Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

ใบความรู

เรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรกราฟก
สรุปความหมายของ “กราฟก“
กราฟก หมายถึง การสือ่ ความหมายดวยการใชศลิ ปะและศาสตรทางการใชเสน ภาพวาด
ภาพเขียน แผนภาพ ตลอดจนสัญลักษณ ทัง้ สีและขาว-ดํา ซึ่งมีลักษณะเห็นไดชัดเจน เขาใจ
ความหมายไดทนั ที ตรงตามทีผ่ สู อ่ื สารตองการ

ความหมายของ “คอมพิวเตอรกราฟก“
คอมพิวเตอรกราฟก หมายถึง การสรางและการจัดการกับภาพกราฟกโดยใชคอมพิวเตอร ซึง่ การ
พัฒนาคอมพิวเตอรกราฟกเริม่ ตนมาจากการเปน เทคนิคอยางหนึง่ ในการแสดงขอมูลตัวเลข จํานวนมาก ๆ
ใหอยูใ นรูปทีช่ ดั เจนกวาเดิมและทําความเขาใจไดงา ยกวาเดิม เชน ขอมูลอาจแสดงได ในรูปของเสนกราฟ
แผนภาพ แผนภูมิ แทนทีจ่ ะเปนตารางของตัวเลข จากนัน้ การใชภาพกราฟก แสดงผลแทนขอมูลหรือ
ขาวสารทีย่ งุ ยากก็มกี ารพัฒนามากขึน้ เรือ่ ย ๆ ปจจุบนั มีการใชภาพกราฟก ในงานทุก ๆ ดาน ไมวา ดาน
ธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม งานศิลปะ การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวิจัย การฝกอบรม และงาน
ทางการแพทย จนเห็นไดชัดเจนวา คอมพิวเตอรกราฟก นัน้ เริ่มมีความ สําคัญ เนือ่ งจากเปนเครือ่ งมือที่
สามารถชวยงานในการออกแบบทางดานกราฟกใหเปนไปอยางรวดเร็ว สะดวก ไมตอ งอาศัยเครือ่ งมือ
จํานวนมาก อีกทัง้ ผูออกแบบเองก็สามารถดูผลงานการออกแบบของ ตนเองไดทนั ที

กราฟกกับสังคมปจจุบัน
ปจจุบันเทคโนโลยีไดวิวัฒนาการไปคอนขางรวดเร็ว การใชระบบการติดตอสื่อสารที่มี
ประสิทธิภาพมากขึน้ มีการกระจายของขอมูลไปอยางรวดเร็ว โดยอาจเปนการกระจายขอมูล จาก ทีห่ นึง่ ไป
ยังอีกทีห่ นึง่ และการทีจ่ ะใหคนอีกซีกโลกหนึง่ เขาใจความหมายของคนอีกซีกโลกหนึง่ นัน้ เปนเรือ่ งทีไ่ ม
สามารถทําไดงา ยนักเนือ่ งมาจากความแตกตางกันทัง้ ทางดานขนบธรรมเนียม ประเพณีวฒ ั นธรรม สภาพภูมิ
ประเทศ สภาพดินฟาอากาศความเชือ่ ของแตละทองถิน่ ดังนัน้ การใชงานกราฟกทีด่ ที ส่ี ามารถสือ่ ความหมาย
ไดชัดเจนถูกตอง จะชวยใหมนุษยสามารถสื่อสารกันได เขาใจกันได เกินจินตนาการรวมกัน อีกทั้งยังเกิด
ทัศนคติที่ดีตอกันดวย หรือถึงขั้นคลอยตามใหปฏิบัติตามได

