Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 75

ต้นน้ำ� กลางน้ำ� ปลายน้ำ�

พืชไร่,พืชสวน,
สมุนไพร Drying Product Development
Canning Packaging
ข้าว,มัน, Fermentation Smart Design
ข้าวโพด Extraction /
Purification
ผัก,ผลไม้ Biotech / Nanotech / Phamacies

เกษตร Dietary Non-food


Natural Land 1 Food Production Supplement
Functional Food
Cosmetic
การเพาะปลูก
Industry Biopharmaceutical
Medicine
Food Producer
Researcher
Operator Convenient Store
Supermarket
Food Valley Minimart
หมู
2 Fresh Market
โค Event/Party
ไก่
Kitchen Food Street Table
of the world Consumer
ปศุสัตว์ Food Court
แพะ
Farm 3 Food Service
การเพาะเลี้ยง Business
Chef
Food Stylist
Organizer
Cross Cutting Issues
Cold Chain
Catering Logistics
Sensory testing Standard
ปลา Waste Management
ปู
Bioenergy
หมึก
หอย
กุ้ง
ประมง
River, Sea
การเพาะเลี้ยง
จับธรรมชาติ
ระบบนิเวศของเกษตรและอาหาร

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 1 27/4/2558 19:08


สารจากผู้บริหาร
“เป้าหมายของการพัฒนาประเทศ คือ ต้องการให้คนไทย มีความกินดีอยู่ดี
โดยเกษตรกรรมและการผลิตอาหารเป็นรากฐานสำ�คัญของไทย ซึ่งตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายและมาตรการส่งเสริมธุรกิจเกษตรและอาหารมากมาย
ภาคเศรษฐกิจสาขานี้มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จนทำ�ให้ไทยสามารถผลิตอาหาร
เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศ และสามารถส่งออกเป็นอันดับต้นๆ ของโลกได้
อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาประเทศไทยมุ่งเน้นแต่การผลิตแบบฐานวัตถุดิบ ทำ�ให้
ทรัพยากรที่เคยมีความอุดมสมบูรณ์ได้หายไปอย่างรวดเร็ว ประกอบกับปัจจัยภายนอก
ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ โรคระบาด การแข่งขันจาก
เศรษฐกิจโลก ตลอดจนปัญหาแรงงานที่มีคุณภาพขาดแคลน ทำ�ให้ไทยยังไม่สามารถ
พัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่ ซึ่งหากเรายังไม่เปลี่ยนวิธีการขับเคลื่อนประเทศ
ก็จะทำ�ให้ประเทศไทยไม่สามารถรอดพ้นวิกฤติและปัญหาต่างๆ มากมายเหล่านี้ได้
ดังนั้น ผม เชื่อว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมจะเป็นเครื่องมือที่สำ�คัญ
ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ ที่จะช่วยป้องกันการเกิดปัญหาในระยะยาว และสามารถจะยกระดับในธุรกิจเกษตร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และอาหารแปรรูปของไทยให้เป็นสาขาหลักในการพัฒนาประเทศให้ยั่งยืน
และเทคโนโลยี และมั่นคงต่อไปได้”

“ประเทศไทยมีความได้เปรียบในด้านความหลากหลายของวัตถุดิบ เนื่องจากเป็น
ประเทศฐานเกษตรกรรม โดยมีจดุ เด่นทีไ่ ทยมีทรัพยากรทีส่ มบูรณ์หลากหลาย แรงงาน
ภาคการเกษตรและอาหารที่มีทักษะ และมีระบบมาตรฐานทั้งด้านความปลอดภัย
และด้านควบคุมคุณภาพกำ�ลังมุ่งสู่ประเทศที่กำ�ลังมุ่งสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มในกลุ่ม
สินค้าภาคเกษตรให้สูงขึ้น ดังนั้นการสนับสนุนด้านกิจกรรมวิจัยและพัฒนา งาน
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสร้างและเชื่อมโยงเครือข่าย
นวัตกรรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนากำ�ลังคน การส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐาน
ด้าน วทน. จะเข้ามามีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาประเทศมากขึ้น โดยอาศัยการสร้าง รศ.ดร.สมชาย ฉัตรรัตนา
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ ให้ รองเลขาธิการ สำ�นักงานคณะกรรมการ
เห็นเป็นรูปธรรม รวมถึงการได้รับการยอมรับและเข้าใจจากภาคประชาสังคมด้วย” นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

หน้า I 2

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 2 27/4/2558 19:08


จุดแข็ง

มาตรฐานสากล
(GMP) เป็น
มาตรฐานบังคับ
ปัจจัย
พื้นฐาน

ครอบคลุมผลิตภัณฑ์
อาหาร 54 ชนิด

ความสำ�คัญและโอกาสของธุรกิจเกษตร
และอาหารแปรรูปต่อการพัฒนาประเทศ
และความ
บทนำ�
ธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูป
กับการพัฒนาประเทศ
มีทรัพยากร
อุดมสมบูรณ์

คุณภาพสูง
ปลอดภัย
>80% ของ
วัตถุดิบที่ใช้ใน
อุตสาหกรรม
อาหาร มาจาก
ภายในประเทศ
และมีราคาถูก

บุคคลากรมี
ความเชี่ยวชาญ
และทำ�งานหนัก

จำ�นวนแรงงาน
ภาคการเกษตร >
39.5 ล้านคน
ค่าจ้างขั้นต่ำ�ต่อวัน
300 บาท

จากจำ�นวนประชากรโลกที่เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ความต้องการ
สินค้าอาหารเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลาดของธุรกิจเกษตร
และอาหารจึงขยายตัวเพิ่มเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ธุรกิจเกษตรและ
อาหารในแต่ละประเทศ จึงได้รับความสนใจจากภาครัฐในการ
พัฒนาธุรกิจกลุ่มนี้ในประเทศของตนให้มีศักยภาพเพียงพอที่
1
เป็นเศรษฐกิจ
ฐานเกษตรกรรม
มีแหล่งทรัพยากร
ที่สมบูรณ์

3
ภาคเอกชนที่มี
ศักยภาพที่มี
พื้นฐานทางธุรกิจ
ที่ได้มาตรฐาน

5
มีบทบาทสำ�คัญ
ในอาเซียน
4
2 1
ขนาดของประชากร
ที่เหมาะสม มีเอกลักษณ์
วัฒนธรรมที่ยืดหยุ่น

ทรัพยากรมนุษย์
ที่มีทักษะค่อนข้างดี

6
มีการสนับสนุน
จะแข่งขันในเวทีโลกได้ ซึ่งการจะตอบสนองต่อความต้องการ จากนโยบาย
เหล่านี้ได้ จะต้องบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ภาครัฐมากมาย
ทั้งจากภาครัฐ สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา ภาคการผลิต
ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มผู้ประกอบการ รวมถึงการสร้าง
ความเข้าใจและการสนับสนุนจากภาคประชาสังคมใน ความเข้มแข็งของธุรกิจเกษตร
พื้นที่ต่างๆ และอาหารของไทย
หน้า I 3

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 3 27/4/2558 19:08


ภาพรวมธุรกิจเกษตรและ การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารที่สำ�คัญของประเทศไทย
อาหารของโลกและไทย ที่ติดอันดับโลก ในปี 2556
ความต้องการอาหารโลกในภาพรวมมีแนวโน้ม
ที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้เกิด
ภาวะพึ่งพาการนำ�เข้าสินค้าอาหารในประเทศ
ที่ขาดแคลน ซึ่งส่งผลให้ราคาของสินค้าอาหาร
ปรับตัวสูงขึ้นตามกลไกความต้องการ ในด้าน
การส่งออก ประเทศไทยถูกจัดให้ อันดับ 3 อันดับ 2
ข้าว น้ำ�ตาลทราย
อยู่ในอันดับที่ 14 ในปี 2556 ของ อันดับ 15
ประเทศที่ส่งออกอาหาร ซึ่งตกมาจาก ผักและผลไม้ อันดับ 1
อันดับที่ 12 ในปี 2554 มันสำ�ปะหลัง

FO
OD อันดับ 1 อันดับ 3
ข้าวโพดหวานกระป๋อง
สัตว์น้ำ�

อันดับ 1
GDP สับปะรดกระป๋อง อันดับ 1
ปลาทูน่ากระป๋อง
อันดับ 1 อันดับ 5
กุ้งแช่แข็ง ไก่แช่แข็ง/ไก่ต้มสุก

GDP ≈ 11.4 ล้านล้านบาท


มูลค่าการส่งออก ≈ 1 ล้านล้านบาท
(ปริมาณการส่งออก ≈ 32 ล้านตัน)
คิดเป็น 9% ของ GDP
อ้างอิงข้อมูลจาก : สถาบันอาหาร, 2557
60% ของ 1 ล้านล้านบาท (6 แสน ล้านบาท)
มาจากเพียง 8 กลุ่มผลิตภัณฑ์ โดยภาพรวมการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหารของไทย
ข้าว น้ำ�ตาลทราย ทูน่ากระป๋อง ยังคงพึ่งพาภาคการส่งออกสินค้าที่เป็นวัตถุดิบ และสินค้า
มันสำ�ปะหลัง ไก่ กุ้ง สับปะรดกระป๋อง แปรรูปพื้นฐานที่ไม่มีการเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบมากนัก
ข้าวโพดหวานกระป๋อง อย่างไรก็ดี ประเทศไทยก็ยังคงเป็น ผู้ส่งออกสินค้า
อาหารหลักหลายประเภทในเวทีโลก
อ้างอิงข้อมูลจาก : สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2557

หน้า I 4

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 4 27/4/2558 19:08


ในป 2556 ประเทศไทยมีมูลคาการสงออกผลิตภัณฑอาหารรวมเทากับ 1 ลา
สมูลงออกผลิ
ค่าการนำ�ตเข้ภัาและส่
ณฑงสออกผลิ
ินคาอาหารไทยประกอบไปด
ตภัณฑ์อาหารของประเทศต่วายสิ
งๆ นปีคา2556
อาหารหลายผลิตภัณฑ
ในปี 2556 ประเทศไทยมีมูลค่า ประเภทประกอบไปดวย ขาว นาตาลทราย ปลาทูนากระปอง มันสาปะหลัง ไ
การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารรวม (พักระป
นล้านเหรีอยญสหรั
ง และข
ฐ) าวโพดหวานกระปอง ซึ่งมีสัดสวนมูลคาการสงออกรวมกวารอย
เท่ากับ 1 ล้านล้านบาท มูลค่าการ 522 531
ส่งออกผลิตภัณฑ์สินค้าอาหารไทย ตลาดอาเซียนเปนอันดับ 1 รอยละ 21.5% ญี่ปุน เปนอันดับ 2 รอยละ 14.2%
ประกอบไปด้วยสินค้าอาหารหลาย
ผลิตภัณฑ์ โดยมีสินค้า 3 รอยละ 12.9% และจีนเปนอันดับ 4 รอยละ 10.5% ตามลําดับ
Export Import
อาหารสำ�คัญ 8 ประเภท
ประกอบด้วย ข้าว น้าตาลทราย
ปลาทูน่ากระป๋อง มันสำ�ปะหลัง ไก่
และสัตว์ปีก กุ้ง สับปะรดกระป๋อง 138
และข้าวโพดหวานกระป๋อง ซึ่งมี 117
138 91
สัดส่วนมูลค่าการส่งออกรวมกว่า 56 46
33 42 22 39
ร้อยละ 60 โดยส่งออกไป 34
16 31 7 31 31 18 28
17 21 23 21 20
ตลาดอาเซียน
EU

USA

BRAZIL

CHINA

CANADA

ARGENTINA

INDONESIA

THAILAND

INDIA

MEXICO

VIETNAM

NEW ZEALAND
AUSTRALIA

MALAYSIA

RUSSIA
เป็นอันดับ 1 ร้อยละ 21.5
ญี่ปุ่น
เป็นอันดับ 2 ร้อยละ 14.2
สหภาพยุโรป
อ้างอิงข้อมูลจาก : สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2557
เป็นอันดับ 3 ร้อยละ 12.9
จีน
เป็นอันดับ 4 ร้อยละ 10.5 ตลาดส่งออก
ตามลำ�ดับ

สำ�หรับด้านการนำ�เข้า ประเทศ
ไทยมีการนำ�เข้าสินค้าเกษตรและ
อาหารปีละประมาณ 2 เเสนล้าน
บาท โดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มวัตถุดิบ
เครื่องปรุุง ส่วนผสม เพื่อนำ�มาใช้
ในการแปรรูปเป็นสินค้าอาหาร ทั้ง
เพื่อบริโภคในประเทศ และส่งออก
เป็นสินค้าต่อไป
อ้5
างอิ|
งข้อPมูลa
จากg: e
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2557

หน้า I 5

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 5 27/4/2558 19:08


นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของภาครัฐ
ในการพัฒนาธุรกิจเกษตร
และอาหารแปรรูปของไทย
ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐและนโยบายและแผน วทน.แห่งชาติ ด้านเกษตรและอาหาร

ในปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ของไทยที่มี
บทบาทหน้าวางแผนพัฒนาประเทศ ได้เลือกให้ อก. พณ.
อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารเป็นยุทธศาสตร์ “ครัวไทย
ที่สำ�คัญในการพัฒนาประเทศ เช่น แผน สู่โลก”
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 อก. กษ. “มาตรฐาน
มีการกำ�หนดยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาค “อาหารฮาลาล” สินค้าเกษตร
เกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ปลอดภัย”
เป็นหนึ่งยุทธศาสตร์ที่มีความสำ�คัญ รวมถึงมี
แผนการพัฒนาที่มุ่งเน้นการพัฒนาเฉพาะด้าน แผน
วทน.
ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น แผนวิจัยด้าน แห่งชาติ
อาหารและความมั่นคงแห่งชาติ แผนพัฒนา อก. วท.
อุตสาหกรรมอาหารสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ สศช. กษ. สอท.
ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเลย์ นอกจากนี้ยังมีการศึกษา “Medical Hub” “Thailand Food
โครงการที่สำ�คัญในการพัฒนาอุตสาหกรรม สธ. Valley”
ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐหลักที่ดำ�เนินงาน “อาหารปลอดภัย”
พัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวง
พาณิชย์ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวง
แรงงาน อก. : กระทรวงอุตสาหกรรม
พณ. : กระทรวงพาณิชย์
กษ. : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วท. : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สอท. : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สธ. : กระทรวงสาธารณสุข
สศช. : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

หน้า I 6

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 6 27/4/2558 19:08


ตัวอย่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของภาครัฐ Thailand Food valley
ในการพัฒนาธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูปของไทย

นโยบายรัฐบาล นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ครัวไทยสู่โลก ยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเลย์


เทคโนโลยีและนวัตกรรม และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2559 – 2564) (พ.ศ. 2558 – 2562)
แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 – 2559)
(พ.ศ. 2555 – 2564)

พรบ.คณะกรรมการอาหาร
แห่งชาติ 2551

แผนแม่บท
อุตสาหกรรมอาหาร
แผนแม่บทเพื่อการพัฒนา
อุตสาหกรรมการเกษตร กรอบยุทธศาสตร์การจัดการ
อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์โคเนื้อ ด้านอาหารของประเทศไทย
นโยบายและยุทธศาสตร์
การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8
(พ.ศ. 2555-2559) ยุทธศาสตร์ด้านความ
อุตสาหกรรมอาหาร ปลอดภัยอาหารและ
เชิงสร้างสรรค์ โภชนาการ เพื่อความมั่นคง ยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
ทางอาหารด้านสาธารณสุข

แผนแม่บทพัฒนา
อุตสาหกรรมไทย ยุทธศาสตร์ความปลอดภัย
ด้านอาหารแห่งและ
โภชนาการเพื่อความมั่นคง ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ
ทางอาหารด้านสาธารณสุข พัฒนาศักยภาพธุรกิจสินค้า
คลัสเตอร์เกษตร และบริการฮาลาล
2555-2559 และอาหาร แผนแม่บทอุตสาหกรรม กรอบยุทธศาสตร์การจัดการ
อาหารแปรรูป อาหารของประเทศ

จะเห็นได้ว่าในอดีตที่ผ่านมา
หน่วยงานภาครัฐได้เล็งเห็นถึงความสำ�คัญใน ที่แตกต่างกันไปในแต่ละนโยบาย ซึ่งการกำ�หนด
การพัฒนาส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของภาครัฐ
ของประเทศไทย และเข้าใจถึงปัญหาในการ มุ่งเน้นการพัฒนาให้ครบในทุกมิติ ทั้งทางด้านการ
พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร ที่ยังขาด เติบโตทางเศรษฐกิจ ความเป็นเลิศด้านการวิจัย
การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี และ เทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาศักยภาพของ
นวัตกรรมในการเพิ่มมูลค่าสินค้าและเพิ่ม บุคลากรในอุตสาหกรรม ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค
ประสิทธิภาพการผลิต รวมถึงมีการตระหนัก และคำ�นึงถึงผลกระทบในด้านของสิง่ แวดล้อมและ
ถึงแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคที่ สังคม โดยได้มกี ารวางยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต จึงได้มีการออก อุตสาหกรรมอาหารไว้ 2 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับเกษตร ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเลย์ และครัวไทยสู่โลก
อาหารต่างๆ โดยมีแนวทางการพัฒนา

หน้า I 7

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 7 27/4/2558 19:08


1 ยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเล่ย์
(Thailand Food Valley : TFV)
ต่อมาในปี 2556 มีการจัดตั้งคณะกรรมการ
ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเลย์ขึ้น ประกอบด้วยคณะ
กรรมการหลักจากภาครัฐ 7 กระทรวง
ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง
มหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง
สาธารณสุข และจากภาคเอกชนนำ�โดยสภา
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รวมถึงผู้แทน
จากสถาบันการศึกษา ซึ่งยุทธศาสตร์ TFV นี้
ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์สำ�คัญ ดังนี้

1. บูรณาการเครือข่ายคลัสเตอร์เกษตรและ
อาหารในเครือข่ายทุกระดับ
เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นในการนำ� วทน. ไปใช้ในการพัฒนา
อุตสาหกรรมอาหาร เริ่มต้นโครงการนี้ในปี 2555 2. วิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากวิทยาการ
และเทคโนโลยีด้านเกษตรอาหารให้รองรับ
ซึ่งเป็นการบูรณาการตาม MOU แบบ ความต้องการของตลาด
Public Private Partnership Program
ระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. สร้างขีดความสามารถของเครือข่าย
ในการวิจัย ถ่ายทอด ประยุกต์ใช้งานวิจัย
กระทรวงอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
โดยมุ่งเน้นยกระดับกลุ่มอาหาร 3 พื้นที่
ในประเทศไทย ได้แก่ ภาคเหนือ 4. บริหารจัดการและถ่ายทอดองค์ความรู้
เพื่อประยุกต์ใช้งานวิจัยในเชิงพาณิชย์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางตอนล่าง

หน้า I 8

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 8 27/4/2558 19:08


2 ยุทธศาสตร์ครัวไทยสู่โลก
(Kitchen of the World)
เริ่มเกิดขึ้นครั้งแรกในปี 2545 โดยเป็น
ยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการผลิตอาหารและ
ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพสูงในราคา
ที่สามารถแข่งขันได้ มีมาตรฐานความ
ปลอดภัยระดับสากล เพื่อเป็นการยกระดับ
อาหาร วัตถุดิบ และเครื่องปรุงอาหารของ
ไทย ให้ส่งออกได้มากขึ้น สร้างมูลค่าเพิ่ม
ขยายช่องทางการส่งออก และมีส่วนแบ่งการ
ตลาดมากขึ้น โดยมีกลยุทธ์ครอบคลุมและ
ครบวงจรทั้งด้านวัตถุดิบในการปรุงอาหาร
ของไทย ตลอดจนเครื่องปรุงอื่นๆ สามารถ
ส่งออกได้มากขึ้น ขยายช่องทางการส่งออก
อาหารสำ�เร็จรูป การขนส่ง การผลิต การ
สร้างมูลค่าเพิ่ม และศูนย์กระจายสินค้า
ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อผลักดันให้ไทยเป็น
ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ 1 ใน 5 ของโลก
โดยแนวทางการขับเคลื่อนโครงการครัวไทย
สู่โลก คือ เน้นการส่งเสริมการพัฒนา 4R
ซึ่งประกอบด้วย

1. วัตถุดิบ (Raw Material)


2. อาหารพร้อมปรุง (Ready to Cook)
3. อาหารพร้อมทาน (Ready to Eat)
4. เน้นการส่งเสริมการพัฒนาร้านอาหาร
ในต่างประเทศ (Restaurant) และส่งออก
พ่อครัวไทย

หน้า I 9

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 9 27/4/2558 19:08


ตัวอยางการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตางประเทศที่ประสบควา
ตัตัววอยอย่างการพั ฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ
างการพั ฒนาอุตัวอยตาสาหกรรมอาหารแปรรู ป ปในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ
งการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรู
ในต่างประเทศที่ปตัวระสบความสำ �เร็จ
อยางการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ
ในตตัอวาาหาร
อย างการพั่ปฒระสบความสํ
นาอุตสาหกรรมอาหารแปรรู ปในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ

