กิจกรรมวิทยาศาสตร์ครูวาสนา

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 67

ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 1

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง พลังงานไฟฟ้า

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์

นางวาสนา หนูขาว
ครูชานาญการ
โรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 2
|

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลัง งานไฟฟ้า ชุด นี้ที่ 2 เรื่อง กระแสไฟฟ้า และ
ความต่างศักย์ ในจานวน 5 ชุด ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน ว 23102
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน
เทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี
เนื้ อ หาที่ส าคั ญ ภายในเล่ ม ประกอบด้ วย แบบทดสอบก่ อ นเรี ย นซึ่ ง เป็ น แบบรายตัว เลื อ ก
จานวน 10 ข้อ พร้อมกับบัตรเนื้อหา แบบฝึกหัด และบัตรกิจกรรม ซึ่งเกี่ยวกับ กระแสไฟฟ้า และความ ต่าง
ศักย์ และการทดลอง เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้าและ กฎของโอห์ม
ทั้งมีแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบและบัตรเฉลยกิจกรรม ท้ายสุดมีแบบบันทึกคะแนนก่อน
เรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน
ชุดกิจกรรมนี้ ได้รับคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ และมีการแก้ไขปรับปรุงจนได้ชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่
นักเรียนและช่วยพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดการเรียนรู้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็น
แนวทางพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไ ด้เป็นอย่างดี ส่ง ผลให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ทาให้ชุดกิจกรรมการเรียนนี้
ประสบความสาเร็จ

วาสนา หนูขาว
โรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 3
|

สำรบัญ
หน้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 กระแสไฟฟ้ำ และควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ

คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมสาหรับครู ง
คาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมสาหรับนักเรียน จ
สาระสาคัญ 1
มาตรฐานการเรียนรู้ 1
ตัวชี้วัด 1
แผนผังชุดกิจกรรม 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 6
1. ปริมาณทางไฟฟ้า
บัตรกิจกรรมที่ 1 การทดลอง เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า 7
บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง กระแสไฟฟ้าและการวัดกระแสไฟฟ้า 10
สรุปสาระสาคัญ เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า 11
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง ชิ้นงาน เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า 12
2. การวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ไฟฟ้า
บัตรกิจกรรมที่ 2 การทดลอง เรื่อง การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า 13
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 4
|

หน้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 กระแสไฟฟ้ำ และควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ

บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง การวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ 16


แบบฝึกหัดที่ 2 18
3. ความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
บัตรกิจกรรมที่ 3 การทดลอง เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา 19
บัตรเนื้อหาที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า 22
แบบฝึกหัดที่ 3 25
แบบฝึกหัดที่ 4 26
4. กฎของโอห์ม
บัตรกิจกรรมที่ 4 การทดลอง เรื่อง กฎของโอห์ม 27
บัตรเนื้อหาที่ 4 เรื่อง กฎของโอห์ม 30
สรุปสาระสาคัญ 32
แบบฝึกหัดที่ 5 เรื่อง การนากฎของโอห์มไปใช้ 33
แบบทดสอบหลังเรียน 36
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 39
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 40
แนวคาตอบคาาามท้ายกิจกรรมและแบบฝึก
แนวคาตอบกิจกรรมที่ 1 การทดลอง เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า 42
แนวคาตอบกิจกรรมที่ 2 การทดลอง เรื่อง การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า 45
แนวคาตอบกิจกรรมที่ 3 การทดลอง เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา 47
แนวคาตอบกิจกรรมที่ 4 การทดลอง เรือ่ ง กฎของโอห์ม 50
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 5
|

หน้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 กระแสไฟฟ้ำ และควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ

แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 1 53
แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 2 54
แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 3 55
แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 4 56
บรรณานุกรม
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 6
|

คำชีแ้ จงในกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์


สำหรับครู

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟ้า ประกอบด้วยชุด


กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด 5 ชุดดังนี้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 1 การเกิดกระแสไฟฟ้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 2 กระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 3 วงจรไฟฟ้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 4 เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 5 การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้คือชุดที่ 2 กระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ ใช้เป็น สื่อ
การเรียนรู้ประกอบการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 าึง 7 เรื่อง กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
3. ครูควรศึกษาคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4. ครูต้องชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนเข้าใจทุกคนก่อนดาเนิน
กิจกรรมต่างๆ
5. า้านักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่เข้าใจครูควรแนะนาเพิ่มเติมอาจให้นักเรียนได้ปฏิบัติ
กิจกรรมทั้งในและนอกเวลาเรียนจะทาให้ผู้เรียนมีทักษะและมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 7
|

สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้
ตัวชี้วดั

สาระการเรียนรู้
สาระที่ 5 : พลังงาน
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ว 5.1
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสาร
และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มำตรฐำน ว 8.1
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญ หา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามาราอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน

ตัวชี้วดั
ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทานและนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์ (ว 5.1 ม.3/2)
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 8
|

แผนผังลำดับกำรใช้
ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้

ตรวจคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน
ศึกษามาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัด
ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียน
ศึกษาเนื้อหาจากใบ
ความรู้
ไม่เข้าใจเนื้อหา
ทากิจกรรม หรือตอบผิด

ตรวจคาตอบ /
ไม่ผ่าน หาแนวคาตอบ
ทาแบบทดสอบหลังเรียน

ตรวจคาตอบ
ศึกษาชุดการเรียนรู้
หลังเรียน ชุดต่อไป
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 9
|

แบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิท ยำศำสตร์ ชุดที่ 2 เรื่อ ง ปริมำณทำงไฟฟ้ำ ควำมสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้ำ


ควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ และควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 3 จำนวน 10 ข้อ คะแนน
10 คะแนน ใช้เวลำ 10 นำที

คำชี้แจง: แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยเลือกตอบ ก ข ค และ ง จำนวน 10 ข้อ


คำสั่ง: จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมำย × ลงในกระดำษคำตอบ
1. ตัวนาไฟฟ้าที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
ก. มีความต้านทานไฟฟ้าคงที่ ข. มีความต้านทานไฟฟ้าน้อยมาก
ค. มีความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ ง. เปลี่ยนแปลงความต้านทานไฟฟ้าได้
2. ค่าความต้านทานไฟฟ้าของเส้นลวดเส้นหนึ่งจะขึ้นอยู่กับสิ่งใด
ก. แปรผันตรงกับความยาวของเส้นลวด
ข. แปรผันตรงกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
ค. แปรผันตรงกับความยาว แต่แปรผกผันกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
ง. แปรผกผันกับความยาว แต่แปรผันตรงกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
3. โวลต์มิเตอร์มีวิธีการต่อกับสิ่งที่ต้องการจะวัดในวงจรไฟฟ้าแบบใด
ก. ต่อขนานกับสิ่งที่จะวัด ข. ต่อคร่อมขั้วแบตเตอรี่
ค. ต่ออนุกรมกับสิ่งที่จะวัด ง. ต่อระหว่างขั้วบวกและขั้วลบ
4. เมื่อเพิ่มกระแสไฟฟ้า 20 เท่าของกระแสไฟฟ้าเดิมให้กับลวดความต้านเส้นหนึ่ง ข้อสรุปใดเป็นจริง
ก. ความต้านทานไฟฟ้าลดลง 20 เท่า ข. ความต่างศักย์ไฟฟ้าลดลง 20 เท่า
ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 20 เท่า ง. ความต้านทานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 20 เท่า
5. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คือข้อใด
ก. แอมมิเตอร์ ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์ ง. กัลป์วานอมิเตอร์
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 10
|

6. พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
ก ชนิดของลวดตัวนำ ข อุณหภูมิของลวดตัวนำ
ค ควำมยำวของลวดตัวนำ ง พื้นที่หน้ำตัดของลวดตัวนำ
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนาคือข้อใด
ก.. ก และ ค
ข. ข และ ค
ค. ก ข และ ค
ง. ทุกข้อมีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
7. การต่อแอมมิเตอร์เพื่อวัดกระแสไฟฟ้าในวงจรใดที่ต่อได้าูกต้อง
ก. ข. A

ค. ง.
A

8. ความแตกต่างของระดับพลังงานไฟฟ้า ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้าใดๆ คืออะไร


ก. ความต้านทานไฟฟ้า ข. ปริมาณกระแสไฟฟ้า
ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้า ง. ประจุไฟฟ้า
9. เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทให้ความร้อนจาเป็นต้องใช้ลวดความร้อนขนาดใหญ่มาก ๆ เพราะต้องการอะไร
ก. กาลังไฟฟ้า ข. กระแสไฟฟ้า
ค. แรงเคลื่อนไฟฟ้า ง. ความต้านทานไฟฟ้า
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 11
|

10. ข้อสรุปใดาูกต้องเกี่ยวกับความนาไฟฟ้าของโลหะ
ก. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้าน้อย มีความต้านทานไฟฟ้ามาก มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก
ข. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้ามาก มีความต้านทานไฟฟ้ามาก มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก
ค. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้ามาก มีความต้านทานไฟฟ้าน้อย มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก
ง. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้าน้อย มีความต้านทานไฟฟ้าน้อย มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านน้อย

ตั้งใจทำข้อสอบ
กันนะคะ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 12
|

กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ปริมาณทางไฟฟ้า ความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า

ชื่อ.................................นามสกุล........................................ชั้น ม.3/……เลขที่...........

คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่าูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย ×


ลงในกระดาษคาตอบ ( 10 คะแนน )

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้...........................
ชื่อผู้ตรวจ……………….............
วันที่ตรวจ .............................
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 13
|

บัตรกิจกรรมที่ 1
กำรทดลอง เรื่อง กำรวัดกระแสไฟฟ้ำ
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม บันทึกผล นำเสนอผล
วิเครำะห์ผล ตอบคำถำมและสรุปผลกำรทำกิจกรรม
จุดประสงค์กำรเรียนรู้

นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตัง้ สมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ได้จาก า่านไฟฉาย 1 ก้อน และ 2
ก้อนได้
4. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟที่ได้จากการต่อา่านไฟฉาย 1 ก้อน และ 2 ก้อนได้

วัสดุอุปกรณ์

1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. สายไฟพร้อมแจ็คและคลิปปากจระเข้ 1 ชุด
3. แอมมิเตอร์ 1 ตัว
4. หลอดไฟ 1 หลอด

วิธีทำ
1. ต่อหลอดไฟ า่านไฟฉาย 1 ก้อน และแอมมิเตอร์ สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และเข็มของ
แอมมิเตอร์ บันทึกผล
2. เพิ่มา่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน สังเกตความสว่าง ของหลอดไฟ และเข็มของแอมมิเตอร์
บันทึกผล

ภาพแสดงการทดลองการวัดกระแสไฟฟ้า
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 14
|

คำถำมก่อนทำกิจกรรม
ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมุติฐาน
2. เมื่อต่อหลอดไฟและา่านไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ นักเรียนคิดว่ามีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไร กับหลอดไฟและเข็มของแอมมิเตอร์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เมื่อเปลี่ยนา่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟและ
เข็มของแอมมิเตอร์จะเหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บันทึกผลกำรทำกิจกรรมสำ�หรับ
ตำรำง การเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟและเข็มของแอมมิเตอร์ เมื่อใช้า่านไฟฉายจานวนต่าง ๆ กัน
จานวนา่านไฟฉาย ผลการเปลี่ยนแปลง
(ก้อน)
หลอดไฟ แอมมิเตอร์
1
2

คำถำมหลังทำกิจกรรม

แปลความหมายและสรุปผล
1. เมื่อต่อหลอดไฟโดยใช้า่านไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ
และเข็มของแอมมิเตอร์เป็นอย่างไร ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เมื่อเปลี่ยนา่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ และเข็มของ
แอมมิเตอร์เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 15
|

3. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การนาไปใช้
4. า้าสลับที่ระหว่างแอมมิเตอร์กับหลอดไฟในวงจร ผลการเปลี่ยนแปลงของเข็มของแอมมิเตอร์
จะเหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใดเหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 16
|

บัตรเนื้อหำที่ 1
เรื่อง กระแสไฟฟ้ำและกำรวัดกระแสไฟฟ้ำ

กระแสไฟฟ้ำ
กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากบริเวณหนึ่งไปอีกบริเวณหนึ่ง กระแสไฟฟ้า
เกิดขึ้นได้หลายวิธี เช่น เกิดจากความแตกต่างของพลัง งานสองบริเวณ เกิดจากปฏิกิริยาเคมี เกิดจากการ
เหนี่ยวนาของวัตาุ เป็นต้น
เครื่อ งมือ ที่ใช้ วัดกระแสไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ า เรี ยกว่ า แอมมิเ ตอร์ (ammeter) มี หน่วยการวัดคื อ
แอมแปร์ (ampere) ใช้ตัวย่อแทนกระแสไฟฟ้าว่า I สัญลักษณ์ของแอมมิเตอร์ คือ A
วิธีวัดค่ำกระแสไฟฟ้ำ
ตัวอย่างการวัด ทาการต่อหลอดไฟฟ้าขนาดเล็กเข้ากับแบตเตอรี่ และวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้า
โดยนาปลาย + ของแอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟฟ้าต่อกับขั้ว + ของแบตเตอรี่ และนาปลาย - ของแอมมิเตอร์ต่อ
กับขั้ว - ของแบตเตอรี่ ดังรูป

ภาพแสดงการต่อแอมมิเตอร์ในวงจร
ข้อควรระวังในกำรวัดกระแสไฟฟ้ำ ดังนี้
แอมมิเตอร์แต่ละเครื่องมีการกาหนดขีดจากัดในการวัดกระแสไว้ ดังนั้น ในการวัดแต่ละครั้ง
ควรประมาณปริมาณกระแสที่จะวัดก่อน เพื่อเลือกใช้แอมมิเตอร์ที่มีขีดจากัดที่เหมาะสม
อย่าต่อปลาย + และ - ของแอมมิเตอร์ผิดพลาด เพราะจะทาให้เข็มของเครื่องวัดตีกลับ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 17
|

ห้ามต่อปลายทั้งสองของแอมมิเตอร์กับขั้วทั้งสองของแบตเตอรี่โดยตรง เพราะเข็มของเครื่องวัดจะตี
จนสุดสเกล อาจทาให้พังได้

สรุปสาระสาคัญ

แอมมิเตอร์ คือ เครื่องมือสาเร็จรูปที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจร ความต้านทาน


ภายในของเครื่องแอมมิเตอร์มีค่าน้อยมาก วิธีใช้ต้องต่ออนุกรมกับวงจร มีหน่วยเป็ น
แอมแปร์ (A)
- +

แอมมิเตอร์ การต่อแอมมิเตอร์เข้ากับวงจร สัญลักษณ์การต่อแอมมิเตอร์เข้ากับวงจร

สัญลักษณ์แอมมิเตอร์
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 18
|

แบบฝึกหัดที่ 1 ได้คะแนน
ชิ้นงำน เรื่อง กำรวัดกระแสไฟฟ้ำ ................................
ชื่อ ____________________________ ชั้น __________ เลขที่ _______ คะแนนเต็ม 10 คะแนน

คำสั่ง ให้นักเรียนเขียนผังความคิด การวัดกระแสไฟฟ้า


ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 19
|

บัตรกิจกรรมที่ 2
เรื่อง การวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ไฟฟ้า

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม บันทึกผล นำเสนอผล


วิเครำะห์ผล ตอบคำถำมและสรุปผลกำรทำกิจกรรม

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
4. เปรียบเทียบความต่างศักย์ไฟฟ้าของขั้วบวกกับขั้วลบของา่านไฟฉาย1 ก้อน และา่านไฟฉาย 2
ก้อน ที่นามาต่อกันได้

วัสดุอุปกรณ์

1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. สายไฟพร้อมแจ็คและคลิปปากจระเข้ 1 ชุด
3. โวลต์มิเตอร์ 1 ตัว

วิธีทำ

1. ใช้า่านไฟฉาย 1 ก้อน ต่อเข้ากับโวลต์มิเตอร์


2. อ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า บันทึกผล
3. เพิ่มา่านไฟฉายอีก 1 ก้อน แล้วอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า บันทึกผล

สำ�หรับ
กำรทดลองกำรวัดควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ
ครูผู้สอน
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 20
|

คำถำมก่อนทำกิจกรรม
ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมุติฐาน
2. า้านักเรียนใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าของา่านไฟฉายที่ใช้ในการทดลอง สาหรับา่านไฟฉาย 1
ก้อน นักเรียนคิดว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เมื่อใช้า่านไฟฉาย 2 ก้อน นักเรียนคิดว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บันทึกผลกำรทำกิจกรรม
ตำรำง ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของา่านไฟฉายเมื่อใช้จานวนต่าง ๆ กัน

จานวนา่านไฟฉาย (ก้อน) ความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์)