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 1
การเกิดภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร
ลักษณะและความหมายของพิกเซล (Pixel)
พิกเซล (Pixel) มาจากคําวา Picture กับคําวา Element เปนหนวยพืน้ ฐานของภาพ คือ จุด
สีเ่ หลีย่ มเล็ก ๆ ทีร่ วมกันทําใหเกิดเปนภาพขึน้ ภาพหนึง่ ๆ จะประกอบดวยพิกเซลหรือจุดมากมาย ซึง่ แตละ
ภาพทีส่ รางขึน้ จะมีความหนาแนนของจุดหรือพิกเซลเหลานีแ้ ตกตางกันออกไป ความละเอียด
(Resolution) เปนตัวบอกถึงความละเอียดของภาพ โดยมีหนวยเปนพีพไี อ ppi ยอมาจาก (Pixels Per Inch)
คือจํานวนจุดตอนิ้ว (dpi: คือ dot per inch) ภาพทีม่ คี วามละเอียดสูงหรือ คุณภาพดี ควรจะมีคาความ
ละเอียด 300 X 300 ppi ขึ้นไป คา ppi สูงภาพจะมีความละเอียดคมชัดขึน้

การแสดงผลของอุปกรณแสดงผล (Output Devices) ตัวอยางเชน เครือ่ งพิมพ ( Printer )แบบดอต


แมทริกช (Dot-matrix) หรือเลเซอร (Laser) รวมทัง้ จอภาพ จะเปนการแสดงผลแบบ Raster Devices คือ
อาศัยการรวมกันของพิกเซลออกมาเปนรูป

3. การประมวลผลภาพคอมพิวเตอรกราฟก
วิธีการประมวลผลภาพคอมพิวเตอรกราฟกมี 2 แบบ คือ
1. การประมวลผลแบบ Raster หรือ Bitmap
2. การประมวลผลแบบ Vector

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 2
1. การประมวลผลแบบ Raster
การประมวลผลแบบ Raster หรือ แบบบิตแมป (Bitmap) หรือเรียกวาเปนภาพแบบ Resolution
Dependent ลักษณะสําคัญของภาพประเภทนี้ ประกอบขึน้ ดวยจุดสีตา ง ๆ ทีม่ จี าํ นวนคงทีต่ ายตัว ตามการ
สรางภาพทีม่ คี วามละเอียดตางกันไป ภาพแบบบิตแมปนี้ มีขอ ดี คือ เหมาะสําหรับภาพทีต่ อ งการระบายสี
สรางสี หรือกําหนดสีทต่ี อ งละเอียดและสวยงามไดงา ย ขอจํากัดคือ เมือ่ มีพกิ เซลจํานวนคงที่ นําภาพมาขยาย
ใหใหญขึ้น ความละเอียดจะลดลง มองเห็นภาพเปนแบบจุด และถาเพิม่ ความละเอียดใหแกภาพ จะทําให
ไฟลมขี นาดใหญ และเปลืองเนือ้ ทีห่ นวยความจํามาก
ในระบบวินโดวส (Windows) ไฟลของรูปภาพประเภทนี้ คือ พวกทีม่ สี ว นขยายหรือ นามสกุล
(Extension) เปน .BMP , .PCX, .TIF , .GIF , .JPG, .MSP , .PCD, .PCT โปรแกรมที่ใชสรางคือ โปรแกรม
ประเภทระบายภาพ (Painting Program) เชน Paintbrush , Photoshop , Photostyler เปนตน

2. การประมวลผลแบบ Vector
การประมวลผลแบบ Vector เปนภาพแบบเวกเตอร หรือ Object-Oriented Graphics หรือเรียกวา
เปนรูปภาพ Resolution-Independent เปนภาพทีม่ ลี กั ษณะของการสรางจากคอมพิวเตอรทม่ี กี ารสรางใหแต
ละสวนของภาพเปนอิสระตอกัน โดยแยกชิ้นสวนของภาพทั้งหมดออกเปน เสนตรง รูปทรงหรือสวนโคง
โดยอางอิงตามความสัมพันธทางคณิตศาสตร หรือการคํานวณซึง่ มีทศิ ทาง การลากเสนไปในแนวตาง ๆ จึง
เรียกประเภท Vector Graphic หรือ Object Oriented ภาพเวกเตอรน้ี มีขอ ดีคอื สามารถเปลีย่ นแปลงขนาด
โดยมีความละเอียดของภาพไมลดลง ภาพสามารถ เปลีย่ นแปลงหรือยายไดและมีขนาดของไฟลทเ่ี ล็กกวา
พวกบิตแมป

