10.คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ม.2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

88

คําอธิบายรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน 2 รหัสวิชา ค 32101


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง

ศึกษาความรูพื้นฐานเบื้องตน ฝกทักษะการคิดคํานวณ การใหเหตุผลและการแกปญหาใน


เรื่องตอไปนี้ อัตราสวนและรอยละ การใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน และรอยละในการแกปญหา
การวัด หนวยความยาว พื้นที่ การเลือกใชหนวยการวัด การคาดคะเน ขนาด น้ําหนัก การแกปญหา
หรือสถานการณในชีวิตประจําวันโดยใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่ การคาดคะเน แผนภูมิรูปวงกลม
การอานแผนภูมิรูปวงกลม การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลม
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะทอน การหมุน สมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การ
สะทอนและการหมุน พิกัดของรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการเลื่อนขนาน การสะทอนและการหมุน
ความเทากันทุกประการ ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ
กันแบบ ดาน–มุม–ด าน แบบ มุ ม–ดาน–มุม และแบบ ดาน–ดาน–ดาน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ การหารากที่สอง รากที่สาม ความสัมพันธของการ
ยกกําลังและการหารากของจํานวนเต็ม ความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะและ
จํานวนอตรรกยะ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการนําไปใช
เสนขนาน สมบัติของเสนขนาน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม–มุม–ดาน การให
เหตุผลและแกปญหาโดยใชสมบัติของเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแกโจทยสมการ
เชิงเสนตัวแปรเดียว
เพื่อพัฒนาใหมีทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตรและนําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะกระบวนการที่ไดไป
ใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและมีเจตคติที่
ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางเปนระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี
วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง

หลักสูตรสถานศึกษาการจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ


89

การจัดหนวยการเรียนรูรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน 2 รหัสวิชา ค 32101


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
จํานวนหนวยการเรียนรู 9 หนวย จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง

หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง


1 • อัตราสวนและรอยละ 18
- ความหมายของอัตราสวน 3
- อัตราสวนที่เทากัน 1
- สัดสวน 3
- รอยละ 4
- การใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และ 7
รอยละแกปญหา
2 • การวัด 9
- การเปรียบเทียบหนวยความยาวและพื้นที่ 2
- การเลือกใชหนวยการวัด 1
- การคาดคะเน ขนาด น้ําหนัก 3
- การใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่แกโจทยปญหา 3
3 • แผนภูมิรูปวงกลม 6
- การอานแผนภูมิรูปวงกลม 3
- การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลม 3
4 • การแปลงทางเรขาคณิต 11
- การเลื่อนขนาน 2
- การสะทอน 2
- การหมุน 2
- สมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะทอนและ 4
การหมุน
- พิกัดของรูปเรขาคณิต ที่เกิดจากการเลื่อนขนาน 1
การสะทอนและการหมุน

หลักสูตรสถานศึกษาการจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ


90

หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง


5 • ความเทากันทุกประการ 17
- ความเทากันทุประการ 2
- ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม 3
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 4
ดาน – มุม – ดาน
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 4
มุม – ดาน – มุม
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 4
ดาน – ดาน – ดาน
6 • ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง 16
- การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียน 2
ทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวน
- จํานวนตรรกยะ 2
- จํานวนอตรรกยะ 3
- ความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ 1
และจํานวนอตรรกยะ
- รากที่สอง 4
- รากที่สาม 4
7 • ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 15
- ทฤษฎีบทของพีทาโกรัส 4
- บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส 4
- การนําไปใช 7
8 • เสนขนาน 15
- เสนขนานและสมบัติของเสนขนาน 5
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 5
มุม–มุม–ดาน
- การใหเหตุผลและแกปญหาโดยใชสมบัติของเสน 8
ขนานและความเทากันทุกประการของรูป
สามเหลี่ยม

หลักสูตรสถานศึกษาการจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ


91

หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง


9 • การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 13
- การแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3
- ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ 4
- โจทยสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 6

