Power-Plant-Management Model Rachaburi Power ภาษาไทย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 496

คําประกาศ

ความจําเปนในวิชาชีพที่รองรับการพัฒนาประเทศอยางเปนระบบและตอเนื่อง วิชาชีพสาขาวิศวกรรม
ไฟฟากําลังเปนวิชาชีพหนึ่งที่สําคัญตองกาวใหทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโดยมิใชมองแตดานวิศวกรรมเพียง
อยางเดียวที่จะกาวสูความสําเร็จในการประกอบวิชาชีพ โดยจะชี้มุมมองเพิ่มของ Resources อื่น ๆ ที่สําคัญ
ของการดํารงอาชีพของวิศวกรที่ตองพรอมทั้งความรูและการปฏิบัติการ
คณะกรรมการสภาวิศวกร (นายคําผุย จีราระรื่นศักดิ์) ไดเล็งเห็นวาเปนนโยบายสําคัญของสภาวิศวกร
จึงมอบหมายใหกลุมวิศวกรการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่ปฏิบัติหนาที่ประจําอยูที่โรงไฟฟาราชบุรี ซึ่งมี
เทคโนโลยีคอนขางใหมในยุคป ค.ศ.2000 ทั้งโรงไฟฟาพลังความรอน และโรงไฟฟาพลังความรอนรวม นํา
ความรูและประสบการณที่รวบรวมมาเผยแพร เพื่อเปนแนวทางใหวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง ไดนําบท
ความนี้ไปประยุกตใชตอไปใหกาวทันการเปลี่ยนแปลงงานของวิศวกรนานาชาติในภาพรวม
ในนามคณะวิศวกรฯ ผูเรียบเรียงบทความนี้ ขออุทิศความดีทั้งปวงที่เกิดขึ้นใหแก บุพการี , ครูอาจารย ,
ผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานที่ทําใหบทความนี้เรียบเรียงขึ้นมาจนสําเร็จ
ถาเกิดขอผิดพลาดประการใด โปรดเสนอแนะขอปรับปรุงแกไขมาที่ นายอนุ ระวีวรรณ ฝายประจํารอง
ผูวาการปฏิบัติการและบํารุงรักษา ทําหนาที่ ผูอํานวยการโครงการธุรกิจเดินเครื่องและบํารุงรักษาประจําโรงไฟ
ฟาราชบุรี ขอนอมรับดวยความเคารพอยางยิ่ง โรงไฟฟาราชบุรี อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 โทร. (02)
4368815 E-Mail anoor@it.egat.or.th จะเปนพระคุณอยางสูง

1.1
Content
1.1 Forward 1.1
Content
2.1 Plant Overview 2.1-1 to 2.1-9
2.2 Major Component
2.2.1 Thermal Power Plant Major Equipment 2.2.1-1 to 2.2.1-54
2.2.2 Combined Cycle Power Plant Major Equipment 2.2.2-1 to 2.2.2-35
2.2.3 The Basic of Gas Turbine & Combined Cycle Operation 2.2.3-1 to 2.2.3-33
2.3 Plant Control System 2.3-1 to 2.3-11
2.3.1 Automatic Boiler Control for Power Plant 2.3.1-1 to 2.3.1-25
2.3.2 Turbine Control 2.3.2-1 to 2.3.2-31
2.3.3 Generator and Exciter 2.3.3-1 to 2.3.3-13
2.3.4 Generator Protection 2.3.4-1 to 2.3.4-30
2.3.5 Transformer Protection 2.3.5-1 to 2.3.5-17
2.4 Station Commissioning 2.4-1 to 2.4-27
2.5 Plant Operation 2.5-1 to 2.5-8
2.5.1 Gas Turbine Protection 2.5.1-1 to 2.5.1-19
2.5.1.1 Steam Turbine Protection 2.5.1.1-1 to 2.5.1.1-12
2.5.1.2 Heat Recovery Steam Generation (HRSG) 2.5.1.2-1 to 2.5.1.2-7
2.6 Plant Maintenance 2.6-1 to 2.6-40
2.7 Plant Performance 2.7-1 to 2.7-34
2.7.1 Combined Cycle Power Plant Performance 2.7.1-1 to 2.7.1-20
2.8 Plant Management
2.8.1 Project Management 2.8.1-1 to 2.8.1-5
2.8.2 Safety/Loss 2.8.2-1 to 2.8.2-9
2.8.3 Finance 2.8.3-1 to 2.8.3-24
2.8.4 Human Resource 2.8.4-1 to 2.8.4-29
Index
2.1 Plant Overview

2.1 - 1
1) บทนํา

พลังงานเปนปจจัยในการดํารงชีพ ทั้งปจจุบันและอนาคต การพัฒนาประเทศจําเปนอยางยิ่ง


ตองใชพลังงาน หากขาดการบริหารจัดการ จนกอเกิดการขาดแคลนพลังงานในประเทศ เศรษฐกิจประเทศก็จะ
หยุดชะงัก การดํารงชีพขัดของ ขาดดุลยภาพของการประกอบกิจวัตรประจําวันทันที ความเขาใจธุรกิจผลิตไฟ
ฟา จึงมีความจําเปนระดับหนึ่ง นอกเหนือจากการอนุรักษ ลดการใชพลังงานอยางฟุมเฟอย จากการใชอยาง
ขาดประสิทธิภาพ
มนุษยมีพฤติกรรมในการใชพลังงาน แตกตางกันไปตามสภาวะการดํารงชีพและวัฒนธรรม จารีต
ประเพณี ของประชากรแตละทองถิ่น การพัฒนาประเทศและการเติบโต ของภาคธุรกิจบริการ เชน ธุรกิจโรง
แรม ศูนยการคา ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ผลิตสินคาอุปโภค บริโภค เพื่อสนองตอบความเจริญเติบโต
และพัฒนาประเทศจึงมีความจําเปนตองใชพลังงานไฟฟาอยางตอเนื่อง และมีความพรอมใชงานตลอดเวลาทั้ง
กลางวัน และกลางคืน โดยเฉพาะชวงเวลาวิกฤตที่มีความตองการใชพลังงาน ไฟฟาสูง (Peak demand) ซึ่ง
ปรกติชวงกลางวัน 09.00 – 15.00 น. และ 18.00 – 22.00 น.
แตทั้งนี้พลังงานไฟฟาเปนสินคาบริการที่มีลักษณะพิเศษ กลาวคือเก็บกักตุนไมได และเปนขบวนการ
ผลิตที่ตองผลิตตอเนื่อง (Continuous process) และกวาที่ขบวนการเปลี่ยนพลังงานศักยเปนพลังงานกล และ
เปนพลังงานไฟฟาในขั้นตอนสุดทาย จะพบความจริงวา ตัวกลางในการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยูกับพลังงานศักยที่
เริ่มตน เชน น้ําในเขื่อน, เชื้อเพลิง จะถูกแปรรูปเปนพลังงานความรอน การแปรรูปจะไดประสิทธิภาพประมาณ
90% แลวเปลี่ยนเปนพลังงานกลดวยเครื่องกังหัน ประสิทธิภาพประมาณ 45 – 95% ขึ้นกับชนิดของเครื่อง
กังหัน แลวพลังงานนั้นจะเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาดวยตัวกําเนิดไฟฟา ซึ่งมีประสิทธิภาพประมาณ 98%
ตลอดทั้งขบวนการประสิทธิภาพของโรงไฟฟา สําหรับเทคโนโลยีปจจุบันมีประสิทธิภาพประมาณ 30 – 60%
ยิ่งประสิทธิภาพมากก็จะยิ่งมีความซับซอนในการออกแบบและการปฏิบัติการมากยิ่งขึ้น แตก็เปนที่ภาคภูมิใจ
ในโลกใบนี้.....ที่คนไทยมิไดดอยกวาผูอื่นเลย.....
ทําอยางไร ? จึงจะพัฒนาศักยภาพของคนไทยใหควบคุมดูแลโรงไฟฟาไดอยางปลอดภัยและมีประ
สิทธิภาพคุณภาพตรงความตองการของประชาชน
• เริ่มแรกคงจะตองมาดูในโรงไฟฟา กลุมบุคลากรที่ปฏิบัติหนาที่ที่สําคัญ คือ
1. กลุมปฏิบัติการ (Operator)
2. กลุมบํารุงรักษา (Maintenance)
3. กลุมบริหารจัดการ (Administration)

2.1 - 2
ในภาพเกา ๆ ขอใหโรงไฟฟาเดินไดเปนพอ แตปจจุบันดานการบริหารจัดการมีนัยสําคัญมากยิ่งขึ้นถือวามีศักดิ์
ศรีเทากับทั้ง 3 กลุม จากประสบการณความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับ Operation ประมาณ 50% ความเสี่ยงดาน
บํารุงรักษาประมาณ 30% กลุมบริหารจัดการประมาณ 20% หมายถึง ทุกกลุมรวมทีมเปนมืออาชีพรวมกันไม
เกงคนเดียว

2.1 - 3
ตัวอยางโครงสรางการจัดการ

ผูอํานวยการโรงไฟฟา

ผูชวยผูอํานวยการโรงไฟฟา สวนกลางผูอํานวยการ

หมวดควบคุมความ หมวดสื่อสาร หมวดโยธาและ


ปลอดภัย องคกร สิ่งแวดลอม

หนวยเดินเครื่อง
หนวยวางแผนการ หนวยบริหารและ หนวยพัฒนาเทคนิคและ
โรงไฟฟา
ผลิตและบํารุงรักษา การเงิน ทรัพยากรบุคคล
โรงไฟฟา
หมวดเดินเครื่อง หมวดวางแผนการผลิต หมวดบริหาร หมวดพัฒนาเทคนิค
กะ 1 และประสิทธิภาพ สัญญา เดินเครื่องและบุคลากร

หมวดเดินเครื่อง หมวดวิศวกรรมการผลิต หมวดบัญชีและ หมวดพัฒนาเทคนิค


กะ 2
การเงิน บํารุงรักษาและบุคลากร

หมวดเดินเครื่อง หมวดวางแผนการบํารุง หมวดพัสดุและ หมวดบริการ


กะ 3 รักษาและประเมินผล จัดหา การพัฒนาเทคนิค

หมวดเดินเครื่อง หมวดวิศวกรรมการ หมวดธุรการ


กะ 4 บํารุงรักษา และบริการ

หมวดบํารุงรักษา
หมวดระบบงาน
และสารสนเทศ

2.1 - 4
โรงไฟฟาทั่วไปใหบริการอะไรกับประชาชนและรัฐ พอจําแนกได ดังนี้
1) ใหบริการดานความพรอมการจายกระแสไฟฟาใหไดอยางตอเนื่อง มีคุณภาพที่ยอม
รับได (Availability)
2) ใหบริการดานประสิทธิภาพของโรงไฟฟาใหมีตนทุนการใชเชื้อเพลิงและการจัดการสงผล
ใหมีคากระแสไฟฟาที่แขงขันไดในการลงทุนทั้งดานอุตสาหกรรมและการบริการ
จากการใหบริการทั้ง 2 ประเด็นนี้ ทําอยางไร ? จึงจะผสมประสานทั้ง 3 กลุม คือ การปฏิบัติการ การ
บํารุงรักษา และการบริหารจัดการที่มีทั้งจุดออนและจุดแข็งในตัว เชน
การปฏิบัติการ ตองมีจุดแข็งดานความพรอมในการปฏิบัติการของคนอยางทันทวงที
ดานบํารุงรักษา ตองมีจุดแข็งดานการดูแลเครื่องจักรตลอดอายุของเครื่องจักรจากการ
วางแผนประจําการวางแผนการหยุดเครื่อง
ดานการบริหารการจัดการ ตองมีจุดแข็งดานการดูแลฐานะการเงิน การบริหารสัญญา
ซื้อขายไฟฟาและอีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญซึ่งจะชวยใหประสบความ
สําเร็จไดอยางดียิ่งคือ การบริการอะไหล (Spare Parts) ของ
โรงไฟฟา
• ขอยกตัวอยางการบริหารจัดการมาใหเปนกรณีศึกษา คือ Rocket Management Model ในภาพรวม
การจัดการที่เปนมืออาชีพทั้งทีม
จากการที่มีกิจการไฟฟาของประเทศไทยรวมแลว 120 ป และมีองคกรที่เขามาจัดการครบวงจรของการ
ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมาแลว 35 ป ในป 2547 ซึ่งบริการผลิตกระแสไฟฟาไดอยางตอเนื่องเพียงพอ
มีประสิทธิภาพและราคาเปนธรรม
ทรัพยากรสําคัญ คือ บุคลากร ในอดีตตองมีการเตรียมคนไวมากใหพรอมปฏิบัติการ มีทั้งคนเกง คนดี
มีความรับผิดชอบ มีวินัย แตมีความจําเปนจะตองสรางแรงขับเคลื่อนใหบรรลุภารกิจอยางสัมฤทธิ์ผล
ถาเราจะปรับรูปแบบการทํางานใหมใหเกิดการขับดันไปทั้งทีมงานควรที่จะรวบรวมคนที่เปน
ทรัพยากรสําคัญขององคกร มาจัดเขาสูระบบการสรางทีมเปนองคกรมืออาชีพ มีแรงขับภายในจากทรัพยากร
ของเราเองสรางขึ้นมาเปนทีมประสานกัน ตัวอยางเชน งานธุรกิจ O&m ของ กฟผ. ตอไป กฟผ. จะแยกเปน
Asset Manager (OWNER) และ OPERATOR (O&M)
กอนอื่นตองเขาใจในสวนภารกิจของ O&M คือ ธุรกิจการขายและการใหบริการดานความพรอมของ
โรงไฟฟาใหพรอมเดินเครื่องจายกระแสไฟฟา Product ของโรงไฟฟาเปน NON STOP NO STOCK WITH
QUALITY อยางตอเนื่องและดูแลทั้งดานความพรอมและประสิทธิภาพของโรงไฟฟา (Availability &
Efficiency)
จากอาชีพนี้เราจําเปนตองสราง “องคกร” ที่เปนมืออาชีพ ตัวขับสําคัญที่เสมือนเปนเชื้อเพลิง คือ ระดับ
กอง หรือหนวยจะตองสรางทีมงานใหมีการประสานพลังและการประสานการสรางทีมงานรวมระหวางกัน

2.1 - 5
การใชทรัพยากรรวมใหเกิดการบูรณาการ Cross Functional Integration ภารกิจระดับกอง/หนวยมีความจําเปน
อยางยิ่งยวดที่พรอมจะขับดันรวมกันใหเกิด Better/Best Practice Team & Cross Function Team
♥ ระดับหนวย/กองในสายเดียวกันตองเสมือน รางกายเดียวกันผลัดกันเปนสมองและกายโดยมี
ประสาทเชื่อมโยงถึงกันตลอดทั้งรางกาย
♥ สวนในระดับลางลงมา คือ หมวดหรือแผนกตองเปนผูเชี่ยวชาญในภารกิจที่ไดรับมอบหมายมิใช
แบงงานแบบรั้วกั้นหรือกระจกกั้น จะไปมิไปแหล (ไปไมรอด) ยังเขาไปดูแลชวยกันไมได การมีจิตสํานึกของ
ทุก ๆ คนในแผนกหรือหมวดจะตองมีจิตสํานึกของแตละคนตลอดเวลาวาเราทํางานรวมกันเปนทีมจึงจะสําเร็จ
สมบูรณลงได
เสมือน กับสมอง รางกาย มีนิ้ว มือ แขน ขา ตา จมูก หู ประสาทสัมผัส ตองรวมกันเปนหนึ่ง มีการเชื่อม
โยงดวยระบบประสาท คือ สงไปใหสมองประมวลผลและตัดสินใจ
จะเห็นวาถารางกายสมอง และอวัยวะทุกสวนประสานกันไดทั้งรางกายและจิตใจเราก็จะมีดุลยภาพมี
สติที่มั่นคงเพิ่มขึ้น ตัดสินใจบนฐานขอมูลของการสัมผัสสวนตาง ๆ เชน ตาหู จมูก เปนตน ไดถูกตองและรวด
เร็ว ถาคิดวาสวนตาง ๆ ของรางกายเหมือนเราที่ตางแยกภารกิจกันไป จะเกงคนเดียวไมไดเหมือนมือดีแตตา
บอดก็หาประโยชนไดไมสมบูรณตองทําใหทั้งรางกายเสมือนองคกรตองเปนมืออาชีพ ทุก ๆ สวนจะตองมีชอง
วางนอยและมีแรงขับดันเกิดขึ้นทั่วทั้งองคกรหรือสมบูรณทั้งรางกายและสมอง
ทําอยางไร ? จึงไปสูองคกรมืออาชีพไดอีกทางหนึ่งก็คงจะตองมีการปรับปรุงแตงใหเกิดแรงขับเคลื่อน
อยางตอเนื่องมิใหขาดขั้นตอนและสามารถควบคุมทิศทางได “กลยุทธที่สําคัญ” คือการสรางองคกรมืออาชีพ
โดยวิธีการกําหนดตัวชี้วัดระดับตั้งแต Management Steering Team ซึ่งทําหนาที่คลายสมองลงไปมิใชตรายาง
หรือยันต ซึ่งจําเปนตองมีระบบนําเสนอประมวลขอมูลที่รวดเร็วทันการให Steering Team ตัดสินใจอยางมีคุณ
ภาพโดยเนนขอมูลที่รากหญา (Ground Root) ปจจุบันอาจจะใช Air Root มากไปหนอย ?
ระดับหนวยหรือกองตัววัด คือ ความสําเร็จดานการประสานความรวมมือใหเกิดคุณคาอยาง ตอเนื่อง
ของระหวางหนวยและการใชทรัพยากรรวมกัน (เดิม กฟผ.แยกกันทํา เกงอยูแลว)
จากนั้นระดับหมวด/แผนก การปฏิบัติภารกิจตองเปนทั้งผูเชี่ยวชาญ ผูรับผิดชอบ (ทั้งความรูและ
ประสบการณสรางได) ในภารกิจ (JOB DESCRIPTION) ของตนเองและเอาใจใสใหความรวมมือหมวด/
แผนกขางเคียง โดยมีตัววัดความสําเร็จที่เปนองครวมนัยสําคัญของหมวดนั้น ๆ กวาจะบรรลุจุดนั้น ทุก ๆ คนจะ
ตองมีจิตสํานึกรวมกัน รวมกันเกงไมเกงคนเดียว ตองพึ่งพากันและกันแบงปนและพาตนเองไปสูความสําเร็จ
(หลุมฝงตัวเอง ....เกงคนเดียวฉันไมยุงเกี่ยวกับใคร) การเรียนรูตาง ๆ และประสบการณตาง ๆ มีตัวชี้วัดมาตร
ฐานและการแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกันอยางสอดคลองกับภารกิจ
ถาทุก ๆ คน ทุกหมวด ทุกหนวย เสมือนรางกายสมองไปในทิศทางเดียวกัน แรงขับดันจะเกิดอยาง
มหาศาลไมมีวันหมด ฉันทใดก็ฉันทนั้นดุจแมเหล็กถาเรียงขั้วกันไดแลวจะไปใชที่ใดก็เกิดพลัง

2.1 - 6
ขาพเจาคิดเสมอวาเกงทั้งทีม (ไมเกงคนเดียว) อยางมีคุณภาพ จึงจะนําพาองคกรสู “ความสําเร็จการเปน
มืออาชีพที่สอนลูกคาไดทุกเมื่อตลอดไป” ที่กลาวมาทั้งหมดนี้ สิ่งที่พึงระมัดระวัง คือ “ฐาน” (จรวด) อันมั่นคง
จึงไปรอด คือ ความมุงมั่น ความมั่นคง ความตั้งใจ ทาทายสูความสําเร็จทั้งองคกร
สวนการจัดการในรายละเอียดทั้ง Operation & Maintenance นัยสําคัญ คือ การวางแผน การผลิต
ใหมีประสิทธิภาพ แลวให Operation ปฏิบัติการผลิตกระแสไฟฟาโดยทั้งทีมของ Operation & Maintenance ได
รับการพัฒนาฝกอบรมอยางตอเนื่องและใหขอมูลยอนกลับในการวางแผน
ความสําเร็จของโรงไฟฟาที่มักจะถูกมอง คือ งานวิศวกรรมการผลิตและบํารุงรักษา (Maintenance
&Process Engineer ) ซึ่งจะเปนตัวพัฒนาการปฏิบัติภารกิจประจําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพเพิ่มขึ้น และ
การหารากของปญหาปอนเขามาที่การผลิตและการวางแผน เมื่อมีการปรับปรุงพัฒนาแลวจะมีการตรวจสอบ/
ทบทวน เพื่อกําหนดมาตรฐานแลวนํากลับไปพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่องจนเปนการบริหารองคความรู (KM-
Knowledge Management) ก็จะทําใหอาชีพบริหารโรงไฟฟาอยูกับคนไดและพรอมแขงขันกับนา ๆ ประเทศ

2.1 - 7
2.1 - 8
Rocket Management Model

เปนรูปแบบการบริหารแบบจรวด เปรียบเทียบเหมือนกับการบริหารงานใน อคบร.ใหขับเคลื่อนไปสู


เปาหมาย ซึ่งแบงจรวดออก เปน 3 สวน ดังนี้
1. สวนตัวของจรวด หมายถึง อคบร. มี Core Business คือ การขายและบริการใหลูกคา โดยใหโรง
ไฟฟามีความพรอมจายสูงสุดทั้งคา AP (Available Payment) และ EP (Energy Payment) ลูกคาของอคบร. คือ
RGCO. สวน Core Competency เปาหมายหลักจะนําพาองคกรเปนมืออาชีพ
2. สวนกลางของจรวด หมายถึง ระดับหนวยตาง ๆ ภายใน อคบร. ซึ่งเปนสวนที่จะประสานพลังทั้งดาน
บนและดานลาง เพื่อนําพาองคกรไปสูเปาหมาย ซึ่งตองมี
- Function Competency ทุกหนวยตองมีความ สามารถในการประสานพลัง, ความสามารถมองงาน
โดยภาพรวม, มีทีมงานที่ดี และมีการสรางทรัพยากรบุคคลที่ดี มีคุณภาพ
- Core Business ในระดับหนวยมีความรวด- เร็วของการบริการในหนาที่ใหดียิ่งขึ้น
- Individual Competency ระดับหมวดและแตละบุคคลจะตองมีความเชี่ยวชาญใน Job Description ของ
ตน และมีจิตสํานึกอยูรวมกันเปนทีม ซึ่งเปนแรงขับเคลื่อน
3. สวนของหางจรวด หมายถึง คณะกรรมการ บริหารภายใน อคบร. ซึ่งเปนการควบคุมทิศทางแรงขับ
เคลื่อนใหจรวดหรือ อคบร. ขับเคลื่อนไปได เปนการบริหารที่มีการตัดสินใจในการทํางานเปนทีม และมีการ
บริหารงานที่เปนระบบ การบริหารงานการตัดสินใจจากฐานขอมูล

สิ่งที่จะทําใหจรวดเคลื่อนที่ไปไดยังมีอีกสวนหนึ่งที่จะขาดไมไดเลยซึ่งในที่นี้หมายถึงLaunching (gaps)
Analysis (การวิเคราะหการปฏิบัติการ) จะประกอบไปดวย
Strategy ตองมีกลยุทธภายในหนวยงาน
แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัด ซึ่งตัวชี้วัดจะมี 1 – 2 ตัวชี้วัด แตละหนวย
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การแกไขและการควบคุม
และถาจะบรรลุเปาหมายตองทําการ Launching ( gaps ) Analysis อีกครั้ง เพื่อพัฒนาแรงขับ จัดขั้วใหเกิดการ
ประสานพลังทั้งในงาน รวมทั้งดานทัศนคติ คานิยม ที่จะอยูรวมกันเปนทีมมองดูความจําเปนที่ตองเสริมสราง
ของทีมในการประกอบกิจกรรมนั้นๆ

2.1 - 9
2.2 Major Component
2.2.1 Thermal Power Plant Major Equipment

7 10
M
1 1 1
A B C

2.2.1 - 1
1. Once Through Boiler
Once Through Boiler หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา Supercritical Pressure Boiler ความหมายของ
Critical Pressure คือจุดที่มีความดัน 3208.2 psia จุดนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกิดขึ้นระหวางไอน้ํา
(Steam) กับน้ํา จากรูปที่ 1 - 1 ที่ความดัน 3208.2 psia ความรอนแฝง (Latent Heat) จะมีคาเปนศูนยคือไม
ตองการพลังงานความรอนเพื่อที่จะเปลี่ยนสถานะน้ําใหกลายเปนไอ แตที่ความดันต่ําลงมาตองการความรอน
แฝงใชในการเปลี่ยนน้ําใหกลายเปนไอและระหวางการเปลี่ยนแปลงสถานะอุณหภูมิจะไมเปลี่ยนแปลงคือจะคง
ที่ที่อุณหภูมิอิ่มตัว (Saturation Temperature) แตที่ Critical Pressure หรือสูงกวาเมื่อใหความรอนกับน้ําที่
อุณหภูมิอิ่มตัวจะมีการเปลี่ยนสถานะจากน้ําไปเปนไอทันทีและอุณหภูมิของไอน้ําก็จะคอย ๆ เพิ่มขึ้นไป

รูปที่ 1 – 1 Latent Heat / Pressure Curve

ที่ Critical Pressure และอุณหภูมิอิ่มตัวความหนาแนนจําเพาะ (Specific Volume) ของน้ําและไอน้ําจะมีคา


เทากันพอดีแสดงดังรูปที่ 1 – 2 ดังนั้นเมื่อน้ําเปลี่ยนเปนไอน้ําจึงไมมีฟอง (Steam Bubble) ไมมีการ Flashing
และไมมีการเพิ่มปริมาตร (Volume) ดวยเหตุนี้จึงไมจําเปนตองมี Steam Drum การเปลี่ยนแปลงจากน้ําเปนไอ
น้ําจะเปนไปอยางนิ่มนวล

รูปที่ 1 – 2 Specific Volume / Pressure Curve

2.2.1 - 2
เมื่อแรงดันเพิ่มขึ้นอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นดังรูปที่ 1 – 3 อยางไรก็ตามเสนกราฟจะคอย ๆ ราบขนานกับเสนแรงดัน
มากขึ้นจนกระทั่งขนานกันพอดีที่จุด Critical Pressure ซึ่งมีแรงดัน 3208.2 psia และที่จุดนี้มีอุณหภูมิสูงถึง
705.47 °F เราเรียกจุดนี้วา Critical Temperature ที่อุณหภูมิสูงกวานี้จะไมมีสภาพน้ําหลงเหลืออยูเลย

รูปที่ 1 – 3 Temperature / Pressure Curve

จากปรากฎการณอันนี้ไดนํามาสราง Once Through Boiler หรือ Supercritical Boiler ซึ่งปกติ Boiler ชนิดนี้
จะทํางานเหนือ Critical Pressure และไมจําเปนจะตองมี Drum อยูในระบบเลยดังรูปที่ 1 – 4

รูปที่ 1 – 4 Once Through Boiler Schematic

2.2.1 - 3
จากรูปที่ 1 – 4 Boiler Feed Pump จะอัดน้ําในรูปของ high Pressure Water จากปลายดานหนึ่งและออกมา
เปนไอน้ําที่ปลายอีกดานหนึ่งระหวางที่น้ําผานทอ (Tube) จะมีการเปลี่ยนสภาพจากน้ํากลายเปนไอน้ําที่
Transition Zone จากนั้นไอน้ําจะผานเขาไปยัง Superheater และอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้น ดังที่กลาวมาแลววา Once
Through Boiler ไมมี Drum จึงไมสามารถ Blow Down Solid ตาง ๆ ออกไปจาก Boiler ได Solid ตาง ๆ
ที่มีอยูในน้ําก็จะจับอยูที่บริเวณ Transition Zone หรือไมก็ปะปนไปกับไอน้ํา (Carry Over) เขาสู Turbine ได
ดังนั้น Feed Water ที่ใชจะตองมีความบริสุทธิ์ของน้ําสูงมาก จึงตองมีระบบ Polishing Demineralizer ติดตั้ง
เขากับ condensate System และดวยเหตุผลเดียวกันเพื่อไมใหมี Solid ใน Boiler เลยจึงหามไมใหเติมสารเคมี
บางอยางเชนพวก Phosphate แตสารเคมีที่สลายตัวไดเชน Hydrazine หรือ Ammonia สามารถที่จะเติมเขาไป
ได ความแตกตางระหวาง Once Through Boiler กับ boiler แบบทั่ว ๆ ไป จะตางกันเฉพาะในระบบของน้ํา
และไอน้ําเทานั้นในระบบอื่น ๆ เชน การเผาไหม การควบคุมอากาศ และอุปกรณที่ใชในระบบจะเหมือนกับ
Boilr ทั่วไป สําหรับ Once Through Boiler ขนาดใหญมักจะเปนแบบ Water Wall Boiler แสดงดังรูปที่ 1 – 5
Boiler ชนิดนี้ประกอบดวยทอ Platen Superheater, Pendant Superheater, Horizontal Superheater, Reheater
และ Economizer เหมือนกับที่มีใน Drum Type Boiler ตางกันที่ขนาด Water Tube จะมีขนาดเสนผาศูนย
กลางเล็กวาซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลางทอเพียง 1 นิ้ว เมื่อเทียบกับ Drum type ที่มีกําลังผลิตเทากันจะมีเสนผา
ศูนยกลางทอ 2 - 3 นิ้ว จากที่ทอเล็กกวาทําใหความเร็วในการไหลสูงแนใจไดวามี Flow ผานทุก ๆ ทอที่
ความเร็วสูงเพียงพอที่จะสามารถถายเทความรอนไดเร็วและไมทําใหเกิดการเสียหายตอทอ เพราะเหตุที่
ความเร็วในการไหลสูงนี่เองทําให Pressure Drop สูงถึง 800 psia ใน Once Through Boiler เมื่อเทียบกับ
แบบ Drum Type Boiler มี Pressure Drop เพียง 150 psia

2.2.1 - 4
รูปที่ 1 – 5 Large Once Though Boiler

2.2.1 - 5
1.1 หลักการทํางานของ Supercritical Pressure Boiler สําหรับโรงไฟฟาพลังความรอนราชบุรีสิ่งสําคัญที่
จะตองควบคุมคือระบบปรับคุณภาพน้ําและระบบควบคุมการทํางานของเครื่อง ซึ่งมีการทํางานในขบวนการ
หลัก ๆ ดังนี้
1.1.1 ระบบปรับคุณภาพน้ํา ดังที่กลาวมาแลววา Supercritical Pressure Boiler ไมมีระบบ Drum ดังนั้นการ
ควบคุมในการปรับคุณภาพน้ําจึงมีสวนสําคัญยิ่งซึ่งจะมีระบบปรับคุณภาพน้ํา 2 ระบบ คือ
1. All Volatile Treatment (AVT) ระบบนี้จะถูกใชในชวงที่มีการ Startup Boiler หลังจากที่ทํา
Chemical Cleaning แลวเพื่อตองการใหคุณภาพน้ําของ Feed Water มีคา Conductivity นอยกวา 0.2 µs/cm ดัง
นั้นในระบบนี้จะเติมสารเคมีจําพวก Hydrazine และ Ammonia เขาไป สาร Ammonia จะชวยรักษาคา PH
ของน้ําไวที่ 9.5 สวน Hydrazine จะทําหนาที่ชวยขจัด Dissolved Oxygen เพื่อใหเกิด Magnetite (Fe3 O4)
เปนฟลมเคลือบผิวทอปองกันการเกิดสนิม ในระบบ AVT จะตองใชทุกครั้งที่มีแผนการหยุดเครื่องเปนระยะ
เวลานานและในชวง Startup เครื่องหลังทํา chemical Cleaning ดังนั้นกอนการ Shutdown เครื่องประมาณ 2 ถึง
3 ชั่วโมง จะตองเปลี่ยนระบบการปรับคุณภาพน้ํามาใชในระบบ AVT
2. Combine Water Treatment (CWT) หลังจากการใชระบบปรับคุณภาพน้ําในระบบ AVT กอน
หนานี้ในชวง Startup boiler จนกระทั่ง Feed Water มีคุณภาพน้ําไดตามมาตรฐานขอกําหนด การปรับคุณภาพ
น้ําจะถูกเปลี่ยนมาใชในระบบ CWT แทนเพื่อปองกันการกรอนภายในอุปกรณและสนิมภายในทอระหวางที่
เดินเครื่องตามปกติ ในระบบนี้จะเติมสารเคมี Ammonia เพื่อรักษาคา PH ของน้ําไวที่ 8.5 และฉีด Oxegen
เพื่อรักษา Dissolved Oxegen ที่ 50 ถึง 200 PPb ในสภาพการณนี้ Magnetite ที่ไดเคลือบผิวของทอกอนหนานี้
แลวจากการใชระบบ AVT และเมื่อเปลี่ยนมาใชในระบบ CWT การฉีด Oxegen ทําใหเกิด Dissolved Oxegen
มากกวา จึงเปลี่ยนรูปแบบการเคลือบผิวทอจาก Magnetite มาเปน Hematite (Fe2 O3) เพื่อปองกันการกันกรอน
และสนิมภายในทอซึ่งทําใหการเคลือบผิวทอในระบบนี้เรียบขึ้นและอัตราการเพิ่มความหนาของผิวทอนอยกวา
การเคลือบผิวทอในระบบ AVT ถึง 10 เทา ดังนั้นแรงดันที่สูญเสียในทอมีอัตราเพิ่มขึ้นชาลงและผลที่ตามมา
จะชวยยืดระยะเวลาที่จะทํา Chemical cleaning ใหออกไปจากเดิมนานขึ้น
1.1.2 ระบบควบคุมการทํางานของเครื่อง การควบคุมเครื่องที่สําคัญหลัก ๆ ที่ผานขบวนการ Clean Up, Light
Off, Steam Admission to Turbine, Initial Synchronize มาแลว ขบวนการควบคุมหลักขณะเพิ่มหรือลดโหลด
(Load) มีระบบการควบคุม 2 โหมด (Mode) ดังนี้
1. Wet Mode คือระบบการควบคุมกรณีปรับเพิ่มหรือลดโหลดไมเกิน 25 % Economic Continuous
Rating ( ECR) ซึ่งการควบคุมในโหมดนี้มีวิธีคลายกับ Drum Type Boiler กลาวคือเมื่อโหลดต่ํากวา 25 % ECR

2.2.1 - 6
ระบบน้ําจาก Feed Water จะถูกปอน (Feed) เขา Water Wall Tue 25% ECR ตลอดเวลา จากนั้นไอน้ําที่ไมอิ่ม
ตัวใน Water Wall Tube แสดงดังรูปที่ 1 – 6 จะไหลไปยัง Water Seperator Drain Tank ( WSDT ) เปรียบ
เสมือน Drum Firing Rate ที่เพิ่มหรือลดเพื่อรักษาแรงดันไอน้ําใหได 108 bar ในขณะที่โหลดเขาใกล 25%
ECR วาลวควบคุม Turbine Bypass Valve เริ่มปดจนสุดจากนั้น Main Steam Pressure Control Valve จะถูก
ควบคุมดวย Water / Fuel Flow Ratio (EFR) ซึ่งจะปรับเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับ Feed Water เพื่อควบคุม Main
Steam Pressure รักษาใหคงไวที่ 108 bar

รูปที่ 1 – 6 ระบบการทํางาน Wet Mode

2.2.1 - 7
2. Dry Mode คือระบบการควบคุมกรณีปรับเพิ่มหรือลดโหลดที่เกินกวา 25% ECR นั่นหมายถึง
ระบบการควบคุมจะถูกเปลี่ยนจาก Wet Mode เขาสู Dry Mode เมื่อโหลดเกินกวา 25% ECR ซึ่งเปนการ
ควบคุมการทํางานเปนแบบ Once Through Boiler หรือที่เราเรียกวา Supercritical Pressure Boiler แสดงดังรูป
ที่ 1 – 7 เมื่อเขาสู Dry Mode ระดับน้ําใน WSDT ลดลงจนแหงหมด Boiler Recirculating Valve จะถูกปด
จนสุดและ Boiler Circulating Pump จะหยุดทํางาน ระบบไอน้ําจะกลายเปนไอแหงหมดเปนการทํางานแบบ
Once Through Boiler ซึ่งจะเปลี่ยนการควบคุมจาก Pressure control (108 bar) เปน Water Wall Outlet
Temperature Control และในที่สุดเมื่อเพิ่มโหลดใหสูงขึ้น Steam Pressure และ Temperature ถูกควบคุม
ดวย Coordinated Control Mode ดวย Megawatt Demand

รูปที่ 1 – 7 ระบบการทํางาน Dry Mode

2.2.1 - 8
1.2 ขอมูลทางเทคนิค ( Technical Data )
Type of Boiler Mitsubishi Supercritical
Sliding Pressure Operation
Once – Through Boiler (Mo-SSRR)
Quantity 1 Boiler
OIL/GAS
Steam Pressure
Design 279 barg
Superheater Outlet 261.0 barg
Design 67 barg
Reheater Inlet 52.7/52.8 barg
Reheater Outlet 50.7/50.8 barg
Steam Temperature
Design 548 °C
Superheater Outlet 540 °C
Design 582 °C
Reheater Outlet 568 °C
Feed Water Temperature
Economizer Inlet 294.2 °C
Air Temperature
Ambient Air Temperature 27.5 °C
Steam Flow
Superheater outlet 2,530,000 kg/H
Reheater Inlet 1,998,600/2,004,390 kg/H

2.2.1 - 9
Firing System Natural Gas and Heavy Oil
Firing and Natural
Gas / Heavy Oil Mixed Firing
Drafting System Balanced
Steam Temperature Control Method
Superheater 2 Stage Desuperheater
Reheater Gas Recirculation
Desuperheater
Steam Temperature Control Range
Superheater 25% ECR ~ B-MCR
Reheater 35% ECR ~ B-MCR

1.3 สวนประกอบหลักของหมอไอน้ํา (Boiler Major Component) จากหลักการทํางานของ Once Through


Boiler ที่กลาวมาแลว มีสวนประกอบหรืออุปกรณหลัก ๆ ของหมอไอน้ําตามรูปที่ 1 – 8 ดังตอไปนี้

รูปที่ 1 – 8 Boiler Major Component

2.2.1 - 10
1.3.1 Boiler เปนแบบชนิด Once Through Boiler สามารถผลิต Dry Steam ผานเขาสู Steam Turbine ได
โดยตรงซึ่งไมจําเปนตองมี High Pressure Drum เตาเผา (Furnace) ถูกออกแบบใหรักษาแรงดันในเตาต่ํากวา
บรรยากาศเล็กนอยมีคา – 10 mm Aq ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลักและน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงสํารอง
1.3.2 Force Draft Fan ( FDF) เปนพัดลมดูดอากาศเขาไปยังเตาโดยผานเครื่องอุนอากาศ (Air Heater) เพื่อ
ใชในขบวนการเผาไหมและทําหนาที่ cooling ใหกับอุปกรณ Burner
1.3.3 Induce Draft Fan ( IDF ) เปนพัดลมระบายแกสที่เผาไหม (Flue Gas) แลวออกสูบรรยากาศทาง
ปลองควัน (Exhaust Stack) กรณีที่ใชน้ําเตาเปนเชื้อเพลิง Flue Gas จะถูกสงขจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด
(SO2) ดวยอุปกรณระบบ Flue Gas Desulfurize : FGD กอนที่จะปลอยออกสูบรรยากาศที่ปลองควัน
1.3.4 Gas Recirculation Fan (GRF) เปนพัดลมที่ดูด Flue Gas จากเตาเผาสวนหนึ่งไปผสมกับอากาศจาก
FDF เพื่อคุมควบ Reheat Temperature
1.3.5 Air Heater คืออุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน (Heat Exchanger) ทําหนาที่อุนอากาศจาก FDF ใหมี
อุณหภูมิสูงขึ้นกอนที่จะนําเอาอากาศนั้นเขาใชงานในระบบการเผาไหม และระบายความรอนใหกับอุปกรณใน
Boiler ซึ่งการอุนอากาศดังกลาวทําไดโดยใช Exhaust Gas จาก Boiler ถายเทความรอนใหกับอากาศ
1.3.6 Burner คือ อุปกรณระบบ Combustion ทําใหเกิดการเผาไหมในเตาซึ่งถูกออกแบบใหใชกับเชื้อเพลิง 2
ชนิด Gas และ Oil มีทั้งหมด 7 ชั้น ชั้นที่ 1 เฉพาะเชื้อเพลิง Gas ชั้นที่ 7 เฉพาะเชื้อเพลิง Oil ชั้นที่ 2 ถึง 6 ใช
ไดทั้ง Gas และ Oil
1.3.7 Water Wall Tube คืออุปกรณชุดแผงทอความรอนที่ติดตั้งอยูในเตาเผา (Furnance) ของ Boiler ทํา
หนาที่นําความรอนจากเตาเผาและถายเทความรอนใหกับน้ําใน Wall Tube ดวยระบบ Supercritical Pressure
Boiler ทําใหน้ํากลายเปนไอทั้งหมดไหลผานไปยังแผงทอ Superheater ทําใหเปนไอแหงตอไป
1.3.8 Soot Blower เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ขจัดขี้เถาที่สะสมใหหลุดออกจากพื้นผิวที่รับความรอนของ Boiler
Tube ซึ่งเปนการทําความสะอาดใหกับอุปกรณ Boiler เพื่อใหเกิดการนําความรอนไดดีตลอดเวลา
1.3.9 แผงทอรับความรอน (Economizer) ติดตั้งบริเวณที่ Flue Gas จะไหลออกสู Exhaust Stact ทําหนาที่
เพิ่มความรอนใหกับ Feed Water กอนที่จะสงไปยัง Wall Tube ในเตา
1.3.10 อุปกรณแยกน้ําออกจากไอน้ํา (Water Seperator) ทําหนาที่แยกน้ําออกจากไอน้ํา โดยที่ไอน้ําจะไหล
เขาสูแผงทอไอดง (Superheat) น้ํารอนที่ยังไมกลายเปนไอจะเขาไปรวมที่ Water Seperator Drain Tank ซึ่งมี
Boiler Circulating Pump ดูดน้ํากลับเขาไปยังทอ Economizer 1.3.11 แผงทอไอดง (Superheater) ชุดแผง
ทอถูกติดตั้งใหปะทะกาซรอนมากที่สุดรับ Dry Steam ทําใหเปน Dry Steam มากยิ่งขึ้นซึ่งเรียกวา Super
Cirtical Pressure สงจายไปขับ High Pressure Turbine ทําใหกังหันไอน้ําหมุน
1.3.12 แผงทอทวีความรอน (Reheater) เปนชุดแผงทอที่รับ Exhaust Steam จาก HP – Turbine เพิ่มความรอน
ใหกับ Dry Steam ใหสูงขึ้นจากนั้นสงจายไปขับ Intermediate Pressure Turbine ทําใหชวยเสริมใหกังหันไอ
น้ําหมุน และ Exhaust Steam จาก IP – Turbine จะไหลเขาสู Low Pressure Turbine เปนการเสริมใหกังหัน

2.2.1 - 11
ไอน้ําหมุน จากนั้น Exhaust Steam จาก LP – Turbine ไหลลงสู condenser ถูกควบแนนใหกลายเปนน้ํา
บริสุทธิ์

2. เครื่องกังหันไอน้ํา (Steam Turbine)


เครื่องกังหันไอน้ําคือเครื่องจักรกล (Mechanical Machine) ทําหนาที่ใหพลังงานกล (Mechanical
Energy) ในรูปของแรงบิด (Torque) โดยไดรับพลังงานความรอน (Heat Energy) จากไอน้ําซึ่งผลิตมาจากหมอ
ไอน้ําพลังงานดังกลาวเปลี่ยนรูปถึงสองครั้งคือพลังงานความรอนจากไอน้ําเปลี่ยนเปนพลังงานจลน (Kinetic
Energy) ซึ่งมีความเร็วสูง และพลังงานจากไอน้ําที่มีความเร็วสูงนี้จะไหลเขาสูเครื่องกังหันไอน้ําทําใหกังหันไอ
น้ําหมุนเปลี่ยนเปนรูปพลังงานกล ซึ่งจะเปนตัวตนกําลัง (Primover) ไปขับหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟาตอไป
2.1 หลักการทํางานของเครื่องกังหันไอน้ํา (Principle of Steam Turbine) เครื่องกังหันไอน้ําประกอบดวย 2
สวนใหญ ๆ คือ ตัวถังและใบพัดอยูกับที่ (Casing and Stationary Blade) ซึ่งเปนสวนแรก อีกสวนหนึ่งคือ
เพลาหมุนและใบพัดเคลื่อนที่ (Rotor and Moving Brade) ติดตั้งอยูในตัวถังโดยมีแบริ่ง (Bearing) เปนตัวรอง
รับเพลาหมุนนี้ ดังแสดงในรูปที่ 2 - 1

รูปที่ 2 – 1 เครื่องกังหันไอน้ําและหลักการทํางาน

จากรูป 2 – 1 มีชุดกังหันไอน้ํา 3 ชุด หรือ 3 Stage คือ HP – Turbine , IP – Turbine และ LP –Turbine
เมื่อไอน้ําที่มีอุณหภูมิและแรงดันสูงไหลผานวาลวควบคุม (Governor Valve) เขาสูเครื่องกังหันไอน้ํา ความดัน
ของไอน้ําจะลดลงและไอน้ําเกิดการขยายตัวทําใหปริมาตรเพิ่มขึ้นดวยเหตุนี้จึงทําใหความเร็วในการไหลของไอ
น้ําสูงขึ้นจะไหลไปปะทะกับใบพัดเคลื่อนที่เกิดแรงผลักดันทําใหเพลาของเครื่องกังหันไอน้ําหมุน เนื่องจากชุด
ของใบพัดเครื่องกังหันมีหลายชุดบนเพลาเดียวกันดังนั้นไอน้ําจะไหลตอไปยังใบพัดที่อยูกับที่ที่ติดตั้งในตัวถัง

2.2.1 - 12
และไหลกลับไปปะทะชุดใบพัดเคลื่อนที่ในชุดถัดไปซึ่งทําเชนนี้จนถึงชุดสุดทาย จนกระทั่งอุณหภูมิและความ
ดันไอน้ําลดลงไอน้ําจะไหลออกจากเครื่องกังหันไอน้ําเขาสูเครื่องควบแนนตอไป

2.2 ขอมูลทางเทคนิค (Technical Data)

Type …………… Tandem Compound Quadruple Exhaust Condensing Reheat Turbine


CAPABILITY ( at generator terminal) ……………………………………………..735,000 KW
SPEED ………………………………………………………………………………… 3,000 rpm
ROTATING DIRECTION (view from governor end) ………………………... CLOCKWISE
DESIGN CONDITION
Main Steam Pressure …………………………………………………………241 barg
Main Steam Temperature ……………………………………………………….538 °C
Reheat Steam Temperature ……………………………………………………566 °C
Exhaust Pressure ……………………………………………. 685mmHg vac.(LP-1)
700mmHg vac. (LP-2)

NUMBER OF EXTRACTION …………………………………………………………………. 8

BLADING
H.P. Turbine …………………………... 1 – Reteau stage
11-Pairs of Row of Reaction Blading
I.P.Turbine ………………………….…. 9-Pairs of Row of Reaction Blading
L.P.Turbine ……………………………. 7-Pairs of Rows in Each End of Each Turbine

Labyrinth type steam gland

2.2.1 - 13
2.3 สวนประกอบหลักของเครื่องกังหันไอน้ํา (Steam Turbine Major Component) เครื่องกังหันไอน้ํามี 2
แบบ คือ แบบ Impulse Turbine ใชแรงผลักของไอน้ํากระทบกับ Turbine blade ทําใหเครื่องกังหันไอน้ําหมุน
ไปตามทิศทางแนวแรงของไอน้ํา สวนอีกแบบคือ Reaction Turbine ใชหลักการกฎขอสามของนิวตัน “ เมื่อมี
แรงกริยา (Action) กระทบตอสิ่งใด ๆ จะมีแรงปฏิกริยา (Reaction) ขนาดเทากันเกิดขึ้นในทิศตรงขามกังหันไอ
น้ําทั้ง 2 แบบ โรงไฟฟาราชบุรีไดนํามาใชงานในรูปแบบที่เรียกวา Turbine แบบผสมแสดงดังรูป 2 – 2 ซึ่งนิยม
ใช Stage ที่ 1 เปนแบบ Impulse และ ใน Stage หลัง ๆ ใชเปนแบบ Reaction สวนประกอบหลักของเครื่อง
กังหันไอน้ําที่สําคัญ ๆ มีดังนี้

รูปที่ 2 – 2 เครื่องกังหันไอน้ําแบบผสม Impulse / Reaction Turbine

2.2.1 - 14
2.3.1 Rotor เปนชิ้นสวนที่เคลื่อนที่โดยจะหมุนรอบตัวเองอยูภายใน Casing และมีใบ Blade ติดยึดที่ Rotor
เคลื่อนที่ไปพรอมกัน Rotor แบงออกเปน 3 สวน คือ HP – Rotor, IP – Rotor และ LP – Rotor ซึ่งมีจํานวน 2
ตัว HP และ IP – Rotor ผลิตจากกรรมวิธี Forging จากวัสดุ Solid Alloy Steel A 470 Class 8 สามารถทน
Creep Rupture สวน LP – Rotor ผลิตกรรมวิธีเดียวกันใชวัสดุ Solid Alloy Steel A 470 Class 7
2.3.2 Blade ดังที่กลาวมาแลว เทอรไบนเปนแบบผสมคือ Impulse – Reaction Turbine ซึ่งใน Blade จะยึดติด
กับ Rotor ทําหนาที่เปนตัวรับการวิ่งชนของไอน้ําที่มีแรงดันและความเร็วสูงทําใหเกิดแรงผลักดันที่ Blade และ
Rotor หมุนเคลื่อนที่นั่นก็คือ Blade จะเปลี่ยนพลังงานจลนจากไอน้ําไปเปนรูปพลังงานกลหมุน Rotor นั่นเอง
ลักษณะ Blade และอุปกรณสวนประกอบของ Blade มีดังนี้
1. ลักษณะของ Blade ดานที่ไอน้ําวิ่งเขาชนเรียกวา Leading Edge สวนดานที่ไอน้ําวิ่งออกเรียกวา
Tailing Edge แสดงดังรูปที่ 2 - 3