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 3
ในระบบวินโดวส ไฟลรปู ภาพประเภทนี้ คือ พวกทีม่ นี ามสกุล
เปน .EPS , .WMF, .CDR, .AI , .CGM, .DRW, .PLT เปนตน และโปรแกรมที่ใชสรางก็คือ โปรแกรม
ประเภทวาดรูป (Drawing Program) เชน CorelDraw หรือ AutoCAD สวนบนเมคอินทอช
(Macintosh) ก็ไดแก โปรแกรม IIIustrator และ Macromedia Freehand หรือ ภาพ .wmf ซึง่ เปน clipart
ของ Microsoft Office
ภาพทีเ่ ปนคอมพิวเตอรกราฟก มีลกั ษณะทีม่ จี ดุ เดนจุดดอยเปรียบเทียบกันระหวางบิตแมป กับพวก
เวกเตอร ซึง่ ตองพิจารณาเลือกใชใหเหมาะสมกับงาน โดยเฉพาะในเรือ่ งเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงขนาดของ
รูป พวกบิตแมปเปนภาพทีม่ จี าํ นวนพิกเซลคงที่ หากนํามาขยายมาก ๆ ภาพจะลดความละเอียดลง สวนภาพ
เวกเตอรสามารถขยายขนาดไดโดยทีค่ วามละเอียดของภาพไมเปลีย่ นแปลงแตเรือ่ งของความสวยงาม พวก
บิตแมปสามารถตกแตงความละเอียดสวยงามไดดกี วา ซึง่ ขึน้ อยูก บั จุดประสงคในการใชงานหรือลักษณะ
ของงานทีต่ อ งการ อยางไรก็ตาม อุปกรณแสดงผลไมวา จะเปนเครือ่ งพิมพดอตแมทริกซหรือเลเซอร รวมทัง้
จอภาพ จะเปนการแสดงผลแบบ Raster Devices หรือแสดงในรูปของบิตแมป คือ อาศัยการรวมกันของ
พิกเซลออกมาเปนรูป แมวา จะเปนกราฟกทีส่ รางเปนแบบเวกเตอรแตจะมีการเปลีย่ นเปนการแสดงผลแบบ
บิตแมปหรือเปนพิกเซลเมือ่ จะพิมพหรือแสดงภาพบนหนาจอ

รูปที่ 1.3 แสดงมุมมอง


ภาพแบบ Vector
ขยายที่ 3 เทา และ 24 เทา

อุปกรณคอมพิวเตอรที่เกี่ยวของกับงานกราฟก
เครื่อง PC
1. เครือ่ งคอมพิวเตอรทม่ี ี CPU รุน Pentium หรือรุนที่สูงกวา
2. ใชระบบปฏิบตั กิ าร Windows98 /Windows ME/Windows2000/ WindowsXP
หรือ Windows NT4.0 ที่ติดตั้ง Service Pack 4 ,5 หรือ 6a เปนอยางนอย
3. RAM อยางนอย 128 MB ขึ้นไป
4. Hard Disk เนือ้ ทีว่ า งอยางนอย 125 MB
5. การดจอแสดงผลสีหนาจอ 256 สี (8 บิต) หรือ 24 บิต ขึน้ ไปสําหรับงานกราฟฟก
6. แสดงผลความละเอียดของจอภาพ 800 X 600 พิกเซล
วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4
โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 4
เครื่อง Macintosh
1. เครือ่ งแบบ PowerPC ควรเปน Pentium ขึ้นไป
2. ใช Mac OS 7.5 หรือสูงกวา ไดแก 8.0, 8.5, 8.6 หรือเครื่องทีเ่ ร็วกวา
3. RAM อยางนอย 128 MB หรือมากกวา
4. Hard Disk เนือ้ ทีว่ า งอยางนอย 125 MB
5. แสดงผลความละเอียดของจอภาพ 800 X 600 พิกเซล
เครื่องสแกนเนอร
เครือ่ งสแกนเนอร เปนอุปกรณตอ เชือ่ มคอมพิวเตอรแบบกราฟก มีหนาทีแ่ ปลงภาพถาย
ตัวอักษร ภาพวาด ใหเปนขอมูลในคอมพิวเตอร มี 3 ชนิด คือ
1. แบบใสกระดาษ
2. แบบวางกระดาษ
3. แบบมือถือ
กลองถายภาพระบบดิจิตอล
กลองถายภาพระบบดิจติ อล สามารถถายและใหภาพเปน Digital Image ได โดยไมตอ งผาน
กระบวนการแปลงภาพ ทําใหสามารถประหยัดเวลาไดอยางมากมาย อีกทัง้ ภาพทีไ่ ดจากกลองดิจติ อลเปน
ภาพทีม่ คี วามละเอียด
เครือ่ งพิมพ
เครือ่ งพิมพ (Printer) เปนอุปกรณสาํ คัญ ซึง่ พิมพงานกราฟกออกมาบนกระดาษ มี 3 ชนิด
1. เครือ่ งพิมพแบบด็อตแมทริกซ (Dot Matrix Printer) ใชหวั เข็มในการพิมพตวั อักษร ใชในงาน
กราฟกคุณภาพในการพิมพงานกราฟกต่าํ ใชพมิ พเอกสารทีม่ ลี กั ษณะเปนขอความมากกวาขอดีทนทาน ผา
หมึกถูก พิมพสาํ เนาได ขอเสีย พิมพเสียงดัง พิมพชา งานคอนขางหยาบ