หมายเหตุ ใชเวลาเรียน 3 ชั่วโมงตอสัปดาหตอภาค


เวลาที่กําหนดไวในหนวยการเรียนไดรวมเวลาที่ใชในการทดสอบไวดวยแลว
ทั้งนี้ครูอาจปรับเวลาไดตามความเหมาะสม

หลักสูตรสถานศึกษาการจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ


92

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน 2 รหัสวิชา ค 32101


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง

หนวยการเรียนรูที่ ชื่อหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง


1 อัตราสวนและรอยละ 1. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละใน
สถานการณตางๆรวมทั้งแกปญหาเกี่ยวกับความนาจะเปนได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2 การวัด 1. เปรียบเทียบหนวยความยาว พื้นที่ ในระบบเดียวกัน
และตางระบบได
2. เลื อ กใช ห น ว ยการวั ด เกี่ ย วกั บ ความยาวและพื้ น ที่ ไ ด
อยางเหมาะสม
3. ใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่แกปญหาในสถานการณตางๆได
4. คาดคะเน เวลา ระยะทาง ขนาด และน้ําหนักของสิ่งที่
กําหนดใหไดอยางใกลเคียง และสามารถอธิบายวิธีการ
ที่ใชคาดคะเนได
5. ใชการคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณตาง ๆ
ไดอยางเหมาะสม
3 แผนภูมิรูปวงกลม 1. อานและนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลมได
4 การแปลงทางเรขาคณิต 1. วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธระหวางรูปตนแบบ
และรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานการสะทอน และการ
หมุนได
2. นําสมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะทอน และการ
หมุนไปใชได
3. บอกพิกัดของรูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้นจาก การเลื่อน
ขนาน การสะทอน และการหมุนบนระนาบพิกัดฉากได
5 ความเทากัน 1. ระบุดานและมุมคูที่มีขนาดเทากันของรูปสามเหลี่ยม
ทุกประการ สองรูปที่เทากันทุกประการได
2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกัน
แบบ ดาน–มุม–ดาน เทากันทุกประการ
3. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ
กันแบบ มุม–ดาน–มุม เทากันทุกประการ
4. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ
กันแบบ ดาน–ดาน–ดาน เทากันทุกประการ

หลักสูตรสถานศึกษาการจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ


93

หนวยการเรียนรูที่ ชื่อหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง


5. ใช ส มบั ติ ข องความเท า กั น ทุ ก ประการของรู ป
สามเหลี่ยมในการใหเหตุผลได
6 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ 1. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียนทศนิยมซ้ําใน
จํานวนจริง รูปเศษสวนได
2. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ และ
จํานวนอตรรกยะได
3. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ
และจํานวนอตรรกยะได
4. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงได
5. หารากที่ ส องและรากที่ ส ามของจํ า นวนเต็ ม ที่
กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบ และนําไปใช
แกปญหาได
6. หารากที่ ส องและรากที่ ส ามของจํ า นวนจริ ง ที่
กําหนดใหโดยการประมาณ การเปดตาราง หรือการ
ใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
7. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สาม
ของจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได
8. บอกความสัมพันธของการยกกําลังและการหารากของ
จํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได
9. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจาก
การคํานวณและการแกปญหา
7 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 1. อธิบายความสัมพันธตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
2. ใชทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับในการใหเหตุผล
และแกปญหาได
8 เสนขนาน 1. บอกสมบัติของเสนขนาน และบอกเงื่อนไขที่ทําให
เสนตรงสองเสนขนานกันได
2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกัน
แบบ มุม–มุม–ดาน เทากันทุกประการ
3. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการ
ของรูปสามเหลี่ยมในการใหเหตุผลและแกปญหาได
9 การประยุกตของสมการ 1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
เชิงเสนตัวแปรเดียว 2. ตระหนั กถึ ง ความสมเหตุ ส มผลของคํ า ตอบที่ไ ดใ น
สถานการณตาง ๆ

หลักสูตรสถานศึกษาการจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ

You might also like