รูปที่ 2 – 3 ลักษณะของ Blade แบบ Impulse / Reaction

2. Root คือสวนที่ทําหนาที่ยึด Blade ใหติดกับ Rotor โดยสอดอยูในรองของ Rotor ซึ่งออกแบบให


มีลักษณะการใชงาน 2 แบบ คือแบบ T – Slot Root มีรูปรางคลายตัว T เหมาะสําหรับ Blade ที่มีขนาดเล็ก
เชน Blade ของ HP – Turbine อีกแบบคือ Dovetail Root แบบนี้รับแรงไดมากกวา T – Slot ใชกับ Blade ที่
มีขนาดใหญ เชน Blade ของ LP – Turbine แสดงดังรูปที่ 2 – 4 และ รูปที่ 2 - 5

2.2.1 - 15
รูปที่ 2 – 4 แสดงลักษณะ Root

3. Caulking Piece ทําหนาที่อัด Root ของ Blade ใหติดแนนกับรองของ Rotor ดัง


รูปที่ 2 - 5

รูปที่ 2 – 5 Blade และสวนประกอบของ Blade

4. Shroud คืออุปกรณที่ทําหนาที่ยึดปลายใน Blade เขาดวยกันเปนกลุม ๆ เพื่อลดการสั่น (Vibration)


ของ Blade และปองกันไอน้ํารั่วผานระหวาง Blade แตละแถวแสดงดังรูปที่ 2 - 5
5. Tenon คือสวนที่ทําหนาที่ยึด Shroud เขากับ Blade โดยการย้ําหัวคลายกับ Revet ดังรูปที่ 2 - 5
6. Lashing Wire คือสวนที่ทําหนาที่ยึด Blade เขาดวยกันโดยจะใชกับ Blade ที่ยาวมาก ๆ เชน LP
– Turbine เพื่อปองกันการสั่นสะเทือน

2.2.1 - 16
2.3.3 Nozzle เปนชิ้นสวนที่ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานของไอน้ํา ในรูปขอความดัน (Pressure Energy) เปน
ความเร็วหรือที่เรียกวาพลังงานจลน Nozzle ที่ใชกับเครื่องกังหันไอน้ําเปนการจัดรูป Blade เขาดวยกันโดยให
มีชองวางระหวาง Blade มีลักษณะคลายหัวฉีด (Nozzle Profile) ในเครื่องกังหันไอน้ําแบงหัวฉีดออกเปน 2
ประเภท ดังนี้
1. First Stage Nozzle หรือเรียกวา Nozzle Block เปนหัวฉีดแถวแรกที่ไอน้ําเขาและวิ่งชน Rotating
Blade แถวแรกของกังหันประกอบขึ้นดวยกลุมของ Blade เรียกวา Nozzle Group และจะรวม Nozzle Group
เขาดวยกันอีกที่หนึ่งเรียกวา Nozzle Block ซึ่งจะแบงออกเปน 2 สวนคือ สวนบนจะติดอยูกับ Upper Casing
และสวนลางจะติดอยูกับ Lower Casing แสดงดังรูป 2 - 6

รูปที่ 2 – 6 Nozzle Block

2. Interstage Nozzle เปนชุดของ Blade ที่อยูกับที่ (Stationary Blade) ทําหนาที่จัดรวมทิศทางของ


ไอน้ําหลังจากผาน Rotating Blade มาแลวใหมีระเบียบและมีความเร็วเพิ่มขึ้นเพื่อวิ่งเขาชน Rotating Blade
ในแถวตอไป เชนเดียวกัน Interstage Nozzle จะแบงออกเปน 2 สวน คือ สวนบน (Upper Half) และสวนลาง
(Lower Half)
2.3.4 Diaphragm and Blade Ring เปนที่ยึดตัวของ Stationary Blade โดยที่ Diaphragm ประกอบดวยชุด
Stationary เพียงแถวเดียว สวน Blade Ring จะประกอบดวยชุด Stationary มากกวา 1 ชุดขึ้นไป Blade Ring
นอกจากทําหนาที่เปนตัวยึดแลวยังทําหนาที่เปน Casing ตัวในสุดอีกดวย แสดงดังรูปที่ 2 – 7

2.2.1 - 17
รูปที่ 2 – 7 Diaphragm and Blade Ring

2.3.5 Labyrinth Seal เนื่องจากเกิดการสูญเสีย (Loss) ของไอน้ําระหวางชุด Rotating Part กับ Stationary
Part เพราะไอน้ําบางสวนเกิดการรั่วไหลไมผาน Nozzle และ Blade ทําใหประสิทธิภาพของเครื่องกังหันลด
ลง จึงออกแบบใหไอน้ําสูญเสียนอยที่สุดโดยลดชองวางนั้นดวย Seal Strip ซึ่งจะวางกั้นเปนชวงทําใหความ
ดันลดลงเปนผลทําใหเกิดการสูญเสียของไอน้ําลดลงชุด Seal Strip ดังกลาวเรียกวา Labyrinth Seal แสดงดัง
รูปที่ 2 – 8

รูปที่ 2 – 8 Seal Strip / Labyrinth Seal

2.2.1 - 18
2.3.6 Gland Seal คืออุปกรณที่ทําหนาที่ Seal ที่คอเพลาของ Turbine Rotor ตรงจุดที่ยื่นตัวออกจาก Casing
เพื่อกันไมใหไอน้ําภายใน Turbine รั่วออกมาภายนอกและขณะเดียวกันจะกันอากาศจากภายนอกรั่วเขาภายใน
Turbine แสดงดังรูปที่ 2 - 9

รูปที่ 2 – 9 ตําแหนง Gland Seal ที่ Turbine Rotor

2.3.7 Casing หรือ Shell คือเปลือกนอกสุดของกังหันไอน้ําซึ่งมี Rotor และ Blade Ring อยูภายในแบงออก
เปน 2 แบบ คือ Single Casing มีเพียงชั้นเดียวใชกับเครื่องกังหันขนาดเล็ก สวนอีกแบบคือ Double Casing
จะมี 2 ชั้นคือ ชั้นใน (Inner Casing ) และชั้นนอก (Outer Casing) การออกแบบ Casing เปน 2 ชั้นชวยลด
ความเคน (Stress) ภายใน Casing และเหมาะใชกับเครื่องกังหันไอน้ําที่มีกําลังผลิตสูงดังแสดงในรูปที่ 2 – 10

รูปที่ 2 – 10 Single Casing and Double Casing

2.2.1 - 19
2.3.8 Steam chest คือ สวนที่ทําหนาที่รวมของไอน้ําจาก Superheater เขาสู Turbine ซึ่งแบงออกเปน 2
ประเภทคือแบบ Integral Type จะหลอติดกับ Casing แบบนี้จะมีขอเสียในชวง Startup การขยายตัวเนื่องจาก
ความรอนไมเทากันระหวาง Turbine Casing กับ Steam Chest และอาจทําใหเกิดการ Crack สวนอีกแบบคือ
Separate Type โดยจะแยกออกจาก Casing มีทอลักษณะตัวยูซึ่งถูกออกแบบใหเกิดการขยายตัวไดอยางอิสระ
โดยที่ไมเกิดความเคน ดังรูปที่ 2 - 11

รูปที่ 2 – 11 Steam Chest

2.3.9 Stub Shaft เปนเพลาที่ตอเขากับ HP – Rotor ทําหนาที่ขับหมุนอุปกรณที่ทํางานสัมพันธกับความเร็ว


รอบของ Turbine ดังนี้
1. Governor Impeller
2. Main Oil Pump Impeller
3. Mechanic Overspeed Trip Weight
2.3.10 Coupling เปนอุปกรณที่ทําหนาที่เปนตัวสงผานกําลงขับที่อยูในรูปของแรงบิดจากอุปกรณตนกําลังใน
ที่นี้ก็คือ Turbine ไปขับหรือหมุน Generator เพื่อผลิตกระแสไฟฟาตอไป
2.3.11 Turning Gear คืออุปกรณสําหรับหมุนพลิก Turbine Rotor ซึ่งทํางานในชวงตาง ๆ ดังนี้
1. หมุนพลิก Turbine Rotor ในชวงกอนการเดินเครื่องทุกครั้งเพื่อลดแรงเฉื่อย (Inertia) ของ Rotor
ใหนอยลง
2. หมุนพลิก Turbine Rotor หลังจากการหยุดเครื่องเพื่อปองกันการโกงตัว (Bow) ของ Rotor ที่เกิด
จากการตกทองชาง (Sag) อันเนื่องมากจากน้ําหนักของ Rotor ซึ่งจะมีผลทําใหเกิดการสั่นและเกิดการเสียหาย
ขึ้นไดในระหวางการเดินเครื่อง
3. หมุนพลิก Turbine Rotor ในระหวางตรวจซอมบํารุงรักษา จากการทํางานที่กลาวมาแลว Turning
Gear จะขับหมุน Turbine Rotor ที่ความเร็วรอบประมาณ 3 รอบตอนาที แสดงดังรูปที่ 2 - 12

2.2.1 - 20
รูปที่ 2 – 12 Turbine Turning Gear

2.3.12 Bearing ที่ใชกับเครื่องกังหันไอน้ําจะเปนแบบ Slider Type Bearing ซึ่งเปนแบบลื่นไถลที่ผิวของสิ่ง


หนึ่งอยูบนผิวของอีกสิ่งหนึ่งนั่นคืออาศัยการลื่นไถลของเพลาบนผิวหนาของ Bearing ซึ่งแบงออกเปน 2
ประเภทใหญ ๆ คือ
1. Journal Bearing หรือ Sleeve Bearing คือ Bearing ที่ใชรองรับน้ําหนักของเพลาทั้งหมด แรง
จะเกิดขึ้นในแนวรัศมี (Redial Direction) และรักษาคา Clearance ในแนวรัศมีระหวางชิ้นสวนที่เคลื่อนที่กับขึ้น
สวนที่อยูกับที่ของ Turbine และ Generator อีกดวย แสดงดังรูปที่ 2 – 13 โดยปกติเพลาหรือ Turbine Rotor จะ
ถูกรองรับดวย Bearing 2 ตัวสวนของเพลาที่นั่งบน Bearing เรียกวา Journal สวนของ Bearing ที่รองรับเพลา
หนาของ Bearing ทํามาจาก Babbitt ซึ่งเปนโลหะผสมทําดวย ดีบุก พลวง ทองแดง และตะกั่ว มีความแข็งที่
หนาผิว (Hardness) ต่ําแตไมยอมใหน้ํามันซึมผานเขาไปได ดังนั้นการสึกหรอ (Wear) จะเกิดขึ้นที่หนา
Babbitt เมื่อเกิดการเสียดสีทําใหเพลาไมไดรับความเสียหาย

2.2.1 - 21
รูปที่ 2 – 13 Journal Bearing

2. Thrust bearing ทําหนาที่กําหนดตําแหนงและจํากัดการเคลื่อนที่ในแนวแกนของเพลาเพื่อรักษา


Clearance ในแนวแกนระหวางชิ้นสวนที่เคลื่อนที่กับชิ้นสวนที่อยูกับที่ของ Turbine และ Generator และยัง
ทําหนาที่รับแรงรุน (Thrust Force) ที่เกิดจากการหมุนของเพลาซึ่งเกิดขึ้นในแนวแกน (Axial Direction) ดัง
รูปที่ 2 – 14 โดยปกติจะใช Thrust Bearing 1 ตัว ตอเขากับ Flexible Coupling

รูปที่ 2 – 14 Thrust Bearing

2.2.1 - 22
2.3.13 Steam Valve คืออุปกรณที่ทําหนาที่ปดเปดหรือควบคุมปริมาณไอน้ําที่ไหลเขา Turbine เพื่อควบคุม
ความเร็วรอบ (Speed) ของ Turbine ในชวง Steam Admission to Turbine และควบคุมในการเพิ่มหรือลดโหลด
เพื่อรักษาความเร็วรอบของ Turbine และ Generator ใหมีความเร็วรอบคงที่ที่ 3,000 รอบตอนาที ซึ่งประกอบ
ดวย Valve ตาง ๆ ดังนี้
1. Throttle Valve หรือ Stop Valve คือวาลวที่ติดตั้งอยูที่ Main Steam Line ทําหนาที่เปดสุดเพื่อให
ไอน้ําไหลเขาสู HP – Turbine หรือปดสุดไมยอมใหไอน้ําผานเขาไป เมื่อหยุดเครื่อง และในกรณีที่เกิดเหตุฉุก
เฉิน Stop Valve จะปดอยางรวดเร็ว เปนการปองกันไมใหไอน้ําไหลเขาไปใน Turbine และ Turbine Trip ทัน
ที
2. Control Valve หรือ Governor Valve ติดตั้งอยูที่ Main Steam ถัดจาก Stop Valve ทําหนาที่
ควบคุมปริมาณไอน้ําที่ไหลเขา HP – Turbine เพื่อควบคุมความเร็วรอบของ Turbine ใหมีความเร็วรอบคงที่ที่
3,000 รอบตอนาที หรือควบคุมกําลังผลิตตามที่ตองการ
3. Reheat Stop Valve คือ วาลวติดตั้งอยูที่ Hot Reheat Line ทําหนาที่เชนเดียวกับ Main Steam
Stop Valve เพื่อเปดใหไอน้ําไหลเขา IP – Turbine หรือปดไมใหไอน้ําไหลผานเขาไปเมื่อหยุดเครื่อง
4. Intercepter Valve คือวาลวที่ทําหนาที่เปน Control Valve ควบคุมปริมาณไอน้ําที่ไหลเขาสู IP –
Turbine ติดตั้งอยูที่ Hot Reheat Line ถัดจาก Reheat Stop Valve ทําหนาที่เชนเดียวกับ Main Steam Control
Valve
2.3.14 Breakable Diaphragm เปนอุปกรณที่ติดตั้งอยูที่ LP – Turbine Exhaust Cylinder Cover ทําหนาที่
เพื่อปลดปลอยความดันภายโดยทันที เมื่อความดันภายในเพิ่มขึ้นมากกวาที่ออกแบบไว ความดันที่เพิ่มขึ้นจะทํา
ใหเกิด Back Pressure ซึ่งจะสงผลตอการหมุนของ LP – Blade Stage ทาย ๆ และอาจทําใหเกิดการเสียหายกับ
LP – Outer Casing ได Breakable Diaphragm ทํามาจากดีบุกซึ่งคํานวณความหนาที่เหมาะสมกับความดันที่
ตองการคือประมาณที่ 0.36 kg/cm2 ซึ่งโดยปกติแลว Turbine จะมีระบบปองปญหานี้อยูแลว คือ Low Vacuum
Trip และคานี้จะถูกตั้งไวประมาณ – 0.7 kg/cm2
2.3.15 Turbine Lube Oil System ดังทีไดกลาวแลว Turbine และ Generator ประกอบดวยชิ้นสวนที่เคลื่อน
ที่และชิ้นสวนที่อยูกับที่และชิ้นสวนที่เคลื่อนที่จะหมุนดวยความเร็วสูงและเกิดการเสียดสีมีความรอนเกิดขึ้น
เพื่อปองกันปญหาดังกลาวจึงจําเปนตองมีระบบน้ํามันหลอลื่น เพื่อปองกันการเสียดสีและระบายความรอนจาก
อุปกรณ Bearing ของ Turbine และ Generator ดังรูปที่ 2 – 15 ซึ่งประกอบไปดวยอุปกรณตาง ๆ ในระบบน้ํา
มันหลอลื่นดังนี้

2.2.1 - 23
รูปที่ 2 – 15 Turbine Lube Oil System

2.2.1 - 24
1. Lube Oil Reservoir คือถังเก็บน้ํามันหลอลื่นขนาดใหญสําหรับจะจายน้ํามันหลอลื่นเขาสูระบบ
อุปกรณ Turbine และไหลหมุนเวียนลงกลับ Reservoir
2. Auxiliary Oil Pump คืออุปกรณที่จายน้ํามันหลอลื่นใหกับระบบ Turbine ในชวงเริ่ม Startup
ซึ่งจะจายน้ํามันไปยังสวนตาง ๆ คือ ระบบน้ํามันหลอลื่นที่ Bearing ระบบน้ํามันควบคุม (Control Oil) ระบบ
Turning Device และระบบ Seal Oil System เปนตน เมื่อเครื่อง Turbine ทํางานที่ Rated Speed (3,000 rpm)
Ac Auxiliary Oil Pump จะหยุดทํางานและจะทํางานอีกครั้งเมื่อ Shutdown เครื่อง
3. Main Oil Pump คืออุปกรณที่จายน้ํามันหลอลื่นใหกับระบบ Turbine เชนเดียวกันแตจะทํางานใน
ชวงที่เครื่องเดินถึง Rated Speed และหยุดทํางานเมื่อเครื่อง Shutdown
4. Turning Oil Pump จะจายน้ํามันหลอลื่นใหกับ Turbine และ Generator Bearing เฉพาะในชวง
Turning Speed ( 3 rpm) เทานั้นเพื่อเปนการประหยัดพลังงาน
5. Emergency Oil Pump เปนอุปกรณที่จายน้ํามันหลอลื่นใหกับ Turbine และ Generator Bearing
ในชวงที่เกิด Low Lube Oil Trip เพื่อปองกันไมให Bearing เกิดการเสียหายเนื่องจากเสียดสี
6. Jacking Oil Pump ทําหนาที่จายน้ํามันหลอลื่นแรงดันสูงแก Turbine และ Generator เพื่อยก
Rotor ใหลอยตัวในชวง Startup Turbine เทานั้น
7. Vapor Extractor คืออุปกรณที่ทําหนาที่ปองกันไมใหน้ํามันรั่วที่ Shaft Seal ที่ bearing Housing
เพราะ Vapor Extractor ชวยปรับสภาพภายใน Oil Reservoir ใหเปนสูญญากาศ นอกจากนี้ยังเปนตัวแยก
กาซที่อาจกอใหเกิดการลุกไหมตลอดทั้งไอน้ํามัน และอากาศออกจากระบบน้ํามันหลอลื่นเพื่อระบายออกสู
บรรยากาศภายนอก

3. เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator)
สิ่งสําคัญคือการออกแบบระบบระบายความรอน (Cooling System) สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟาซึ่งแบง
ออกไดหลายแบบคือเครื่องกําเนิดไฟฟาสมัยอดีตใชอากาศเปน Cooling Medium ใหกําลังผลิตต่ํานอยกวา 100
MW ตอมาเพื่อที่จะลดเสียง, Windage Lost และฝุนละอองที่เขาสูภายในเครื่องกําเนิดจึงใช H2 เปน Cooling
Medium วิวัฒนาการตอมาไดพัฒนาการ Cooling โดยการเจาะรูที่แกนเหล็กของ Rotor และ Stator โดยใช H2
– High Speed ผานเพื่อนําความรอนออกมาโดยเร็ว เรียกวา Hydrogen Inner Cooled Turbine Generator
สามารถใหกําลังผลิตไดถึง 100 – 600 MW และวิวัฒนาการปจจุบันไดมีการพัฒนาโดยการใชน้ํา Cooling ใน
Stator Coil เพื่อเพิ่มขนาดกําลังผลิตของเครื่องกําเนิดไฟฟาไดสูงถึง 1,000 MW ดังตารางคุณสมบัติเปรียบ
เทียบคาตาง ๆ ของ Air, H2 และ Water

2.2.1 - 25
Properties Air Hydrogen Water
Density 1.00 0.07 860
Thermal Conductivity 1.00 7.00 23
Heat transfer coefficient from
Surface to gas 1.00 1.35 514
Specific heat 1.00 0.98 3575
Support of Combustion Yes No No
Oxidizing agen Yes No No

H2 & He เปน Gas ที่เบากวาอากาศมาก ใน Ideal Case ของ Gas ที่จะใชเปน Meduim ของการ
Internal Ventilation กาซ He เปน Gas เฉื่อยและไมติดไฟ แตยากที่จะหา Gas He ที่มีปริมาณมาก ๆ โดย
เฉพาะอยางยิ่งราคาแพงมากเมื่อเปรียบเทียบกับ H2 ในปจจุบัน H2 เปน Cooling Medium ที่ดีที่สุดที่ทําได ใน
ขณะนี้สําหรับ Rotating Machine
ความปลอดภัยที่ควรระวังในการใช H2 Cool ปริมาณไฮโดรเจน 5 – 70% By Volume ถารวมตัวกับ
อากาศสามารถระเบิดได ดังนั้น ถาเราปองกันไมใหเกิดการระเบิดขึ้น ใน Normal Operation แลวยังจําเปนตอง
ปองกัน Unforeseen Condition ถาเกิดระเบิดขึ้นมา Frame ของ Stator ตอง Designed For Explosion Proof
Explosion Proof คืออะไร เมื่อเกิดการระเบิดขึ้นภายใน construction Material จะไมทําใหสิ่งรอบขาง
เสียหาย
ความรุนแรงของการระเบิดขึ้นอยูกับสวนผสมระหวาง Air กับ H2 เปรียบเทียบอยางคราว ๆ คลายกับ
Sine Curve สวนผสมระหวาง Air + H2 โดยปริมาตร โดยเริ่มตนที่ 5% (ปริมาตร) 70% และรุนแรงที่สุดที่
ประมาณ 30 – 35% และลดลงต่ําสุดที่ 70% ดังนั้นขอควรระวังคือ ตองปองกันไมใหมีการผสมกันระหวาง H2
กับ Air ถาตองการเปลี่ยนจาก H2 เปน Air หรือจาก Air เปน H2 ตองมี Co2 เปนตัวกลาง และเมื่อจะเปลี่ยน
H2 ตอง control Exhaust Pressure ไมใหเกิน 0.1 – 0.2 kg/cm2
3.1 หลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟา ( Principle of Generator ) ปจจุบันแหลงพลังงานไฟฟาขนาด
ใหญจะผลิตโดยเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ตามหลักการของไมเคิล ฟาราเดย (Michael Faraday) กลาว
คือ เมื่อขดลวดตัวนําเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กหรือสนามแมเหล็กเคลื่อนที่ผานขดลวดตัวนําจะทําใหเกิดแรง
ดันเหนี่ยวนํา (Induced Voltage) ขึ้นบนขดลวดตัวนํานั้น และเมื่อมีโหลด (Load) มาตอครอมกับขดลวดตัวนํา
จะทําใหเครื่องกําเนิดจายพลังงานไฟฟา ดังนั้นเครื่องกําเนิดไฟฟาจึงมีสวนประกอบหลัก 2 สวน คือ สวนที่
เคลื่อนที่เรียกวา Rotor Winding ซึ่งไดรับกระแสกระตุน (Excite) จาก Exciter ทําใหเกิดสนามแมเหล็กและ
สวนที่อยูกับที่เรียกวา Stator Winding เปนขดลวดตัวนํา แสดงดังรูปที่ 3 – 1

2.2.1 - 26
รูปที่ 3 – 1 ลักษณะโครงสราง Generator
จะเห็นไดวาเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนเครื่องจักรกลชนิดหมุน (Rotating Machine) ดังนั้น ในการผลิตพลัง
งานไฟฟาจึงมีความจําเปนตองมีพลังงานกล (Mechanical Energy) มาขับเพลา (Shalf) ของโรเตอรใหหมุนจึง
กลาวไดวาเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนอุปกรณทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานกลใหเปนพลังงานไฟฟา โดยเพลาของโร
เตอรไดรับกําลังทางกล (Mechanical Power) มาจากเครื่องกังหัน (Turbine) และเครื่องกังหันนั้นตองใชพลัง
งานมาเปนตัวขับเคลื่อน เชน พลังงานจากน้ํา พลังงานไอน้ํา เปนตน จากที่กลาวมาแลวขางตนจะเห็นไดวาการ
ไดพลังงานไฟฟา มาใชงานนี้จะไดจากการเปลี่ยนพลังงานรูปอื่นมาเปนพลังงานไฟฟา
3.2 ขอมูลทางเทคนิค (Technical Data)
SERIAL NUMBER 97 AD 3301/97/AD3401
TYPE OF GENERATOR HORIZONTALLY MOUNTED CYLINDRICAL ROTOR
ROTATING FIELD TYPE
ROTATING SPEED (rpm) 3,000
No. OF PHASE 3
No. OF POLE 2
FREQUENCY (Hz) 50
VOLTAGE (V) 24,000
HYDROGEN GAS PRESSURE (bar (g)) 5
HYDROGEN GAS PURITY( (%) 97

2.2.1 - 27
HYDROGEN GAS CONSUMPTION 9
(Nm3/24hour guaranteed)
kVA OUTPUT (kVA) 990,000
kW OUTPUT (kW) 841,500
CURRENT (A) 23,816
POWR FACTOR (%) 83 (LAGGING)
COOLING METHOD STATOR COIL WATER COOLED
ROTER COIL HYDOROGEN COOLED
INSURATION CLASS F
TEMP RISE LIMIT STATOR COIL (°C) 50 (BASE TEMP 50 °C)
AT RATED LOAD STATOR COIL 50 (BASE TEMP 50 °C)
COOLING WATER
OUTLET (°C)

ROTOR COIL (°C) 72.2 (BASE TEMP 37.8 °C)


STATOR CORE (°C) 92.2 (BASE TEMP 37.8 °C)
GAS VOLUME (m3) 130
EXCITER TYPER STATIC
EXCITATION VOLTAGE (V) 650
EXCITATION CURRENT (A) 6405
3.3 สวนประกอบหลักของเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator Major Component) สําหรับโรงไฟฟาพลังความ
รอนราชบุรีเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนแบบชนิด Water Cooled Turbine Generator ขนาดกําลังผลิต 735 MW มี
สวนประกอบที่สําคัญดังนี้
3.3.1 Cooling (Stator Coil) ขดลวด Stator Coil ของเครื่องกําเนิดไฟฟา ใชน้ําเปน Medium ในการ
Cooling โดยน้ําถูก Supplier จากดาน Slip Ring ผาน Manifold (A) กระจายไปยัง Insulation Hose เขาสู
Stator Coil และออกไปยัง Manifold (B) ทางดาน Turbine Side ของ Stator ซึ่งอุณหภูมิสามารถวัดไดจาก
Thermo Couple ที่ฝงไวระหวาง Upper Coil และ Lower Coil ดาน Outlet ดังรูปที่ 3 - 2

2.2.1 - 28
รูปที่ 3 – 2 Stator coil Cooling

3.3.2 Cooling ( Stator Core ) กาซ H2 จะถูก Boosted Up Pressure ดาน High Pressure Blower ที่ติดอยู
กับ Shaft ของ Rotor ทางดาน Turbine Slide แลกเปลี่ยนความรอนดวย Gas Cooler มายัง Slip ring Side
โดยผาน Stator Core และ Stator Flame ผานรูเจาะใน stator ในแนว Axial มายัง Turbine Side ดังรูปที่ 3 - 3

รูปที่ 3 – 3 Stator Core Cooling

2.2.1 - 29
3.3.3 Cooling (Rotor Straight Part) การหมุนเวียน H2 Gas เพื่อ Cooler Coil แบงเปน 2 System
1. H2 Gas จะหมุนเวียนเขาทาง Turbine Side และดาน Exciter ถูก Discharged ผาน Air Gap ใน
แนวขนานกับแนว Axial
2. หลังจากที่ H2 ได cool rotor Coil แลวจะออกทาง Center ของ Rotor ซึ่งขนานกับผิวของ Rotor
พรอมกันทั้ง 4 วงจร ดังรูปที่ 3 - 4

รูปที่ 3 – 4 Rotor Straight Part

3.3.4 Cooling (Rotor End Part) กาซ H2 จะเขา Rotor End Part ทาง Retaining Ring และไหลไปตาม
รูที่อยูภายใน Rotor Coil มาออกทางดานลาง เขาสูแนวแกน และกลับไปที่ Blower
ดังรูปที่ 3 - 5

2.2.1 - 30
รูปที่ 3 – 5 Rotor End Part Cooling

3.3.5 Stator Frame ไดถูก Design ใหทน Pressure ได 1.05 Mpa ซึ่งเปน 2 เทาของคา Maximum Gas
Pressure 0.52 Mpa โลหะที่ใช คือ No. 1 SM 400 AP of JIS G 3106 Rolled Steel for Welded Construction
หรือเทียบเทา ซึ่งไดใช Supersonic Test เพื่อที่จะรับประกันการ Cracks ที่เกิดจาก Lamination และอื่น ๆ
Stator Frame ทําดวยโลหะขนาดใหญ เพื่อที่จะใหมีรอยเชื่อมนอยที่สุด เพื่อเปนการรับประกันการรั่ว และ
ระเบิดของ Gas ได ดังรูปที่ 3 - 6

2.2.1 - 31
รูปที่ 3 – 6 โครงสราง Stator Frame

3.3.6 Stator Lamination แกนเหล็ก Stator Core ทําจาก High Quality Silicon Steel Plates ซึ่งให Core
Loss นอย เจารูเคลือบ Varnish และประกอบกันเปน Stator Frame ดังรูปที่ 3 - 7

รูปที่ 3 – 7 Stator Lamination

2.2.1 - 32
3.3.7 Stator Core End ในกรณี Inner Cooled Generator ซึ่งมีปริมาณ Electrical Loading จํานวนมาก มี
ความจําเปนตองลด Load เหลานี้มากที่สุดเทาที่จะมากได เราจึงนํา Non – Magnetic Finger Plate มาใชทํา
Stator Core and Part ดังรูปที่ 3 - 8

รูปที่ 3 – 8 Stator Core End

3.3.8 Flexble Support เนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟา 2 Pole Turbine Generator Stator Core ทําใหเกิด
Double Frequency Vibration เราจึงทําการลด Vibration ดังกลาว โดยใส Flexble Support ระหวาง Stator
Core และ Stator Frame ดังรูปที่ 3 - 9

2.2.1 - 33
รูปที่ 3 – 9 Flexible Support

3.3.9 Stator Coil ขดลวด Stator Coil ประกอบดวย Hollow Wire และ 4 Solid Wire ประกอบกันตามที่
แสดงในรูปโครงสรางจะมีผลอยางมากตอ Cooling Effect ซึ่งเหมาะสําหรับ Generator ขนาดใหญ เพื่อที่จะ
ลด Vortex Loss Cooling Water จะหมุนเวียนใน Hollow Element เพื่อที่จะลด Rising Temperature ที่เกิด
จากการ Generate ใน Stator Coil ดังรูปที่ 3 - 10

2.2.1 - 34
รูปที่ 3 – 10 โครงสราง Stator Coil

3.3.10 Dialastic Insulation


(1) Having been impregnated with solventless, heatcuring epoxy resin (diaresin), the
mica tape is thoroughly filled with resin to the extent that no void is lift.
(2) Since diaresin is epoxy resin, it can withstand high voltage.
(3) Because of high tensile strength, elasticity and coefficient of expansion approximate
that of copper, it can be from cracks resulting from the expansion and contraction
of the conductor due to long time operation.
(4) Moisture – proof, chemical – proof and oil proof.
(5) Since tan σ is small, the increase or decrease of tan σ due to changes of
temperatures and voltage is also negligible.
(6) Thermally stable, long life is assured.

2.2.1 - 35
รูปที่ 3 – 11 Dialastic Insulation

3.3.11 Stator Coil Header Part ประกอบดวย Header Of branching Cooling Water กับ Hollow Wire
Header Cap Hose Joint และ Element Wire จะเชื่อมตอกัน เพื่อปองกันการ Leak ของ Water อุปกรณ
Hose Joint ที่ติดกับ Manifold ทําดวย Non – Magnetic Steel ดังรูปที่ 3 - 12

รูปที่ 3 – 12 Stator Coil Header Part

2.2.1 - 36
3.3.12 Support of Stator Coil End Part โครงสราง Coil End Part ( ซึ่งมี Electromagnetic Force จํานวน
มากกระทําอยูขณะ Short – Circuit ) เปน Integral Structure ประกอบดวย Large – Size Resin Cone Segment
Plate และอัดแนนดวย Insulation Bolts ซึ่งมี Axial – Direction Slide Mechanism ที่ประกอบไวเพื่อ
Absorbing Heat of Expansion ระหวาง Stator Coil และ Stator Core ดังรูปที่ 3 - 13

รูปที่ 3 – 13 Support of Coil End Part

3.3.13 Stator Coil End Construction เพื่อที่จะปองกัน Static End Coil จากการ Deformation เนื่องจาก
Heavy Stresses ของการเกิด Short Circuit และ Electromagnetic Vibration ระหวางการ Normal Operation
ขดลวด End Coil จะถูกยึดดวย Rigid Single Conical Glass Cords ที่ขึ้นรูปเปนวงแหวนดวย Epoxy –
Impregnated Glass Fiber การกําจัด Corona จะใส Semi – Conducting ระหวาง Stator Slot เพื่อปองกัน
Slot Discharge และที่ปลายทั้งสองของ Slot จะทาดวยสีชนิด High Resistance ดังรูปที่ 3 - 14

2.2.1 - 37
รูปที่ 3 – 14 โครงสราง Stator Coil End

3.3.14 Bushing ที่ Lower Part ดาน Exciter จะมี Lead Box อยู 6 Box 3 Box แรก จะเปน Line Side
และอีก 3 Box หลัง จะเปน Neutral Side ที่ Lead Bushing จะมีชองให H2 เขามา Cooling และกลับออกไป
ยัง Stator และ Insulation ของ Bushing เปน Dry Type ซึ่งปองกันการ Leak ของ Oil การกําจัด Stray
Load Loss และ Overheating ทําไดโดยใช Nonmagnetic Steel ทํา Lead Box ดังรูปที่ 3 - 15

2.2.1 - 38
รูปที่ 3 – 15 Bushing

3.3.15 Rotor Shaft อุปกรณ Shaft Material ทําดวย Solid Forging of Ni – Cr – Mo – V Steel ซึ่งออก
แบบ Slots ที่ Hold Rotor Coil จัดขนานกันเปนซี่ อยูกับแกนเปนรูป Trapezoids มีดานบนกวางกวา และที่
ผิวของ Pole จะทําเปนรูป Uniform Rigidly และ Crescent – Shapely ซึ่งผาน Supersonic Test หลังจากใส
Rotor Coil แลว ดังรูปที่ 3 - 16

2.2.1 - 39
รูปที่ 3 – 16 Rotor Shaft

3.3.16 Rotor Coil ขดลวดของโรเตอร ทําดวย Coil Worked Sliver Bearing Capper เปนรูปตัว U 2 ตัว
ประกบกันเพื่อใหมีชองสําหรับให H2 วิ่งผาน ดังรูปที่ 3 - 17

2.2.1 - 40
รูปที่ 3 – 17 Rotor Coil

3.3.17 Coil Retaining Ring จะสวมอยูที่ End Coil ของ Rotor เพื่อปองกันการ Deformation อุปกรณ
Coil Retaining Ring จะถูกใสให Fix ทั้งในแนว Tangent และแนว Axial ซึ่งทําดวย Non – Magnetic
Austenite Steel ดังรูปที่ 3 - 18

2.2.1 - 41
รูปที่ 3 – 18 Coil Retaining Ring

3.3.18 Blower อุปกรณ Blower เปน Multistage High Pressure เพื่อที่จะ Feed H2 เขาสู Duct ที่แคบและ
Blade ทําดวย Ni – Cr – Mo. Steel และ 13Cr Precision Casing
ดังรูปที่ 3 - 19

รูปที่ 3 – 19 Blower

2.2.1 - 42
3.3.19 Bearing แบริ่ง Tilting Pad Type ถูกใชเพื่อรักษา High Stability ของ Rotor และอุณหภูมิของ
โลหะใหต่ําขณะ Operation ดานลางของ Bearing เปนรูปของทรงกระบอกกลวงจํานวน 2 Bearin เพื่อที่รักษา
Shaft จากการ Under Stress เนื่องจาก Deflection of Shaft หรือการ Misalignment แบริ่ง ดานลางประกอบ
ดวย Babbitt line Copper “ Shoes ” ประกบกับ Steel Pads สวนเครื่องดานบนเปน Conventional Sleeve
Bearing ประกอบกันอยางประณีต เพื่อปองกันการ Leakage ของน้ํามัน Shaft Journal จะ Fit พอดีมากกับ
Bearing เพื่อรักษาปริมาณน้ํามันใหเพียงพอตอการเพิ่ม Pressure ในการหลอลื่น ดังรูปที่ 3 - 20

รูปที่ 3 – 20 Bearing

3.3.20 Bearing Bracket อุปกรณ Bearing Bracket เปน Weided Construction Fixed อยูกับ Stator
Frame ทั้งดาน Turbine และ Excite เปนแผน 2 ชิ้น ทําเปน Mechanical Strength ดวย Rib หลาย Rib ตัว
Bearing Bracket เองจะประกอบดวย Bearing Gland Sealing และ Oil Seal ดังรูปที่ 3 – 21

2.2.1 - 43
รูปที่ 3 – 21 Bearing Bracket

3.3.21 Protection For Shaft Current การปองกัน Shaft Current Bearing และ Bracket จะถูก Insulated
ที่ดานบน สวนดานลางจะมี Insulation Sheet สอดอยูทุก ๆ สวนที่คาดวาจะมี Shaft Current ไหลผานจะถูก
แยกดวย Insulation เชน ดาน Excited Coupling ระหวาง Gland Seal Bracket และ Bearing Bracket
ระหวาง Gland Seal และ Oil Piping ระหวาง Oil Seal และ Bracket ดังรูปที่ 3 – 22

รูปที่ 3 – 22 Rotor Ground Shaft

2.2.1 - 44
3.3.22 Gland Seal ในรูปที่ 3 – 23 ไดแสดงการแบง Line Oil เปน 2 Lines ดานในเรียก H2 side และดาน
นอกเรียก Air Side

รูปที่ 3 – 23 Gland Seal

3.3.23 Slip Ring อุปกรณ Slip Ring ทําดวย Tool Steel และทําเปนรองตีเกลียวโดยรอบ เพื่อให Brush
เกาะติดกับ Slip Ring ไดเปนอยางดี แมจะมี High Pressure Air ไหลผาน
ดังรูปที่ 3 - 24

2.2.1 - 45
รูปที่ 3 – 24 Slip ring

3.3.24 Brush And Holder แปรงถาน ( Brush ) จะใสอยูใน Magazine Type Brush Holder ซึ่งมี
Normally Pressure Set ที่ 120 g/cm2 ดังรูปที่ 3 - 25

รูปที่ 3 – 25 Brush and Holder

2.2.1 - 46
3.3.25 Gas Cooler อุปกรณ Gas Cooler จะมี 2 ตัว ตั้งอยูในแนว Vertical ดานซายและดานชวาของ
Turbine Side Cooling Tubes จะประกอบดวย Spiral Copper Fins ตาม Designed จะ Maintain อุณหภูมิ
H2 อยูที่ต่ํากวา 45 °C เมื่อน้ํา Cooling Temperature เทากับ 38 °C
ดังรูปที่ 3 - 26

รูปที่ 3 – 26 Gas Cooler

2.2.1 - 47
แบบทดสอบ
( Thermal Power Plant Major Equipment )

จงตอบคําถามตอไปนี้
1. Once Through Boiler หรือ Supercritical Boiler ปกติหมอไอน้ําชนิดนี้จะทํางานเหนือ Critical
Pressure จุด Critical Pressure มีคาความดันเทาใดและในการเปลี่ยนสถานะจากน้ําใหกลายเปนไอน้ํา
คาความรอนแฝงมีคาเทาใด
คาความดัน = …………………………… psia
คาความรอนแฝง = ………………………. BTU / lb
2. เพราะเหตุใด Once Through Boiler จึงไมมี High Pressure Drum……………………………...
……………………………………………………………………………………….......................
…………………………………………………………………………………..............................
3. ทําไมจึงหามเติมสารเคมี Phosphate เขาไปในระบบ Feed Water ของ Once Through Boiler
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................
4. การปรับคุณภาพน้ําที่ใชในหมอไอน้ําแบบ Once Through การปรับคุณภาพน้ํากี่วิธีอะไรบาง
.............................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
5. การควบคุม Once Through Boiler ในการปรับเพิ่มหรือลด Load มีกี่โหมด (Mode) อะไรบาง
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......

2.2.1 - 48
6. จงอธิบายหนาที่การทํางานของอุปกรณสวนประกอบหมอไอน้ําตอไปนี้
ก. Force Draft Fan ……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ข. Induce Draft Fan …………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ค. Soot Blower …………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ง. Superheater …………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
จ. Reheater ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
7. อธิบายหลักการทํางานของเครื่องกังหันไอน้ําพอสังเขป ............................................................
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
8. กังหันไอน้ํา (Steam Turbine) มีกี่ชนิดอะไรบาง .....................................................................
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................
……………………………………………………………………………………….......................

2.2.1 - 49
9. จงอธิบายหนาที่การทํางานของอุปกรณสวนประกอบกังหันไอน้ําตอไปนี้
ก. Rotor …………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ข. Blade ……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ค. Nozzle …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ง. Labyrinth Seal …………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
จ. Gland Seal …………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ฉ. Casing ………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ช. Steam Chest …………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
10. Steam Valve ที่ใชควบคุมปริมาณไอน้ํามีกี่ประเภทอะไรบาง ..................................................
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......

2.2.1 - 50
11. จงอธิบายหนาที่การทํางานของอุปกรณในระบบ Lube Oil ตอไปนี้
ก. Auxiliary Oil Pump ………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ข. Main Oil Pump ………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ค. Emergency Oil Pump ……………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......

ง. Turning Oil Pump ……………………………………………………………………………


………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
จ. Jacking Oil Pump …………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
12. จงบอกสารตัวกลาง (Cooling Medium) ที่ใชสําหรับระบายความรอนในเครื่องกําเนิดไฟฟา (
Generator ) ใชสารตัวกลางชนิดใดบางและเหตุผลของการเลือกใชสารตัวกลางนั้นระบายความรอน
......................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
13. ในการเลือกใชกาซไฮโดรเจน (H2) เปนสารตัวกลางระบายความรอนใน Generator ใช H2 อยางไรจึง
ปลอดภัย ...............................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........

2.2.1 - 51
14. เครื่องกําเนิดไฟฟา Generate Voltage ขึ้นไดอยางไรและอุปกรณใดทําหนาที่กระตุน (Excite) ทําให
เกิดแรงดันไฟฟาขึ้นที่ Generator …………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
15. เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดกําลังผลิตสูงที่ใชสวนใหญในประเทศไทยที่ระบบไฟฟาความถี่ 50 เฮิรท ถา
เครื่องกําเนิดไฟฟามีจํานวนขั้ว (Pole) เทากับ 2 Pole จงคํานวณหาความเร็วรอบของเครื่องกําเนิดไฟฟา
........................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
16. จงอธิบายหนาที่การทํางานของอุปกรณสวนประกอบเครื่องกําเนิดไฟฟาตอไปนี้
ก. Stator Winding …………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
ข. Rotor Winding …………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
ค. Coil Retaining Ring …………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........
ง. Slip – Ring ……………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........

2.2.1 - 52
จ. Rotor Ground Shaft ………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………........
…………………………………………………………………………………………………........