รูปที่ 1.4 แสดงเครื่องพิมพแบบด็อตแมทริกซ (Dot Matrix Priter)

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 5
2. เครือ่ งพิมพแบบพนหมึก (Ink-Jet Printer) หรือ Desk Jet เปนเครือ่ งพิมพทม่ี รี าคาถูกและ ความ
เอียดสูง โดยอาศัยการพนหมึกจากตลับขาว-ดํา และสีบนกระดาษดวยความเร็วสูง นิยมใชกัน มากในงาน
กราฟก ขอดีคอื พิมพไดละเอียด คมชัด เสียงเงียบ ขอเสีย หมึกราคาแพงและแหงชา

3. เครือ่ งพิมพเลเซอร (Laser Printer) เครือ่ งพิมพทม่ี คี ณ


ุ ภาพสูง พิมพภาพไดความละเอียด300-
1200 จุดตอนิ้ว ขอดีพิมพตวั อักษรคมชัดกวาแบบอื่น พิมพไดรวดเร็ว ขอเสีย พิมพสําเนาไมได

รูปที่ 1.6 แสดงรูปภาพเครือ่ งพิมพแบบเลเซอร


กระดานกราฟก
กระดานกราฟก (Graphic Tablet) เปนอุปกรณทใ่ี ชทาํ งานรวมกับซอฟตแวรกราฟกโดยชวยให
สามารถวาดภาพกราฟกในคอมพิวเตอรได เชนเดียวกับการวาดภาพบนกระดาษ อุปกรณนจ้ี ะมีสว นทีเ่ ปน
เมนูคาํ สัง่ บนอุปกรณและสวนวาดภาพ เมือ่ ลากเสนบนสวนวาดภาพโดยใชปากกาทีใ่ หมาจะปรากฏเสนบน
จอคอมพิวเตอรในลักษณะเดียวกัน นอกจากนั้นยังสามารถเปลี่ยนสีปากกา และระบายสีได อุปกรณนี้
เหมาะกับงานกราฟกทางดานศิลปะหรือการตกแตงภาพทีไ่ ด จากอุปกรณ นําเขาภาพ

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 6
ปากกาแสง
ปากกาแสง (Light pen) เปนปากกาพิเศษทีม่ สี ายตอไปยังระบบคอมพิวเตอร ใชสาํ หรับการบอก
ตําแหนง ขอดีของปากกาแสงคือ สามารถชีบ้ นจอภาพโดยตรง เพือ่ บอกตําแหนงของวัตถุ ซึง่ มองเห็นบน
จอภาพไดทนั ที