1
ตัวอยางการพั
โซนยุฒโรป
นาอุตเน้สาหกรรมอาหารแปรรู
นการรวมกลุ่มเป็นคลัสปเตอร์ งประเทศที าเร็จ
ตัวอยางการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ
ตัวอยในหลายพื
างการพั้นฒ
ที่ นาอุ
โดยมีตรูปสาหกรรมอาหารแปรรู
แบบความร่วมมือแตกต่างกัปนในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ
เช่น เป็นศูนย์การวิจัยวิทยาการด้านเกษตร ศูนย์จับคู่
ตัวอย ตัวาอย รกิางการพั
ธุงการพั จระหว่ฒนาอุ ฒ
างผูนาอุ ตสาหกรรมอาหารแปรรู
ต้ปสาหกรรมอาหารแปรรู
ระกอบการและนั กวิจัยปในต ตัปว่อในต
เพื าให้
อย งประเทศทีากิงประเทศที
าเงการพัดการาฒงประเทศที ่ปสาหกรรมอาหารแปรรู
่ปตัระสบความสํ
นาอุ วตอย ระสบความสํ
างการพั ฒานาอุ เร็จาตเร็สาหกรรมอาหารแปรรู จ ปในตางประเทศทีป่ปในต ระสบความสํ
างประเทศที าเร็่ปจระสบความสําเร็จ
ตัวพัอยฒมานานวั ตัวอย า1.
ฒงการพั ฒตโนาอุ ตเน
สาหกรรมอาหารแปรรู นปคลัในต ่ประสบความสํ ้นาทีเร็น่ ศูจโดยมี
1. โซนยุโรป เนนการรวมกลุ เปงการพั
นคลัตสกรรม เตอร อนาอุ
โซนยุ
รวมถึ
าหารอยู รปสาหกรรมอาหารแปรรู
งเป็
ในหลายพืนศูนนการรวมกลุ ย์ท้นี่อทีำ�่ โดยมีนวยความสะดวก มูปเปแบบความร
ร ปสเตอร ในตวมมือาาหารอยูงประเทศที
อ ที ่ แ ตกต ใานหลายพื
งกั น ่ปเชระสบความสํ
น เป น ย ก ารวิ จ าัยวิเร็ทจยาการ วมมือที่แตกตางกัน เชนเปนศูนยกา
รูปแบบความร
ดานเกษตร ศูนยจับคูธุรกิจระหว ด้านข้างผู อย่1.าดงครบวงจร
อมูปลระกอบการและนั าโซนยุ
นเกษตร โรป กศูวิเนนจยัยนจการรวมกลุ ับคู่อธใหุรเกิกิตัจดวระหว
เพื
อยางการพั
มเปนฒ
การพั าคลั งผู สปเตอร
นานวั
ฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรู
ระกอบการและนั
ตกรรม อาหารอยู รวมถึใงนหลายพื เปกนวิศูจนัยย้นทเพื ทีี่อํา่ ่อโดยมี ใหเกิรปดูปในต
นวยความสะดวกด การพั างประเทศที
แบบความร ฒนานวั วมมืตอกรรม
านข
่ประสบความสํ
มูอลที่แตกต รวมถึ าเร็นจยที่อํานวยความสะ
างกังนเปเชนนศูเป นศูนยการวิจัยวิทย
อยางครบวงจร ตัวอยตัางการพั วอยางการพั ฒนาอุฒตนาอุ ดอย
า า
นเกษตรงครบวงจร
สาหกรรมอาหารแปรรู ศู
ตสาหกรรมอาหารแปรรูน ย จ ั บ คู ธ
 ร
ุ กิ จ ระหว
ปในตปางประเทศที า งผู ป
 ระกอบการและนั
ในตางประเทศที ่ปตัระสบความสํ
วอย ก
่ประสบความสํ วิ
าสงการพั จ ย
ั เพื อ

าเร็ฒจนาอุให เ กิ ด การพั ฒ นานวั ต
าเร็ตจสาหกรรมอาหารแปรรูปในตางประเทศที่ประสบคว กรรม รวมถึ ง เป น ศู น ย ท อ
่ ี า
ํ นวยความสะดวกด านข
1. โซนยุโรป เนนการรวมกลุมเป1. นคลัโซนยุ
สเตอรอยโาอรป งครบวงจร
าหารอยู ใ
 นหลายพื
เนนการรวมกลุ คลัสเตอร

้ ที ่ 1.
มเปนอคลั
โดยมี ร ู โซนยุ
ป าหาร/
แบบความร โ รป
สเตอรประเทศ เน
ว น
มมื การรวมกลุ
อ ที ่ แ ตกต า  ม
งกั
อาหารอยูในหลายพื้นที่ โดยมี เป น น คลั
เช น เป เตอร
น ศู น อย ก คลัรสูปเตอร
าหารอยู ารวิ จ ย
ั ใ
 วิ นหลายพื

แบบความร ยาการ อาหาร/น
้ ที ่ วมมือทีประเทศ
โดยมี ร ู ป แบบความร ว มมื อ ที ่ แ ตกต า
่แตกตางกัน เชนเปนศูนยการวิจัยวิทยาการงกั น เช น เป น ศู น ย ก ารวิ จ ย
ั วิ ท ยากา
ดคลั ส
านเกษตร เตอร์
ศูนยจอ ับคูาหาร/ประเทศ
ธุรกิจระหวางผูประกอบการและนักวิจัย เพื่อใหเกิดการพั ดานเกษตรฒนานวัตศูกรรม นยจับรวมถึ คูธุรกิงจเประหว
นศูนายงผู ที่อปําระกอบการและนั
นวยความสะดวกดกาวินข จัยอเพื มูล่อใหเกิดการพัฒนานวัตกรรม รวมถึงเปนศูนยที่อํานวยความสะดวกดานขอม
อย1.
ด
โซนยุโรป เนนการรวมกลุมเปนคลัสเตอรอาหารอยูในหลายพื
างครบวงจร
า นเกษตร ศู น ย จ ั บ คู ธ
 ร
ุ กิ จ ระหว า งผู ป

อย้นางครบวงจร ระกอบการและนั ก วิ จ ย

ที่ โดยมีรูปแบบความรวมมือที่แตกตางกัน เชนเปนศูนยการวิจัยวิทยาการเพื อ
่ คลั
ให เ กิ สด เตอร
การพั ฒ อ นานวัาหาร/ ต กรรม ประเทศ
รวมถึ งเปนศูนยที่อํานวยความสะดวกดานขอมูล
1.ดาโซนยุ
1. นเกษตร
โซนยุ โรปโเนศูรปนนเนยการรวมกลุ
โรป
1. โซนยุ จเน
นับการรวมกลุ
นคู1.การรวมกลุ
ธโซนยุ รป อย
ุรกิมจเปโระหว า
มมเน
นคลั
งครบวงจร
เปเป Food
สานนเตอร
งผู Valley
ปสอระกอบการและนั
นการรวมกลุ
คลั
คลั มอเป
สาหารอยู
เตอร
เตอร อนใคลั
าหารอยู สคลั
าหารอยู
นหลายพืเตอร ้นเนเธอร
สอเตอร
ในหลายพื ใกทีนหลายพื
าหารอยูวิ่ โดยมี
1. โซนยุโรป เนนการรวมกลุ
จ้นอัยทีาหาร/
เพื ูปแ่อแบบความร
ในหลายพื
่ รโดยมี ้นลนด
ใหทีรูปเ้นประเทศ
่ กิโดยมี
ทีด่ โดยมี
การพั
แบบความร ฒ 1.
อทีวนานวั
รูปูปแบบความร
วรมมื แบบความร
มโซนยุ
เปนคลั

Food
อทีต่แาวงกั
่แตกต
มมื
รป
กรรม
สเตอรเน
มมืนวอาทีเช
ตกต
นอการรวมกลุ
รวมถึ
่แนตกต
มมื
งกั
าหารอยูในหลายพื
นอเปทีเชนาValley
 ม
งนยเปเชนกศูารวิ
่แงกัศูนตกต
นเป
เป
นนาน(เดนมาร
ศูงกั
เป น คลั
ยนจนกัยศูนยารวิ
้นสทีเตอร
เนเธอร
่ โดยมี
วินททยเชี่อกยาการ
จารวิ
อ รูปแบบความร
าหารอยู
วิเปทจกัยยาการ
นวิ)ศูทแยาการ
คลั
นําัยนวยความสะดวกด สนลนดใ

เตอร นหลายพื
ยการวิอาหาร/
วมมื้นอทีที่ โดยมี
จัยวิาทนข
่แตกตราูปงกั
ยาการ ล
น เชนเปนวศูมมื
อมูแบบความร
ประเทศ
นยอกทีารวิ จัยาวิงกั
่แตกต ทยาการ
น เชนเปนศูนยการวิจัยวิทยาการ
(เดนมารก)
ดานเกษตร ศูนยจับคูธุรกิจระหว างผูประกอบการและนั
ดานเกษตร กวิจัยางผูเพืป่อระกอบการและนั
ศูนยจับคูธุรกิจระหว ใหเกิดการพัฒนานวั
กวิจตัยกรรม
เพื่อใหรวมถึ
เกิดงการพั
เปนศูฒนนานวั
ยที่อําตนวยความสะดวกด
กรรม รวมถึงเปนศูานนขยทอี่อมูําลนวยความสะดวกดานขอมูล
ดดอย างครบวงจร
าานเกษตร ศูนศูยนจศูับยนคูจยธับจุรคูกิับดจธคูาระหว
ดานเกษตร
นเกษตร
นเกษตร ศูนยจับคูธุรกิจระหวางผูประกอบการและนักวิจัย เพื่อใหเกิดการพัฒนานวัตกรรม รวมถึงเปนศูนยที่อํานวยความสะดวกดานขอมูล
าระหว
งผูประกอบการและนั
ธุรกิกิจจระหว
อยุรางครบวงจร
าางผูงผูปประกอบการและนั
ระกอบการและนั กวิจัย กเพืวิจ่อัยให
กเพืวิเ1.กิจ่อดโซนยุ
ัยใหการพั
เพืกิดาโ่อฒรป
เอย นานวั
การพัเเนกิฒดนตนานวั
งครบวงจร
ให กรรมตกรรม
การพั รวมถึ
ฒนานวั Food
งรวมถึ
เปางครบวงจร
อย นตศูกรรม คลั
งนเปยนทศูี่อValley ยทสี่อําเตอร
นํารวมถึ
นวยความสะดวกด นศูอนาหาร/
งเปเนเธอร
นวยความสะดวกด ยทา้นนข ี่อทีํา่แโดยมีลนดลประเทศ
อนวยความสะดวกด
มูานข อมูล มูลางกัน เชนเปนศูน(เดนมาร
านข่แอตกต ก)
อยางครบวงจร
อยางครบวงจร การรวมกลุมเปนคลัสเตอรอาหารอยูในหลายพื คลั ส เตอร อ าหาร/รูปแบบความร
ประเทศ วมมืออทีาหาร/ ยการวิจัยวิทยาการ
อย1.างครบวงจร Food Valley เนเธอร ด า
แ คลั ลนด
นเกษตร ส เตอร
คลั สศูเตอร
น ย อ
จ ั บอาหาร/
าหาร/
คู ธ
 ร
ุ กิ จ ประเทศ
ประเทศ
ระหว า งผู ป

(เดนมาร
ระกอบการและนั
ก )ก
Food
วิ จ ย
ั เพื อ

Valley
ให เ กิ ด การพั
เนเธอร

แตลนด
คลั
นานวั
สเตอร
กรรม รวมถึ ง เป น
ประเทศ
ศู น ย ท อ
่ ี า

(เดนมาร
นวยความสะดวกด า นข
ก)
อมูล
โซนยุโรป เนนการรวมกลุมเปนคลัสเตอรอคลัาหารอยู สเตอร คลัสเตอร อในหลายพื
าหาร/ อาหาร/ ้นทีเนเธอร์
ประเทศ ่ โดยมีรแูปลนด์
ประเทศ แบบความรเดนมาร์ วมมือที่แกตกตางกัน เชนเปนศูนยการวิจัยวิทยาการ
Nieke/1. โซนยุ ดานเกษตร
DIL(เยอรมนี
1.โรปโซนยุ
เนนโรป ศูน)ยเนจFood-Processing
การรวมกลุ นับการรวมกลุ คูมธเปุรกินจคลัระหว
เปนาคลั
มสเตอร งผูสปเตอร
ระกอบการและนั
อาหารอยู Initiative
นหลายพืFood
อใาหารอยู ในหลายพื
อยคลั
้นที่ โดยมี ก(FPI)
Valley วิ้นจรทีัยสูป่ แบบความร
างครบวงจร เตอร
เพื่อให
เนเธอร
โดยมี
อเาหาร/ กิลนด
รูปแแบบความร
Food
ดวมมื
การพั ประเทศ
อที่แฒ
Valley
นานวั
วตกต
มมื อาทีงกั่แนตตกต
กรรม
เชนางกั
เนเธอร
Food
เปนรวมถึ
Valley
ศู(เดนมาร
เชนนยเป
แนเปศูลนด
กงารวิ
เนเธอร
กจนน)สัยยศูวิเตอร
กนทารวิ ทแจFood
ยยาการ ลนด
ี่อัยําวินวยความสะดวกด
Valley เนเธอรแลนด
ทยาการ อมูล(เดนมาร
านข(เดนมาร ก) ก) (เดนมารก)
ดาNieke/
นเกษตรอยดาางครบวงจร
นเกษตร
ศูDIL(เยอรมนี
นยจับคูศูธนุรกิยจระหว ับ) คูFood-Processing
ธุรากิงผู
จระหว างผูFood
ประกอบการและนั Nieke/ Food
Valley
Food DIL(เยอรมนี
กวิจValley
ประกอบการและนั
Valley
ัย เนเธอร ัยเกิแเพื
จเนเธอร
เพืก่อวิให(FPI) ดลนด
เนเธอร
่อใหแเลนด
การพั ฒ
กิดนานวั) แ Food-Processing
การพัตฒกรรม
ลนด นานวัรวมถึตกรรม 1.งเปโซนยุ นยโงรป
นศู(เดนมาร
รวมถึ ทเปี่อน(เดนมาร Initiative
เนนกยน)ทการรวมกลุ คลั
) มเป (เดนมาร
ี่อํากนวยความสะดวกด
ําศูนวยความสะดวกด านขนคลั (FPI)
อ าหาร/

อมูสลาเตอร
) ประเทศ
นขออมูาหารอยู
ล ในหลายพื้นที่ โดยมีรูปแบบความรวมมือที่แตกตางกัน เชนเปนศูนย
Nieke/ InitiativeDIL(เยอรมนี
Food Valley เนเธอรแลนด )Nieke/
Food-Processing DIL(เยอรมนี
ดานเกษตร ศูนInitiative
) Food-Processing (เดนมารก)
ยจับคูธุรกิจระหว (FPI) าInitiative
งผูประกอบการและนั (FPI) กวิจัย เพื่อใหเกิดการพัฒนานวัตกรรม รวมถึงเปนศูนยที่อํานวยความ
อยางครบวงจร
อยางครบวงจร คลัNieke/
สเตอรDIL(เยอรมนี
อาหาร/) Food-Processing
ประเทศ Food Valley Food (FPI)แ&ลนด
เนเธอร
Initiative Health
InitiativeNetwork (อั(เดนมาร
งกฤษ)ก)
(FPI) ประเทศอย าNieke/ DIL(เยอรมนี
งครบวงจร ) Food-Processing (FPI)
Food & Health N
Skåne
Nieke/
Nieke/ Food
DIL(เยอรมนี Innovation
) Food-ProcessingคลัอสInitiative
คลัสเตอร าหาร/
เตอรอประเทศ
าหาร/ Food & Health Network (อังกฤษ) Food& &Health
Health Network (อัง
Nieke/ DIL(เยอรมนี
Nieke/ DIL(เยอรมนี ) Skåne FoodDIL(เยอรมนี
) Food-Processing
Food-Processing Innovation
Initiative (FPI))(FPI)
Initiative Food-Processing เยอรมนี Initiative (FPI)&Food
อัSkåne
งFood
กฤษ Innovation คลัสเตอร
Foodอ&าหาร/ Food
Healthประเทศ
Network
Food(อั&งกฤษ) Network
Skåne Food Innovation
Health Network (อังกฤษ)
NetworkNieke/ DIL(เยอรมนี
สวีเดนสวีเดน ) Food-Processing Initiative (FPI) Skåne Food
FoodFood Valley เนเธอร แลนด (เดนมารInnovation (เดนมาร Foodก)Innovation
Skåne Food InnovationHealth Network (อั งกฤษ)
Network Food Valley Skåne Food
Valley
เนเธอร Innovation
แเนเธอร
ลนด แNetwork
ลนด
Network สวีเดนสวี เดนNetwork (เดนมาร ก) Skåne
ก) Initiative
Nieke/ DIL(เยอรมนี ) Food-Processing
Network สวีเดน Network Initiative
สวีเดน
Nieke/ DIL(เยอรมนี
(FPI) Network สวีเดน
) Food-Processing
&สวีHealth
FoodFood เดน& Health (FPI)
Network
Network (อังกฤษ)
(อั
Foodงกฤษ)Valley เนเธอรแFood ลนด & Health Network (อังกฤษ)
(เดนมาร ก)
SkåneSkåne
FoodFood
Innovation
Innovation Food & Health Network (อังกฤษ)
Network สวีเดนสวีเดน
Network Skåne Food InnovationSkåne Food Innovation
Skåne Food The Nutrition Health
Food & Health Network (อังกฤษ)
Nieke/ Nieke/
DIL(เยอรมนี
DIL(เยอรมนี Network
) Food-Processing
) )Food-ProcessingWagralim,
Wagralim,
สวีเInitiative
ดนInnovation Food
Innovation &
Wagralim,
The The Nutrition
Health
Wagralim,
Nutrition Network
Wagralim,
Health Health
(อั งกฤษ)The Nutrition HealthThe TheNutrition
Nutrition Health
Health
Nieke/
Network DIL(เยอรมนี
สวี เดน SkåneInitiative
Food-Processing
Food (FPI) (FPI)
Initiative
Network(FPI)
Wagralim,
Longevity
สวีเดน Cluster (ฝรั่งเศส) Vitagora Longevity Cluster (ฝรัLongevity
่งเศส) Vitagora
Cluster (ฝรั่งเศส) Vitagora
Agro-industry ClusterAgro-industry
(เบลเยีย่ ม) Flanders'
ClusterFood
Agro-industry
NetworkCluster
Agro-industry Cluster (เบลเยีย่ ม) Flanders' Food
Agro-industry Cluster (เบลเยีย่ ม) Flanders' Food
สวีเดน (เบลเยีย่ ม) Flanders' Food Agro-industry สวีLongevity
เLongevity
ClusterCluster
ดนNieke/ Cluster
ฝรั(ฝรั
(เบลเยี
DIL(เยอรมนี
Food &Food The
Health
ย่ ่งม)
่งThe
เศส
Wagralim,
Nutrition
& Health
)(ฝรั
เศส)Flanders'
Vitagora
Wagralim, เศส)
Food-Processing
Nutrition
Network Health
The
่งNetwork Vitagora
Food
(อัHealth
Health InitiativeLongevity
Nutrition
Longevity
งกฤษ)(อังกฤษ)
(FPI) Vitagora Cluster (ฝรั่งThe
(เบลเยีย่ ม) Flanders' Food The Nutriti
เศส) Vitagora
Nutrition Hea
Wagralim,
Wagralim, Food & Health Big4
Network Food Companies
(อั งกฤษ) Ireland
Big4 Food Companies Ireland
Agro-industry Cluster
Agro-industry
Skåne Skåne
(เบลเยี(เบลเยี
Cluster
Food Innovation
Agro-industry
ย่ ม) Skåne
Flanders'
ม)
Food Innovation
ย่ Agro-industry
(อิตFlanders'Food
) Food
GustoFood )Cluster
Cluster
Innovation Longevity
Longevity
(เบลเยี
Big4
(เบลเยี
Cluster Food
ย่ ม)Cluster
Big4
ย่ Flanders'
Italia ม) Companies
Food
(ฝรั่งFlanders'
Del Gusto
เศส) (อิ Companies

Vitagora
(ฝรั่งเศส) าลี )
Vitagora
Italia
Food
Ireland
Food
Del Ireland
Gusto (อิตาลี) Longevity Longevity
Scotland
HealthFoodCluster Big4
TheCluster
Cluster Food ่งFood
Nutrition
The
Strategy เศส)(ฝรั
(ฝรัNutrition
Health่งเศส)
Vitagora
Companies Vitagora
Ireland
Health
Food & Health
สวีเดน สวีเItalia
ดน Del Gusto าลีDel
Italia (อิตาลี Wagralim, The Nutrition Scotland Cluster Strategy
NetworkNetwork Wagralim, Scotland Big4
Wagralim,
Italia
Scotland
Food Food
DelCluster Gusto
Food Companies
(อิตาลี
Cluster
Strategy ) Food
Strategy
Skåne Ireland
Innovation
Longevity Cluster (ฝรั ง
่ Scotland
เศส) Vitagora Food Cluster Strategy
Network Italia
สวี เ
Agro-industry 10Italiaดน Del
Cluster Gusto
(เบลเยี (อิ ต าลี ) Agro-industry Cluster
Big4 (เบลเยี
Longevity
Food
Big4 ย
่ ม) Flanders'
Companies
FoodgFood Cluster Food
Companies Food
(ฝรัIreland
Ireland ่งเศส) The Vitagora
Nutrition
Longevity Health (ฝรั่งเศส) Vitagora
Cluster
a gAgro-industry (อิย่ ตม)าลี(อิFlanders'
) ตาลี) Cluster Food
Wagralim,
(เบลเยี
| P a gย
่ eม)Scotland 10 | P aScotland
Flanders'
Network สวี
e เดน Cluster Strategy Big4 Food
Big4 Food Ireland Companies
Companies Ireland Irel
Del 10
| PItalia eGusto
Del Gusto ScotlandFoodFood Cluster Cluster Strategy
Strategy
Longevity Cluster (ฝรั ง
่ เศส) Vitagora Big4 Food Companies
10 Agro-industry
|Page Cluster (เบลเยีย่ ม) Wagralim, Flanders' FoodItalia
Wagralim, | PDel
10Italia a gDeleGusto
Italia Gusto (อิตBig4
Del Gusto าลี(อิตต)Food
(อิ
The าลี) ) Companies IrelandScotlandScotland
Nutrition
The
าลี Nutrition
Health Health
Food Cluster StrategyStr
Agro-industry
Agro-industry
ClusterCluster
(เบลเยี
Italiaย่ (เบลเยี
ม)DelFlanders'
ย่ Gusto
ม) Flanders' Food
(อิ ต Food
าลี) Longevity
Wagralim, เบลเยี
Longevity
Cluster (ฝรั่งเศส)สกอตแลนด์
่ยมCluster (ฝรัVitagora
่งเศส) Vitagora The Nutrition Big4Health Scotland
FoodFoodCompanies
Cluster Food Cluster
StrategyIreland
The Nut
10 | P a g e
10 | P
10 a
| gP e
a g e Italia Del Gusto (อิตาลี) Big4 Scotland Food Food Companies Cluster Ireland
StrategyWagralim,
Scotland
Agro-industry Cluster Italia Del (เบลเยีGusto ย่ ม) (อิ ตาลี) 10 Food
Flanders' | P a g e Big4 Food Longevity
Big4 Companies
Food Companies
Agro-industry Cluster Ireland(ฝรั
Cluster Ireland ่งเศส)ย่ ม)Vitagora
(เบลเยี Flanders' Food Food Cluster LongevityStrategy
Cluster (ฝรั่งเศส) Vitago
Scotland Food Cluster Strategy
Italia Del
Italia Del10Gusto
Gusto (อิต|าลีP) (อิaตาลี
g) e
10 | P a g e
10 | P a g e Scotland
Scotland
Food Cluster
Food Cluster
StrategyStrategy
Big4 Food Companies Ireland Big4 Food Companies Ir
10 |Del
Italia P aGusto
g e (อิตาลี) Italia Del Gusto (อิตาลี) Scotland Food Cluster S
10 | P|10
10 aPg|aePgaeg e
อิตาลี Scotland
ไอร์ แลนด์ Food Cluster Strategy
10 | P a g e
หน้า I1010| P a g e