2.2.1 - 53
เอกสารอางอิง

1. หนังสือ Instruction Manual ของบริษัท Mitsubishi เรื่อง


- Boiler
- Turbine
- Generator
2.เอกสารประกอบการฝกกอบรมจากหนวยงาน อคบร. เรื่อง
- Once Through Boiler โดย ชิดชัย อัยยวงศ
- Supercritical Pressure Boiler โดย เทพรัตน เทพพิทักษ
- Steam Turbine Component โดย สัณฐิติ จันทอุทัย
- Basic of Power Plant โดย ผจญ เมืองแมน
- Lube Oil System โดยเกรียงศักดิ์ วิสารจารุศร

2.2.1 - 54
2.2.2 COMBINED CYCLE POWER PLANT
MAJOR EQUIPMENT

2.2.2 - 1
COMBINED CYCLE POWER PLANT มีสวนประกอบหลักดังนี้
1. GAS TURBINE
2. HEAT RECOVERY STEAM GENERATOR (HRSG)
3. STEAM TURBINE
4. GENERATOR

บทที่ 1
GAS TURBINE
GAS TURBINE ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานความรอน ไปเปนพลังงานจลน เปนผลทําใหเกิดการหมุน
ของ GAS TURBINE ซึ่งมีเพลาตออยูกับ GENERATOR ROTOR ผลิตกระแสไฟฟาอยางตอเนื่อง หลักการ
ทํางานของ GAS TURBINE อากาศที่ถูกอัดจาก COMPRESSOR จะไหลเขาสูหองเผาไหม (COMBUSTION
CHAMBER) โดยมีหองเผาไหมทั้งหมด 18 CHAMBERS เชื้อเพลิงจะถูกฉีดจาก FUEL NOZZLE เขาไป
ผสมกับอากาศในหองเผาไหม และจุดระเบิดดวยหัวเทียน (SPARK PLUGS) ในCOMBUSTION ZONE
ซึ่งการจุดระเบิดจะเกิดในเวลาที่รวดเร็วมาก การเผาไหมจะเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง HOT GASES ที่เกิดจากการ
เผาไหมใน COMBUSTION CHAMBER จะพุงเขาสู TRANSITION PIECES ซึ่งติดอยูทางดาน AFT. END
ของCOMBUSTION CHAMBER LINERS จากนั้น HOT GASES จะขยายตัวเขาสู TURBINE SECTION ทํา
ใหเกิดการหมุนของ TURBINE และเพลาของ TURBINE จะตออยูกับ GENERATOR ROTOR เพื่อผลิต
กระแสไฟฟาตอไป
สวนประกอบหลักของ GAS TURBINE มีดังนี้
1. COMPRESSOR SECTION
2. COMBUSTION SYSTEM
3. GAS TURBINE SECTION

1. COMPRESSOR SECTION
SPECIFICATION
TYPE AXIAL FLOW
NUMBER OF STAGE 18 ( STAGE 0 – STAGE 17 )
MATERIAL
INLET CASING DUCTILE IRON
COMPRESSOR CASING DUCTILE IRON
COMPRESSOR DISCHARGE CASING 2.1/4 Cr-Mo

2.2.2 - 2
INLET GUIDE VANE C – 450
COMPRESSOR BLADE STAGE 1 – 8 C – 450
COMPRESSOR BLADE STAGE 9 – 18 C – 430 CB
COATING MATERIAL NONE
COMPRESSOR WHEEL NiCrMoV/Cr MoV
COMPRESSOR มีหนาที่อัดอากาศใหเปนไปอยางตอเนื่อง เขาสู COMBUSTION CHAMBER
หลักการทํางานของ COMPRESSOR เพลาของ COMPRESSOR จะตออยูกับเพลาของ GAS TURBINEเมื่อ
GAS TURBINE หมุน COMPRESSOR จะหมุนตามไปดวย อากาศจะถูกอัดตัวกันอยางตอเนื่องอยูภายใน
ชองวางระหวาง ROTOR และ STATOR แตละ STAGE ซึ่ง ROTOR BLADES จะหมุนสงแรงเพื่อทําการ
อัดอากาศแตละ STAGE โดยมี STATOR BLADES เปน GUIDE สงอากาศเขา ROTOR BLADES
โดยมีมุมที่เหมาะสม อากาศที่ถูกอัดแลวจะถูกสงออกทาง COMPRESSOR DISCHARGE CASING เขาสู
COMBUSTION CHAMBER
สวนประกอบของ COMPRESSOR SECTION มีดังนี้
1.1 COMPRESSOR ROTOR ประกอบดวย
1.1.1 WHEELS
1.1.2 SPEED RING
1.1.3 COMPRESSOR ROTOR BLADE
1.1.4 FORWARD STUB SHAFT
1.1.5 AFTER STUD SHAFT
โดยมีรายละเอียดตามรูปที่ 1-1 , 1-2

รูปที่ 1 – 1 COMPRESSOR ROTOR

2.2.2 - 3
2.2.2 - 4
1.2 COMPRESSOR STATOR ประกอบดวย
1.2.1 INLET CASING ทําหนาที่นําอากาศเขาสู COMPRESSOR โดยตรง ขณะเดียวกัน
จะเปนจุดรองรับ COMPRESSOR ROTOR ในสวนของ LOWER HALF
HOUSING ซึ่งเปน BEARING#1 สวน INLET CASING ถูกหลอเปนชิ้นเดียวกัน
กับ INNER BELLMOUTH ระหวาง INNER กับ OUTER BELLMOUTH จะมี
STRUTS หลอเชื่อมและค้ํายันกันในแนว RADIAL โดย STRUTS จะถูกออกแบบ
เปน AIRFOIL-SHAPED เพื่อผลทางAERODYNAMICS และยังมี VARIABLE
INLET GUIDE VANE (IGV.) ติดตั้งอยูดาน AFTER ENDของ INLET
CASING โดยจะประกอบดวย CONTROL RING & PINION GEAR เชื่อมกับ
LINKAGE ARM และชุด HYDRAULIC ACTUATOR DRIVE ซึ่งการเปด–ปด
IGV. จะมีผลตอปริมาณของ COMPRESSOR INLET AIR FLOW ดังรูปที่ 1-3

1.2.2 MID. COMPRESSOR CASING เปนโครงสรางของ COMPRESSOR ซึ่งประกอบดวย


สองสวนคือ FORWARD COMPRESSOR CASING เปนโครงสรางในสวนกลาง มี
สวนประกอบตั้งแต COMPRESSOR STATOR BLADE STAGE ที่ 0–STAGE ที่ 4

2.2.2 - 5
และสวนที่สองเปน AFTER COMPRESSOR CASING เปนโครงสรางของ
COMPRESSOR ที่ติดกับ COMPRESSOR STATOR BLADE STAGE ที่ 5–
STAGE ที่ 12 ดังรูปที่ 1-4

2.2.2 - 6
1.2.3 COMPRESSOR DISCHARGE CASING เปนสวนประกอบระหวาง FLANGE
TO FLANGE ทายสุดของ COMPRESSOR STATOR BLADE STAGE ที่ 13–17
และ EXIT GUIDE VANE (EGV) STAGE ที่ 1 และ 2

2. COMBUSTION SYSTEM
SPECIFICATION
TYPE 18 CHAMBER, REVERSE FLOW
NUMBER AND TYPE OF IGNITORS 2 ELECTRONIC
NUMBER AND TYPE OF FLAME DETECTORS 4 ULTRA VIOLET
DESCRIPTION OF NOZZLE DLN – 2+ DUAL WITH WATER INJECTION
TRANSITION PIECE (MAT.) NIMONIC 263
LINER HASTELLOY-X/HS-188
COMBUSTION SYSTEM เปนแบบ CAN-ANNULAR, REVERSE-FLOW จากรูปที่ 1-5 จะเห็นวา
COMPERSSOR DISCHARGE AIR จะพุงเขารอบ ๆ TRANSITION PIECE ( ทิศทางเขาของ INLET AIR
จะพุงสวนทางกัน 180° กับ HOT GASES ) ซึ่งจะทําหนาที่ในการ COOLING แลวอากาศจะไหลเขาสู
COMBUSTION LINER โดยผานทางรูรอบ ๆ COMBUSTION LINER สวนเชื้อเพลิงจะฉีดเขาไปผสมกับ
อากาศ บริเวณที่เรียกวา REACTION ZONE

ส

2.2.2 - 7
สวนประกอบของ COMBUSTION SYSTEM มีดังนี้
2.1 FUEL NOZZLES มีจํานวน 18 NOZZLES
2.2 SPARK PLUG มีจํานวน 2 ตัว
2.3 FLAME DETECTOR มีจํานวน 4 ตัว
2.4 CROSS FIRE TUBES มีจํานวน 18 ตัว
2.5 OUTER COMBUSTION CHAMBER AND FLOW SLREVE
2.6 FUEL NOZZLE END COVER
2.7 CAP AND COMBUSTION LINER
2.8 TRANSITION PLECE
โดยมีรายละเอียดตามรูปที่ 1-6

2.2.2 - 8
2.2.2 - 9
3. GAS TURBINE SECTION
. SPECIFICATION
GAS TURBINE
MODEL NO. MS – 9001FA +
SHAFT SPEED 3000 RPM.
CRITICAL SPEED 2059 / 2897 RPM.
OVER SPEED TRIP 3300 RPM.
TURBINE
NUMBER OF STAGE 3
MATERIAL
ROTOR AND CASING S1-S3GTD-111 DOVETAIL FIT
COATING MATERIALS S1-S3GT33 INT S3 Cr COATING
TURBINE WHEEL IN-706 (NICKEL-BASE ALLOY)
FIRST STAGE BUCKET GTU-111DS
SECOND STAGE BUCKET GTU-111DS
THIRD STAGE BUCKET GTU-111DS
FIRST STAGE NOZZLE FSX-414
SECOND STAGE NOZZLE GTD-222
THIRD STAGE NOZZLE GTD-222

สวนประกอบของ GAS TURBINE SECTION มีดังนี้


3.1 GAS TURBINE ROTATING PARTS เปนสวนของ TURBINE ROTOR ดังรูปที่ 1-7,1-8 ซึ่งมี
อุปกรณดังนี้
3.1.1 WHEEL SHAFT แบงออกเปน 2 ชวงดวยกันคือ
ชวงแรก เปน COMPRESSOR TO TURBINE DISTANCE PIECE จะยึด AFT. FLANGE ของ
COMPRESSOR ROTOR และ FIRST - STAGE TURBINE WHEEL เขาดวยกัน
ชวงที่สอง เปน TURBINE ROTOR AFTER SHAFT จะยึด THIRD-STAGE TURBINE WHEEL
และรวม JOURNAL BEARING NO.2 ทางดานทายของเพลาดวย

2.2.2 - 10
2.2.2 - 11
3.1.2 WHEEL ASSEMBLIES เปนตัวที่ TURBINE BUCKET ยึดติดอยู มี WHEEL ทั้งหมด
3 ตัว ตามจํานวนของ TURBINE BUCKET

2.2.2 - 12
3.1.3 SPACER จะมีอยู 2 ตัว อยูระหวาง FIRST STAGE กับ SECOND และ SECOND กับ
THIRD-STAGE TURBINE WHEEL
3.1.4 TURBINE BUCKET มีทั้งหมด 3 STAGE
1. TURBINE BUCKET STAGE 1 เปน BUCKET แรกที่รับพลังงานความรอนจาก FIRST
STAGE NOZZL E ซึ่งมีอุณหภูมิสูงที่สุด เพื่อลดความเสียหายจากความรอน BUCKET STAGE 1 จะมีลม
มา COOL ตลอดความยาวของ BUCKET และผานออกมาดาน TRAILING EDGE และ BUCKET TIP
2. TURBINE BUCKET STAGE 2 มีอากาศจาก AIR PASSAGE เขามา COOL ดวยตามความ
ยาวของ BUCKET STAGE ลมจะออกทาง BUCKET TIP
3. TURBINE BUCKET STAGE 3 จะไมมีอากาศเขาไป COOL ใน BUCKET เนื่องจาก
STAGE นี้ อุณหภูมิจะต่ําสุด ทําใหการเกิดความเสียหายจากความรอนมีนอย

3.2. GAS TURBINE STATIONARY PART มีอุปกรณดังนี้


3.2.1 TURBINE CASING เปนตัวควบคุมตําแหนงของ TURBINE NOZZLE และ TURBINE
SHROUDS ใหอยูในแนว AXIAL และ RADIAL ซึ่งจะตองสัมพันธกับ CLEARANCE ระหวาง NOZZLE
กับ BUCKET ถา CLEARANCE มากจะมีผลกับ PERFORMANCE ของ GAS TURBINE ดังรูปที่ 1-9
HOT GASES จะถูกกั้นอยูภายใน TURBINE CASING โดยที่ CASING จะรับความรอนจาก
HOT GASES โดยตรง ทําให CASING เสียรูปไดงาย ดังนั้น การปองกันการเสียรูปของ CASING คือ จะ
ตองลด HEAT FLOW ออกสู CASING ดานนอก โดยใช INSULATION หุมดานนอก CASING และใช
COOL ดวย ลม โดย CASING เปนแบบ MUTI-LAYERS
3.2.2 TURBINE NOZZLE เปนตัวรับ HOT GASES ที่มีความเร็วสูง จากการขยายตัวของ GAS ที่ได
จากการเผาไหมใน COMBUSTION CHAMBER โดยตรง เพื่อเปลี่ยนทิศทางการไหลของ HOT GASES ใหเขา
ปะทะกับ TURBINE BUCKET ทําใหเกิดการหมุนของ TURBINE ROTOR มี TURBINE NOZZLE ทั้งหมด
3 STAGE ดังนี้
1. FIRST-STAGE NOZZLE จะเปนตัวรับ HOT GASES โดยตรงจาก COMBUSTION
CHAMBER โดยผานทาง TRANSSITION PIECE ใน VANE ของ FIRST-STAGE NOZZLE จะมีโพรงดาน
หนาและดานหลัง ไวสําหรับ COOL โดยวิธีการ COMBINATION OF FILM , IMPINGMENT และ
CONVECTION COOLING ใน FIRST STAGE SEGMENT จะมี 24 SEGMENTS ในแตละ SEGMENT จะ
มี 2 VANES ซึ่งแตละ SEGMENT จะประกอบอยูใน RETAINING RING สวนของ RETAINING RING จะ
แยกเปน 2 สวน คือ UPPER HALF และ LOWER HALF
2. SECOND-STAGE NOZZLE เปนสวนที่รับ HOT GASES จาก FIRST-STAGE BUCKET
ขยายตัวเขาปะทะ SECOND-STAGE NOZZLE ซึ่ง NOZZLE เหลานี้จะทํามาจาก CAST SEGMENT

2.2.2 - 13
3. THIRD–STAGE NOZZLE จะรับ HOT GASES จาก SECOND-STAGE BUCKET และเกิด
PRESSURE DROP ในระหวาง NOZZLE และ BUCKETS ทําให HOT GASES มีความเร็วเพิ่มขึ้น เขา
ปะทะกับ THIRD-STAGE BUCKET อีกครั้ง NOZZLE ใน STAGE นี้ ใน 1 SEGMENT จะมี 3 VANE

2.2.2 - 14
3.2.3 DIAPHARGM จะเปนสวนที่อยูดานในของ NOZZLE SEGMENT ใน STAGE ที่ 2 และ 3
โดย เรียกวา NOZZLE DIAPHRAGM ทําหนาที่ปองกัน AIR LEAKAGE ผาน INNER SIDEWALL ของ
NOZZLE และ TURBINE ROTOR
LABYRINTH SEAL TEETH ดานในของ DIAPHRAGM จะทําการ MACHINE ใหมีความยาว
สูง และต่ําสลับกันไป ใหเหมาะสมกับรองของ TURBINE ROTOR SPACER เพื่อใหเกิดเปน SEALING
LAND บน TURBINE ROTOR ทําใหเพิ่มประสิทธิภาพการถายเทความรอน
การออกแบบและติดตั้งจะพยายามใหเกิด CLEARANCE ระหวาง STATIONARY PART กับ
MOVING PART นอยที่สุด ทําใหเกิดการ LEAK ของ HOT GASES นอยที่สุด สงผลให TURBINE มี
EFFICIENCY เพิ่มมากขึ้น
3.2.4 SHROUDS จะออกแบบใหมีลักษณะเปน ANNULAR CURVED SEGMENT หนาที่หลัก
ของ SHROUD จะเปนสวนที่ปองกันการ LEAK ของ HOT GASES ที่ปลายใบ และยังทําหนาที่ปองกัน
TURBINE CASING ไมใหมีอุณหภูมิสูงเกินกําหนด ซึ่งจะทําให TURBINE CASING ไมเสียรูป สงผลใหคา
CLEARANCE ระหวาง TURBINE BUCKET TIPS กับ SHROUD ไมเปลี่ยนแปลงไปมาก ดังรูปที่ 1-10
3.2.5 BEARING IN GAS TURBINE จะประกอบดวย TILTING PAD BEARING 2 แบบ คือ
JOURNAL BEARING และ THRUST BEARING
1. JOURNAL BEARING เปน BEARING ที่ใชรองรับน้ําหนักของเพลาทั้งหมด และแรงทั้ง
หมดที่เกิดขึ้นในแนวรัศมี จะติดตั้งอยูดานหนาของ IGV. เปน BEARING NO.1 และดานทายสุดของ
TURBINE BUCKET เปน BEARING NO.2
2. THRUST BEARING จะเปน BEARING ที่รับแรงรุน ที่เกิดในแนวแกนของเพลา ติดตั้ง
อยูดานหนาของ JOURNAL BEARING NO.1 ทั้ง THRUST BEARING และ JOURNAL BEARING ทั้ง
สองแบบนี้จะมีสาย THERMOCOUPLE เพื่อวัด METAL TEMPERHTURE ดวย

2.2.2 - 15
2.2.2 - 16
บทที่ 2
HEAT RECOVERY STEAM GENERATOR (HRSG)
HRSG. ทําหนาที่ดึงและถายเทพลังงานความรอน (HEAT ENERGY) ที่ยังเหลืออยูในไอเสีย
(EXHAUST GAS) ของ GAS TURBINE ใหนํากลับมาใชใหม โดยการถายเทความรอนใหกับน้ําเพื่อผลิตไอ
น้ํา นํามาขับกังหันไอน้ํา (STEAM TURBINE) และไปขับ GENERATOR ในการผลิตพลังงานไฟฟาตอไป
การถายเทพลังงานความรอนของ HRSG. เปนแบบการนําความรอน (CONVECTION) ในลักษณะ GAS
TO WATER โดยอาศัย HEAT EXCHANGER เปนตัวแลกเปลี่ยนความรอน ในโรงไฟฟาราชบุรี มี HEAT
EXCHANGER 3 SECTIION ดังนี้
1. ECONOMIZER SECTION ทําหนาที่ดึงและถายเทความรอนในรูปของ SENSIBLE HEAT
ใหกับน้ําอุนใหกลายเปนน้ํารอนที่มีอุณหภูมิต่ํากวาน้ําอิ่มตัว (SATURATED WATER)
2. EVAPORATOR SECTION ทําหนาที่ดึงและถายเทความรอนในรูปของ SENSIBLE HEAT
ในชวงแรกใหกับน้ํารอนกลายเปนน้ําอิ่มตัวและในรูปแบบของ LATENT HEAT ใหน้ําอิ่มตัวกลายเปนไอเปยก
(WET STEAM)
3. SUPERHEATER SECTION ทําหนาที่ดึงและถายเทความรอนในรูปแบบของ SENSIBLE
HEAT ใหกับไอเปยกหลายเปนไอคง (SUPERHEAT STEAM)
SPECIFICATION
1. OPERATION POINT
GAS TURINE OPERATING NUMBER 2
GAS TURBINE LOAD BASE LOAD
AMBIENT TEMPERATURE 27.8 °C
RELATING HUMIDITY 75%
GAS TURBINE FUEL NATURAL GAS
2. GAS TURBINE EXHAUST GAS AT HRSG INLET
FLUE GAS INLET FLOW 2,722.88 T/hr.
FLUE GAS INLET TEMPERATURE 617 °C
FLUE GAS INLET PRESSURE 0.0789 BARG.
FLUE GAS INLET ENTHALPY 692.4 KJ/Kg.
FLUE GAS INLET VELOCITY 11.5 M/S.
3. MAXIMUM TEMPERATURE DESIGN
- HP. SECTION 600 °C.
- REHEAT SECTION 590 °C.

2.2.2 - 17
- IP SECTION 370 °C.
- LP. SECTION 300 °C.
4. FLUE GAS TEMPERATURE CONDITION
- HP/IP/LP ECONOMIZER INLET 335/237/NA. °C.
- HP/IP/LP EVAPORATOR INLET 463/271/144 °C.
- HP/IP/LP SUPERHEATER INLET 617/340/273 °C.
- REHEAT 595 °C.
- CONDENSATE PREHEAT 143 °C.
- HP/IP/LP ECONOMIZER OUTLET 143/237/171 °C.
- HP/IP/LP EVAPORATOR OUTLET 340/237/171 °C.
- REHEAT 532 °C.
- CONDENSATE PREHEAT 100 °C.
5. CONDENSATE CONDITION
- CONDENSATE FLOW INLET 387,050 Kg/hr.
- CONDENSATE TEMPERATURE INLET 44.6 °.C
- CONDENSATE PRESSURE INLET 10 BARG.
- CONDENSATE TEMPERATURE OUTLET 109.1 °C.
- CONDENSATE PRESSURE OUTLET 6.9 BARG.
6. HRSG. PERFORMANCE
HP STEAM AT SUPERHEATER OUTLET
- FLOW 270.22 T/hr.
- PRESSURE 129.3 BARG.
- TEMPERATURE 567.9 °C.
REHEAT AT SUPERHEATER OUTLET
- FLOW 308.52 T/hr.
- PRESSURE 24.95 BARG.
- TEMPERATURE 505.3 °C.
REHEAT AT SUPERHEATER INLET
- FLOW 308.52 T/hr.
- PRESSURE 25.78 BARG.
- TEMPERATURE 325.4 °C.

2.2.2 - 18
IP STEAM AT SUPERHEATER OULET
- FLOW 44.98 T/hr.
- PRESSURE 26.62 BARG.
- TEMPERATURE 327.8 °C.
LP STEAM AT SUPERHEATER OUTLET
- FLOW 26.71 T/hr.
- PRESSURE 6.58 BARG.
- TEMPERATURE 264 °C.
EFFICIENCY AT AMBIENT TEMP. (27.9 °C.) 87.1 %
HP/IP/LP EVAPORATOR RATIO 5/15/40
HP/IP/LP PINCH POINT 7/9/7 °C.
HP/IP/LP APPROACH 5/5/3 °C.
7. STEAM AND WATER TEMPERATURE CONDITION
- TOTAL HEAT INPUT 1539X106 kJ/hr.
- HP/IP/LP EVAPORATOR INLET 333.3/228.2/164.2 °C.
- HP/IP/LP ECONOMIZER INLET 117.2/119.4/NA. °C.
- HP/IP/LP SUPERHEATER INLET 333.3/228.2/ 164.2 °C.
- HP/IP/LP ECONOMIZER OUTLET 328.3/223.2/NA °C.
- HP/IP/LP EVPORATOR OUTLET 333.3/228.2/164.2 °C.
- HP/IP/LP SUPERHEATER OUTLET 567.4/327.8/264 °C.

สวนประกอบของ HRSG. มีดังนี้


2.1 INLET DUCT ทําหนาที่บังคับทิศทางและกระจายการไหลของ EXHAUST GAS ใหเขาสู
HRSG ในลักษณะ FULL AREA SURFACE เปนสวนที่ตอระหวาง HIGH TEMPERATURE GAS
ZONE กับDIVERTER DAMPER ของ GAS TURBINE มีลักษณะเปนปากแตร
2.2 HRSG FOUNDATION เปนรากฐานของ HRSG มีลักษณะเปน ANCHOR BOLT หลาย ๆ ชุด
เทยึดดวยคอนกรีต และปรับระดับผิวดวย SOLE PLATE
2.3 HRSG BASE FRAME ทําหนาที่จับยึดและรองรับน้ําหนักของ HRSG โดยยึดระหวาง
HRSG. CASING กับ BASE FRAME การออกแบบ HRSG BASE FRAME จะเปนแบบ SELF-
STANDING TYPE

2.2.2 - 19
2.4 HRSG CASING ทําหนาที่หอหุม HEAT TRANSFER TUBE ทั้งหมดของ HRSG เพื่อให
EXHAUST GAS ถายเทความรอนใหกับน้ําและไอน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพ
2.5 NON-MATALIC EXPANSION JOINT ทําหนาที่ตอ HRSG. CASING ระหวาง HIGH &
LOW TEMP. GAS ZONE เพื่อแกปญหาการขยายตัวที่ไมเทากันของ HRSG CASING
2.6 PANEL BLOCK SUPPORT ทําหนาที่เปนตัวรองรับ TUBE BUNDLE จํานวน TUBE
BUNDLE ในแตละ PANEL BLOCK จะขึ้นอยูกับการออกแบบใหเหมาะกับตําแหนงการรับความรอน
การติดตั้ง PANEL BLOCK จะอยูในแนว VERTICAL
2.7 HP. STEAM DRUM SUPPORT มีหนาที่รองรับ HP. STEAM DRUM การติดตั้ง HP.
STEAM DRUM จะตั้งและยึดไวบนกึ่งกลางของ CEILING BEAM และปลอยใหขยายตัวที่ปลายทั้งสองขาง
ของ DRUM
2.8 IP & LP STEAM DRUM SUPPORT มีหนาที่รองรับ IP & LP STEAM DRUM การติดตั้ง
STEAM DRUM ทั้งสองจะอาศัย THREE DOWNCOMER เปนตัวรองรับน้ําหนักบริเวณทายสุดทั้งสองขาง
และตรงกลาง การขยายตัวจะขยายตัวขึ้นไปขางบนและดานขางทั้งสองดานของ DRUM
2.9 BAFFER PLATE ทําหนาที่ควบคุมให EXHAUST GAS ไมใหไหลผานชองวางระหวาง
BLOCK และระหวาง BLOCK กับ HRSG CASING เพื่อให EXHAUST GAS ไหลผาน FIN TUBE
2.10 PREHEATER ทําหนาที่ PREHEAT น้ํา CONDENSATE WATER กอนเขา DEAERATOR
ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 8 PREHEATER มีทั้งหมด 3 BLOCK วางเรียงหนากระดานกันอยูดานหลัง
HP. PRI. & IP PRI./ LP ECO. แตละ BLOCK จะมี PREHEATER อยู 6 แถว
2.11 IP. PRI & LP. ECONOMIZER ทําหนาที่ผลิต HOT WATER โดยถายเทความรอนที่รับมา
จาก EXHAUST GAS ใหกับ IP & LP. FEEDWATER ที่มาจาก DEAERATOR เขาสู IP SEC. ECO. &
LP. DRUM เพื่อลดปริมาณ HEAT TRANSFER ที่ตองใชใน IP & LP EVAP . ติดตั้งอยูเปน PANEL
BLOCK 8 มี ทั้งหมด 1 BLOCK
2.12 LP. EVAPORATOR ทําหนาที่ผลิต LP. SAT. STEAM โดยการถายเทพลังงานความรอนที่รับ
มาจาก EXHAUST GAS ใหกับน้ําจาก LP. DRUM ที่ไหลลงมาตามทอ LP. DWCR. แบบ NATURAL
CIRCULATION และสง LP. SAT. STEAM เขาสู LP. DRUM เพื่อแยกน้ําออกจาก LP. SAT. STEAM
และ LP. EVAP. ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 7 มีทั้งหมด 3 BLOCK
2.13 LP. SUPERHEATER ทําหนาที่ผลิต LP. SH. STEAM โดยการถายเทพลังงานความรอนที่รับมา
จาก EXHAUST GAS ใหกับ LP. STA. STEAM ที่ไหลมาจาก LP. DRUM ติดตั้งอยูเปน PANEL
BLOCK 5 มีทั้งหมด 3 BLOCK อยูดานหลัง HP. TER. ECO.
2.14 IP. SECONDARY ECONOMIZER ทําหนาที่เพิ่มอุณหภูมิของ HOT WATER โดยการถาย
เทพลังงานความรอนที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ HOT WATER ที่ออกมาจาก IP. PRI. ECO. กอน

2.2.2 - 20
เขา IP. DRUM เพื่อลดปริมาณของ HEAT TRANSFER ที่ใชใน IP. EVAP ติดตั้งอยูเปน PANEL
BLOCK 6 มีทั้งหมด 3 BLOCK อยูดานหนา HP. SEC. ECO.
2.15 IP. EVAPORATOR ทําหนาที่ผลิต IP. SAT. STEAM โดยถายเทพลังงานความรอนที่รับมาจาก
EXHAUST GAS ใหกับ WATER ของ IP. DRUM ที่ไหลลงมาตามทอ IP. DWCR. แบบ
NATURAL CIRCULATION และสง IP. SAT. STEAM กลับเขาสู IP. DRUM เพื่อแยก WATER ออกจาก
IP. SAT. STEAM ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 5 มีทั้งหมด 3 BLOCK อยูดานหนา LP.SH. ในแตละ
BLOCK มี IP. EVAP.9 แถว
2.16 IP. SUPERHEATER ทําหนาที่ผลิต IP. SH. STEAM โดยถายเทพลังงานความรอนที่รับมาจาก
EXHAUST GAS ใหกับ IP. STA. STEAM ที่ไหลมาจาก IP. DRUM ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 4 มี
ทั้งหมด 3 BLOCK อยูดานหนา HP. TER. ECO.
2.17 HP.PRI.ECONOMIZER ทําหนาที่ผลิต HOT WATER โดยถายเทพลังงานความรอนที่รับมาจาก
EXHAUST GAS ใหกับ HP. FEED WATER ที่มาจาก DERERATOR กอนเขา HP. SEC. ECO. ติดตั้งอยูเปน
PANEL BLOCK 8 มีทั้งหมด 2 BLOCK อยูดานหนา PREHEATER
2.18 HP. SECONDARY ECONOMIZER ทําหนาที่ผลิต HOT WATER โดยถายเทพลังงาน
ความรอน ที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ HOT WATER ที่มาจาก HP. PRI. ECO กอนเขาสู HP.
TER. ECO. ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 6 มีทั้งหดม 3 BLOCK อยูดานหนา LP. EVAP. ในแตละ
BLOCK มี HP. SEC. ECO. 12 แถว
2.19 HP. TER. ECONOMIZER ทําหนาที่เพิ่มอุณหภูมิ HOT WATER โดยถายเทพลังงานความรอน
ที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ HOT WATER ที่ออกมาจาก HP. SEC. ECO. กอนเขา HP. DRUM
ติดตั้งอยูที่ PANEL BLOCK 4 หนึ่งสวนและ PANEL BLOCK 5 หนึ่งสวนมีทั้งหมด 6 BLOCK โดยอยู
PANEL BLOCK 4 จํานวน 3 BLOCK
2.20 HP. EVAPORATOR ทําหนาที่ผลิต HP. SAT. STEAM โดยถายเทพลังงานความรอนที่รับมา
จาก EXHAUST GAS ใหกับ WATER จาก HP. DRUM ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 3 มีทั้งหมด 3
BLOCK
2.21 HP. PRIMARY SUPERHEATER ทําหนาที่ผลิต HP. SH. STEAM โดยถายเทพลังงาน
ความรอนที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ HP. STA. STEAM ที่ไหลมาจาก HP. DRUM ติดตั้งอยู
แปน PANEL BLOCK 2 มีทั้งหมด 3 BLOCK อยูดานหลัง PRI. RH. ในแตละ BLOCK มี HP. PRI. SH. 6
แถว
2.22 HP. SECONDARY SUPERHEATER ทําหนาที่เพิ่ม TEMP. & ENTHAPLY ใหกับ HP.
SH. STEAM โดยถายเทพลังงานความรอนที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ HP. SH. STEAM ที่ไหลมา
จาก HP. PRI. SH. ติดตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 1 มีทั้งหมด 3 BLOCK อยูกอนหนา SEC. RH. ในแต
ละ BLOCK มี HP. SEC. SH. 3 แถว

2.2.2 - 21
2.23 PRIMARY REHEAT ทําหนาที่เพิ่ม TEMP & ENTRAPLY ใหกับ IP. SH. STEAM โดย
ถายเทพลังงานความรอนที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ IP. SH. STEAM & COLD REHEAT STEAM ที่
ไหลมาจาก IP. SH. และ COLD REHEAT STEAM SYSTEM ติดตั้งอยูเปน PANEL BOLCK 2 มีทั้งหมด 3
BLOCK วางอยูดานหนา HP. PRI. SH. ในแตละ BLOCK มี PRI. RH. 3 แถว
2.24 SECONDARY REHEAT ทําหนาที่เพิ่ม TEMP. & ENTRAPLY ใหกับ IP. SH. STEAM
โดยถายเทพลังงานความรอนที่รับมาจาก EXHAUST GAS ใหกับ IP. SH. STEAM ที่ไหลมาจาก PSH. ติด
ตั้งอยูเปน PANEL BLOCK 1 มีทั้งหมด 3 BLOCK วางอยูดานหลัง HP. SEC. SH. แตละ BLOCK มี SEC.
RH. 3 แถว
2.25 HP., IP.& LP. DRUM ทําหนาที่รวบรวมและแยก SATURATED STEAM ออกจากสวน
ผสมของ STEAM / WATER ที่ผานมาจาก EVAPORATOR กอนสงเฉพาะ SATURATED STEAM ตอไปยัง
SUPERHEATER เพื่อเพิ่ม TEMP. ใหสูงขึ้นกลายเปน SUPERHEATED STEAM นอกจากนี้ DRUM ยังมี
หนาที่รองอีกดังนี้
- กระจาย WATER สู HRSG. ที่ ECONOMIZER
- กระจาย SATURATED STEAM สู HRSG. ที่ SUPERHEATER
- แยกและกําจัดสิ่งสกปรกออกจากน้ํา
- เพิ่มสารเคมีสูน้ํา
- ควบคุมและแสดงระดับน้ําใน HRSG.

2.2.2 - 22
2.2.2 - 23
บทที่ 3
STEAM TURBINE
STEAM TURBINE มีหนาที่เปลี่ยนพลังงานจลน (KINETIC ENERGY) ของไอน้ําเปนพลังงานกล
(ROTATING MECHANICAL ENERGY) โดยรับ STEAM จาก HRSG. ขณะที่ไอน้ําผาน TURBINE
ความดันจะลดลงโดยที่ปริมาตรเพิ่มขึ้น และความเร็วก็จะเพิ่มขึ้นดวย ไอน้ําที่มีความเร็วสูงก็จะใหพลังงาน
จลนมาก BLADE ของ TURBINE จะถูกออกแบบใหสามารถรับพลังงานจลน และเปลี่ยนเปนการเคลื่อนที่ ทํา
ให TURBINE นั้นหมุนไปได ลักษณะการออกแบบของ BLADE แบงออกเปน 2 แบบ คือแบบ IMPULSE
BLADE และ แบบ REACTION BLADE

SPECIFICATION
STEAM TURBINE
MANUFACTURE / COUNTRY GENERAL ELECTRIC COMPANY , U.S.A
TYPE AND CYLINDER ARRANGEMENT TC2F, OPPOSED FLOW HP/IP SECTION, 2 FLOW
DOWNWARD EXHAUSTING LP SECTION
EQUIPMENT DESIGN DATA
LENGTH OF LAST STAGE BLANDING 851 MM.
DIAMETER OF LAST STAGE WHEEL 1076 MM.
EXHAUST ANNULUS AREA / PER EACH 6736 MM.
LAST STAGE WHEEL 6736 MM.
STEAM LOADING ON LAST ROW OF BLADES 103,024 kg/m2
UNDER CONDITION
DITCH DIAMETER OF GOVERNOR 880 MM.
THROTTLE FLOW RATIO AT EACH ADMISSION 1.0
VELOCITY AT TIP OF LONGEST ROW OF BLADES 530.6 M/S
SHAFT SPEED 3000 RPM.
CONTROL SYSTEM MARK V
STAGE 24
LSB LANGTH 33 ’’
METAL STEAM TEMP. 1050 °F
MAIN STEAM PRESSURE 1802 PSIG.
EXHAUST PRESSURE 2.6 MMHGA

2.2.2 - 24
NUMBER AND TYPE OF HP TURBINE STAGES 12 IMPULSE
NUMBER AND TYPE OF IP TURBINE STAGES 7 IMPULSE
NUMBER AND TYPE OF LP TURBINE STAGES 2 X 5 IMPULSE
NUMBER OF GOVERNOR CONTROLLED INLET VALVE 2 TAPERED LAND
NUMBER OF MAIN BEARING AND TYPE 4 TURBINE ( 2 TILT PAD 2
ELLIPTICAL)
2 GENERATOR ( BOTH
ELLIPTICAL)
MAXIMUM ALLOWABLE VIBRATION FOR EACH BEARING, MICROMETER 177.8 (TRIP)

สวนประกอบของ STEAM TURBINE มีดังนี้


3.1 STEAM TURBINE STATIONARY PARTS ประกอบดวย
3.1.1 FRONT STAND ประกอบไปดวย THRUST BEARING และ HP. JOURNAL BEARING มี
การติดตั้ง MONITOR ไวหลายอยาง เชน VIBRATION PROBE, PHASE REF,. SPEED PICTURE,
THRUST POSITION PROBE
3.1.2 HP. HEAD ASSEMBLY หมายถึงสวนของ HP / IP TURBINE CASING สามารถแบง
ออกไดเปนสองสวนคือ HP. HEAD UPPER และ LOWER
3.1.3 CROSSOVER ลักษณะเปนทอสง STEAM จาก IP TURBINE EXHAUST เขาสู LP
TURBINE โดยมี PRESSURE BALANCE EXPANSION JOINTS ปองกันการขยายตัวเนื่องจากความรอน
ระหวางจุดเชื่อมตอ
3.1.4 LP. INNER SHELL เปนสวนของ LP. TURBINE CASING แบงออกเปนสองสวนคือ LP.
INNER SHELL UPPER และ LOWER
3.1.5 LP. HOOD ASSEMBLY เปนสวนที่ใชครอบปด LP. TURBINE CASING อีกทีหนึ่งและ
ประกอบเขากับ CONDENSER เพื่อไมใหไอน้ําไหลออกไปภายนอก แบงออกไดเปนสองสวนคือ LP. HOOD
ASSEMBLED TURBINE END และ LP HOOD ASSEMBLED GENERATOR END ดังรูปที่ 3-1
3.1.6 ATMOSPHERIC RELIEF DIAPHRAGM คือ SAFETY FEATURE เพื่อปองกัน TURBINE
COMPONENT ภายใน EXHAUST HOOD และ CONDENSER เสียหาย อันเนื่องมาจากความดันมากเกิน
ไป โดยออกแบบให RELIEF DIAPHRAGM แตกที่ความดันเฉลี่ย 5 PSIG ทําจากวัสดุ HARD-ROOLED
SILVER BEARING COPPER SHEET

2.2.2 - 25
3.1.7 NOZZLE DIAPHRAGM เปนชิ้นสวนที่อยูกับที่ ของแตละ STAG ใน TURBINE ทําหนาที่
เปนตัวเรง STEAM เพื่อที่จะเปลี่ยนพลังงานกลที่ BUCKETS และเพื่อใหทิศทางของ STEAM ออกจาก
DIAPHRAGM เขาสู BUCKETS ในมุมที่เหมาะสม ดังรูปที่ 3-2

2.2.2 - 26
รูปที่ 3-2 NOZZLE DIAPHRAGM

2.2.2 - 27
3.2 STEAM TURBINE ROTATING PARTS ประกอบดวย
3.2.1 HP/IP TURBINE ROTOR จะมี HP. THRUST BEARING, HP. JOURNAL BEARING
NO.1 และ IP JOURNAL BEARING NO.2 รองรับ ROTOR หัวและทาย ดังรูปที่ 3-3

3.2.2 LP. TURBINE ROTOR จะมี LP. JOURNAL BEARING NO.3 และ NO.4 รองรับ ROTOR หัว
และทาย ดังรูปที่ 3-4

รูป ที่ 3-4 LP.


TURBINE ROTOR

2.2.2 - 28
3.2.3 TURBINE BUCKET ในสวนของ HP. และ IP. TURBINE จะเปนวัสดุที่ทนความเคนที่
อุณหภูมิสูง การขยายตัวต่ําและทนความเคนเนื่องจากความรอนไดดี การออกแบบ BUCKET จะเปนแบบผสม
กันระหวาง IMPULSE TURBINE และ REACTION TURBINE ในสวนของ TURBINE BUCKET จะมี
อยู 3 BUCKET ดังรูปที่ 3-5
1. HP BUCKET มีจํานวน BUCKET ทั้งหมด 12 BUCKET
2. IP BUCKET มีจํานวน BUCKET ทั้งหมด 7 BUCKET
3. LP BUCKET มีจํานวน BUCKET ทั้งหมด 2*5 BUCKET

รูปที่ 3-5 BUCKET AND NOZZLE ARRANGEMENT

2.2.2 - 29
บทที่ 4
GENERATOR
GENERATOR ทําหนาที่เปลี่ยนจากพลังงานกล (ROTATING MECHANICAL ENERGY) เปน
พลังงานไฟฟา (ELECTRICAL ENERGY) หลักการทํางานของ GENERATOR เมื่อปอนไฟ DC เขาที่ขด
ลวด GENERATOR ROTOR กระแสไฟ DC ทําใหเกิดสนามแมเหล็ก (MAGNETIC FIELD) ที่ ROTOR
และเมื่อ ROTORหมุน สนามแมเหล็กจาก ROTOR จะไปตัดกับขดลวด STATIONARY COIL ทําใหเกิดการ
INDUCED AC. VOLTAGE และ CURRENT ขึ้นที่ STATIONARY COIL เปนการผลิตพลังงานไฟฟา
อยางตอเนื่อง

SPECIFICATION
GENERATOR
LEADING SPECIFICATION OF GENERATOR
Type Totally enclosed, self-ventilated, forced
Lubricated, hydrogen cooled, cylindrical rotor
Type, synchronous alternator.
Capacity 325,000kVA
Terminal voltage 18.0 kV 5%
Power factor 0.85 lagging
Hydrogen pressure 4.14 barg
Short circuit ratio Approx. 0.50
Cycles 50 Hz
No. of poles 2
No. of phases 3
Speed 3,000 rpm
Cooling method ; Stator winding : Indirectly Hydrogen Cooled
Rotor winding : Directly Hydrogen Cooled
Insulation Class Stator winding : F
Rotor winding : F
Unbalance load capability
Continuous (I2) 8%
Short time (I2 2t) 10 (tmax 120 Sec.)

2.2.2 - 30
Total temperature limit (according to ANSI C50.13 B rise class)
Stator winding ≤ 100 °C. (by RTD)
Rotor winding ≤ 110 °C. (by resistance)
Stator core ≤ 130 °C. (by thermocouple)
Collector ring ≤ 130 °C (by thermometer)
Hydrogen gas purity ≥ 98 %
Hydrogen gas consumption ≤ 15 m3 / day

GENERATOR ออกแบบใหมีระบบระบายความรอนเปนแบบ HYDROGEN-COOLED ดังนั้น


ขณะที่ GENERATOR ทํางานอยูจะปดอยางมิดชิดเพื่อปองกันฝุนละอองและความชื้น โดยใชกาซไฮโดรเจน
เปนตัวกลางระบายความรอน มี COOLER 4 ชุด และพัดลมรวมอยูในระบบระบายความรอน สวนชุด
ROTATING FIELD หมุนอยูภายใน STATOR ARMATURE โดยมี BEARING รองรับหัวทาย
GENERATOR มีสวนประกอบ ดังนี้
4.1 STATOR FRAME เปนโครงสรางของ GENERATOR ขึ้นรูปเปนรูปทรงกระบอกโดยการเชื่อม
รวมทั้งมีการเสริมความแข็งแรงดวยแผนเหล็กในแนวแกนและในแนวขอบซึ่งใชเปนตัวรองรับใหกับ STATOR
CORE
4.2 STATOR CORE ประกอบไปดวยชิ้นสวนของแผน SILICON STEEL ทําเปนแผน LAMINATION
STEEL วางซอนกันและอัดแนนดวย CLAMPING PLATE มีลักษณะเปนเสี้ยว เมื่อประกอบแลวจะเปนรูป
ทรงกระบอก ภายในทําเปนรองสําหรับใส WINDING ซึ่งแผน SILICON STEEL ควรมีคุณสมบัติ LOW
LOSSES และมีคาความซึมซับแมเหล็กสูง แตละแผนจะเคลือบดวย OIL VANISH เพื่อเปนฉนวนไฟฟา
ระหวางแผนปองกันการเกิด EDDY CURRENT และจะแบงเปน PACKAGE เพื่อใหมีชองวางสําหรับ
VENTILATION DUCT ใหกาซไฮโดรเจนผาน ขอบดานนอกของแตละแผนจะทําเปน RECTANGULAR
SLOTS เพื่อยึด CORE ติดกับ KEY BAR
ที่ปลายทั้งสองดานของ STATOR CORE จะมีขนาดใหญกวาบริเวณกลางเพื่อลดการสูญเสียเนื่องจาก
สนามแมเหล็กรั่วไหล โดยเฉพาะในชวง UNDER EXCITED ซึ่งจะทําใหเกิด FLUX LEAKAGE ที่
STATOR CORE END PART มีปริมาณมากขึ้น จะเหนี่ยวนําใหเกิด EDDY CURRENT ที่ STATOR
CORE END PART และ STATOR CORE PLATE ทําใหบริเวณนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นดังรูปที่ 4-1

2.2.2 - 31
รูปที่ 4 – 1 STATOR END PART

4.3 STATOR WINDING จะถูกหอหุมดวยฉนวนมีลักษณะเปนแทงวางอยูในชองของ STATOR ที่


ปลายขดจะถูกเชื่อมตอกันในแตละ PHASE ดวย BUS RING
STATOR BAR จะประกอบดวยแทงทองแดง ถูกจัดวางใหเปนลักษณะแทงสี่เหลี่ยม โดยวิธี
ROEBEL TRANSPOSITION METHOD มีขนาดความยาวเทากัน

2.2.2 - 32
วิธีนี้จะชวยลด EDDY CURRENT LOSSES โดยใช การหุมดวย MICA TAPE หลายชั้นและชุบดวย
EPOXY RESIN อีกชั้นหนึ่ง จากนั้นก็หุมดวยการใช PRESSURE และ HEAT TREATMENT
4.4 GENERATOR TERMINAL PLATES ทําจากวัสดุที่เปน NON–MAGNETIC เพื่อชวยลดการ
สูญเสียอันเนื่องจาก EDDY CURRENTที่เกิดมาจากการไหลของกระแสใน ARMATURE ซึ่งประกอบไปดวย
RTD. TERMINAL BOX มีทั้งหมด 27 TERMINAL ( 1–27 ) โดย TERMINAL 1–12 ใชงาน สวน
TERMINAL 13, 14, 15, 26, 27 SPARE
RTD. THERMOCOUPLE TERMINAL BOX มีทั้งหมด 17 TERMINAL (28–45) 4.5 HIGH–
VOLTAGE BUSHING กระแส ARMATURE จะไหลผาน SEAL HIGH VOLTAGE BUSHING โดย
BUSHING จะประกอบดวยฉนวนที่ทําดวยกระเบื้องเคลือบหุมรอบตัวนําทองแดง (PORCELIAN
INSULATION) โดยที่ปลายตัวนําทองแดงทั้งสองขางจะมี PLATED TERMINAL ซึ่งทําดวยโลหะเงิน
4.6 GENERATOR COOLER ติดตั้งอยูที่มุมทั้ง 4 ดานของ FRAME ทอน้ําจะตออยูภายนอกที่ฐาน
ของ COOLER แตละดาน และจะตอง SEAL ระหวาง GENERATOR FRAME กับ COOLER TUBE
SHEET ทั้งดานบนลางของ COOLER เพื่อปองกันกาซไฮโดรเจนรั่ว
4.7 STATOR VENTILATION การระบายความรอนของ ARMATURE CORE นั้นจะใช ROTOR
FAN เปนตัวบังคับทิศทางการไหลของกาซไฮโดรเจนใหผาน จากขางในไปขางนอกและจากขางนอกเขามา
ขางใน ARMATURE CORE โดยชองวางระหวางแกนเหล็กและ OUTER WRAPPER PLATE จะถูกแบง
เปนหอง ๆ โดยจุดประสงคเพื่อปองกันการเกิด THERMAL STRESS และ OVERHEAT ในแกนเหล็กและ
ขดลวด
4.8 ROTOR จะถูกทําดวยแทงโลหะแทงเดียว โดยมี DOVETAIL SLOT เปนรองอยูรอบ ๆ ROTOR
และ ใน ROTOR จะมี FIELD WINDING ซึ่งวางอยูใน DOVETAIL SLOT มี WEDGE วางทับไวปองกัน
การเคลื่อนตัวของ FIELD WINDING อันเนื่องมาจากแรงเหวี่ยงหนีศูนยในขณะที่ ROTOR หมุนตัว ซึ่ง
WEDGE นั้นทํามาจากวัสดุที่เปน MAGNETIC และ NON–MAGNETIC เพื่อชวยทําใหเกิดการกระจายของ
เสนแรงแมเหล็ก
4.9 COLLECTOR RING AND CONNECTING PART WITH THE FIELD WINDING
COLLECTOR RING และ FIELD WINDING จะตอกันดวยแทงทองแดงที่หุมดวยฉนวนโดยผานทะลุเขาไป
ตรงกลางรูของแกนโรเตอร

2.2.2 - 33
รูปที่ 1-2 COMPRESSOR ROTOR ASSEMBLY

รูปที่ 1-4 MID. COMPRESSOR CASING

รูปที่ 1-7 TURBINE ROTOR

รูปที่ 1-8 TURBINE ROTOR ASSEMBLY

รูปที่ 1-9 TURBINE CASING ASSEMBLY

รูปที่ 1-10 CASE ARRANGEMENT TURBINE

รูปที่ 2-1 PIPING INSTRUMENT DIAGRAM HRSG.

รูปที่ 4-1 STATOR END PART

2.2.2 - 34
คําถาม COMBINED CYCLE POWER PLANT MAJOR EQUIPMENT
1. จงอธิบายหลักการทํางานของ AIR COMPRESSOR มาโดยสังเขป
2. สวนประกอบของ COMPRESSOR STATOR มีอะไรบาง ?
3. COMBUSTION ZONE หมายถึงอะไร และอยูสวนไหนของ GAS TURBINE
4. สวนไหนของ GAS TURBINE ที่รับความรอนสูงที่สุด และมีอุณหภูมิเทาไร ?
5. อายุการใชงานของ GAS TURBINE ขึ้นอยูกับอะไรบาง ?
6. สวนประกอบหลักของ GAS TURBINE มีอะไรบาง ?
7. HRSG ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวม มีกี่ SECTION อะไรบาง ?
8. HRSG ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวม ทําหนาที่อะไร ?
9. สวนประกอบหลักของ HRSG. มีอะไรบาง ?
10. HRSG ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวม รับความรอนมาจากไหน และ อุณหภูมิสูงสุดที่
เทาไร ?
11. HRSG ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวม เปนแบบไหน
12. STEAM TURBINE ในสวนของ HIGH PRESSURE ทํางานที่ความดัน และ อุณหภูมิ เทาไร ?
13. การบํารุงรักษา STEAM TURBINE ที่ดีควรทําอยางไร ?
14. STEAM TURBINE ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวม มีการทํางานที่ความดันกี่ระดับ อะไร
บาง ?
15. สวนประกอบ STEAM TURBINE ROTATING PARTS มีอะไรบาง ?
16. การระบายความรอนใน GENERATOR ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวมเปนแบบอะไร ?
17. การบํารุงรักษา GENERATOR ที่ดีควรทําอยางไรบาง ?
18. GENERATOR ของโรงไฟฟาราชบุรีพลังความรอนรวม เปนชนิดอะไร ?
19. จงอธิบายหลักการทํางานของ GENERATOR มาโดยสังเขป
20. การลด EDDY CURRENT ใน STATOR CORE มีวิธีการลดอยางไร ?

