Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 29

เครือ

่ งไส
เครือ่ งไสเป็ นเครือ่ งจักรกลทีใ่ ช้ในแผนกช่างกลโรงงาน
ทีม
่ ีความจาเป็ นในการ ลดขนาดชิน ้ งานได้อย่างรวดเร็ว
งานไสเป็ นการตัดเฉื อนชิน ้ งานเพือ่ ลดขนาด
และคุณภาพผิวของชิน ้ งานตามต้องการ
ด้วยมีดไสตัดเฉื อนเนื้อชิน ้ งานให้ขาดออกไปตาม แนวไส
โดยมีลกั ษณะการทางานอยู่ 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะแรกมีดไสจะเคลือ ่ นทีไ่ ป-มา
ส่วนชิน้ งานถูกจับยึดด้วยปากกา และเคลือ ่ นทีเ่ ข้าหามีดไส
ลักษณะทีส่ องมีดไสอยูก ่ บั ทีโ่ ต๊ะงานทีจ่ บั ชิน้ งานจะเคลือ ่ นทีไ่ ป-
มา เพือ ่ ให้มดี ไสกินงาน เช่น งานไสราบ งานไสฉาก
งานไสร่องลิม ่ งานไสตัวที งานไสเฟื องสะพาน เป็ นต้น
ส่วนประกอบของเครือ
่ งไส
หน้าที่
และส่วนประกอบของเครือ ่ งไสแนวราบโดยทั่วไปหน้าที่
และส่วนประกอบของเครือ ่ งไสจะประกอบด้วย ส่วนต่างๆ
ทีส่ าคัญดังนี้
1. ฐานเครือ
่ งไส (Base)
ทาหน้าทีร่ องรับส่วนประกอบต่าง ๆ
ทัง้ หมดของเครือ ่ งไสทามาจากเหล็กหล่อทีม
่ ีความแข็งแรงทนท
านสามารถรับน้าหนักได้มาก
2. รางเลือ ่ นขวาง (Cross Rail)
ทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวรองรับงานในการเคลือ
่ นทีข
่ อง
โต๊ะงานไปทางซ้าย-ขวา ด้วยเพลาเกลียว

รางเลือ่ น
3. ปากกาจับงาน ใช้สาหรัขวาง
บจัดยึดชิน
้ งาน
โดยปากกาจับงานจะยึดอยูบ ่ นโต๊ะงานไส
4. โต๊ะงานไส ทาหน้าทีจ่ บั ยึดชิน
้ งานทีม ่ ีขนาดใหญ่
หรือใช้สาหรับเป็ นฐานรองในการจับยึดงานด้วยปากกา
เนื่องจากโต๊ะรองรับงานไสมีรอ ่ งตัวทีชว่ ยสาหรับการจับยึด
และยังสามารถปรับเป็ นมุมต่าง ๆ ได้
5. โครงเครือ่ งไส (Body Casting)
ผลิตจากเหล็กหล่อทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวหลักสาหรับให้สว่ นประกอบ
ชิน
้ อืน
่ ๆ จับยึดเข้าด้วยกัน
6.

ขารองรับน้าหนักโต๊ะงานไส (Table Support)


ทาหน้าทีร่ องรับโต๊ะงานไสไม่ให้ยุบตัวลงขณะทีไ่ สชิน้ งาน
ส่วนบนขารองรับน้าหนักโต๊ะงาน เคลือ ่ นทีข ึ้ ลงตามร่องได้
่ น
ขารองรับน้าหนักโ
7.หัวเครือ ต๊ะงานไส
่ งไส (Tool Head)
เป็ นชิน้ ส่วนทีย่ ด
ึ ติดอยูด่ า้ นหน้าของแคร่เลือ่ น
หัวเครือ ่ งไสทาหน้าทีป ่ ้ อนมีดไสเคลือ ้ ลงเพือ
่ นขึน ่ กินลึกลงไปใ
นชิน ้ งาน
และสามารถปรับองศาได้เพือ ่ ใช้ในการไสงานให้เป็ นมุมฉากห
รือมุมต่างๆได้