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 10 27/4/2558 19:08


2 โซนอเมริกาเหนือ
มุ่งม่2.
2. 2. โซนอเมริ
ันเน้โซนอเมริ
นการสร้
โซนอเมริ
คลัสเตอร์อาหาร/ประเทศ
งผลิ
เน้นการมีเครือข่ายและการรวมกลุ่มในพื้นที่ใกล้เคียงกัน และมีเครือข่ายที่
าเหนืตอภัอก  ณ
กากาเหนื  เาเหนื อ  เน้เเครื
เน้น้ฑ์นนเการมี
ฉพาะด้
การมี นครืการมี เครื อข่ายและการรวมกลุ
าออนข่ข่าายและการรวมกลุ
ยและการรวมกลุ ม่ ม่ ในพื �นทีม่ �ใ�ใในพื
ในพื�นที กล้เเคีคี�นที
กล้ ยยงกั �ใกล้
งกั นน  เ  แคีและมี

คลั
ยงกัเนเครื
ละมี  แอละมี
ครื
คลัออสาหาร/
คลัสสเตอร์
เตอร์
เครื�ม�มองุ่ งุ่ ข่มัมัานนยที
อข่ข่าายที
ยที
เตอร์ อประเทศ
าหาร/ าหาร/
ประเทศประเทศ
เน้เน้น�มนการสร้
งุ่ การสร้
มันเน้านางผลิ
การสร้
งผลิตตภัภัาณณงผลิ ตฉพาะด้
ภัณฑ์าเาฉน
ฑ์ฑ์เเฉพาะด้

Napa Valley California


Napa
Napa Valley Valley Napa
NewCalifornia Valley
California
Orleans California
(สหรั
(สหรัฐฐอเมริ (สหรั
อเมริ กกา)า)ฐอเมริกา)
Ontario
Ontario Food Ontario
Food Cluster Food
Cluster Cluster Southeast Louisiana
(แคนาดา)
(แคนาดา)
2. โซนอเมริOntario
กาเหนื (แคนาดา)
ครื2.
Manitoba
Food
อ  เน้ นการมี โซนอเมริ
เManitoba Manitobaก2.
(แคนาดา)
(แคนาดา)
Manitoba
อข่ายและการรวมกลุ าเหนื (แคนาดา)
ม่ โซนอเมริ
ในพือ�นที  เน้�ใกล้นการมี งกัเนครื
เกคีาเหนื
ยแคนาดา อ  ข่เน้าเนครื
 แอละมี ยและการรวมกลุ
การมี
อข่ายทีเครื �มงุ่ มัอสหรั
นข่เน้ายและการรวมกลุ
ม่ อเมริ
นฐการสร้ ในพืางผลิ �นที
า�ใตกล้
กNew
New New
ภัณเฑ์คีOrleans(Southeast
ม่ Orleans(Southeast
เยฉพาะด้
ในพื งกั น�นที �ใOrleans(Southeast
 แานละมี
กล้ เคีครืยองกัข่านยที
 และมี
�มLouisiana) าLouisiana)
งุ่ มัเนครืเน้อนข่การสร้
Louisiana) ยที�มงุ่ ามังผลิ
นเน้ตนภัการสร้
ณฑ์เฉพาะด้
างผลิตาภันณฑ์เฉ
2.
3. โซนอเมริ
3. โซนทวี 3. กโซนทวี
าเหนื อ 2.
  เปน้ ออสเตรเลี
โซนอเมริ
น การมี ก

ย  คลั
าเหนื
ครื อ อ
ข่ า
 เเอน้น้สข่นนเตอร์
 ยเ น้  
น เ
ยและการรวมกลุน้
การมี น เการสร้
ครื อข่ า า

่ งงานวิ
ยและการรวมกลุ
ในพื �นที ใ
� จ ม
่ ย

กล้ และพั
ในพื
เ คี �นที
ย ใ
� กล้
งกั นฒ
เ คี
  แ ย นาสิ
งกั
ละมี น   แ
เ น
ละมี
ครื ค้
อ เ า
ครื
ข่ าในตลาดระดั
อข่
ยทีา ยที

� ง
่ ุ ม
� ง

มัุ มั
น น เน้
เน้ น
น บ
การสร้
การสร้บน  
า งผลิ
า ก

งผลิ ารยื
ภั
ณ ต ฑ์
ภัเณ ด อายุ
ฉพาะด้
ฑ์ เ า น
ฉพาะด้ส น
ิ ค้
า นา เพื อ
� การขนส่ เตอร์คอลัอาหารจาก
ง   สเตอร์ อา
2. โซนอเมริโซนทวี ปปออสเตรเลี
กาเหนื ออสเตรเลี
อ  เน้ นการมีเยครื าการสร้
การสร้
ยและการรวมกลุ
อาหาร/ าางงานวิ
งงานวิ
ประเทศ
2. โซนอเมริกาเหนือ  เน้ นการมีเครื อข่ายและการรวมกลุม่ ในพื �นที�ใกล้ เคียคลั
จม่จยั ในพื
ยั และพัและพั�นทีงกัน�ใฒ ฒนาสิ
กล้ นาสิ
เคียอคลั นนค้นสค้า  เตอร์
งกั าแในตลาดระดั
ในตลาดระดั
ละมีเาหาร/ครืคลั
งุ่ มันเน้ นอการสร้
อางผลิ
ข่สาตยที บบ�มบน  
เตอร์
ภัประเทศ
บน   นกกเน้าารยื
งุ่ อมัาหาร/ ารยื ดดประเทศ
นการสร้ อายุ
อายุาสงผลิ สินินค้ค้ตาภัาเพืเพื
ณ�อฑ์�อการขนส่
เการขนส่
ฉพาะด้ างนง    คคลัลัสสเตอร์ าหารจาก
ส  เตอร์
และมีเอครืาหาร/ ข่ายที�มประเทศ ณฑ์เฉพาะด้ น
ประเทศออสเตรเลี
ย ววยซีเน้ซีและนิ ว    โซีโดยเฉพาะกลุ
แลนด์  คลั โดยเฉพาะกลุ สสตั ตั ว์ม่ว์    นปศุ สตั ว์  นมและผลิ ตตภัภัณณฑ์ฑ์ ตภัณฑ์

3
โซนทวี ปออสเตรเลี
ประเทศออสเตรเลี
ประเทศออสเตรเลี ยยและนิและนิ แแนลนด์ ลนด์
การสร้ ดยเฉพาะกลุ
างงานวิ
Napaคลั
สเตอร์
คลัสเตอร์ อจาหาร/ ัยม่ ม่ และพั
Valley
ปศุ
ปศุ
อาหาร/
สเตอร์ California
นประเทศ
อาหาร/
มและผลิ
มและผลิ
ประเทศฒนาสินค้าในตลาดระดับบน (สหรัฐประเทศ อเมริ กา)
2. โซนอเมริกาเหนือการยื ดอายุ เครืสอินข่าค้ยและการรวมกลุ
าเพื่อการขนส่ ม่ งในพื อาหารจากประเทศออสเตรเลี งุ่ มัยนคลั
และนิ วซีCalifornia
แงผลิ
ลนด์
Napa Valley Napa (สหรัฐอเมริกา)California
  เน้ นการมี Ontario Food Cluster �นที�ใกล้ เคียงกัน  Ontario และมีเFood ครืNapa อข่Cluster
าValley
ยที�มCalifornia เน้(สหรั
นสการสร้
เตอร์ กา)าอ าหาร/ ตภัณValley ฑ์ประเทศ
เฉพาะด้ Napa าน Valley (สหรัCalifornia
ฐอเมริกา)(สหรัฐอเมริกา)
โดยเฉพาะกลุ่มปศุสัตว์ (แคนาดา)
(แคนาดา) Manitoba (แคนาดา) นมและผลิ Manitobaต(แคนาดา) ภัOntario
ณฑ์Food New จากนม Orleans(Southeast
Cluster
Ontario คลั
คลั Food
Napa
Louisiana)
สส เตอร์
เตอร์ Ontario
Cluster
Valley ฐอเมริ Food
California
NewออOrleans(Southeast
าหาร/
าหาร/ Cluster
ประเทศ
ประเทศ (สหรั ฐอเมริ
Louisiana) กา)
3. โซนทวีปออสเตรเลีย  เน้ นการสร้ (แคนาดา)า(แคนาดา)
งงานวิ จยั และพั
3. โซนทวี
Manitoba Manitoba นาสินOntario
ฒ(แคนาดา)
ปออสเตรเลี
(แคนาดา) ค้ยา(แคนาดา)
เน้ นManitoba
 ในตลาดระดั การสร้ Food างงานวิ Cluster
บบน   จ(แคนาดา)
กยั และพั
ารยื New ดฒอายุ
นาสิสนินค้Napa ค้าาในตลาดระดั
Orleans(Southeast เพื�อการขนส่
Valley ง  คCalifornia
บบน  
Louisiana) กลัารยื ดNew
สเตอร์ อาหารจาก
อายุ สินOrleans(Southeast
ค้(สหรั ฐอเมริ
าเพื�อการขนส่ New ลัOrleans(Southeast
งก  คา) Louisiana) Louisiana)
สเตอร์ อาหารจาก
คลัสย  เตอร์เน้ นการสร้อ าาหาร/ ประเทศ NewการยืดOrleans(Southeast
ประเทศออสเตรเลี(แคนาดา) Manitoba
3. โซนทวีปออสเตรเลี
3. โซนทวี
คลัสเตอร์อาหาร/ประเทศ
ยและนิวซีแลนด์  โดยเฉพาะกลุ (แคนาดา) ส3.
ปออสเตรเลี
ม่ ปศุ
ประเทศออสเตรเลี Ontario
ตั ว์  ยนโซนทวี งงานวิจยั และพั
มและผลิ
และนิ วซียแป ลนด์ น้ภัFood
 ตเออสเตรเลี
ณ ฑ์ฒนาสิCluster
น  โดยเฉพาะกลุ
การสร้ นค้ าในตลาดระดับบน  
างงานวิ
ยม่  ปศุ
เน้สนตั จการสร้
ว์  ย
ั นและพั
มและผลิ างงานวิฒ ตภันาสิ
ณฑ์จนย ั ค้และพั ฒนาสิLouisiana)
อายุสินค้ าเพื�อการขนส่ง  คลัสเตอร์
าในตลาดระดั นอค้าหารจาก
บาบน  
ในตลาดระดั
การยืดอายุ บบน  
สินค้กาารยื เพื�อดการขนส่
อายุสินค้งา  คเพืลั�อสการขนส่
เตอร์ อาหารจาก
ง  คลัสเตอร์ อาห
3. โซนทวี
(แคนาดา) ประเทศออสเตรเลี
ปออสเตรเลี
Manitoba (แคนาดา) ยย  เและนิ วซีแลนด์  าโดยเฉพาะกลุ
น้ นการสร้ งงานวิจยั ม่ และพั ปศุสตั ว์  นฒมและผลิ นาสินตค้ภัณาฑ์ในตลาดระดั บบน  การยืดอายุสินค้ าLouisiana)
New Orleans(Southeast เพื�อการขนส่ง  คลัสเตอร์ อาหารจาก
3. โซนทวี
ประเทศออสเตรเลี
ปออสเตรเลี
ประเทศออสเตรเลี
ยและนิ
ประเทศออสเตรเลี
แลนด์คลั  โาดยเฉพาะกลุ
ย  เน้วนซีการสร้
Ontario Food Cluster
ยและนิวNapa
สเตอร์
งงานวิอาหาร/ จยั และพั
ซีแลนด์
ม่ ปศุ ประเทศ
คลั
ยสเตอร์
Valley และนิ
 โดยเฉพาะกลุ
สฒตั นาสิ ว์  อนาหาร/
วซีแคลัลนด์
California
มและผลิ
นค้ าประเทศ
สเตอร์ม่  โปศุ
ตภัณ(สหรั
ในตลาดระดั
ดยเฉพาะกลุ
อาหาร/ สตั ว์  นประเทศ
ฑ์ ฐอเมริ
มและผลิ
ม่ ปศุสตตั ภัว์ณ
FoodFood
บบน  กกา)ารยืดอายุสินค้ าNewZealand Bow ,Bow
New, New
 นฑ์มและผลิตภัณฑ์
Food Bow , New Zealand
Zealand
Zealand เพื�อการขนส่ง  คลัสเตอร์ อาหารจาก
(แคนาดา) Taste
Taste Paradise
(แคนาดา) Manitoba ประเทศออสเตรเลี Taste
Paradise Paradise
ยและนิวซีแ(ออสเตรเลี (ออสเตรเลี
ลนด์  โดยเฉพาะกลุ (ออสเตรเลี ยย)New GoldGold
Gold
) ม่ ปศุOrleans(Southeast ย
สคลัCoast,AU
Coast,AU
Coast,AU)
ตั ว์ส  นเตอร์ มและผลิ อาหาร/Food
ตภัณ ฑ์ สเตอร์ อาหาร/
คลั
Louisiana)
ประเทศ Bow ,Zealand New Food คลัสเตอร์
Zealand Bow ประเทศ Food
อ, าหาร/
Innovative
New Zealand ประเทศ
3. โซนทวีปออสเตรเลีย  เน้ นการสร้ างงานวิ จยั Paradise
และพั Gold 2. โซนอเมริ Food
กCoast,AU กาเหนืBow อ  เน้ นการมี , New
เครื อข่ายและการรวมกลุ ม่ ในพื �นที�ใNetwork
กล้ เคียงกัน  และมีเครือข่ายที�มงุ่ มันเน้ นการสร้ างผลิตภัณฑ์เฉพาะด้ าน
Taste Paradise4.4.โซนเอเชี
โซนเอเชี 4.โซนเอเชี
(ออสเตรเลี
Taste
ยย)ยGold
โซนเอเชี ส
ส ว
ย ว
Taste
นใหญ
ส
ยฒนใหญ
นใหญ
นาสิ
Coast,AU

สวนังยนใหญ
Paradise
(ออสเตรเลี ค้ยา) Gold

อยู ั ง ก
 ั
ในตลาดระดั
(ออสเตรเลี
งอยู
อยู
ระจั ด ก
 ก

Coast,AU
ยระจั
ออสเตรเลี ังย)อยู
ระจั
กระจายและบริ
บบน  
คลั ด ด กสกระจายและบริ
ระจั
เตอร์

ารยืดอายุสินค้นิาวเพืซี�อแการขนส่
ยกระจายและบริ
ารจั อดการภายในแต

กระจายและบริ
าหาร/ ประเทศ

ลนด์
หห
ะประเทศ ารจัารจั
ง  คลัสเตอร์ อาหารจาก
ดดหคลัการภายในแต
การเชื
ารจั
การภายในแต
่อสลมโยง เตอร์
ดการภายในแต
อาหาร/การเชื ประเทศ่อมโยง ลละประเทศ
ะประเทศ ละประเทศ การเชื่อการเชื
การเชื มโยง่อมโยง
่อมโยง
โซนเอเชี
ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์  โดยเฉพาะกลุม่ ปศุสตั ว์  นมและผลิตภัณฑ์
4. 4. ย ส ว นใหญ ย ั ง อยู ก
 ระจั ด กระจายและบริ ห ารจั ด การภายในแต ะประเทศ
4.โซนเอเชีย สวนใหญเครื
เครื
เครืางประเทศยั อยูออกขขระจั
ออขขาายยระหว
ังเครื
ยระหว าเครื
ยระหว
ายระหว ดกระจายและบริ
าดานงประเทศยั
องประเทศยั
าขงประเทศยั
ายระหว างประเทศยัางไม มีเหดนารจั
งประเทศยั งงมไม ชัด ดนอกจากกลุ
ไม ีเีเยดมงด)ีเย(ออสเตรเลี
มงมไมการภายในแต นดไม
นGold
นชั ชัชัมดนดีเนอกจากกลุ
มดในเอเชีดนอกจากกลุ
นลยะประเทศ
นอกจากกลุ ชัตะวัดนออกที มนอกจากกลุริ่มFood
่เการเชื
ในเอเชี มียกตะวั ่อมโยง
มมารรวมกลุ
ในเอเชี
ในเอเชี Bow
นออกที มมกัในเอเชี
น่เริบ่มา,มีงกNew
ยยตะวัตะวั Food
Napaน
ารรวมกลุนยValley
ตะวั
ออกที
ออกที กัBow
Zealand นน
มCalifornia่เFood
บ่เาออกที ่ม่ม,มีฐมีNew
ริงริ(สหรั อเมริ
Bow
ริา) ่มZealand
กก่เารรวมกลุมีก,ารรวมกลุ
การรวมกลุ
New มมกักัZealand
นนบบามางกัง นบ
Taste Paradise TasteGold (ออสเตรเลี Coast,AU
Paradise Coast,AU
ย ) Gold Coast,AU

4
เครือขายระหวTaste โซนเอเชีย
Paradise ง ไม ม เ

(ออสเตรเลี ชั
คลั ดส นอกจากกลุ

เตอร์
ส่วนใหญ่ยังอยู่กระจัดกระจายและบริคลัหสารจั) อ าหาร/ ในเอเชี
ประเทศ ตะวั ออกที เ
่ ริ ่ ม มี ก ารรวมกลุOntario Food  ม กั น บ
Cluster า ง
เตอรดอาหาร/ การภายในแต่
ประเทศ ละประเทศ
คลั ส เตอร อ าหาร/ ประเทศ