เอกสารอางอิง
1. GAS TURBINE MAINTENANCE AND SYSTEM DESCRIPTION GE. POWER SYSTEM
FOR RATCHABURI COMBINED CYCLE POWER PLANT
2. STEAM TURBINE MAINTENANCE AND SYSTEM DESCRIPTION GE. POWER SYSTEM
FOR RATCHABURI COMBINED CYCLE POWER PLANT

2.2.2 - 35
2.2.3 THE BASIC OF

GAS TURBINE & COMBINED CYCLE

OPERATION

2.2.3 - 1
การทํางานของโรงไฟฟา
(Plant Operation)
หนาที่ของโรงไฟฟา (The Function of the Power Plant)
โรงไฟฟาที่ทันสมัยในปจจุบันมีสวนประกอบยุงยากซับซอนอยางยิ่ง และการดําเนินงานในเรื่องนี้เปน
สิ่งที่ทุกคนตองการ โลกของเราถาปราศจากโรงไฟฟาก็จะขาดความคลองตัวอยางยิ่ง ไมวาจะเปนเรื่องของ
เศรษฐกิจความสะดวกสบายและอื่นๆ การผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟาก็เปนขบวนการ ที่ยุงยากอันหนึ่งซึ่ง
จะตองใชเครื่องมือที่สลับซับซอน อยางไรก็ดีอุปกรณที่ใชเหลานี้ จะทําหนาที่ไดอยางถูกตองก็จําเปนตองใชผู
ปฏิบัติงานที่ไดรับการอบรมและฝกฝนมาเพื่อที่จะใชอุปกรณเหลานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ จุดประสงคเรื่อง
แรกคือ ใหผูอานมีความรูอยางกวางๆ วาจะผลิตและสงพลังงานไฟฟาไดอยางไร ซึ่งจะทําใหเราทราบวา ระบบ
ไฟฟาคืออะไร เราเปลี่ยนพลังงานกลเปนพลังงานไฟฟาไดอยางไร สวนตางๆและขบวนการคืออะไร และมีขั้น
ตอนที่จะตองปฏิบัติในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินอยางไร
ความมุงหมายของโรงไฟฟา คือการผลิตพลังงานไฟฟา โดยการใชแหลงพลังงานที่สามารถนํามาใชได
แหลงใดแหลงหนึ่งเชน
• Fossil Fuel Plants ใชถานหิน (Coal) น้ํามัน (Fuel Oil) หรือกาซธรรมชาติ (Natural Gas)
• Nuclear Plant ใชยูเรเนียม (Uranium)
• โรงไฟฟาพลังน้ํา (Hydroelectric Plant) ใชน้ําที่เก็บกักอยูเหนือเขื่อน
โรงไฟฟาใชพลังงานจากแหลงดังกลาวเพื่อเดินเครื่อง Electric Generator ซึ่งเปนเครื่องจักรที่เปลี่ยนพลัง
งานกลเปนพลังงานไฟฟา โดยทั่วไป Generator แตละตัวในโรงไฟฟาจะถูกเรียกเปน 1 Unit โรงไฟฟาโดยทั่ว
ไปอาจจะมี 1 Unit หรือมากกวานั้น เพื่อผลิตพลังงานไฟฟา
โรงไฟฟาไมมีหนาที่เพียงแตผลิตพลังงานไฟฟาเทานั้น แตเมื่อผลิตไดเราก็ตองสงพลังงานไฟฟาจํานวน
นั้นออกไป ซึ่งโดยทั่วไปจะกระทําดังนี้ Generator แตละตัวในโรงไฟฟาจะถูกตอเขากับ Transformer เพื่อเพิ่ม
Voltage ของพลังงานไฟฟา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสง หลังจาก Out put จาก Generator ทั้งหมดผาน
Transformer แลว พลังงานเหลานั้นจะถูกสงไปยัง Switchyard ใน Switchyard Generator ทุกตัวจะถูกตอเขา
ดวยกัน และผลผลิตที่รวมกัน จะถูกสงไปยังสายสงแรงสูง (High Voltage Transmission Line) เพื่อแจกจายไปยัง
พื้นที่ตางๆ ที่โรงไฟฟาจายไปให สายสงตอกับโรงไฟฟาดวย Substation และ Substation นี้ จะรวมพลังงานจาก
แหลงผลิตหลายๆ แหงเขาดวยกัน ใน Substation จะมี Transformer เปนตัวลด High Voltage ลงมา เพื่อให
สามารถใชงานไดในทองถิ่น (Locally) จาก Transformers พลังงานไฟฟาจะถูกแยกไปยังที่ตางๆ ผานสาย
จําหนายที่ซึ่งอาจแยกออกไปตามเสา หรืออาจฝงใตดิน เมื่อพลังงานถึงจุดหมายปลายทาง Transformer จะลด
Voltage ลงอีกครั้ง เพื่อใหสามารถใชไดกับเครื่องใชไฟฟาในโรงงานหรือบานเรือน ซึ่งจะมีมาตรวัดพลังงานไฟ
ฟาที่ใชแตละสถานที่ มาตรวัดนี้จะตอเขากับ Circuit หรือ Fuse Box จากนั้นก็จะแยกออกไปตามที่ตางๆ ทั่ว
อาคาร

2.2.3 - 2
ทั้งหมดนี้เปนคําอธิบายอยางงายที่สุด วากระแสไฟฟานั้นสงไดอยางไร โดยทั่วไปเราจะมีโรงไฟฟา
หลายๆ โรงในที่ตางๆ กัน ซึ่งจะตอรวมไวดวยกันเรียกวา Power System ขอดีอยางยิ่งในการรวมโรงไฟฟา
หลายๆ โรงเขาดวยกัน คือการมีแหลงผลิตที่ใหญ ซึ่งจะเปนแหลงผลิตพลังงานไฟฟาที่เชื่อถือได
ในหลายๆ โรงไฟฟาที่ผลิตพลังงานไฟฟาแลวจะตอเชื่อมโยงเขาดวยกัน โดยใช Tie – Lines การตอเขา
ดวยกันแบบนี้แตละโรงไฟฟาจะสามารถรับพลังงานจากระบบมาใชไดในกรณีที่จําเปน สิ่งนี้เปนสิ่งสําคัญใน
การผลิตพลังงานไฟฟา เพราะวาไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current) ที่เราใชกันอยูตามบานเรือนหรือใน
ธุรกิจตางๆ ไมสามารถที่สะสมไวใน Batteries เพื่อใชในอนาคตได และพลังงานไฟฟานั้นจะตองมีใหใชทันที
เมื่อมีความตองการ โรงงานผูผลิตกระแสไฟฟาตองมีความสามารถในการที่จะสงพลังงานไฟฟาไปยังผูใช เมื่อมี
ความตองการทุกครั้ง ซึ่งความตองการของระบบไฟฟาโดยแทจริง จะถูกกําหนดดวยความตองการของลูกคา
การสนองความตองการยุงยากมากเพราะวาหลอดไฟฟา, เครื่องใชไฟฟาและเครื่องจักรตางๆ จะถูกเปดและปด
อยูตลอดเวลา ดังนั้นความตองการใชไฟฟา จะอยูคงที่เพียงแคในชวงเวลาสั้นๆ ในเวลา 24 ชั่วโมง พลังงานไฟ
ฟาจะเปลี่ยนแปลงปริมาณอยางมาก โดยทั่วไปพลังงานไฟฟาจะต่ําสุดในเวลากลางคืน เมื่อธุรกิจตางๆ หยุด
ดําเนินการและคนสวนมากนอนหลับ ความตองการจะเริ่มขึ้นอีกในตอนเชา เมื่อผูคนตื่นขึ้นและธุรกิจตางๆ เปด
ดําเนินการ ความตองการสูงสุดในแตละวัน (Peak Demand) ตามปกติจะเกิดขึ้นในชวงเวลาตอนเย็น เมื่อผูคน
กลับบานและเปดไฟแสงสวางและเครื่องใชตางๆ
การสงพลังงานไฟฟาที่มีประสิทธิภาพก็คือการรักษาปริมาณของพลังงานไฟฟาที่สงออกไปใหเทากับ
ปริมาณความตองการ (Maintaining Supply Equal to Demand) การรักษา Demand และ Supply ใหเทากัน เปน
งานของศูนยควบคุมไฟฟา (Load Dispatcher) ศูนยควบคุมไฟฟานี้จะทํานายความตองการพลังงานไฟฟา, สอด
สองดูแลสภาพของระบบไฟฟา (Power System) และประสานผลผลิตของ Power Plant ตางๆ เพื่อให Supply
เทากับ Demand อยูเสมอ งานของ Dispatcher เปนงานที่ยุงยากงานหนึ่ง เพราะวา Dispatcher ตองมั่นใจวา พลัง
งานที่กําลังผลิตออกไปนั้นมีประสิทธิภาพมากที่สุดเทาที่เปนไปได ซึ่งหมายความวาการเดินเครื่องโรงจักรจะ
ตองมีประสิทธิภาพมากที่สุดหรือสามารถรักษา Load ใหเหมาะสม โดยที่ตองพยายามรักษาโรงจักรที่มีประสิทธิ
ภาพต่ําเอาไว เพื่อเพิ่ม Load เมื่อความตองการมีมากขึ้น และ Dispatcher จะตองประสานงานเกี่ยวกับการลด
Load เมื่อความตองการนอยลง
ความเชื่อถือในระบบไฟฟามีความสําคัญพอๆ กับประสิทธิภาพในการจายพลังงานไฟฟา เพื่อที่จะให
การผลิตเทากับการจาย (Supply Equal to Demand) Dispatcher และผูผลิตจะตองทํางานอยางถูกตอง
แหลงผลิตพลังงานไฟฟาก็เหมือนกับเครื่องจักรทั่วๆ ไปคือ บางครั้งอาจจะเสียหายหรือตองการการ
ซอมแซม ซึ่งเมื่อเกิดเหตุการณเหลานี้ Dispatcher ตองตัดสินใจวาจะทําอยางไรใหดีที่สุด เพื่อใหผูใชไฟฟาใช
ตามที่ตองการ โดยปกติแลว Dispatcher มีทางเลือก 3 ทางคือ
1. เพิ่ม Out put ของ Unit อื่นในระบบ
2. ซื้อพลังงานไฟฟาจากบริษัทหรือประเทศใกลเคียง
3. ตัดพลังงานไฟฟาที่จะสงไปยังผูใชไฟฟาบางสวนออก เพื่อปองกันการ Overload

2.2.3 - 3
Emergency Condition
ในตอนนี้เราจะไดเรียนรูการปฏิบัติโดยทั่วไป 3 อยางที่จะตองกระทําเมื่อมีเหตุการณฉุกเฉินเกิดขึ้นใน
โรงจักร ซึ่งเราจะทราบวาตองปฏิบัติอยางไรเมื่อมีเหตุการณ เชน กรณีของ Loss of Flame ใน Combustion
หนาที่หลักของการเดินเครื่อง คือการปรับแตง System ตางๆ ใหสอดคลองกัน การตรวจสอบตามระยะ
เวลา (Periodic) ซึ่งทําไดดวยเครื่องมือและ System ในโรงจักร การอานคาตางๆ ก็จะไดจาก Indicator และ
Recorders อยางไรก็ดีบางครั้งอาจเกิดเหตุการณที่คาดไมถึง ซึ่งถาเราปลอยใหเหตุการณเหลานี้เกิดขึ้นก็อาจเปน
อันตรายกับโรงจักรหรือบุคคลที่ปฏิบัติงาน ดังนั้นการปฏิบัติอยางทันทวงที ก็จะเปนการปองกันไมใหมีเหตุดัง
กลาวเกิดขึ้น
โรงจักรหลายๆ โรงไดมีการพัฒนาและเขียนขอที่จะตองปฏิบัติตางๆ โดยเปนไปตามขั้นตอนแตละขั้น
เปนความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทราบและเขาใจขั้นตอนตางๆ เหลานี้ เพื่อวาจะไดปฏิบัติไดถูกตอง ถามีเหตุฉุก
เฉินเกิดขึ้น เนื่องจากโรงจักรประกอบไปดวยระบบที่ซับซอนหลายอยาง ดังนั้นจึงตองกําหนดขั้นตอนที่จะตอง
ปฏิบัติโดยเฉพาะสําหรับทุกๆ สถานการณ เพื่อจะใหรูถึงการปฏิบัติตอโรงจักร สิ่งจําเปนตองรูคือ System และ
Equipment ในโรงจักรหากมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นจะไดปฏิบัติตอเหตุการณเหลานั้นไดทันที
General Emergency Action
การปฏิบัติโดยทั่วไป 3 ขอ ที่จะตองกระทําระหวางเกิดเหตุการณใดๆ คือ
1. ตองทราบวาอะไรจะเกิดขึ้น
2. ตองทําใหโรงจักรอยูในสภาพที่ปลอดภัย
3. ตองติดตามผลและปฏิบัติการที่จําเปนตางๆ เพื่อใหโรงจักรกลับสูสภาพปกติ
สภาพสําคัญตางๆ หลายอยางจะถูกตรวจตราดวยระบบ Instrument ฉะนั้นในขั้นแรกเราตองทราบสิ่ง
ผิดปกติที่เกิดขึ้นบอยๆ จาก Enunciator, Alarm ระบบ Alarm จะเปรียบเทียบคาที่แทจริงใน Plant System
(Level, Pressure, Temperature ฯลฯ) กับคาที่คาดหวัง (Set point) ถาเกิดการแตกตางของคาจริงกับคาที่คาดหวัง
ไว Alarm Ring ก็จะดังขึ้น และที่ Enunciator Windows หลอดไฟจะติดขึ้นใน Control Room แต Alarm ที่ดังขึ้น
ทุกครั้ง ไมไดบงถึงเหตุการณฉุกเฉินในโรงจักรแตสวนมากมักเปนเชนนั้น ในฐานะที่เปน Operator เราตอง
สามารถแยกแยะความแตกตางของมันได
เราทราบเพียงวามีสิ่งผิดปกติกําลังเกิดขึ้นในโรงจักรนั้น ยังไมเปนการเพียงพอ เมื่อ Alarm ดังขึ้น เรา
ตองรูวาจะตองตรวจสอบ Indicator ตางๆ เพื่อใหทราบถึงระบบที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปน Support System ใดๆ
จนกระทั่งเมื่อเราทราบวา กําลังเกิดอะไรขึ้น ขั้นตอไปคือเราตองทําใหโรงจักรอยูในสภาพที่ปลอดภัย การ
ปฏิบัติใดๆ ตองเปนไปดวยความรวดเร็วทันตอเหตุการณ เพื่อปองกันการสูญเสียอุปกรณและผูปฏิบัติงาน
การปฏิบัติขั้นตอไปคือการนํา (เดินเครื่อง) โรงจักรคืนสูสภาพปกติ โดยการปฏิบัติที่จําเปนดวยการ
พิจารณาหาสาเหตุที่เกิดขึ้นอยางรอบคอบและมีการติดตามผล เพื่อใหแนใจวาสภาพของโรงจักรนั้นกลับสู
สภาวะปกติ และดูวาสาเหตุที่ผิดปกตินั้น สามารถแกไขไดเรียบรอยแลว

2.2.3 - 4
ตัวอยาง:- Emergency Action – Loss of Flame in Boiler
ขึ้นตอน 3 ขั้นตอนในการปฏิบัติที่เปนตัวอยางตอไปนี้ เปนการแสดงใหเห็นถึงการปฏิบัติโดยทั่วไป ตอ
เหตุการณฉุกเฉินที่เกิดขึ้นที่ Boiler สวนมากจะติดตั้งอุปกรณ Electronic ที่เรียกวา Flame Scanners ซึ่งจะคอย
ตรวจจับเปลวไฟใน Boiler และจะมีเสียงดัง Alarm ขึ้น เมื่อเปลวไฟหาย ถาเปลวไฟของ Boiler ดับไป ความดัน
ของไอน้ําจะลดลง เนื่องจากความรอนที่ใหกับ Boiler ลดลง เมื่อเปลวไฟใน Boiler หายไป Flame Scanner
Alarm จะดังขึ้น และ Pressure ของ Steam จะลดลงเรื่อยๆ ซึ่งจะชวยให Operator สามารถวิเคราะหไดวาอะไร
กําลังเกิดขึ้น ขึ้นตอไปในการปฏิบัติคือ การทําโรงจักรใหอยูในสภาพที่ปลอดภัย
อันตรายที่แทจริงเนื่องจาก Loss of Flame ใน Boiler คือ เชื้อเพลิงที่ยังไมถูกเผาไหม (Unburned Fuel)
จะเริ่มสะสมทั่วไปใน Boiler และปลอง (Stack) เนื่องจากเชื้อเพลิงและ Combustion Air จะยังคงถูกปอนเขาไป
ใน Furnace ถาปฏิบัติผิดวิธีโดยการจุด Burner ใหมอีกครั้ง เมื่อนั้น Boiler ก็จะระเบิด(Explode) ฉะนั้นการนํา
โรงจักรใหอยูในสภาพที่ปลอดภัย กอนอื่นเราตองหยุด Flow ของเชื้อเพลิงที่จะเขาไปใน Boiler และกําจัด
Unburned Fuel ใหหมดไป ขบวนการนี้เรียกวา Purging the Boiler การ Purge Boilerนี้ทําไดโดยใช Combustion
Air Flow ผาน Furnace เพื่อไล Fuel ออกไปทางปลอง
หลังจาก Boiler ได Purge ไปเรียบรอยแลว โรงจักรก็จะอยูในสภาพปกติ พรอมที่จะจุด Burners และ
เพิ่ม Pressure ของ Steam ใน Boiler ใหมไดอีก ถามีเหตุผลบางอยาง ซึ่ง Burners ไมสามารถจะจุดใหมได โรง
จักรก็จะตอง Shutdown

2.2.3 - 5
การเปลี่ยนรูปพลังงาน (Energy Conversion)
การเปลี่ยนรูปของพลังงานในโรงไฟฟาทั่วไป
พลังงานเคมี
พลังงานความ พลังงาน พลังงานไฟฟา
-Gas/Oil/Coal/Uranium
รอน กล

CHEMICAL THERMAL MECHANICAL


TO TO TO
THERMAL MECHANC ELECTRICAL

หลักการของเครื่องกังหันกาซ
เครื่องจักรพลังความรอน (Heat Engine) หมายถึงเครื่องจักรที่นําเอาพลังงานความรอนมาแปรรูปเปนพลัง
งานกล หรือพลังงานไฟฟาเพื่อใชงาน แบงตามชนิดของพลังงานไดดังนี้
Combustion Engine โดยใชเชื้อเพลิงที่เกิดจากธรรมชาติ (Fossil, Fuel)
Nuclear Reactor โดยใชความรอนที่เกิดจากปฏิกิริยาปรมาณู
Solar Energy โดยใชความรอนจากแสงอาทิตย
Geothermal Energy โดยใชความรอนใตพื้นพิภพ
ในสวนของ Combustion Engine ยังแบงออกเปน 2 ประเภทดังนี้
1. External Combustion Engine พลังงานความรอนที่เกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงจะถายเทใหกับ
ตัวกลางและนําเอาตัวกลางนี้ไปใชงาน ซึ่งเรียกสารตัวกลางนี้วา Working Fluid เชนใหความรอนกับ
น้ําใน Boiler จนกลายเปนไอน้ําใชขับ Steam Turbine
2. Internal Combustion Engine พลังความรอนที่เกิดจากการเผาไหมระหวางอากาศกับเชื้อเพลิง จะถูก
นําไปใชงานโดยตรงไมตองผานตัวกลาง กาซที่เกิดจากการเผาไหมทําหนาที่เปน Working Fluid โดย
ตรง เชน เครื่องยนต 2 หรือ 4 จังหวะ สําหรับแก็สเทอรไบน การทํางานจะตางจากเครื่องยนตที่กลาว
มา คือการถายเทพลังงานจะเปนไปอยางตอเนื่องไมมีจังหวะดูด, อัด,ระเบิด,คาย ทั้งนี้เนื่องจากสวน
ประกอบของเครื่องแตกตางกัน ชิ้นสวนหลักของ Gas Turbine ประกอบดวย
-Compressor ทําหนาที่ดูดและอัดอากาศเพื่อการเผาไหม
-Combustion Chamber (หองเผาไหม) ทําหนาที่เปนสวนที่เกิดการเผาไหมระหวางอากาศที่ถูก
อัดและเชื้อเพลิง ทําใหกาซรอนที่เกิดจากการเผาไหมเพิ่มพลังงานในการขยายตัว

2.2.3 - 6
-Turbine ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานที่ไดจากการเผาไหมเปนพลังงานกล โดยอาศัยหลักการ
ขยายตัวของกาซรอนผาน Turbine Blade ดวยการทํางานแบบ Impulse Turbine
วงจรการทํางานของ Gas Turbine มีชื่อเรียกวา Brayton Cycle หรือบางทีเรียกวา Constant Pressure
Cycle คือการเผาไหมและกาซรอนที่ถายเทพลังงานใหแก Turbine ออกสูบรรยากาศ เกิดขึ้นในสภาพความดัน
คงที่ ขบวนการถายทอดพลังงานภายในวงจรจะตอเนื่องกันทุกจุดของอุปกรณ ไมมีการสะสมพลังงานภายในวง
จร (Steady Flow Cycle)

-Stage 1-2 Compression of Air in


COMPRESSOR
-Stage 2-3 Heat Added at Const.
Press. in COMBUSTOR
-Stage 3-4 Expansion though GAS
TURBINE
-Stage 4-1 Exhaust to Atmosphere
-Adiabatic Compression &
Expansion

แกสเทอรไบนจัดอยูในประเภท Combustion Engine1 ซึ่งเอาผลจากการเผาไหมมาใชงานในรูปพลังงานกลเพื่อขับ AC. Generator, Pump, Compressor ตามประเภทการใชงาน

2.2.3 - 7
การใชงานของเครื่องกังหันแกส (Application of Gas Turbine)
ประเภทเครื่องกังหันแกส
เครื่องแกสเทอรไบนไดมีการพัฒนาในวงการบิน (Aircraft Engine) มาตั้งแตป 1940 และไดถูกนํามาใช
งานในอุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟาและอื่นๆ ในป 1960 ซึ่งมีขนาดตั้งแต 1 MW จนถึงเกินกวา 200 MW การ
แบงประเภทของเครื่อง แกสเทอรไบน ตามลักษณะการใชงานมีดังนี้

Aircraft Type Two Shaft Power Generation Simple Cycle

Mechanical Drive

Heavy Duty Type Single-Shaft Power Generation Simple Cycle


Regenerative
Cycle
Combined
Cycle

Two Shaft Mechanical Drive Simple Cycle

Regenerative
Cycle

Classification of Gas Turbine


แกสเทอรไบนที่ใชกับเครื่องบิน (Aircraft) ไอพน มีหนาที่หลักในการสรางแรงขับ (Thrust Force) และ
ยังตองออกแบบใหมีขนาดเล็กและน้ําหนักเบา พอเหมาะกับเครื่องบิน สวนแกสเทอรไบนชนิด Heavy Duty
Type ไมมีขอจํากัดในเรื่องขนาดและน้ําหนัก ซึ่งสามารถติดตั้งบนแทนตามที่ตองการ แกสเทอรไบนแบบ
Heavy Duty ที่นิยมใชงานมี 2 ลักษณะคือ Single-Shaft และ Two-Shaft โดยมีการใชงานตามประเภทของงาน

2.2.3 - 8
แบบ Single Shaft นิยมใชในการผลิตกระแสไฟฟาในลักษณะ
Peak Load Operation เดินเครื่องเฉพาะชวงความตองการไฟฟาสูงสุด (Peak Load Demand) หลังจาก
ผานชวงนี้ไปแลวตัวแกสเทอรไบนจะหยุดเครื่อง เพราะฉะนั้นจํานวนครั้งการ Start Up และ Shutdown จะมีคา
สูง ซึ่งมีผลกระทบกับอายุการใชงานของเครื่อง Gas Turbine
Standby (Emergency) Operation เดินเครื่องเพื่อจายไฟสํารองในกรณีฉุกเฉินใหกับโรงไฟฟาพลัง
ความรอนขนาดใหญเพื่อใชพลังงานไฟฟาในการ Start up อุปกรณยอย เมื่อเกิดไฟฟาในระบบการผลิตดับทั้ง
หมด (Black Out) การเดินเครื่อง Gas Turbine ในสภาวะนี้เรียกวา Black Start Operation เชน โรงไฟฟาขนาด
600-1000 MW จะใช Gas Turbine ขนาด 20 MW เปนตัว Standby Gas Turbine ที่ใชงานในลักษณะนี้จะตองมี
ความสามารถในการ Start ตัวเองไดโดยเลือกเครื่องดีเซลเปนตัวขับ (Starting Mean) Gas Turbine ตอนเริ่มเดิน
เครื่อง สวนเครื่องดีเซลสามารถใชแบตเตอรี่ เปนตัว Start เครื่องครั้งแรกในกรณีที่เลือกElectric Motor เปนตัว
ขับ Gas Turbineในตอนเริ่มเดินเครื่องจะไมสามารถเดินเครื่องในลักษณะนี้ได เพราะจําเปนตองใชกระแสไฟฟา
จากระบบการผลิต แตถาออกแบบมาใชงานในลักษณะ Standby จําเปนตองมีเครื่อง Emergency Diesel
Generator มาใชจายไฟใหกับ Electric Motor เพื่อ Start up Gas Turbine เปนเบื้องตนกอนที่จะจายไฟฟาใหกับ
การ Start up โรงไฟฟาพลังความรอนขนาดใหญ
Single Shaft Gas Turbine (Simple Cycle)
Compressor จะอยูบนแกนเดียวกับ Turbine ซึ่งตัว Turbine จะขับตัว Compressor พรอมๆ กับขับ AC
Generator เพื่อผลิตกระแสไฟฟา เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการผลิตกระแสไฟฟา (Load) ตัว Compressor ซึ่งหมุน
ดวยความเร็วรอบคงที่พรอมๆ กับ AC Generator เพื่อรักษาความถี่ทางไฟฟา (Frequency) ใหคงที่นั้น ยังคง
ตองการพลังงานเทาเดิมประมาณ 60% ที่ตัว Turbine ผลิตได เพราะ ฉะนั้นเมื่อการผลิตกระแสไฟฟาลดลงจะทํา
ใหประสิทธิภาพลดลงตามไปดวย ทั้งนี้เปนผลให Exhaust Gas Temp ลดลงตามไปดวย.
Out put ที่ผลิตไดจากเครื่อง Gas Turbine แบบนี้ สามารถควบคุมโดยการปรับปริมาณเชื้อเพลิงที่เขา
Combustor ในขณะที่ปริมาณอากาศจาก Compressor ยังคงที่อยู การควบคุมวิธีนี้อุณหภูมิของ Exhaust Gas จะ
แปรตาม Output ดวย เพื่อชวยใหประสิทธิภาพของเครื่องไมเปลี่ยนแปลงมากนัก อาศัยการปรับปริมาณอากาศ
โดยใช Inlet Guide Vane ติดตั้งในตัว Compressor กอนหนาของ Stage แรก ปริมาณอากาศจะแปรตามมุมการ
ปรับ Inlet Guide Vane ทั้งนี้อัตราสวนของเชื้อเพลิงและอากาศจะไมจางเกินไปทําใหคา Exhaust Gas Temp ไม
ลดลงมากนักเมื่อเทียบกับ Output วิธีการนี้ชวยใหประสิทธิภาพที่ Load ต่ําดีขึ้น (Partial Load Efficiency) และ

2.2.3 - 9
ยังเหมาะสมกับการนํา Exhaust Gas ไปใชงานใน Waste Heat Boiler ซึ่งทําให Steam Temp ไมลดลงมากนัก
เมื่อ Gas Turbine Output ลดลง

รอบของเครื่อง Gas Turbine แบบ Single Shaft ที่ใชงานผลิตกระแสไฟฟามีความเร็วรอบ 3000 RPM


เมื่อใชในระบบความถี่ 50 HZ และ 3600 RPM ที่ความถี่ 60 Hz Gas Turbine ที่ผลิตบางบริษัทจะมีความเร็วรอบ
5100 RPM ซึ่งตองใช Reducing Gear (Load Gear) ลดรอบลงเหลือ 3000 RPM กอนที่จะตอ (Coupling) กับ
AC Generator เชนเครื่อง Gas Turbine (GE) รุน MS 5001

Two Shaft Gas Turbine (Open Cycle)


Gas Turbine แบบนี้บางบริษัทใชชื่อรียกวา Dual Shaft ลักษณะของเครื่องแยก Shaft ของ Compressor
และ Shaft สวนที่ตอกับ AC Generator ออกจากกัน Compressor จะถูกขับดวย Turbine ชุดแรกเรียกวา HP
Turbine (High Pressure Turbine) ซึ่งมี Combustor เปนตัวใหพลังความรอน Exhaust Gas ที่ออกจาก HP
Turbine แลวจะไหลผาน Turbine ชุดที่สองซึ่งเรียกวา LP Turbine (Low Pressure Turbine) หรือ Power
Turbine เพื่อใชขับ AC Generator ตอไป ระหวางตัว HP Turbine และ LP Turbine จะมี Inlet Guide Vane
(Nozzle) ที่ปรับมุมไดเปนตัวควบคุมรอบของ Power Turbine ใหคงที่ซึ่งมีความสัมพันธรวมกับปริมาณเชื้อ
เพลิงที่เขา Combustor ดวย

2.2.3 - 10
สวนตัว HP Turbine จะมีการควบคุมรอบเพื่อใหตัว Compressor อัดอากาศใหมีปริมาณเหมาะสมกับความ
ตองการของ Power Turbine ซึ่งความเร็วรอบของ HP Turbine จะเปลี่ยนแปลงอยูระหวาง 5000-6000 RPM
Compressor และ HP Turbine อยูบน Shaft เดียวกัน เมื่อรวมกับ Combustor มีชื่อเรียกตามหนาที่วา Gas
Generator ทําหนาที่จาย Hot Gas ไปขับตัว LP Turbine ในการผลิต Gas Turbine แบบนี้บางบริษัท เชน GE จะ
รวมตัว Gas Generator และ Power Turbine ใหอยูในแนวเดียวกัน โดยตอ Casing เขาดวยกัน ลักษณะการออก
แบบอุปกรณใกลเคียงกับแบบ Single Shaft แตบางบริษัท ไดนําเอา Air Craft Engine มาทําเปนตัว Gas
Generator เพื่อใชขับ Power Turbine บางครั้งอาจใช Gas Generator มากกวา 1 ตัว เชน 4 ตัว ใชงานรวมกันเพื่อ
ขับ Power Turbine ชุดเดียวกัน เชน Gas Turbine รุน AVON, OLYMPUS ของบริษัท ROLLS-ROYCE
LIMITED สวนเครื่องของบริษัท General Electric จะมีรุน MS 5002, MS 7002 เปนตน

เมื่อนําเอา Two Shaft Gas Turbine มาใชขับ AC Generator Speeds ของ Power Turbine ตองควบคุมให
คงที่เพื่อรักษาความถี่ของระบบไฟฟา สวนตัว Gas Generator สามารถลดรอบลงไดเมื่อ Output ของ Power
Turbine ลดลง ทําให Power ที่ใชขับ Compressor นอยลงเมื่อเทียบกับแบบ Single Shaft ผลที่ไดคือ ประสิทธิ
ภาพที่ Load ต่ําสูงกวาแบบ Single Shaft ในกรณีนําไปใชงานขับ Centrifugal Compressor, Pump ก็สามารถ
ปรับ Speeds ของ Power Turbine ใหเหมาะสมกับ Flow Rate ที่ไดจาก Centrifugal Compressor, Pump ไดงาย
โดยการปรับ Inlet Vane (nozzle) ที่อยูระหวาง HP Turbine และ Power Turbine แตตัว Gas Generator ยัง
สามารถหมุนที่รอบสูงอยูไดเพื่อรักษา Mass Flow ใหพอเหมาะกับ HP Turbine Output ที่รอบตางๆ กันตาม
ความตองการของอุปกรณที่ถูกขับ แตถาเปนแบบ Single Shaft นํามาใชงานนี้ ถาพยายามรักษา Turbine Inlet
Temp ใหคงที่และลดรอบเครื่องลง 10%, Output จะลดลง 25%หรือรอบลดลง 25% Output จะลดลงถึง 60%

2.2.3 - 11
Regenerative Cycle
Regenerative Cycle เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความรอนใหกับตัว Gas Turbine นอก
เหนือไปจากการเพิ่ม Turbine Inlet Temperature ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงกับอายุการใชงานของ Hot Gas Part
(ไดแก Combustor ,Turbine Blade) วิธีการทํา Regenerative Cycle สามารถใชงานกับ Single Shaft และ Two
Shaft Gas Turbine หลักการ โดยเพิ่ม Heat Exchanger เขาไปใน Cycle เพื่อดึงความรอนบางสวนประมาณ
75% จาก Exhaust Gas มาเพิ่มอุณหภูมิของอากาศที่ออกจาก Compressor กอนที่จะไปใชงานใน Combustor ตัว
อยางเชน สามารถลดอุณหภูมิของ Exhaust Gas จาก 450 oC คงเหลือ 260 oC และทําใหอุณหภูมิของอากาศที่
ออกจาก Compressor เพิ่มจาก 230 oC ไปเปน 400 oC คาประสิทธิภาพเชิงความรอนจะเพิ่มจาก 20% ไปเปน
25% จากตัวเลขดังกลาว วิธีการ Regenerative Cycle นาจะนิยมใชมากในอุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟา แต
ความจริงแลวเปาหมายการใช Gas Turbine ตองการเดินเครื่องเพื่อ Peak Load, Standby ในชวงระยะเวลาสั้นๆ
ดวยลักษณะเครื่องแบบงายๆ และการลงทุนต่ํา จึงไมมีระบบ Regenerative เขาใชงาน ตัว Heat Exchanger (เรียก
วา Regenerator) จะมีราคาสูงและขนาดใหญเพื่อลด Pressure Loser ทางดานอากาศและ Exhaust Gas ใหมีคา
ต่ําที่สุด
Inter Cooling and Reheating Cycle
นอกจากการเพิ่มประสิทธิภาพของ Gas Turbine ดวย Regenerator แลว ยังมีอีกวิธีการหนึ่งที่เพิ่มประ
สิทธิภาพของเครื่อง โดยลดอุณหภูมิอากาศระหวางการอัดดวย Compressor จาก LP Compressor ไปยัง HP
Compressor เพื่อลด Power ที่ใชขับ HP Compressor ในการเพิ่มความดันใหสูงขึ้น วิธีนี้เรียกวา Inter Cooling
จากนั้นอากาศที่ผาน HP Compressor จะถูกเพิ่มอุณหภูมิดวย Regenerator กอนเขา Combustion Chamber Hot
Gas สวนนี้ผาน HP Turbine เพื่อตองการ Output มาขับ HP Compressor เทานั้น Exhaust Gas ที่ผาน HP
Compressor จะถูกเพิ่มพลังงานอีกครั้งหนึ่งในตัว Combustion Chamber ดวยการพนเชื้อเพลิงเพิ่มเติมซึ่งเรียกวา
Reheating Hot Gas ที่ผานการ Reheating จะผาน LP Turbine เพื่อได Output ไปขับ AC Generator นอกจากนี้
Exhaust Gas ที่ออกจาก LP Turbine ยังไปผานตัว Regenerator อีกครั้งหนึ่งกอนที่จะออกสูบรรยากาศ ดวยวิธี
การดังกลาวตัว Gas Turbine จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เชน Gas Turbine ของ GE. ขนาด 26 MW จะไดคาประ
สิทธิภาพ 29.1% ดวยระบบ Regenerative, Inter Cooler และ Reheat Cycle

2.2.3 - 12
2.2.3 - 13
สรุปหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง Gas Turbine
เพิ่มคา Turbine Inlet Temperature
ใช Regenerative Cycle
ใช Inter Cooling และ Reheating Cycle รวมกับ Regenerative Cycle

Combined Cycle Operation

โดยการนําเอา Gas Turbine ทํางานรวมกับวงจรโรงไฟฟาพลังไอน้ํา (Steam Cycle) รวมกันเรียกวา โรง


ไฟฟาพลังความรอนรวม (Gas – Steam Combined Cycle Power Plant) การทํางานโดยยอ: Exhaust Gas ที่ออก
จากเครื่อง Gas Turbine ซึ่งมีอุณหภูมิสูงและปริมาณมากพอ (Mass Gas Flow) ผานเขาไปยัง Boiler (เรียกวา
Waste Heat Boiler) เพื่อผลิตไอน้ําที่มีความดันและอุณหภูมิสูงพอไปขับกังหันไอน้ํา (Steam Turbine) ในการ
ผลิตกระแสไฟฟาอีกทอดหนึ่ง ผลรวมของกระแสไฟฟาที่ออกจาก AC Generator ของ Gas Turbine และ Steam
Turbine มีคามากขึ้น โดยใชเชื้อเพลิงที่ตัว Gas Turbine เทาเดิม หมายความวาประสิทธิภาพความรอนของโรง
ไฟฟาพลังความรอนรวมมีคาเพิ่มขึ้น ปกติจะมีคาอยูระหวาง 40-50 % ซึ่งสูงกวาโรงไฟฟาพลังความรอน
(Conventional Thermal Plant) ทั่วไปที่มีความสามารถเดินเครื่องไดประสิทธิภาพอยูระหวาง 33-43%

2.2.3 - 14
Boiler ที่ใชงานในโรงไฟฟาพลังความรอนรวมจะมี 2 ลักษณะคือ
ประเภทแรกใชความรอนจาก Exhaust Gas ของเครื่อง Gas Turbine ทั้งหมดในการผลิตไอน้ํา ซึ่งเรียก
Boiler ลักษณะนี้วา Unfired Waste Heat Boiler

ประเภทที่สองจะมี Auxiliary Burners หรือเรียกวา Duct Burners ติดตั้งอยูใน Exhaust Duct ที่เชื่อมตอ
อยูระหวาง Gas Turbine กับ Boiler เพื่อเพิ่มปริมาณความรอนใหแก Boiler มีความสามารถผลิตไอน้ําไดมากขึ้น
ตัว Duct Burner สามารถจุดเชื้อเพลิงติดโดยอาศัยปริมาณ Oxygen สวนที่เหลือใชใน Exhaust Gas ของ Gas
Turbine ซึ่งมีคา Oxygen อยูประมาณ 15-17% Boiler ลักษณะนี้รียกวา Supplementary Fire Waste Heat Boiler
(Oxygen ในบรรยากาศมีอยู 21%โดยปริมาตร)

2.2.3 - 15
Gas Turbine ที่ใชงานในโรงไฟฟาพลังความรอนรวมยังสามารถแยกเดินเครื่องอิสระจากวงจรพลัง
ความรอนรวม โดยปลอย Exhaust Gas ออกสูบรรยากาศผานทาง Bypass Stack ไมใหเขา Waste Heat Boiler ได
ในกรณีที่มีการตรวจซอม Waste Heat Boiler หรือ Steam Turbine โดยที่ยังสามารถเดินเครื่อง Gas Turbine
เพียงอยางเดียวเพื่อจายกระแสไฟฟา จึงเปนขอดีอีกขอหนึ่งของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม รวมทั้งมีขอดีที่ใช
เวลาเดินเครื่องจายกระแสไฟฟาเต็มที่สั้นกวาโรงไฟฟาพลังความรอน (Conventional Thermal Plant) ทั่วไป การ
เดินเครื่อง Gas Turbine แบบอิสระแบบนี้เรียกวา Open Cycle Operation การเดินเครื่อง Gas Turbine แบบ
Open Cycle ใหได Full Load ของเครื่องขนาด 60 MW ประมาณ 12 นาที แตถาเดินเครื่องแบบ Combined
Cycle ได Load รวมกัน 360 MW ขณะ Cold Start up จะใชเวลาประมาณ 4.5 ชั่วโมง Load 360 MW ประกอบ
ดวย = (4 Gas Turbine 4 x 60 = 240 MW) + (1 Steam Turbine 120 MW)

Cogeneration Operation
คือการนําเอา Gas Turbine ไปขับ Generator เพื่อผลิตกระแสไฟฟา สวน Exhaust Gas ที่ออกจาก Gas
Turbine จะผานเขาไปยัง Waste Heat Boiler ซึ่งอาจจะเปนแบบ Unfired หรือ Supplementary Fired ตามปริมาณ
ไอน้ําที่ตองการใชงาน ไอน้ําที่ผลิตไดจะนําไปใชงานในลักษณะใหความรอนในขบวนการผลิต เชน โรงงาน
กระดาษ, อุตสาหกรรมปโตเคมี หรือทําน้ํารอนใชภายในเมืองขนาดใหญ การจัดรูปแบบในลักษณะ Co-
Generation จะใหประสิทธิภาพในการนําความรอนไปใชงานในการผลิต (Process) และกระแสไฟฟาตอปริมาณ
เชื้อเพลิงที่ปอนเขาตัว Gas Turbine และ Auxiliary Burner มีคาอยูระหวาง 70-80%

2.2.3 - 16
ในอุตสาหกรรมปโตเคมี (Petrochemical) นิยมใช Gas Turbine เพราะสามารถใชสิ่งที่ไดจากขบวนการ
ผลิต (By Product) มาใชเปนเชื้อเพลิงของ Gas Turbine รวมทั้งสามารถนํา Exhaust Gas มาใชงานไดอยางมีประ
สิทธิภาพ

2.2.3 - 17
หลักการเดินเครื่องเบื้องตน
โดยทั่วไปพนักงานเดินเครื่องมีบทบาทตรวจสอบการทํางานของเครื่อง Combustion Turbine เริ่มตั้งแต
ขั้นเตรียมการ (Preparation) , สั่งเครื่อง Start up, เพิ่ม/ลด Load และ Shutdown ซึ่งทุกขั้นตอนพนักงานเดิน
เครื่องตองมีความพรอม/ความเขาใจอยางถูกตอง สามารถสั่งงานและวิเคราะหสิ่งผิดปรกติไดอยางรวดเร็ว, ถูก
ตอง รวมทั้งนําเสนอขอมูลแกผูเกี่ยวของทันตอเวลา พึงระลึกอยูเสมอวา การควบคุมเครื่องที่ถูกตองตามคําแนะ
นําของผูผลิต และการซอมบํารุงรักษาที่ถูกวิธี สามารถทําใหใชเครื่องไดอยางมีประสิทธิภาพ,ตอเนื่อง และมี
ปญหาขัดของนอยที่สุด บทความตอไปนี้เปนความรูพื้นฐานที่มีวัตถุประสงค เพื่อกําหนดแนวทางปฏิบัติการเดิน
เครื่องใหอยูในแนวทางเดียวกัน สวนคา Limits หรือวิธีปฏิบัติในรายละเอียดสามารถเพิ่มเติมไดจากขอมูล Work
Instruction, Technical Paper หรือ Manual ของเครื่อง
เครื่อง Gas Turbine สามารถเดินเครื่อง (Start up) ไดทั้ง Manual และ Automatic Mode ซึ่งสามารถจัด
ระบบการสั่งเดิน/หยุดเครื่องในลักษณะ Remote Control ไดงาย การ Start up จะตองมีการขับตัว Compressor
ใหหมุนกอนดวย Starting Means ซึ่งไดแก Diesel Engine, Electric Motor หรือ Frequency Converter (FC.) เพื่อ
ใหตัว Compressor ดูดอากาศจํานวนหนึ่งที่เพียงพอกับการเผาไหมชวงแรก (Firing) ใน Combustor ซึ่งรอบของ
Compressor จะประมาณ 20-25% ของรอบการใชงานหลังจากนี้ระบบเชื้อเพลิงจะสั่งจุด Igniters เพื่อจุด Burner
ในแตละ Combustion Chamber พลังงานความรอนที่เกิดขึ้นจะผานตัว Turbine ทําใหมี Torque พา Compressor
ซึ่งอยูบนแกนเดียวกันหมุนเร็วขึ้นดวยจํานวน Torque ที่มาจาก Starting Mean และ Turbine ที่ความเร็วรอบ
ประมาณ 60% ของรอบใชงานจะเกิด Torque เนื่องจากการเผาไหมเพียงพอที่ Gas turbine จะเลี้ยงตัวเองได
(เรียกวา Sustaining Speeds)
ระบบปอนเชื้อเพลิงของ Gas turbine จะเพิ่มปริมาณเชื้อเพลิงตั้งแตเริ่ม Firing ขึ้นไปเรื่อยๆ ทําใหตัว
Gas Turbine สามารถเรงรอบ (Acceleration) ขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึงรอบใชงาน (Rated Speeds) ตัว Starting Mean
จะเลิกทํางานชวยหมุน Gas Turbine เมื่อรอบเครื่องสูงกวา 60% (บางเครื่องตั้งไว 70% Rated Speeds) ซึ่งเปนจุด
ที่แนใจไดวาพลังงานความรอนที่เกิดจากการเผาไหมสามารถเรงเครื่องจนถึง Rated Speeds เมื่อ Gas Turbine
หมุนได Rated Speeds แลว ระบบควบคุมทางไฟฟาก็จะสั่งให Close Generator Circuit Breakerเพื่อขนานเครื่อง
(Synchronizing) เขาระบบการผลิตจายกระแสไฟฟาตอไป
การควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงระหวาง Stat up ใหสัมพันธกับรอบของ Gas Turbine (ปริมาณอากาศที่ถูก
ดูดโดย Compressor) จะถูกควบคุมดวยวงจร Start up Controller นอกจากนี้ยังมีวงจร Speeds Control, Load
Control และ Temperature Control ทํางานรวมกัน (เรียกรวมกันวาระบบ Governor Control) ควบคุมตัว Gas
Turbine ใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

2.2.3 - 18
หนาที่ของพนักงานเดินเครื่อง (Operator Responsibility)
สิ่งที่พนักงานเดินเครื่องตองปฏิบัติทุกครั้ง เมื่อตองการ Start up เครื่องมีขอบเขตดังนี้
- ตองมีการตรวจสภาพอุปกรณทุกจุดตาม “Check Sheet” ที่กําหนดโดยผูผลิตหรือผูรับผิดชอบดาน
เดินเครื่อง
- ตองแนใจวาระบบควบคุม/ปองกันทํางานไดถูกตอง ผานการทํา Function Test ที่แนนอนถูกตองมา
แลว และงานตรวจซอมของหนวยบํารุงรักษาแลวเสร็จ (พนักงานเดินเครื่องตรวจรับงานแลว)
- ตองแมนยําและใสใจในขอควรระวังสําหรับการเดินเครื่อง ตั้งแตเริ่ม Start up, Loading จนถึง
Shutdown เครื่อง
นอกเหนือจากขอบเขตดังกลาว พนักงานเดินเครื่องควรมีความสามารถในวิธีปฏิบัติที่แนนอนเกี่ยวของ
ในเนื้อหาดังตอไปนี้
1. มีการตอบสนองกับสัญญาณเตือน (Annunciater Indicator) ที่เกิดขึ้น และสามารถวิเคราะห แกไข เหตุ
การณผิดปกติ (Abnormal Condition) กลับสูสภาพปลอดภัยได โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับระบบปองกัน
(Protection System) เชน Low Lube Oil Pressure, Over Exhaust Temperature, Vibration และ Over
Speeds เปนตน (ควรมีการทบทวนวิธีปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ)
2. การทดสอบระบบควบคุมหลังจากมีการตรวจซอมจากหนวยบํารุงรักษา ควรกําหนดวิธีการทํา
Function Test ระบบทั้งที่มีการซอมแกไขหรือถอดเปลี่ยนอุปกรณ และตองทํากอนที่จะมีการ Start up
เครื่อง (อยามองขามสิ่งนี้ แมจะเปนการเอา Spare Module ทั้งชุดมาถอดเปลี่ยน)
3. การตรวจสอบคา Turbine Exhaust Temperature อยางใกลชิดในขณะ Start up ทุกครั้งที่มีการ Start up
โดยเฉพาะถามีการตรวจซอมอุปกรณในระบบเชื้อเพลิง, งาน Combustor Inspectionตองเฝาดูอยาง
เครงครัด และเปรียบเทียบกับ Start up Curve ครั้งที่ยอมรับไดเพื่อหาสิ่งผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น ในกรณีที่
คาเพิ่มขึ้นสูงผิดปกติก็ใหพิจารณาสั่ง Manual Trip Turbine ไดทันทีเพราะ Exhaust Temp ที่สูงเกิน
สามารถทําใหอุปกรณใน Hot Gas Path เสียหายได สําหรับอัตราการเพิ่มของ Exhaust Temp เมื่อเทียบ
กับ Speeds ของ Turbine ก็เปนสวนชวยในการพิจารณาอัตราสวนของอากาศ และเชื้อเพลิงที่เหมาะสม
ใหเครื่องมีอัตราเรงรอบจนถึง Rated Speeds (Full Speeds No-Load) เหมาะสมหรือไม
(หมายเหตุ: ตองทําความเขาใจกับ Start up Curve ใหถูกตอง วิเคราะหความสัมพันธซึ่งกันและกันได
อยางเดนชัด มีการบันทึก Start up Curve ตามชวงเวลาที่กําหนดไว เพื่อการเปรียบเทียบวิเคราะหหาสิ่ง
ที่เปลี่ยนแปลง)

2.2.3 - 19
ขอควรระวังทั่วไปสําหรับการเดินเครื่อง (General Operation Precaution) มีรายละเอียดตามหัวขอตอไปนี้
Exhaust Temperature Limits
นอกเหนือไปจากความสัมพันธระหวาง Exhaust Temperature Trip, Alarm, Control กับ Compressor
Discharge Pressure (CPD) รายละเอียดอยูในหัวขอเรื่อง Over Temperature Protection ซึ่งใชเปน Curve กําหนด
การควบคุมและปองกันแลว จําเปนตองติดตามคา Exhaust Temp ที่อานไดจากแตละ Thermocouples เพื่อดูการ
เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับเวลาเปนวัน หรือสัปดาหอยางตอเนื่อง เพื่อพิจารณาเปรียบเทียบหาสิ่งผิดปกติที่อาจ
เกิดขึ้นกับอุปกรณภายใน Hot Gas Path
คาความเปลี่ยนแปลงที่นํามาพิจารณา คือคา Temp แตกตางระหวางหัว Thermocouple (เรียกวา Temp
Spread) ที่เปลี่ยนแปลงโดยเปรียบเทียบกับเวลา มีอัตราการเปลี่ยนแปลงคงที่หรือเพิ่มขึ้น ถาคานี้เปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็ว ก็สมควรมีการตรวจสอบตัว Combustor และเครื่องมือวัดตอไป
การเก็บขอมูลดังกลาวควรปฏิบัติในโอกาสตอไปนี้
- Initial Start up Unit (การเดินเครื่องครั้งแรกในชวง Commissioningและการปรับแตงอุปกรณควบ
คุมแลว)
- Before & After Planed Shutdown (กอนหยุดเครื่อง และเดินเครื่องครั้งตอไป)
- Before & After Planed Maintenance (กอน/หลังการตรวจซอมอุปกรณภายใน Hot Gas Path)
Wheel Space Temperature Limits
การวัดคา Wheel Space Temperature จะประกอบดวย Thermocouple ติดตั้งในชองวางของ Turbine
Wheel แตละ Stage ซึ่งคาที่อานไดจะแปรตาม Load เมื่อคาที่อานไดในแตละ Stage สูงเกิน Limits จะมี Alarm
เตือน
เมื่อคา Wheel Space Temp. ถึงจุด Alarm ก็ควรสั่งลด Load ลง เพราะมีสวนทําใหชิ้นสวนใน Hot Gas
Path เสียหาย โดยเฉพาะ Turbine Wheels สาเหตุที่ทําให Wheel Space Temp. สูงเกิน Limit อาจเนื่องมาจาก
- เกิดการอุดตันในทอหรือชอง Cooling Air ที่ใชงาน (ดู Schematic PP. Diagram CLG & SLG. Air
– 0417 ประกอบ) รวมทั้งทอภายนอกและชองภายใน Turbine Rotor
- Diaphragm Seal หรือ Wheel Space Seal มีการสึกหรอเกินขนาดทําใหการ Cooling ไมเพียงพอ
- เกิดการบิดเบี้ยวของตัว Turbine Stator Blades เปนผลให Diaphragm Clearance เปลี่ยนแปลงและ
ทําให Hot Gas ไหลผานบริเวณนั้นเพิ่มขึ้น
- การเผาไหมในแตละ Combustor ไมสม่ําเสมอ ทําให Hot Gas Temp. แตกตางกันมาก
- Thermocouple อานคาไมถูกตองหรือตําแหนงติดตั้งผิดไปจากเดิม เพราะฉะนั้นการอานคาควร
เปรียบเทียบคาดานขวา / ซาย ที่ Stage เดียวกันดวย
การบันทึกคา Wheel Space Temp. ควรมีคาที่ไดจาก Start เครื่องในชวง Commissioning ที่ Load ตางๆ
กัน ไวสําหรับเปรียบเทียบกับคาที่ใชงานปกติหรือหลังจากทํา Major Overhaul เครื่อง เพื่อวิเคราะหสิ่งผิดปกติที่