หัวเครือ

งไส
ส่วนประกอบของหัวเครือ
่ งไส
1. มือหมุนป้ อน (Vertical Feed Handle)
ใช้สาหรับป้ อนมีดไสกินลึกชิน ้ งาน
2. แท่นเลือ่ นป้ อมมีด (Tool Slide) ทาหน้าทีเ่ ลือ ้ -
่ นขึน
ลงเพือ
่ ป้ อนมีดกินลึก ในชิน
้ งาน
3. กล่องนอก (Clapper Box) เป็ นทีย่ ดึ ของกล่องมีด
4. กล่องมีด (Hinged Clapper Box)
เป็ นส่วนทีย่ ดึ ติดอยูก
่ บั กล่องนอก
สามารถกระดกขึน ้ ลงได้ขณะทีแ ่ คร่เลือ
่ นถอยหลังกลับเพือ
่ ป้ อง
กันมีดไสเสียดสีกบั ชิน ้ งาน
5. ป้ อมมีดไส (Tool Post) ใช้สาหรับจับยึดมีดไส
6. มอเตอร์ (Motor)
เป็ นส่วนทีท ่ าหน้าทีส่ ง่ กาลังในการขับเคลือ ่ นส่วนต่างๆ
ของเครือ ่ งไส
ชนิดของเครือ
่ งไส
เครือ ่ งไสทีใ่ ช้กนั อยูต
่ ามโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปมีอยู่ 3 ชนิ
ด ได้แก่ เครือ ่ งไสนอน เครือ ่ งไส เครือ
่ งไสแนวราบ
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. เครือ
่ งไสนอน (Shaping
Machine) เป็ นเครือ ่ งจักรกลพื้นฐานทีใ่ ช้งานกันมาก
ตามโรงงานอุตสาหกรรม
ซึง่ มีดไสจะตัดเฉื อนชิน ้ งานในลักษณะเคลือ ่ นทีไ่ ป-
มาในแนวนอน

เครือ
่ งไส
นอน
2. เครือ
่ งไสตัง้ (Vertical shaping
Machine) เป็ นเครือ ่ งไสทีใ่ ช้ไสชิน
้ งานเฉพาะอย่าง

ลักษณะการตัดเฉื อนชิน
้ งาน จะเคลือ
่ นทีข ึ้ -ลง ตามแนวตัง้
่ น
ใช้ในการไสร่องสไปลน์ ร่องลิม
่ เฟื องใน

เครือ่ งไ
สตัง้
3. เครือ่ งไสแนวราบ (Planer
Machine) เป็ นเครือ ่ งจักรกลทีใ่ ช้ไสชิน
้ งานทีม
่ ีความยาวและใ
หญ่มาก ลักษณะการทางานโต๊ะงานจะเคลือ ่ นทีผ
่ า่ นมีดไส
เพือ
่ ตัดเฉื อนชิน
้ งาน

เครือ
่ งไสแน
4. วราบ

เครือ่ งไสแบบไฮดรอลิก (Hydraulic Shaper)


เป็ นเครือ่ งไสทีม
่ ลี กั ษณะการทางานแบบเดียวกับเครือ่ งไสแนว
นอน แตกต่างกันทีร่ ะบบกลไกขับเคลือ ่ น
แคร่เลือ่ นจะเป็ นระบบ ไฮดรอลิก
และความเร็วในการไสเป็ นอัตราส่วน 2 :1
เวลาถอยแคร่เลือ ่ นกลับจะเร็วกว่าช่วงกินงาน 1 เท่าตัว
ข้อดีเครือ ่ งไสแบบนี้สามารถกินงานได้ลก ึ
และเวลาปรับเปลีย่ นความเร็วไสสามารถปรับได้ขณะเครือ ่ งทา
งานอยู่
เครือ
่ งไสแบบไ
ฮดรอลิก
5. เครือ่ งไสขนาดใหญ่(Planers)
เป็ นเครือ่ งไสทีใ่ ช้สาหรับไสงานชิน ้ ใหญ่ๆ
ชิน
้ งานจะถูกจับยึดกับโต๊ะงานทีส่ ามารถเคลือ ่ นที่ ไป-มา
ผ่านมีดไสทีถ ่ กู จับยึดอยูต ่ รงกลางเครือ ่ ง และเคลือ ่ นที่
ในแนวขวางกับแนวดิง่ ได้ดว้ ยการส่งกาลังให้โต๊ะงานไสเคลือ ่
นทีจ่ ะใช้ ระบบไฮดรอลิก ระบบเกลียว ระบบสายพาน
หรือระบบมอเตอร์ ทีป ่ รับความเร็วได้
เครือ่ งไสขนาดใหญ่มีหลายแบบ เช่น
1) เครือ ่ งไสชนิดหัวจับมีดไสด้านข้าง (Open-side
planer) เป็ นเครือ ่ งไสทีม ่ ดี ไส ติดตัง้ อยูบ
่ นแขนของเครือ ่ งไส
และเคลือ ่ นทีข่ นึ้ อยู่ บนแขนของเครือ ่ งไส และเคลือ ่ นที่ ซ้าย-
ขวา จากโต๊ะงานพร้อมกับ ขึน ้ -ลง ได้ดว้ ย
เหมาะกับงานไสชิน ้ งานทีม ่ ีขนาดเล็กแต่มีพน ื้ ทีก
่ ว้างๆ
เครือ
่ งไสขนา
่ งไสชนิดหัวจับดใหญ่
2) เครือ มีดไสคู่ (Double-housing
planer) เป็ นเครือ
่ งไสขนาดใหญ่ แบบมีตวั จับมีดไสสองชุด
และเคลือ ้ -ลง ได้สาหรับชิน
่ นที่ ไป-มา ขึน ้ งานจะถูกจับอยู่
บนโต๊ะงานทีส่ ามารถเคลือ ่ นที่ ไป-มา ผ่านมีดไส
เหมาะสมกับการไสงานขนาดใหญ่