1
2
คำถำมหลังทำกิจกรรม

แปลความหมายและสรุปผล
1. เมื่อใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าของา่านไฟฉายในการทดลอง สาหรับา่านไฟฉาย 1 ก้อน
จะได้ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จากการทดลอง เมื่อใช้า่านไฟฉาย 2 ก้อน วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็น
เท่าใด ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. า่านไฟฉายที่มีขนาดต่าง ๆ กัน จะให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเท่ากันหรือไม่
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 21
|

4. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การนาไปใช้
5. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของแบตเตอรี่รายนต์และราจักรยานยนต์เท่ากันหรือต่างกัน อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 22
|

บัตรเนื้อหำที่ 2
เรื่อง ค่ำแรงดันไฟฟ้ำหรือควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ

ควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ
ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด ซึ่งทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น โดย
กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีระดับพลังงานไฟฟ้าสูง (ศักย์ไฟฟ้าสูง) ไปยังจุดที่มีระดับ พลังงานไฟฟ้าต่ากว่า
(ศักย์ไฟฟ้าต่า) และจะหยุดไหลเมื่อศักย์ไฟฟ้าทั้งสองจุดเท่ากัน
ข้อควรรู้
ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดเปรียบได้กับการไหลของน้า ซึ่งจะไหลจากที่สูงไปยังที่ต่า และจะ
หยุดไหลเมื่อระดับน้าเท่ากัน
เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ (voltmeter) มีหน่วยการวัด คือ
โวลต์ (volt) ใช้ตัวย่อแทนความต่างศักย์ว่า V สัญลักษณ์ของโวลต์มิเตอร์
คือ
ตัวอย่างการวัด ทาการต่อหลอดไฟฟ้าขนาดเล็กเข้ากับแบตเตอรี่ และวัดความต่างศักย์คร่อมหลอดไฟฟ้า โดย
ต่อโวลต์มิเตอร์ขนานกับหลอดไฟฟ้า ปลาย + ของโวลต์มิเตอร์ต่อกับขั้ว + ของแบตเตอรี่ และปลาย - ของ
โวลต์มิเตอร์ต่อกับขั้ว - ของแบตเตอรี่ ดังรูป

ภาพแสดงการต่อโวลต์มิเตอร์ในวงจร
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 23
|

ข้อควรระวังในการวัดแรงดันไฟฟ้า คือ
โวลต์มิเตอร์แต่ละเครื่องมีการกาหนดขีดจากัดในการวัดแรงดันไฟฟ้าไว้ ดังนั้น ในการวัด
แต่ ละครั้ งควรประมาณปริ ม าณแรงดัน ไฟฟ้ าที่ จ ะวั ด และเลื อ กใช้ โวลต์ มิ เตอร์ ที่ มี ขี ด จ ากั ด ที่
เหมาะสม
อย่าต่อปลาย + และ - ของโวลต์มิเตอร์ผิดพลาด

สรุปสาระสาคัญ

โวลต์มิเตอร์ คือ เครื่องมือสาเร็จรูปที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรความต้านทานภายใน


โวลต์มิเตอร์มีค่าสูงมาก วิธีใช้ต้องต่อขนานกับวงจร มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)

โวลต์มิเตอร์ การต่อโวลต์มิเตอร์เข้ากับวงจร สัญลักษณ์การต่อโวลต์มิเตอร์เข้ากับวงจร

สัญลักษณ์ของโวลต์มิเตอร์ คือ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 24
|

ได้คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 2 ................................
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดต่อไปนี้
คำสั่ง จากข้อความที่กาหนดให้ ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่าูก เครื่องหมาย x หน้าข้อความ
ที่ผิด (ข้อละ 1 คะแนน)
………….1. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า แอมมิเตอร์
…………..2. เครื่องแอมมิเตอร์มีค่าน้อยมาก วิธีใช้ต้องต่ออนุกรมกับวงจร
…………..3. ค่าแรงดันไฟฟ้า เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า ค่าของกระแสไฟฟ้า
…………..4. อย่าต่อปลาย + และ - ของโวลต์มิเตอร์ผิดพลาด เพราะจะทาให้เข็มของเครื่องวัดตีกลับ
…….…… 5. Ω เป็นสัญลักษณ์ของเครื่องวัดความต้านทานไฟฟ้า
…………. 6. ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด
…………...7. เครื่องมือวัดความต่างศักย์ คือ โอห์มมิเตอร์
…….…….8. การต่อโวลต์มิเตอร์ต้องต่อแบบขนานกับวงจร
……………9. การต่อแอมมิเตอร์และโอห์มมิเตอร์ มีวิธีการต่อในวงจรแบบเดียวกัน
…….……10. ความยาวของตัวนา ความยาวมากจะมีความต้านทานมาก
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 25
|

บัตรกิจกรรมที่ 3
การทดลอง เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม บันทึกผล นำเสนอผล
วิเครำะห์ผล ตอบคำถำมและสรุปผลกำรทำกิจกรรม
จุดประสงค์กำรเรียนรู้

นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับสมบัติของลวดตัวนาได้
4. อธิบายสมบัติของลวดตัวนาได้

วัสดุอุปกรณ์

1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. สายไฟพร้อมแจ็คและคลิปปากจระเข้ 1 ชุด
3. แอมมิเตอร์ 1 ตัว
4. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตร 1 เส้น
5. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 60 เซนติเมตร 1 เส้น
6. ลวดเหล็ก เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตร 1 เส้น
7. ลวดเหล็ก เบอร์ 30 ยาว 30 เซนติเมตร 1 เส้น

วิธีทำ

1. ต่อกล่องใส่า่านไฟฉาย พร้อมา่านไฟฉายเข้ากับแอมมิเตอร์
2. นาลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตรต่อเข้ากับวงจรอ่านค่ากระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์
บันทึกผล
3. ทาการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนลวดตัวนาเป็นลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 60 เซนติเมตร
ลวดเหล็ก เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตร และลวดเหล็ก เบอร์ 30 ยาว 30 เซนติเมตร ตามลาดับ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 26
|

ภาพแสดงการทดลองความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
คำถำมก่อนทำกิจกรรม
ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมุติฐาน
2. ให้นักเรียนคาดคะเนผลการทดลองต่อไปนี้
2.1 ลวดนิโครม และลวดเหล็ก ซึ่งมีพนื้ ที่หน้าตัดและความยาวเท่ากัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้า
ผ่านได้เท่ากันหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2 ลวดนิโครม ซึ่งมีพนื้ ที่หน้าตัดเท่ากันแต่ยาวต่างกัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากน้อย
ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3 ลวดเหล็ก ซึ่งมีความยาวเท่ากันแต่พื้นที่หน้าตัดต่างกัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ต่างกัน
หรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บันทึกผลกำรทำกิจกรรม

ตำรำง ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้เมื่อลวดต้านทานมีลักษณะต่าง ๆ กัน

ลักษณะของลวดต้านทาน ค่ากระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)


ลวดนิโครมเบอร์ 26 ยาว 30 cm
ลวดนิโครมเบอร์ 26 ยาว 60 cm
ลวดเหล็กเบอร์ 26 ยาว 30 cm
ลวดเหล็กเบอร์ 30 ยาว 30 cm
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 27
|

คำถำมหลังทำกิจกรรม

แปลความหมายและสรุปผล
1. ลวดต่างชนิดกันซึ่งพื้นที่หน้าตัดเท่ากันและความยาวเท่ากัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้เท่ากันหรือไม่
อย่างไร ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm และ 60 cm เมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เท่ากัน
จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาทั้งสองเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ลวดเหล็กที่มีความยาว 30 cm เบอร์ 26 และเบอร์ 30 เมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เท่ากัน
จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาทั้งสองเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm และลวดเหล็ก เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm เมื่อต่อ
เข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เท่ากัน จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาทั้งสองเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ลวดตัวนาที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านมากหรือน้อย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ตัวนาไฟฟ้าที่ดีควรมีความต้านทานไฟฟ้ามากหรือน้อย อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. ความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนาขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การนาไปใช้

9. สายไฟที่ใช้อยู่ทั่วไปในบ้านเรือนทาด้วยโลหะอะไร เพราะเหตุใดจึงไม่ใช้โลหะเงิน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10. สายไฟฟ้าแรงสูงทาด้วยโลหะชนิดใด เพราะเหตุใดจึงไม่ใช้ทองแดง


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
�หรับสำ�หรับ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 28
|

บัตรควำมรู้ที่ 3
เรื่อง ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ

ความต้านทาน เป็นปริมาณอย่างหนึ่งที่ต้านการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆ เช่น การไหลของน้าผ่านท่อที่มี


