัวหนาครอบครัวที่ทุกคนจะตอง
เคารพนับถือ ผูชายเมื่อแตงงานแลวจะตองนําภรรยามาอยูบ านของตน การนับญาติกจ็ ะนับถือกันไป
ตามศักดิ์และอายุเปนสําคัญ

8. ศาสนา/ความเชือ่
ชาวลีซนู ับถือวิญญาณบรรพบุรษุ แตละบานจะมีแทนบูชาอยูเหนือพื้นดิน ซึ่งจัดไวแหง
หนึ่งตางหาก บนแทนบูชาวางถวย ธูป เทียน เปนอุปกรณทใี่ ชในการเซนบูชาบรรพบุรษุ ของตน
จํานวนถวยใสเครื่องบูชานี้มากนอยแลวแตตระกูลที่ตนนับถือ และปกธงทิวหางวาวเล็กๆ บนหิ้ง
บูชานั้น ผูนําทางศาสนา(เหมอหมือ) หมอผีหรือหมอสวด เปนผูนําในการประกอบพิธีตางๆ เชน
งานพิธีแตงงาน งานศพ พิธีเรียกขวัญ พิธีเซนผีตาง ๆ เปนตน

9. การแตงกาย
เครื่องแตงกายของชาวลีซูจะมีสีสันที่สดใส จะใชผาหลากสีในการตกแตงใหเปนลายบน
เสื้อผา โดยเฉพาะเสื้อของผูหญิงจะตกแตงใหสวยเปนพิเศษ
9.1 เครื่องแตงกายชาย ชายจะสวมกางเกงขากวางยาวเลยเขาเล็กนอย ลักษณะคลาย
กางเกงจีนยูนนาน สีที่นิยมคือ สีฟา เขียวออน หรือสีอื่น ๆ (ที่เปนสีโทนเย็น) สวนคนสูงอายุนิยมใช
สีดําหรือสีมว งเขม เสื้อคลายเสื้อแจ็คเก็ตสีดํา ทําดวยผาใยกัญชง (ในอดีต) หรือผากํามะหยี่ (ใน
ปจจุบัน) ประดวยแผนโลหะเงินรูปครึ่งวงกลม เย็บติดกับตัวเสื้อเรียงเปนแถวทั้งขางหนาและขาง
หลัง (เสื้อกํามะหยี่นี้จะสวมเฉพาะวันปใหม และวันแตงงานของตนเองเทานั้น) อีกทั้งนิยมสวนถุง
นองเปนผาดําและติดดวยแถบสีสดใส
9.2 เครื่องแตงกายหญิง หญิงลีซูไมวาจะเปนเด็ก หญิงสาว หญิงแตงงานแลว หรือ
คนชรา จะแตงกายเหมือนกันหมด (ยกเวนเด็กเล็กที่ยังพูดไมได) แตปจจุบันเด็กลีซมู ักนิยมสวมชุด
ไทยสากล กางเกงจะเปนสีดํายาวเลยเขาเล็กนอย มีเสื้อคลุมยาว นิยมสีฟา หรือสีโทนเย็นที่มีสีสดใส
ตัวเสื้อตั้งแตเอวลงมาจะผาทั้งสองขาง แขนยาว ที่ปกคอติดแถบผาสีดํา ยาวประมาณ 1 คืบ ชวงตน
แขนและหนาอกตกแตงดวยผาหลากสีเย็บติดกันเปนแผน คาดเข็มขัดซึ่งเปนผาดําผืนใหญกวาง
ขนาดฝามือ หญิงนิยมโพกศีรษะ (จะใชผาโพกศีรษะเฉพาะในงานสําคัญ เชน งานแตงงาน ปใหม)
ใชผา พันแขงดวยผาพืน้ สีโทนรอน (แดง ชมพู มวง) ปลายขอบลางติดแถบผาหลากสีและมีลายปกที่
สวยงาม เมื่อมีพิธีกรรมหรืองานฉลองก็จะสวมเสื้อกั๊กผากํามะหยี่ ซึ่งประดับดวยแผนโลหะเงินรูป
ครึ่งวงกลม และเหรียญรูป เครื่องประดับอีกชนิดหนึ่งทีใ่ ชคือ “หางประดับ” ใชทั้งหญิงและ
ชาย (ยกเวนชายชรา) หางประดับนีจ้ ะใชเฉพาะในงานสําคัญ โดยชายประดับไวดา นหนา สวนหญิง
จะประดับไวดานหลัง หางประดับนี้ทําจากผาหลากสีเย็บเปนเสนยาว สวนปลายขางหนึ่งติดดวย
ไหมพรมตัดเปนรูปกลมสีตาง

10. ภาษา
ลีซูพูดภาษาในกลุม ธิเบต-พมา ไมมีภาษาเขียนของตนเอง ตอมากลุมมิชชั่นนารีที่เผยแพร
ศาสนาคริสตก็ไดนําเอาอักษรโรมันมาดัดแปลงเปนภาษาเขียนของเผาลีซู ผูชายเผาลีซูสวนใหญจะ
พูดไดหลายภาษา เชน ภาษาจีนยูนนาน อาขา ลาหู ไทยใหญ คําเมืองและภาษาไทยภาคกลาง

You might also like