เครือ
่ งไสชนิดหัวจั
บมีดไสคู่

มีดไส (Shaper tool)


ลักษณะของมีดไสก็จะเหมือนกับมีดกลึง
แต่จะมีมม ุ ต่างๆน้อยกว่ามีดกลึง
เพราะในการไสมีดไสใช้แรงตัดมากกว่ามีดกลึง
วัสดุทใี่ ช้ทามีดไสทาจากเหล็กรอบสูง
(High Speed Steel) หรือเหล็กกล้าคาร์ไบด์

มีดไสหยา มีดไส มีดไสเ มีดไสหย มีดไส


บซ้าย ข้าง รียบ าบ ตัด

มีดไสหยา มีดไสห่างเหยี่ มีดไสละเอีย มีดไสห่างเหยี่


บซ้าย ยวขวา ดซ้าย ยวขวา
ลักษณะของงานไส
1. การไสราบ เป็ นการไสลดขนาดชิน
้ งานให้เล็กลง
มีด
ไส
ชิน
้ ง
าน

โต๊ะงา

2. การไสมุม สามารถทาการไสได้สองลักษณะ คือ
ไสโดยการเอียงชิน
้ งาน และการไสโดยการเอียงหัวจับมีดไส

ร่องห่างเห
ยีย่ ว ชิน
้ ง
าน
3.
การไสผิวงานในแนวดิง่
จะต้องทาการปรับตาแหน่ งมีดไสให้ปาดผิวได้

หัวจั

มีด
ไส

ชิน
้ ง
าน

4. การไสร่องลิม
่ มีทง้ ั การไสร่องลิม
่ ภายในรู
และการไสภายนอก

ชิน
้ ง
5. การไสโดยใช้หวั แบ่าน
ง คือ
การไสงานทีต
่ อ
้ งการแบ่งส่วนออกเท่าๆกัน
มีด
ไส

ชิน
้ ง
าน หัวแ
บ่ง

้ รูป เวลาไสจะต้องเดินชิน
6. การไสขึน ้ งาน
และมีดไสพร้อมกัน และให้สมั พันธ์กน ั ด้วยหรือ
การป้ อนงานตามแนวขวางด้วยอัตโนมัตแ
ิ ละป้ อนกินงานด้วย
มือ