จอสัมผัส
จอสัมผัส (Touch screen ) จะทํางานคลายกับปากกาแสงแตจอภาพจะเคลือบสารพิเศษ ทําให
สามารถรับตําแหนงของการสัมผัสดวยมือไดทนั ที

รูปที่ 1.9 แสดงรูปภาพจอสัมผัส


เครื่องอานพิกัด
เครือ่ งอานพิกดั (Digitizer) เปนอุปกรณนาํ เขาขอมูลภาพ มีลักษณะเปนกระดานและมีสวนหัว
นําเขาขอมูล ซึง่ มีปมุ กดอยู เมือ่ ผูใ ชวางหัวนําเขาบนกระดานและกดปุม อุปกรณจะรายงาน ตําแหนงของหัว
นําเขาบนกระดานไปยังเครือ่ งคอมพิวเตอร อุปกรณนม้ี กั จะใชงานในการลอกแบบ หรือนําเขาแบบกอสราง
แบบอุปกรณเครือ่ งมือและแผนที่ ซึง่ การประยุกตใชจะเปนงานดานการผลิตใชคอมพิวเตอรชว ย (Computer
Aided Manufacturing: CAM) หรืองานสารสนเทศเชิงภูมศิ าสตร

รูปที่ 1.10 แสดงรูป เครื่องอานพิกัดแบบตาง ๆ

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 7
พล็อตเตอร
พล็อตเตอร (Plotter) เปนอุปกรณแสดงผลกราฟกทีม่ ปี ากกาเคลือ่ นทีบ่ นแกน สามารถเขียนรูปราง
ตาง ๆ การพิมพของเครือ่ งพล็อตเตอร มักจะนิยมใชในการพิมพงานทีเ่ ปนเวกเตอร เชนแบบแปลน
บาน แบบแปลนอาคาร หรือแบบแปลนทางวิศวกรรม
เครือ่ งพล็อตเตอรจะมีทใ่ี สกระดาษพิมพขนาดใหญ มีปากกาในการพิมพหลายสี ลักษณะการทํางาน
เหมือนกับการเขียนของคนเรา โดยใชปากกาเปนตัวเขียนดึงกลับไปมา สวนกระดาษจะเปนสวนที่เคลื่อนที่

รูปที่ 1.11 แสดงรูปพล็อตเตอรแบบตาง ๆ

5 หลักการใชสแี ละแสงในเครือ่ งคอมพิวเตอร


สีมคี วามสําคัญอยางมากตองานกราฟก สีทาํ ใหภาพหรือสิง่ ตาง ๆ มีความสดใส สวยงามนาสนใจ
ในการใชสเี พือ่ สือ่ ความหมายในงานกราฟก ควรจะไดศกึ ษาใหมคี วามรูค วามเขาใจเพือ่ ที่ จะไดนาํ สีไปใช
ประกอบในงานกราฟก ใหงานนัน้ สามารถตอบสนองไดตรงตามจุดประสงคมาก ทีส่ ดุ
ระบบสีของคอมพิวเตอร
ระบบสีของคอมพิวเตอรเกีย่ วของกับการแสดงผลของแสงบนจอคอมพิวเตอร โดยมีลกั ษณะการ
แสดงผล คือ ถาไมมกี ารแสดงผลสีใด บนจอภาพจะแสดงเปน “สีดํา” หากสีทุกสีแสดงพรอมกันจะ
เห็นสีบนจอภาพเปน “สีขาว” สวนสีอื่น ๆ เกิดจากการแสดงสีหลาย ๆ สี แตมคี า แตกตางกัน การ
แสดงผลลักษณะนี้ เรียกวา “ การแสดงสีระบบ Additive”

การแสดงสีระบบ Additive
สีในระบบ Additive ประกอบดวยสีหลัก 3 สี คือ แดง (Red) เขียว (Green) น้าํ เงิน (Blue)เรียกรวมกันวา
RGB หรือ แมสี

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 8
ระบบสีทใ่ี ชกบั งานสิง่ พิมพ
ระบบสีทใ่ี ชกบั งานสิง่ พิมพ ประกอบดวย สีฟา (Cyan) สีมว งแดง (Magenta) และสีเหลือง(Yellow)
คือ ระบบ CMYK