การเชื ่อมโยงเครื Food


(แคนาดา) Manitoba (แคนาดา)
คลั่มดออสาในเอเชี
เตอร Bow
อยประเทศ
าหาร/ , New
ประเทศ มีการยื่อZealand
New Orleans(Southeast Louisiana)
4.โซนเอเชี
Taste ย สอ(ออสเตรเลี
Paradise 4.วข่โซนเอเชี
ายระหว่
นใหญ าอยู
ยคลั)งประเทศยั
ยังfood
Agricultural ย
4.โซนเอเชี
สสกเตอร
Gold วระจั
นใหญ
อดาหาร/ ยงยไม่ังประเทศ
สอยู
กระจายและบริ
organization Coast,AU
เว3.ด่นใหญ
นโซนทวี
กชัระจั
ดปออสเตรเลี
นอกจากกลุ
ยดหคลั
คลั
อยูสสยกเตอร
ารจั ด  เตอร
ังกระจายและบริเน้ระจั
การภายในแต
นการสร้ าหาร/
าหาร/
กระจายและบริ
งงานวิ จห ตะวั
ารจั
ยั และพั นนค้ าออกที
ลประเทศ
ดการภายในแต
ะประเทศ
ฒนาสิ หารจั่เริบด่มบน  การภายในแต
การเชื
ในตลาดระดั ลมโยง ดะประเทศ ลการเชื
ะประเทศ
อายุสินค้ าเพื�อการขนส่ ่อมโยง
ง  คลัสเตอร์ การเชื่อมโยง
อาหารจาก
การรวมกลุ่มกันบ้าง (Volcani) (อิประเทศออสเตรเลี
สราเอล) ยและนิวซีแลนด์  โดยเฉพาะกลุม่ ปศุสตั ว์  นมและผลิตภัณฑ์
เครือขายระหวเครื อขายระหว
างประเทศยั เครืงไมอามขงประเทศยั
ีเาดยระหว
นชัด นอกจากกลุ างงประเทศยั
ไมFood
มีเดนมชัBow
Agricultural food organization (Volcani) (อิสราเอล)
ดงไมนอกจากกลุ
ในเอเชี มีเ,ยดNewนชัดนออกที
ตะวั นอกจากกลุ
มในเอเชี
Zealand่เริ่มมียกตะวั
มในเอเชี
นออกที
ารรวมกลุ ยมตะวั
กั่เนริ่มบนมีางออกที
การรวมกลุ
่เริ่มมีกมารรวมกลุ
กันบาง มกันบ
4.โซนเอเชีย สวนใหญยังอยูกระจั ดกระจายและบริ
Foodpolis South หารจัดการภายในแต
คลัสล ะประเทศ
เตอร์ การเชื่อมโยง
อาหาร/ ประเทศ
คลัAgricultural
สเตอร์
Taste Paradise (ออสเตรเลี อาหาร/ประเทศ
ย)food
Goldorganization (Volcani) (อิสราเอล)
KoreaCoast,AU
Agricultural Foodpolis South
เครือขายระหวAgricultural
Agricultural
Korea food
างประเทศยั food ีเดfood
นชัดorganization
งไมมorganization
organization คลัส(Volcani)
เตอร (Volcani)
อาหาร/
(Volcani)
นอกจากกลุ สสประเทศ
คลั
ม(อิ(อิในเอเชี
ราเอล)(อิยสตะวั
สเตอร
ราเอล) ราเอล)
อาหาร/
นคลัออกที
สเตอร
ประเทศ
่เอริาหาร/ ประเทศ มกันบาง
่มมีการรวมกลุ
4.โซนเอเชีย สวนใหญยังอยูกระจัFoodpolis
ดกระจายและบริSouth หารจัดการภายในแตละประเทศ การเชื่อมโยง Food Bow , New Zealand
Taste Paradise (ออสเตรเลีย) Gold Coast,AU
Korea 11 | P a g e
คลั ส เตอร อ าหาร/ ประเทศ
เครือขายระหวาAgricultural
งประเทศยังไมAgricultural
มfood
ีเดนชั11ด food
นอกจากกลุ
ge
มในเอเชี
organization
Foodpolis
Foodpolis
| P aAgricultural food Foodpolis
(Volcani) ย(อิตะวั
สราเอล)
4.โซนเอเชี
Agricultural
organization นย ออกที
South
South
food South
ส(Volcani)
วนใหญ ่เยริัง่มอยู(อิมีสกกระจั
organization ารรวมกลุ
ราเอล) (อิสม
ดกระจายและบริ
(Volcani) กันหบารจัาดงการภายในแตละประเทศ การเชื่อมโยง
ราเอล)
อิ ส ราเอล จี น ญี่ปุ่นยตะวันออกที่เริ่มมีไต้การรวมกลุ
หวัน มกันบาง
Korea คลัสเตอรอาหาร/ ประเทศ
organization (volcani)
Korea
Korea
เครื อ ข า ยระหว า งประเทศยั ง ไม มเ
ี ด น ชั ด นอกจากกลุ มในเอเชี
11 | P a g e Foodpolis
Agricultural food organization South
(Volcani) (อิสราเอล) Foodpolis
Foodpolis South Southคลัสเตอรอาหาร/ ประเทศ
Korea
Korea Korea Agricultural food organization (Volcani) (อิสราเอล)
Agricultural food organization (Volcani) (อิFoodpolis
สราเอล) South
11 || PP11
11
Korea aa gg|eeP a g e เกาหลีใต้ มาเลเซีย
Foodpolis South
Halal Hub
11 | P a g e
Foodpolis 11 South
| P a g e11 | P a g e
Korea
หน้า I 11
Korea
11 | P a g e
11 | P a g e
Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 11 27/4/2558 19:08
2 ระบบ วทน.
สำ�หรับธุรกิจเกษตร
และอาหารแปรรูปไทย
ธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูปเป็นอุตสาหกรรมหลักในการ
ต่อยอดต้นทุนทรัพยากรพื้นฐานของประเทศ (ภาคเกษตร
ปศุสัตว์ และประมง) และยังสามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันได้
อีกมาก
โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศ ASEAN ซึ่งไทยถือว่ามีบทบาทสำ�คัญในธุรกิจ
กลุ่มนี้ แต่ในปัจจุบันศักยภาพของธุรกิจเกษตรและอาหารไทยในด้านความ
สามารถในการแปรรูปวัตถุดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงนั้น ยังถูกจำ�กัด
ในวงแคบเนื่องจากข้อจำ�กัดหลายๆ ด้าน เช่น ขาดการสนับสนุนในด้าน
องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงเครื่องจักรที่ใช้ในการแปรรูป
นั้นส่วนใหญ่มีราคาสูง จึงส่งผลให้อุตสาหกรรมอาหารไทยยังคงเน้นการ
ส่งออกสินค้าเกษตรขั้นพื้นฐาน โดยไม่มีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า
เป็นหลัก ดังนั้นภาครัฐจึงมีความพยายามในการผลักดันให้เกิดการพัฒนา
อุตสาหกรรมอาหารอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการดำ�เนินงานตลอดห่วงโซ่อาหาร
ในปัจจุบัน มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มากกว่า 11 กระทรวง 30 หน่วยงาน
และกฎหมายที่เกี่ยวข้องมากกว่า 30 ฉบับ อย่างไรก็ตาม ยังคงขาดการ
ทำ�งานเชื่อมโยงและมีเจ้าภาพในการบริหารจัดการในด้านนโยบายและการ
ลงทุนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปโดยการใช้ วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) เป็นเครื่องมือสนับสนุนอย่างชัดเจนและ
เป็นรูปธรรม

หน้า I 12

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 12 27/4/2558 19:08


ระบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
1. ด้านการวิจัย พัฒนา (RD)
2. ด้านการสร้างนวัตกรรม (INNO)
3. ด้านพัฒนากำ�ลังคน (STI Manpower)
4. ด้านพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastucture)
5. ด้านพัฒนาปัจจัยเอื้อ (Enablings)

Food Science Technology and Innovation System


กิจกรรม นโยบาย/มาตรการ วทน. หน่วยงานหลักนอก หน่วยงานใน
ที่เกี่ยวข้อง กระทรวงวิทยาศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และเทคโนโลยี

1. R&D วิจัยมุ่งเป้า
6ส 1 ว (สวก)
สมาคม AIAC
วว. สนช.
BIOTEC (สวทช.)

2. Innovation ชุมชนนวัตกรรม/
คลินิกเทคโนโลยี
TLO/TLO Uni.
NFI/กรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม/
ISMED
iTAP BIOTEC
TMC (สวทช.)
สนช. วว.

3. Manpower Talent Mobility,


STEM Workforce/
Work integrated
สมาคม AIAC
สอศ. สกอ.
กรมแรงงาน
THAIST
(สวทน.)
Leaning

4. Infrastructure Food Valley


Science Park
Academy/
Institute/Regional
Science Park
อุทยาน
วิทยาศาสตร์

STI market
5. Enabling bank,IP,Tax300% STI
Thailand Award/Food
Innovation award
FoSTAT/กรมส่งเสริมการ
ส่งออก/สมาคมส่งเสริม
SMEs
ฐานข้อมูล
วทน.
(สวทน.)

ที่มา : การประชุมเชิงปฏิบัติการ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอาหารด้าน วทน. , 2557


หน้า I 13

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 13 27/4/2558 19:08


เป้าหมายหลักในการพัฒนาระบบ วทน.
สำ�หรับธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูปไทย
1 เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2564
โดยเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่อยู่ในห่วงโซ่ธุรกิจเกษตรและอาหาร

Innovation ให้มีรายได้ 32,500 บาท ต่อคนต่อเดือน (จากในปัจจุบันอยู่ที่


13,000 บาทต่อคนต่อเดือน) *
2 เพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคง ปลอดภัยและมีความยั่งยืน
ทางอาหาร โดยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการส่งออกธุรกิจเกษตร
และอาหารแปรรูป จาก 1 ล้านล้านบาท ปี 2556
Competitiveness
เพิ่มขึ้นเป็น 2 ล้านล้านบาทในปี 2564 โดยสร้างสินค้า **
เป้าหมายในแต่ละพื้นที่ เช่น อาหารอินทรีย์ อาหารคุณค่าสูง
อาหารทะเล อาหารเพื่อสุขภาพ

Productivity-driven 3 เพื่อยกระดับระบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใน


กลุ่มธุรกิจเกษตรและอาหารของประเทศ ให้มีประสิทธิภาพและ
สามารถเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
• การลงทุนร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนที่ 1%
ของมูลค่าการส่งออกในสาขานี้ภายในปี 2559 (สิ้นแผนพัฒนาฯ
Service Production 11)
Hub Hub • การลงทุนร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนที่ 2% ของ
ในสาขานี้ มูลค่าการส่งออกในสาขานี้ ภายในปี 2564
(สิ้นแผนพัฒนาฯ 12)
• รัฐและเอกชนลงทุนในสัดส่วน 30 : 70 ภายในปี 2564
(สิ้นแผนพัฒนาฯ 12) (ภาครัฐลงทุนเพิ่มขึ้นทุกปี ภาคเอกชน
ลงทุนในอัตราเร่งด้วยแรงจูงใจและการสนับสนุนจากภาครัฐ)
• เพิ่มการลงทุนด้าน วทน. ในโครงการขนาดใหญ่
Labour (Mega Projects)
Hub

หน้า I 14 *** นโยบายรั ฐบาล และข้อเสนอปฏิรูปวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ, 2557


นโยบายคณะกรรมการไทยแลนด์ฟู๊ดวัลเลย์

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 14 27/4/2558 19:08


2
พันธกิจหลักในการพัฒนาระบบ วทน. ล้านล้านบาท

สำ�หรับธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูป
+

มูลค่าทางการตลาดที่เพิ่มชึ้น
ของรัฐบาลไทย
สร้างมูลค่า

1
ล้านล้านบาท
จากการผลิต
โดยใช้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
นวัตกรรม

1 สนับสนุนให้เกิดการจัดตั้งเครือข่ายการทำ�งานร่วมกันในรูป
แบบของ Triple Helix ทั้งในและต่างประเทศ
การผลิตบน
ฐานของการ
ผลิตเดิม

2 เพื่อเสริมสร้างและผลักดันให้ผู้ประกอบการภาคผลิต ธุรกิจ
การค้า และธุรกิจบริการสาขาอาหาร นำ�งาน วทน. ไปใช้ใน
Potential Industry & STI Value Creation

Socio-economic Value
พัฒนาธุรกิจ Key or Creativity
Strategic Marketing
product(s)?

3 ให้ภาคเอกชนสามารถเข้าถึงสิทธิประโยชน์ มาตรการ
สนับสนุน ต่างๆของรัฐ ที่เอื้อต่อการพัฒนา ต่อยอดผลงาน
วิจัย และนวัตกรรม
Core
technologies?
Value added
to industry?
?
Innovation

Technology
Science

4 ให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการพัฒนา
วทน. ในอุตสาหกรรมอาหาร จนก่อให้เกิดการวิจยั และพัฒนา
และการสร้างนวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหารให้มากยิ่งขึ้น As is Potential
Natural resource
Labor

5 เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงทาง Migration
Socio - economic Contribution

Agri and Food Industry level


วทน.ตลอดจนองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และบริการต่างๆ
โดยเฉพาะส่วนของภาครัฐและภาคการศึกษา ซึ่งมีหน่วย Bio-based

งานเป็นจำ�นวนมาก 10% Business

Energy
20% 2 Food
6
Medical
เพิ่มประสิทธิภาพ ผลิตภาพ มูลค่าและขีดความสามารถให้ Medical
Health & Wellness
กับอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารแปรรูป ตลอดจนการปรับ 1 50% Renewable Energy

ตัวต่อการเปลี่ยนแปลงและการกีดกันทางการค้าด้วย วทน. Food Agri


Agri
Electronics 80% Rail
Tourism
Auto 50% Tourism
Electronics
Auto

Current portfolio Future portfolio


Source: SIGA&STI 2012

หน้า I 15

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 15 27/4/2558 19:08


สวทน. กับการพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรม
สำ�หรับเกษตรและอาหารของไทย
• รูปแบบการดำ�เนินการพัฒนา
นวัตกรรมอาหาร แบบ 3 เกลียว
(Triples Helix Model)
Investor
เน้นการเชื่อมโยงระหว่างเกษตรกร
ผู้ประกอบการ และนักวิจัย ทั้งภาครัฐและ
Market/ Related ภาคเอกชน ให้เกิดการรวมกลุ่มเป็นคลัสเตอร์
Customers LEs/SMEs อาหารที่มีเป้าหมายร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิด
ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร
เสริมสร้างความเข้มแข็ง และเพิ่มขีดความ
Food สามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ
Enterprises ภายในประเทศ โดยส่งเสริมและสนับสนุน
ในด้านการวิจัยพัฒนาเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผู้บริโภค รวมถึงวิจัยเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต การเก็บรักษาคุณภาพ
ของสินค้า มีการส่งเสริมการถ่ายทอดและ
แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม
จนกระทั่งเกิดการต่อยอดในเชิงพาณิชย์
ให้เกิดการเพิ่มมูลค่าสินค้า ยกระดับอุตสาหกรรม
เกษตร และอาหารภายในประเทศอย่างยั่งยืน
Public/
Government Academy องค์ประกอบของการสร้างนวัตกรรม
ประกอบด้วย การทำ�งานร่วมกันของ 3 ภาค
ส่วนสำ�คัญ ได้แก่ 1. ภาครัฐ 2. ภาคการศึกษา
และ 3. ภาคเอกชน/ภาคตลาด/ภาคประชาสังคม

หน้า I 16

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 16 27/4/2558 19:08


บทบาทของหน่วยงานต่างๆ ในการขับเคลื่อนนวัตกรรมสำ�หรับเกษตรและอาหารของไทย
เอกชน สถานศึกษา ภาครัฐ ภาครัฐ (ส่วนกลาง)
• สร้างเครือข่ายเอกชน • สร้างเครือข่าย • บูรณาการบริหาร • บูรณาการการ
เพื่อร่วมกำ�หนดสินค้า สถาบันวิจัย เพื่อสร้าง จัดการงบประมาณ บริหารจัดการหน่วย
เป้าหมาย และ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของหน่วยงานภาครัฐ งานภาครัฐในส่วน
แนวทางการพัฒนา ด้านและความเชื่อมโยงใน ไม่ให้ซ้ำ�ซ้อน งานกลางและใน
พื้นที่ การพัฒนางานวิจัยตลอด พื้นที่
ห่วงโซ่อุปทาน

• กำ�หนดโจทย์การ • ทำ�งานวิจัยตาม • บริหารจัดการการ • กำ�หนดโครงสร้าง


วิจัยร่วมกับสถานศึกษา ความต้องการของ พัฒนางานวิจัยให้ สนับสนุนในการขับ
สถาบันวิจัย ตลาด และสร้างงาน เหมาะสม สอดคล้อง เคลื่อนการสร้าง
วิจัยที่สร้างนวัตกรรม กับนโยบายแนวทาง มูลค่าเพิ่มในเกษตร
ใหม่ การพัฒนา อาหาร

• สร้างขีดความ • สร้างขีดความ • สร้างขีดความ • กำ�หนดโครงสร้าง


สามารถในการรับ สามารถของผู้ สามารถของรัฐในด้าน ในการสนับสนุนการ
การถ่ายทอดภายใน ถ่ายทอดงานวิจัย การพัฒนาอุตสาหกรรม ถ่ายทอด
สถานประกอบการ พัฒนา เกษตรอาหาร

• ผู้รับการ • ผู้ถ่ายทอด • บูรณาการบริหาร • กำ�หนดเป้าหมาย


ถ่ายทอด ไปขยาย เพื่อขยายผลการ จัดการถ่ายทอด ของการขยายการ
ผลการพัฒนา ถ่ายทอดงานวิจัย ประยุกต์ใช้งานวิจัย ประยุกต์งานวิจัยไป
สินค้าในสถาน ไปสู่ภาคเอกชน ในพื้นที่ สู่การพาณิชย์
ประกอบการ

หน้า I 17

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 17 27/4/2558 19:08


สภาพปัจจุบัน ของระบบ วทน.
เพื่อต่อยอดทางธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูป
ร้อยละงบประมาณการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอ
ของบประมาณ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ในงานวิจัย จำ�เป็นต้องเปิดเผยข้อมูลที่อาจเป็น
ความลับทางธุรกิจ ผู้ประกอบการจึงมีความกังวลใน
การเปิดเผยข้อมูลให้นักวิจัย จึงทำ�ให้ไม่เกิดความร่วม
14.20% มือในการวิจัยงานให้ตรงกับความต้องการทางธุรกิจ
การวิจัยพื้นฐาน ด้านเศรษฐกิจ/พาณิชย์
46.90%

23.52% ด้านวิชาการ
4 ขาดงบประมาณสนับสนุนการวิจัยเชิงนวัตกรรม
ในระยะยาว เน้นเฉพาะการวิจัยที่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้ในระยะเวลาอันสั้น
ด้านสังคม/ชุมชน
85.80%
การวิจัยประยุกต์
21.32%
8.26% ด้านนโยบาย
ที่มา : เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.), 2557
5 ระบบรัฐสนับสนุนงบประมาณเป็นรายปี ทำ�ให้ไม่
ต่อเนื่องสำ�หรับการสนับสนุนการพัฒนาในระยะยาว
หากพิจารณาการจัดสรรงบประมาณการวิจัยของ
หน่วยงานภาครัฐ ในปี 2557 พบว่ามีงานวิจัยได้รับ
1 ด้านการวิจัยและพัฒนาด้านพัฒนา การสนับสนุน เป็นการวิจัยพื้นฐาน 829 โครงการ
นวัตกรรมด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี งบประมาณ 648 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
14.20 ของงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน
ข้อจำ�กัดของงาน R&D ไทย ทั้งหมด และการวิจัยประยุกต์ 3,637 โครงการ
งบประมาณ 3,921 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
1 เป้าหมายของงานวิจัยระหว่างอาจารย์หรือนักวิจัย
ในสถานศึกษาและผู้ประกอบการ ขาดความ
สอดคล้องกัน
85.80 ของงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน
ทั้งหมด โดยมีการวิจัยที่นำ�ไปใช้ประโยชน์ด้าน
เศรษฐกิจ/พาณิชย์สูงสุด จำ�นวน 1,958 โครงการ
2 ความคาดหวังของผู้ประกอบการในการได้มาซึ่ง
ผลผลิตของงาน กับการดำ�เนินงานวิจัยของ อาจารย์
นักวิจัยในสถานศึกษาไม่สอดคล้องกัน
งบประมาณ 2,143 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าใน
ปัจจุบันยังมีการสนับสนุนการวิจัยพื้นฐาน
ซึ่งเป็นรากฐานของการวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรม
ในระยะยาวไม่มากนัก
3 ขาดความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการในด้านความลับ
การดำ�เนินธุรกิจ จึงไม่เปิดเผยข้อมูลความต้องการใน
งานวิจัย เนื่องจากการให้รายละเอียดความต้องการ

หน้า I 18

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 18 27/4/2558 19:08


โลหะประดิษฐ์
983.5 ปิโตรเลียม

ยานยนต์
4,717.1
988.8
เครื่องจักร
1,064.1 ที่มา : สวทน., 2555

สาขาอุตสาหกรรม
ธุรกิจค้าส่ง/ ที่มีค่าใช้จ่ายวิจัย
ตัวแทนจำ�หน่าย และพัฒนาสูง
1,170.7
10
อันดับแรก (ล้านบาท) เคมี
แร่อโลหะและแก้ว
1,236.7 4,130.5

บริการด้านธุรกิจอื่นๆ
1,625.5 กลุ่มอาหาร
และเครื่องดื่ม
บริการวิจัยและพัฒนา
1,865.8 3,557.6
6 งบประมาณในการสนับสนุนการพัฒนางานวิจัยต่ำ�
งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยของประเทศไทย
มีเพียงร้อยละ 0.25 - 0.30 ต่อ GDP ซึ่งเป็น
ในภาพรวมของเศรษฐกิจโลก (Global Competitiveness
Index : GCI) พบว่า ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 38 จาก
สัดส่วนที่น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศใน 144 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมีการพัฒนาในด้านนวัตกรรม
กลุ่มอาเซียน ส่งผลให้ประเทศไทยถูกจัดอยู่อันดับที่ 5 ค่อนข้างต่ำ� อย่างไรก็ตามจะพบว่าสำ�หรับกลุ่มธุรกิจเกษตร
ในการจัดอันดับด้านนวัตกรรมของ World Economic และอาหารในภาคเอกชนให้ความสำ�คัญในการลงทุนวิจัย
Forum ในปี 2013 - 2014 รองจากประเทศ สิงคโปร์ และพัฒนาโดยอยู่อันดับ 3 ของกลุ่มธุรกิจ มูลค่ารวมอยู่ที่
มาเลเซีย บรูไน และอินโดนีเซีย นอกจากนี้หาก 3,557.6 ล้านบาท ในปี 2556
พิจารณาความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย

หน้า I 19

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 19 27/4/2558 19:08


ความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร 2. ด้านการพัฒนากำ�ลังคน
จำ�นวนบริษัทที่จดทะเบียนเป็นบริษัทผลิตอาหาร 117,142 ราย จากการสำ�รวจในปี 2554 ประเทศไทย ในกลุ่ม
เป็นโรงงานผลิตอาหาร : 9,227 ราย อาหารและเครื่องดื่มมีบุคลากรด้าน R&D ประมาณ
3,933 คน ซึง่ ถือว่ามีจ�ำ นวนสูงทีส่ ดุ ในกลุม่ อุตสาหกรรม
แต่ภาพรวม ด้านการพัฒนากำ�ลังคนนั้นประสบปัญหา
และข้อจำ�กัดดังนี้
เป็นกลุ่มธุรกิจที่ต้องอาศัยแรงงานเป็นจำ�นวนมาก
ความต้องการแรงงาน : 150,825 1 ขาดแคลนนักวิจัยอาชีพ ซึ่งทำ�ให้งานวิจัยบางเรื่อง
ขาดความต่อเนื่องของงานวิจัย พบว่าในปัจจุบัน
จำ�นวนนักวิจัยมีสัดส่วนเพียง 3.3 คน ต่อประชากร
ปริมาณแรงงานที่มี : 120,000 10,000 คน ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ค่อนข้างต่ำ� เมื่อเปรียบ
ต้องการอีก 30,825 เทียบกับประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน เช่น ประเทศ
มาเลเซีย มีจำ�นวนนักวิจัย 8 คนต่อประชากร 10,000
ต่ำ�กว่าปริญญาตรี : 29,900 (97%) คน ประเทศสิงคโปร์ มีนักวิจัย 64 คน ต่อประชากร
10,000 คน เป็นต้น
ปริญญาตรี หรือสูงกว่า : 925 (3%)
ที่มา : สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2556 2 งานวิจัยในปัจจุบันถูกพัฒนาโดยนิสิต นักศึกษาใน
สถาบันการศึกษาร่วมกับอาจารย์นักวิจัย เมื่อนักศึกษา
สำ�เร็จการศึกษาออกจากสถาบันการศึกษาไป อาจ
ผู้ประกอบการผลิตอาหาร ทำ�ให้งานวิจัยไม่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