ชิน
้ ง
าน

เครือ ่ งมือ และอุปกรณ์ การไส


1. ปากกาจับงานไส
เป็ นปากกาทีใ่ ช้ยดึ จับธรรมดาทั่วไป
ซึง่ มีแบบปรับองศาได้ และปรับไม่ได้
ลักษณะการใช้งานคือจับยึดงานไส
2. เหล็กแท่งขนาน
เป็ นเหล็กแท่งสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ามุมทุกมุมมีขนาดเป็ นฉาก
ซึง่ ขนานกันทัง้ แท่ง
ใช้ในการรองชิน ้ งานในการจับยึดชิน ้ งานในการไส
3. เหล็กแท่งบันได ทาหน้าทีใ่ นการช่วยจับยึดชิน ้ งาน
ในกรณี ทไี่ ม่สามารถจับยึดชิน ้ งานด้วยปากกาจับชิน้ งานไ
ด้
4. T-slot clamp
ขัน
้ ตอนการไสชิ้นงาน
1.
นาปากกาจับชิน ้ งานจับยึดบนโต๊ะเครือ ่ งไสแล้วยึดให้ม่น
ั คง
พร้อมกับตรวจสอบปากของปากกาให้ได้ขนานกับแคร่เลือ ่ น
โดยการใช้นาฬก ิ าวัดหรือฉากตายทดสอบ
2. จับชิน้ งานด้วยปากกาให้แน่ น
พร้อมกับตรวจสอบให้ได้ระดับ
3. จับมีดไสทีห ่ วั จับให้มีระยะห่างจากหัวพอประมาณ
อย่าจับมีดไสยาวเกินไปจะทาให้มด ี ไสหักได้พร้อมกับเอียงมีด
ไสให้อยู่ ในตาแหน่ งทีถ ่ ก
ู ต้อง
4. ตัง้ ระยะชักให้เหมาะสมกับความยาวของชิน ้ งาน
โดยเผือ่ ระยะหน้ามีดประมาณ 25 มม.และระยะหลังมีดไส 10
มม.
5. เปิ ดเครือ่ งไส ทาการไสชิน ้ งาน
วิธีตง้ ั และปรับความยาวช่วงชัก
เปลีย่ นความยาวของระยะชักให้อยูใ่ นตาแหน่ งทีต ่ อ้ งการ
ตาแหน่ ง Crank pin ใน Crank Gear
จะต้องเลือ ่ นออกจากจุดศูนย์กลางซึง่ เป็ นจุดทีร่ ะยะชักมีคา่ เป็ น
ศูนย์กลาง ซึง่ เป็ นจุดทีร่ ะยะชักมีคา่ เป็ นศูนย์ไปยังเส้นรอบวง
จะเป็ นจุดทีม ่ ีความยาวของระยะชักมีคา่ ความยาวมากทีส ่ ด

การปรับแต่งความยาวของช่วงชักนี้อาศัยหลักการของระยะกา
รหนีศน ู ย์ปรับด้วยเกลียว โดยการหมุนปรับด้วยมือผ่าน
Bevel Gear
ซึง่ ปลายเพลาเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าเพือ่ เอาไว้ใส่ประแจหมุน
Crank pin จะมี Sliding Block ประกอบอยูต ่ วั
Sliding Block จะยึดติดแน่ นกับ Dovetail Block
ด้วยตัวDovetail Block
นี้จะมีแกนเกลียวสวมอยูแ ่ ละหมุนอยูก ่ บั ทีไ่ ด้
ดังนัน ้ เมือ่ หมุนสลักเกลียวก็จะเป็ นตัวทาให้ Dovetail Block
เคลือ
่ นที่ และเปลีย่ นตาแหน่ งของ Crank pin บน Crank
Gear ทาให้ความยาวช่วงชักเปลีย่ นไป
ระบบการป้ อน
ระบบการป้ อนของเครือ ่ งไส
การป้ อนไสจะเคลือ ่ นทีด ่ ว้ ยระบบ Feed Screw
การหมุนป้ อนอัตโนมัตก ิ ระทาได้โดยการหมุน Feed Screw
ซึง่ กระทาในจังหวะ ชักกลับ หรือถอยกลับของมีดไส
การป้ อนจะเกิดขึน ้ โดยการใช้ Pawlและ Ratchet Wheel
ประกอบเข้ากับปลายข้างหนึ่งของ Feed Screw
ในเครือ ่ งไสสมัยใหม่จะมี Feed Box ใน Feed Box
ภายในมีอป ุ กรณ์ เช่นเดียวกันนี้ประกอบอยูด ่ ว้ ยหลักการเดียวกั
น ในจังหวะทิศทางการถอยกลับ Pawl
จะยกขึน ้ ด้วยกาลังของสปริง ทาให้ไม่มีการป้ อน
เมือ ่ ถึงจังหวะเดินหน้า ตัว Pawl จะติดกับ Ratchet Wheel
ทาให้ Ratchet Wheel หมุนไปหนึ่งฟันหรือสองฟัน
หรือมากกว่า ซึง่ ขึน ้ อยูก
่ บั ระยะ Crank pin
ทีต่ ง้ ั ไว้หนีศนู ย์ไปมากน้อยเท่าใด
และจะเป็ นจานวนอัตราการป้ อนด้วย
การป้ อนนี้จะกระทาแต่ละครัง้ ของช่วงชักเกลียว
การคานวณคูจ่ งั หวะชักงานไส
L =
ความยาวช่วงชัก (มม.)
N = คูจ่ งั หวะชักงานไส (คูจ่ งั หวะชัก/นาที)
Vm = ความเร็วตัดเฉลีย่ (เมตร/นาที)
ความปลอดภัยและการบารุงรักษาเครือ
่ งไส
1. ความปลอดภัยในงานไส
1.1ไม่จบั ยึดเครือ ่ งมือ
และอุปกรณ์ ในขณะทีเ่ ครือ ่ งจักรกาลังทางาน
1.2ปัดเศษโลหะออกด้วยแปรง หลังจากเครือ ่ งหยุดนิ่ง
1.3เมือ
่ เครือ่ งจักรกาลังทางานห้ามออกจากบริเวณทีป ่ ฏิบ ั
ติงาน
1.4ใช้เครือ่ งมืออย่างถูกต้อง
1.5เมือ่ เครือ่ งจักรชารุดหรือเกิดอุบตั เิ หตุตอ้ งรายงานให้ผู้
ควบคุมทราบทันที
1.6ต้องระมัดระวังในการจับยึดเครือ ่ งมือมีคมและไม่ใช้เค
รือ
่ งมือทีแ
่ ตกร้าว
1.7หยุดเครือ่ งก่อนเปลีย่ นความเร็วในการไส
1.8ปรับตาแหน่ งของกลไกป้ อนอัตโนมัตก ิ อ่ นปิ ดสวิตช์
1.9ห้ามหยุดมีดก่อนจะชักกลับสุดยกเว้นเกิดเหตุสด ุ วิสยั
1.10ต้องแน่ ใจก่อนว่าชิน ้ งานถูกจับยึดอย่างถูกต้องยึดแน่
นปลอดภัย และกลไกป้ อนอยูใ่ นตาแหน่ งปกติ
2. การบารุงรักษาเครือ
่ งไส