2.2.3 - 20
อาจจะเกิดขึ้น (หมายเหตุ : คา Wheel Space Temp. แตละจุดอานไดจาก CRT. บน Turbine Control Panel-Data
Display )
Pressure Limits
ในการเดินเครื่องคา Pressure ที่อานไดจาก Pressure Gages หรือคา Pressure SW. Setting ในระบบ
ตางๆ ตองมีการตรวจสอบ/เปรียบเทียบอยูสม่ําเสมอ โดยคา Alarm, Trip ตองมีความถูกตองเหมาะสมกับการใช
งานของแตละเครื่อง คา Pressure ที่อานไดตองนํามาวิเคราะหหาสิ่งผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นกับอุปกรณ เชน
Lube Oil Pressure ที่ต่ําลง อาจจะเนื่องมาจากการอุดตันของ Filter หรือมีรอยรั่วในทอจาย Lube Oil คาที่ระบุไว
ใน Device Summary หรือ Control Specification ตองนํามาศึกษาใหเขาใจและพรอมนํามาใชอางอิงในวิเคราะห
ปญหาอยางรวดเร็ว
Vibration Limits
ในการเดินเครื่อง Combustion Turbine คา Vibration Velocity (in/sec) จะเปนตัวชวยวิเคราะหความผิด
ปกติที่เกิดขึ้นกับชิ้นสวนเคลื่อนไหว (Moving Parts) และการเผาไหมใน Combustors เพราะฉะนั้นคา Vibration
จะตองมีการเก็บขอมูล/ติดตาม ตลอดเวลาที่เดินเครื่องตั้งแต Start up (Vibration เทียบกับ Speed) , Loading
(Vibration เทียบกับ MW) รวมทั้งกอน/หลัง Major Overhaul
ขอมูลที่ไดจากคา Vibration ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางผิดปกติ จะตองสงใหผูเกี่ยวของพิจารณาแกไขซึ่ง
อาจจะเนื่องมาจาก Vibration Sensors หรือ Turbine / Compressor Blades ก็ได การ Restart เครื่องโดยไม
วิเคราะหปญหาเรื่อง Vibration เสียกอน อาจจะทําใหเครื่องเสียหายมากขึ้นได
Load Limit
ขณะเดินเครื่องจาย Load สามารถเลือก Mode ได 2 ลักษณะคือ Base และ Peak ไดจากแผงควบคุม
Turbine ซึ่งคาดังกลาวนี้จะทําให Turbine Inlet Temperature อยูภายใตพิกัดที่ยอมรับได โดยไมมีปญหากับ
อุปกรณ (Trouble – Free Operation) ในเรื่องของ Turbine Bucket Thermal and Dynamic Stresses,
Compressor/Turbine Wheel Stresses และ Generator Cooling System เพราะฉะนั้นการตรวจสอบคาปรับแตง
ในวงจร Temperature Control & Protection จะตองปฏิบัติใหเปนไปตาม Control Specification อยางสม่ําเสมอ
สําหรับการเดินเครื่อง Overload เกินคาที่ระบุใน Nameplate จะมีผลกระทบตอชิ้นสวนของ Turbine ซึ่งอาจจะ
เกิดการเสียหายชํารุดไดในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งทําให Reliability ต่ําลงและคาใชจายบํารุงรักษาสูงขึ้น จึงเปน
เรื่องที่ตองหลีกเลี่ยงใหมากที่สุด
สําหรับทางดาน CT. Generator ก็ไมสมควรจาย Load เกินกวาที่ระบุไวที่ Nameplate Rating แมวาขณะ
นั้น Winding Temperature จะต่ํากวา Guaranteed Maximum Temp. เพราะวาคาที่อานจากตัว Temperature
Detector นั้น จะต่ํากวาอุณหภูมิจริงของ Copper Winding โดยมี Insulation เปนตัวคั่นกลางอยู ดังนั้นเพื่อใหคา
Conductor Expansion, Insulation Stress อยูในพิกัดปลอดภัยควรเดินเครื่องจาย Load ดาน Generator ตาม
Reactive Capability Curve และ “ VEE ” Curve สําหรับการ Excitation รวมทั้ง Winding Temp., Cold Gas
Temp. ไมเกิน Guaranteed Maximum Temperature. (ตัวเลขแสดง Load Limit อยูใน Equipment Data)

2.2.3 - 21
Fire Protection System
ในระบบ Fire Protection และ Ventilation จะตองมีการตรวจสอบ Pressure ของสารเคมี ดับเพลิง, Fire
Detector แตละจุดภายในแตละ Compartment ใหอยูในสภาพพรอมกอนการ Start up เครื่องและเมื่อมี Alarm
เกิดขึ้น เชน Fire Detector Trouble, Fire เกิดขึ้นจะตองมีการแกไขอยางเรงดวน
เมื่อระบบ Fire Protection ทํางานจะมี Alarm เตือนบนจอ CRT. และสั่ง Trip เครื่องทันทีพรอมกับสั่ง
ให Fire Dampers ปด (ดู DWG. ML.0436) สิ่งที่ตองปฏิบัติ หลังจากที่ระบบสั่งฉีดสารเคมีหมดแลวจะตอง
Manual Reset Pressure SW. (45CP-14A, 45CP-24A) และ Manual เปด Fire Dampers Ventilation Dampers)
เพื่อระบายอากาศใหหมดกอนที่สั่ง Restart เครื่องในครั้งตอไป ทั้งนี้ตองวิเคราะหหาสาเหตุ/สรุปความเสียหาย/
แกไขใหเรียบรอยเสียกอน
(ขอควรระวัง : สารเคมีที่ตกคางอยูใน Compartment อาจจะเปนอันตรายกับบุคคลและมีผลกระทบตออายุการ
ใชงานของอุปกรณที่มีสารเคมีตกคางอยู)
Combustion System
โอกาสที่อุปกรณของตัว Combustion จะเสียหายระหวางเดินเครื่องนั้นอาจจะมีขึ้นได และสงผลใหการ
เผาไหมภายในแตละ Combustor ไมเทากัน เชน เกิดควันดํามาก (ขณะใช Light Oil), Cover/Casing ทะลุหรือทอ
เชื้อเพลิงทะลุ/หลุดหลวม ซึ่งเหตุการณเหลานี้จะสรางความเสียหายใหกับอุปกรณที่เกี่ยวของดวย เพราะฉะนั้น
เพื่อลดโอกาสการเกิด Combustor Failure พนักงานเดินเครื่องตองปฏิบัติในเรื่องตอไปนี้
1. ขณะเดินเครื่องตองติดตามคา EXH. Temperature Spread เกิน Limit ที่ยอมใหหรือไม ซึ่งจะมี Alarm “
Combustor Trouble ” และ “ High EXH. Temp. Spread Trip ” เกิดขึ้นเมื่อคาเกิน Limit
2. เมื่อเครื่อง Trip ลงดวยสาเหตุนี้มีการตรวจสอบแลว ถามีการ Start up ใหมจะตองมีการเปรียบเทียบคา
EXH. Temp. Spread กับคาเกาที่ปกติวามีสิ่งผิดปกติหรือไม
3. ในกรณีที่มีการ Trip ดวยสาเหตุนี้ นอกเหนือจากการตรวจสอบตัว EXH. Thermocouple แลวควรจะมี
การตรวจสภาพ Combustion Lines, Transition Pieces และ Fuel Nozzles ประกอบดวยเพื่อสรุปหา
สาเหตุที่แนชัด
4. ขอควรระวังในกรณีที่เดินเครื่องขณะที่มี Thermocouple ผิดปกติเกินกวา 1 ตัว นั้นมีโอกาสที่จะเกิด
Alarm “ Combustion Trouble ” หรือสั่ง Trip เครื่องได จึงจําเปนตองหาโอกาสหยุดเครื่องเปลี่ยนตาม
ความเหมาะสม แนวปฏิบัติโดยทั่วไปยอมให Thermocouple เสียไดสูงสุด 2 ตัว แตไมควรเดินเครื่องถา
Thermocouple ที่อยูติดกันเสียถึง 3 ตัว (Three Adjacent Thermocouples)

2.2.3 - 22
ในงานบํารุงรักษาควรจัดงาน Preventive Maintenance ในระบบ Control & Protection พรอมๆ กับ
Combustion Inspection เพื่อลดโอกาสเครื่อง Trip โดยไมจําเปน เมื่อคา Temp. Spread เริ่มสูงขึ้นควรพิจารณาดัง
นี้
- Shut down เครื่องลงทันที (เมื่อแนวโนมวาเครื่องอาจจะ Trip ได)
- การเขาตรวจสอบภายใน Compartment จะตองรอใหเครื่อง Shut down เรียบรอยและตองระวัง
Hot Gas/Air ที่พนออกมาขณะเปดประตู
Cool Down / Shut down
ในการ Shut down เครื่องโดยทั่วไปจะตองมีการ Cool down ตัว Turbine Rotor ใหมีอุณหภูมิต่ํากวาที่
กําหนดใหจึงจะสามารถหยุด Rotor นิ่งไดโดยไมเกิดการโกงงอของตัว Rotor โดยทั่วไป Turbine Rotor จะตอง
Cool down เปนระยะเวลาประมาณ 48 ชั่วโมง ตอเนื่อง หรือเมื่อ Wheel Space Temp. มีคาลดลงเหลือ 150°F
(65 °C ) ก็สามารถหยุด Turbine Rotor ได (การเลือก Cool down On/Off สั่งไดที่ OPM.- MAN.CTL.)
นอกเหนือการ Cool down แบบ Shut down ปกติแลว ในกรณีที่เกิด Emergency Shut down หรือ Unit
Tripped และตองการปองกันมิใหเครื่องเสียหายเพิ่มขึ้นก็มีแนวทางปฏิบัติดังนี้
1. เมื่อมีการสั่ง Emergency Shut down / Tripped โดยคาดวามีสาเหตุมาจากชิ้นสวนภายในชํารุด กรณีนี้จะ
ตองไมมีสิ่งให Rotor หมุนเพื่อการ Cool down เพียงแตใหมี Lube Oil เลี้ยง Bearings ไวตลอดเวลา
(ตองแนใจวา Aux. Lube Oil Pump หรือ DC Emergency Oil Pump ทํางานอยู) เพื่อปองกันมิใหOil /
Metal Temp. สูงเกิน Limit อาจจะทําใหผิว Bearing เสียหายได หลังจากที่ไดตรวจพบวาชิ้นสวนภายใน
ไมมีการเสียหายหรือเกิดจากสาเหตุที่แนชัดก็ใหเริ่ม Cool down Cycle ตามปกติตอไป
2. ในกรณีเกิดขอขัดของไมสามารถหมุน Turbine Rotor ไดหลังจาก Shut down เครื่องไปแลวก็มีแนว
ทางพิจารณาดังนี้
- ถา Rotor หยุดนิ่งไมเกิน 15 นาที สามารถ Restart เครื่องไดโดยไมตอง Cool down หมุน Turbine
Rotor
- ถา Rotor หยุดนิ่งเกินกวา 15 นาที แตไมเกิน 48 ชั่วโมง จะตองสั่งหมุน Rotor อยางนอย 2 ชั่วโมง
หรือมากกวากอน Restart ครั้งตอไป แตถาหยุดนิ่งเกินกวา 48 ชั่วโมง ไปแลวการ Restart เครื่อง
สามารถทําไดทันทีโดยไมมีปญหาเรื่อง Turbine Rotor โกงงอ (ชวงเวลานี้คา Wheel Space Temp.
นอยกวา 150 °F หรือเทากับ AMB. Temp. อยูแลว)
3. เมื่อมีการ Restart เครื่องโดยที่ไมมีการ Cool down ตามปกติ (สิ่งที่ตองปฏิบัติขณะ Start up คอยเฝาดูวา
คา Vibration ที่รอบเครื่องตางๆ กัน ถาเครื่องมี Vibration เกินกวา 1.0 in/sec. จะตองเลิก Start up และ
หมุน Turbine Rotor อยางตอเนื่องอยางนอย 1 ชั่วโมง กอนจะ Restart ครั้งตอไป ในชวงนี้ถาพบวามี
การเสียดสีเกิดขึ้น (Rub Check) จนรอบของ Turbine ต่ํากวาปกติ ควรหมุด Turbine Rotor ตอไปอีก
อยางนอย 30 ชั่วโมง หรือหยุดนิ่งรอในชวงเวลานี้ เมื่อ Turbine Rotor หมุนไดปกติก็สามารถ Restart
ครั้งตอไปได ระยะเวลาหยุดรอเปลี่ยนแปลงไดตามสภาพปญหาและประสบการณของการเดินเครื่อง

2.2.3 - 23
การสั่งให Turbine Rotor หมุนสามารถปฏิบัติได 2 ลักษณะ คือ
1. Cool down Operation หรือเรียกวา Slow Roll Operator คือ Turbine Rotor หมุนโดยอาศัย
Lube Oil Pressure (OL-6) สงเขาตัว Torque Converter (ในสวนของ Turbine Wheel) โดยผาน
Sol. Valve 20 TU-2 จุดประสงคเพื่อ Cool down Turbine Rotor หลังจาก Shut down เครื่อง
หรือ หมุน Rotor เพื่อทํา Rub Check (ฟงเสียงเสียดสีภายใน) กอน Start up / หลังจากงาน
ตรวจซอม
2. Cranking Operation คือ Turbine Rotor หมุนโดยอาศัย Cranking Motor และรักษารอบ
Turbine ไวที่ประมาณ 100 % (Cranking Speed) ดวย Torque Adjuster Motor (88TM) อยูใน
ตําแหนง Min. Torque จุดประสงคเพื่อการ Cool down อยางรวดเร็วหลังจาก Shut down เครื่อง
สําหรับงานซอมบํารุงที่จําเปนตองหยุด Turbine Rotor เวลาการ Cool down ในลักษณะนี้จะใช
เวลาประมาณ 5 ชั่วโมงที่ทําให Wheel Space Temp. ลดลงเหลือ Λ 65 °C (หมายเหตุ : ตัวเลข
คานี้เปนคาโดยประมาณจากโรงงานเมื่อมีการทดลองจริงๆ ที่ Site อาจจะมีคามากกวานี้)
บทสรุป
เนื้อหาทั้งหมดที่กลาวมานี้เปนเพียงขอมูลเบื้องตนสําหรับผูสนใจเทานั้น ในสวนของรายละเอียด
สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากเอกสารตางๆ ทั้งจากหองสมุด กฟผ., เอกสารจากการฝกอบรม และเอกสารจาก
Manual ของผูผลิต ซึ่งมีเนื้อหาและรายละเอียดปลีกยอยอีกมาก

2.2.3 - 24
2.2.3 - 25
2.2.3 - 26
2.2.3 - 27
2.2.3 - 28
2.2.3 - 29
แบบทดสอบความรู เรื่อง Plant Operation
จงตอบคําถามตอไปนี้
1. Substation มีหนาที่อะไร
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
2. Load Dispatcher มีหนาที่อะไร
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................
3. ปริมาณพลังงานไฟฟาที่.....................................จะตองเทากับปริมาณไฟฟาที่...................................เสมอ
4. จงอธิบายการทํางานของ External Combustion Engine มาพอสังเขป
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
5. จงบอกชิ้นสวนหลักของเครื่อง Gas Turbineพรอมหนาที่ มาพอสังเขป
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................

2.2.3 - 30
6. จงอธิบายการทํางานโดยยอของ Combined Cycle Operation
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….
7. จงเติมคําใหสมบูรณ
Two Shaft Gas Turbine จะแยก Shaft ของ Compressor และ Shaft ที่ตอกับ AC Generator ออกจากกัน
Turbine ชุดแรกที่ใชขับ Compressor เรียกวา................................................สวน Turbine ชุดที่สองที่ใชขับ AC.
Generator เรียกวา...........................................................
8. จงบอกหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง Gas Turbine มา 3 ขอ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
9. จงบอกขอควรระวังทั่วไป (Limits) สําหรับการเดินเครื่องมาสัก 4 ขอ
4.1.......................................................................................................................................................
4.2.......................................................................................................................................................
4.3.......................................................................................................................................................
4.4.......................................................................................................................................................
10.จงใสเครื่องหมาย หรือ X หนาขอความตอไปนี้
.............การ Start up Gas Turbine ไมจําเปนตองมีตัวขับ Compressor ใหหมุนกอนดวย Starting Mean
.............Gas Turbine ใชพลังงานจาก Starting Mean เพียงอยางเดียวขับ Compressor จนถึง Rated Speed
.............Working Fluid ของเครื่อง Gas Turbine หมายถึงกาซที่เกิดจากการเผาไหมใน Combustor

2.2.3 - 31
2.3 Plant Control System

2.3 - 1
Control Modes
Control Modes
ในการควบคุมแบบปอนกลับ (Feedback Control Loop) สัญญาณควบคุมจาก Controller เกิดจากคา
Deviation เพื่อทําการปรับแตงตําแหนงของ Final Control Element ดังนั้น การเกิดลักษณะของสัญญาณควบคุม
เนื่องจากการมี Deviation เพื่อปรับตําแหนงของ Final Control Element ก็จะมีหลายลักษณะดวยกัน
ลักษณะของ Control Action มี 4 แบบ คือ
o Two – Position Control
o Proportional Control
o Reset Control
o Rate Control
Two – Position Control
เปนการควบคุมที่สัญญาณควบคุมทําใหตําแหนงของ Final Control Element เปนไปไดเพียง 2
ตําแหนง คือ เปดและปด จึงนิยมเรียกอีกชื่อคือ on-off Control ลักษณะของการควบคุมแบบ Two-Position
Control นิยมใชกับ โปรเซสที่มี Capacity มาก และไมตองการผลการควบคุมที่แนนอน เพียงแตอยูในยานที่
ตองการก็พอแลว เชน การควบคุมอุณหภูมิในหอง การควบคุมอุณหภูมิของเตารีด , การควบคุมระดับน้ําในถังที่
ใชตามบาน เปนตน

Controller
ใน Process Loop ตัววัดคาจะทําการวัดคา Measured Variable และคานี้จะถูกสงเขามายัง Controller ทํา
การเปรียบเทียบคา Measured Variable กับคา Set – Point ถามี Deviation เกิดขึ้น Controller ก็จะสรางสัญญาณ
ควบคุมสงออกเพื่อไปปรับตําแหนงของ Final Control Element จน Deviation หมดไปหรืออยูในยานที่กําหนด
Two-Position Control In a Process Loop
จากรูปเปนการควบคุมอุณหภูมิของน้ําดวยการใชไอน้ําเปนตัวใหความรอนดวยการใชการควบคุมแบบ
Two-Position Control
Two Position
Controller

Steam

Sensor

Steam Trap
รูป 1. Two-Position Control In a Process Loop

2.3 - 2
เนื่องจากการใช Two-Position Control ดังนั้น วาลวสามารถจะเปนไปไดเพียง 2 ตําแหนง คือ เปดสุด
หรือปดสุด เมื่ออุณหภูมิของน้ําต่ํากวาคาที่กําหนดวาลวจะถูกสั่งทําใหวาลวเปดสุดและเมื่ออุณหภูมิของน้ําสูง
กวาคากําหนด วาลวก็จะอยูในตําแหนงปดสุด
ในการควบคุมแบบ Two-Position Control คาของแปรที่เราควบคุม (Controlled Variable) ซึ่งที่นี้ก็คือ
อุณหภูมิของน้ําจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Fluctuate) คืออุณหภูมิจะเกิดสูงกวาหรือต่ํากวาคาที่กําหนด
อยูตลอดเวลา จะไมสามารถใหคงที่อยูที่จุด ๆ ใดได เพียงแตสามารถทําใหอยูในยานหนึ่ง ๆ เทานั้น
M ax

Set point Tim e

M in

O pen

Valve
Tim e

Close
รูป 2. การควบคุมวาวลแบบ Two-Position Control
การควบคุมแบบ Two-Position Control มักจําเปนที่จะตองใหมี Dead Band หรือ Dead Zone ซึ่งก็คือ
เปนยานของ Set point เมื่อใหมี Dead Band ในการควบคุมชนิดนี้ จะ ทําใหลดการสึกหรอหรือความเสียหายแก
อุปกรณที่ใชงานได ในการที่มี Dead Band เมื่ออุณหภูมิต่ํากวาคา Set Point การสั่งงานของ Controller จะยังไม
สั่งทันทีทันใด แตจะรอจนอุณหภูมิต่ําลงไปจนถึงคา Limit ต่ํา วาลวจึงจะถูกสั่งใหเปดขึ้น ไอน้ําก็จะไหลเขาทํา
ใหอุณหภูมิของน้ําในโปรเซสคอย ๆ เพิ่มขึ้น จนไปถึงคากําหนดดานสูงวาลวก็จะปด การทํางานแบบนี้วาลวจะ
ไมทํางานบอยนักอายุการใชงานก็จะยาวขึ้น แตถาไมมี Dead Band วาลวจะถูกสั่งใหเปดปดตลอดเวลา เมื่อ
อุณหภูมิสูงกวา Set Point วาลวก็จะปดและเมื่ออุณหภูมิต่ํากวา Set Point วาลวก็จะเปดเปนอยางนี้ตลอดเวลา ดัง
นั้น ตองมียานของ Set Point หรือมี Dead Band เพื่อลดการทําการของวาลวลง แตก็มีผลเสีย คือทําใหอุณหภูมิมี
Deviation มาก

2.3 - 3
Max

Dead
Zone Time

Min

Open

Valve
Time

Close
รูป 3. การควบคุมวาวลแบบ Two-Position Control

Two-Position Control (on-off Control)


ลักษณะที่เห็นชัด ๆ มีสรุปไดดังนี้
o คา Manipulate Variable จะเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วจากต่ําสุดไปสูงสุด
o การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณควบคุมเพื่อไปสั่ง Final Control Element จะขึ้นอยูกับเมื่อ
สัญญาณ Measured Variable นอยกวาหรือสูงกวา Set Point หรือมากกวาหรือนอยกวา Set Point Range [Dead
Band]
o ปกติ Mechanism ที่ทําใหเกิด on-off ก็คือ Relay
o การใช on-off Control ถามี Dead Band แคบ เมื่อใชโปรเซสที่มีการเปลี่ยนแปลงบอย ๆ หรือ
Small Capacity จําทําให Relay ทํางานบอยและเกิดการชํารุดเร็ว
นิยมใชกับ Process ที่ Large Capacity

Proportional Control
Continuous Control
เนื่องจากการควบคุมแบบ Two-Position Control ผลก็คือไมสามารถที่จะควบคุมใหโปรเซสอยูที่จุดที่
เราตองการจะเกิดมีการออสซิเลสอยูตลอดเวลา ดังนั้นในลักษณะของงานบางอยาสงที่ตองการผลการของควบ
คุมคงที่แนนอนการใช Two-Position Control จึงไมเหมาะสม จึงตองมีการพัฒนาลักษณะของการควบคุม
“Control Action” คือ พยายามปรับตําแหนงของ Final Control Element ใหอยูตําแหนงที่ตัวแปรที่เราควบคุมอยู
ที่คาเปาหมาย “Set Point”

2.3 - 4
Proportional Control
เปนการควบคุมอยางตอเนื่องตลอดเวลา โดยสัญญาณที่สงออกจาก Controller เพื่อไปปรับตําแหนงของ
Final Control Element จะเปนสัดสวนกับคา Deviation และเมื่อการควบคุมอยูในสภาวะสมดุลย คือตัวแปรที่เรา
ควบคุมอยูที่เปาหมาย “Set Point” ดังนั้น ตําแหนงของ Final Control Element จะอยูคงที่ที่ตําแหนงสมดุลโดยมี
สัญญาณควบคุมซึ่งเรียกกวา Output Bias รักษาอยู แมวาไมมี Deviation เหมืออยูก็ตาม
Steam
Temp Valve
Max 100% Open

Setpoint 50% Open

Min 0% Open

Steam
Temp Valve
Max 100% Open

Setpoint 50% Open

Min 0% Open
รูป 4. แสดงความสัมพันธระหวาง Input กับ Output
จากรูป 4.เปนการแสดงความสัมพันธระหวางคา Input และ Output ดวย ลักษณะของคานเพื่อชวยให
เห็นความสัมพันธระหวางอุณหภูมิที่ควบคุมกับตําแหนงของวาลว สมมุติเปนการควบคุมอุณหภูมิใหไดคา Set
Point โดยอุณหภูมิสามารถที่จะเกิด Deviation ไดในชวง Max และ Min เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของโหลดเมื่อ
อุณหภูมิที่เราสามารถควบคุมเกิดผิดไปจากคา Set Point โดยอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงคา Max จะทําใหวาลวถูกสั่ง
ใหปดมาจนสุด และถา อุณหภูมิที่ควบคุมเกิดต่ํากวาคา Set Point จนถึงคาต่ําสุด วาลวจะถูกสั่งใหเปดเพื่อใหไอ
น้ําไหลเขา Heat Exchanger เพื่อทําใหอุณหภูมิกลับเขาหาคา Set Point เมื่ออุณหภูมิที่ควบคุมเขาสูคา Set Point
ตามรูปคือที่จุดกึ่งกลางวาลวก็จะอยูที่ 50 เปอรเซ็นต ตําแหนงของวาลวจะขยับจะเปนสัดสวนขึ้นอยูกับวา
อุณหภูมิที่ควบคุมจะแตกตางจากคา Set Point มากนอยเพียงไร

2.3 - 5
Proportional Band
Proportional Band
Proportional Control สามารถที่จะอธิบายหรือพูดไดในลักษณะของ Controller Gain หรือ Proportional
Band
Proportional Band หมายถึง เปนอัตราสวนในการเปลี่ยนแปลงของ Input (Deviation) ตอการเปลี่ยน
แปลงของ Output แตคิดในแงของเปอรเซ็นต
P.B = Input x 100 %
Output
500% 167% 100%
100
60%
80
20%
Measured 60
(Span)
% 40
20

0 20 40 60 80 100
Output Signal (%)
รูป 5. แสดงอัตราสวนการเปลี่ยนแปลงระหวาง Input กับ Output
จากรูป เชนใหมีการเปลี่ยนแปลงของ Deviation หรือ Measuring Span 40-60 เปอรเซ็นต จะทําให
Output [ Valve ] ขยับได 100 เปอรเซ็นต
P.B = 20 x 100 = 20 %
100
CONTROLLER GAIN = 100
P.B
สัญญาณ Control Action ของ Proportional คือ
Cs = 100 e + b
P.B

2.3 - 6
เมื่อ P.B = Proportional Band (%)
e = Error หรือ Deviation
b = Output Bias (Cs = b เมื่อ e = 0)
Cs = Controller Output

Changing Proportional Band Width


ในตัวอยางดังรูป จะเปนการอธิบายถึงผลของการเปลี่ยนคา Proportional Band โดยการเปลี่ยนตําแหนง
ของจุดหมุน ดูในสภาวะปกติคือ P.B = 100 % คือ Controller มี Gain เทากับ 1 ตําแหนงของจุดหมุนจะอยูตรง
กึ่งกลางในการควบคุมอุณหภูมิ เมื่อคา Measuring Variable สูงเกิน Set Point ถึงคา Max ตําแหนงของวาลวก็จะ
ปดอยูที่ตําแหนง 0 เปอรเซ็นต และถาอุณหภูมิต่ําลงจนถึงคา Min วาลวก็จะถูกปรับใหเปนอยูตําแหนงเปดสุด
100 เปอรเซ็นต

Steam
Temp Valve
Max 100% Open

Setpoint 50% Open

Min 0% Open
รูป 6. แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงคา Proportion Band

และถาเลือนตําแหนงของจุดหมุนไปทางขวาดังรูป ซึ่งก็คือมี P.B.กวางขึ้น ซึ่งก็คือเมื่ออุณหภูมิสูงถึงคา Max


แลวแตวาลวก็จะไมปดสุด ในที่นี้สมุมุติให P.B = 200 % ตําแหนงของวาลวก็จะปดลงมาเหลือเพียง 25 % ของ
Full Range และเมื่ออุณหภูมิต่ําลงจนถึงคา Min ตําแหนงของวาลวจะเปดขึ้นถึงแค 75 % การที่ P.B กวางก็หมาย
ความวา Controller มี Gain นอยลง
P.B = 100 x 100 = 200 %
50

2.3 - 7
Temp Valve

200% Open

Temp Valve

50% Open

รูป 7. แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงคา Proportion Band ระหวาง 200% กับ 50%


เมื่อเลื่อนตําแหนงของจุดหมุนไปทางซายมือ ซึ่งก็คือมี P.B แคบลง สมุมติมี P.B = 50 % ดังนั้น เมื่อ
อุณหภูมิสูงกวา Set Point กึ่งกลางไป เพียง 75 % จะทําใหตําแหนงของ วาลวปดสุด 0 % และเมื่ออุณหภูมิต่ํากวา
Set Point ลงมาแค 25 % วาลวกจะเปดสุด
P.B = 50 x 100 = 50 %
100

Proportional Band

Amount of Proportional Control Action


เราพิจารณาผลของการเปลี่ยนคาของ Proportional Band ในการนี้ ตั้ง P.B แคบเกินไปดูจากรูป จะเห็น
วาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของ Input หรือมี Deviation เกิดเพียงเล็กนอยก็จะทําให Output หรือตําแหนงของวาลว
เปลี่ยนแปลงมาก จากปดสุดถึงเปดสุด จําทําใหผลของการควบคุมคลายกับเปน Two-Position Control คือคา
ของการควบคุมจะสูงกวาและต่ํากวาคา Set Point อยูตลอดเวลา ซึ่งเปนสิ่งที่ไมปรารถนา

2.3 - 8
Temp
Valve
Max

Setpoint

Min

รูป 8. แสดงถึง Wind Proportion Band


Wide proportional Band ในกรณีที่ตั้ง P.B กวางเกินไป การเปลี่ยนแปลงของ Input คือตองมี Deviation
เกิดขึ้นมาก ๆ Output ถึงจะขยับและขยับนอย ดังนั้นจะทําใหผลของการควบคุมชา และถามีการเปลี่ยนแปลง
ของ load รวดเร็ว จะทําใหการควบคุมไมสามารถเขาสู Set Point ได
Temp
Temp Valve
Max

Setpoint

Min

รูป 9. แสดงถึง Wind Proportion Band


ในการที่ใชการควบคุมแบบ Proportional Band อยางเดียว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของ Load รวดเร็วกวา
ที่ Control Action จะสงผลไปให Manipulated Variable หรือ โปรเซสมี Time Lag มาก จะทําผลของการควบ
คุมไมทันการเปลี่ยนแปลงของ Load ดังนั้น ผลของการควบคุมจะไมเขาสู Set Point คือเกิดมี off-set เกิดขึ้น
Off-Set
ก็เปนผลจากการควบคุมแบบใช Proportional อยางเดียว หลังจากใชเวลาในการควบคุมไปสักระยะเวลา
หนึ่ง คาความแตกตางระหวาง measured Variable กับคา Set Point จะเหลืออยูเพียงเล็กนอยและเกือบคงที่ เรา
เรียกวา Error ในชวง Steady State นี้วา Offset

2.3 - 9
Temp
Max

offset
Setpoint

Min

รูป 10. แสดงคา Offset

Reset Control
Reset Control
เปนลักษณะของการควบคุมที่นํามาใชเมื่อเกิดมี Offset เกิดขึ้นเมื่อใช proportional Control ควบคุมเพียง
อยางเดียว Reset Control จะถูกนํามาใชเพื่อขจัด Offset และดึงคาที่เราควบคุมใหกลับเขาสู Set Point
ในการควบคุมชนิดนี้จะถูกนํามาใชรวมกับ Proportional เรียกวา PI-Control การควบคุมแบบ Reset
Control มักนิยมเรียกอีกอยางวา Integral Control

Max

Setpoint

Min
รูป 11. การควบคุมแบบ Integral Control

Integral Action & Reset Action


จะทําการผลิตสัญญาณควบคุมเปนลักษณะคอย ๆ เพิ่มรวมกันในชวงเวลาเมื่อมี Deviation ซึ่งอธิบายใน
รูปฟงชั่นทางคณิตศาสตร
Cs = 1 edt
Ti

2.3 - 10
เมื่อ Cs = Integral Action
e = Offset หรือ Error
Ti = Integral Time
Integral Time เปนเวลาที่ใชในการสรางสัญญาณ Output จนมีขนาดเทากับขนาดของสัญญาณที่เกิด
จาก Proportional Control และมีหนวยในการเรียกชื่อของ Integral Time ในรูปของ Minute Per Repeat

Rate Control
Rate Control or Derivative Control
เปนการควบคุมที่ Control Action จะขึ้นอยูกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของ Controlled Variable ตอ
หนวยเวลา เปนการควบคุมเพื่อที่จะสรางสัญญาณควบคุมใหมากเพื่อใหการเปลี่ยนแปลงของ Manipulated
Varia ble เกิดขึ้นมาก ๆ ในชวงเริ่มตนหรือชวงที่มี Set Point มาก ๆ และเมื่อคาตัวแปรที่เราควบคุมกลับเขาใกล
Set point สัญญาณควบคุมของ Derivative Control จะลดลงอยางรวดเร็ว และ Control Action จะหมดไปเมื่อ
Error เทากับ 0 หรือเมื่อ Controlled Variable หยุดการเปลี่ยนแปลง

Cs = Td de
dt
เมื่อ Td = Derivative Time
Derivative Action จะถูกใชรวมกับ proportional Control ซึ่งเรียกวา PD Control เหมาะกับการใชใน
โปรเซสซึ่ง Controlled Variable เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว หรือใช Batch Process คือ โปรเซสที่ทํางานไมตอเนื่องมี
การหยุดเปนระยะ ๆ
Proportional Plus Reset Plus Derivative
การควบคมโดยการมีทั้ง D. Action จะทําใหผลการควบคุมกลับเขามาอยูในสภาวะสมดุลยที่ Set Point
เร็วที่สุด

2.3 - 11
2.3.1 Automatic Boiler Control for Power Plant

2.3.1 - 1
AUTOMATIC BOILER CONTROL FOR POWER PLANT

COMBUSTION CONTROL
เปนสวนหนึ่งของระบบควบคุม Boiler ซึ่งมีหนาที่หลักที่สําคัญ 2 ประการคือ
1) ควบคุมสมดุลยพลังงาน (energy balance) 2) ควบคุมการทํางานของเตาเผา (Furnace Control) การควบคุม
เตาเผาเปนระบบยอยที่จะทํางานสอดคลองกับระบบสมดุลยของพลังงาน เราจะแยกกลาวถึงหนาที่ใน
Combustion Control

1. Energy Balance Single Boiler ขบวนการผลิตไอน้ําและพลังงานไฟฟา ความตองการพลังงาน


ดาน Output (load) ตองสอดคลองกับพลังงานที่จายใหกับ Boiler ซึ่งก็คือ Fuel ระบบ Energy Balance เปน
ระบบที่เฝาติดตามควบคุมความสัมพันธระหวางพลังงานที่ปอนเขากับพลังงานที่ไดออกมา ซึ่งปริมาณพลังงาน
ที่ปอนเขา Boiler ถูกสงเขาไปยัง Furnace Control
มีวิธีการหลายวิธีในการรักษา Energy Balance แตการเลือกใชวิธีใดก็ใหคํานึงถึงลักษณะของขบวนการ
ผลิตหรือ Process นั้น ๆ การทํางานรวมทั้งอัตราการเปลี่ยนแปลง Load ของ Boiler
ตัวอยางงาย ๆ ของระบบ Energy Balance เปนแบบ single element Steam Pressure Control ดังรูป
1 และ Boiler ที่มีใชอยูมากมาย การควบคุมแบบนี้ก็เปนการเพียงพอเหมาะสมแลว
Steam Pressure เปนคาตัวแปรตัวหนึ่งที่เปนตัวบงบอก energy balance ไดดีวิธีหนึ่ง ซึ่ง Steam
Pressure เปนผลตอบสนองของ Process เพื่อใหรูผลรวมของพลังงานที่ปอนเขากับพลังงานที่ไดรับออกมา
เทียบกับเวลาทั่ว ๆ ไปแลวจะใช Controller ที่มี Action เพียง Proportional + Integral ( PI – Control)
โดยปกติสัญญาณของ Steam Pressure จะคงที่ไมเปลี่ยนแปลงมากนักหรือเราสามารถที่จะขจัดสิ่งรบ
กวน Noise ได ในสภาวะที่ Steam Pressure ไมเปลี่ยนแปลงมากนักหรือเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ การใช
PID-Control ผลของ Derivative จะใหผลในการควบคุมนอยมาก แตถาสัญญาณ Pressure Signal มี Noise
หรือมีการเปลี่ยนแปลงมาก เพื่อจะใหการควบคุมไดผลดีขึ้นก็ใหใช Derivative Control เขาใชงานดวย การ
ใช derivative เขาใชงานนั้นใชกรณีการควบคุม Steam Pressure อยางเดียวเพื่อผลของ Energy Balance ซึ่ง
ไมใชเปนการควบคุมแบบ Mass balance ซึ่งนําสัญญาณ Steam flow เขามาเกี่ยวของในลักษณะ feed forward
control

2.3.1 - 2
To Stack
AT LT
Feedwater

FT

Steamto users

Fuel

Air
รูปที่ 1 Superheat Steam Boiler
การควบคุมแบบ Single Element Pressure Control เพื่อรักษา Energy Balance นั้นจะใชไดผลดีก็
ตอเมื่อระบบนั้นมีกรณีดังนี้
a) มีการเปลี่ยนแปลงของ load ไมบอยหรือการเปลี่ยนแปลงเปนไปอยางชา ๆ ( 1-2 เปอรเซ็นตตอนาที )
b) กรณีที่ load เปลี่ยนแปลงบอยก็ไดหรือ load เปลี่ยนแปลงอยางมากที่สุดแลว Steam Pressure แตกตาง
ไปจากคา Set point ไมเกิน = 5 ถึง 10 เปอรเซ็นต ก็ใหใช Single element ควบคุมไดดังรูปที่ 2
c) ในการควบคุมแบบอื่นอาจใหผลในการควบคุมดีกวาแตถามองในแงความคุมคาหรือราคา ของอุปกรณที่
ใชแลวก็สามารถใชแบบนี้ดีกวา
สําหรับในกรณีนอกเหนือจากนี้คือ load มีการเปลี่ยนแปลงบอย ๆ และรวดเร็วมากกวา =5
เปอรเซ็นตตอนาทีขึ้นไป หรือทําให Steam Pressure เกิดเปลี่ยน แปลงจากคา Set point เกินคาที่จะยอมได
ก็ตองใชระบบการควบคุมที่ยุงยากซับซอนเพิ่มขึ้น
การเพิ่มความสามารถของระบบควบคุมเพื่อควบคุม Steam Pressure ใหดีที่สุดก็ตองรูความตองการ
พลังงานเพื่อจะไดปอนพลังงานเขา (Fuel) ใหเหมาะสมกับความตองการอันนี้เปน feed forward และ trim
เพื่อชวยในระบบ Steam Pressure Feedback loop ใหทําการควบคุมบรรลุผลดียิ่งขึ้น ซึ่ง feed forward loop นี้
เปนตัวรับรูเหตุการณที่กําลังเปลี่ยนไปขณะนั้นและชดเชยเขาชวยเพิ่มความสามารถของ feedback control loop
ใหควบคุมไดรวดเร็วขึ้น ดังรูปที่ 3

2.3.1 - 3
Steam Pressure
PT

Steam A
Pressure K d/dt
Control

Firing Rate Demand to


Furnance Control
รูปที่ 2 Single-Element Energy Balance System Single Boiler
Steam Pressure
PT Process Energy
Demand (Steam Flow)

Steam A
Pressure K
Control

Firing Rate Demand to


Furnance Control
รูปที่ 3 Energy balance Concept
สัญญาณ Process Energy Demand ถูกนําเพิ่มเพื่อกําหนด firing rate ดวยการคูณกันระหวาง
สัญญาณจาก Steam Pressure Control กับ Process Energy Demand (Steam flow) ใน feed forward control
loop เพื่อรักษา Steam Pressure โดยปรับแตงคาของพลังงานที่ปอนเขากับความตองการพลังงาน เชนเมื่อมี
load เพิ่มขึ้นมีการใช Steam flow มากขึ้นผลก็คือ Steam Pressure ต่ําลงเปนสัดสวนกัน ดังนั้นสามารถที่ควบ
คุมเตาเผาจึงตองแปรเปลี่ยนไปตาม load

2.3.1 - 4
Steam Pressure Steam Flow

PT PT

Load Demand
Boiler Stored
Energy Error
K
X
Corrected Steady State
Firing Rate Demand
Steam A A r (t)
Pressure K Transient Firing Rate
Control Demand
X

Pressure control transient


corrected frd. To boiler
combustion control

รูปที่ 4 Energy balance System, Single Boiler with Feed Canceling


รูปที่ 4 เปนวิธีการอันหนึ่งเพื่อแก Positive Feedback ดวยการใชคาผลตางระหวางคา Steam
Pressure กับคา Set point นําไปหักลางหรือเพิ่มกับสัญญาณ Steam flow การควบคุมในลักษณะนี้เพื่อเพิ่ม
ความไวในการควบคุมใน Process ที่มีคา Time Constant มากทําใหเกิดสัญญาณ Firing Rate Demand ที่มาก
เกินและนอยเกินกวาที่ควรจะเปนในขณะ Steam Pressure เกิดเปลี่ยนแปลง, คาของสัญญาณสวนเกินที่มาก
หรือนอยไปนี้จะหมดไปเมื่อ Steam Pressure คงที่
ในขณะที่ load เพิ่มขึ้นทําใหเกิดการใช Steam flow มากขึ้น ผลคือ Steam Pressure ลดลง สัญญาณ
Steam flow ที่มากขึ้นนี้ทําใหเพิ่มคาของ Firing Rate เพื่อใหสมดุลยกับ load ขณะเดียวกันยังมีสัญญาณที่ได
จากความแตกตางระหวาง Steam Pressure กับ Steam Set point นําเขามารวมกับสัญญาณ Steam flow เพื่อ
เพิ่ม “Overfired” เปนการชั่วคราวขณะ Steam Pressure ต่ําลงเพื่อให Steam Pressure ซึ่งเปนพลังงาน
สะสมใน Boiler กลับเขาสูคา Set Point รวดเร็วขึ้น ลักษณะ Dynamic Compensator ที่เพิ่มนี้เกิดหลังจาก
สัญญาณ feed forward เนื่องจาก Steam flow
กรณีที่เราเพิ่ม หรือลดเชื้อเพลิงที่ใหกับ Boiler ผลจากการเพิ่มหรือลดเชื้อเพลิง จะทําใหคา Steam
flow และ Steam Pressure เปลี่ยนแปลงในทางที่ชดเชยกัน โดย Steam Pressure Controller จะเปนตัวควบ
คุมการทํางานดังกลาว
กรณีเปลี่ยนคา Steam Pressure Set point คาใหม การทํางานของวงจรควบคุมก็ยังเหมือนเดิมผลของ
Steam flow และ Steam Pressure ก็ยังคงชดเชยซึ่งกันและกันและหักลางผลการเกิด Positive feedback ให
หมดไป

2.3.1 - 5
2. Furnace Control
ผลจากสัญญาณ firing race demand จากระบบ Energy Balance System ที่สงมาก็จะสั่งควบคุม
ปริมาณเชื้อเพลิงและอากาศ ระบบ furnace Control มีหนาที่ดังตอไปนี้
a) ควบคุมระดับพลังงานที่ปอนเขา (Fuel & Air) ใหไดตามสัญญาณ Firing Rate demand
b) ควบคุม Fuel / Air Ratio
อัตราสวนระหวาง Fuel / Air ตองรักษาอยูที่คาที่เหมาะสม เพื่อให Boiler ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ
และลดมลภาวะที่เกิดจากการเผาไหมใหนอยที่สุด โดยทั่วไปแลว Fuel / Air Ratio จะไมคงที่ระบบควบคุมจะ
ตองทําหนาที่ปรับ Fuel / Air Ratio ใหเหมาะสมกับ load ขนาดตาง ๆ
c) ควบคุมสภาพของเตาใหปลอดภัย
ควบคุมไมใหเกิดการสะสมของเชื้อเพลิงที่หลงเหลือจากการเผาไหมทั้งในชวงการเพิ่มและลด load
หรือระหวางชวงการ Start up และ Shut down ซึ่งอาจทําใหเกิดเปนอันตรายตอเตาเผาได ระบบ Interlock,
Burner Management และ furnace Control ตองออกแบบใหทํางานสัมพันธกันอยางเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อความ
ปลอดภัย
d) ควบคุมรักษาความดันภายในเตา “Furnace Pressure” ใหเหมาะสม
3. Fuel/Air Flow Control
การควบคุม Fuel/Air Flow แบงเปน 2 แบบ คือ “Positioning “ และแบบ Metering ใน Boiler
ขนาดเล็ก ๆ ที่ไมสามารถวัดปริมาณเชื้อเพลิงไดมักใชการควบคุม Fuel/Air ในแบบ “Positioning Type
System” ซึ่ง Fuel และ Air ไมสามารถวัดไดหรือทําไดยาก อัตราสวนของเชื้อเพลิงและอากาศถูกควบคุมดวย
การปรับตําแหนงของ Final Control Element
รูปที่ 5 สัญญาณที่ใชควบคุม Fuel Valve เปนสัญญาณ Firing Rate Demand ซึ่งเปนการปรับ
ปริมาณน้ํามันโดยตรงและในขณะเดียวกันสัญญาณนี้ก็ถูกสงไปปรับ Air Damper โดยผาน Fuel / Air Ratio
เพื่อปรับอากาศใหเปนสัดสวนที่เหมาะสมกับปริมาณ Fuel
ขอดีขอเสียของ Positioning System ขอดีก็คือเปนระบบงาย ๆ พอวางใจไดและไมแพงรวมทั้งมี
Response ตอสัญญาณ Firing Rate เร็ว

2.3.1 - 6
From Firing Rate
Demand

X A Fuel / Air
ratio adjust

f(x) f(x)
Fuel Control Valve Air damper
รูปที่ 5 Basic Parallel Position Furnace Control
อยางไรก็ตาม การควบคุมอัตราสวนระหวางเชื้อเพลิงกับอากาศจะไมไดอัตราสวนที่เที่ยงตรงนัก
เพราะไมมีการวัดปริมาณการไหล และยังมีตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลที่ทําใหสภาพของเชื้อเพลิงและอากาศเปลี่ยน
แปลงไปเชนอุณหภูมิของเชื้อเพลิง, ความดัน, สภาพของบรรยากาศ เปนตน ถาสภาวะเหลานี้ไมคงที่ก็จะมีผล
กระทบตออัตราสวนของ Fuel / Air ซึ่งระบบนี้ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชกับระบบที่มี Burner หลาย ๆ หัว
จากขอเสียของ Positioning System จึงทําใหมีการพัฒนามาเปนแบบ “Metering Systems” ซึ่งจะมี
การวัด Fuel และ Air นํามาควบคุมตัวแปรเหลานี้ดวย
ระบบการควบคุมในแบบ “Metering Systems” ที่เปนระบบ Parallel Metering ดังรูปที่ 6 ที่มีทั้ง
Fuel Flow Interlock และ Air Flow Interlock ระบบนี้เรียกวา “Cross Limiting” หรือ “ Flow
Interlock” หรือ “Lead-Lag Parallel-Series Metering System”
พิจารณาการทํางานของระบบในภาวะ Steady State ทั้ง Fuel และ Air Flow Controller จะมีคา
Measurement เทากับคา Set Point ดังนั้นสัญญาณ Firing Rate Demand, Air Flow Set Point, Air Flow
Measurement, Fuel Flow Ser Point และ Fuel Flow measurement จะมีคาเทากันหมด ระบบจะรักษา
สภาพนี้ไวเปนปกติถาไมมีการเปลี่ยนแปลงของ Load
ขณะที่ Load เพิ่มขึ้นซึ่งก็คือสัญญาณ Firing Rate Demand เพิ่มขึ้น , Low Selector จะทําการ
เลือกสัญญาณที่มีคานอยซึ่งในชั่วขณะนี้ก็คือสัญญาณ Air Flow มาเปน Ser Point ใหกับ Fuel Flow
Controller ขณะเดียวกัน High Selector ทําการเลือกสัญญาณ Firing Rate Demand ซึ่งในขณะนั้นมีคามาก
กวา Fuel flow measurement เขาไปเปน Set point ใหกับ Air flow controller ซึ่งจะทําให Set Point ของ
Air Flow Controller สูงขึ้นตาม Firing Rate Demand ขณะนั้นที่เพิ่มขึ้น Output จาก Air Flow
Controller ก็ทําการสั่งเพิ่ม Air Flow ขณะ Air Flow คอย ๆ เพิ่มนั้นสัญญาณ Air Flow Measurement
ที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นตามนั้นก็จะมาเปน Set Point ใหกับ Fuel Flow Controller ดังนั้นตอนเพิ่ม Load ก็จะทํา
การเพิ่ม Air กอนแลว Fuel คอยเพิ่มตาม
ตอไปพิจารณาขณะ Load ลดลง ซึ่งก็คือสัญญาณความตองการ Firing Rate Demand ลดลง
ภาวะนี้ Low Selector จะเลือกเอาสัญญาณ Firing Rate Demand มาเปน Set Point ใหกับ Fuel Flow

2.3.1 - 7
Controller ทําให Fuel Flow Controller ทําการปรับแตงลดปริมาณเชื้อเพลิงลงมาขณะเดียวกัน High Selector
ก็จะเลือกสัญญาณ Fuel Flow Measurement ซึ่งกําลังลดลงนี้ซึ่งมีคามากกวา Firing Rate Demand มาเปน
Set Point ใหกับ Air จึงลดลงตาม

Fuel Flow Steam Pressure Air Flow

FT PT FT

f (x)
A Fuel Air Ratio
Boiler master A
K pressure
controller X
A T

Fuel Flow X X Air Flow


Controller K K Controller
A T A T

f(x) f(x)
Fuel Final operator Air Final Operator
รูปที่ 6 Fuel Flow and Air Flow Controller
ระบบ Parallel Metering แบบ Cross Limiting นี้มีลักษณะดังนี้
a) ในภาวะ Load เพิ่มขึ้น Air Flow จะเพิ่มกอนแลว Fuel Flow คอยเพิ่มตาม
b) ในภาวะ Load ลดลง Fuel Flow จะลดลงกอนแลว Air Flow จึงคอยลดตาม
C) การที่สัญญาณ Air Flow Measurement ลดลงดวยสาเหตุใดก็ตาม จะทําใหลด Fuel ลงมาดวยจํานวน
ที่เทากัน
D) การที่สัญญาณ Fuel Flow Measurement เพิ่มขึ้นดวยสาเหตุใดก็ตาม ก็จะทําให Air Flow เพิ่มขึ้น
ดวยจํานวนที่เหมาะสมกัน
ดังนั้น ระบบนี้จึงเปน Basic ของวงจร ควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงและอากาศที่ใชงานในโรงไฟฟาสมัยนี้
ซึ่งเปนระบบที่ใหความปลอดภัยแก Boiler ไมวาจะเพิ่มหรือลด Load