6%
3% 3 ผู้สำ�เร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่อยู่ในตลาดแรงงาน ส่วนใหญ่ทำ�งานไม่ตรงสาขา
ที่สำ�เร็จการศึกษา โดยทำ�งานตรงสาขามีเพียง
ร้อยละ 23 ทำ�ให้เกิดปัญหาขาดแคลนกำ�ลังคนที่มี
ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาคการ
ผลิตและบริการ อย่างไรก็ตาม หากมองที่ปริมาณ
บัณฑิตตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป ที่จบในปัจจุบันถือว่า
ยังมีปริมาณที่สูงเกินกว่าความต้องการ หากแต่

Small
Medium
91% 4
คุณภาพบัณฑิตและความเหมาะสมในการทำ�งาน
ยังไม่ตรงความต้องการของภาคเอกชน
ขาดการผลิตกำ�ลังคนในระดับปฏิบัติการอย่างมาก
โดยเฉพาะช่างเทคนิคที่มีทักษะ
Large
ที่มา : สถาบันอาหาร, 2555

หน้า I 20

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 20 27/4/2558 19:08


3. ด้านโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยเอื้อด้าน วทน.
สภาพทั่วไปของโครงสร้างพื้นฐานด้าน วทน. ของไทย
ในปัจจุบัน
1
ขาดเครื่องมือสำ�หรับพัฒนางานวิจัยที่ครอบคลุมในทุกขั้นตอน
ในสถานที่หนึ่ง ทำ�ให้ต้องพึ่งพาการใช้เครื่องมือในสถานที่อื่นๆ
ซึ่งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง
ขาดศูนย์ประสานงานแบบเบ็ดเสร็จเพื่ออำ�นวยความสะดวก
ให้กับภาคเอกชน โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (one stop service center)
กฎหมายและระเบียบต่างๆ ไม่สอดคล้องต่อสถานการณ์ใน
ปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันหน่วยงานรัฐและการศึกษาก็ได้มี
การพัฒนาเชื่อมโยงข้อจำ�กัดดังกล่าวไว้บ้างแล้ว ดังตัวอย่าง
โครงสร้างพื้นฐานทาง วทน. เพื่อธุรกิจเกษตรและอาหาร
ของไทย 2
1

อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและอุทยาน
วิทยาศาสตร์ภูมิภาค
2 อุทยานวิทยาศาสตร์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

3 อุทยานนวัตกรรมทางอาหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากนี้ยังมีศูนย์บริการฯ ในมหาวิทยาลัยอื่นๆ เช่น
ศูนย์อำ�นวยความสะดวกด้านความรู้ สำ�หรับธุรกิจเกษตร
และอาหาร (K-EXCHANGE Center) ของมหาวิทยาลัย
3
พระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัฑณ์
(Food Innovation and Packaging Center: FIN) ของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอื่นๆ

หน้า I 21

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 21 27/4/2558 19:08


3 แนวทางการขับเคลื่อนธุรกิจเกษตรและ
อาหารแปรรูป ด้วย วทน. ในระยะ 10 ปี

Framework ดัfor
driving Innovation
policy in Agro
Food Business

Actual/Hidden
Potential Local
Supply Chain
&
3.แนวทางการขับเคลือ

การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร

เชิงพื้นที่
(Private+Public)
การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร มีความสำ�คัญอย่างมากต่อประเทศไทยที่
เป็นประเทศเกษตรกรรมและเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำ�คัญแห่งหนึ่งของ
โลก ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ซึ่งสามารถสร้างรายได้ที่
แท้จริงจากการส่งออกสินค้าเกษตรรวมถึงสินค้าเกษตรแปรรูป เนื่องจาก
เป็นสินค้าที่ผลิตจากแรงงานและทรัพยากรในประเทศเกือบทั้งหมด รวมถึง
� นธุในปั

แหลงผลิตอาหารที่สําคัญแห

เชิงวาระ
INN
OVA
รกิจจเกษตรและอาหารแปรรู

ที่แทจริงจากการสงออกสิสร้
งหนึ
จุบันมีการแข่งขันของอุ

ที่แข่งขัมีนคได้


วามสํโดยการสร้
ของโลก
นคาางความแตกต่

(Central Gov.)

TIO
N
KNOWLEDGE&CREATIVITY
ประชากรส
เกษตรรวมถึงาสิงนคและพั
INNOVATION

ป  ตดสาหกรรมอาหารในตลาดโลกสู

าคัญอยางมากต
้ วย  วทน.ในระยะ  10 ปี
ประเทศไทยจึงควรเร่งปรับตัวในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพมากขึ้นในราคา
างเครืออประเทศไทยที
นใหญ
าเกษตรแปรรู
่เปนประเทศเกษตรกรรมและ
ข่ายรวมกลุ่มในการพั
ประยุกต์ใช้งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการเพิ่มซึ่งมูสามารถสร
ป ระกอบอาชี
Conceptual ทรัพยากรในประเทศอยางแทจริง รวมถึงในปจจุบันมีการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารในตลาดโลกสูงขึ้น
ฒนากระบวนการผลิ
พ เกษตรกร
ป เนื่องจากเปตนให้
สินมคีปาระสิ

งนั้นประเทศไทยจึงควรเรงปรับตัวในการผลิตสินคาใหมีคุณภาพมากขึ้นในราคาที่แขงขันได โดยการสราง
เครือขายรวมกลุมในการพัฒนาและสงเสริมการประยุกตใชงานวิจัย เทคโนโลยี

IN N O VATI
1. Safety

ON
และนวั&ตกรรมในการเพิ
2. Green / Eco-Friendly
ใ ห สิ น ค า ส ร า ง ค ว า ม แ ต ก ต า ง แ ล ะ พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก3.า รProcess
ผ ลิ ต ใ หEfficiency

เชิงสินค้าเป้าหมาย
(Private)
7.
8.
งขึ้น ดังนั้น

ฒนาและส่งเสริมการเปน
ลค่าให้สินาค้งรายได

ที่ผลิทตธิจากแรงงานและ

Standard ่มมูลคา
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
4. Smart Packaging
5.
6.
Traceability
STI Database and KM
STI Man Power
ภาพ

Logistics & Supply Chain

** High Valued
Target product

หน้า I 22 22 | P a g e

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 22 27/4/2558 19:08


แนวทางการขับเคลื่อนธุรกิจเกษตรและอาหาร
แปรรูปด้วย วทน. จะเน้นการพัฒนาใน 3 ด้านสำ�คัญ ได้แก่
TOP DOWN POLICY
เชิงวาระ (Agenda)
ขึ้นอยู่กับบทบาทหน้าที่หลักของหน่วยงานภาครัฐในการวางแผน
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ซึ่งมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น โดยควรมีหน่วยงานกลางในการ
ประสานงานเพื่อเชื่อมโยงและกำ�กับทิศทางให้ไปในทิศทางเดียวกัน
มีการส่งเสริมและสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ของการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวม

BOTTOM DOWN POLICY


เชิงสินค้าเป้าหมาย (Product)
เชิงพื้นที่ (Area)
โดยจะคัดเลือกสินค้าเป้าหมายที่มีศักยภาพในการผลิต
โดยจะคัดเลือกพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีความเข้มแข็ง มีความพร้อมของปัจจัยการผลิตสูงในพื้นที่ เป็นสินค้า
มีความพร้อมในการส่งเสริมพัฒนา เป็นพื้นที่เป้า เป้าหมายในการพัฒนาเท่านั้น โดยให้การสนับสนุนการ
หมายนำ�ร่องในการพัฒนา ซึ่งต้องอาศัยความ พัฒนาเชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่อุปทาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ร่วมมือและเห็นพ้องจากภาคเอกชนและภาครัฐใน และปริมาณการผลิตโดยการใช้วทน. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
พื้นที่เป็นสำ�คัญ ขยายการส่งออกสินค้าเกษตร หรืออาหารหลักของพื้นที่
ซึ่งการเน้นการพัฒนาเฉพาะพื้นที่เป้าหมายและสินค้าเป้า
หมาย เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
การสนับสนุนไม่มีการกระจายมากเกินไป จากนั้นเมื่อพื้นที่
นำ�ร่องประสบความสำ�เร็จ จึงขยายผลไปยังพื้นที่เป้าหมาย
อื่นต่อไป

หน้า I 23

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 23 27/4/2558 19:08


การพัฒนาเชิพังฒวาระ (Agenda-based
นาเชิงวาระ (Agenda-based Approach) Approach)
สวนกลาง ในประเทศ
ส่วนกลาง ในประเทศ
การพัฒนาเชิงวาระ คือ มุมมองในการพัฒนาที่มุงเนนการพัฒนาตามหัวขอหรือวาระเปาหมาย ซึ่ง
การพัฒนาเชิงวาระ คือ มุมมองในการพัฒนาที่มุ่งเน้นการพัฒนาตามหัวข้อ
เปนหรืประเด็
อวาระเป้ นสําาหมาย คัญทีซึ่ต่งอเป็งพันประเด็ นสำ�คัญที่ต้อ้นงพัฒนาในขณะนัเพื
ฒนาในขณะนั ้น ่อเพืเพิ่อเพิ
่มขี่มดความสามารถในการแขงขันใน
ขีดความสามารถในการแข่งขันในธุรกิจและอาหาร โดยจะส่งเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรมอาหาร
ในสินค้าต่างๆ ที่เกี่ยวข้โดยจะส อง และส่งเสริ งเสริมมการพั
การพัฒฒนาในทุ
นาในสิ
กพืน้นคที่ทาี่มตีกาารประยุ
งๆ ที่เกกีต์่ยวของ และสงเสริมการพัฒนา
ในทุใช้กพืทั้น้งนีที้ผ่ทู้ที่มี่ใช้ีกมารประยุ
ุมมองการพักฒ ตในาเชิ
ช งวาระในการวางแผนยุ ทธศาสตร์
ทั้งนี้ผูที่ใชมุมมองการพั ฒปนาเชิ
ระเทศ งวาระในการวางแผนยุทธศาสตร
เพื่อพัฒนาวาระใดวาระหนึ่งนั้น โดยทั่วไปจะมีบทบาทหน้าที่หลักในการ
เพื่อพัพัฒฒนาในหั
นาวาระใดวาระหนึ
วข้อนั้นๆ หรืออาจจะเป็ หนววยงานภาครั
่งนั้น นหน่ ยงานภาครั ฐที่ได้ฐรจะมี บทบาทหนาที่หลักในการพัฒนาในหัวขอ
ับมอบหมายให้
จั ด ทำ
นั้นๆปลอดภั � ในหั
หรืยออาจจะเป ว ข้ อ นั น
้ ๆ เช่ น กระทรวงสาธารณสุ ข วางแผนการพั ฒ นาอาหาร
นหนวยงานภาครัฐที่ไดรับมอบหมายใหจัดทําในหัวขอนั้นๆ เชน กระทรวง
กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์อาหารฮาลาล
สาธารณสุขวางแผนการพัฒนาอาหารปลอดภัย กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทําแผนยุทธศาสตร
อาหารฮาลาล
วาระเพื่อพัฒนาธุรกิจเกษตรและอาหาร

1.
ความปลอดภัย คุณภาพ
2.
ความเป็นมิตร
3.
ประสิทธิภาพการผลิต
4.
นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์
มาตรฐานการผลิต ต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาเครื่องจักร (Smart Packaging)

5.
ระบบตรวจสอบย้อนกลับ
6.
โลจิสติกส์และห่วงโซ่
7.
ฐานข้อมูล วทน.และ
8.
บุคคลากร วทน.
(Traceability) อุปทาน การจัดการความรู้
24 | P a g e

หน้า I 24

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 24 27/4/2558 19:08


ตัวอย่างวาระ วทน. แห่งชาติ
ทางด้านเกษตรและอาหาร คณะทำ�งานจัดทำ�
แผนปฏิบัติการ วทน. แห่งชาติ (พ.ศ.2555-2559)
• TRACK 1 การกำ�หนดเป็นงานหลัก ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านเศรษฐกิจ
(Main Mission) การเพิ่มขีดความสามารถ ความยืดหยุ่น และนวัตกรรมใน
ภาคเกษตรผลิตและบริการด้วย วทน. ตามนโยบายและแผน
การพัฒนาธุรกิจเกษตรและอาหาร ที่หน่วยงานภาครัฐ วทน. แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2555-2564)
ต้องมุ่งเน้นให้ความสำ�คัญในการพัฒนาเป็นลำ�ดับต้น
เนื่องจากก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนา
ธุรกิจเกษตรและอาหาร ซึ่งประกอบด้วย

1. การควบคุมการผลิตให้ได้มาตรฐาน (Process
Standardization) เช่น GAP (Good Agriculture
Practice) GMP (Good Manufacturing Practice)
HACCP (Hazard Analysis Critical Control
Point) เป็นต้น
2. การพัฒนา ปรับปรุงกฎระเบียบ มาตรการต่างๆ 1. บริหารจัดการประสิทธิภาพในการผลิตอาหาร
(Food Efficiency Management)
3. การสนับสนุนโครงการขนาดใหญ่ในพื้นที่ (Mega
projects specific to area) เพื่อให้เกิดการกระจาย 2. บริหารจัดการประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
อำ�นาจและรายได้ไปทุกภาคส่วน (Energy Management)

• TRACK 2 งานพัฒนาองค์ประกอบสนับสนุน 3. บริหารจัดการการกำ�จัดของเสีย (Waste Management)


การพัฒนา (Peripheral industry Support) แนวทางการพัฒนาสินค้าสู่ตลาดผู้บริโภคโดยใช้ตลาด
ในรูปแบบ PPP programme ขับเคลื่อน หรือใช้งานวิจัยขับเคลื่อน ซึ่งจำ�แนกเป็น
2 ประเภท ได้แก่
เป็นงานที่ภาครัฐควรให้การสนับสนุน โดยต้องดำ�เนิน 1) การสร้างสินค้าเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของตลาด
การร่วมกับหน่วยงานจากภาคเอกชนและสถาบัน ผู้บริโภค (Market Driven)
การศึกษา (ทำ�แต่โดยลำ�พังไม่ได้) เพื่อให้การผลิตมี 2) การพัฒนาสินค้าจากงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรม
ประสิทธิภาพสูงขึ้น มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เพื่อกำ�หนดความต้องการของตลาด และการสร้างตลาดใหม่
มากขึ้น ประกอบด้วย จากเดิม (Innovation Driven)

หน้า I 25

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 25 27/4/2558 19:08


การพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area-based Approach)
และสินค้าเป้าหมาย (Product-based Approach)
1. การพัฒนาเชิงพื้นที่และสินค้าเป้าหมาย
ในประเทศ
คือ มุมมองในการพัฒนาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทุกองค์ประกอบ
ในพื้นที่เป้าหมายเป็นหลัก ซึ่งจะส่งเสริมการพัฒนาสินค้า
ที่หลากหลายในพื้นที่ และส่งเสริมการพัฒนาในทุกด้านตลอด
ห่วงโซ่อุปทาน โดยอาจมีการกำ�หนดขอบเขตของพื้นที่ได้หลาก
หลายรูปแบบ เช่น จังหวัด กลุ่มจังหวัด เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เป็นต้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของพื้นที่และเป้าหมายในการ
พัฒนา ทั้งนี้ผู้ที่ใช้มุมมองการพัฒนาเชิงพื้นที่ในการวางแผน
ยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งนั้น จะเป็นหน่วยงาน
ภาครัฐที่มีบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาพื้นที่โดยรวม เช่น
กระทรวงมหาดไทย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นต้น โดย
การพัฒนามีการรวมกลุ่มทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
ในพื้นที่ เป็นเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมายที่กำ�หนดไว้ เพื่อร่วมมือ
และสนับสนุนซึ่งกันและกันในการพัฒนา

โดยแนวทางการพัฒนาพื้นที่ สามารถมองเป็น 2 แนวทาง


คือ
1) การใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบเชิงพื้นที่
(Comparative Advantage) คือ การคัดเลือกพื้นที่และสินค้า
ที่มีศักยภาพ และส่งเสริมการพัฒนาเพิ่มมูลค่า
2) การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Competitive
Advantage) คือ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าที่ได้รับการ
คัดเลือก โดยไม่ต้องอาศัยความได้เปรียบเชิงพื้นที่

หน้า I 26

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 26 27/4/2558 19:08


การวิเคราะห์พื้นที่และสินค้าเป้าหมายในการดำ�เนินงาน
ตามแผนยุทธศาสตร์ (ในประเทศ)
ภาคเหนือ 9 จังหวัด ภาค ตอ/น 19 จังหวัด
รายได้ GDP/ครัวเรือน รายได้ GDP/ครัวเรือน
เศรษฐกิจหลัก : ลำ�ไย ลิ้นจี่ ข้าว เศรษฐกิจหลัก : อ้อย ยางพารา
โรงงาน16,252 แห่ง (0.28 ล.คน) มันสำ�ปะหลัง ข้าว
11.8 ล.คน ครัวเรือน 4.13 ล. โรงงาน 42,406 แห่ง (0.39 ล.คน)
21.6 ล.คน ครัวเรือน 5.94 ล.

KKU, SUT
ภาคกลาง 21 จังหวัด
รายได้ GDP/ครัวเรือน
ข้าว มันสำ�ปะหลัง,
ปศุสัตว์, สมุนไพร
เศรษฐกิจหลัก : ข้าว อ้อย
โรงงาน43,855 แห่ง (2.18 ล.คน)
13.2 ล.คน ครัวเรือน 5.47 ล.

KU, MU, KMUTT

ภาคตะวันตก 5 จังหวัด มันสำ�ปะหลัง อ้อย,


สัปปะรด, วัคซีน, ภาค ตอ 7 จังหวัด
รายได้ GDP/ครัวเรือน
เศรษฐกิจหลัก : ประมง ปาล์ม การทดลองในสัตว์
เศรษฐกิจหลัก : มันสำ�ปะหลัง
รายได้ GDP/ครัวเรือน โรงงาน 10,377 แห่ง (0.62ล.คน)
โรงงาน 5,833 แห่ง (0.16 ล.คน) PSU BBU 4.6 ล.คน ครัวเรือน 2.0 ล.
3.7 ล.คน ครัวเรือน 1.30 ล. งานวิจัย ปาล์ม งานวิจัยสัตว์น้ำ�
ยางพารา, สมุนไพร การเพาะพันธ์,
คัดเลือกพันธ์
งานวิจัยสัตว์น้ำ�

ภาคใต้ 14 จังหวัด
เศรษฐกิจหลัก : ยางพารา/ปาล์ม
รายได้ GDP/ครัวเรือน
โรงงาน 10,894 แห่ง (0.22 ล.คน)
8.9 ล.คน ครัวเรือน 2.91 ล.
ที่มา : สวทน., 2557

หน้า I 27

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 27 27/4/2558 19:08


2. การพัฒนาเชิงพื้นที่และสินค้าเป้าหมายเชื่อมโยงต่างประเทศ
ด้วยการทูตเพื่อวิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เพื่อการทูต
Science Diplomacy +
Applying Science, Technology &
Innovation to Address Local and
International Challenges

Science for Diplomacy


Diplomacy for Science
Facillitating international science
Using science cooperation cooperation to strengthen
to improve relations between national science capability.
countries.