ขนาดต่างกัน จะพบว่า ท่อเล็กมีความต้านทานมาก น้าจึงไหลผ่านได้น้อยกว่าท่อใหญ่ในช่วงเวลาเท่ากัน จึง
กล่าวได้ว่า ท่อเล็กมีความต้านทานมาก น้าจึงไหลผ่านได้น้อย ส่วนท่อใหญ่มีความต้านทานน้อยน้าจึงไหลผ่าน
ได้มาก
ควำมต้ำนไฟฟ้ำ (resistance) คือ สมบัติของตัวนาไฟฟ้า (conductor) ที่ยอมให้กระแสไหลผ่านได้
มากหรือน้อย ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของตัวนานั้นๆ จะมีค่าแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของตัวนา กล่าวคือตัวนา
ไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากจะมีความต้านทานน้อยส่วนตัวนาไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านได้น้อยจะมีความต้านทานมาก ความต้านทานไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) ใช้สัญลักษณ์ V ตัวย่อที่ใช้
แทนความต้านทานไฟฟ้า คือ R
— การวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า
— โอห์มมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดที่สร้างขึ้นมาเพื่อวัดอุปกรณ์เฉพาะความต้านทานและมีประโยชน์
ต่อเนื่องไปาึงการวัดอุปกรณ์อื่นๆ ได้ด้วยเช่น วัดการตัดต่อของสวิตซ์ หน้าสัมผัสต่าง ๆ ตลอดจนวัดอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ว่าดี , เสียได้ด้วย
โครงสร้ำงของโอห์มมิเตอร์
— ประกอบด้วยส่วนประกอบสาคัญ 3 อย่างคือ ดาร์สันวาล์มิเตอร์ แบตเตอรี (า่านไฟฉาย) และตัว
ต้านทานปรับค่าได้ โดยนาอุปกรณ์ 3ส่วนดังกล่าวมาต่อวงจรจะได้โอห์มมิเตอร์ขึ้นมา และปรับแต่งสเกล
หน้าปัดให้บอกค่า โอห์ม
— ภำพแสดงวงจรกำรต่อโอห์มมิเตอร์
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 29
|

ปัจจัยที่มีผลต่อควำมต้ำนทำนของตัวนำไฟฟ้ำ มีดังนี้

ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ ขึ้นอยู่กับ

ลักษณะของลวดตัวนากับค่าความต้านทานไฟฟ้า

ความต้านทานไฟฟ้าน้อย

ความต้านทานไฟฟ้ามาก

ลวดตัวนาชนิดเดียวกันขนาดใหญ่เท่ากัน เส้นที่ยาวกว่าจะมีความต้านทานมากกว่า
และจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อยกว่าลวดเส้นที่สั้น
ความต้านทานไฟฟ้ามาก

ความต้านทานไฟฟ้าน้อย

ลวดตัวนาชนิดเดียวกันยาวเท่ากัน เส้นที่มีขนาดเล็กกว่าหรือมีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่า
จะมีความต้านทานมากกว่า และจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อยกว่าลวดเส้นที่มีขนาดใหญ่
ค่ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำขึ้นอยู่กับ
1. ชนิดของตัวนำไฟฟ้ำ
ตัวนาไฟฟ้าที่นาไฟฟ้าที่ดีที่สุด เรียงจากมากไปน้อย
1. เงิน 2. ทองแดง 3. ทองคา
4. อลูมิเนียม 5. สังกะสี 6. แพลตตินัม
7. เหล็ก 8. ปรอท 9. แท่งา่าน
ความต้านทานไฟฟ้า เรียงจากน้อยไปมาก
1. เงิน 2. ทองแดง 3. ทองคา
4. อลูมิเนียม 5. สังกะสี 6. แพลตตินัม
7. เหล็ก 8. ปรอท 9. แท่งา่าน
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 30
|

สรุป นาไฟฟ้าได้ดี ความต้านทานน้อย


นาไฟฟ้าไม่ดี ความต้านทานมาก

2. ความยาวของตัวนา ความยาวมากจะมีความต้านทานมาก และความยาวน้อยจะมีความต้านทานน้อย


(ความต้านทานแปรผันโดยตรงกับความยาว)
- ลวดตัวนาชนิดเดียวกัน ขนาดใหญ่เท่ากัน เส้นที่ยาวกว่าจะมีความต้านทานมากกว่า และจะยอมให้
กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อยกว่าเส้นที่สั้น

สรุป
โลหะชนิดเดียวกัน โลหะเส้นยาว ความต้านทานมาก นาไฟฟ้าน้อย
โลหะเส้นสั้น ความต้านทานน้อย นาไฟฟ้าได้มาก

3. พื้นที่หน้าตัดของตัวนา พื้นที่หน้าตัดมาก (ขนาดใหญ่) จะมีความต้านทานน้อย และพื้นที่หน้าตัดน้อย


(ขนาดเล็ก) จะมีความต้านทานมาก (ความต้านทานแปรผกผันกับพื้นที่หน้าตัด)
- ลวดตัวนาชนิดเดียวกัน ยาวเท่ากัน เส้นที่มีขนาดเล็กกว่า หรือมีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่าจะมีความ
ต้านทานมากกว่า และจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อยกว่าเส้นที่มีขนาดใหญ่และสั้น

สรุป พื้นที่หน้าตัดมาก (ขนาดใหญ่) ความต้านทานน้อย นาไฟฟ้าได้มาก


พื้นที่หน้าตัดน้อย (ขนาดเล็ก) ความต้านทานมาก นาไฟฟ้าน้อย
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 31
|

4) อุณหภูมิของตัวนา อุณหภูมิสูงจะมีความต้านทานมาก และอุณหภูมิต่าจะมีความต้านทานน้อย


- ฉนวนไฟฟ้า (insulator) คือ สารที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหรือมีความต้านทานไฟฟ้าสูง ส่วน
ใหญ่เป็นพวกอโลหะ เช่น ยาง แก้ว ไม้ พลาสติก กระเบื้อง เป็นต้น
- ตัวนาไฟฟ้ายิ่งยวด (superconductor) คือ ตัวนาไฟฟ้าที่ไม่มีความต้านทานไฟฟ้าเลย ทาได้โดยนา
ตัวนาไฟฟ้า เช่น ดีบุก ปรอท มาลดอุณหภูมิจนาึงระดับหนึ่ง คือประมาณ -25 องศาเซลเซียส ตัวนาไฟฟ้าก็จะ
หมดความต้านทานลง
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 32
|

ได้คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 3 ................................
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้าูกต้องและสมบูรณ์
กำรวัดปริมำณทำงไฟฟ้ำ (ข้อละ 1 คะแนน)
— การวัดกระแสไฟฟ้าใช้ ...1........................... หน่วยวัด ..2....................
ใช้สัญลักษณ์ A ..3...................... อนุกรมกับวงจร
— การวัด...4........................... ใช้ ..5.........มิเตอร์ หน่วยวัด โวลต์
ใช้สัญลักษณ์......6..................... ต่อแบบ ..7....................กับวงจร
— การวัดความต้านทานไฟฟ้า ใช้ ..8......................... หน่วยวัด .9..............
ใช้สัญลักษณ์ Ω ต่อแบบ ...10............................
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 33
|

ได้คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 4 ................................
สรุปเนื้อหำเป็นผังมโนทัศน์ คะแนนเต็ม 10 คะแนน

เมื่อนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสาระสาคัญ ของการวัดปริมาณทางไฟฟ้า ใช้อุปกรณ์และสัญลักษณ์


แล้ว ให้นักเรียนนามาเขียน ผังมโนทัศน์ตามที่นักเรียนานัดและสนใจ เพื่อสรุปสาระสาคัญที่
กาหนดให้ และตกแต่งให้สวยงาม
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 34
|

บัตรกิจกรรมที่ 4
การทดลอง เรื่อง กฎของโอห์ม

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม บันทึกผล นำเสนอผล


วิเครำะห์ผล ตอบคำถำมและสรุปผลกำรทำกิจกรรม

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับกฎของโอห์มได้
วัสดุอุปกรณ์

1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. หลอดไฟ 1 หลอด 3. แอมมิเตอร์ 1 ตัว
3. โวลต์มิเตอร์ 1 ตัว 5. สวิตช์ 1 ตัว