รูปที่ 1.13 แสดงสีที่ใชกับงานสิ่งพิมพ


แสงสีขาวจากธรรมชาติหรือแสงจากดวงอาทิตยเกิดจากการผสมของแมสสี ามสี คือ แดง เขียวและ
น้าํ เงิน ซึง่ เหมือนกับสีทป่ี รากฏบนจอคอมพิวเตอร หากนําภาพดิจติ อลทีท่ าํ จาก คอมพิวเตอรไปแสดงผลทาง
เครือ่ งพิมพ ภาพสีหรือเปนฟลม สไลด จะไดสที ใ่ี กลเคียงกับจอมอนิเตอรถา นําไปใชทางการพิมพ เชน
หนังสือ หรือสิง่ พิมพตา ง ๆ สีสนั จะผิดเพีย้ นไป เพราะทางการพิมพใชแมสี ไซแอน มาเจนตา และเหลือง
(CMYK) ซึง่ ผสมกันแลวจะไดสดี าํ นอกจากนีข้ อบเขตของสีกป็ รากฏแตกตางกัน จอมอนิเตอรสามารถ
แสดงสีไดสงู สุด 16.7 ลานสี นอยกวาทีต่ าคนเราสามารถมองเห็น สวนการพิมพอยูใ นระดับหมืน่ สีเทานัน้