ความร่วมมือระหว่าง กระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


MOST and MFA Cooperation

ในปี 2557 เริ่มดำ�เนินนโยบายการทูตวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มโซน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เป็นประเทศ


เป้าหมายโดยมี “ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการน้ำ�นมและผลิตภัณฑ์ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน” เป็นสินค้าเป้าหมายนำ�รอง
หน้า I 28

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 28 27/4/2558 19:08


ASEAN
ASEAN-EU
and Dialogue Partners
ASEAN-Russia ASEAN ASEAN + 3
ASEAN-US
China,
Japan,
South Korea

ASEAN + 6
China,
2%
World GDP 9% Japan,
South Korea,
World India,
Population Australia,
New Zealand
18%
World GDP
31%
World

22%
Population
50%
World
Population
World GDP

Source : 2012 Statistics


from The World Bank ,
http://data.worldbank.org/
INTERNATIONAL DRIVEN
(KRABI INITIATIVE+MFA+MOST)
compled by National STI
Policy Office
Science Diplomacy : Next Steps
Development of International Cooperation
Strategies in STI and Pilot Projects
AGRO-FOOD SECTOR

Multilateral Bilateral
Forums Regional Relationships
Collaboration
เรื่องความมั่นคงทางอาหาร (Food Security)
STI plays a vital role in ensuring food security for ASEAN 600 million population. From productivity improvement
and optimization, appropriate mechanization of farms, appropriate food safety standards and access to adequate
nutritional requirement to modern biotechnology that cater for both food and energy security. ASEAN should
also extend our capacity in food production to dialogue partners including China and India.
หน้า I 29

Vit_Sti_InSide_p01-29.indd 29 27/4/2558 19:08


4 แนวทางการขับเคลื่อน
Food Innovation
Corridors
ในระยะ 10 ปี
แผนที่นำ�ทางการขับเคลื่อนธุรกิจ

ปี 55

สำ�รวจความต้องการของ
ผู้ประกอบการโดย สวทน.
และทีมเครือข่ายในพื้นที่
ขับเคลื่อนโครงการตามยุทธศาสตร์ประเทศ
เช่น ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเลย์ ครัวไทยสู่โลก
ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ขยายผลโครงการ เชื่อมโยงไปยัง จังหวัดอื่นๆ

สัมมนาเชิงปฏิบัติการ Triple Helix


ให้ได้ข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อน
ระยะที่

1 ปี 56

ปี 57
ระยะที่

ตั้งคณะทำ�งานจัดทำ�โครงการ
นำ�ร่องนำ�เสนอโครงการ
เข้าสู่ยุทธศาสตร์ประเทศใน
ส่วนกลาง และยุทธศาสตร์จังหวัด
และกลุ่มจังหวัด
ปี 58

หน้า I 30

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 30 27/4/2558 19:09


เกษตรและอาหารแปรรูปไทยด้วย วทน.
How to?
เชื่อมโยงเครือข่ายสร้างความ แผนดำ�เนินงานเชื่อมโยงกับ
ร่วมมือกับต่างประเทศ การจัดลำ�ดับความสำ�คัญของเศรษฐกิจ
ของประเทศ และ ยุทธศาสตร์
การเจริญเติบโตของประเทศ
ได้มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขับเคลื่อนแผนงานในภาพรวม สู่การ
พัฒนาเชื่อมโยงพื้นที่ต่างๆ
ระดับประเทศต่อไป จัดตั้งศูนย์อำ�นวนความสะดวกด้าน วทน.
สำ�หรับกลุ่มเกษตรและอาหารแปรรูป
1
สำ�รวจข้อมูลทัง้ เชิงพืน้ ฐานและ
ประยุกต์จากทัง้ ภาคเศรษฐกิจ
และยุทธศาสตร์หลักของประเทศ
ระยะที่ ระยะที่

3 4 2
วิเคราะห์และจัดลำ�ดับ
ความสำ�คัญในยุทธศาสตร์นน้ั ๆ
ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64

3
หาช่องว่างและความพร้อมใน
ติดตามและประเมินผลโปรแกรมอาหารแปรรูปของประเทศต่อไป การใช้งาน วทน. ทัง้ ในเชิง
คุณภาพและปริมาณ
โปรแกรมยุทธศาสตร์อาหาร รายสาขา ที่ดำ�เนินการอยู่ (เริ่มตั้งแต่ในปี 55)
• อาหารมูลค่าสูง อาหารทะเลแปรรูป การจัดการฟาร์มอัจฉริยะ
• อาหารอินทรีย์ ข้าวแปรรูปมูลค่าสูง ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงจากแปรรูปผลไม้
4
เลือกงาน วทน. ทีม่ คี วามพร้อม
• เครือข่ายนวัตกรรมอาหาร (Food Innovation Network) เท่านัน้ (พร้อมใช้ พร้อมขยายผล)
เพือ่ ไปสนับสนุนเป้าประสงค์ของ
แผนยุทธศาสตร์นน้ั ๆ โดยการ
(จะเริ่มดำ�เนินการในปี 58) นำ�เอา งาน วทน. เข้าไปเป็น
• การพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรมเพื่อพัฒนานมและผลิตภัณฑ์ (Dairy Innovation Network) เครือ่ งมือเสริมกับทีมงานทีท่ �ำ
• การพัฒนาเครื่องจักรแปรรูปอาหาร หน้าทีห่ ลักในภาคเศรษฐกิจ
• โครงการศึกษาความเป็นไปได้ STI FACILITATION PLATFORM FOR FOOD BUSINESS

หน้า I 31

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 31 27/4/2558 19:09


แนวทางการขับเคลื่อน Food Innovation Corridors ในระยะ 10 ปี

1 2
ระยะที่ ระยะที่
(ปี 55) เตรียมความพร้อม (ปี 56-57-58) สร้างเครือข่าย
ในการพัฒนาระบบ วทน. โดย นวัตกรรมเกษตรและอาหาร

1) สำ�รวจองค์ความรู้ ข้อมูลเบื้องต้นในนโยบายที่เกี่ยวข้อง โดยผลจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
ทาง สวทน. จึงมีการพัฒนาแนวทางขับเคลื่อน
2) สร้างทีมงานนโยบาย วทน. ที่มีความรู้ในได้การวิเคราะห์ 3 รูปแบบดังนี้
และดึงเอาทีมงานที่พัฒนางาน วทน. มาร่วมเป็นเครือข่ายใน
การขับเคลื่อนนโยบาย วทน. 1) เครือข่ายส่วนกลาง

3) สร้างเครื่องมือด้านนโยบาย วทน. ต่างๆ ให้พร้อมใช้ 2) เครือข่ายนวัตกรรมอาหาร ขับเคลื่อน


เช่น ฐานข้อมูล งาน วทน.ที่พร้อมจะนำ�ไปใช้ประโยชน์ โดยภาครัฐและเอกชน (PPP)
หรือขยายผล
3) เครือข่ายเชิงพื้นที่และสินค้า
4) ทำ�งานร่วมกับทีมงานที่มีความรู้และเข้าใจในลักษณะ เป้าหมาย (ตามภาพหน้า 33)
และสภาพสังคม เศรษฐกิจ พลังงาน สิ่งแวดล้อม กำ�ลังคน
โครงสร้างพื้นฐานของประเทศในด้านธุรกิจเกษตรและ
อาหารอย่างแท้จริง

4
ระยะที่
5) สำ�รวจความพร้อมและความต้องการของภาคเอกชน
ในกลุ่มสินค้าเป้าหมายและพื้นที่เป้าหมายนำ�ร่อง (ปี 62-63-64) ขับเคลื่อน
แผนงานในภาพรวม รวมถึง
1. จัดตั้งศูนย์อำ�นวยความสะดวก

3
ระยะที่
ด้าน วทน. แก่ภาคเอกชน
(ปี 59-60-61) (STI Facilitation Platform for
จากเครือข่ายสู่การพัฒนา Food Business)
2. สร้างธุรกิจนวัตกรรมเกษตร
1) แผนลงทุนยกระดับอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป และอาหาร (Agro & Food Based
2) มาตรการสนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรม Technopreneur)
เกษตรและอาหาร

หน้า I 32

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 32 27/4/2558 19:09


แนวทางพัฒนาเชิงพื้นที่ และสินค้าเป้าหมายด้วย วทน. ในระยะที่ 2
(ปี 2556-2557-2558)

Food Valley 1 Food Valley 2


(Northern) (North Eastern)
(อาหารแปรรูป/ผลไม้/ (อาหารแปรรูป/ปศุสัตว์/
ผลิ ต ภั ณฑ์สุขภาพ/อาหาร อาหารสัตว์/
อินทรีย์) อาหารพื้นเมือง)

Food Valley 5
(Eastern)
Food Valley 4 (หุ บเขาผลไม้ )
(Central)
(อาหารมูลค่าสูง/
Functional food)

Food Valley 3
(Southern)
(อาหารทะเล/
คลัสเตอร์นวัตกรรมอาหาร อาหารฮาลาล)
Food Innovation Clusters
พื้นที่ : ผลิตภัณฑ์
หน้า I 33

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 33 27/4/2558 19:09


5 ความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนระบบ วทน.
สำ�หรับธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูปในช่วงที่ผ่านมา


ระยะที่ 1 ปี 2555
ภายหลังจากที่ สวทน. ได้จัดทำ�นโยบายและแผน วทน.แห่งชาติ ฉบับที่ 1 โดย ครม. ได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 17
เมษายน 2555 ฝ่ายพัฒนาเศรษฐกิจจึงได้ดำ�เนินการจัดทำ�แผนปฏิบัติการ ฯ ด้านเศรษฐกิจรายสาขาขึ้น โดยทำ�การ
วิเคราะห์แผนงาน โครงการตามภารกิจประจำ�ของหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ ในสาขาอาหารแปรรูป พบว่า ภาครัฐ
มีกรอบงบประมาณตลอดระยะเวลาของแผนปฏิบตั กิ ารฯ (พ.ศ. 2555-2559) รวมทัง้ สิน้ 42,482.38 ล้านบาท ตามตาราง
ด้านล่าง โดยเกือบร้อยละ 70 เป็นงบที่ดำ�เนินการในด้านการจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยของอาหาร ซึ่งมี
หน่วยงานภาครัฐกำ�กับดูแลอย่างใกล้ชิด ตามตารางในหน้า 35

แผนงาน

รวมโครงการ / งบประมาณ
รวมโครงการ กษ. 30 โครงการ
รวมโครงการ วท. 26 โครงการ
รวมโครงการ อก. 5

รวมโครงการ สธ. 8
โครงการ
รวมโครงการ พณ. 3 โครงการ
โครงการ
รวมโครงการ กต. 13 โครงการ
หน่วยงาน
จำ�นวน

83
30
25
5
2
8
13

2555
5,860
3,336
231
18
44
2,223
9
2556
8,464
5,195
534
198
37
2,492
9

งบประมาณ (ล้านบาท)
2557
9,650
5,720
537
300
96
2,989
9
2558

6,298
619
300
105

10
2559

581
300
รวม
10,563 7,942 42,482
6,935 27,483
2,502
1,116
116 398
3,232 0
11
10,936
47

Food safety, standard 39 4,681 6,253 7,123 7,778 5,022 30,860


สัดส่วน 79% 73% 73% 73% 63% 72%

ที่มา: สวทน. , 2555


หน้า I 34

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 34 27/4/2558 19:09


หน่วยงานภาครัฐที่กำ�กับดูแลห่วงโซ่เกษตรและอาหาร
ปี 2555

Agro-Processed Food Value Chain


ต้นน้ำ� กลางน้ำ� ปลายน้ำ�
ในประเทศ ส่งออก ในประเทศ ส่งออก ในประเทศ ส่งออก

เกษตร กรมข้าว/ อย. กรมวิชาการเกษตร อย. กรมวิชาการเกษตร


(ผัก/ผลไม้) กรมวิชาการเกษตร

ประมง กรมประมง อย. กรมประมง อย. กรมประมง


(กุ้ง/ปลา)

ปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ อย. กรมปศุสัตว์ อย. กรมปศุสัตว์


(ไก่/สุกร/โค)
ที่มา: สวทน. , 2555

อย. : สำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา
หน้า I 35

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 35 27/4/2558 19:09


55
ปี 2555 สำ�รวจความต้องการ วทน.
ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (เกษตรและอาหาร)
Supply เกษตร ปศุสัตว์ ประมง
Chain (ต้นน้ำ�)
สำ�รวจความต้องการ
ภาคเอกชน โดย iTAP เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจ
ในเรื่องระบบการจัดการที่ดี
และขาดวิทยาการสมัยใหม่ที่เหมาะสม

1. ปัญหาทั่วไป ขาดความเชื่อมั่นระบบการผลิต
ขาดคุณภาพการผลิตมาตรฐาน
การพัฒนาเครื่องจักร Food Safety
ทดแทนการขาดแคลน ต้นทุนการผลิตสูง
แรงงาน
5 คน 5 คน การแย่งวัตถุดิบระหว่างเกษตรอาหาร-
เกษตรพลังงาน

2.
การหาวัตถุดิบ ประเด็น
4.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ทดแทน และการนำ�เศษเหลือ
มาใช้ประโยชน์

5 คน 5 คน
3.
พลังงาน ต้องการการสนับสนุนการเพิ่มคุณภาพ
วัตถุดิบทางการเกษตร
ต้องการการบริหารจัดการเกษตรกรรม
ความต้องการ เพื่อลดต้นทุนการผลิต (ระบบ Smart
ภาคเอกชนและ Farm และ Logistics)
ต้องการการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ
ประชาชน การผลิตให้ได้มาตรฐาน Food Safety

ที่มา : ประชุมเชิงปฏิบัติการสำ�รวจความต้องการด้าน วทน. ในสาขาเกษตรและอาหาร โดย สวทน. , 2555

หน้า I 36

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 36 27/4/2558 19:09


แปรรูปขั้นต้น ผลิตภัณฑ์เพื่อการจำ�หน่าย
(กลางน้ำ�) (ปลายน้ำ�)
ขาดการขนส่งและ Logistics การกำ�หนด-พัฒนาช่องทางการตลาด
ขาดการสร้างภาพลักษณ์ในเป็นที่ยอมรับ ขาด Brand อาหารแห่งชาติ
ในตลาดโลก ขาดระบบตรวจสอบอาหารกระป๋อง
ขาดความเชื่อมั่นระบบตรวจสอบ ที่มีส่วนผสมจากหลายวัตถุดิบ
ย้อนกลับ เครื่องจักร/เทคโนโลยีไม่มีประสิทธิภาพ
ขาดการนำ�วิทยาการสมัยใหม่มาปรับ และล้าสมัย
ใช้ในขบวนการผลิต ห้องปฏิบัติการและหน่วยบริการด้าน
ขาดการถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิเคราะห์คุณภาพมีน้อย
ขาดความรู้ความเข้าใจของผู้ ขาดการพัฒนาเทคโนโลยีต่อยอด
ประกอบการไทย ในเรื่องการจัดระบบ ส่งผลให้มีการผลิตและส่งออกสินค้า
การจัดการที่ดีและการนำ�วิทยาการ เกษตรขั้นต้นเป็นหลัก
สมัยใหม่มาปรับใช้ในกระบวนการผลิต

ต้องการเทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้น ต้องการเทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่ม
และรวมถึงระบบจัดการคุณภาพ ผลิตภาพในกระบวนการผลิตได้แก่
อาหารสด การยืดอายุผลิตภัณฑ์ จัดหาและถ่ายทอดเทคโนโลยี /
ต้องการการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี บรรจุภัณฑ์ / เครื่องจักร
การผลิตเพื่อลดการสูญเสียระหว่าง ต้องการยกระดับศักยภาพการ
การผลิตและการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ ดำ�เนินงานของห้องปฏิบัติการ /
ต้องการเทคโลยีการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ เพื่อพัฒนาการตรวจสอบมาตรฐาน
อาหารสด เพื่อส่งออก
ต้องการเทคโนโลยีเพื่อการบำ�บัดน้ำ�เสีย ต้องการเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา
ของเสียประเภทต่างๆ ระหว่าง ผลิตภัณฑ์ใหม่และบรรจุภัณฑ์
กระบวนการผลิต (เทคโนโลยีการแปรรูป)
ต้องการระบบการจัดการแบบ
Zero-waste

หน้า I 37

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 37 27/4/2558 19:09


56 ระยะที่ 2 (ปี 2556-2557-2558) สร้างเครือข่ายนวัตกรรมอาหารและการขับเคลื่อน

ปี 2556 วิเคราะห์ความพร้อม
ด้าน วทน. ในการพัฒนาอุตสาหกรรม
เกษตรและอาหารแปรรูป
ด้านการวิจัยและพัฒนา
ระดับนโยบาย
“เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.)”
หน่วยงานสนับสนุนทุน (วช. สวทช. สวทน.
สวรส. สกว. สวก. สกอ.) ภายใต้ คณะทำ�งาน
กำ�กับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนอง
ความต้องการในการพัฒนาประเทศ
กลุ่มเรื่องอาหารเพื่อความมั่งคง

ระดับปฏิบัติการ
สวทน. ได้วิเคราะห์จำ�นวนวารสารวิชาการ
ที่มีการตีพิมพ์ในสาขาอาหารและสุขภาพ
โดยพบว่ามีจำ�นวนเพิ่มขึ้นทุกปี
ระดับปฏิบัติการ
RDI PROFILES
Growth in annual output in food research has
been considerable as the following table shows.
Annual research output in food
and health research
ปี ค.ศ.
2000

2005
2006
2007
2008
จำ�นวนยอดตีพิมพ์(ฉบับ)
336

803
1,224
1,420
1,639
2009 1,734
2010 2,130
2011 2,426
2012 2,519
ที่มา : Alexander degelsegger et al : STI Short-term research fellow, 2556

หน้า I 38

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 38 27/4/2558 19:09


ผลการจัดอันดับสถาบันการศึกษา/สถาบันวิจัย ที่มีจำ�นวนการตีพิมพ์วารสาร
วิชาการในสาขาอาหารและสุขภาพมากที่สุด 17 อันดับ (ตั้งแต่ปี 2543-2555)
TOP Thai research institutions in food and health research
อันดับที่ สถาบัน จำ�นวนยอดตีพิมพ์ (ฉบับ)
1 Mahidol University 3,624
2 Chulalongkorn University 2,632
3 Kasetsart University 2,132
4 Chiang Mai University 1,775
5 Prince of Songkla University 1,766
6 Khon Kaen University 1,464
7 King Mongkuts University of Technology Thonburi 922
8 NSTDA BIOTEC 738
9 Asian Institute of Technology of Technology 548
10 Mahasarakham University 455
11 Suranaree University of Technology 364
12 Silpakorn University 357
13 King Mongkuts University of Technology Ladkrabang 305
14 Naresuan University 298
15 Thailand Miniatry of Public Health 290
16 Srinakharinwirot University 280
17 Thammasat University 236

ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยไทยในการร่วมมือทำ�วิจัยและทำ�วิจัย
ร่วมกับต่างประเทศ ในสาขาอาหารและสุขภาพ (ตั้งแต่ปี 2543-2555)
Chiang Mai
University
Mahidol University

Prince of Songkla
University
Chulalongkorn University
Khon Kaen
University

Kasetsart University KMUTT

only Thailand-based authors


…100 publications
international co-publications

ที่มา : Alexander degelsegger et al : STI Short-term research ,2556


หน้า I 39

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 39 27/4/2558 19:09


56 ปี 2556 วิเคราะห์ความพร้อมด้าน วทน.
โดยใช้เครื่องมือในการประเมินความพร้อม
(STI Readyness Level, STIRL)
การประเมินความพร้อมทางด้าน วทน. สามารถพิจารณา
ได้จากหลายด้าน อาจเกิดจากประเด็นที่เป็นปัญหาและควร
ได้รับการแก้ไขในขณะนั้น หรืออาจพิจารณาจากแนวโน้ม
ธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารของโลก ความต้องการ
ของตลาดโดยรวมและในแต่ละพื้นที่ พฤติกรรมการเลือกซื้อ
ผลิตภัณฑ์อาหารของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป การรักษา
สุขภาพ โครงสร้างประชากร กฎระเบียบข้อกีดกันการค้า
ของต่างประเทศ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ที่สามารถ
ประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางในหลากหลายผลิตภัณฑ์
การรักษาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
สาขา

เกษตร

ปศุสัตว์
ประมง
สาขาย่อย

พืชไร่

พืชสวน
 สมุนไพร
สัตว์บก สัตว์ปีก
น้ำ�จืด ทะเล
อาหารแปรรูป
เฉพาะ
สินค้าสำ�คัญ

ข้าว มัน ยาง


ข้าวโพด
ผัก,ผลไม้

Ready to Cook,
Ready to Eat,
Halal food

อาหารเสริม/ Functional
เครื่องดื่ม food
เพื่อสุขภาพ Biopharmceutical

ที่มา : สวทน. , 2556

หน้า I 40

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 40 27/4/2558 19:09


ผลวิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยีหลักในธุรกิจเกษตรและอาหารตลอดห่วงโซ่คุณค่า
Core Technology Impact Matrix : Agriculture & Food Industry
เทคโนโลยีต้นน้ำ� เทคโนโลยีกลางน้ำ� เทคโนโลยีปลายน้ำ�

Nutrigenomics
Enzymetechnolg
Biotechnology

Pharmacogenomics
Fermentation
Technology
Extraction Technology
Purification Technology
Postharvest Technology

Food Processing
Technology
Sensory Evaluation
Waste & By Product
Utilization
Machinery Development

Energy &
Material Substitution

Environment
Soil, Water
Technology
Farm Management
Molecular Breeding&
Biomarker

4 1 1 1 1,4 4 1,4 1,3 2 1 4 4 1, 2, 1, 2, 1,4 3,4 3,4


3, 4 3, 4
4 1 1 1 1,4 4 1,4 1,3 2 1 4 4 1, 2, 1, 2, 1,4 3,4 3,4
3, 4 3, 4
4 1 1 1 1,4 4 1,4 1,3 2 1 4 4 4 4 1,4 3,4 3,4
4 1 n/a n/a 1,4 4 1,4 1,3 2 1 4 4 1,4 1,4 1,4 3,4 3,4
n/a 1 n/a n/a 1,4 4 1,4 1,3 2 1 4 4 1,4 1,4 1,4 3,4 3,4

4 n/a n/a n/a 1 4 1,4 1,3 2 1 4 4 4 4 1,4 3,4 3,4

4 n/a n/a n/a 1 4 1,4 1,3 2 1 4 4 4 4 1,4 3,4 3,4

1 = เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ลดวัตถุดิบ ลดแรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร); 2 = ทดแทนวัตถุดิบเก่า;


3 = ทดแทนการนำ�เข้า; 4 = เพิ่มกำ�ไรผ่าน ความแตกต่างของสินค้า; n/a = นำ�มาใช้ไม่ได้ (not applicable)
หน้า I 41

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 41 27/4/2558 19:09


56 แผนที่นำ�ทางในการพัฒนาเทคโนโลยี สำ�หรับธุรกิจเกษตรและอาหาร
หัวข้อการพัฒนาเทคโนโลยี
โครงสร้างพื้นฐาน
ปัจจัยสนับสนุน
ต้นน้ำ�
กลางน้ำ�
ปลายน้ำ�

- การทำ�ฟาร์ม

- หลังการเพาะเลี้ยง
- กระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑ์

- การตลาดและการค้าปลีก
Traceability
การตรวจแมลง/โรคพืช
/สัตว์ที่ต้นทาง

มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์อาหาร
ทคโนโลยีการบริหาร

GPS/Barcode/RFID
Diagnostic kit
การจัดการของเสีย
ระบบการพยากรณ์

R&D Infra.
Data transfer & management
Database
Testing Lab.