วิธีทำ
1. ต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยา่านไฟฉาย หลอดไฟ แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์
และสวิตช์ ดังภาพ
2. กดสวิตช์ สังเกตและบันทึกค่ากระแสไฟฟ้า จากแอมมิเตอร์ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจาก
โวลต์มิเตอร์ แล้วยกสวิตช์ขึ้น
3. ทาการทดลองซ้าข้อ 2 โดยเพิ่มา่านไฟฉาย ในวงจรอีกครั้งละ 1 ก้อน จนใช้า่านไฟฉายครบ 4 ก้อน
4. นาผลที่ได้มาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า

การทดลองกฎของโอห์ม
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 35
|

คำถำมก่อนทำกิจกรรม

ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมุติฐาน
2. จงคาดคะเนผลการทดลองต่อไปนี้
2.1 เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2 เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เปลี่ยนแปลง หรือไม่
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บันทึกผลกำรทำกิจกรรม

ตำรำง ค่าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ เมื่อต่อวงจรเข้ากับา่านไฟฉายจานวนต่าง ๆ


จานวนา่านไฟฉาย(ก้อน) ค่าที่อ่านได้จาก ค่าที่อ่านได้จาก อัตราส่วนระหว่างค่าที่อ่าน
แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ ได้
(แอมแปร์) (โวลต์) จากโวลต์มิเตอร์กับค่าที่
อ่านได้จากแอมมิเตอร์
1
2
3
4

คำถำมหลังทำกิจกรรม

แปลความหมายและสรุปผล
1. เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตรงกับที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตรงกับที่คาดคะเนหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 36
|

3. เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย อัตราส่วนระหว่างค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์กับค่าที่อ่านได้จาก
แอมมิเตอร์มีค่าเท่ากันหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 37
|

บัตรเนื้อหำที่ 4
เรื่อง กฎของโอห์ม
กฎของโอห์ม
ในปี ค.ศ. 1826 โอห์ม (George Simon Ohm) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ตั้งกฎเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีกว่าเป็นพื้นฐานทางไฟฟ้า กฎนี้มีใจความว่า "เมื่ออุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้ำที่ผ่ำน
ตัวนำชนิดหนึ่งจะมีค่ำแปรผันตรงกับควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำระหว่ำงปลำยทั้งสองของลวดตัวนำนั้น”
ซึ่งจากการหาอัตราส่วนระหว่างค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของลวดตัวนากับ
กระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดตัวนานั้น จะได้ค่าเท่ากับค่าความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนานั้น
า้ากาหนดให้ I คือ กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
R เป็นค่าคงตัว และเรียกว่าค่าความต้านทาน มีหน่วยเป็น โอห์ม (Ω)
จะเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
V
R หรือนิยมเขียนว่า V = IR
I

เกอร์ เก ซิโมน โอห์ม (George Simon Ohm) เป็ นนักฟิ สกิ ส์


ชาวเยอรมัน ที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า และความต้ านทานที่เรี ยกว่า กฎของโอห์ ม (Ohm’s
Law)

(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2548 : 108)


ที่มาของภาพ : http://www.dlf.ac.th/dltv/dltv-
uploads/libs/html/161/electricity/dic/dic_2/dic_2.htm

กำรนำกฎของโอห์มไปใช้ จากความสัมพันธ์ดังกล่าวทาให้เราสามาราหาค่าของปริมาณไฟฟ้าต่าง ๆ ที่


เกี่ยวข้องได้ตามตัวอย่างต่อไปนี้
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 38
|

ตัวอย่ำง นาเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีความต้านทาน 50 โอห์ม ไปต่อกับแบตเตอรี่ จากนั้น


วัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้านี้ได้ 10 แอมแปร์ อยากทราบว่าแบตเตอรี่ให้ความต่างศักย์เท่าใด
วิธีทำ (ให้ทาตามขั้นตอนดังนี้)
จากโจทย์
R = 50 โอห์ม ()
I = 10 แอมแปร์ (A)
V = ?
สูตร
V = IR
แทนค่า
V = 10 แอมแปร์ (A) × 50 โอห์ม ()
= 500 โวลต์ (V)
ตอบ แบตเตอรี่ให้ความต่างศักย์ 500 โวลต์ (V)
หมำยเหตุ ต้องกากับหน่วยทางไฟฟ้าด้วย

สามเหลี่ยมรูปนี้ จะช่วย
ให้เราคานวณหา
ปริมาณไฟฟ้าต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องได้หรือเปล่า
V นะ

I R
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 39
|

สรุปสำระสำคัญ

กำรวัดปริมำณทำงไฟฟ้ำ ใช้อุปกรณ์และสัญลักษณ์ ดังสรุปได้ดังนี้


— การวัดกระแสไฟฟ้าใช้ แอมมิเตอร์ หน่วยวัด แอมแปร์
ใช้สัญลักษณ์ A เวลาต่อ ต่อแบบ อนุกรมกับวงจร
— การวัดความต่างศักย์ ใช้ โวลต์มิเตอร์ หน่วยวัด โวลต์
ใช้สัญลักษณ์ V ต่อแบบ ขนานกับวงจร
— การวัดความต้านทานไฟฟ้า ใช้ โอห์มมิเตอร์ หน่วยวัด โอห์ม
ใช้สัญลักษณ์ Ω ต่อแบบ อนุกรมกับวงจร
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 40
|

แบบฝึกหัดที่ 5 ได้คะแนน
................................
กำรนำกฎของโอห์มไปใช้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คำถำม
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษากฎของโอห์ม และตัวอย่างการคานวณ จากนั้นทาแบบฝึกหัดที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีความต้านทาน 11  เมื่อเปิดเครื่องมีกระแสไหลผ่าน 20 แอมแปร์ อยาก
ทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้ต่อเข้ากับความต่างศักย์กี่โวลต์ (2 คะแนน)
วิธีทำ จากโจทย์
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
สูตร
..........................................................................................................................................................................
แทนค่า
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
2. เตารีดเครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 22 โอห์ม ต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ เมื่อเปิดใช้งานจะมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด (2 คะแนน)
วิธีทำ จากโจทย์
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
สูตร
..........................................................................................................................................................................
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 41
|

แทนค่า
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีความต้านทาน 55 โอห์ม ต่อเข้ากับไฟฟ้าในบ้านของประเทศไทย เมื่อเปิดใช้งานจะ
มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด (3 คะแนน)
วิธีทำ จากโจทย์
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
สูตร
..........................................................................................................................................................................
แทนค่า
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 42
|

4. เตาไฟฟ้าใช้งานกับไฟบ้านในประเทศไทย เมื่อเปิดใช้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์ เตาไฟฟ้า


เครื่องนี้มีความต้านทานเท่าไร (3 คะแนน)
วิธีทำ จากโจทย์
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
สูตร
..........................................................................................................................................................................
แทนค่า
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 43
|

แบบทดสอบหลังเรียน

ชุดกิจกรรมเรียนรู้วิทยำศำสตร์ พลังงำนไฟฟ้ำ ชุดที่ 2 เรื่อง ปริมำณทำงไฟฟ้ำ ควำมสัมพันธ์ของ


กระแสไฟฟ้ำ ควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ และควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 จำนวน 10 ข้อ
คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลำ 10 นำที

คำชี้แจง: แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยเลือกตอบ ก ข ค และ ง จำนวน 10 ข้อ


คำสั่ง: จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมำย × ลงในกระดำษคำตอบ
1. ค่าความต้านทานไฟฟ้าของเส้นลวดเส้นหนึ่งจะขึ้นอยู่กับสิ่งใด
ก. แปรผันตรงกับความยาวของเส้นลวด
ข. แปรผันตรงกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
ค. แปรผันตรงกับความยาว แต่แปรผกผันกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
ง. แปรผกผันกับความยาว แต่แปรผันตรงกับพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด
2. ตัวนาไฟฟ้าที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
ก. มีความต้านทานไฟฟ้าคงที่
ข. มีความต้านทานไฟฟ้าน้อยมาก
ค. มีความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์
ง. เปลี่ยนแปลงความต้านทานไฟฟ้าได้
3. โวลต์มิเตอร์มีวิธีการต่อกับสิ่งที่ต้องการจะวัดในวงจรไฟฟ้าแบบใด
ก. ต่อขนานกับสิ่งที่จะวัด
ข. ต่อคร่อมขั้วแบตเตอรี่
ค. ต่ออนุกรมกับสิ่งที่จะวัด
ง. ต่อระหว่างขั้วบวกและขั้วลบ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 44
|

4. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คือข้อใด
ก. แอมมิเตอร์ ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์ ง. กัลป์วานอมิเตอร์
5. เมื่อเพิ่มกระแสไฟฟ้า 20 เท่าของกระแสไฟฟ้าเดิมให้กับลวดความต้านเส้นหนึ่ง ข้อสรุปใดเป็นจริง
ก. ความต้านทานไฟฟ้าลดลง 20 เท่า
ข. ความต่างศักย์ไฟฟ้าลดลง 20 เท่า
ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 20 เท่า
ง. ความต้านทานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 20 เท่า
6. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก ชนิดของลวดตัวนำ ข อุณหภูมิของลวดตัวนำ
ค ควำมยำวของลวดตัวนำ ง พื้นที่หน้ำตัดของลวดตัวนำ
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนาคือข้อใด
ก. ก และ ค
ข. ข และ ค
ค. ก ข และ ค
ง. ทุกข้อมีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
7. การต่อแอมมิเตอร์เพื่อวัดกระแสไฟฟ้าในวงจรใดที่ต่อได้าูกต้อง
ก. ข. A

ค. ง.
A

A
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 45
|

8. เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทให้ความร้อนจาเป็นต้องใช้ลวดความร้อนขนาดใหญ่มาก ๆ เพราะต้องการอะไร
ก. กาลังไฟฟ้า ข. กระแสไฟฟ้า
ค. แรงเคลื่อนไฟฟ้า ง. ความต้านทานไฟฟ้า
9. ความแตกต่างของระดับพลังงานไฟฟ้า ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้าใดๆ คืออะไร
ก. ความต้านทานไฟฟ้า ข. ปริมาณกระแสไฟฟ้า
ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้า ง. ประจุไฟฟ้า
10. ข้อสรุปใดาูกต้องเกี่ยวกับความนาไฟฟ้าของโลหะ
ก. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้าน้อย มีความต้านทานไฟฟ้ามาก มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก
ข. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้ามาก มีความต้านทานไฟฟ้ามาก มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก
ค. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้ามาก มีความต้านทานไฟฟ้าน้อย มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก
ง. ตัวนาที่มีความนาไฟฟ้าน้อย มีความต้านทานไฟฟ้าน้อย มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านน้อย

ตั้งใจทำข้อสอบ
กันนะคะ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 46
|

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อ 1 ข้อ 2
ข ง

ข้อ 3 ข้อ 4

ก ค

ข้อ 6
ข้อ 5

ข้อ 8
ข้อ 7

ข้อ 10
ข้อ 9


ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 47
|

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ 1 ข้อ 2

ง ข

ข้อ 3 ข้อ 4

ก ข

ข้อ 6
ข้อ 5

ข้อ 8
ข้อ 7

ข้อ 10
ข้อ 9


ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 48
|

ภาคผนวก
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 49
|

แนวคำตอบ
บัตรกิจกรรมที่ 1
กำรทดลอง เรื่อง กำรวัดกระแสไฟฟ้ำ
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
นักเรียนสามารา

1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ได้จาก า่านไฟฉาย 1 ก้อน และ 2
ก้อนได้
4. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟที่ได้จากการต่อา่านไฟฉาย 1 ก้อน
และ 2 ก้อนได้

วัสดุอุปกรณ์
1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. สายไฟพร้อมแจ็คและคลิปปากจระเข้ 1 ชุด
3. แอมมิเตอร์ 1 ตัว
4. หลอดไฟ 1 หลอด
วิธีทำ

1. ต่อหลอดไฟ า่านไฟฉาย 1 ก้อน และแอมมิเตอร์ สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และเข็มของ


แอมมิเตอร์ บันทึกผล
2. เพิ่มา่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน สังเกตความสว่าง ของหลอดไฟ และเข็มของแอมมิเตอร์
บันทึกผล

ภาพแสดงการทดลองการวัดกระแสไฟฟ้า
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 50
|

คำถำมก่อนทำกิจกรรม
ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
(ปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่เกิดขึน้ มากหรือน้ อย วัดได้ อย่ างไร)
สมมุติฐาน
2. เมื่อต่อหลอดไฟและา่านไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ นักเรียนคิดว่ามีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไรกับหลอดไฟและเข็มของแอมมิเตอร์
(หลอดไฟสว่ าง ขณะเดียวกันเข็มของเครื่องวัดกระแสไฟฟ้ าจะเบนไปจากเดิม)
3. เมื่อเปลี่ยนา่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟและ
เข็มของแอมมิเตอร์จะเหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร
(ไม่ เหมือนเดิม คือ ความสว่ างของหลอดไฟ มีมากขึ้น และเข็มของแอมมิเตอร์ จะเบนไปมากกว่ าใช้ ถ่าน 1 ก้ อน)

บันทึกผลกำรทำกิจกรรมสำ�หรับ
ตำรำง การเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟและเข็มของแอมมิเตอร์ เมื่อใช้า่านไฟฉายจานวนต่าง ๆ กัน
จานวนา่านไฟฉาย ผลการเปลี่ยนแปลง
(ก้อน)
หลอดไฟ แอมมิเตอร์
1 (สว่ างน้ อย) (เบนน้ อย)

2 (สว่ างมาก) (เบนมาก)

คำถำมหลังทำกิจกรรม

แปลความหมายและสรุปผล
1. เมื่อต่อหลอดไฟโดยใช้า่านไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ
และเข็มของแอมมิเตอร์เป็นอย่างไร ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
(หลอดไฟสว่ าง และเข็มของแอมมิเตอร์ จะเบนไปจากเดิม ตรงตามที่คาดคะเนไว้ )
2. เมื่อเปลี่ยนา่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ และเข็มของ
แอมมิเตอร์เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
(หลอดไฟจะสว่ างมากขึ้น และเข็มของแอมมิเตอร์ จะเบนไปมากกว่ าครั้งแรก เพราะได้ รับพลังงานไฟฟ้ า
มากขึ้น จึงมีกระแสไฟฟ้ าผ่ านในวงจรมากกว่ าเดิม ตรงตามที่คาดคะเนไว้ )
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 51
|

3. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
(ปริมาณกระแสไฟฟ้ าในวงจรขึ้นอยู่กับจานวนถ่ านไฟฉายที่ใช้ )
การนาไปใช้
4. า้าสลับที่ระหว่างแอมมิเตอร์กับหลอดไฟในวงจร ผลการเปลี่ยนแปลงของเข็มของแอมมิเตอร์
จะเหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใดเหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด
(เหมือนเดิม เพราะกระแสไฟฟ้ าที่ผ่านแอมมิเตอร์ และหลอดไฟ เป็ นกระแสค่าเดียวกัน จึงไม่ ทาให้ ผลทีไ่ ด้ ต่างไป
จากเดิม)
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 52
|

แนวคำตอบ
บัตรกิจกรรมที่ 2
การทดลอง เรื่อง การวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ไฟฟ้า

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
4. เปรียบเทียบความต่างศักย์ไฟฟ้าของขั้วบวกกับขั้วลบของา่านไฟฉาย1 ก้อน และา่านไฟฉาย 2
ก้อน ที่นามาต่อกันได้

วัสดุอุปกรณ์
1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. สายไฟพร้อมแจ็คและคลิปปากจระเข้ 1 ชุด
3. โวลต์มิเตอร์ 1 ตัว

วิธีทำ

1. ใช้า่านไฟฉาย 1 ก้อน ต่อเข้ากับโวลต์มิเตอร์


2. อ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า บันทึกผล
3. เพิ่มา่านไฟฉายอีก 1 ก้อน แล้วอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า บันทึกผล

สำ�หรับ
ภำพแสดงกำรทดลองกำรวัดควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 53
|

ผู้ สอน คำถำมก่อนทำกิจกรรม


ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
(ความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าวัดได้ อย่ างไร)
สมมุติฐาน
2. า้านักเรียนใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าของา่านไฟฉายที่ใช้ในการทดลอง สาหรับ
า่านไฟฉาย 1 ก้อน นักเรียนคิดว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด
(ประมาณ 1.5 โวลต์)
3. เมื่อใช้า่านไฟฉาย 2 ก้อน นักเรียนคิดว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด
(3 โวลต์ )
บันทึกผลกำรทำกิจกรรม
ตำรำง ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของา่านไฟฉายเมื่อใช้จานวนต่าง ๆ กัน
จานวนา่านไฟฉาย (ก้อน) ความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์)
1 1.5
2 3
คำถำมหลังทำกิจกรรม
แปลความหมายและสรุปผล
1. เมื่อใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าของา่านไฟฉายในการทดลอง สาหรับา่านไฟฉาย 1 ก้อน
จะได้ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
(ประมาณ 1.5 โวลต์ ตรงตามที่คาดคะเนไว้ )
2. จากการทดลอง เมื่อใช้า่านไฟฉาย 2 ก้อน วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็น
เท่าใด ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
(ประมาณ 3 โวลต์ ตรงตามที่คาดคะเนไว้ )
3. า่านไฟฉายที่มีขนาดต่าง ๆ กัน จะให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเท่ากันหรือไม่
อย่างไร (เท่ ากัน คือ 1.5 โวลต์ )
4. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
(โวลต์ มิเตอร์ คือ เครื่องมือสาเร็จรูปที่ใช้ วัดความต่ างศักย์ ไฟฟ้ า ระหว่ างจุด 2 จุด)
การนาไปใช้
5. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของแบตเตอรี่รายนต์และราจักรยานยนต์เท่ากันหรือต่างกัน อย่างไร
(ต่ างกัน แบตเตอรี่รถยนต์ มีความต่ างศักย์ ไฟฟ้ า 12 โวลต์ ส่ วนแบตเตอรี่รถจักรยานยนต์ มีความต่ างศักย์ ไฟฟ้ า
6 โวลต์ )
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 54
|