2.1ทาความสะอาดเครือ ่ งจักรทุกครัง้ หลังจากการปฏิบตั งิ าน


2.2หยอดน้ามันหล่อลืน ่ ตามจุดต่าง ๆ
ทุกครัง้ ก่อนการทางาน
2.3ตรวจระดับน้ามันในห้องเกียร์อยูเ่ สมอ
2.4ใช้น้ามันหล่อลืน
่ ให้ตรงตามทีบ ่ ริษท
ั ผูผ
้ ลิตกาหนดมา
2.5บันทึกการหล่อลืน ่ ประจาวัน ประจาสัปดาห์ ประจาเดือน
ตามจุดทีบ ่ ริษท

ผูผ
้ ลิตกาหนดโดยเคร่งครัด
เครือ
่ งกัด
เครือ ่ งกัดเป็ นเครือ
่ งจักรกลทีส ่ าคัญอีกชนิดหนึ่งของโรงงาน
ลักษณะการทางานจะแตกต่างกับเครือ ่ งไส และเครือ ่ งกลึง
เครือ
่ งกัดดอกกัดจะเป็ นตัวหมุนตัดชิน ้ งาน
โดยชิน ้ งานจับยึดอยูบ ่ นโต๊ะงาน แล้วเคลือ ่ นทีผ
่ า่ นดอกกัด
เครือ่ งกัดสามารถทางานได้มากมาย เช่นกัดราบ กัดร่อง
กัดเฟื อง ฯลฯ นอกจากนัน ้ ยังสามารถจับยึดหัวจับดอกสว่าน
ดอกคว้านรูรม ี เมอร์ได้อก
ี ด้วย
ชนิด และส่วนประกอบทีส่ าคัญของเครือ
่ งกัด
1. เครือ
่ งกัดด้วยมือ (Hand milling machine)
เป็ นเครือ
่ งจักรขนาดเล็กทีท
่ างานด้วยมือใช้สาหรับกัดงานทั่วไ
ปเล็กๆ เช่น กัดร่องลิม่
กัดเซาะร่อง เจาะรูเป็ นต้น

แขนป้ อ
หัวจั


เสาเครี่
โต๊ะงา อง

เครือ
่ งกัดด้
วยมือ
2. เครือ่ งกัดราบหรือเครือ ่ งกัดแนวนอน (plain milling
machine)
เป็ นเครือ่ งกัดทีส
่ ามารถทางานด้วยมือหรือกลไกอัตโนมัตไิ ด้
แกนมีดกัดจะวางอยู่
ในแนวนอนโต๊ะจับงานของเครือ ่ งกัดสามารถเคลือ
่ นทีเ่ ข้า-ออก
ซ้าย-ขวา ขึน ้ -ลงได้เครือ
่ งกัดชนิดนี้โต๊ะงานจะปรับมุมไม่ได้
ใช้สาหรับกัดงานผิวราบ กัดงานฉาก กัดเฟื อง กัดร่องต่างๆ
เป็ นต้น
คาน เพลาหมุนจับเ
รองรับจับเพลามีดด้ บน พลามีด
านนอก
ทิศทางป้ อนแนวยาว(
ทิศทางป้ อนแนวขวาง(
ซ้าย-ขวา)
เข้า-ออก)
โต๊ะงา เสาเครี่
น อง