ปัจจุบัน
หน้า I 42

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 42 27/4/2558 19:09


Technology Development Roadmap
การเกษตรแม่นยำ� / Smart Farm
แบบจำ�ลองการเพาะเลี้ยง
การปรับปรุงพันธุ์
เกษตรอินทรีย์ / ปลอดภัย

การพัฒนาผลิตภัณฑ์
นวัตกรรมอาหาร การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
อาหารเป็นยา (คนสูงอายุ) ภูมิอากาศ
ลดของเสีย
ผลิตภัณฑ์ข้างเคียง (เครื่องสำ�อาง,ยา)

ระบบโลจิสติกส์ ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีนวัตกรรมสูง
ระบบอัตโนมัติ การผลิตในปริมาณมาก
การผลิตสีเขียว
การประหยัดพลังงาน
พลังงานทดแทน บรรจุภัณฑ์ที่ฉลาด
แบบจำ�ลองด้าน demand – supply การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ�พันธุ์ทดแทน

Food valley/ Networking


Science park

2560 2562 ที่มา : TMA และ สวทน. , 2556

หน้า I 43

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 43 27/4/2558 19:09


57 การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารแปรรูปด้วย วทน.
ตามยุทธศาสตร์ Thailand Food Valley (TFV)
ปี 2557

ความสำ�คัญ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านอาหาร ด้วย วทน.
ซึ่งเป็นการบูรณาการตามบันทึกข้อตกลงร่วมกัน
ระหว่าง 4 หน่วยงานได้แก่กระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทบาทของ สวทน.
สวทน. ได้ร่วมดำ�เนินการพัฒนาแผนงาน/
โครงการกับหน่วยเครือข่ายด้าน วทน.
กลุ่มเกษตรและอาหารทั่วประเทศ และนำ�ส่งต่อ
คณะกรรมการ TFV (ตามจดหมายขอความ
อนุเคราะห์ร่วมจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์และแผน
ปฏิบัติการจาก อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2556) โดยมีปลัดกระทรวง
กระทรวงอุตสาหกรรม และสภาอุตสาหกรรมแห่ง วท. เป็นคณะกรรมการใน TFV
ประเทศไทย แบบ Public Private Partnership
โดยคณะกรรมการ TFV มีผู้แทนหลักจากภาครัฐ ฝ่ายเลขานุการ TFV และ สวทน. ประชุม
ทั้งหมด 7 กระทรวง ได้แก่ กษ. อก. วท. พณ. คณะทำ�งานในส่วนกลาง จำ�นวน 6 ครั้ง
ศธ. มท. สธ. ผู้แทนสถาบันการศึกษาและผู้แทนจาก ส่วนพื้นที่ จำ�นวน 8 ครั้งประกอบด้วย ผู้แทน
ภาคเอกชน นำ�โดย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จากหน่วยงานต่างๆ รวมถึงผู้แทนจากทีม
เลขานุการคณะกรรมการไทยแลนด์ฟู๊ดวัลเลย์
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

หน้า I 44

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 44 27/4/2558 19:09


ผลผลิต
(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ TFV จำ�นวน 1 แผนและแผนงาน/โครงการจาก
สวทน. ร่วมกับเครือข่ายนวัตกรรมอาหาร จำ�นวน 21 โครงการ งบประมาณ
2,326 ลบ. (ในปีงบ 58-60) แบ่งเป็น ภาคเหนือ 2 โครงการ (321.6 ลบ.)
ภาคกลาง 12 โครงการ (1,497.3 ลบ.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โครงการ
(280 ลบ.) ภาคใต้ 2 โครงการ (166 ลบ.) ภาคตะวันออก 2 โครงการ
(61.7ลบ.)

ผลลัพธ์
ทีมเลขานุการ TFV ได้พิจารณาวิเคราะห์ และคัดเลือกแผนงานโครงการ
ทั้งสิ้น 93 โครงการ งบประมาณรวม 1,775 ลบ. โดยเป็นโครงการที่
นำ�ส่งโดย สวทน. จำ�นวนทั้งสิ้น 25 โครงการ 1,451.3 ลบ. จัดเป็น
โครงการที่มีควาสำ�คัญ
ระดับสูงมาก จำ�นวน 5 โครงการ งบประมาณ 480 ลบ.
ระดับสูง จำ�นวน 13 โครงการ งบประมาณ 625.5 ลบ.
ระดับปานกลาง จำ�นวน 7 โครงการ งบประมาณ 345.8 ลบ.

ระหว่างการรอผลการพิจารณา คณะทำ�งานได้มีการพัฒนาโครงการขับเคลื่อน
นำ�ร่อง ร่วมกันของเครือข่าย จำ�นวน 5 แผนงาน (Food Innovation
Corridors) โดยใช้งบปี 57 รวม 87 ลบ. ซึ่งเป็นงบจาก สวทน. 1.9 ล.บ.
และงบจากเครือข่ายนวัตกรรมอาหาร 83.2 ลบ.

ผลกระทบ
เกิดเครือข่ายนวัตกรรมอาหารทั่วประเทศ จำ�นวนไม่ต่ำ�กว่า 1,000 ราย
โดยมีสัดส่วนของภาครัฐ 20% การศึกษา 40% และเอกชน 30% ประชา
สังคม 10% มีการต่อยอดทางธุรกิจ และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่าง
เครือข่าย เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในทุกภาคส่วน สู่การพัฒนาเครือ
ข่ายนวัตกรรมอาหารของประเทศต่อไป

หน้า I 45

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 45 27/4/2558 19:09


57 ปี 2557
1. เครือข่ายนวัตกรรมอาหารส่วนกลาง
ประชุมคณะทำ�งานฯ จำ�นวน 6 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่
ครั้งที่
ครั้งที่
ครั้งที่
ครั้งที่
ครั้งที่
1
2
3
4
5
6

57
:
:
:
:
:
:
20
17
21
21
18
2

สวนกลาง ประชุ
ธ.ค. 56
ม.ค. 57
ก.พ. 57
มี.ค. 57
เม.ษ. 57
พ.ค. 57
ระยะที่ 2 (57-58
) การสรางเค

มคณะทํางานฯ
• 1 : 20 ธ
st
รือขาย และการ

สวนกลาง
.ค. 56 2 : 17
nd

ม.ค. 57 3 : 21 ก
rd


การดำ�เนินการของ สวทน.

สร้างระบบการ
บริหารเชื่อมโยง
เพื่อสนับสนุนให้
เคลื่อนนํารอง ผูอุ้ปตระกอบการ

.พ. 57 4 : 21



มี.ค. 57 ทาง
th

สนับสนุน
สาหกรรม
อาหารเข้าถึงงาน
วิจัย และนำ�ผล
งานวิจัย
องค์ ความรู้
วทน.
th
5 : 18 เม.ษ.
พ.ค. 57 ไปใช้เชิงพาณิ

ประสาน สงเสริ

ขับเคลื่อนโครงการให้
เกินดําสการบู
1

4
ช57ย์ 6

งแผนรงาณาการของ
นและ
th
:2
2
พัฒนาระบบส่ง
เสริมสนับสนุน
ให้เกิดการต่อ
ยอดนำ�ผลงาน
วิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตร์ด้าน
อาหาร ไปผลิต
ในเชิงพาณิชย์

5
3
พัฒนาบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องกับ
อุตสาหกรรม
อาหาร เช่น
นักวิทยาศาสตร์
การอาหาร
นักโภชนาการ
วิศวกร นักวิจัย
เพื่อรองรับธุรกิจ
อุตสาหกรรม
อาหาร

6
ติดตามและประสาน
สนับสนุนการ
รวบรวมผลการ
ดำ�เนินการ
โครงการในกทุาร กฝ่พาัฒยทีนาอ่เกีุต่ยสาวข้หอกรง สนับสนุนจัดทำ�แผน
อาหาร ปและการจั
ระกอบดดวยตั้งจาศูกนย์ประสาน รม ปฏิบัติการ วทน. ของโครงการ
งานโครงการ เพื่อบริหาร เพื่อสนับสนุน ไทยแลนด์ฟู้ดวัลเลย์
o สวนกลจัดางการในพื้นที่ ยุทธศาสตร์
o ภาคเหนือ (เ
ชียงใ หม) ส่วนภูมิภาค ไทยแลนด์ฟดู้ วัลเลย์
o ภาคตะวันอ จัดกิจกรรมขับเคลื่อน
อกเฉียงเหนือ(นครราช
o ภาคตะวันอ สีมา ขอนแกนโครงการนำ �ร่องตาม
) เครือข่ายต่างๆ
อก (ระย อง จันทบุรี ตรา
o ภาคใต (สงข ด)
ลา)
44 | P a g
e

หน้า I 46

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 46 27/4/2558 19:09


2. เครือข่ายนวัตกรรม*** (เกษตรและอาหาร)
ส่วนกลาง ขับเคลื่อนโดยภาครัฐและเอกชน (PPP)

THAILAND INNOVATION SYNERGY NETWORK 57


INNOVATION
ที่มา : สวทน. , 2557
เครือข่ายนวัตกรรม***
1. สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน. หรือ STI)
2. สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA)
3. สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช. หรือ NIA) 7. หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย (TCC&BoT)
4. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท. หรือ FTI) 8. สมาคมธนาคารไทย (TBA)
5. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท หรือ SET) 9. สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
6. สำ�นักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สป.วท.) 10. สมาคมหน่วย บ่มเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย (Thai-BISPA)
11. บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน)
หน้า I 47

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 47 27/4/2558 19:09


แนวทางความร่วมสนับสนุนผู้ประกอบการ
จากเครือข่ายนวัตกรรม (เกษตรและอาหาร)
ขับเคลื่อนโดยภาครัฐและเอกชน (PPP)

ที่มา : สวทน. และศูนย์นวัตกรรม CPALL, 2557

หน้า I 48

Vit_Sti_InSide_p30-48.indd 48 27/4/2558 19:09


1
2
3
4
โปรแกรมยุทธศาสตร์/พื้นที่นำ�ร่อง
อุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์ในภาคเหนือ
(เชียงใหม่ เชียงราย)

อุตสาหกรรมอาหารในภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
(ขอนแก่น นครราชสีมา)

อาหารทะเลแปรรูป
ภาคใต้/ตะวันออก/กลางตอนล่าง
(สงขลาและ จว.ใกล้เคียง)
(ระยอง จันทบุรี ตราด) (สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์)

อุตสาหกรรมอาหารมูลค่าสูง
ในภาคกลาง
(กทม. และจว.ใกล้เคียง)
57 ปี 2557
3. เครือข่ายนวัตกรรมอาหารส่วนพื้นที่
3.1 เครือข่ายนวัตกรรมอาหารในประเทศ
เครือข่าย วทน. ผู้นำ�
ม.แม่โจ้ มช. สวทช.ภาคเหนือ สวทน.
ศวภ.1 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด
อุทยานวิทยาศาสตร์ Command Center

มข. มทส. สวทช. สวทน.


สภาอุตสาหกรรมจังหวัด ศวภ.2
อุทยานวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยเครือข่าย ศวภ.3 สวทช.


กรมประมง อุตสาหกรรมจังหวัด
ผู้ประกอบการอาหารทะเล ยุทธศาสตร์
จังหวัด สวทน. อุทยานวิทยาศาสตร์

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, สวทช.
ISMED ม.เกษตร จุฬา สจล. ม.ศิลปากร
มจธ. สวทน. อุทยานวิทยาศาสตร์
(ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแผ่นพับ
Thailand Food Innovation
Network ที่แนบมาด้วย)

5 อุตสาหกรรมผลไม้ในภาคตะวันออก
(ระยอง จันทบุรี ตราด)
ม.บูรพา ม.ราชภัฏรำ�ไพพรรณี สวทช.
สวทน. สภาอุตสาหกรรมจังหวัด ศวภ.4

หน้า I 49

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 49 27/4/2558 19:10


57 PILOT PROJECT &
PROPOSAL




3.2 เครือข่ายนวัตกรรมเกษตรและอาหารเชื่อมโยงต่างประเทศ

ปี 57 สถานะความร่วมมือระหว่างไทยกับนิวซีแลนด์

Thailand – New Zealand


ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

- Letter of intent on Science, Technology and Innovation


Cooperaion on Agro Food Sector Development : 22nd March, 2013

Topics
• Food Security/Food Safety/Health
Sciences
Dairy Industry & Business
Functional Food
Science Education
PILOT PROJECT & PROPOSAL
: FOOD INNOVATION NETWORK

CU + STI + MOST

KU + STI + MOST

PSU + STI + MOST

CMU + STI + MOST


CROWN RESEARCH
INSTITUES (8)

Centres of Research

Universities (8)

• R&D for Commercialization


+ THAI SMEs + NZ SMEs

• Thailand-Lao PDR STI Cooperation: STI policy, WRM, Agro industry, STI education, PPP
• Integrated Foresight for Sustainable Economic Development and Eco-Resilience in ASEAN
Countries: Food security, Energy security, Water Resource Management

หน้า I 50

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 50 27/4/2558 19:10


PILOT PROJECT & PROPOSAL : FOOD INNOVATION NETWORK
Investor
Related LEs
/ SMEs
Market /
Customers
Food
Enterprises
Academy
Public / Government
NSTDA, STI

Dairy Industry & Business

- กรมปศุสัตว์
- บริษัทดัชมิลล์ จำ�กัด Fonterra
Co-operative
- สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จำ�กัด
(ในพระบรมราชูปถัมภ์) Group Limited
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หน้า I 51

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 51 27/4/2558 19:11


57 การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมระหว่างไทยและนิวซีแลนด์
สาขาการจัดการฟาร์มโคนม น้ำ�นมและผลิตภัณฑ์
ปีได้ร่วมลงนามในจดหมายแสดงเจตจำ
56 คณะผู้แทนไทยนำ�โดยท่�นงด้านนายกรั

3. อาหารสุขภาพ
4. การศึกษาวิทยาศาสตร์
5. การวิจัยและพัฒนาเชิงพาณิชย์

ปีคณะทำ57
ฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและเลขาธิิการ สวทน.
านความร่วมมือด้านวิทยาศาตสร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลนิวซีแลนด์ ณ ประเทศนิวซีแลนด์ ใน 5 ด้านได้แก่
1. ความปลอดภัยและความมั่นคงทางอาหาร วิทยาศาสตร์สุขภาพ
2. ธุรกิจและอุตสาหกรรมโคนม นมและการแปรรูป

คณะทำ�งานอาหารกลุ่มย่อยด้านโคนม นมและการแปรรูป เดินทางประชุมหารือกับ


�งานประเทศนิวซีแลนด์ ระหว่างวันที่ 5-13 กรกฎาคม 2557

หน่วยงานที่เข้าหารือ
1. Ministry of Business, Innovation and Employment (MBIE)
2. Callaghan Innovation
3. Massey University
4. Auckland University of Technology
5. University of Auckland

ภายหลังจากที่คณะทำ�งานได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย ได้มติในการพัฒนาโครงการความร่วมมือในการ
ยกระดับธุรกิจโคนมตลอดห่วงโซ่คุณค่าด้วย วทน. และได้มีการนำ�เสนอผลความคืบหน้าต่อคณะกรรมการ
ร่วมระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงการต่างประเทศ กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้
โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบในการดำ�เนินการขับเคลื่อนโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณ 2558 ต่อไป

หน้า I 52

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 52 27/4/2558 19:11


UPDATE โครงการอาหารแปรรูป: ยกระดับและความปลอดภัยห่วงโซ่คุณค่าของนมและ
ผลิตภัณฑ์ ภายใต้ความร่วมมือทางทูตวิทยาศาสตร์ของไทยและนิวซีแลนด์

หน้า I 53

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 53 27/4/2558 19:11


58 ปี 2558 ขับเคลื่อนเครือข่ายนวัตกรรม
อาหารในประเทศเชื่อมโยงต่างประเทศ
ในสาขาที่ได้นำ�ร่องไว้ ประกอบด้วย
6 แผนงานหลัก ดังนี้
1. พัฒนาเครือข่ายนวัตกรรมแห่งชาติ (Thailand
Innovaiton Synergy Network)

2. ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาศูนย์อำ�นวยความ
สะดวกด้าน วทน. ในสาขาธุรกิจเกษตรและอาหาร
(STI Facilitation Platform for Agrifood Business)

3. จัดทำ�ยุทธศาสตร์การทูตวิทยาศาสตร์ เพื่อยกระดับ
ขีดความสามารถของประเทศ กลุ่มเกษตรและอาหาร
(Science Diplomay Strategic Plan for Agrifood
Business)

4. จัดทำ�ยุทธศาสตร์ และขับเคลื่อนนโยบาย ครัวไทย


สู่โลก (Kitchen of the World)

5. ขับเคลื่อนเครือข่ายนวัตกรรมอาหารแห่งชาติ
(Thailand Food Innovation Network)

6. ขับเคลื่อนเครือข่ายนวัตกรรมเพื่อการพัฒนานมและ
ผลิตภัณฑ์นมแห่งชาติ (National Innovation Network
for Dairy Development)

หน้า I 54

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 54 27/4/2558 19:11


ปี 2558
1. พัฒนาเครือข่ายนวัตกรรมแห่งชาติ
(Thailand Innovaiton Synergy Network)

Conceptual Framework STI Based


Entrepreneurship
Outcomes
Knowledge
Creation
Corporation
Best Venture
Network Practice Capital
of Expert Market

Networks
Human
Resource
Development

Facilitator

Knowledge
Provider

ที่มา: THAIST, 2557

หน้า I 55

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 55 27/4/2558 19:11


Triple Helix
àÍ¡ª¹ ÃÑ°ºÒÅ ÀÒ¤¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ
àÍ¡ª¹ ÀÒ¤¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ
ÃÑ°ºÒÅ

ÀÒ¤¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ àÍ¡ª¹

ÀÒ¤¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ÃÑ°ºÒÅ
àÍ¡ª¹

ÃÑ°ºÒÅ
Triple Helix คือการทำ�งานผสานระหว่าง 3 ฝ่าย คือ รัฐบาล ภาคการศึกษา และ เอกชน เพื่อผลประโยชน์อันสูงสุดของประเทศชาติ
รัฐบาล ภาคการศึกษา เอกชน ก็เปรียบเสมือน เสา 3 เสา ที่ใช้ในการค้ำ�ยันต้นไม้ เปรียบประเทศเป็นดั่งต้นไม้ถ้าขาดเสาใดเสาหนึ่งไป
ต้นไม้ก็จะล้มถึงแม้กระทั่งจะมี 2 เสา ก็ไม่ทรงประสิทธิภาพเหมือนดั่ง 3 เสา และในการทำ�งาน Triple Helix
ยังจะช่วยเกื้อหนุน เกื้อกูล การพัฒนาให้ก่อเกิดพลังทวีคูณขึ้นอีก

หน้า I 56

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 56 27/4/2558 19:11


ระยะที่ 3 ปี 2559-2560-2561 การพัฒนาแผนลงทุนและ
มาตรการด้าน วทน. เพื่อยกระดับธุรกิจเกษตรและอาหาร
โดยมีแผนจะพัฒนาแผนลงทุนเบื้องต้น จำ�นวน 3 แผนลงทุน ประกอบด้วย

1.
แผนลงทุนการสร้างความ
2.
แผนลงทุนยกระดับ
3.
แผนลงทุนและการขับเคลื่อน
เข้มแข็งธุรกิจเกษตรและ โครงสร้างพื้นฐานทาง อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
อาหารแปรรูปด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พร้อมบริโภคเพื่อการส่งออก
นวัตกรรม แบบ และนวัตกรรมเพื่อสนับสนุน ภาคกลางและภาคตะวันตก
Public Private การวิจัยด้านการเกษตร
Partnership และอาหารของประเทศ

และมีแผนจะพัฒนามาตรการด้าน วทน. จำ�นวน 2 มาตรการ ประกอบด้วย

1
มาตรการกระตุ้นการลงทุนวิจัย
2
มาตรการด้านกำ�ลังคน
พัฒนาและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มความเข้มแข็ง
โดยใช้แรงจูงใจทางภาษี 300% ในการแข่งขันและเพิ่มการลงทุน
และการพัฒนาของภาคเอกชน

หน้า I 57

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 57 27/4/2558 19:11


58 1. แผนลงทุนการสร้างความเข้มแข็งธุรกิจเกษตร
และอาหารด้วยนวัตกรรมแบบ Public Private Partnership
วัตถุประสงค์ เพื่อการลงทุนในการพัฒนานวัตกรรม ต่อยอดผลงานวิจัยและพัฒนา
ให้สอดคล้องมูลค่าการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหาร โดยโจทย์การวิจัยและพัฒนางาน
นวัตกรรมมาจากภาคเอกชน ร่วมดำ�เนินการกับเอกชน

ผลลัพธ์ บริษัทเอกชนกลุ่มอาหารตลอดห่วงโซ่อาหาร เพิ่มการขีดความสามารถใน


การพัฒนางานนวัตกรรม จาก 2,809 ล้านบาท ใน ปี 2554 เป็น 5,400 ล้านบาท
ในปี 2559วิธีการดำ�เนินการ ได้รับงบประมาณจากภาครัฐ จำ�นวน 3,600 บาท
โดยประกอบไปด้วย กลุ่มการวิจัยและพัฒนา 1,000 ล้านบาท กลุ่มการพัฒนากำ�ลังคน
600 ล้านบาท กลุ่มการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 500 ล้านบาท และการให้บริการต่างๆ
ของภาครัฐ 1,500 ล้านบาท โดยรูปแบบการใช้งบประมาณโดยเป็นการร่วมสนับสนุนการ
สร้างเครือข่ายนวัตกรรม พัฒนานวัตกรรม โดยเป็นการร่วมดำ�เนินการจากงบประมาณ
ภาครัฐ 40%และภาคเอกชน 60% พร้อมกับการใช้มาตรการ ทาง วทน. สนับสนุน
อุตสาหกรรมที่มีแต่ไม่ได้ระบุสาขามาใช้ในสาขาอุตสาหกรรมอาหารโดยตรง