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 9
คอมพิวเตอรกราฟกกับการประยุกตใชในงานดานตาง ๆ
คอมพิวเตอรกราฟกกับการออกแบบ
คอมพิวเตอรกราฟกไดถกู นํามาใชในงานออกแบบมาเปนเวลานาน คําวา CAD (ComputerAided
Design) ซึง่ เปนโปรแกรมสําหรับชวยในการออกแบบทางวิศวกรรมเริม่ เปนทีร่ จู กั โปรแกรมเหลานีจ้ ะชวย
ใหผอู อกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานตาง ๆ ไดสะดวกขึน้ กลาวคือ ผูอ อกแบบสามารถเขียนเปนแบบ
ลายเสน แลวลงสี แสง เงา เพือ่ ใหดคู ลายกับของจริงได นอกจากนีแ้ ลว เมือ่ ผูอ อกแบบกําหนดขนาดของวัตถุ
ลงในระบบ CAD แลว ผูอ อกแบบยังสามารถยอหรือขยายภาพนัน้ หรือตองการหมุนภาพไปในมุมตาง ๆ ได
ดวย การแกไขแบบนีก้ ท็ าํ ไดงา ยและสะดวกกวา การ ออกแบบบนกระดาษ ทางดานวิศวกรรมไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการออกแบบวงจรตาง ๆ ผูอ อกแบบสามารถวาดวงจรบน
จอภาพโดยใชสัญลักษณตาง ๆ ที่ระบบจัดเตรียมไวให แลวประกอบกันเปนวงจรที่ตองการ ผูออกแบบ
สามารถแกไข ตัดตอ เพิ่มเติมวงจรไดโดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสําหรับออกแบบ PCB (Printed
Circuit Board) ซึง่ มีความสามารถจัดการใหแผนวงจรมีขนาดทีจ่ ะวางอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสได
เหมาะสมทีส่ ดุ
การออกแบบพาหนะตาง ๆ เชน รถยนต เครือ่ งบิน หรือเครือ่ งจักรตาง ๆ ในปจจุบนั ก็ใชระบบ
CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบสวนยอย ๆ แตละสวนกอน แลวนํามาประกอบกันเปนสวนใหญขน้ึ
จนเปนเครือ่ งจักรเครือ่ งยนตทต่ี อ งการได นอกจากนีใ้ นบางระบบยังสามารถทีจ่ ะทดสอบแบบจําลองที่
ออกแบบไวไดดว ย เชน ออกแบบรถยนต แลวนําโครงสรางของรถทีอ่ อกแบบนัน้ มาจําลองการวิง่ โดยให
วิง่ ทีค่ วามเร็วตาง ๆ กันแลวตรวจดูผลทีไ่ ด ซึง่ การทดลองแบบนีส้ ามารถทําไดในระบบคอมพิวเตอรและ
ประหยัดกวาการสรางรถจริง ๆ แลวนําออกมาศึกษาทดสอบการวิง่ การออกแบบโครงสราง เชน ตึก บาน
สะพาน หรือโครงสรางใด ๆ ทางวิศวกรรมโยธา และสถาปตยกรรม ก็สามารถทําไดโดยใช CAD ชวยใน
การออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสรางในแบบ 2 มิติเสร็จแลว ระบบ CAD สามารถจัดการให
เปนภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพทีม่ มุ มองตาง ๆ กันไดตามทีผ่ อู อกแบบตองการ นอกจากนีใ้ นบาง
ระบบสามารถแสดงภาพใหปรากฏตอผูอ อกแบบ
กราฟและแผนงาน
วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4
โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 10
คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการแสดงภาพกราฟ และแผนภาพของขอมูลไดเปนอยางดี
โปรแกรมทางกราฟกทั่วไปในทองตลาด จะเปนโปรแกรมทีใ่ ชในการสรางภาพกราฟ และแผนภาพ
โปรแกรมเหลานีส้ ามารถสรางกราฟไดหลายแบบ เชน กราฟเสน กราฟแทง และกราฟวงกลมนอกจากนี้ยัง
สามารถแสดงภาพกราฟไดทง้ั ในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทําใหภาพกราฟทีไ่ ดดดู แี ละนาสนใจ กราฟและ
แผนภาพทางธุรกิจ เชน กราฟ หรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และขอมูลทางเศรษฐกิจ จะเปนประโยชน
ตอผูบ ริหารหรือผูจ ดั การกิจการมาก เนือ่ งจากสามารถทําความเขาใจกับขอมูลไดงา ยและรวดเร็วกวาเดิม ใน
งานวิจยั ตาง ๆ เชน การศึกษาทางฟสกิ ส กราฟ และแผนภาพ มีสว นชวยใหนกั วิจยั ทําความเขาใจกับขอมูล
ไดงา ยขึน้ เมือ่ ขอมูลทีต่ อ งการวิเคราะหมจี าํ นวนมาก
ระบบขอมูลทางภูมศิ าสตร หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เปนรูปแบบหนึง่
ของการแสดงขอมูลในทํานองเดียวกับกราฟและแผนงาน ขอมูลทางภูมศิ าสตรจะถูกเก็บลงในระบบ
คอมพิวเตอร แลวใหระบบคอมพิวเตอรกราฟกจัดการแสดงขอมูลเหลานัน้ ออกมาทางจอภาพในรูปของ
แผนทีท่ างภูมศิ าสตร
ภาพศิลปโดยคอมพิวเตอรกราฟก
การวาดภาพในปจจุบันนีใ้ คร ๆ ก็สามารถวาดไดแลว โดยไมตองใชพูกนั กับจานสี แตจะใช
คอมพิวเตอรกราฟกแทน ภาพทีว่ าดในระบบคอมพิวเตอรกราฟก สามารถกําหนดสี แสง เงา รูปแบบ
ลายเสนทีต่ อ งการไดโดยงาย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน หลายชิน้ ก็เปนงานจากการใชคอมพิวเตอรกราฟก
ขอดีของการใชคอมพิวเตอรวาดภาพก็คอื สามารถแกไขเพิม่ เติมสวนทีต่ อ งการไดงา ย และสามารถนําภาพ
ตาง ๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอรไดโดยใชเครื่องสแกนเนอร(Scanner) แลวนําภาพเหลานัน้ มาแกไข