2.3.1 - 8
Fuel Control
ระบบ Fuel Control มีหนาที่หลักในการควบคุมปริมาณเชื้อเพลิง ที่ใชในการเผาไหมใหเหมาะสม
โดยมองถึงดานประสิทธิภาพในการเผาไหม และความปลอดภัย
Set point หรือ Desired value ในระบบ Fuel oil control เปน output signal มาจากระบบ
Boiler Master Control สัญญาณของ Boiler Master Demand ดังกลาวจะถูกนํามาเปรียบเทียบกับ Air
Flow Cross Limit ซึ่งเปนสัญญาณ Actual Air Flow (Air Demand Corrected) ที่สงมาจากระบบ Air
flow control อีกทีหนึ่ง low select circuit จะเลือกสัญญาณที่ต่ํากวาเพื่อนําไปใชเปน Set point ของ Fuel
oil controller ตอไป ทําไมจึงตองมีการใส Air flow cross limit มาใชแทนที่จะใชสัญญาณของ Boiler
Master output มาเปน Set point โดยตรงเลยนั้นมีสาเหตุสวนหนึ่งมาจากดานความปลอดภัย เนื่องจากใน
ระบบ Fuel flow-Air flow control มีลักษณะที่จัดให Controlled Variable ทั้ง 2 ตัว คือ Air และ Fuel
เพิ่มขึ้นหรือลดลงไปดวยกันจึงอาจเกิดสภาพของ Fuel / Air ratio สูงเกินปกติได (Fuel rich) ถา Boiler Master
Demand เพิ่มขึ้นแลวระบบ Fuel flow เพิ่มขึ้นเพียงอยางเดียวโดย Air flow ไมเพิ่มขึ้นจะดวยความผิดปกติ
อยางใดก็ตาม limit ดังกลาวจึงใสมาสําหรับใชตรวจสอบเพื่อความแนใจวาการเพิ่ม Combustion Air นั้นทํา
ไดเรียบรอยดีหรือไมกอนที่จะเพิ่ม Fuel ตาม โดยการใชสัญญาณจาก Actual Air flow มาเปน feedback
signal (Cross limit ดังกลาว สําหรับทางระบบ Air flow ก็มีใสไวเชนกันโดยเรียกชื่อวา Fuel flow cross
limit)
Measured Variable สําหรับนํามาเปรียบเทียบกับ Desired Value นั้นเปนสัญญาณรวมของ Fuel
flow สําหรับ Fuel oil flow consumption ซึ่งไดจากการหัก Fuel oil return flow ออกจาก Fuel oil
flow จะนําไปรวมกัน Ignitor oil flow เพื่อใหสัญญาณรวมเปน Total Fuel Controller ซึ่งจะนําไปเปรียบ
เทียบกับ Set point จาก Boiler Master Output เพื่อเปนขอมูลให Controller ดําเนินการตัดสินใจปรับแตง
Fuel oil control valve อีกทีหนึ่ง

2.3.1 - 9
B o ile r m a ste r A ir d e m a nd c o rre c t
F u e l o il flo w
d e m an d from air flo w Ig n ito r O il Flo w
re tu rn
H J FT FT

K
F u e l o il su p p ly to
fu e l o il h e a te r
< te m p c o n tro l
R CRT

R CRT T o ta l F u e l to
I
a ir flow c on trol
T ra c k w h e n M /A
in m a n u a l
L H K

A la rm M RE PLW
fu e l oil flo w
A T A I

f (x) f (x)
%
I/P I/P

f(x) f(x)
F u ll c a p a c ity fue l o il H a lf ca p ac ity fu e l o il
flow c on trol va lve flow c on trol va lve
รูปที่ 7 Fuel Flow Control
Air Flow Control
ระบบ Air flow control มีหนาที่หลักในการควบคุมปริมาณอากาศที่เหมาะสมและถูกตองเพื่อยังผล
ให การเผาไหมของเชื้อเพลิงใน Boiler เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
สัญญาณ Boiler master demand จะแยกไปเขาวงจร lead-lag ซึ่งมีหนาที่หลักในการบังคับให
Air/Fuel ratio มีคามากอยูเสมอในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของ load ทั้งนี้เพื่อเหตุผลในดานความปลอดภัย
High Selector Circuit จะเลือกสัญญาณที่มีคาสูงสุดระหวาง Boiler Master Demand หรือ Total fuel corrected
หรือ Minimum Air Flow Controller ตอไป
สัญญาณ Steam flow (Boiler load) จะนํามาเปนสัญญาณปอนใหกับ Function generator ซึ่งจะให
output ออกเปนคา Oxygen (O2) Set point สัญญาณดังกลาวจะถูกสงตอไปเขา Oxygen Controller การจัด
ปริมาณของ O2 และ Co ใน flue gas ใช O2 และ Co probe, oxygen set point จะนํามาเปรียบเทียบกับคา O2
ที่วัดได Deviation ที่เกิดขึ้นจะปอนเขาสู O2 Controller ซึ่งจะสง output ออกไปยัง Excess Air Ration A/M
Station โดยที่ Controller action เปนแบบ Proportional plus reset output ดังกลาวจะถูก Modified กอนจะสงเขา

2.3.1 - 10
ไปยัง Multiplier ตอไป สําหรับ Co. controller ซึ่งจะสง output ออกไปเปน Set point ของ O2
controller
Air flow ที่วัดไดจาก Flow transmitter นําออกไปเปนสัญญาณสําหรับสวนตาง ๆ ดังนี้
1.ใชเปน Input ของ Signal monitor เพื่อตรวจสอบวา Air flow 30%และสงสัญญาณ purge permit ใหกับ
Burner Management system นอกจากนั้นยังมี low limit check วา Air flow < 30% เพื่อสงเปนสัญญาณ
alarm
2. นําไปเปรียบเทียบกับสัญญาณ Total Fuel Corrected
3. นําไปเปรียบเทียบกับสัญญาณ Air flow demand เพื่อเปนเงื่อนไขในการเพิ่ม/ลด ใหกับ Excess Air
Ratio A/M station
Actual Air Flow จะถูกนํามาเปรียบเทียบกับ Air Flow Demand, Deviation ที่เกิดขึ้นจะปอนเขาสู Air
flow controller ซึ่งจะสง output ออกไปยัง FD. Fan inlet damper M/A station สําหรับ Gain change and
balance circuit เปนวงจรที่ใสไวเพื่อประสานการทํางานของ FD. Fan ทั้งสองตัวเพื่อใหไดปริมาณ Air flow
ตามที่ตองการโดยมีลักษณะที่สําคัญดังนี้
1. ไมวาจะมี FD. Fan ทํางานอยูหนึ่งหรือสองตัวก็ตาม ระบบควบคุมปรับการทํางานเพื่อใหเหมาะสมกับ
สภาพในขณะนั้นมากที่สุด
2. ในกรณีที่ใชงาน FD. Fan ทั้ง 2 ตัว และ M/A station ของตัวที่อยูในสภาพ manual ในขณะที่อีกตัว
อยูในสภาพ Automatic ถา output ของตัวที่เปน manual มีการเปลี่ยนแปลงก็จะทําใหตัวที่เปน
Automatic แกไขหรือปรับ output ของตัวเองทันที เพื่อทําใหระบบคลังเขาสูสภาพสมดุลยโดยพยายามให
เกิด error ขึ้นนอยที่สุด

2.3.1 - 11
AH B air outlet AH A air outlet
Oxygen Analyzer CO. Analyzer
temp Air Flow AH. B temp Air Flow AH. A
H/L Alarm H/ Alarm
TE FT TE FT AT AT
Boiler Master Total Fuel R CRT CRT
Demand Correc.
TT TT H J

MRE
K
A 25% MCR A T A I
AP/T AP/T

Track when bolt


M/A in manual
H/ Purge permit
Steam
Air demand /L Alarm K f (x) C
Flow
correction to J /LL MFT Trip K MRE
fuel control fuel / air ratio T A I
R CRT
X f (x)
E
FD Fan Inlet Vanes Position
Average to Furnace Pressure
Control
LAG

PLW MRE bias MRE PLW


I A T A I A T A I
N
I/P I/P
Track when
either FD Fan
f(x) manual f(x)
FD fan A Inlet FD fan B Inlet
Damper Damper

รูปที่ 8 Air Flow Control


3. ถา FD. Fan ทั้ง 2 ตัวอยูในสภาพ Automatic ระบบควบคุมจะเฉลี่ยใหการทํางานของแตละตัวเทากันพอ
ดี ถาตองการจะเพิ่มหรือลดการใชงานตัวใดตัวหนึ่งก็สามารถทําได โดยปรับ Bias ซึ่ง output ของ Bias
จะถูก lag เพื่อใหการตอบสนองเปนไปอยางนิ่มนวล

Feed water Flow Control


ระบบ Feed water flow control มีหนาที่หลักในการควบคุมระดับน้ําใน drum ใหอยูในระดับที่เหมาะ
สมกับความตองการ
Drum เปนอุปกรณหลักของ Boiler ประเภท Subcritical Boiler ทําหนาที่ 2 อยาง คือ นําเอาไอน้ําที่
แยกออกมาทําใหแหงมากขึ้น
ถาระดับน้ําต่ําเกินไป ก็จะเกิดผลเสียในดานที่อาจทําใหเกิด overheat ของ Boiler tubes หรือเกิดการ
แตกของทอขึ้น แตถาระดับน้ําสูงเกินไป จะสงผลใหน้ําใน drum จะกระเพื่อมจนเกิดเหตุการณที่น้ําสวนหนึ่ง
พรอมกับสารที่ละลายปนอยูในน้ํา (solid) หลุดไปพรอมกับไอน้ําเขาสู Super heater เพราะอุปกรณที่ทําหนาที่

2.3.1 - 12
แยกไอน้ํา ทํางานไมไหวที่ระดับสูง ๆ การที่มี solid หลุดปนไปกับไอน้ําที่เรียกวา carryover และเขาไปเกาะ
อยูตาม Turbine blade ก็ดี หรือการที่น้ําสูงจนเขาไปใน Super heat ไดที่ เรียกวา priming ก็ได แลวจะเกิดผล
เสียกับ Turbine และ Super heater ดังนั้นการรักษาระดับน้ําใน drum มีความสําคัญมาก จะตองใชระบบควบ
คุมที่ออกจะสลับซับซอนพอสมควร พรอมทั้งระบบปองกันสําหรับทํางานเมื่อเกิดเหตุผิดปกติ อาจจะมีผู
สงสัยวาทําไม ถึงตองใชระบบที่ยุงยากแทนที่จะใชระบบธรรมดา เชนการควบคุมใน Condensate storage tank
เพราะวาลักษณะจําเพาะของระดับน้ําใน drum ไมไดแปรเปลี่ยนเชนเดียวกับระดับน้ําในถัง กลาวคือ ถามี
ปริมาณการไหลเขามากกวาออกไปก็จะทําใหระดับน้ําเพิ่มขึ้น และลดลงในกรณีกลับกัน ถาเปนดังเชนที่วามานี้
เมื่อ Boiler load เพิ่มขึ้นระดับน้ําลดลงเพราะ Feed water ยังเพิ่มขึ้นไมทัน และในทํานองเดียวกัน เมื่อ Boiler
load ลดลง ระดับน้ํานาจะเพิ่มขึ้นเพราะ Feed water ยังไมลด แตในการปฏิบัติกลับปรากฏวา ผลออกมาตรง
กันขามในชวงเวลาขณะหนึ่งเนื่องจากปรากฏที่ระดับน้ําเพิ่มขึ้นหรือลดลงทั้ง ๆ ที่ปริมาตรของน้ํายังคงเดิม ซึ่งมี
ชื่อเรียกวา Swell and shrink อันเปนลักษณะพิเศษของ drum level โดยเฉพาะ Swell เกิดอาการขยายตัวของ
steam bubble ที่เกิดขึ้นและแทรกตัวอยูในน้ํา เมื่อ Drum pressure ลดลงอันเปนผลมาจากการเพิ่ม steam flow
(เพิ่ม load) ในดานของ Thermodynamic หมายถึงการที่ Drum pressure ลดลงจนต่ํากวา Saturation pressure
ทําใหน้ําซึ่งมี enthalpy เกินกวาจะดํารงลักษณะอยูที่จุดดังกลาวจําตองเปลี่ยนสภาพกลายเปนไอน้ําซึ่งมี
Enthalpy สูงกวาสภาพดังกลาว น้ําเดือดภายใตความดันสูง ในทํานองกลับกัน ถามีการลด steam flow (ลด
load) ก็จะเกิดการเพิ่มของ drum pressure ขึ้นทันทีในชวงแรก และทําใหน้ําที่กําลังเดือดอยูหยุดเดือดเปนผล
ให steam bubble ที่จมและปะปนอยูในน้ําตดลงไป ทําใหระดับน้ําในdrum ลดลง ทั้งที่ปริมาณยังคงเดิม
อาการดังกลาวเรียกวา Shrink จากเหตุผลที่กลาวมาคงพอจะมองเห็นไดวา Steam bubble ที่จมอยูใตน้ํานั้นเอง
เปนตัวทําใหระดับน้ําเพิ่มสูงขึ้น ถาดูจาก steam tables จะเห็นวาที่ความดัน 2600 psia นั้นไอน้ําจะมีปริมาตร
มากกวาน้ําประมาณ 4 เทา ดังนั้นถาเกิดการเดือดของน้ํา จะทําใหระดับน้ําเพิ่มขึ้นทั้ง ๆ ที่น้ําเทาเกาและจะเพิ่ม
มากยิ่งขึ้นถา ถาน้ําเดือดมากหรือไอน้ําปนอยูมาก ระดับน้ําที่วัดไดลวนแลวแตเปนระดับของน้ํารวมกับ steam
bubble ที่ปะปนอยู ทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับทิศทางของการควบคุมระดับน้ําในกรณีของทั้ง Swell และ Shrink
โดยสําหรับในกรณีแรกนั้นระดับน้ําที่ปรากฏ ซึ่งขณะนั้นสูงขึ้น (ซึ่งควรจะเพิ่ม Feed water) จากปญหาดัง
กลารวมกับการที่ Capacity ของ drum คอนขางเล็ก เมื่อเทียบกับ Boiler Capacity ทําใหเกิดความจําเปนในการ
ใชระบบควบคุมที่ทํางานไดถูกตองและรวดเร็วเพื่อใหการควบคุมระดับน้ําสําหรับ Boiler ที่ใชความดันสูงทํา
ไดอยางมีประสิทธิภาพเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของ load ขึ้น
การควบคุมระดับน้ําในdrum ใชระบบ Single Element Control ในขณะที่ load ต่ํา ซึ่งมี Variable เพียง
ตัวเดียว คือ Drum level และใชระบบ Three Element Control เมื่อ load สูงขึ้น ซึ่งมี Variable ที่เกี่ยวของถึง
สามตัวคือ Drum level, steam flow และ Feed water flow.

2.3.1 - 13
Single Element Feed water Control.
การใชระบบ Sing element ที่ load ต่ํามาจากเหตุผลที่วาความแมนยําของการวัดคา Feed water
flow และ Steam flow นั้นไมดีเทาที่ควร และประการที่สองดวยลักษณะจําเพาะของการควบคุมแบบ
Single Element ที่มีความเหมาะสมกับ Boiler ที่มีความจุของ Drum สูง สามารถรับการเปลี่ยนแปลงของ
ระดับน้ําไดมาก หรือถึงแมจะมีขนาดของ Drum ไมใหญแตการเปลี่ยนแปลงของ load ไมมากก็ยังคงใชไดดี
ทําใหไมมีปญหาในการนําระบบนี้มาใชในขณะ load ต่ํา
ระบบ Single Element จะมี Measured Variable เพียงตัวเดียว คือ Drum level ที่ถูก
Compensate ดวย Drum pressure ซึ่งนํามาเปรียบเทียบกับ set point, Deviation ที่เกิดขึ้นจะปอนเขาสู Single
Element Drum Level Controller สัญญาณ Controller output จะสงมายัง Half capacity Feed water Flow
Control Valve เพื่อปรับระดับน้ําใน Drum ตอไป

Three Element Feed water Control.


เปนระบบควบคุมที่ใชงานเมื่อ load หรือปริมาณไอน้ําที่ผลิตมากขึ้น สภาพดังกลาวจะมีผลใหอิทธิ
พลของระดับน้ําที่เปลี่ยนแปลงไปดวยปรากฏการณของ Swell and shrink. มีมากขึ้น ระบบ Three element
มี Measured Variable ถึงสามตัว ซึ่งไดแก Drum level, Steam flow และ Feed water flow, Variables
ทั้งสามเกี่ยวของและสัมพันธกันอยางไรนั้นใครขออธิบายตาม Diagram ของระบบ
Three element control มีลักษณะเปนการควบคุมชนิด Cascade Feed forward control loop ซึ่ง error
ที่เกิดขึ้นระหวาง Drum level set point กับ Drum level จะปอนเขาสู Three element drum level
controller ซึ่งจะให output ออกไปเปน Set point ของ Feed water flow controller โดยที่ output ของ
Drum level controller จะมา sum กับ steam flow ซึ่งทําหนาที่เปนสัญญาณ Feed forward ในอีกสวน
หนึ่งสัญญาณ Feed water flow จะรวมกัน Attemperature spray flow (Super heater & Re heater spray flow)
ซึ่ง Feed water flow และ Attemperature spray flow จะถูก Compensate ดวย Feed water temperature,
output ที่ไดจากการ Sum ก็จะเปน Total feed water flow ซึ่งนํามาเปรียบเทียบกัน Set point, Deviation ที่
เกิดขึ้นจะปอนเขาสู Feed water flow controller สัญญาณ Controller output จะสงมายัง feed water flow
control valve
ตามที่ไดกลาวมาแลวในตอนตนวาระบบ Three element control เปนระบบการควบคุมชนิด
Cascade – Feed forward กลาวคือ output ของ Three element drum level controller จะนํามาเปน Input อัน
หนึ่งของ Feed water flow controller อนึ่งเปนที่นาสังเกตวา Integral time ของ Three element dram level
controller นั้นคอนขางจะนานเมื่อเทียบกับ Feed water flow controller
การกําหนด Integral time ในลักษณะดังกลาวเปนไปตามความตองการของ process โดยระบบ
Feed water flow จะตองทํางานใหเร็วกวา Level control เมื่อเกิดสภาพ transient ของการเปลี่ยนแปลงของ

2.3.1 - 14
steam flow ที่ตางออกไปจาก Feed water flow ทําให Feed water flow Controller เปนผลใหปริมาณน้ําที่
รักษาอยูใน Drum ไมเปลี่ยนมากเกินไป ซึ่งสุดทายแลวจะทําใหการควบคุมระดับน้ําทําไดงายขึ้น
Drum Drum Main steam flow
Feed water flow ATT. Spray flow Level Pressure
C
FT FT LT PT
Feed water temp
TE R CRT
Three element
drum level
TT X
H/L Alarm
controller
R CRT
AP/T AP/T
K
CRT R

CRT R

Total feed
water flow to J
deaerator

Three element
Single element
feedwater flow
drum level cont.
control
K K
0.0 V> T 0.0
MRE T MRE
100%
Drum level
I A T A A I set point T A I
Track when M/A in
manual
I/P I/P

f(x) f(x)
Full capacity feedwater flow Half capacity feedwater flow
control valve control valve

รูปที่ 9 Feed Water Flow Control

2.3.1 - 15
Superheat Temperature Control
ระบบ Superheat temperature control มีหนาที่หลักในการควบคุมอุณหภูมิของ Superheated steam ที่
load ตางๆ กัน การควบคุมอุณหภูมินอกจากจะมีความสําคัญตอประสิทธิภาพของ Turbine แลวยังมีความจํา
เปนในดานที่เปนการปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับวัสดุหรือเนื้อเหล็กของ Turbine อีกดวย โดยทั่ว
ไปแลวความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ Turbine metal เมื่ออุณหภูมิของไอน้ําเปลี่ยนแปลงมากจนเกินขีด กําหนด
นั้นมาจากเหตุผลดังนี้
1. โลหะที่ใชผลิต Turbine, steam chest ซึ่งใชงานอยูในยานของอุณหภูมิประมาณ 565 ‘c
2. Turbine ไดถูกสรางขึ้นโดยมี clearances ระหวางสวนที่อยูกับที่ (stationary part) และสวนที่หมุน
(moving blades) แคบมากทําใหเพิ่มขีดจํากัดเกี่ยวกับการขยายตัวที่อาจไมเทากันทั้ง 2 สวน อันเปนผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงของ Steam temperature

steam temperature control โดยวิธีการ water spray desuperheat ระบบควบคุมจะใชระบบ cascade


control เพื่อใหไดการตอบสนองดีที่สุด โดยมีหลักการกวาง ๆ ดังนี้
1. มีการแบง process ออกเปน 2 สวน โดยพยายามผลักสวนที่มี Process lag มากใหไปอยูในสวน
ของ primary process และดึงเอาสวนที่มี Disturbance มาก มาอยูในสวนของ Secondary process
2. สภาพ dynamic ของ Secondary process ตองเร็วกวาของ primary process
3. มีเพียง primary controller เทานั้นที่รับ set point จากภายนอก และมีเฉพาะ Secondary Controller
เทานั้นที่ให output ออกไปบังคับ Maniputed Variable ของ process.

Cascade Control เหมาะสําหรับใชกับการควบคุมขบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงคอนขางชา (Slow


process/large time constant) process ที่มีลักษณะดังกลาวนี้ เมื่อเกิด error ขึ้นใน process
แลวก็มักจะเปนอยูนาน หรือแมแตสภาพของ disturbances ที่ผานเขามารบกวนก็ตองอาศัยระยะเวลาพอสม
ควรจึงจะเกิดผลใหระบบควบคุมทําการแกไขและในทํานองเดียวกัน การรอผลที่ไดแกไขไปแลวก็กินเวลาเชน
กัน Process ของการควบคุม Superheat temp. ไมวาจะเปนการถายเทความรอนจาก Flue gas ผานทอ
เหล็กเขาไปหาไอน้ําภายในก็ดี หรือการพนน้ําใหเปนละอองเพื่อนําไปผสมกับไอน้ําและทําใหอุณหภูมิของไอ
น้ําลดลงก็ดี ลวนแลวแตเปน process ที่มี time lag คอนขางนาน cascade control จึงมีขอไดเปรียบในการ
แกไข Intermediate Variable ไดเร็วกวาและทันทีกอนที่จะปลอยให Final Variable เกิด error เสียกอน
แลวจึงจะแกไข

2.3.1 - 16
Superheater Desuperheater เปนอุปกรณที่ใชควบคุมอุณหภูมิชนิด spray – type ซึ่งติดตั้งอยู
ระหวาง primary และ secondary superheater coil อุปกรณดังกลาวมีดวยกัน 2 ชุด โดยแตละชุดจะใช
Spray control valve 1 ตัว ระบบควบคุมมีลักษณะเปนแบบ cascade control โดยสามารถแยกแยะสวน
ประกอบของ control loop ออกตาม Basic concept of cascade control ไดดังนี้
1. outlet temperature controller (101 และ 102) ทําหนาที่เปน Secondary Controller ที่ให output
signal ออกไปควบคุม spray control valve
2. Desuperheating process เปน secondary process ของ Inner loop โดยมี Superheater
Attemperator outlet temp. (SH. ATT. outlet temp) เปน Secondary variable
3. การถายเทความรอนใน Secondary superheater coil เปน primary process โดยมี Superheat
outlet temp. เปน primary variable
4. Final superheat outlet temp. Controller ทําหนาที่เปน primary controller โดยที่ controller
output signal จะถูกนําไปใชเปน set point ของ Secondary controller
5. Final control element ไดแก spray control valve จึงทําหนาที่ควบคุม Manipulated variable
คือ spray flow

Set point ของ Final superheat outlet temp. controller เปนคาที่ไดจาก Function generator ซึ่งมี Steam
flow signal เปนคา input อุณหภูมิเฉลี่ยของ superheat outlet temp. จะถูกเปรียบเทียบกับ Set point ดังกลาว
เพื่อหาคา Deviation ซึ่งมี controller action เปนแบบ PI+ Feed forward โดยใช Boiler Master Demand เปน
Feed forward, Controller output signal จะสงไปเปน Set point ใหกับ outlet temp. controller ตอไป
ทางดาน outlet temperature controller (P+I) จะเปรียบเทียบ set point และ SH. ATT. Outlet temp
โดยที่ถาพบวามี error เกิดขึ้นก็จะสง correction signal ไปยัง Spray control valve โดยผาน A/M transfer
station ของ valve แตละชุด เนื่องจาก outlet temp controller 2 ชุด ใช set point รวมกันจึงสามารถลด
สัญญาณการควบคุมของตัวหนึ่งโดยไปเพิ่ม ใหอีกตัวหนึ่งไดทาง Bias ขณะที่ A/M station อยูในสภาพ
Manual จะมีการ track ผาน controller เพื่อให A/M station output เทากับ Input

Anti Reset Windup Circuit


Anti Reset Windup Circuit คือวงจรที่ทําหนาที่ปองกันไมให Integrator Amplifier ทําการ Drive
Signal จนลงไปถึงจุด Saturate เมื่อปรากฏ Error คางอยู เปนระยะเวลานาน ซึ่งจะทําใหเสียเวลาในการ
Drive signal กลับขึ้นมาใหม เมื่อ error เกิดกลับเครื่องหมายขึ้นมา

2.3.1 - 17
จากการที่วงจร steam temp. control ไดจัดโครงสรางในแบบ Cascade control โดยที่ทั้ง primary และ
secondary controller ตางก็มี controller action เปนแบบ P+I ดวยกัน ทําใหอาจเปนไปไดวาในบางครั้งจะ
มีการ Drive ของภาค Integrator ลงไปจนถึงจุด saturate ตัวอยางของเหตุการณเชนในขณะที่เริ่ม startup นั้น
SH. Outlet temp ยังต่ํากวา set point ที่เปนสัดสวนกับ Boiler load อยู อันจะยังผลให Integrator – Amplifier
ของ Final SH. Outlet Temp. Controller ทําการ Drive output signal เพิ่มขึ้นจน Saturate เนื่องจาก error ที่
ปรากฏอยูในทางบวก
ถาปราศจาก Anti. Reset windup Circuit แลว outlet temp. controller จะรับ output ของ Final
SH. Outlet temp. Controller มาเขาขาลบ ทําใหดูเหมือนวา Set point temp ต่ํามาก ๆ Integrator – Amplifier
ของ outlet temp. controller จะ Drive สัญญาณ output เพื่อปด spray control valve และจะ Drive ตอไป
เรื่อยจนถึงสภาพ Saturate เนื่องจาก error ยังคางอยู เมื่อ load คอย ๆ สูงขึ้นจน SH. Outlet temp เริ่มสูงกวา
set point เล็กนอย ซึ่งควรเปนจังหวะที่ spray control valve เริ่มเปดเพื่อลดอุณหภูมิลง แต spray control valve
จะยังเปดไมไดจนกวา Final SH. Outlet temp. controller จะ drive output ( ที่ saturate อยู ) ใหคอย ๆลงมา ซึ่ง
จะเปนผลให set point ของ outlet temp. controller ต่ํากวา SH.ATT. outlet temp ที่วัดมาไดจึงจะเริ่มใช spray
control valve เขาคุมอุณหภูมิ เวลาที่ controller ใชในการ drive ขึ้นลงโดยไมจําเปน
Anti reset windup ใสเขามาใสวงจรเพื่อทําหนาที่ปองกันไมให output ของ Final SH. Outlet temp.
controller ที่จะเขาไปเปน set point ของ outlet temp controller สูงขึ้นจนกระทั่งทําให outlet temp.
controller ทําการ drive output จน saturate ได การทํางานของวงจรดังกลาวจะใชสัญญาณตัวใดตัวหนึ่งที่มี
คาสูงกวา (High select) ระหวาง Spray control valve position demand ทั้ง 2 ตัว ไปเปรียบเทียบกับตําแหนงที่
spray control valve ปดพอดี (0%) ถา outlet temp controller พยายามที่จะ drive output ใหออกมาเปนคาลบ
เนื่องจาก SH.ATT. outlet tempยังคงต่ํากวา set point อยูก็จะเปนผลให Integrator – Amplifier ทําการ drive
output หรือ high limit ที่จะนําไปเปน set point ของ outlet temp. controller ใหลดลงจนกวา Set point นั้น
เทากับ SH.ATT. outlet temp พอดีจึงจะหมด ผลที่ไดก็คือ Set point ของ outlet temp controller จะเกือบเทา
ๆ กับ SH.ATT. outlet temp ในขณะที่ Spray control valve อยูตําแหนงปด ที่ Final SH. Outlet temp
controller เมื่อ SH. Outlet temp เริ่มสูงกวา set point, Integrator จะเริ่ม drive output ใหลดลงเรื่อย ๆ จน
กระทั่งทําให Set point ของ outlet temp controller เริ่มต่ําลง SH.ATT. outlet temp ในขณะนั้นก็จะทําให
Spray control valve เริ่มทํางานทันทีเนื่องจาก outlet temp. controller ไดหยุด output ไวตรงที่ตําแหนง
spray control valve ปดโดยไมได drive จนเลยลงไปจน saturate
กลาวโดยสรุปก็คือ Anti Reset Windup circuit จะทําหนาที่หยุดการ drive ของ Integrator –
Amplifier ของ outlet temp controller ไวใหพรอมที่จะทํางานโดยการเปด spray valve โดยทันที ถา set point
ต่ํากวา controlled variable เมื่อ Spray control valve เริ่มเปดขึ้นบาง ( คา output ของ outlet temp controller
เปนบวกหรือมากกวาศูนย) จะเปนผลใหวงจร Integrator – Amplifier จะ drive output ขึ้นไปทางบวกทําให
high limit ของ Final SH. Outlet temp controller output เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆจนไปติดคา saturate

2.3.1 - 18
Approach to Saturation limit circuit
เปนวงจรที่ทําหนาที่ปองกันไมให Steam temp controller ควบคุมการ Spray น้ําจนเกินความตองการ
จนอาจเปนผลให Steam temp ลดลงจนต่ําถึง saturation temp ได
การควบคุม Temp ของไอน้ําโดยแบบพนละอองน้ําเขาไปผสมกับไอน้ําเพื่อลดอุณหภูมิของไอน้ําลง
โดยอุปกรณที่เรียกวา Spray type desuperheater นั้น มีจุดมุงหมายเพื่อลด temp ของไอน้ําที่เรียกวา Degree
superheat ลงมาโดยไมใหสูงจนเปนอันตรายกับเนื้อโลหะที่ใชทํา Superheater, Inlet Blanc ซึ่งสวนมากจะเปน
Ferritic steel ที่ทนอุณหภูมิไดประมาณ 565’c การ spray จึงมีหลักการอยูวาจะใชเพื่อลดอุณหภูมิลงมาใหพน
จากขีดจํากัดก็พอเพียงเพราะไอน้ําที่มีอุณหภูมิสูง หมายถึงประสิทธิภาพของ Turbine ที่สูงขึ้น และลด heat loss
ตลอดจนโอกาสที่ใบพัดแถวทายจะเสียหาย เนื่องจากไอน้ําที่มีสภาพ เปน wet steam ลง การ spray จึงมิไดมีขึ้น
เพื่อลดอุณหภูมิลงไปจนถึง Saturate temp อันเปนการผิดทั้งหลักการและวัตถุประสงค ของการควบคุมอุณหภูมิ
หลักการทํางานของวงจร Approach to saturation limit circuit นั้นทําโดยการจํากัดคากําหนดดานลาง
(low limit) ของ controller ไวดวย saturated temp signal เพื่อไมให controller สั่ง spray น้ําไปต่ํากวาจุดดัง
กลาว วงจร Approach to saturation limit circuit จะนําคา Drum pressure มายอนเปน input ของ function
generator ซึ่งจะคํานวณคา output ที่เรียกวา saturated temp signal สัญญาณ outlet temp controller set point
จะนํามาเปรียบเทียบกับ saturation temp signal โดยที่ถามี error ในทางบวก (set point ต่ํากวา sat. temp) จะ
เปนผลให Integrator – Amplifier ทําการปรับคา low limit ใหสูงขึ้นหรือทําให Set point สูงขึ้นจนพน
Sat.temp
สําหรับ Spray control valve M/A station นั้น ถาอยูใน Manual mode ก็จะปรับ Input signal ให track
ตาม output ดวย tracking Amplifier ของ outlet temp controller สวนในกรณีที่ spray control valve M/A ทั้ง
101,102 เปน manual ทั้งคูนั้น Final SH. Outlet temp controller จะ track ตามคาเฉลี่ยของ ATT. SH. Outlet
temp.

2.3.1 - 19
Att SH. Outlet Boiler Master Main Steam SH Outlet Temp SH Outlet Temp ATT SH Outlet
Drum Pressure
temp A Demand Flow A B Temp B
TE C C TE TE PT TE
Bias press
Alarm Alarm A Alarm
H/L TT f(x) TT TT Alarm TT
f(x) H/L H/L H/L
CRT CRT R R CRT CRT
< A T T
Max. 530C
setpoint
LAG N

Final sh. Outlet Track when both M/A


temp control
K in manual
N

0% A
Set stage A Set stage B
outlet temp -K outlet temp
control control

K > K
MRE PLW MRE PLW

I A T A I I A T A I

I/P I/P

f(x) f(x)

SH. Spray Flow SH. Spray Flow


Control Valve A Control Valve B
รูปที่
10 Superheat Temp Control

Reheat Temperature Control


ระบบ Reheat temperature control มีหนาที่หลักในการควบคุม Reheat steam temperature วิธีการใน
การควบคุม Reheat steam temperature สําหรับโรงไฟฟาพระนครเหนือใชวิธีรวมกันคือ Spray – type
Desuperheater, Gas Recirculation
Controlled variable ในระบบนี้คือ Reheat steam temp. set point หรือคาของ Reheat steam
temperature ที่ตองการ Manipulated Variable มี 2 ชุด ตามชนิดของ Final control element กลาวคือ
1. Desuperheater spray flow ที่ถูกควบคุมดวย RH. Spray flow control valve
2. Flue gas recirculation ซึ่งควบคุมดวย Gas Recirculation control damper (สําหรับ unit 3 ควบคุม
ดวย Gas Recriculation Fan loading

2.3.1 - 20
Measured Variable ไดจากการวัดอุณหภูมิของ steam บริเวณ Reheat outlet, Disturbances ของระบบ
คือ load change, Boiler trip

Reheating : คือวิธีการนําเอาไอน้ําที่ผานการขยายตัวมาแลวครั้งหนึ่ง จากการผาน High pressure turbine ไป


ทําใหอุณหภูมิสูงขึ้น โดยใหผานเขาในในสวนของ Boiler ที่เรียกวา Reheater เมื่อไดอุณหภูมิสูงพอจึงนํา
กลับไปเขา Turbine ในสวนที่ใชความดันไอน้ําขนาดต่ําลง ผลของการทํา Reheat จะทําใหคา Turbine heat
rate ดีขึ้นประมาณ 5 %

Reheater เปนเพียง Heat exchanger ชนิด Non-Contact ที่ใช Flue gas เปน Hot Fluid ทําหนาที่ถาย
เทความรอนใหกับ steam ซึ่งเปน Cold fluid เนื่องจาก Reheater ติดตั้งอยูในบริเวณที่เรียกวา Convection zone
ทําใหการถายเทความรอนเปนแบบ Convection Heat Transfer

การนําเอาวิธีการของ Gas Recirculation เขามาใชรวมในการควบคุม Reheat Temp คือการนําเอา Flue


gas จากบริเวณใดบริเวณหนึ่งของ Boiler เชน Economizer outlet ยอนกลับไปสู Convection zone ใน Furnace
ตรงจุดที่ซึ่งจะไมเขาไปรบกวนการเผาไหมของเชื้อเพลิง ผลที่เกิดขึ้นจากวิธีการที่วานี้คือ การเปลี่ยนสัดสวน
ของ Heat Absorption โดยลดปริมาณของ Heat Absorption ใน Furnace ลงและไปเพิ่มขึ้นใหกับ Steam Coil ที่
อยูทางดาน Convection แทน กราฟแสดงความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงของการรับความรอนในสวน
ตาง ๆ ของ Boiler
จากกราฟเห็นไดวาการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความรอนที่รับไว (Heat absorption pattern) จะเกิด
มากบริเวณ Convection pass วิธีการที่กลาวมาเปนวิธีการที่ทําเพื่อเพิ่มอุณหภูมิของ Reheated steam สําหรับวิธี
การลดอุณหภูมิดังกลาวลงนั้นยังคงใชวิธีการ Spray-type อยู
Measured Variable ของระบบไดจากการเฉลี่ยคาอุณหภูมิของ Right และ left reheat outlet temp, set
point ของ Reheat temp controller จะเปรียบเทียบกับ RH. Outlet temp เพื่อหาคา Deviation ซึ่งมี Controller
action PI, สัญญาณ controller output จะสงไปยัง Gas recirculation control damper, โดยผาน A/M transfer
station ซึ่ง controller output ของ gas recirculation control damper จะ set low limit ไวที่ 25 % และ high
limit ไวที่ 50% ของตําแหนงเปดสุด
RH.outlet temp (overage temp) จะสงไปยัง primary controller ของระบบ reheat spray cascade
control เพื่อเปรียบเทียบกับ Reheat outlet temp, set point สําหรับ primary controller ( P+I) จะมีการเพิ่ม
Bias + 10’F เปนผลให Temp error ลดลงเทากับ Bias หรือมองอีกดานไดวา Set point สูงขึ้นเทากับ Bias เพื่อ
เปนการแบงระยะการทํางานของระบบ Spray ใหทําตามระบบ Gas recirculation, output ของ controller จะ
สงไปเปน set point ใหกับ Secondary controller ตอไป

2.3.1 - 21
ทางดาน Secondary controller (P+I) จะเปรียบเทียบ Set point และ ATT. RH. Outlet temp โดยที่ถา
พบวามี error เกิดขึ้นก็จะสง correct signal ไปยัง spray control valve โดยผาน A/M station ของ valve
ขณะที่ A/M station อยูในสภาพ Manual จะมีการ track ผาน controller เพื่อให A/M station output เทากับ
Input
ATT RHOutlet
Temp
GRFan Diff RHOutlet Temp RHOutlet Temp
Furnaces
Pressure A B TE
Pressure
D DP TE TE
TT
Alarm Alarm
TT TT Alarm
/L H/L H/L CRT
-
CRT R R CRT
f(x) A Bias +5C
+ T T

N K
K

K
25% A A 50%

MRE MRE K
I A T A I Gas recirc diff T A I MRE PLW
pressure low-low
is close damper T I A T A I
25% A < to 0% setpoint

I/P 0% V> I/P I/P

f(x) f(x) f(x)

Stack Control GRControl RH. Spray Flow


Damper Damper Control Valve

รูปที่ 11 Reheat Temp Control

2.3.1 - 22
คําถามทายบท
1. Process มีลักษณะเฉพาะตัวอยางไรจึงจะใชระบบควบคุมแบบ On-Off ได
2. Dead Band มีความสําคัญอยางไรสําหรับ On-Off Control
3. Proportional Band คืออะไร? PB กวางและแคบมีผลอยางไรตอระบบควบคุม
4. Off Set คืออะไร และมีวิธีแกไขทําไดอยางไร
5. Derivative Control มีบทบาทตอ Transient ที่เกิดขึ้นอยางไร
6. P, I และ D มีบทบาทแตกตางกันอยางไร
7. อธิบายรูปแบบของ Combustion Control แบบ Series Metering ขอดี-ขอเสียเมื่ออุปกรณมีปญหา
8. อธิบายรูปแบบของ Combustion Control แบบ Lead-Lay ขอดี-ขอเสียเมื่ออุปกรณมีปญหา
9. จงเปรียบเทียบ Feedwater Control โดยใช Single Element, Two Element และ Three Element
10. วิธีการควบคุมอุณหภูมิของ Main Steam มีกี่วิธี, อะไรบาง

2.3.1 - 23
2.3.1 - 24
2.3.1 - 25
2.3.2 Turbine Control
2.3.3 Generator and Exciter

2.3.3 - 1
โครงสรางและหลักการทํางาน
(Construction and Principle of Operation)

1.1 GENERATOR
จากรูป 1A แสดงหลักการงาย ๆ ของ Generator เมื่อ Magnetic Field หมุนผาน Stationary Coil
จะ Induced Current และ Voltage ขึ้นที่ Stationary Coil Magnetic Field เกิดขึ้นไดจากการปอนไฟ
DC เขาที่ขดลวดของ Rotor กระแสไฟ DC จะทําใหเกิด Magnetic Field ขึ้นที่ Rotor และ เมื่อ Rotor
หมุนจะ Induced AC Voltage และ Current ขึ้นที่ Stationary Coil

Stator Coil

รูป 1A Two – Pole Generator

จากรูป Generator ที่แสดง เมื่อ Magnetic Field หมุนผานทุก ๆ Coil ในการหมุนครบ


1 รอบ ของ Rotor เราเรียกวา 1 Cycle ถา Rotor หมุน 60 รอบ ใน 1 วินาที Magnetic Flux จะหมุน
ผานทุก ๆ Coil 60 ครั้ง ใน 1 วินาที เราอาจจะพูดไววา Electrical Power มี Frequency เทากับ 60
C/S (Hz)
แสดงเปนสมการได
F = N
คือ Frequency กับจํานวนรอบของการหมุนตอวินาที
การหมุนตามธรรมดาจะมีหนวยเปน รอบ / นาที ดังนั้น
F = N = รอบ/นาที = รอบ
60 วินาที-นาที วินาที
จากสมการที่ไดใชไดเฉพาะ Machine ที่เปนแบบ 2 Pole N และ S (North and South) หรือ
1 คู ของ Pole
ถา Rotor มี 4 Pole จากรูป 1B ทุก ๆ การหมุน 1 รอบ ของ Rotor จะได Frequency ออกมา
2 Cycle

2.3.3 - 2
Stator Coil
N
S S
N

รูป 1 B Four – Pole Generator

ดังนั้น จํานวน Pole ตองนํามาพิจารณาดวย เมื่อคํานวณหาความสัมพันธระหวาง


Frequency และ Speed
ดังนั้นเราจะได
F = N x P (P = จํานวนคูของ Pole)
P คือ จํานวนคูของ Pole (Pair of Pole) ไมใชจํานวน Pole เชน 1-Poke ของ Rotor จะมี 1 คู
ของ Pole, Rotor 4-Pole จะหมุนดวย Speed 3600 RPM แตถา Generator ตัวเดียวกัน แต Rotor เปน
แบบ 4 Pole จะหมุนดวย Speed 1800 RPM
แตในทางกลับกัน Generator ตัวหนึ่งหมุนที่ Speed 300 RPM จํานวน Pole ที่ตองใชในการ
ทําใหได Frequency 60 Cycle/Sec จะตองทําให Rotor มีขนาด 12 Pair of Pole หรือ 24 Pole ซึ่ง
Generator ชนิดนี้สวนมากใช Hydro – Turbine เปนตัวหมุน Rotor
Generator ซึ่งใช Steam Turbine เปนตัวหมุน Rotor สวนมากเปนพวก Bigh Speed และ
Rotor มีรูปรางเปนทรงกระบอก ขนาดกระทัดรัด

รูป 1C Turbo-Generator Rotor

2.3.3 - 3
Rotor Winding จะวางลงในชอง Slots และตอเขาดวยกันที่ปลายของแตละชุด เพื่อวางรูป
ใหเปน Coil และกําหนดขั้ว N และ S ซึ่งเปนตัวกําหนดการหมุนของ Electromagnet Fan ติดตั้งไว
เปนตัวระบายความรอน Collector Ring เปนที่สําหรับ DC Input ที่จะปอนเขาไปที่ Rotor ซึ่งกลาว
โดยละเอียดในตอนตอไป
Frequency คือตัววัด Speed ถาเพิ่ม Power ที่ไดจาก Generator โดยไมเพิ่ม Power ที่ใหกับ
Turbine จะทําให Speed ตกลง ซึ่งเราสามารถรูไดโดย Frequency จะตกลง
ควรจําไววา Generator ไมไดเปนตัวสราง Electrical Energy แต Generator เปนเครื่องมือที่
เปลี่ยน Mechanical Energy เปน Electrical Energy

1.2 โครงสรางของ STATOR


จากรูป 1D แสดงภาพตัดของ Generator ขนาด 500 MW Rotor ติดตั้งอยูบน Journal Bearing
ทั้ง 2 ดาน Exciter ตอโดยตรงกับ Rotor และจะเปนตัวจายไฟ DC ใหกับ Rotor Winding

รูป 1D Stator –Cutaway View


Stator Coil ติดตั้งอยูใน Iron Core ซึ่งอยูดานในของ Stator Housing ชองวางระหวาง Coil
ใน Stator มีไวเพื่อชวยใหการหมุนเวียนของ H2 ที่ใชสําหรับระบายความรอนดีขึ้น
Stator Winding ตอกันอยูภายในและสงออกมาที่ Terminal โดยมี High Voltage Insulation
คลุมอยูบริเวณใตของ Generator , Cable และ Bus bars ตอเขาที่บริเวณใตของ Generator และเปน
ตัวนํา Power จาก Generator ออกมา
(จากรูป 1E) Stator ตามธรรมดาจะประกอบดวย 2 สวน คือ Inner Frame และ Outer
Frame

2.3.3 - 4
Outer Frame fสรางใหมีลักษณะเปนทอเพื่อใชเปนที่เก็บ H2 สําหรับ Cool และทําใหเปน
ชอง สําหรับเปนทางให H2 ไหลผาน Generator
Inner Frame เปนติดตั้ง Stator Core ซึ่ง Stator Core จะทําใหมีลักษณะเปนชองเพื่อสําหรับ
ใส Copper Conductor

รูป 1 E Stator Frame


จากรูป 1F Stator Iron Core กอนที่จะใส Winding รวมทั้งแสดงการแยกกันระหวาง
Copper Conductor ในแตละ Slot Conductor แตละ Slot จะตอกันกับ Conductor ในชองอื่น ๆ เพื่อ
ทําใหเปนรูป Coil ดังรูป 1G

รูป 1F Iron Core


แกนเหล็กของ Stator จะไมทําเปนเหล็กแทง (Solid Iron) แตมันจะประกอบดวยแผนเหล็ก
บาง ๆ และรวมเขาดวยกันเพื่อลดการ Flow ของ Eddy Current ที่จะไหลในแกนเหล็ก เมื่อ Eddy
Current ไหลในแกนเหล็กจะทําใหเกิด Heat Loss ซึ่งจะทําใหประสิทธิภาพต่ําลง

2.3.3 - 5
และการที่แกนเหล็กทําดวยแผนเหล็กบาง ๆ นี้ อาจทําใหเกิดเสียง Hum เนื่องจากการสั่น
ของเหล็กแผน ซึ่งอาจไดยินในขณะที่ Generator ทํางาน
กอนที่ Copper Bar จะนําลงไปใสในชอง Slot จะตองมี Insulation กั้นระหวาง Conductor
และ Iron Core รวมทั้ง Synthetic Varnish, mica และ Glass Tape Station Conductor จะยึดอยูใน
Slot ดวย Strong Wedges ซึ่งเปนวัสดุที่เปนฉนวน
ใน Machine ขนาดใหญ, Conductor ในแตละ Slot จะอยูรอบ ๆ ทอ ซึ่งทําเปนทางให H2
ไหลผาน , ซึ่งแสดงในรูป 1 H Stator Coil เราสามารถระบายความรอนไดโดยใชน้ําไหลผานเขาไป
ใน Conductor , ซึ่งจะทําเปนชองใหน้ําผาน

รูป Figure 1I Stator Conductors-Water Cooled

1.3 โครงสรางของ ROTOR


Generator Rotor และ Shaft ทําขึ้นรูปดวยการ Forging จากรูป 1K แสดง Rotor ซึ่งมี
Copper Conductor ประกอบอยู Conductor จะตอกันที่ดานปลายเพื่อทําเปน Coil
ใน Machine ขนาดใหญ ๆ Rotor Conductor จะทําเปนชองเพื่อให H2 ไหล ผาน เพื่อ
ระบายความรอนของ Conductor
H2 ไหลผาน Coil โดยอาศัยการหมุนของ Fan เมื่อ Rotor หมุน จากรูป 1C จะเห็นวามี Slot
Ring เพื่อนําไฟ DC จายใหกับ Rotor

2.3.3 - 6
รูป 1J,1K Rotor Forging& Rotor Conductors – Hydrogen Cooled

ไฟ DC จายเขา Rotor โดยแปรงถานที่ Slip Ring ซึ่งจะตอเขา Conductor ซึ่งฝงอยูในเพลา


และ ตอเขา Rotor Winding
Rotor Wingding จะมีขนาดเล็กกวา Stator Wing , Rotor Winding , Rotor Wording ใชงาน
ที่ Voltage ประมาณ 500 Volts ดวย Power ประมาณ 500 KM ขณะ Stator Wing จะถูกใหรับ Load
ที่ 500 MW
Power ที่ใชกับ Generator เมื่อผลิตพลังงานไฟฟาขนาด 500 MW ไดจาก Steam Turbine
ไมใช Exciter , DC Power ที่ปอนใหกับ Rotor เพื่อทําใหเกิด Magnetic Field Rotating Magnetic
Field ทําให Generator เปลี่ยน Mechanical Energy ไปเปน Electrical Energy
Eddy Current อาจจะเกิดขึ้นใน Rotor ถาปลอยใหมีการไหลของ Eddy Current อาจจะทํา
ใหเปนอันตรายแก Bearing เนื่องจากการไหลของกระแสนี้จาก Rotating Part ไปยัง Stationary Part
โดยผานทาง Bearing Oil , เพื่อปองกันอันตรายอันอาจเกิดขึ้นที่ Bearing ทําไดโดยแยก Bearing
จาก Ground โดยใช Insulation กั้น

2.3.3 - 7
รูป 1L Insulated Bearing

1.4 EXCITATION
จากรูป 1M แสดง Excitation Schematic
Exciter คือ DC Generator ซึ่งสามารถขับโดย Electric Motor หรือ ตนกําลังอื่น ๆ ไฟ DC
จายเขาที่ Slip Ring ของ Rotor และ Control โดยปรับใหพอเพียงกับความตองการของ Generator

Rotor

(+) (-)

Motor Exciter Control

รูป 1M Separately Driven Exciter

2.3.3 - 8
จากรูป 1N Exciter ขับโดยตรงจาก Main Rotor Shaft
DC Generator ตามปกติ Magnetic Field จะเปน Stationary ในขณะที่ Power ออกมาจาก
Rotating Winding ที่เรียกวา Armature
Collector
Ring (-) Commutator

Exciter

Brush (+)
รูป 1N Directly Driven Exciter

รูป 1O DC Generator
ใน DC Generator , กระแสไฟที่เกิดขึ้นที่ Armature Conductor เปนไฟ AC และเปลี่ยนเปน
ไฟ DC โดย Commutator แปรงถานจะนําไฟ DC จาก Commutator และสงตอไปให Main Rotor
กระแสไฟฟาสําหรับสราง Electro-Magnetic Field เอามาจากตนกําเนิด DC ภายนอกหรือ
มาจาก Commutator , Self-Excited DC Generator (ใชไฟ DC จาก Commutator) ดังแสดงในรูป 1P
ถาเปลี่ยนแปลงความเขมขนของ Magnetic Field , Out Put Voltage ของ Armature จะเปลี่ยนแปลง
Magnetic Field หรือโดยแยก Generator อีกตัวตางหาก

2.3.3 - 9
Field Switch

(+)

Rotor

Slip Ring (-)


Main Exciter Pilot Exciter
รูป 1P Self-Excited DC Generator
ตามธรรมดาแลวรูปแบบของ Excitation จะแบงออกเปนสวน Main และ Pilot Exciter ดัง
รูป 1Q , Main Exciter แยกออกจาก Pilot Exciter
Main Exciter Field สามารถ Control ไดจาก Commutator โดยอาศัยแปรงถานและผาน
Field Switch ไปยัง Slip Ring , Field Switch นี้จะ Open เมื่อเครื่อง Shut Down, การเปลี่ยนแปลง
คาที่ Pilot Exciter Field สามารถทําไดทั้ง Manual และ Automatic
ขอควรจํา การเปลี่ยนแปลงขอความเขมขนของ Rotating Magnetic Field จะไมทําให Load
–อง Generator เปลี่ยนแปลง Load ของ Generator จะเปลี่ยนก็ตอเมื่อจํานวน Steam Turbine เปลี่ยน
แปลง
(+)

รูป 1Q Main and Pilot Exciter System

2.3.3 - 10
การเปลี่ยนแปลงของ Rotating Magnetic Field จะไมเปลี่ยน Horse Power Input ที่
Generator แตจะมีผลที่ Voltage Output

1.5 BRUSHLESS EXCITATION


ใน Exciter แบเกา ๆ ยังตองใชแปรงถาน (Brush) เพื่อที่จะนํากระแสจาก Commutator และ
ใชสําหรับจายไฟเขาที่ Slip Ring ของ Main Rotor ดังนั้นแปรงถานนี้ตองคอยบํารุงรักษาอยางดี
ในปจจุบันไดพัฒนาวิธีการใหมโดยไมตองใชแปรงถานซึ่งเรียกวา Brushless Excitation
ใน Brushless Excitation (จากรูป 1R) แสดงการเปลี่ยนจากไฟ AC เปนไฟ DC กระแสไฟ AC จะ
ไหลผาน Rectifier ซึ่งหมุนไปกับเพลา ไฟ DC ซึ่งออกจาก Rectifier จะถูกจายเขาที่ Main
Generator Rotor, Rotor และ เพลาจะหมุนไปดวยกัน ดังนั้นเห็นวาไมตองใชแปรงถานเลยในระบบ
ที่แสดงดังรูป 1R , Magnetic Field สําหรับ Exciter ไดจาก Pilot Exciter ซึ่งจะอยูบนเพลาอันเดียว
กัน
Rectifier

AC Exc/Gen Main AC. Gen


AC DC Rotor

Voltage
Power Amp
Control

Auto Man.