แนวคำตอบ
บัตรกิจกรรมที่ 3
การทดลอง เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับสมบัติของลวดตัวนาได้
4. อธิบายสมบัติของลวดตัวนาได้
5. นาความรู้เรื่องสมบัติของลวดตัวนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
วัสดุอุปกรณ์

1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. สายไฟพร้อมแจ็คและคลิปปากจระเข้ 1 ชุด
3. แอมมิเตอร์ 1 ตัว
4. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตร 1 เส้น
5. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 60 เซนติเมตร 1 เส้น
6. ลวดเหล็ก เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตร 1 เส้น
7. ลวดเหล็ก เบอร์ 30 ยาว 30 เซนติเมตร 1 เส้น

วิธีทำ

1. ต่อกล่องใส่า่านไฟฉาย พร้อมา่านไฟฉายเข้ากับแอมมิเตอร์
2. นาลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตรต่อเข้ากับวงจร
อ่านค่ากระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์ บันทึกผล
3. ทาการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนลวดตัวนาเป็นลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 60 เซนติเมตร
ลวดเหล็ก เบอร์ 26 ยาว 30 เซนติเมตร และลวดเหล็ก เบอร์ 30 ยาว 30 เซนติเมตร ตามลาดับ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 55
|

ภาพแสดงการทดลองความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
คำถำมก่อนทำกิจกรรม
ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
(ลวดตัวนาต่ างชนิดกันมีความต้ านทานไฟฟ้ าเท่ ากันหรือไม่ )
สมมุติฐาน
2. ให้นักเรียนคาดคะเนผลการทดลองต่อไปนี้
2.1 ลวดนิโครม และลวดเหล็ก ซึ่งมีพนื้ ที่หน้าตัดและความยาวเท่ากัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้า
ผ่านได้เท่ากันหรือไม่ อย่างไร
(ไม่ เท่ ากัน ลวดเหล็กยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านได้มากกว่ าลวดนิโครม)
2.2 ลวดนิโครม ซึ่งมีพนื้ ที่หน้าตัดเท่ากันแต่ยาวต่างกัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากน้อย
ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
(ต่ างกัน ลวดนิโครมทีส่ ั้นกว่ าจะยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านได้ มากกว่ า)
2.3 ลวดเหล็ก ซึ่งมีความยาวเท่ากันแต่พื้นที่หน้าตัดต่างกัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ต่างกัน
หรือไม่ อย่างไร
(ต่ างกัน ลวดเหล็กที่มีพนื้ ที่หน้ าตัดใหญ่ กว่ าจะยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านมากกว่ า)
บันทึกผลกำรทำกิจกรรม
ตำรำง ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้เมื่อลวดต้านทานมีลักษณะต่าง ๆ กัน
ลักษณะของลวดต้านทาน ค่ากระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)
ลวดนิโครมเบอร์ 26 ยาว 30 cm 4
ลวดนิโครมเบอร์ 26 ยาว 60 cm 3
ลวดเหล็กเบอร์ 26 ยาว 30 cm 4.5
ลวดเหล็กเบอร์ 30 ยาว 30 cm 3.8
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 56
|

คำถำมหลังทำกิจกรรม
แปลความหมายและสรุปผล
1. ลวดต่างชนิดกันซึ่งพื้นที่หน้าตัดเท่ากันและความยาวเท่ากัน จะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้เท่ากัน
หรือไม่ อย่างไร ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่
(กระแสไฟฟ้ าผ่ านได้ ไม่ เท่ ากัน คือ ลวดเหล็ก ยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านได้ มากกว่ าลวดนิโครม ตรงตามที่คาดคะเน
ไว้ )
2. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm และ 60 cm เมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่
เท่ากัน จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาทั้งสองเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
(ไม่ เท่ ากัน ลวดนิโครมที่มีความยาว 30 cm จะยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านได้ มากกว่ า)
3. ลวดเหล็กที่มีความยาว 30 cm เบอร์ 26 และเบอร์ 30 เมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เท่ากัน
จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาทั้งสองเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
(ไม่ เท่ ากัน ลวดเหล็กเบอร์ 26 จะยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านได้ มากกว่ า)
4. ลวดนิโครม เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm และลวดเหล็ก เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm เมื่อต่อ
เข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เท่ากัน จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาทั้งสองเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
(ไม่ เท่ ากัน ลวดเหล็ก เบอร์ 26 ที่มีความยาว 30 cm จะยอมให้ กระแสไฟฟ้ าผ่ านมากกว่ า)
5. ลวดตัวนาที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านมากหรือน้อย
(น้ อย)
6. ตัวนาไฟฟ้าที่ดีควรมีความต้านทานไฟฟ้ามากหรือน้อย อย่างไร
(ควรมีความต้ านทานไฟฟ้ าน้ อย และมีขนาดเหมาะสมกับกระแสไฟฟ้ าผ่ านด้ วย)
7. ความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนาขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
(ขนาดความยาวของลวดตัวนา และขนาดพืน้ ที่หน้ าตัดของลวดตัวนา)
8. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
(ลวดตัวนาต่ างชนิดกันมีความต้ านทานไฟฟ้ าไม่ เท่ ากัน ความต้ านทานไฟฟ้ าของลวดตัวนาขึ้นอยู่กับความยาว และ
พืน้ ที่หน้ าตัดของลวดตัวนา)
การนาไปใช้
9. สายไฟที่ใช้อยู่ทั่วไปในบ้านเรือนทาด้วยโลหะอะไร เพราะเหตุใดจึงไม่ใช้โลหะเงิน
(ทองแดง เพราะโลหะเงินแม้ มีความต้ านทานไฟฟ้ าน้ อยกว่ าทองแดง แต่ ราคาแพงกว่ า)
10. สายไฟฟ้าแรงสูงทาด้วยโลหะชนิดใด เพราะเหตุใดจึงไม่ใช้ทองแดง
(อะลูมิเนียม เพราะมีราคาถูก และน้าหนักเบากว่ าทองแดง และเมื่อใช้ กับไฟฟ้ าแรงสู ง
พลังงานที่สูญเสียไปไม่ ต่างกับเมื่อใช้ ลวดทองแดงมากนัก)�หรับสำ�หรับ
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 57
|

แนวคำตอบ
บัตรกิจกรรมที่ 4
การทดลอง เรื่อง กฎของโอห์ม

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
นั
นักเรียนสามารา
1. กาหนดปัญหาของการทดลองได้
2. ตั้งสมมุติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับกฎของโอห์มได้
วัสดุอุปกรณ์

1. กล่องใส่า่านไฟฉายพร้อมา่านไฟฉาย 1 ชุด
2. หลอดไฟ 1 หลอด 3. แอมมิเตอร์ 1 ตัว
4. โวลต์มิเตอร์ 1 ตัว 5. สวิตช์ 1 ตัว

วิธีทา

1. ต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยา่านไฟฉาย หลอดไฟ แอมมิเตอร์ โวลต์มเิ ตอร์


และสวิตช์ ดังภาพ
2. กดสวิตช์ สังเกตและบันทึกค่ากระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจาก
โวลต์มิเตอร์ แล้วยกสวิตช์ขึ้น
3. ทาการทดลองซ้าข้อ 2 โดยเพิ่มา่านไฟฉาย ในวงจรอีกครั้งละ 1 ก้อน จนใช้า่านไฟฉายครบ 4 ก้อน
4. นาผลที่ได้มาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
ความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า

ภาพแสดงการทดลองกฎของโอห์ม
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 58
|