ทิศทางป้ อนแนวดิง่ ฐา
้ -ลง)
(ขึน น
เครือ
่ งกัดราบหรือเครือ
่ งกั
ดแนวนอน
3. เครือ่ งกัดยูนิเวอร์แซล (Universal milling machine)
เป็ นเครือ่ งกัดแนวนอนมีลกั ษณะเช่นเดียวกับเครือ ่ งกัดราบ
แต่มีสว่ นทีแ่ ตกต่างคือโต๊ะจับยึดงานของเครือ
่ งกัด
ยูนิเวอร์แซล
สามารถปรับองศาได้ฉะนัน ้ การทางานจึงทาได้มากกว่าเครือ ่ ง
กัดราบ เช่น กัดเฟื องเฉี ยง กัดดอกสว่านเป็ นต้น
4. เครือ่ งกัดแนวตัง้ (Vertical milling machine)
เป็ นเครือ่ งกัดชนิดแกนมีดกัดอยู่
ในแนวตัง้ สามารถกัดผิวชิน ้ งานได้หลายรูปแบบ
รวมทัง้ การคว้านรูเจาะรูรีมเมอร์
โต๊ หัวเครือ
่ งแบบปรับเ
ะจั อียงได้
บง
าน
ขอ
งเ
ครื่
อง
กัด
ก็ส
าม
าร
ถเ
ลือ

น มือหมุนปรับเลือ่ นเพ
เข้ ลามีดตัด
า–
ออก ไป ซ้าย–ขวา และขึน ้ –ลงได้ แบบเดียวกับเครือ ่ งกัดราบ

มือหมุนป้ อนแ
นวตัง้
เพลาจับมีด
มือหมุนกัป้ดอนตา
โต๊ะง
มยาว
าน
ชุดเปลีย่ นอัตราป้
อนตัด
มือหมุนป้ อนตา
มขวาง
แท่นรองโต๊
ะงาน
เครือ
่ งกัดแ
นวตัง้

5. เครือ
่ งกัดเพลนเนอร์ (Planer – type milling machine)
เป็ นเครือ
่ งกัดขนาดใหญ่โต๊ะจับงานจะเคลือ
่ นที่ ่่ไป–มา
มีดกัดจะอยู่ ในแนวนอนจะมีหนึ่งหรือสองหัวกัด
และสามารถเลือ ้ –ลงได้
่ นขึน
ชุดหัวจับมีดกัดแ
นวดิง่
คานขวา
ชุงดควบคุ

ชุดหัวจับมีดกัดด้
ฐา
านข้าง เครือ่ น
งกัดเพลนเ
นอร์
6. เครือ
่ งกัดฐานเครือ ่ งมั่นคง (Fixed–bed type of milling
machine)
เป็ นเครือ
่ งกัดทีม ่ โี ต๊ะจับยึดงานมีความแข็งแรงมาก
และเคลือ ่ นทีใ่ นแนวขนานอย่างเดียว
หัวจับมีดกัดมีแบบหัวเดียว

สองหัวหรือสามหัวก็ได้จะทาหน้าทีห ่ มุนตัดชิน
้ งาน
และเคลือ ้ –ลง และเข้า–ออกจาก ชิน
่ นที่ ขึน ้ งาน

มีดกั

เครือ่ งกัดฐานเครือ
่ โต๊ะงา
งมั่นคง น
7. เครือ ่ งกัดแมชชีนนิงเซ็นเตอร์ (Machining center)
เป็ นเครือ ่ งกัดสมัยใหม่ทค
ี่ วบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
(Computer Numerical Control : CNC)
การทางานทุกส่วนเป็ นไปอย่างอัตโนมัติ
ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนจบขบวนการผลิต คนงานเพียงแต่ใส่ชน
ิ้ งาน

และถอดชิน
้ งานเท่านัน
้ ดังนัน
้ ชิน
้ งานทีไ่ ด้ จึงมีความเทีย่ งตรง
และมีคณ
ุ ภาพ