ภาพเคลื่อนไหวโดยใชคอมพิวเตอร
ภาพยนตรการตูน และภาพยนตรประเภทนิยายวิทยาศาสตร หรือภาพยนตรทใ่ี ชเทคนิคพิเศษ
ตาง ๆ ในปจจุบนั มีการนําคอมพิวเตอรกราฟกเขามาชวยในการออกแบบและสรางภาพเคลือ่ นไหว
(Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเปนวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และงายกวาวิธอี ื่น ๆ ภาพที่ ไ ดยงั ดู
สมจริงมากขึน้ เชน ภาพยานอวกาศทีป่ รากฏอยูใ นภาพยนตรประเภทนิยายวิทยาศาสตร เปนตน การใช
คอมพิวเตอรกราฟกชวยใหภาพทีอ่ ยูใ นจินตนาการของมนุษย สามารถนําออกมาทําใหปรากฏเปนจริงได

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 11
ภาพเคลือ่ นไหวมีประโยชนมาก ทัง้ ในระบบการศึกษา การอบรม การวิจยั และการจําลองการ
ทํางาน เชน จําลองการขับรถ การขับเครือ่ งบิน เปนตน เกมคอมพิวเตอรหรือวิดโี อก็ใชหลักการทํา
ภาพเคลือ่ นไหวในคอมพิวเตอรกราฟกเชนกัน
อิเมจโปรเซสซิง (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพทีเ่ กิดจากการถายรูปหรือจากการ
สแกนภาพใหปรากฎบนจอภาพคอมพิวเตอร วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิง จะตางกับวิธีของ
คอมพิวเตอรกราฟก กลาวคือ ในระบบคอมพิวเตอรกราฟก ตัวคอมพิวเตอรเองจะเปนตัวที่สรางภาพแต
เทคนิคทางอิเมจโปรเซสซิงนัน้ ใชคอมพิวเตอรสาํ หรับจัดการรูปแบบของสีและแสงเงาทีม่ อี ยูแ ลวในภาพให
เปนขอมูลทางดิจติ อล แลวอาจจะมีวธิ กี ารทําใหภาพทีร่ บั เขามานัน้ มีความชัดเจนมากขึน้ กอนจากนัน้ ก็จะ
จัดการกับขอมูลดิจิตอลนีใ้ หเปนภาพสงออกไปทีจ่ อภาพของคอมพิวเตอรทนั ที วิธกี ารนีม้ ปี ระโยชนใน
การแสดงภาพของวัตถุทเ่ี ราไมสามารถจะเห็นไดโดยตรง เชน ภาพถายดาวเทียมภาพจากทีวสี แกนของ
หุนยนตอุตสาหกรรม เปนตน
เมือ่ ภาพถายไดบนั ทึกเปนขอมูลดิจติ อลแลว ก็สามารถจะจัดการแกไขเปลีย่ นแปลงภาพนัน้ โดย
จัดการกับขอมูลดิจติ อลของภาพนัน่ เอง ซึง่ เราก็จะใชหลักการของคอมพิวเตอร กราฟกมาใชกับ ขอมูล
เหลานี้ได เชน ในภาพสําหรับการโฆษณา สามารถทําใหภาพทีเ่ ห็นเหมือน ภาพถายนัน้ แปลกออกไป
จากเดิมได โดยการมีภาพบางอยางเพิม่ เขาไปหรือบางสวนของภาพนัน้ หายไป ทําใหเกิดเปนภาพที่
ไมนา จะเปนจริงแตดเู หมือนกับเกิดขึน้ จริงไดเปนตนเทคนิคของอิเมจโปรเซสซิงสามารถประยุกตใชกบั
การแพทยได เชน เครื่องเอกซเรยโทโมกราฟก(X-ray Tomography) ซึง่ ใชสาํ หรับแสดงภาพตัดขวางของ
ระบบรางกายมนุษย เปนตน
จะเห็นไดวา คอมพิวเตอรกราฟกนัน้ นับวันก็ยง่ิ มีความสําคัญในสาขาวิชาตาง ๆ มากขึน้ ดังนัน้ จึง
เปนการดีทเ่ี ราควรจะมีความรูค วามเขาใจในหลักการและเทคนิคเบือ้ งตนตาง ๆ ทีใ่ ชในคอมพิวเตอรกราฟก

วิชา กราฟก รหัสวิชา 30202 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4/4


โดย..ครูวรวรรณ เหรียญทอง โรงเรียนปยะบุตร อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1หนา 12

You might also like