คำถำมก่อนทำกิจกรรม
ปัญหา
1. ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร
(ความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ ามีความสัมพันธ์ กนั หรือไม่ อย่ างไร)
สมมุติฐาน
2. จงคาดคะเนผลการทดลองต่อไปนี้
2.1 เมือ่ เพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร
(เปลี่ยนแปลง คือ ค่ากระแสไฟฟ้ าทีอ่ ่ านได้ จากแอมมิเตอร์ จะมากขึ้น)
2.2 เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เปลี่ยนแปลง
หรือไม่ อย่างไร
(เปลี่ยนแปลง คือ ค่าความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าที่อ่านได้ จากโวลต์ มิเตอร์ จะมากขึ้น )
บันทึกผลกำรทำกิจกรรม
ตำรำง ค่าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ เมื่อต่อวงจรเข้ากับา่านไฟฉายจานวนต่าง ๆ
จานวนา่านไฟฉาย(ก้อน) ค่าที่อ่านได้จาก ค่าที่อ่านได้จาก อัตราส่วนระหว่างค่าที่อ่าน
แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ ได้
(แอมแปร์) (โวลต์) จากโวลต์มิเตอร์กับค่าที่
อ่านได้จากแอมมิเตอร์
1 1 1.5 1.5
2 2 3.0 1.5

3 3 4.5 1.5
4 4 6.0 1.5

คำถำมหลังทำกิจกรรม
แปลความหมายและสรุปผล
1. เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตรงกับที่คาดคะเนหรือไม่
(มีการเปลี่ยนแปลง คือ ค่ากระแสไฟฟ้ าที่อ่านได้ จากแอมมิเตอร์ จะมากขึ้น เพราะการเพิม่ จานวน
ถ่ านไฟฉายทาให้ ค่ากระแสไฟฟ้ าเพิม่ ขึ้น ตรงกับที่คาดคะเนไว้ )
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 59
|

2. เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตรงกับที่คาดคะเนหรือไม่
(มีการเปลี่ยนแปลง คือ ค่าความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าที่อ่านได้ จากโวลต์ มิเตอร์ จะมากขึ้น เพราะการเพิม่
จานวนถ่ านไฟฉายทาให้ ความต่ างศักย์ ไฟฟ้ ามากขึ้น ตรงกับที่คาดคะเนไว้ )

3. เมื่อเพิ่มจานวนา่านไฟฉาย อัตราส่วนระหว่างค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์กับค่าที่อ่านได้จาก
แอมมิเตอร์มีค่าเท่ากันหรือไม่
(เท่ ากัน)
4. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไร
(เมื่อค่าความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าเพิม่ ขึ้น ค่ากระแสไฟฟ้ าจะเพิม่ ขึ้นด้ วย)
5. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
(ความต่ างศักย์ ไฟฟ้ า และกระแสไฟฟ้ ามีความสัมพันธ์ กนั คือ เมื่อค่าความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าเพิม่ ขึ้น ค่ากระแสไฟฟ้ าจะ
เพิม่ ขึ้นด้ วย)
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 60
|

แนวคำตอบ
แบบฝึกหัดที่ 1
เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดต่อไปนี้
คำสั่ง จากข้อความที่กาหนดให้ ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่าูก เครื่องหมาย x
หน้าข้อความที่ผิด (ข้อละ 1 คะแนน)
……/…….1. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า แอมมิเตอร์
……/……..2. เครื่องแอมมิเตอร์มีค่าน้อยมาก วิธีใช้ต้องต่ออนุกรมกับวงจร
……x……..3. ค่าแรงดันไฟฟ้า เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า ค่าของกระแสไฟฟ้า
……x……..4. อย่าต่อปลาย + และ - ของโวลต์มิเตอร์ผิดพลาด เพราะจะทาให้เข็มของเครื่องวัดตีกลับ
……/.…… 5. Ω เป็นสัญลักษณ์ของเครื่องวัดความต้านทานไฟฟ้า
……/……. 6. ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด
……x……...7. เครื่องมือวัดความต่างศักย์ คือ โอห์มมิเตอร์
……/.……. 8. การต่อโวลต์มิเตอร์ต้องต่อแบบขนานกับวงจร
……/………9. การต่อแอมมิเตอร์และโอห์มมิเตอร์ มีวิธีการต่อในวงจรแบบเดียวกัน
……/………10. ความยาวของตัวนา ความยาวมากจะมีความต้านทานมาก
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 61
|

แนวคำตอบ
แบบฝึกหัดที่ 2
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้าูกต้องและสมบูรณ์
กำรวัดปริมำณทำงไฟฟ้ำ (ข้อละ 1 คะแนน)
การวัดกระแสไฟฟ้าใช้ .....แอมมิเตอร์.......หน่วยวัด ...แอมแปร์.........
ใช้สัญลักษณ์ A ......ต่อแบบ....... อนุกรมกับวงจร
การวัด.....ความต่างศักย์..... ใช้ ...โวลต์มิเตอร์ หน่วยวัด โวลต์
ใช้สัญลักษณ์.........V........... ต่อแบบ ......ขนาน........กับวงจร
การวัดความต้านทานไฟฟ้า ใช้ ....โอห์มมิเตอร์.... หน่วยวัด โอห์ม.......
ใช้สัญลักษณ์ Ω ต่อแบบ .....อนุกรม...........
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 62
|

แนวคำตอบ
แบบฝึกหัดที่ 3
สรุปเนื้อหำเป็นผังมโนทัศน์

เมื่อนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสาระสาคัญ ของการวัดปริมาณทางไฟฟ้า ใช้อุปกรณ์และสัญลักษณ์ แล้ว ให้


นักเรียนนามาเขียน ผังมโนทัศน์ตามที่นักเรียนานัดและสนใจ เพื่อสรุปสาระสาคัญที่กาหนดให้ และตกแต่งให้
สวยงาม
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 63
|

เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรจัดกระทำและนำเสนอผังควำมคิด
แบบฝึกหัดที่ 3

ระดับคะแนน
ตัวชี้วัด
10 7 5 3
การจัดกระทา จัดกระทา จัดกระทา จัดกระทา จัดกระทา
และนาเสนอผัง
ผังความคิดอย่าง ผังความคิดอย่าง ผังความคิดได้ ผังความคิดอย่างไม่
ความคิด
เป็นระบบ และ เป็นระบบ มีการ มีการยกตัวอย่าง เป็นระบบ และ
นาเสนอด้วยแบบ จาแนกข้อมูลให้ นาเสนอ ไม่สื่อ
เพิ่มเติม และ
ที่ชัดเจน าูกต้อง เห็นความสัมพันธ์ นาเสนอด้วยแบบ ความหมาย
ครอบคลุมและมี และนาเสนอด้วย ต่าง ๆ แต่ยัง และไม่ชัดเจน
การเชื่อมโยงให้ แบบที่ครอบคลุม ไม่ครอบคลุม
เห็นเป็นภาพรวม
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 64
|

แนวคำตอบ
แบบฝึกหัดที่ 4
กำรนำกฎของโอห์มไปใช้
ข้อ 1
วิธีทำ
จากโจทย์
R = 11 โอห์ม ()
I = 20 แอมแปร์ (A)
V = ?
สูตร
V = IR
แทนค่า
V = 20 แอมแปร์ (A) × 11 โอห์ม ()
= 220 โวลต์ (V)
ตอบ เครื่องใช้ไฟฟ้านี้ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 500 โวลต์ (V)
ข้อ 2
วิธีทำ
จากโจทย์
R = 22 โอห์ม ()
V = 220 โวลต์ (V)
I = ?
สูตร
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 65
|

V
I
R
แทนค่า
I = 220 โวลต์ (V) / 22 โอห์ม ()
= 10 แอมแปร์ (A)
ตอบ เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์ (A)
ข้อ 3
วิธีทำ
จากโจทย์
R = 55 โอห์ม ()
V = 220 โวลต์ (V)
I = ?
สูตร
V
I
R
แทนค่า
I = 220 โวลต์ (V) / 55 โอห์ม ()
= 4 แอมแปร์ (A)
ตอบ เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 4 แอมแปร์ (A)
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 66
|

ข้อ 4
วิธีทำ
จากโจทย์
V = 220 โวลต์ (V)
I = 10 แอมแปร์ (A)
R = ?
สูตร
V
R
I
แทนค่า
R = 220 โวลต์ (V) / 10 แอมแปร์ (A)
= 22 โอห์ม ()
ตอบ เตาไฟฟ้าเครื่องนี้มีความต้านทาน โอห์ม ()
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ชุ ด ที่ 2 | 67
|

You might also like