มีดตัดรอเป
ชิน
้ งา ลีย่ น

เครือ
่ งกัดแมชชีนนิงเ
ซ็นเตอร์
8. เครือ่ งกัดลอกแบบ (Profiling machine)
เป็ นเครือ่ งกัดชนิดพิเศษทีอ่ อกแบบมาเพือ ่ ใช้เฉพาะงาน
เครือ่ งกัดลอกแบบนี้ใช้สาหรับลอกแบบจากงานต้นแบบ
สาหรับงานแม่พม ิ พ์ หรือชิน
้ งานทีเ่ หมือนกับต้นแบบ

โต๊ะง ชิน
้ งา ต้นแบ
าน น บ

เครือ
่ งกัดลอก
เครือ
่ งมือและอุปกรณ์ ใช้แบบ
กบั เครือ
่ งกัด
1. ปากกาจับงาน Vise
เป็ นอุปกรณ์ จบั ยึดชิน ้ งานทีน ่ ิยมใช้กนั มากกับเครือ
่ งกัด
ซึง่ ใช้จบ ั ยึดชิน
้ งานในรูปทรงต่างๆ ได้สะดวก
2. โต๊ะงานแม่เหล็ก
เป็ นโต๊ะงานทีใ่ ช้จบ ั ยึดชิน
้ งานทีเ่ ป็ นเหล็กแผ่นบาง จะจับยึด
ด้วยแม่เหล็ก
3. แกนเพลาจับมีดกัด เพลานอน แกนเพลาจับมีดกัด Arbor
ยึดติดกับแกนเพลาหัวเครือ ่ งกัด
ทาหน้าทีจ่ บั ยึดมีดกัดพามีดหมุนตัดชิน ้ งาน
ใช้คก ู่ บั เครือ่ งกัดเพลานอนแกนเพลาจับมีดกัด Arbor
สาหรับจับยึดดอกกัด ใช้คก ู่ บั เครือ
่ งกัดเพลาแกนตัง้
4. ดอกกัด Cutter
ใช้สาหรับกัดขึน ้ รูปชิน้ งานตามทีเ่ ราต้องการ เช่น กัดเฟื อง
กัดเกลียว กัดผิวเรียบ กัดร่อง ฯลฯ
5. หัวแบ่ง เป็ นอุปกรณ์ ทส ี่ าคัญของเครือ
่ งกัด
สามารถใช้ประโยชน์มากมาย เช่น
ใช้ในการจับยึดชิน ้ งานเพือ ่ กัด
การหมุนแบ่งชิน ้ งานเพือ่ กัดเป็ นองศาหรือแบ่งออกเป็ นส่วนๆ
เช่น การกัดฟันเฟื องตรง กัดเฟื องเฉี ยง
6. อุปกรณ์ พเิ ศษ
เป็ นอุปกรณ์ ทส ้ มาเพือ
ี่ ร้างขึน ่ ใช้งานเฉพาะอย่างทาให้เครือ
่ งกั
ดทางานได้หลากหลาย

ขัน
้ ตอนการทางานของเครือ
่ งกัด
ระบบการทางานของเครือ ่ งกัดทั่วไปจะทางานเหมือนกัน ดังนี้
1.
ตรวจสอบสภาพความพร้อมของเครือ ่ งเพือ
่ ความปลอดภัยในก
ารทางาน
2. ตรวจสอบ ติดตัง้
ความพร้อมของอุปกรณ์ จบั ยึดต่อการใช้อย่างได้อย่างดี
3. จับมีดกัดทีจ่ ะนามาใช้กดั ชิน
้ งาน
4. ตัง้ ความเร็วรอบให้ถก
ู ทาง
5. ป้ อนอัตราป้ อนกัดงานให้ถก ู ต้อง
6. ทาการกัดชิน ้ งานตามแบบงาน
การคานวณความเร็วในงานกัด

มีดกัด (Cutter)
เป็ นอุปกรณ์ เครือ ่ งมือตัดที ่่ ใช้สาหรับตัดชิน
้ งานในรูปแบบต่างๆ
ทาด้วยเหล็กรอบสูง (HighSpeed Steel:HSS)
หรือเหล็กโลหะแข็ง (carbide-tipped)
มีอยูด ่ ว้ ยกันหลายชนิดหลายรูปแบบทิศทางการทางานของงานกัดจะมี
อยูด
่ ว้ ยกันสองทิศทาง คือ 1.การกัดสวนทาง (up milling)
การกัดในลักษณะนี้จะทาให้ได้ผวิ ชิน ้ งานเรียบ 2.การกัดตามทาง
(down milling)
การกัดในลักษณะนี้จะทาให้มีดกั
ดสั่น และใช้แรงกัดมาก
ผิวชิน ้ งานทีไ่ ด้จะเป็ นคลืน่ ไม่เรีย