หน้า I 58

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 58 27/4/2558 19:11


หน่วยงานดำ�เนินการ
เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยงานวิจัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แห่งชาติ (คอบช.) สำ�นักงบประมาณ กลุ่มการวิจัยและพัฒนา :
สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันวิจัยที่เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อาหาร
และสังคมแห่งชาติ สภาอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทย สภาหอการค้า การพัฒนากำ�ลังคน : สถาบันการศึกษา
แห่งประเทศไทย การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สมาคมส่งเสริม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
สมาคมผู้ส่งออก สาขาอาหาร
การใช้บริการภาครัฐ :
Draft Mechanism Reforming Strategy สถาบันอาหาร หน่วยงานต่างๆ
for PPP in Food Business
by driving STI Investment 1% ภาครัฐที่เกี่ยวข้องตลอด
of Export value ห่วงโซ่อาหาร

Export Value 1

40% Trillion B
60%
STI Investment
10,000 MB

Public Investment Public sector Private Investment


4,000 MB encourages 6,000 M B
private sector
to invest
PPP Program
R&D HRD
1,200 MB 800 MB LEs SMEs
3,000 MB 2,000 MB

Innovation & Infrastructure Multinational


Commercialisation 800 MB Enterprises
1,200 MB 1,000 MB

Source : STI 2014

หน้า I 59

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 59 27/4/2558 19:11


2. แผนลงทุนยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการวิจัยด้านการเกษตรและอาหารของประเทศ

วัตถุประสงค์

ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านบุคคลากร ด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ปรับปรุง พัฒนาและยก ผลิตนักวิจัยเกษตรและ สร้างกลไกความเชื่อมโยง


ระดับโครงสร้างพื้นฐานที่เป็น อาหารระดับปริญญาโท/ เพื่อแก้ปัญหาที่เป็นโจทย์
ครุภัณฑ์ วทน. โครงสร้าง เอก และหลังปริญญาเอก ร่วมระหว่างศูนย์วิจัย
พื้นฐานภาคสนาม เช่น ระบบ ในระดับสูงที่ในสาขา มหาวิทยาลัย และภาคการ
ชลประทาน โรงเรือนบ่อทดลอง ที่มีความสำ�คัญทาง ผลิต ในพื้นที่ระดับกลุ่ม
เครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้ง ยุทธศาสตร์เกษตรและ จังหวัด
โครงสร้างพื้นฐานที่ใช้ในการ อาหารของประเทศ
อนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมของพืช

กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์ ผลกระทบที่สำ�คัญ
- เกษตรกรในพื้นที่ที่เผชิญปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง 1. สามารถปกป้องผลิตผลเกษตรและอาหาร
เกษตรกรรายย่อยในชุมชนท้องถิ่น จากภัยพิบัติ
- ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรม 2. สามารถผลิตชดเชย และสร้างมูลค่าเพิ่มให้
เกี่ยวเนื่อง กับผลิตผลเกษตรและอาหารและมูลค่าที่
- ผู้บริโภค พื้นที่ดำ�เนินการ / ผลลัพธ์ ปกป้องได้จากภัยพิบัติ
- ศูนย์วิจัยเกษตรทั่วประเทศ 26 แห่ง 3. แรงงานในภาคเกษตรและอาหารมีหลักประกัน
- สถาบันวิจัยในมหาวิยาลัย 10 แห่ง ที่มั่นคง และมีการขยายการจ้างงานเพิ่ม
- บุคลากรวิจัยระดับสูง 200 คน

หน้า I 60

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 60 27/4/2558 19:11


3. แผนลงทุนและการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
พร้อมบริโภคเพื่อการส่งออก ภาคกลางและภาคตะวันตก
ศูนย์โลจิสติกส์เกษตรและนวัตกรรมอาหารแปรรูป (1,050 ล้านบาท) ประกอบไปด้วย

1 ศูนย์โลจิสติกส์เกษตร
มูลค่าการลงทุน 700 ล้านบาท
(ระยะ 5 ปี)
Transportation
and Logistics
Agro Logistics Zero-waste
Logistics

Logistics and
2 R&D
Center
40 %
ศูนย์นวัตกรรมอาหาร
มูลค่าการลงทุน 350 ล้านบาท
(ระยะ 5 ปี)

Packaging
Studio 20 %

Agro-Process supply chain


Data Center Database
Post-Production Knowledge
Technology Networking
20%

Customer Food Business


Feasibility Food Sensory
Evaluation & Shelf life
10% Study Center
10 %

หน่วยงานหลัก : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1 Director


- ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านโลจิสติกส์ 5 Center Cooperation Staff
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน่วยงานหลัก : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
- คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำ�แพงแสน - ศูนย์ค้นคว้าแลพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
- คณะเกษตร กำ�แพงแสน - คณะอุตสาหกรรมเกษตร
- คณะบริหารธุรกิจ คณะเกษตร คณะประมง
หน่วยงานสนับสนุน : หน่วยงานสนับสนุน :
- กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร - กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (DECC (สวทช.) SPA ศูนย์บรรจุ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หีบห่อไทย (วว.) วศ.)
- กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
- ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมการข้าว, กรมวิชาการเกษตร, มกอช.)
- คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ - สมาคม IAAAC สมาคม FOSTAT
- iTAP สวทช. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - เครือข่ายภาคเอกชนกลุ่มธุรกิจอาหาร KU-network
- สมาคมแปรรูปผักและผลไม้เพื่อการส่งออกแห่งประเทศไทย
จังหวัดนครปฐม

หน้า I 61

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 61 27/4/2558 19:11


1. มาตรการกระตุน้ การลงทุนวิจยั พัฒนาและนวัตกรรมโดยใช้แรงจูงใจทางภาษี 300%

ค่าใช้จ่ายกิจกรรมวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม
ส่วนที่เกิน 200 ล้านบาท ที่เข้าข่ายยกเว้นภาษี 300%
หักลดหย่อนภาษี 3 เท่า
ได้เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 6% ค่าใช้จ่ายการ
การซื้อ / เช่า ซื้อสิทธิใน
เครื่องจักร ทรัพย์สินทาง
อุปกรณ์ ปัญญา

ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาท
หักลดหย่อนภาษี 3 เท่า
ได้เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 9% ค่าใช้จ่าย
ค่าจด ในการ
ทะเบียน ฝึกอบรม
ทรัพย์สิน พนักงาน
ทางปัญญา
รายได้บริษัทไม่เกิน 50 ล้านบาท
นำ�รายจ่ายเพื่อการวิจัย
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
หักลดหย่อนภาษี 3 เท่า
ได้ไม่เกิน 60% ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่าย บุคคลากร
ในโครงการ วัสดุ
เงื่อนไขการขอใช้สิทธิประโยชน์ เกี่ยวกับการ ใช้สิ้นเปลือง
1. บริษัทต้องเป็นผู้ทำ�วิจัย พัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้วยตนเอง หรือร่วมกับ ออกแบบที่ได้
มหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานวิจัยในประเทศ รับอนุมัติ
2. เป็นบริษัทที่เคยดำ�เนินการวิจัย และผ่านการรับรองโครงการจาก สวทช. แล้ว
3. ต้องได้รับการตรวจประเมินระบบ และขึ้นทะเบียนโดย สวทช.
4. มีมูลค่าไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อโครงการ ที่มา : สวทน. , 2558
5. หากไม่เข้าเงื่อนไขข้างต้น จะต้องผ่านกระบวนการ pre-approve แบบเดิม คือ เขียน
โครงการเสนอให้ สวทช. พิจารณารัรอง

หน้า I 62

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 62 27/4/2558 19:11


2. มาตรการด้านกำ�ลังคน วทน.
o เพิ่มความเข้มแข็งในการแข่งขันของภาคผลิตและบริการ
o เพิ่มการลงทุนและการพัฒนาของภาคเอกชน

ปฐมวัย-ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
การเรียนการสอนแบบสืบเสาะ การศึกษา ปริญญาตรี-โท-เอก
หาความรู้ STEM WORKFORCE การเคลื่อนย้ายบุคคลากรวิจัย
(Inquiry-based learning) (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างความสามารถ
การศึกษา STEM วิศวกรรมศาสตร์ และ ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม
WORKFORCE (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์) ของภาคการผลิตและบริการ
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ทุนพัฒนาครู (Talent Mobility)
และ คณิตศาสตร์) ห้องเรียนพิเศษ การจัดสรรทุนการศึกษามุ่งเป้า

อาชีวศึกษา แรงงาน
สหกิจศึกษา การพัฒนากำ�ลังคนเฉพาะทาง
(Cooperative Education) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการ
โรงเรียนเทคโนโลยีฐาน แข่งขันของภาคอุตสาหกรรม เช่น
วิทยาศาสตร์ (Science รถไฟ ชีวเวชภัณฑ์ หุ่นยนต์อัจฉริยะ
based Technology ส่งเสริมโอกาสการเป็นผู้ประกอบ
School) การฐานนวัตกรรม
พัฒนาเส้นทางอาชีพนักวิจัย
ให้มั่นคง
Work Integrated Learning

ที่มา : สวทน. , 2557

หน้า I 63

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 63 27/4/2558 19:11


ระยะที่ 4 (ปี 2562-2563-2564) จากวิสัยทัศน์ของโครงการสู่การจัดตั้ง
STI Facilitation Platform for Food Business

University / R&D
Institutes

1 2
University-
HRD Services Industry-Government-
Linkage for R&D

FOOD COMPANY

5 3
Incentives
One Stop Service Tech Transfer
facilitation Gov. Supporting
Agencies

- R&D Tax
4
IP Management - Food
- Visa Service Technology
- Work Permit Database
- Grant - Support Overseas Agencies
- Soft Loan tech transfer
from Oversea

ที่มา : สวทน. , 2557


หน้า I 64

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 64 27/4/2558 19:11


รูปแบบบริการที่อำ�นวยความสะดวกให้กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรและอาหาร

1. 2.
U-I-G
3.
Technology
4.IP 5.
Incentive
HRD Linkage Transfer & Management One-Stop
Services Services Acquisition Services Services
Knowledge Exchang

INTERNATIONAL SCIENCE
CONNECTION DIPLOMACY

อำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการทุกขนาด โดย SMEs และ LEs อาจจะมีความ


ต้องการที่แตกต่างกัน เช่น SMEs ให้ความสำ�คัญในการบริการข้อที่ 2 และ 3 ในขณะที่
LEs ให้ความสำ�คัญกับการบริการข้อที่ 1,4,5 และมองถึงการติดต่อกับต่างประเทศ
บริหารครอบคลุมตั้งแต่การทำ� R&D จนถึง Commercialization
เป็น one-stop sevice ของการวิจัยและพัฒนา
5 Platform ตอบสนองความต้องการผู้ประกอบการ
Tailor made Service สำ�หรับผู้ประกอบการ
แนวทางการปฏิบัติการ
.....................................................................................................
STI Facilitation Platform เริ่มต้นดำ�เนินการโดยมี
งบประมาณสนับสนุนจาก
กลุ่มเป้าหมายหลัก
..................................................................................................... 1) เงินทุนประเดิมที่มาจากการลงขันร่วมกันของ
• ผู้ประกอบการในธุรกิจอาหาร ผู้ผลิตวัตถุดิบ บริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร หรือ
ผู้บรรจุ ผู้แปรรูปอาหาร ผู้ส่งออก ตลอดห่วงโซ่ 2) เงินทุนประเดิมของภาคเอกชน รวมกับเงินทุน
อุปทาน ทั้งผู้ประกอบการด้านอาหารรายใหญ่ ประเดิมจากภาครัฐ
(LEs) และผู้ประกอบการด้านอาหารขนาดกลาง 3) ค่าธรรมเนียมการให้บริการ โดยเมื่อดำ�เนินการ
และขนาดย่อม (SMEs) งานประมาณ 2 ปี ต้องทำ�ให้ศูนย์สามารถพึ่งพา
• นักวิจัย เจ้าของงานวิจัย ตนเองได้เองด้วยเงินรายได้จากค่าธรรมเนียม
• สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย ที่มีผลงานด้านการ
วิจัยเรื่อง อาหาร การพัฒนาการผลิต กระบวนการ
แปรรูป การสกัด เป็นต้น

หน้า I 65

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 65 27/4/2558 19:11


ภาคผนวก
คำ�แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ณ วันที่ 12 กันยายน 2557
ในการบริหารราชการแผ่นดินรัฐบาลมีนโยบายต่างๆ 11 ข้อ
โดยมีข้อ 8 เป็นนโยบายด้านการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

8.1 8.5
การเพิ่มการลงทุน
RDI (วิจัยพัฒนา
8.3 8.4 การพัฒนาและ
ประโยขน์โครงสร้าง
พื้นฐาน วทน.
เพื่อเพิ่มขีดความ
และนวัตกรรม)
สู่เป้าหมาย 1 %
GDP เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถของ
8.2 การปฏิรูประบบแรง
จูงใจ ระเบียบ และ
กฎหมาย และการจัด
ทำ�แผน วทน. และ
การส่งเสริมให้โครงการ
ลงทุนขนาดใหญ่
สามารถทางนวัตกรรม
และประเทศ

สาขาการผลิต ฯลฯ การพัฒนาและใช้


ประโยชน์กำ�ลังคนเพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือ ใช้ประโยชน์ งานวิจัย
การสร้างความตระหนัก สถาบันการศึกษา พัฒนา และนวัตกรรม
ด้าน วทน. ในสังคม รัฐและเอกชน ของไทย
และส่งสริมสนับสนุน
SME

หน้า I 66

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 66 27/4/2558 19:11


คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (กวทน.)

ประธาน
นายกรัฐมนตรี
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

รองประธาน
รมว. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


รมว. กระทรวงเกษตร รมว. กระทรวงเทคโนโลยี รมว. กระทรวงพาณิชย์ รมว. กระทรวงศึกษาธิการ รมว. กระทรวงสาธารณสุข รมว. กระทรวงอุตสาหกรรม
และสหกรณ์ สารสนเทศและการสื่อสาร
นายฉัตรชัย สาริกัลยะ พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย นายรัชตะ รัชตะนาวิน นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช
นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา นายพรชัย รุจิประภา

กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ไม่เกิน 11 คน

กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ


ประธานกรรมการบริหารสภาวิจัยฯ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลขาธิการ สวทน.
นายเกษม วัฒนชัย นายวีระพงษ์ แพสุวรรณ นางญาดา มุกดาพิทักษ์
(รองเลขาธิการ ปฏิบัติหน้าที่แทน เลขาธิการ)

ข้อมูล ณ. ปี 2557

หน้า I 67

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 67 27/4/2558 19:11


กลไกการขับเคลื่อน วทน. โดยภาครัฐ

สวทน. บูรณาการกับหน่วยงานของรัฐ
มหาวิทยาลัย
แผน วทน. 10 ปี สถาบันการศึกษา

แผน วทน. จังหวัด แผน วทน. กลุ่มจังหวัด


บูรณาการ โครงการ วทน. ชุมชนนวัตกรรม

วทน.
องค์กรปกครอง
ภาคเอกชน กลุ่มจังหวัด ส่วนท้องถิ่น
สุข จังหวัด
ก.สาธารณ ก.พลังงาน
สหก รณ์ ก. ทร

ตร แ ล
าร และพั สยากรธรร
ก.เกษ า ธิก ิ่งแวด มชาต
ล้อม ิ
กึ ษ
ก.ศ แผนปฏิบัติการ กระทรวงมหาดไทย –
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คาราวานวิทยาศาสตร์ คลินิคเทคโนโลยี

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี

ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน้า I 68

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 68 27/4/2558 19:11


เศรษฐกิจ 12 สาขาสำ�คัญ ที่ดำ�เนินการขับเคลื่อนด้วย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (2555-2564)

Rice & Rice


Creative Products
& Digital
Economy Cassava, Sugar
Cane, Oil Palm for
Energy
Construction &
related service Sustainable
Economy Rubber & Rubber
Products
Logistics &
related Processed Food
industry Quality
Society
Tourism Electrical
& related
industry
Fashion
Appliances

Automotive
INNOVATION
(Textile,
Leather,
Jewellery) Petro
chemical

AGRICUTURAL BASED GROUP

INDUSTRIAL BASED GROUP

NEW TREND & SERVICE BASED GROUP

หน้า I 69

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 69 27/4/2558 19:11


7 ภารกิจของ สวทน.
ฝ่ายพัฒนาเศรษฐกิจ

5
ประสานงานและติดตามการ
พัฒนากำ�ลังคนด้าน วทน.ใน
ภาคเศรษฐกิจรายสาขา

7
จัดทำ�รายงานการติดตาม
และประเมินผลตามนโยบาย
และแผน วทน. ด้าน
เศรษฐกิจ ต่อ ครม.
2
ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ
วทน. ภาคเศรษฐกิจราย
สาขากับทุกภาคส่วน
(Triple Helix)

4
จัดทำ�ตัวชี้วัด ฐานข้อมูล
ดัชนี และการศึกษาวิจัย
นโยบาย ด้าน วทน.
เชิงเศรษฐกิจรายสาขา

6
ติดตาม รวบรวม และรายงาน
ผลการดำ�เนินงานตามแผน
ปฏิบัติด้านเศรษฐกิจของหน่วย
งานภาครัฐ
3
1
จัดทำ�แผนปฏิบัติการ
วทน. ระดับชาติ รายสาขา
(สอดคล้องกับแผนชาติต่างๆ)

สนับสนุนและให้คำ�แนะนำ�ใน
การจัดทำ�แผนปฏิบัติการเชิง
เศรษฐกิจของหน่วยงานภาค
รัฐ/การศึกษา/ภาคเอกชน

หน้า I 70

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 70 27/4/2558 19:11


รายนามคณะทำ�งาน จัดทำ�หนังสือ
คณะที่ปรึกษา

ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รศ.ดร.สมชาย ฉัตรรัตนา ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์ ศ.ดร.วัลลภ สุระกำ�พลธร ดร.ดำ�ริ สุโขธนัง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รองเลขาธิการ สวทน.ปฏิบัติ รองเลขาธิการ สวทน. รองเลขาธิการ สวทน. ผู้อำ�นวยการสถาบันวิทยาศาสตร์ ที่ปรึกษา สวทน.
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน้าที่แทนเลขาธิการ และเทคโนโลยีชั้นสูง

คณะผู้จัดทำ� ฝ่ายพัฒนาเศรษฐกิจ

ดร.ก่อศักดิ์ โตวรรธกวณิชย์ นายอาศิร จิระวิทยาบุญ นางสาวนันทรัตน์ มหาสวัสดิ์ นางสาวมณีรัตน์ ศรีปริวาทิน


ผู้จัดการโครงการและนักวิจัย ผู้เชี่ยวชาญนโยบาย นักวิจัยนโยบาย นักวิจัยนโยบาย
นโยบายอาวุโส

คณะสนับสนุน

นางบงกช สืบสัจจวัฒน์ นางสาวภัทรวรรณ จารุมลิ นิ ท นายปรินันท์ วรรณสว่าง นายพงศ์วราวุฒิ หมื่นยุทธิ นางสาวบุณฑริกา นกจันทร์
ฝ่ายกำ�ลังคน ฝ่ายโครงสร้างพื้นฐาน ฝ่ายการต่างประเทศ นักวิเคราะห์โครงการ ผู้ประสานงานโครงการ
สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ฝ่ายพัฒนาเศรษฐกิจ

หน้า I 71

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 71 27/4/2558 19:11


รายนามคณะทำ�งาน จัดทำ�หนังสือ
คณะที่ปรึกษา
• ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รองเลขาธิการ สวทน.ปฏิบัติหน้าที่แทนเลขาธิการ สวทน.
• รศ.ดร.สมชาย ฉัตรรัตนา รองเลขาธิการ สวทน.
• ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์ รองเลขาธิการ สวทน.
• ศ.ดร.วัลลภ สุระกำ�พลธร ผู้อำ�นวยการสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง
• ดร.ดำ�ริ สุโขธนัง ที่ปรึกษา สวทน.

คณะผู้จัดทำ� ฝ่ายพัฒนาเศรษฐกิจ
• ดร.ก่อศักดิ์ โตวรรธกวณิชย์ ผู้จัดการโครงการและนักวิจัยนโยบายอาวุโส
• นายอาศิร จิระวิทยาบุญ ผู้เชี่ยวชาญนโยบาย
• นางสาวนันทรัตน์ มหาสวัสดิ์ นักวิจัยนโยบาย
• นางสาวมณีรัตน์ ศรีปริวาทิน นักวิจัยนโยบาย

คณะสนับสนุน
• นางบงกช สืบสัจจวัฒน์ นักวิจัยนโยบายอาวุโส ฝ่ายกำ�ลังคน
• นางสาวภัทรวรรณ จารุมิลินท นักวิจัยนโยบายอาวุโส ฝ่ายโครงสร้างพื้นฐาน
• นายปรินันท์ วรรณสว่าง นักวิจัยนโยบายอาวุโส ฝ่ายการต่างประเทศ
• นายพงศ์วราวุฒิ หมื่นยุทธิ นักวิเคราะห์โครงการสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง
• นางสาวบุณฑริกา นกจันทร์ ผู้ประสานงานโครงการ ฝ่ายพัฒนาเศรษฐกิจ

พิมพ์ครั้งที่ 1 ธันวาคม 2557 จำ�นวน 1,000 เล่ม


พิมพ์ครั้งที่ 2 เมษายน 2558 จำ�นวน 1,000 เล่ม
สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
เลขที่ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
โทรศัพท์ 02-160-5432 โทรสาร 02-160-5439 www.sti.or.th

พิมพ์ที่ บริษัท พริ้นท์เอเบิ้ล จำ�กัด


เลขที่ 285 ถนนพัฒนาการ 53 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. 10250
โทรศัพท์ 02-322-5625 โทรสาร 02-322-5625 # 11

Vit_Sti_InSide_p49-72.indd 72 27/4/2558 19:11

You might also like