รูป 1R Brushless Excite


การ Control Field ทําไดทั้ง Automatic หรือ Manual Voltage Control ไฟ AC ที่ไดจาก
Armature –อง Main Exciter จะผานไปที่ชุด Rotating Rectifier, ซึ่งเปลี่ยนไปเปนไฟ DC จากนั้นจะ
ถูกสงไปที่ Main AC Generator Rotor ซึ่งจะเห็นไดวาไมตองใช Brush, Slip Ring และ
Commutator
Static Excitation ก็เปนอีกแบบหนึ่งของการ Excitation ซึ่งแสดงดังรูป 1S ซึ่งจะเห็นวาไม
มี Rotating Exciter , AC Power ที่ออกจาก Line ของ Main Generator จะถูกสงกลับเขที่ Static
Exciter และเปลี่ยนไปเปนไฟ DC ในขณะเดียวกัน การ Control สามารถทําไดทั้ง Manual หรือ
Automatic Voltage Regulator ซึ่งผลทําใหไฟ DC จะเขาที่ Slip Ring และเขาไปที่ Rotor
ในปจจุบันนี้การ Excitation ที่ใชกันอยูมีอยู 3 แบบ

2.3.3 - 11
1. Pilot Exciter และ Main Exciter ซึ่งจะทําหนาที่จายไฟ DC จาก Commutator ใหกับ
main Rotor โดยอาศัย Slip Ring
2. Brushless Exciter ซึ่งไมตองใช Commutator , Slip Ring , Brush แตจะใช Rotating
Rectifier
3. Static Excitation ไฟ DC จากการ Rectifier , ไฟ AC ไดจาก Generator Line ไฟ DC
จะจายเขาที่ Rotor โดย Slip Ring
ทุก ๆ แบบที่กลาวมา , Voltage สามารถ Control ไดทั้ง Manual และ Automatic โดยการ
ปรับกระแสที่จายเขาที่ Rotor
Stator
brush
Rotor

DC (-) DC (+)
Controller
Static Exciter

AC.
รูป 1S Static Excitation

2.3.3 - 12
คําถามทายบทเรื่อง Generator&Exciter
1. Generator หมุนที่ความเร็ว 3000 rpm. มีจํานวน 2 Pole จะมีความถี่เทาใด
2. Hydrogen ที่หมุนเวียนภายใน Stator Coil ของ Generator ทําหนาที่อะไร
3. แกนเหล็กของ Stator จะไมทําเปนเหล็กแทงแตจะประกอบดวยเหล็กแผนบางๆ
เพื่อตองการลดอะไร
4. การปองกันความเสียหารที่ Bearing อันเนื่องมาจากการไหลของ Eddy Current
สามารถทําไดอยางไร
5. Static Excitation แตกตางกับ Brushless Excitation อยางไร
6. ในปจจุบันระบบ Excitation ที่นิยมใชกันมีกี่แบบอยางไรบาง

เอกสารอางอิง
1. เอกสารการอบรมหลักสูตร Electrical Power Plant
เรียบเรียงโดย. : ฝายฝกอบรม
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

2.3.3 - 13
2.3.4 Generator Protection

2.3.4 - 1
การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
Generator Protection
1.1 บทนํา
โดยทั่วไปอาจกลาวไดวา เครื่องกําเนิดไฟฟาเปนหัวใจของระบบพลังงานไฟฟา เครื่องกําเนิดไฟฟาเปน
อุปกรณที่เปลี่ยนพลังงานกลของ เครื่องจักรตนกําลัง (Prime Mover) ใหเปนพลังงานไฟฟา เครื่องจักรตนกําลังที่
นิยมใชกันในปจจุบันสําหับผลิตพลังงานไฟฟา มีหลายชนิด เชน แบบใชไอน้ํา (Stem Turbine) แบบใชแกส
(Gas Turbine) แบบใชพลังน้ํา (Water Turbine) แบบเครื่องยนตดีเซล (Diesel Engine) เปนตน การที่เครื่องจักร
ตนมีลักษณะตางกัน ทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ใชกัน เครื่องจักรตนกําลัง นั้น ๆ มีลักษณะแตกตางกันไปบาง แต
ลักษณะทั่ว ๆ ไป แลวจะคลายกัน และสวนใหญจะเปนเครื่องกําเนิดไฟฟา แบบ ซิงโครนัส (Synchronous
Generator)
เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดเล็ก และขนาดกลาง อาจตอโดยตรงกับ ระบบจายไฟฟาได แตเครื่องกําเนิดไฟ
ฟาขนาดใหญ มักจะตองผานหมอแปลงกําลังไฟฟาเขากับระบบสายสง บางครั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ
และหมอแปลงทํางานเปนชุด หรือเปนหนวยเดียวกัน เรียกวา “ชุด เครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง” (Unit
Generator – Transformer)
โรงไฟฟาอาจเปนแบบที่มีไมคนควบคุมดูแลประจํา ซึ่งสวนใหญเปนขนาดเล็ก และทํางานโดย
อัตโนมัติ อีกแบบหนึ่งเปนโรงไฟฟาที่มีคนควบคุมดูแลประจํา ซึ่งมักมีขนาดใหญ และมีความสําคัญตอระบบ
มาก การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาในโรงไฟฟาทั้งสองแบบนี้ยอมตองมีความตางกันบาง แลวแตขนาดและ
ความสําคัญของเครื่องที่ติดตั้งอยู ในบทนี้จะไดกลาวถึงหลักการที่นิยมใชในการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาโดย
ทั่วไป และจะกลาวถึงการปองกันโดยเฉพาะที่ใชกับเครื่องที่มีขนาดใหญ และขนาดเล็กในหัวขอ 1.12

1.2 การทํางานผิดปกติของเครื่องกําเนิดไฟฟา
หนวยผลิตกําลังไฟฟาที่ใชในปจจุบันเปนระบบที่ซับซอน ประกอบดวยชิ้นสวนหลายสวน เชน ขดลวด
ตัวนําชองสเตเตอร ชุดหมอแปลงที่ตอถึงกัน โรเตอรพรอมดวยขดลวดตัวนําของสนาม และเอกไซเตอร
(Exciter) กังหัน (Turbine) เครื่องควบแนน (Condenser) หนวยผลิตไอน้ํา (Boiler) ปม และพัดลมตาง ๆ การ
ทํางานผิดปกติ (Faults) ที่อาจเกิดขึ้นไดในระบบนี้ ที่จะตองพิจารณาในการออกแบบระบบปองกัน มีมากกวา
สวนอื่นใดในระบบพลังงานไฟฟา การทํางานผิดปกติของระบบนี้อาจแยกเปนชนิดตาง ๆ ดังนี้
1. ความผิดปกติที่ฉนวนของขดลวดตัวนําสเตเตอร (Stator Faults)
2. การรับภาระเกินขนาดของเครื่องกําเนิดไฟฟา (Overload)
3. แรงดันเกินขนาด (Over voltage)
4. การรับภาระไมสมดุลย (Unbalanced Loading)
5. ความผิดปกติ ที่โรเตอร (Rotor Faults)

2.3.4 - 2
6. การสูญเสียวงจรสนาม (Loss of Excitation)
7. การสูญเสียการเขาจังหวะ หรือ ซิงโครนัส (Loss of Synchronism)
8. ความรอนในเครื่องสูงเกินไป (Overheating)
9. ความขัดของของเครื่องจักรตนกําลัง (Failure of Prime Mover)
10. ระบบสูญญากาศต่ํา (Low vacuum)
11. ความขัดของในระบบน้ํามันหลอลื่น (Lubrication Oil Failure)
12. ความขัดของในระบบผลิตไอน้ํา (Loss of Boiler Firing)
13. ความเร็วสูงเกินไป (Over speeding)
14. โรเตอรบิดเบี้ยว (Rotor Distortion)
15. ความแตกตางในการยืดตัวของสวนที่หมุนและสวนที่ไมหมุน (Difference in Expansion Between
Rotating and Stationary Parts)
16. การสั่นสะเทือนมากผิดปกติ (Excessive Vibration)
การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา และหนวยผลิตพลังงานไฟฟาใหครบถวนสมบูรณทุกอยาง เปนสิ่งที่ทํา
ไดยากตองพิจารณาหลายแงมุม แลวแตความสําคัญของเครื่องที่มีตอระบบไฟฟา และปญหาความคุมคาทาง
เศรษฐศาสตรในบางครั้งที่มีระบบปองกันซับซอน และมากเกินไป ระบบอัตโนมัตินี้ อาจจะปลดเครื่องกําเนิด
ไฟฟาออกจากระบบเร็วเกินความจําเปน ทําใหเกิดความเสียหายตอระบบได โดยที่การทํางานผิดปกติบางอยาง
ผูควบคุมดูแล อาจจะจัดการแกไขไดโดยไมตองปลดปลอยเครื่องออกจากระบบ แตในบางครั้งที่มีการปองกัน
นอยเกินไปโดยหวังพึ่งผูควบคุมมากเกินไป เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ผูควบคุมจัดการไมทันหรือจัดการผิด ทําใหการ
ทํางานผิดปกติ คงอยูเปนเวลานานเกินไปและอาจจะลุกลามมากขึ้น การที่ไมปลดหรือปลดเครื่องออกชาเกินไป
ก็จะทําใหเกิดความเสียหายอยางใหญหลวงตอเครื่อง และตอระบบในกรณีที่เครื่องที่สําคัญตองหยุดทํางานเปน
เวลาทํางาน ดังนั้นจะเห็นไดวาการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาสําคัญเปนเรื่องยุงยาก และตองพิจารณาอยางรอบ
คอบ ในหัวขอตอไปนี้ จะกลาวถึงหลักการที่สําคัญในการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ใชกันในปจจุบัน

1.3 การลัดวงจรในสเตเตอร
ฉนวนของสเตเตอรอาจเกิดชํารุดเสียหายไดเนื่องจาก เกิดมีแรงดันไฟฟาเกินขนาดในขดลวดตัวนํา หรือ
เนื่องจากคุณสมบัติของการฉนวน (Insulation) ลดลง หรือเนื่องจากสาเหตุทั้งสองประการรวมกัน สําหรับแรง
ดันไฟฟาสูงเกินขนาดนั้น อาจเกิดขึ้นได เนื่องจาก เกิดฟาผา หรือ การเปดปดวงจร (Switching) ซึ่งมักจะ
พยายามปองกันไมใหเขาเครื่องกําเนิดไฟฟา และหมอแปลงโดยใช อุปกรณปองกันคลื่นฟาผา (Lightning
Arrester) หรือ อุปกรณเบี่ยงเบนเซิจ (Surge Diverter) สวนคุณสมบัติการฉนวนลดลงนั้นมักเกิดขึ้น เนื่องจาก

2.3.4 - 3
การใชงานมากเกินขนาด และอายุของฉนวน สาเหตุทั้งสองประการนี้จะทําใหฉนวนแหง และกรอบจนหมด
ความยืดยุน (Elasticity) มีลักษณะคลายถาน (Carbonized) การใชงานมากเกินขนาดมักเกิดขึ้นเนื่องจาก การใช
กระแสไฟฟาสูงเกิดขนาด การไมคอยดูแลระบบระบายความรอน หรือการปลอยปละละเลยเครื่องจักรจนทําให
มีฝุนละอองเขาจับอยูมาก
เมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นในสเตเตอร จะตองมีการรื้อเครื่องเพื่อซอมแซม หรือเปลี่ยนขดลวดตัวนําราคา
คาซอมแซมขดลวดตัวนํา อาจไมตางกันมากนัด เมื่อมีการลัดวงจรเกิดขึ้นในตําแหนงเดียว หรือหลายตําแหนง
แตถามีการลัดวงจรเกิดขึ้นถึงแมจะเกิดในตําแหนงเดียว จะปลอยทิ้งไวรอใหเกิดขึ้นในตําแหนงอื่นกอนจึงคอย
ซอมแซมไมได จะตองพยายามจํากัดเวลาที่มีการลัดวงจรใหสั้นที่สุดเทาที่จะทําได เนื่องจากเหตุผลสองประการ
คือ เพื่อปองกันมิใหแกนเหล็กไหม (Core Burning) และเพื่อปองกันเพลิงไหม เมื่อฉนวนติดไฟ ซึ่งถึงแมวา
อารค (Arc) จะดับแลว เพลิงอาจจะยังคงลุกลามตอไปไดในกรณีที่แกนเหล็กไหมคือ แผนเหล็กของแกนเชื่อม
ติดกัน จะตองรื้อขดลวดและสรางแกนสวนที่ชํารุดใหม คาซอมแซมอาจจะแพงมาก และจะใชเครื่องกําเนิดไฟ
ฟาไมไดเปนเวลานาน

การลัดวงจรในขดลวดตัวนําของสเตเตอร มี 3 แบบ คือ


(1) การลัดวงจรลงดิน (Earth Faults) ซึ่งโอกาสเกิดไดงายกวาอีก 2 แบบ ที่กลาวถึง เพื่อให
การปองกันขดลวดตัวนําสเตเตอรทําไดงายขึ้น มักจะตอจุดกลาง (Neutral) ของขดลวดตัวนําของสเตเตอรของ
เครื่องกําเนิดไฟฟาลงดินและ โดยมากมักจะตออิมพิแดนซคาสูงพอสมควร ระหวางจุดกลางนี้กับดิน เพื่อจํากัด
คากระแสไฟฟาลัดวงจรลงดินใหมีคาต่ํา ประมาณ 5 ถึง 20 แอมแปร เพื่อปองกันมิใหแกนเหล็กไหม ถาเปนชุด
เครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง การตอลงดินมักใชหมอแปลงตอลงดิน (Earthling Transformer หรือ
Distribution Transformer)
(2) การลัดวงจรระหวางเฟส (Phase Faults) มีโอกาสเกิดขึ้นไดยากกวาการลัดวงจรลงดิน
การลัดวงจรแบบนี้เกิดขึ้นระหวาง เฟส กับ เฟส และไมเกี่ยวกับดินเลย แตถาเกิดขึ้นแลว มักจะกลายเปนการลัด
วงจรลงดินไปในที่สุด
(3) การลัดวงจรระหวางขดลวด (Interterm Faults) มีโอกาสเกิดขึ้นยาก และมักจะไมมีการ
ปองกันโดยเฉพาะตองรอใหกลายเปนการลัดวงจรลงดินเสียกอน ระบบปองกันจึงจะสั่งตัดวงจร
การปองกันสเตเตอรสวนใหญมักนิยมทํา สําหรับปองกันการลัดวงจรลงดินและการลัด วงจรระหวาง
เฟส สวนการลัดวงจรระหวางขดลวด มักไมคอยทํากันโดยตรง เพื่อเปนการประหยัดคาใชจาย ดังนั้นเมื่อเกิดการ
ลัดวงจรในแบบหลังนี้ ระบบปองจะทํางานก็ตอเมื่อไดกลายเปนการลัดวงจรลงดินแลวเทานั้น บางครั้งเมื่อความ
ผิดปกติคงอยูเปนเวลานานกวาจะกลายเปนการลัด วงจรลงดิน ความเสียหายอาจเกิดขึ้นมากแลว แกนเหล็กอาจ
ไหม หรือ เกิดเพลิงไหม แลวก็ได

2.3.4 - 4
1.4 การปองกันขดลวดตัวนําของสเตเตอร
การปองกันขดลวดตัวนําสเตเตอร ที่ใหผลดี และนิยมทํากันมาก คือ การปองกันแบบกระแสผลตาง
(Circuiting Current Differential Protection) ซึ่งแบงออกเปน 2 แบบ คือ แบบวัดกระแสผลตางตามยาว
(Longitudinal Differential) และ แบบวัดกระแสผลตางตามขวาง (Transversal Differential)
1.4.1 การปองกันแบบกระแสผลตางตามยาว (Longitudinal Differential)
1.4.1.1 การปองกันแบบกระแสตางโดยใชรีเลยอิมพิแดนซสูง
การปองกันแบบนี้จะทําไดก็ตอเมื่อ ปลายของขดลวดตัวนําทั้งสองขางของเฟสแตละเฟสโผลออกมาให
ตอหมอแปลงกระแสได การปองกันแบบกระแสผลตางจะปองกันการลัดวงจรระหวางเฟส และการลัดวงจรลง
ดินไดดี รูปแบบงาย ๆ ของการปองกันแบบนี้ แสดงไวในรูป 1.1

GENERATOR
BREAKER
I2
CT1 I1 CT2
A
B
52
C
Stator Winding
ZE

Differential Relay
87 87 87
High Impedance Type
รูป
1.1 การปองกันแบบกระแสผลตาง

GENERATOR
BREAKER
I1 i2
CT1 CT2
A
N
i2= i 52 i2= i1= i

i i

87
i i

รูป 1.2 (ก) การปองกันแบบประแสผลตางเมื่อไมมีความผิดปกติ

2.3.4 - 5
GENERATOR
BREAKER
I1 i2
CT1 CT2
A
N
52 i2= i1= i
i1

i1
i2

i1d= i1- i2
i1 87 i2

รูป 1.2 (ข) การปองกันแบบกระแสผลตาง เมื่อมีการลัดวงจร


การตอวงจรปองกันแบบนี้จะสามารถปองกันการลัดวงจร ระหวางเฟสของสเตเตอรไดตลอดทั้งขดลวด
ตัวนํา เพราะไมมีอิมพิแดนซอื่นใดรวมอยูในวงจรที่จะกําจัดกระแสวงจรไดเลย สวนการลัดวงจรระหวางขด
ลวดนั้น การตอวงจรแบบนี้จะปองกันไมไดเลย
ในกรณีของการลัดวงจรลงดินจะมีอิมพิแดนซ หรือความตานทานที่ตอลงดินซึ่งจะจํากัดคาของกระแส
ลัดวงจรใหมีคาต่ํา การที่จะปองกันวงจรใหครอบคลุมของลวดตัวนําใหไดมากที่สุด จะตองมีการปรับตั้งคาแรง
ดันของริเลย (Relay Voltage Setting) ใหเหมาะสม คาแรงดันของรีเลยจะตั้งจากแรงดันตกในวงจรทุติยภูมิ
กระแสปฐมภูมิต่ําสุดจะคํานวณโดยการบวนกระแสกระตุน (Exciting Losses) ของหมอแปลงกระแสที่ตอขนาน
กันที่คาแรงดังรีเลยที่ปรับตั้งไว และกระแสต่ําสุดที่จะทําใหรีเลยทํางาน แลวคูณดวยอัตราแปลงของหอแปลง
จะไดคากระแสปฐมภูมิต่ําสุด และจะทราบวาแรงดันลัดวงจรต่ําสุดที่จะทําใหไดกระแสมีคาเทาไร โดยคํานึงถึง
คาความตานทานที่ตอลงดินดวย แรงดันนี้จะบอกใหรูถึงตําแหนงจากจุดกลางซึ่งเมื่อเกิดการลัดวงจรแลว รีเลย
จะทํางาน หมายถึงรีเลยจะปองกันการลัดวงจรลงดินจากจุดดังกลาวจนถึงขั้วของขดลวดตัวนําทางออก สวนการ
ลัดวงจรซึ่งเกิดระหวางจุดนี้กับจุดกลาง จะใหกระแสต่ําเกินกวาที่รีเลยจะทํางาน วงจรแบบนี้จะปองกันการลัด
วงจรลงดินไดเกือบตลอดขดลวด
รีเลยที่ใชในระบบปองกันที่กลาวนี้มักเปนรีเลยแบบมีอิมพิแดนซสูงและทํางานไดรวดเร็ว (High
Impedance High Sped Relay) เชน รีเลยแบบดูแกนเหล็ก ซึ่งมีความตานทานตออนุกรมเพื่อชวยในดานเสถียร
ภาพในการทํางาน (Stabilizing Resistor)
1.4.1.2 การปองกันโดยใชรีเลยแบบเปอรเซนตผลตาง(Percentage Differential Relay)
รีเลยที่นิยมใชกันมากในการปองกันแบบกระแสตาง นั้น รีเลยแบบเปอรเซนตผลตาง ซึ่งเปนรีเลยที่มีขด
ลวดถวง (Bias Coils) ตออยูดังแสดงในรูป 1.3 สวนขดลวดทํางานของรีเลยจะตอจากจุดกึ่งกลางของขดลวดถวง
กระแสผลตางที่จะทําใหรีเลยทํางานจะมีคาที่เปลี่ยนแปลงไปแลวแตผลของขดลวดถวงรีเลย กระแสผลตางที่
ไหลในขดลวดทํางานจะมีคาซึ่งเปนปฏิภาคโดยตรงกับ I1 – I2 สวนกระแสที่ไหลในขดลวดถวงจะเปนปฏิภาค
โดยตรงกับ (I1 + I2)/2 เนื่องจากขดลวดทํางานตอที่จุดกึ่งกลางของขดลวดถวง ซึ่งถาสมมุติใหขดลวดตอมี

2.3.4 - 6
จํานวนรอบเทากับ N จํานวน แอมแปร-รอบ (Ampare – Turns) ในขดลวดถวงจะมีคาเทากับ I1 N/2 – I2 N/2
หรือเทากับ N(I1+I2)/2 ซึ่งเหมือนกับวามีกระแสซึ่งเปนปฏิภาคโดยตรงกับ (I1+I2)/2 ไหลผานขดลวดถวง N รอบ
ตลอดทั้งขด ลักษณะสมบัติของการทํางานของรีเลยแสดงไวในรูป 2.4 ดังนั้น อัตราสวนระหวางกระแสผลตางที่
ทําใหรีเลยทํางานกับกระแสดานเฉลี่ยจึงเปนคาเปอรเซนตที่คงที่ยกเวนในกรณีที่กระแสต่ําจริง ๆ ผล ของสปริง
ที่ยึดอยูจะทําใหคาเบี่ยงเบนจากเสนตรงดังแสดงในรูป 1.4
บางครั้งอาจจะเขียนกราฟโดยใช I2 ซึ่งเรียกวากระแสผาน (Through Current) แทน (I1+I2)/2 ได ซึ่ง I2 ก็
คือสวนหนึ่งของกระแสทั้งหมดที่ไหลผานขอลวดตัวนําจากปลายขางหนึ่งไปยังอีกขางหนึ่ง
GENERATOR
BREAKER
I2
I1 CT2
A
N i1 i2
B
52
C
Stator Winding
ZE
i1 R i2

R Restraining Coils
R

87 87 87 Relay

รูป 1.3 การ


ปองกันโดยใชรีเลยแบบเปอรเซนตผลตาง
Operation Area

ผลเนื่อง
I1-I2 Non - Operation Area
จากสปริง

( I1+ I2) / 2
รูป 1.4 ลักษณะสมบัติการทํางานของรีเลยแบบเปอรเซนตผลตาง
ขอดีของการใชรีเลยแบบนี้ คือ ระบบนี้จะมีโอกาสทํางานผิดพลาดไดนอยกวาระบบที่กลาวใน 1.4.1.1
ในกรณีที่มีการลัดวงจรเกิดขึ้น ภายนอกเขตปองกัน ถึงแมวาหมอแปลงกระแสที่ติดตั้งอยูที่ปลายทั้งสองขางจะ
ใหกระแสทั้งสองขางที่แตกตางกันบาง รีเลยก็จะไมทํางานเนื่องจากแรงตานจากขดลวดถวงจะมีคามากกวาแรง

2.3.4 - 7
ที่ไดจากกระแสผลตางในขดลวดทํางานมาก แตถาลัดวงจรจะเกิดขึ้นภายในเขตปองกัน รีเลยจะทํางานทันที
เพราะแรงตานจะมีนอยมากเมื่อเทียบกับแรงที่จะทําใหรีเลยทํางาน หมายถึงจะอยูในเขตทํางานของรีเลยดัง
แสดงในรูป 1.3 และ 1.4
รีเลยที่ใชในการปองกันแบบนี้มักเปนแบบเหนี่ยวนํา (Induction) ซึ่งมีขั้วแมเหล็กสองขั้วใหแรงกระทํา
บนจานหมุนอันเดียวกัน แตในทิศทางตรงกันขาม ขั้วหนึ่งจะเปนขดลวดทํางาน (Operating Coil) ซึ่งกระแสเปน
ปฏิภาคโดยตรงกับ I1-I2 ไหลผาน สวนอีกขั้วหนึ่งเปนตัวขดลวดถวง (Restraining Coil) ซึ่งมีกระแสเปนปฏิภาค
โดยตรงกับ (I1-I2 )/2 ไหลผาน
เปอรเซนตผลตางที่ใชมีหลายคา เชน 20% , 25% หรืออาจเปนแบบที่มีเปอรเซนตเปลี่ยนแปลงได
(Variable Percent Slop)

1.4.1.3 การปองกันเฉพาะการลัดวงจรลงดิน (Restricted Earth Fault Protection)


ในกรณีที่ไมมีขั้วแตละเฟสทางดานจุดกลางโผลอออกมา ตอหมอแปลงกระแสได หรือเมื่อตองการปอง
กันเฉพาะการลัดวงจรลงดินเพียงอยางเดียวเทานั้น อาจใชการปองกันเฉพาะการลัดวงจรลงดิน ดังแสดงในรูป
1.5
การปองกันแบบนี้มักใชรีเลยที่มีอิมพิแดนซสูง และจะปองกันการลัดวงจรที่ลงดินเทานั้น สวนการลัด
วงจรระหวางเฟส หรือ ระหวางรอบของขดลวดนั้นจะปองกันไมได ดังจะเห็นไดจากรูป 1.5

GENERATOR
BREAKER
CT
A
CT1 N
B
52 C

64 64:Earth Fault Relay

รูป 1.5 การปองกันเฉพาะการลัดวงจรลงดิน


1.4.1.4 การปองกันขดลวดตัวนําสเตเตอรที่ตอกันแบบเดลตา
เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญโดยทั่วไปมักตอขดลวดตัวนําสเตเตอรแบบ Y ซึ่งจะปองกันไดดังได
กลาวมาแลวในกรณีที่มีการตอขดลวดตัวนําสเตเตอรเปนแบบ U อาจปองกันไดดวยรีเลยแบบเปอรเซนตผล
ตางโดยตอวงจรดังแสดงในรูป 1.6

2.3.4 - 8
Stator Winding BREAKER
CT
A
B
52
C

87 87 87

รูป 1.6 การปองกันขดลวดตัวนําที่ตอแบบ U

1.4.1.5 การปองกันกันชุด เครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง


ในกรณีที่เครื่องกําเนิดไฟฟาตอโดยตรงกับหมอแปลงและทํางานเปนชุดเดียวกัน การปองกันจะทําโดย
ถือวาเปนเขตปองกันเขตเดียวกันโดยปองกันเครื่องทั้งสองเหมือนเปนหนวยเดียวกัน การปองกันอาจใชหลัก
การของการปองกันแบบกระแสผลตาง โดยตอหมอแปลงกระแส ทางดานจุดกลางของเครื่องกําเนิดไฟฟาชุด
หนึ่ง และอีกชุดหนึ่งตอไวทางดานขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลง ในการทํางานเชนนี้จําเปนตองเลือกหมอ
แปลงกระแสซึ่งมีพิกัด (Rating) ที่เหมาะสมเพราะกระแสที่ไหลทางดานขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลงกําลังไฟ
ฟา มีคาตางจากกระแสทางดานขดลวดปฐมภูมิของหมอแปลง และขดลวดสเตเตอรของเครื่องกําเนิดไฟฟา นอก
จากนั้น จะตองตอหมอแปลงกระแสใหถูกตอง ซึ่งขึ้นอยูกับการตอเฟสของหมอแปลงกําลัง เชน ถาหมอแปลง
กําลังไฟฟาตอแบบ U / Y มุมของเฟสเดียวกันของหมอแปลงทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะตางกัน 30° การ
ตอหมอแปลงกระแสจะเปน Y /U ดังแสดงในรูป 1.7 ถาหมอแปลงกําลังไฟฟา มีอุปกรณเปลี่ยนอัตราแปลง
(Tap Change) กระแสทุติยภูมิจะมีคาหลายคา ซึ่งจะตองคํานึงถึงดวย และอาจแกไดโดยการถวงที่เหมาะสม

2.3.4 - 9
Y Y
A
N 52 B

C
Generator Transformer
ZE

87 87 87

R
R
R

รูป 1.7 การปองกันชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง


กระแสหลอเลี้ยงสนามแมเหล็กเริ่มแรก (Magnetizing Inrush) ของหมอแปลงซึ่งทํางานเปนหนวยเดียว
กับเครื่องกําเนิดไฟฟา โดยปกติจะมีคาต่ํากวาหมอแปลงกําลังไฟฟารวม เพราะสวนใหญแลว หมอแปลงจะคอย
ๆ ถูกหลอเลี้ยงเมื่อเริ่มเดินเครื่องกําเนิดไฟฟา ไมเกิดมีกระทันหันเหมือนกับกรณีของหมอแปลงธรรมดา ดังนั้น
จึงไมจําเปนตองใชรีเลยที่มีแรงตานโดยใชฮารโมนิค (Harmanic Restraint) เชนในกรณีของหมอแปลงธรรมดา
กระแสออฟเซท (Offset Current) อาจมีบางเหมือนกัน โดยเฉพาะเมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นภายนอกเขต
ปองกันแรงดันจะถูกดึงใหต่ํา และเมื่อมีการตัดวงจรแยกสวนนั้นออกไป แรงดันจะคืนสภาพเดิม (Voltage
Recovery) จะมีชวงเปลี่ยนแปลง (Transient) เกิดขึ้น หรือในกรณีที่มีการตอหมอแปลงเขากับบัส อาจจะมีการดึง
กระแสออฟเซทจากชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง ในคาที่คอนขางมากไดเหมือนกัน
การปองกัน ชุดเครื่องไฟฟากําเนิดไฟฟา – หมอแปลง อาจใชการปองกันแบบเปอรเซนตผลตาง 2 ชุด
สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา 1 ชุดและสําหรับหมอแปลงอีก 1 ชุดได ดังแสดงในรูป 1.8
การปองกันแบบกระแสผลตางตามยาวที่ไดกลาวมาแลวทั้งหมดนี้จะปองกันไดเฉพาะการลัดวงจร
ระหวางเฟสและการลัดวงจรลงดินเทานั้น สวนการลัดวงจรระหวางวงขดลวดนั้น รีเลย “มองไมเห็น” และจะไม
ทํางาน ตองรอใหกลายเปนการลัดวงจรลงดินเสียกอน รีเลยจึงจะทํางาน ซึ่งอาจจะใชเวลานาน จนทําใหแกน
เหล็กไหม และเกิดความเสียหายมากแลวก็ได แตเนื่องจาก การลัดวงจรแบบนี้มีโอกาสเกิดขึ้นไมบอยนัก จึงมัก
มีแนวโนมที่จะไมปองกัน เพื่อความประหยัด

2.3.4 - 10
A
N 52 B

C
Transformer
Generator
ZE

87 87 87

Relay for
Generator 87 87 87

Relay for
Transformer

รูป 1.8 การปองกันชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา-หมอแปลงโดยใชรีเลยสองชุด


1.4.2 การปองกันแบบกระแสผลตางตามขวาง (Transverse Differential Protection)
บางครั้งเครื่องกําเนิดไฟฟามีแบงเฟส เปยขดลวดตัวนําขนาดเทากันสองขด ตอขนานกัน (Double
Wound Stator) ถาปลายของขดลวดตัวนําดังกลาวโผลออกมาใหตอหมอแปลงกระแสได อาจพิจารณาใชการ
ปองกันแบบกระแสสมดุลย (Balanced Current) ตามขวางได ดังแสดงในรูป 1.9
ในการปองกันแบบนี้ จําเปนตองใชรีเลยที่มีถวงเสมอ เพราะการแบงโหลด (Load Sharing) ระหวางขด
ลวดทั้งสองของเฟสเดียวกัน อาจไมเทากันพอดี ดังนั้น ถาไมมีการถวงไว รีเลยอาจทํางานโดยที่ไมมีการลัด
วงจรเกิดขึ้นแลย แตกระแสในขดลวดทั้งสองไมเทากัน หรือ การลัดวงจรอาจเกิดขึ้นภายนอกเขตปองกัน ทําให
กระแสที่ไหลในขดลวดขนานทั้งสองตางกันมากกวาปกติจนทําใหรีเลยทํางาน
A

N
B
ZE

R
R
R

87 87 87

รูป 1.9 การปองกันแบบกระแสผลตางตามขวาง

2.3.4 - 11
ในการทํางานปกติ กระแสสมดุลยในขดลวดที่ตอขนานกันทั้งสองจะทําใหมีแระแสไหลในขดลวดทุติยภูมิของ
หมอแปลงกระแสทั้งสอง และรีเลยจะไมทํางาน แตถามีการลัดวงจรเกิดขึ้นภายในเขตปอง ไมวาจะเปนการลัด
วงจรระหวางเฟส การลัดวงจรลงดิน หรือการลัดวงจรระหวางวงขดลวด จะทําใหกระแสไหลระหวางขดลวด
ทําใหมีกระแสผลตางไหลในรีเลยและรีเลยจะทํางาน ระบบปองกันแบบนี้จะปองกัน การลัดวงจรไดทั้งสาม
แบบ
1.4.3 การปองกันการลัดวงจรระวางวงขดลวดโดยการวัดแรงดันซีเควนซศูนย (Interuirn Protection by
Zero – Sequence Voltage Measurement)
ในกรณีที่ตองการปองกันการลัดวงจรระหวางวงขดลวดของเครื่องกําเนดไฟฟาที่มีขดลวดหนึ่งขดตอ
หนึ่งเฟส อาจ ทําไดโดยวัด แรงดันซีเควนซศูนย (Zero-Sequence Voltage) ที่ขั้วของเครื่อง เมื่อเครื่องทํางานตาม
ปกติที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟา จะไมมีแรงดัน แตถาเกิดการลัดวงจรขี้นในวงขดลวดหนึ่งวง หรือหลายวงของ
เฟสใดเฟสหนึ่ง จะทําใหเกิดแรงขับเคลื่อนไฟฟา (Emf) ซึ่งมีซีเควนซศูนยปนอยูดวย
การลัดวงจรภายนอกเขตปองกันก็อาจทําใหเกิดแรงดันซีเควนซศูนย ไดเหมือนกัน ในกรณีที่เครื่อง
กําเนิดไฟฟาตอโดยตรงกับ บัส
แรงดันสวนใหญจะตกครอมความตานทานที่ตอลงดิน และแรงดันตกในเครื่องจะมีคาต่ํามาก ประมาณ
1-2 % สําหรับ ซีเควนซศูนย ดังนั้น จึงมักนิยมวัดแรงดันตกระหวางขดลวด แทนที่จะวัดระหวางขั้วกับดิน โดย
ตอหมอแปลงแรงดันที่ขั้วของสาย และตอจุดกลางของหมอแปลงนี้เขากับจุดกลางของเครื่องกําเนิดไฟฟา ดัง
แสดงในรูป 1.10
A
N B

C
Transform er

ZE O pen Delta

Relay

R O

รูป 1.10 การปองกันการลัดวงจรระหวางวงขดลวด


ขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดัน จะตอแบบ U เปด ดังนั้น รีเลยจะไดสัญญาณซึ่งเปนปฏิภาค
โดยตรงกับแรงดันซีเควนซศูนยเทานั้น แตมีปญหาเกี่ยวกับฮารโมนิค ลําดับที่ 3 ของแรงขับเคลื่อนไฟฟา ซึ่ง
2.3.4 - 12
แบบซีเควนซศูนยเหมือนกัน และสวนใหญจะมีคาสูงกวาคา Setting ของรีเลยจึงจําเปนตองกรอง (Filter) ฮาร
โมนิคลําดับนี้ออก แลวอาจใชเปนแรงตาน สําหรับรีเลยเอง
ในกรณีที่เครื่องกําเนิดไฟฟาตอโดยตรงกับบัส การลัดวงจร อาจทําใหแรงดันตกแบบซีเควนซศูนยสูง
พอที่จะทําใหรีเลยทํางานได จึงจําเปนตองจัดลําดับเวลาการทํางาน (Coordinate) ของรีเลยนี้กับรีเลยปองกันสาย
ใหดี โดยการถวงเวลาการทํางานใหเหมาะสม แตถาเปนชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง การลัดวงจรภาย
นอกจะไมสามารถดึงกระแสซีเควนซศูนยเครื่องได จึงไมจําเปนตองใชการถวงเวลา

1.5 การปองกันการรับภาระเกินขนาด (Overload Protection)


เครื่องกําเนิดไฟฟา ซึ่งทํางานโดยมีคนควบคุมดูแลตลอดเวลา และตอเขากับระบบใหญ การทํางานจะมี
แผนกําหนดไวแนนอน มักไมมีการทํางาน รับภาระเกินขนาดโดยบังเอิญ กําลังไฟฟา (MW) ที่ผลิตจะถูกจํากัด
ดวยปริมาณไอน้ําที่ผลิตขึ้นในหนวยผลิตไอน้ํา ดังนั้น จึงมีโอกาสนอยมากที่กําลังไฟฟาจะเพิ่มขึ้นโดยผูควบคุม
ไมสังเกต หรือ คงสภาพอยูในระดับที่สูงกวากําหนดเปนเวลานาน แตการรับภาระเกินขนาดในแงของกระแส
หรือ MVA อาจเปนไปไดเครื่องกําเนิดไฟฟาบางตัวอาจตองรับภาระในแง MVAR มากวาเครื่องตัวอื่น ขึ้นอยูกับ
การตั้งตัวควบคุมแรงดัน (Voltage Regulator) และแบบของการควบคุมเครื่อง
โดยปกติมักไมตองการปองกันการรับภาระเกินขนาดของเครื่องที่มีคนควบคุม แตในกรณีของโรงไฟ
ฟาพลังน้ําแบบอัตโนมัติที่ไมมีคนควบคุม มักมีการปองกันการทํางานปกติเชนนี้ โดยใชรีเลยที่มีลักษณะสมบัติ
เชิงเวลา (Time Characteristics) ที่เหมาะสม
ในกรณีของเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ มักมีการฝงเทอรโมคัปเปล (Thermocouples) หรือ
เทอรโมมิเตอรความตานทาน (Resistance Thermometer) ในขดลวดตัวนําสเตเตอรหลาย ๆ ตําแหนง เพื่อวัด
อุณหภูมิของขดลวดในตําแหนงต่ําในขณะเครื่องทํางาน การวัดมักนิยมใช มิลลิโวลตมิเตอร (Mill voltmeter)
หรือ เรโซมิเตอร (Ratiometer) ซึ่งมีสวิทซหลายทาง (Multi – Way Selector) เพื่อตรวจดูอุณหภูมิตามจุด ๆ โดย
ใชเครื่องวัดเดียว สวนอุณหภูมิของโรเตอรอาจตรวจสอบโดย วัดความตานทานของขดลวดวงจรสนาม (Field
Winding)

1.6 การปองกันแบบกระแสเกิน (Over current Protection)


โดยปกติมักใชรีเลยปองกันกระแสเกินขนาดเพื่อ ปองกันชั้นที่สองสําหรับเครื่องกําเนิด ไฟฟา รีเลยนี้
ใชเพื่อปองกันการทํางานผิดปกติของเครื่องเทานั้น ไมเกี่ยวกับการปองกันการรับกระแสเกินขนาดที่กลาวถึงใน
หัวขอ 1.5 ถาไมไดตอหมอแปลงกระแสทางดานจุดกลางของเครื่องกําเนิดไฟฟา หรือถาเครื่องมีเฉพาะสายที่จาย
ไฟโผลออกมาเทานั้น การตอ รีเลยปองกันอาจดังแสดงในรูป 1.11 ในการตอแบบนี้ รีเลยจะทํางานตอเมื่อมีการ
ลัดวงจรเกิดขึ้นเทานั้น ถาจุดกลางของเครื่องไมไดตอลงดิน ควรใชรีเลยปองกันการลัดวงจรดิน แบบที่ไวและ
ความเร็วสูงมากได แตถาจุดกลางตอลงดิน ควรจะตองใชรีเลยกระแสเกินแบบที่รูทิศทางดวย จึงจะใหการปอง

2.3.4 - 13
กันที่ไวและรวดเร็วได สวนในกรณีของรีเลยเฟส ซึ่งปองกันการลัดวงจรระหวางเฟส ควรใชรีเลยกระแสเกิน
แบบรูทิศทาง
Generator
A

52 B

Earth Phase Relay


Fault
Relay

รูป 1.11 การปองการแบบกระแสเกินสําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา

ในกรณีที่เครื่องกําเนิดไฟฟาทํางานเพียงตัวเดียว เพื่อจายไฟฟาใหกับระบบซึ่งไมมีเครื่องกําเนิดฟาตัว
อื่น ถาตองการใชรีเลยกระแสเกินจะตองตอหมอแปลงกระแสทางดานจุดกลางของเครื่องกําเนิดไฟฟา จึง
สามารถทําใหรีเลยกระแสเกินทํางาน เมื่อมีการลัดวงจรในขดลวดตัวนํา สเตเตอรได การปรับตั้งรีเลยจะตอง
คํานึงถึงลักษณะของกระแสลัดวงจรในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง (transient) ซึ่งจะมีคาสูงแลวจะลดลง และตอง
คํานึงถึงถึงสมรรถนะของเครื่องปรับแรงดัน (Voltage Regulator) ดวย ถาการปรับตั้งไมดี อาจเกิดปญหาได เชน
เมื่อเกิดการลัดวงจร 3 เฟส ขึ้นที่ขั้ว ในระยะแรก กระแสลัดวงจรจะสูงมาก แตกระแสจะลดลง และอาจจะลดลง
เหลือต่ํากวาคาที่ปรับตั้งรีเลยไว กอนที่รีเลยจะปดคอนแทคอยางสมบูรณ ซึ่งจะมีผลทําใหรีเลยคืนกลับสูสภาพ
เดิม และไมสั่งตัดวงจร ทําใหการลัดวงจรยังคงอยู และทําใหเกิดความเสียหายไดมาก
ในกรณีที่เครื่องกําเนิดไฟฟาตอกับระบบซึ่งเครื่องมือกําเนิดไฟฟาตัวอื่นตออยูดวย เมื่อเกิดการลัดวงจร
ขึ้นภายในเครื่องอาจมีกระแสไหลยอนกลับเขามาในเครื่องได การปองกันโดยใช รีเลยกระแสเกิน มักทําโดย
ตอหมอแปลงกระแสทางดานสายจายออก เหมือน ในรูป 1.11 มักจะปรับตั้งใหรีเลยทํางานเฉพาะเมื่อเกิดการลัด
วงจรขึ้นภายในเครื่องเทานั้น ในกรณีนี้จะมีกระแสไหลยอมจากระบบเขาเครื่อง และถามีเครื่องกําเนิดไฟฟาตอ
อยูกับระบบหลายตัว คาของกระแสลัด วงจรในชวงเปลี่ยนแปลงจะไมลดลงมากเหมือนกรณีที่แลว แตถามีการ
ลัดวงจรขึ้นภายนอกเครื่องรีเลยไมควรตองทํางาน
1.6.1 การปองกันโดยใชรีเลยกระแสเกินซึ่งควบคุมโดยใชแรงดัน (Voltage Controlled Over current
Protection
เครื่องกําเนิดไฟฟาที่มีการตอบสนองที่เปลี่ยนแปลงไดมาก เนื่องจากการหลอเลี้ยงสนาม (Excitation)
หรือ การปรับควบคุมแรงดัน ซึ่งรวมทั้งเทคนิคการเสริมสนาม (Field Forcing Technique) เพื่อพยายามรักษา
ระดับแรงดันไวในสภาวะที่มีการลัดวงจร ลักษณะเชนนี้อาจทําใหการปรับตั้งรีเลยทําไดยากขึ้น วิธีหนึ่งที่ใชได
เมื่อปญหาเชนนี้ คือ ใชรีเลยกระแสเกินที่ควบคุมการทํางานโดยใชแรงดัน ลักษณะการทํางานของรีเลยในเชิง

2.3.4 - 14
เวลา – กระแส จะมี 2 เสน ขึ้นอยูกับแรงดันของระบบรีเลยวัดได ซึ่งจะทําใหการการทํางานเปนไปตามลักษณะ
ใดลักษณะหนึ่งแลวแตกรณี ถาเปนสภาวะการรับภาระเกินขนาดของเครื่อง (Overload) คาแรงดันที่รีเลยวัดได
จะมีคาใกลเคียงกับแรงดันในการทํางานตามปกติ รีเลยจะทํางานโดยมีการถวงเวลานาน (Long Inverse Time)
เพื่อรอใหรีเลยปองกันอื่นมีเวลาทํางาน แตถาการลัดวงจรเกิดขึ้นภายในเครื่องรีเลยจะวัดไดต่ํากวา แรงดันทํางาน
ปกติ และจะทํางานดวยเวลาที่เร็วกวามาก ดังแสดงในรูป 1.12
เวลา
(วินาที)
100
Overload Charge
(normal voltage)

10

Fault Charge
(Low Voltage)

กระแสในรีเลย
10 100 (A)
รูป 1.12 ลักษณะการทํางานของรีเลยกระแสเกินที่ควบคุมโดยใชแรงดัน

รีเลยที่ใชอาจใชแบบเชดดิ้งลูป (Shading Loop) ซึ่งใชขดลวดพันรอบขั้ว สวนที่แรงดันจะอยูในกลอง