การกัดสวนทาง (up การกัดต


milling) milling)
ลักษณะของฟันมีดกัดมุมต่างๆ
1. มุมคาย (Rake angle)
มีหน้าทีเ่ ก็บเศษโลหะขณะทีฟ ่ นั กัดชิน้ งาน
และคายเศษโลหะนัน ้ ออกเมือ ่ ฟันนัน้ พ้นจากชิน ้ งาน
จะมีมุมประมาณ 10-15 องศา
2. มุมฟรี(Relief angle)
เป็ นมุมทีอ่ ยูห่ ลังคมตัดเพือ ่ ไม่ให้สว่ นหลังของฟันเสียดสีกบั ชิน้
งาน มุมฟรีจะมีอยูด ่ ว้ ยกันสองมุม คือ มุมทีห ่ นึ่ง (clearance
angle) ซึง่ เป็ นมุมทีน ่ ้อยและมุมทีส่ อง (relef angle)
ซึง่ จะมีมุมขนาดใหญ่เพือ ่ จะได้เก็บเศษโลหะมากขึน ้
3. มุมลิม ่ (Lip angle)
เป็ นมุมทีส ่ ามารถบอกถึงความแข็งแรงของฟันมีดกัด
เมือ ่ รวมมุมคาย มุมฟรี และมุมลิม ่ แล้วจะมีมม ุ รวม 90 องศา
ดังนัน ้ ถ้าใช้งานไปนานๆ
มุมลิม ่ จะเหลือน้อยก็จะทาให้ความแข็งแรงของฟันมีดลดลง
4. มุมเอียง (Helix angle) เป็ นมุมเอียงของมีดกัด เช่น
มีดกัดราบฟันเอียง (plain millingcutter)
จะมีมุมเอียงประมาณ 35-38 องศา

ลักษณะฟัน
มีดกัด
ตัวอย่างลักษณะของงานกัด
1. การกัดราบ เป็ นวิธีการกัดผิวราบหน้าตัดกว้างๆ
โดยการใช้มด ี กัดนอน หรือ มีดกัดด้านข้าง–ด้านหน้า
หรือมีดกัดหน้าเรียบ เหมาะสมกับชิน ้ งานทีม่ ีหน้าตัดกว้างๆ
ข้อควรระวังจะต้องจับยึดชิน ้ งานให้แน่ น
2. การกัดเฟื องตรง เป็ นวิธีการกัดงานโดยการใช้หวั แบ่ง
แบ่งส่วนงานให้เท่ากับจานวนทีต ่ อ้ งการตัด
นอกจากนัน ้ หัวแบ่งยังสามารถใช้กบั งานอืน ่ ๆได้อก ี เช่น
การกัดดอกสว่านดอกรีมเมอร์ เป็ นต้น
3. การกัดเกลียวหนอน (Worm)
จะใช้เครือ
่ งกัดตัง้ พร้อมติดตัง้ ชุดหัวกัดพิเศษและชุดหัวแบ่งทา
การกัด
4. การไสร่องในชิน ้ งานด้วยเครือ ่ งกัด เช่น การไสร่องน้ามัน
การไสร่องลิม ่ เป็ นต้นเครือ
่ งกัดจะต้องประกอบกับชุดหัวไส

การบารุงรักษาเครือ
่ งกัด
1. ตรวจสอบชิน ้ ส่วนต่างๆ ของเครือ ่ งกัดเป็ นประจา
2.
หยอดน้ามันหล่อลืน ่ ในส่วนทีเ่ คลือ
่ นทีท ่ กุ จุดก่อนใช้เครือ
่ งกัดป
ฏิบตั งิ าน
3. เครือ ่ งมือควรวางบนผ้าหรือวัสดุทอ ี่ อ่ น
ไม่ควรวางบนโต๊ะงานโดยตรง
4. ตัง้ ความเร็วรอบและอัตราป้ อนกัดให้เหมาะสมต่องาน
5. ควรหล่อเย็นเป็ นระยะๆ ขณะกัดงาน
6.
หลังเลิกใช้งานต้องทาความสะอาดและหยอดน้ามันส่วนเคลือ ่ น
ทีท
่ ก
ุ จุด

You might also like