เดียวกันและมีคอนแทค ซึ่งจะปดวงจรเพื่อลัดวงจรขดลวดนี้ออก เมื่อแรงดันมีคาต่ํา และตอความตานทานเขา
เมื่อแรงดันมีคาสูง
1.6.2 การปองกันโดยใชรีเลยกระแสเกินซึ่งใชแรงดันเปนแรงตาน (Voltage Restrained Overcurrent
Protection)
วิธีปองกันอีกวิธีหนึ่งซึ่งใชไดคือ ใชรีเลยกระแสเกินที่ใชแรงดันเปนแรงตาน โดยจัดใหมี แมเหล็กไฟ
ฟาสองขั้วแรงหมุนซึ่งกระทําบนจานหมุนเดียวกัน แตในทิศทางตรงกันขาม แมเหล็กขั้วหนึ่งเปนขั้วซึ่งทํางาน
ขึ้นอยูกับคากระแส การทํางานเหมือนรีเลยกระแสเกินทั่วไป สวนแมเหล็กอีกขั้วหนึ่งนั้น จะทํางานตามคาแรง
ดัน ซึ่งไดมาจากหมอแปลงแรงดัน ซึ่งตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา ลักษณะการทํางานของรีเลยแบบนี้จะเปน
แบบเวลาผกผัน (Inverse Time) ขึ้นอยูกับคาของกระแส แตลักษณะสมบัติของการทํางานจะเปลี่ยนไปตามคา
แรงดันที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟา รีเลยแบบนี้คลายกับรีเลยแบบวัดอิมพิแดนซ ซึ่งมีการถวงเวลาการทํางานให
ใชมาก ดังนั้น เมื่อเกิดสภาวะการลัดวงจนขึ้นแบบหนึ่งรีเลยจะทํางานเรื่อยไปโดนไมขึ้นอยูกับการลดลงของ
กระแสในเครื่องกําเนิดไฟฟา
1.7 การปองกันการลัดวงจรลงดินชั้นสอง (Back up Earth Fualt Protection)

2.3.4 - 15
นอกจากรีเลยกระแสเกินแลว การปองกันขดลวดสเตเตอรยังเสริมไดดวยการปองกัน การลัดวงจรลงดิน
สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ตอโดยตรงกับระบบ มักจะใชรีเลยสําหรับปองกันการลัดวงจรลงดิน ตอหมอแปลง
กระแสที่สายกลางซึ่งตอลงดิน ดังแสดงในรูป 1.13
Generator
A
N
B

CT 64 Earth Fault
Relay

ZE

รูป 1.13 การปองกันการลัดวงจรลงดินชั้นสอง

ระบบปองกันแบบนี้จะปองกันการลัดวงจรลงดินไมเฉพาะในเครื่องเทานั้น (Unrestricted Earth Fault)


แตจะมองเห็นเลยออกไปนอกเครื่องดวย จึงจําเปนตองใชแบบทํางานดวย เวลาผกผัน (Inverse Time) และตอง
ปรับเวลาใหดีเทียบกัน รีเลยใชปองกันสาย เพื่อใหรีเลยปองกันสายทํางานกอน เมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นภายนอก
เครื่อง
สําหรับชุด เครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง ปญหาจะตางกันที่กลาวแลว ขดลวดทางดานปฐมภูมิของ
หมอแปลงกําลังไฟฟาจะแยกทางไฟฟาจากระบบ และจะแลกเปลี่ยนกระแสซีเควนทศูนยกับระบบไมได ดังนั้น
จึงไมตองมีการตั้งปรับเทียบกับรีเลยที่ปองกันสาย
1.7.1 การปองกันเครื่องที่ตอลงดินผานความตานทานสูง
ในกรณีที่ชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา – หมอแปลง มีการตอจุดกลางของเครื่องกําเนิดไฟฟาลงดิน ผานความ
ตานทานคาสูง มักปองกันโดยตอหมอแปลงกระแสในสายระหวางจุดกลางกับดิน เหมือนในรูป 1.13 ในกรณีนี้
มักใชรีเลยที่ทํางานทันที (Instantaneous Relay) ตอกับหมอแปลงกระแส และมักจะตั้งใหทํางานดวยคาประมาณ
10% ของกระแสลัดวงจรลงดินสูงสุด ซึ่งถือวาเปนคาต่ําสุดที่จะไมทํางานผิดพลาดเมื่อมีกระแสเสิจ (Surge
Current) สงผานจากระบบแรงดันสูงเขามาทางคาปาซิแทนซระหวางขดลวด ถาใชรีเลยที่มีการถวงเวลาการ
ทํางานจะใชไดดีขึ้น และอาจจะตั้งกระแสทํางานใหต่ําลงไปอีก เชน ต่ําถึง 5 % ของกระแสลัดวงจรลงดินสูงสุด
และในกรณีที่เครื่องที่ตองการปองกันมีขนาดใหญ และมีความสําคัญตอระบบมาก อาจจะคุมคาการลงทุน และ
พิจารณาใชรีเลยทั้งสองแบบรวมกัน
1.7.2 การปองกันเครื่องที่ตอลงดินผานหมอแปลงลงดิน

2.3.4 - 16
ในกรณีที่ตอจุดกลางของเครื่องกําเนิดไฟฟาลงดินโดยใชหมอแปลงตอลงดินมักใชรีเลยวัดแรงดัน
(Voltage Relay) เพื่อปองกันการลัดวงจรลงดิน ขดลวดทุติภูมิของหมอแปลงนี้ มักออกแบบใหมีแรงดันปาน
กลาง ซึ่งอาจตอรีเลยโดยตรงไดโดยใชรีเลยวัดแรงดันหนึ่งตัว ระบบปองกันแสดงโดยสังเขป ดังในรูป 1.14
หมอแปลงนี้จะใหแรงดันทางดานทุติยภูมิตอเมื่อมีกระแสเขาทางดานปฐมภูมิ ซึ่งจะมีตอเมื่อมีการลัดวงจรลงดิน
ในเขตปองกันเทานั้น
Generator
A
N
B

CT Resistor Voltage Relay

รูป 1.14 การปองกันเครื่องที่ตอลงดินผานหมอแปลง


1.8 การปองกันแรงดันเกินขนาด (Overvoltage Protection)
แรงดันสูงเกินขนาดในเครื่องกําเนิดไฟฟา อาจแยกไดเปนสองประเภทคือ ประเภทแรงดันเซิจ (Surge Voltage)
ซึ่งเกิดในระบบสายสงเนื่องจากการเปดปดวงจร หรือสาเหตุทางธรรมชาติ เชน ฟาผา การเกิดแรงสูงเชนนี้ มัก
ปองกันโดยใชอุปกรณเบี่ยงเบนเซิจ (Surge Diverter) ตอลงดินที่ขั้วทางเขาออกของสายสง หรือบัสของสถานี
จายไฟฟายอยบางครั้งอาจมีการตออุปกรณนี้ที่ขั้วจองเครื่องกําเนิดไฟฟาถาจําเปนจริง ๆ แรงดันสูงอีกประเภท
หนึ่งมีความถี่ปกติ (Power Frequency Overvoltage) แรงดันสูงนี้ไมควรเกิดขึ้นในเครื่องที่มีเครื่องปรับแรงดัน
แรงดันสูงที่มีความถี่ปกตินี้อาจเกิดเนื่องจากสาเหตุตอไปนี้คือ
(ก) เครื่องปรับแรงดันชํารุด หรือทํางานปกติ
(ข) มีการดําเนินการในระบบโดยผูควบคุมจัดการเอง ในขณะที่เครื่องปรับแรงดันถูกปลดออก เพื่อ
บํารุงรักษา หรือดวยเหตุผลใด ถามีการเปลี่ยนแปลงของโหลดโดยกะทันหันขณะนั้น โดยเฉพาะในเทอมของ
VAR อาจจะทําใหแรงดันของเครื่องเปลี่ยนแปลงไดมาก
(ค) การสูญเสียโหลดโดยกระทันหัน เนื่องจากมีการปลดสายสงออกอยางกระทันหัน อาจทําใหเครื่อง
กําเนิดไฟฟาของโรงจักรพลังน้ํา หมุนเร็วผิดปกติ เนื่องจากการตอบสนองของ เครื่องควบคุมกังหัน (Governor)
และประตูน้ําเขากังหัน (Turbine Gates) มักจะทํางานชา จึงอาจทําใหแรงดันขึ้นสูงเกินไป อาจเปนอันตรายแก
เครื่องได
โดยปกติแลวโรงไฟฟาที่มีคนควบคุม มักไมตองมีการควบคุมแบบนี้ แตในกรณีที่เปนโรงไฟฟาพลังน้ํา
แบบอัตโนมัติอาจตองใชรีเลยแบบทํางานทันที และปรับตั้งไวที่คาประมาณ 150 % ของความเร็วปกติ

2.3.4 - 17
1.9 การปองกันการรับภาระไมสมดุลในเฟสตาง ๆ (Unbalance Loading Protection)
การจายโหลตามปกติของเครื่องกําเนิดไฟฟาจะอยูในสภาวะที่สมดุลทั้ง 3 เฟส ทําใหสนามปฏิกิริยา คา
ประมาณคงที่ และหมุนดวยความเร็วเทากันสนามของโรเอตรและไปในทิศทางเดียวกัน แตถาเครื่องกําเนิดจาย
โหลด ซึ่งไมสมดุลกันในเฟสทั้งสาม จะทําใหเกิดสภาวะไมสมดุลในสนามปฏิกิริยา ซึ่งมีซีเควนซทั้ง 3 แบบ คือ
ซีเควนซบวก ซีเควนซลบ และ ซีเควนซศูนยขึ้น ซีเควนซบวกจะยังคงมีลักษณะเหมือนในกรณีของโหลด
สมดุล และสนามปฏิกิรกยา ยังคงหมุนดวยความเร็วเทากับสนามของเครื่องและมีทิศทางเดียวกัน ซีเควนซศูนยก็
ไมทําใหเกิดปฏิกิริยาในอามาเจอรที่รุนแรงแตประการใด แตซีเควนซลบจะทําใหเกิดปญหามาก เนื่องจากสนาม
ปฏิกิริยาจะหมุนกลับทางโรเตอรดวยความเร็วเทากัน ยังผลใหเกิดฟลักซไปตัดกับโรงเตอรดวยความเร็วสองเทา
ของความเร็วของมอเตอรเองลักษณะเชนนี้จะทําใหเกิดการเหนี่ยวนํากระแสขึ้นในขดลวดสนามของโรเตอร
และในแกนเหล็กของโรเตอร โดยมีความถี่ 2 เทาของความถี่ปกติ กระแสเวียน (Eddy Current) ที่เกิดขึ้นจะมีคา
สูง และอาจทําใหโรเตอรรอนจัดจนทําความเสียหายใหเครื่องไดมาก นอกจากนั้นยังเกิดการสั่นสะเทือนยางรุน
แรงในเครื่องดวย โดยปกติมักมีการกําหนดความสามารถของเครื่องที่จะรับซีเควนซลบได เชน เครื่องกําเนิดไฟ
ฟาที่ตอกับกังหันไอน้ํา อาจมีคานี้ประมาณ 10% – 15 % ของ MR (Continuous Mean Rating) ซึ่งเปนคาปกติที่
เครื่องทํางานสวนเครื่องแบบมีขั้วยื่นออกจากแกนโรเตอร (Salient Poles) อาจมีคาไดถึง 40 %
ในกรณีที่เกิดการทํางานผิดปกติของเครื่อง คือ การจายโหลดในสภาวะไมสมดุล สิ่งที่เปนปญหาคือ การ
รอนขึ้นของเครื่องในชวงเวลาอันสั้น ความรอนที่เกิดขึ้นในชวงนี้จําไมมีเวลาระบายออกจากเครื่อง และยังคงอยู
ในเครื่อง เครื่องจะทนความรอนนี้ไดไมเหมือนกัน ขึ้นอยูกับชนิดของเครื่องและระบบระบายความรอน เวลาที่
เครื่องทนกระแสซีเควนซลบไดจะขึ้นยูกับความจุความรอนของเครื่อง ( Thermal Capacity)ตามสัมพันธดังนี้
∫Ti22dt = K
หรือ I22T = K
i2 = กระแสซีเควนซลบ
I2 = กระแสซีเควนซลบเปนตอหนวยของ CMR
T = เวลาเปนวินาที
K = คาคงที่ซึ่งเปนปฏิภาคโดยตรงกับความจุความรอนของ
เครื่อง

1.9.1 การปองกันกระแสซีเควนซลบในเครื่องกําเนิดไฟฟา

2.3.4 - 18
ในการปองกันการจายโหลดไมสมดุลยของเครื่องกําเนิดไฟฟาจะทําโดย การวัดกระแสซีเควนซลบโดย
ใชวงจรกรอง (Filter) ที่สามารถวัดเฉพาะกระแสซีเควนซลบเพียงอยางเดียว วงจรประเภทนี้มีมากมาย ในรูป
1.15 แสดงวงจรกรองแบบหนึ่ง
A

ZA
Y
ZC

Relay
Ia1 Ia2
V XY

VZA
positive negative VZA
VZC
sequence sequence

Ic1 VZC Ib1 Ic2 Ib2

รูป 1.15 วงจรวัดกระแสซีเควนซลบ

ในเฟส A มีหมอแปลงกระแสตออยู และมีโหลดเปนความตานทาน ZA สวนในเฟส C มีหมอแปลง


กระแสตออยูเชนกัน แตโหลดจะเปนความตานทานและความเหนี่ยวนํา ซึ่งมีคาอิมพิแดนซ รวมเทากับโหลดใน
เฟส A(IZcI เทากับ IZAI) และมีเพาเวอรแฟคเตอรเทากับ 0.5 ทําใหแรงดันตกในเฟส C มีมุมนํากระแสอยู 60°

ถาคิดเฉพาะกระแสซีเควนซบวก แรงดันตกครอม ZA เทากับ VZA จะมีมุมเทากับ Ial สวนในเฟส C แรง


ดันตกครอม ZC มีคาเทากับ VZC มีมุมตาม Icl อยู 60° จึงอยูตรงขามกับ VZA พอดี เนื่องจาก IZCI เทากับ IZAI และ
lIall เทากับ lIall ทําให IVZAl เทากับ IVZVl ดังนั้น แรงดันครอมรีเลย คือ Vxy มีคาเทากับศูนย ดังแสดงรูป 1.15 (ข)
ถากรณีของกระแสซีเควนซลบ อาจคิดไดในทํานองเดียวกันจะเห็นวา Vzc ไมอยูตรงขามกับ Vza พอดี
ทําใหแรงดันครอมรีเลย คือ Zxy มีคาไมเทากับศูนย และอาจมีคาสูงพอสมควร
ถาในกระแสของวงจรมีกระแสซีเควนซศูนยรวมอยูดวย จะทําใหมีแรงดันครอมรีเลยไดเหมือนกัน แต
เนื่องจากกระแสซีเควนซศูนยไมทําใหโรเตอรรอนขึ้นจึงอาจขจัดออกจากการวัด โดยการตอหมอแปลงกระแส
เปน U หรือ จัดวงจรใหเหมาะสมได
เนื่องจากที่เกิดของสภาวะไมสมดุลยโดยทั่วไปจะอยูที่ตัวระบบเองจะมีผลตอเครื่องกําเนิดไฟฟา ทุกตัว
ในบริเวณใกลเคียง จึงไมควรตัดเครื่องกําเนิดไฟฟาออกจากระบบทันทีที่มีสภาวะเชนนี้เกิดขึ้น เพราะอาจตอง
2.3.4 - 19
ตัดเครื่องออกไปพรอม ๆ กันหลายตัว ควรจะใหเวลาผูควบคุมใหมากที่สุด เพื่อจะหาตําแหนงที่ทําใหเกิดสภาวะ
ดังกลาว และขจัดสวนนั้นออกไปจากระบบการตัดเครื่องกําเนิดไฟฟาออกไป จะกระทําตอเมื่อสภาวะดังกลาว
คงอยูเปนเวลานาน ซึ่งอาจจะทําใหเครื่องชํารุดเสียหายได ในการปองกันจึงควรใช ลักษณะการทํางานที่มีถวง
เวลาที่เหมาะสม คือ ใหใกลเคียงกับลักษณะ การรอนขึ้นของเครื่องใหมากที่สุด เพื่อใหเวลาผูควบคุมในการแก
ไข เมื่อเกิดการทํางานผิดปกติเชนนี้ขึ้นควรมีสัญญาณบอก ผูควบคุมใหรูโดยเร็ว อาจถวงเวลาไวเล็กนอย เพื่อ
ปองกันการใหสัญญาณที่ผิดพลาด เชน เมื่อเกิดการทํางานผิดปกติขึ้นแตถูกขจัดจากระบบไปอยางรวดเร็วแลว
ไมจําเปนตองมีสัญญาณอีก สวนรีเลยปองกันนั้นจะมีการถวงเวลาใหทํางานคอนขางนาน ดังกลาวแลวตัวอยาง
ของระบบที่ทําเชนนี้ แสดงไวในรูป 1.16
หมอแปลงจะหลอเลี้ยงวงจร 2 ชุด คือ หนวยสั่งตัดวงจร ซึ่งมีการถวงเวลาการทํางานนาน โดยมากรีเลย
แบบเหนี่ยวนํา หนวยที่สอง คือ หนวยสงสัญญาณเตือน ซึ่งมีการถวงเวลาที่แนนอน (Definite Time Delay) โดย
มากมักจะเปนแบบดูดแกนเหล็ก (Armature Type)

1.10 การลัดวงจรในโรเตอร (Rotor Faults)


วงจรสนามของเครื่องกําเนิดไฟฟาประกอบดวย ขดลวดตัวนํา และอาเมเจอร ของตัวจายไฟสนาม
(Exiciter) รวมทั้งไกตัดวงจรของสนาม วงจรนี้เปนวงจรกระแสตรงทํางานแยกอยูตางหาก และไมจําเปนตองตอ
ลงดิน ดังนั้น ถาเกิดการลัดวงจร ลงดินขึ้นที่จุดหนึ่ง ในวงจรสนามจะยังไมมีการแสไฟฟาไหลลงดิน จนกวาจะ
มีการแตะดินที่อีกจุดหนึ่ง จึงจะมีกระแสไหลเบี่ยงเบนลงเปนการลัดวงจรได
ในเครื่องขนาดใหญ กระแสที่ไหลในวงจรสนามอาจมีคาสูง และเมื่อเกิดลัดวงจรลงดินดังกลาวแลว
กระแสลัดวงจรนี้อาจมีคาสูงไดเหมือนกัน และอาจทําใหลวดตัวนําชํารุด เครื่องจะไดรับความเสียกายอยางรวด
เร็ว ความเสียหายที่รุนแรงชนิดหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นคือ ความเสียหายทางกล เมื่อขดลวดตัวนําสวนใหญเกิดลัดวง
จร อาจทําใหเกิดฟลักซหนาแนนที่ขั้วหนึ่ง และฟลักซต่ําที่อีกขั้วหนึ่ง ทําใหเกิดแรงซึ่งไมสมดุลยกระทําบนโร
เตอร บางครั้งอาจมีคาถึง 50-100 ตัน ในเครื่องขนาดใหญ แรงนี้จะหมุนไปกับโรเตอร ทําใหเกิดการสั่นสะเทือน
อยางรุนแรง ผิวของแบริ่ง (Bearing) อาจชํารุด หรือถารุนแรงมากจริง ๆ โรเตอรอาจไปเสียดสีกับสเตเตอร ทํา
ใหเสียหายมากขึ้นอีก
การปองกันการลัดวงจร ในวงจรสนามจึงเปนเรื่องที่สําคัญเรื่องหนึ่ง หลักการที่ใชในการปองกันอาจแยก
เปนวิธีใหญ ๆ 3 วิธี คือ วิธีใชขดลวดความตานทานแบงแรงดัน วิธีใช ฉีดกระแสสลับเขาในขดลวดสนาม และ
วิธีฉีดกระแสตรงเขาขดลวดสนาม
1.10.1 วิธีใชขดลวดความตานทานแบงแรงดัน (Potentiometer Method)
การปองกันการลัดวงจรลงดินของวงจรสนาม อาจทําดวยวิธีตอตัวตานทานขนานกับขดลวดของสนาม
ตรงกลางของขดลวดความตานทานมีขั้ว จากจุดนี้จะตอลงดินโดยใหผานรีเลยแรงดันดังแสดงในรูป 1.17

2.3.4 - 20
เมื่อมีการลัดวงจรลงดินเกิดขึ้นในวงจรสนาม จะทําใหมีแรงดันครอมรีเลย แรงดันที่ตอลงดิน คาแรงดัน
จะสูงสุดเมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นที่ปลายขางใดขางหนึ่งของขดลวดสนาม แตจะมีจุดบอดอยูกึ่งกลางของขดลวด
สนาม เมื่อเกิดการลัดวงจรบริเวณนี้ รีเลยจะมองไมเห็น เพราะแรงดันจะเทากัน บางครั้งแกโดย มีขั้วอีกขั้วหนึ่ง
และมีสวิทซเลือก เพื่อตรวจสอบการลัดวงจรลงดินตรงกลางของขดลวด ดังแสดงในรูป 1.17

Winding Excitor
Resistor
Voltage
Relay

รูป 1.17 การปองกันการลัดวงจรลงดินในขดลวดสนามโดยใชขดลวดความตานทานแบงแรงดัน


การปองกันแบบนี้เปนวิธีที่งายที่สุด ไมตองมีตัวจายพิเศษ (Auxiliary Supply) ใหกับระบบแตอยางใด
อาจปรับตั้งรีเลยไวใหทํางานเมื่อมีแรงดันประมาณ 5 % ของแรงดันของตัวจายไฟสนาม (Exciter) แตอาจมีจุด
บอดในการปองกัน
1.10.2 วิธีที่ใชกระแสสลับฉีดเขาในวงจรสนาม (A.C. Injection Method)
การปองกันโดยใชวิธีนี้ แสดงไวพอสังเขป ในรูป 1.18

Winding Excitor

AC.

Current
Relay

รูป 1.18 การปองกันขดลวดสนามโดยวิธีกระแสสลับเขาในวงจรสนาม

2.3.4 - 21
ตัวจายไฟกระแสสลับพิเศษ (Auxiliary a.c. Supply) จะปลอยไฟกระแสสลับเขาในวงจรสนาม โดยผาน
ตัวเก็บประจุ C ซึ่งมีหนาที่ชวยกําจัดคาของกระแส และจะกันไมใหกระแสตรงจากวงจรสนามไหลออกมาเขารี
เลยและปองกันกระแสตรงคาสูง ๆ ไหลผานหมอแปลง วงจรสนามจะถูกกระตุนดวยคาแรงดันกระแสสลับ ใน
ระดับเกือบเทากัน ตลอกทั้งขดลวดตลอดเวลา แตจะไมมีกระแสไหลผานรีเลย เมื่อเกิดการลัดวงจรลงดินที่จุดใด
จุดหนึ่งในวงจรสนาม จะมีทางใหกระแสไหลครบวงจรไดโดยผานรีเลยซึ่งวัดคากระแส
การปองกันแบบนี้ทํางานไดดีกวาวิธีแรกเพราะไมมีจุดบอดในการปองกัน แตมีขอเสียคือ จะมีกระแส
สลับไหลผาน คาปาซิแทนซของขดลวดสนามลงดินตลอดเวลา อาจไหลลงดินผาน แบริ่ง ทําใหผิวสึกกรอนได
งาย ตามปกติมักแกไขโดยเอาฉนวนหุมแบริ่ง และติดขั้วถาน (Earthing Brush) ที่แกนหมุนใหกระแสไหลผาน
ลงดิน
1.10.3 วิธีฉัดกระแสตรงเขาในวงจรสนาม (d.c. Injection Method)
ขอเสียของการใชวิธีฉีดกระแสเขาในวงจรสนามจะหมดไป ถาเปลี่ยนมาใชกระแสตรงโดยใชวงจร
แปลงไฟ (Rectifier Bridge) แทน ดังแสดงในรูป 1.19
-
W in d in g E xc ito r

AC.

C u rre n t
R e la y

รูป 1.19 การปองกันขดลวดสนามโดยใชวิธีฉีดกระแสตรงเขาในวงจรสนาม


แรงดันกระแสตรงจะไปถวง (Bias) ขั้วบวกของตัวจายไฟสนาม (Exciter) ใหมีคาเปนลบเมื่อเทียบกับ
ดินและขั้วลงจะมีคาเปนลบยิ่งขึ้น เมื่อเกิดการลัดวงจรลงดินไมวาที่ใด จะทําใหกระแสไหลผานรีเลยได ถา
ตองการจํากัดคากระแสอาจตอความตานทานเพิ่มในวงจรได

1.11 การปองกันการสูญเสียวงจรสนามและการทํางานแบบอซิงโครนัส
เมื่อวงจรแมเหล็กของสนามขาดหายไป (Failure of Field) เครื่องกําเนิดไฟฟาจะหมุนเร็วกวาความเร็วซิง
โครนัส และจะทํางานเปนเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบเหนี่ยวนํา (Induction Generator) ฟลักซที่นํามาใชจะไดจาก
กระแสแบบ วัตตเลสในสเตเตอร (Wattless Stator Current) ซึ่งจะดึงมาจากระบบเครื่องอาจจะยังจายกําลังไฟฟา
ตอไปได ขึ้นอยูกับการปรับตั้งเครื่องควบคุมกังหัน (Turbine Governor) แตการทํางานเชนนี้จะทําใหเกิดมี
กระแสซึ่งมีความถี่ของสลิบ (Slip Frequency) ไหลในโรเตอร ในวงจรแดมเพอร (Damper Circuit) ในรองใสตัว
นํา และที่ผิวของตัวเครื่อง
2.3.4 - 22
ในกรณีของการทํางานแบบนี้ การหลอเลี้ยงสนาม (Excitation) ใชกําลังไฟแบบรีแอคทีฟคอนขางสูง อาจ
สูงกวากําลังที่กําหนดไวสําหรับเครื่องเอง แตถาระบบสามารถจายใหไดก็จะไมเกิดการสูญเสียเสถียรภาพ แต
โดยทั่ว ๆ ไปไมไดออกแบบใหเครื่องทํางานในลักษณะนี้ขดลวดแดมเพอร อาจจะทนกระแสสลิบของโรเตอร
ไมได จะทําใหโรเตอรรอนจัดขึ้นและมีการรับภาระเกินขนาดในขดลวดสเตเตอร

Winding Excitor

Shunt

Relay
+ -
T1

T2

T1 : ทํางานทันที Contact
T2 : ถวงเวลาทํางานไว 2-10 วินาที
รูป 1.20 การปองกันโดยใชรีเลยกระแสต่ํากวาขนาด

การทํางานเปนเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบเหนี่ยวนํา อาจไมทําความเสียหายใหเครื่องในทันทีทันใด เครื่อง


ขางเครื่องอาจทํางานเชนนี้ได หลายนาที เชน เครื่องขนาด 50 – 60 MW ระบายความรอนแบบธรรมดา อาจทน
ไดถึง 5นาที โดยไมรอนขึ้นมากนัก แตเครื่องใหญ ๆ ระบายความรอยดวย ไฮโดรเจน หรือน้ํา ทนไดในชวงเวลา
ที่สั้นกวามาก เชน เครื่องขนาด 500 MW อาจทํางานแบบนี้ไดไมเกิน 20 – 30 วินาที เทานั้น
การปองกันการทํางานผิดปกติเชนนี้ อาจใชรีเลยกระแสต่ํากวาขนาด (Undercurrent Relays) ตอในวง
จรสนามเพื่อใหสัญญาณเตือนหรือสั่งตัดวงจร ดังแสดงในรูป 1.20
การปองกันนี้เหมาะกับเครื่องขนาดเล็ก สําหรับเครื่องขนาดใหญ อาจพิจารณาใชรีเลยวัดระยะทางแบบ
รูทิศทาง (Directional Distance Relay) หรือรีเลยแบบโม (Mho Relay) ซึ่งจะแยกแยะไดแนนอนกวา ลักษณะ
การทํางานอาจเปนดังแสดงในรูป 1.21

2.3.4 - 23
+X

โลกัสของการสูญเสีย

-R +R

ลักษณะการทํางานของรีเลย
-X

รูป 1.21 การปองกันการสูญเสียสนามดวยรีเลยวัดระยะทางแบบรูทิศทาง


การสูญเสียการเขาถึงจังหวะของเครื่องกําเนิดไฟฟา (Loss of Synchronism) มีลักษณะสมบัติคลาย ๆ
กับในรูป1.21 และการปองกันอาจทําไดในลักษณะคลาย ๆ กัน
1.12 แนวปฏิบัติในการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา
เทคนิคที่ใชในการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาสําหรับการลัดวงจร และทํางานผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นไดนั้น
มีมากมาย การปองกันที่ไดกลาวมาแลวเปนแบบที่สําคัญ ๆ เทานั้น การที่จะออกแบบปองกันเครื่องที่สมบูรณ
นั้นเปนไปไดยาก และจะขึ้นกับการพิจารณาทางดานเศรษฐศาสตรเปนเกณฑดวย
1.12.1 การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ
สําหรับเครื่องขนาดใหญ มูลคาของเครื่องเอง และของระบบมักจะสูงอยูแลว ดังนั้นจึงอาจคิดปองกัน
เครื่องใหมากที่สุด และดีที่สุดเทาที่จะทําได แตเรื่องนี้ก็ไมจริงเสมอไป จะตองพิจารณาวาปองกันบางอยางนั้น
ควรทําหรือไม ในแงการลงทุน และการเสี่ยงในการที่จะไมทํามีมากนอยแคไหน เปนการยากที่บอกวาตองถึงแค
ไหนจึงจะเพียงพอ แตหลักการใหญ ๆ จะมีดังนี้
(1) การปองกันแบบกระแสผลตาง (Differential Protection) ควรจะตองทําในทุกกรณีที่สามารถทํา
ไดสําหรับปองกันขดลวดตัวนําของสเตเตอร
(2) การปองกันกระแสซีเควนซลบ (Negative Sequence Protection) ควรทําสําหรับเครื่องแบบที่ตอ
กับกังหันไอน้ํา (Turbo-Generator) สวนเครื่องแบบอื่นอาจตองทําเฉพาะในบางกรณีเทานั้น
(3) การปองกันการลัดวงจรลงดินในโรเตอร (Rotor Earth – Fault Protection) ควรทําในทุกกรณีเชน
กัน
(4) การปองกันการสูญเสียซิงโครนัส และการสูญเสียสนาม (Loss of Synchronism or Loss of Field)
อาจพิจารณาทําสําหรับเครื่องขนาดใหญ สวนเครื่องที่เล็กกวา 60 MW อาจจะตองพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป แลว
แตลักษณะสมบัติของระบบ
(5) การปองกันความรอนสูงเกินไป ควรทําในรูปของตัวชี้บอก (Indicaot) หรือใชสัญญาณเตือนไม
ใชการตัดวงจร ในกรณีที่เปนเครื่องที่มีคนควบคุม สวนเครื่องที่ไมมีคบควบคุม อาจตองพิจารณาใชรีเลยกระแส
เกินที่ถวงเวลาทํางาน หรือการวัดอุณหภูมิแบบอื่นดวย

2.3.4 - 24
(6) การปองกันการทํางานเปนมอเตอร (Motoring Protection) เนืองจากการสูญเสียเครื่องจักรตน
กําลัง มักไมจําเปนตองทําสําหรับเครื่องที่มีคนควบคุม แตสําหรับเครื่องดีเซล หรือเครื่องอื่นที่มีโอกาสเกิดขึ้นได
มาก อาจตองพิจารณา
(7) การปองกันความเสียหายทางกล (Mechanical Faults) เชน ในหนวยผลิตไอน้ํา ในเครื่อง
ควบแนน และอื่น ๆ มักจะทําอยูครบแลวในโรงไฟฟา

1.12.2 การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดเล็ก
สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดเล็ก มักไมจําเปนตองปองกันมาก และสมบูรณเทากับเครจากขอมูลคา
และความสําคัญของเครื่องมีนอยกวามาก หลักการใหญ ที่นิยมใชกันคือ
(1) เครื่องขนาด 5 MVA หรือต่ํากวา อาจปองกันโดยใชกระแสผลตางแบบเฉพาะการลัดวงจรลงดิน
เทานั้นความจริงราคาอาจไมตางกับการปองกันแบบกระแสที่สมบูรณมากเทาไร แตอาจจําเปนเพราะสายทาง
ดานจุดกลางมักมีคั่วโผลออกมาแคเสนเดียว
(2) การปองกันการแสซีเควนซลบ มักไมจําเปนตองทํา ยกเวนกรณีที่มีโอกาสเกิดขึ้นบอย
(3) การปองกันการลัดวงจรลงดินในโรเตอร และการสูญเสียสนาม มักไมจําเปนตองทํา ยกเวนกรณี
พิเศษจริง ๆ

2.3.4 - 25
Example
Generator Protection
โรงไฟฟาพลังความรอนจัดเปนโรงไฟฟาประเภท Once Through Boiler มีขนาดกําลังผลิตสูง โดย
Generator มีคุณสมบัติทางเทคนิคดังนี้
Technical Specification
• Serial Number : 97AD3301/97AD3401
• Type of Generator : Horizontally Mounted Cylindrical Rotor,
Rotating Field Type
• Rotating Speed (rpm) 3,000
• No. Of Phase 3
• No. Of Pole 2
• Frequency (Hz) 50
• Voltage (V) 24,000
• Hydrogen Gas Pressure (bar(g)) 5
• Hydrogen Gas Purity (%) 97
• Hydrogen Gas Consumption 9
3
(Nm /24 hour Guaranteed)
• KVA Output (kVA) 990,000
• KW Output (kW) 841,500
• Current (A) 23,816
• Power Factor (%) 85 (Lagging)
• Cooling Method Stator Coil Water Cooled
Rotor Coil Hydrogen Cooled
• Insuration Class F
• Temp Rise Limit Stator Coil (°C) 50 (Base Temp 50°C)
At Rated Load
Stator Coil 50 (Base Temp 50°C)
Cooling Water
Outlet (°C)
Rotor Coil (°C) 72.2 (Base Temp 37.8°C)
Stator Core(°C) 92.2 (Base Temp 37.8°C)
2.3.4 - 26
• Gas Volume (m3) 130
• Exciter Type Static
• Excitation Voltage (V) 650
• Excitation Current (A) 6405

ระบบปองกัน Generator ถูกออกแบบใหมีชุดปองกัน 2 ระบบคือ GRP-A และ GRP-B เพื่อใหระบบปอง


กันมี Reliability สูงขึ้นคือมีทั้ง Primary และ Backup โดยในแตละระบบจะประกอบดวย

To Discon. To CT
Switch Substation

Aux CT.

GRP - A

51
G1N

87-1 Generator Gen Step-Up Transformer


MVA 990
Transformer Type FOA
GRP - A MV/LV 525 / 24kV
Vector YNd1
Isolate Phase
Busduct

Excitation To Main Aux.


Transformer Transformer

Isolate Phase Busduct Isolate Phase Busduct

3xCT
To Excite Control 30000/5A
3xCT GRP - A
30000/5A 60-1
3xCT
30000/5A
60-2
GRP - B

Generator 87-1 32-1 32-3 46-1 78-1 40-1 21-1 27-1 27-2

GRP - A 62-1
3xCT
30000/5A
3xCT
30000/5A

3xCT 32-2 50-1 49S 40-2 81-1 81-2 81-3 81-4


30000/5A
GRP - B
Busduct

Gen Neutral
Ground Unit

50-1

รูปที่ 1. Generator Main Circuit Diagram


2.3.4 - 27
ดวยสัญญาณดังนี้
• GRP-A
Generator Differential Relay (87-1)
Generator Stator Ground Relay (64-1)
Generator Loss of Field Relay (40-1)
Generator Reverse Power Relay TD:3Sec (32-1)
Generator Impedance Relay (21-1)
Generator Excite System Trip

Reset Push Bottom


500kV Breaker Failure 86BF
500kV Breaker Failure 86BF
SteamTurbine Trip
Generator Transformer

Bucholz
Winding
TripCommand fromGenerator Transformer
Oil
Pressure
SEM
Generator Differential Relay 87-1
SEM Close 500kV Gen Breaker Close
Gen. Stator Ground Relay 64-1 Trip 90412 OPen
SEM
Gen. Stator Thermal Relay 49S
SEM
Gen. Voltage Balance 60-1 Close 500kV Gen Breaker Close
TD SEM Trip 90422 OPen
Gen. Loss of FieldRelay 40-1
TD SEM S
Gen. Reverse Power Relay 32-1 R Lock Power Plant Lockout Lock
S Reset Aux. Relay Reset
SEM
Gen. Out of Step Relay 78-1 R
SEM
Gen. OverfluxingRelay 59/81
Generator

SEM
Gen. Impedance Relay 59/81 S Close Exciter Field Breaker Close
SEM R Trip 41E OPen
Gen. Negative Sequence Relay 46-1
SEM S
Gen. Reverse Power Relay 32-3 SEM
R
Gen. Undervoltage Relay 27-1
Gen. Undervoltage Relay 27-2 S Close 11.5kV SWGR-A Close
R Trip Main Breaker OPen
S
Gen Rotor Ground Fault 64R DAS R
Gen Exciter SystemTripSignal S Close 11.5kV SWGR-B Close
11.5kV Main Breaker Failure R Trip Main Breaker OPen
S
Bucholz R 11.5kVBus Transfer Close
Winding 11.5kVSWGR-ABustie
TripCommand fromMain Aux. Transformer Oil
11.5kVBus Transfer Close
OLTC. 11.5kVSWGR-BBustie
Pressure
Turbine Trip Command
Bucholz
Winding
TripCommand fromExciter Transformer
Oil
Pressure
Main Aux. Transformer

MAT. Differential Relay 87M1

MAT. Very Inverse Time Overcurrent with Instant. Relay 50/51M1

MAT. Very Inverse Time Ground Overcurrent Relay 51-M1G1

Excite Transformer Very Inverse Time Overcurrent Relay 50/51E

A O O
System

B O O
86GA

86GB
86EA

86EB

รูปที่ 2. Generator Protection Schematic


2.3.4 - 28
• GRP-B
Generator Stator Ground Relay 100% (64-2)
Generator Stator Thermal Relay (49S)
Generator Loss of Field Relay (40-2)
Generator Over Fluxing Relay (24)
Generator Reverse Power Relay TD:30Sec (32-2)
Generator Unbalance Voltage Relay (60-2)สัญญาณที่ออกจาก Relay จะถูกสงไปสั่ง “Trip”
Generator Circuit Breaker 904XX, “Trip” Exciter Circuit Breaker, “Trip” 11.5kV Switchgear Main Breaker
A&B และสั่ง Transfer 11.5kV. สําหรับลักษณะการทํางานของ Relay แตละชนิดมีรายละเอียดดังนี้
• Generator Differential Relay (87) ใชปองกัน Stator Phase Fault หรือ Ground Fault โดยมี
ขอบเขตการปองกันอยูระหวาง CT. ทั้ง 2 ดานของ Generator โดยจะทําการตรวจสอบผลตางของ
กระแสที่ไหลเขาและไหลออกในเฟสเดียวกันซึ่งกรณีปกติคาผลตางของกระแสดังกลาวจะมีคาเทา
กับศูนย แตกรณีผิดปกติคาผลตางของกระแสดังกลาวจะมีคาไมเทากับศูนยซึ่งถาสูงเกินขอกําหนด
(Setting) Relay จะทํางานสั่ง Trip Generator ออกจากระบบ
• Generator Stator Ground Relay (64) ใชปองกัน Stator Ground Fault โดยมีขอบเขตการ
ปองกันอยูระหวาง Star Point ของ Generator ถึงดาน Low Side ของ Generator Transformer
• Generator Loss of Field Relay (40) ใชปองกัน Loss of Field โดยมีขอบเขตการปองกันอยู
ภายใน Generator Capability Curve หลักการทํางานจะตรวจจับคา Impedance ที่เปลี่ยนไป
• Generator Reverse Power Relay (32) ใชปองกันตัว Generator มิใหเปน Motor
• Generator Unbalance Voltage Relay (60) ใชปองกัน PT. ของระบบ AVR โดยจะตรวจสอบ
ผลตางของแรงดันที่ผาน PT. (Potential Transformer)
• Generator Negative Phase Sequence Relay (46) ใชปองกันการเกิด Unbalance Load โดย
ทั่วไปจะ Setting คาไมเกินคา Thermal Characteristic ของ Rotor

2.3.4 - 29
คําถามทายบทเรื่อง Generator Protection
1. การเกิดแรงดันสูงเกินขนาด (Over Voltage) ในเครื่องกําเนิดไฟฟามีสาเหตุมาจากอะไรบาง
2. กรณีเครือ่ งกําเนิดไฟฟาจายโหลดไมสมดุล (Unbalance Loading) จะเกิดปญหาอะไร
3. กรณีเครือ่ งกําเนิดไฟฟาไมสมดุลและมีซีเควนเปนลบ (Negative Sequence) จะเกิดปฏิกิริยากับ Rotor
อยางไร
4. ความเสียหายทางกลเปนอยางไรเมื่อเกิดกระแสลัดวงจรขึ้นภายในเครื่องกําเนิดไฟฟา
5. การปองกันกระแสต่ํา (Undercurrent) ที่เกิดขึ้นกับเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญควรใช Relay ชนิดใด
ในการปองกัน

เอกสารอางอิง
1. เอกสารการอบรมเรื่อง Relay Protection for Power Plant
เรียบเรียงโดย. : คุณสุรเดช หนุนนาค
วิศวกรระดับ 10, ฝายบํารุงรักษาไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

2.3.4 - 30
2.3.5 Transformer Protection

2.3.5 - 1
การปองกันหมอแปลงไฟฟา
(Transformer Protection)

1. หลักการปองกันหมอแปลง
หลักการในการปองกันหมอแปลง อาจจะแยกเปนหัวขอใหญ ๆ ดังนี้
(1) ความรอนสูงเกินไป (Overhcating)
(2) ฟลักซสูงเกินไป (Overfouxing)
(3) การวัดกระแสลัดวงจรจากถังลงดิน (Tank-Earth Detection)
(4) การวัดปริมาณแกส (Gas Detection)
(5) กระแสเกินขนาด (Over current)
(6) การลัดวงจรลงดิน (Earth Fault)
(7) การปองกันแบบกระแสผลตาง (Differential)
ใน 3 ขอแรก อาจถือวา หมอแปลงเกิดทํางานผิดปกติขึ้นไมมากนัก แตถาปลอยใหทํางานตอไปอาจนํา
ความเสียหายมาใหไดมาก
ใน 4 ขอหลัง จะใชปองกันการทํางานผิดปกติอยางรุนแรงของหมอแปลงในแบบใดแบบหนึ่งซึ่ง สวน
ใหญแลวจะตองตัดหมอแปลงออกจากระบบ แลวทําการตรวจสอบหมอแปลงอยางละเอียดถี่ถาวนกอนจะนําเขา
ทํางานตอไปได
1.1 การปองกันความรอนสูงเกินขนาด (Overheating Protection)
พิกัดของหมอแปลงจะขึ้นอยูกับคาอุณหภูมิที่สูงขึ้น (Temperature Rise) จากอุณหภูมิโดยรอบสูงสุดที่
กําหนดจะทําไมได ถาอุณหภูมิโดยรอบต่ํากวาคาที่กําหนดดังกลาว อาจใหหมอแปลงจายโหลดเกินขนาดไดบาง
การจายโหลดเกินขนาดอาจจําทําไดบางในชวงเวลาสั้น ๆ ขึ้นอยูกับการใชงานของหมอแปลงกอนหนานั้น กฎ
ตายตัวที่จะกําหนดวาหมอแปลงจะจายโหลดเกินขนาดเปนระยะเวลานานเทาไรนั้นทําไดยาก จะตองพิจารณา
ใหรอบคอบ แตสิ่งที่กลาวไดอยางแนนอน คือ อุณหภูมิสูงสุดในเวลาใชงานประมาณ 95°C ถาปลอยใหอุณหภูมิ
สูงขึ้นกวานั้นไป 8-10°C เปนเวลานานอายุของหมอแปลงจะสั้นลงประมาณครั้งหนึ่ง
การปองกันการจายโหลดเกินขนาดจึงจะใชการวัดอุณหภูมิของขดลวดตัวนําเปนเกณฑซึ่งโดยมากจะ
ใชวิธีซึ่งเรียกวา เทคนิคการจําลองแบบเชิงความรอน (Thermal Image Technique หรือ Thermal Replica)
โดยมากมักจะทําเปนเหมือนกับเปา (Pocket) เล็ก ๆ อยูตรงสวนบนของถังหมอแปลง (อยูต่ํากวาฝาบน
ประมาณ 10 นิ้ว ซึ่งตําแหนงที่น้ํามันอุณหภูมิสูงสุด) ในการเปานี้จะมีขดลวดใหความรอน ซึ่งบงกระแสจาก
กระแสทางดานแรงดันต่ําของหมอแปลง และจะทําใหเกินอุณหภูมิสูงขึ้นที่สวนนี้ ในลักษณะที่คลายกับที่มีใน
ขดลวดตัวจริง เมื่อเทียบกับอุณหภูมิของน้ํามัน จะมีหนวยวัดอุณหภูมิติดตั้งอยูในสวนนี้ ซึ่งจะสามารถวัด

2.3.5 - 2
อุณหภูมิของหมอแปลงไดอยางใกลเคียงมากโดยคํานึงถึงอุณหภูมิของปริมาณที่อยูรอบ ๆ และลักษณะการใช
หมอแปลงที่ผานมาแลวดวย
หนวยวัดอุณหภูมิอาจมีหลายแบบ ในสมัยนิยมใชเทอรโมมิเตอรแบบมีหนาปด (Dial Thermometer) แต
ในสมัยใหมนี้จะใชแบบโซลิคสเตท เชน ซิลิสเตอร (Silistor หรือ Heat Sensitive Silicon Resistor) ซึ่งจะฝงรวมอยู
กับขดใหความรอนอยุในมวลความรอน มีลักษณะเปนแทงรูปทรงกระบอกเล็ก ๆ เปบแบบจําลองของหมอ
แปลงและจะจุมอยูในกระเปาดังกลาวขางตน ซิลิสเตอรจะตออยูกับวงจรแบบสเตติก ซึ่งจะไปควบคุมปม
สําหรับระบบหมอแปลงระบายความรอน,พัดลม,สัญญาณเตือน, เครื่องชี้บอกอุณหภูมิ ทั้งแบบอยูใกล และแบบ
ที่ติดตั้งอยูไกล ๆ เครื่องรวมเวลาที่ความรอนสูงขึ้นและถาจําเปนก็จะตัดหมอแปลงออกจากระบบ
การควบคุมและใชหมอแปลงอาจทําใหดีขึ้นโดยการอินทิเกรท หรือรวมระยะเวลาที่หมอแปลงมีความ
รอนสูงเกินขนาด เพื่อเก็บประวัติของหมอแปลงในแงของความรอนสูงเกินขนาด และผลที่ตามมา คือ การเสื่อม
ของฉนวนของหมอแปลงเนื่องจากความรอนสูงเกินไป บางบริษัทจะแนะนําใหใชอิเล็คโทรลิติด ดูลอมปมิเตอร
(Electrolytic Coulometer) 4 ตัว แบงชวงของอุณหภูมิที่จะอินทิเกรท ไว 4 ชวง เชน

100 -110° เต็มอัตรา 10,000 ชั่วโมง


110 - 120° เต็มอัตรา 10,000 ชั่วโมง
120 - 130° เต็มอัตรา 1,000 ชั่วโมง
> 130° เต็มอัตรา 1,000 ชั่วโมง
1.2 การปองกันฟลักซสูงเกิดขนาด (Over fluxing Protection)
การเกิดฟลักซสูงเกินไปนี้ไดกลาวถึงแลวในหัวขอ 1.2 มักจะเนื่องมาจากความผิดพลาดในการดําเนิน
การใชหมอแปลงคือ เปนสภาวะการทํางานผิดปกติ (Abnormal Operating Conditions) กรณีเชนนี้ไมจําเปนตอรีบ
ตัดหมอแปลงออกจากระบบทันที เพราะระบบอาจมีการรบกวนชั่วขณะ อาจปลอยไวไดนานถึง 1 หรือ 2 นาที
แตถาสภาพยังคงเปนเชนนี้อยูอาจจะตองตัดหมอแปลงออกจากระบบก็ได เพราะความรอนจะสูงขึ้นดังไดกลาว
มาแลว
จากสมการ (1.1) จะเห็นวา ฟลักซจะขึ้นอยูกับอัตราสวน E/f ดังนี้

∅ = K (E/f)
ดังนั้น ในการปองกันฟลักซมากเกินไปจึงตองวัดอัตราสวน E/f (แตละคาเปนคา p.u. ของแตละจํานวน)
มีคาเกิน 1 หรือไม
มักจะทําโดยวัดแรงดันของระบบโดยวัดผานหมอแปลงแรงดัน แลวนํามาตอครอมกับความตานทานจะ
ทําใหมีกระแส ซึ่งมีคาขึ้นอยูกับแรงดันนั้น เมื่อใหกระแสนี้ผานตัวเก็บประจุ จะทําใหเกิดแรงดันไฟฟาตก ซึ่งมี
คาขึ้นอยูกับอัตราสวน E/f ซึ่งก็หมายถึงมีคาขึ้นอยูกับฟลักซในหมอแปลง

2.3.5 - 3
มักจะใชหนวยที่มีการตอบสนองทางออก ซึ่งถวงเวลาไว 2 หนวย และมีหลายคอนแทค ตัวควบคุมเวลา
ตัวแรกอาจตั้งเวลาไวระหวาง 2-5 วินาที เพื่อปดคอนแทคควบคุมใหไปแกไขสภาพผิดปกติดังกลาว เชน ลดแรง
ดันถาแรงดันสูงเกินไป สวนตัวควบคุมเวลาตัวที่ 2 จะเปนทริพหมอแปลงโดยตั้งเวลาถวงเวลาไวระหวาง 5-30
วินาที ถาสภาพดังกลาวยังคงมีอยูจะสั่งตัดหมอแปลงออกจากระบบ
การปองกันฟลักซสูงเกินไปจะใชคอนคางมากกับชุดหมอแปลงที่ติดกับเครื่องกําเนิดไฟฟา เพราะ
โอกาสเกิดการทํางานผิดปกติเชนนี้จะมีมากกวาหมอแปลงอื่น
การปองกันแบบนี้เรียกวา การปองกันแบบโฮวาด Howard Protection) ถาถังของหมอแปลงมีการฉนวน
จากดินโดยปกติคาความตานทานของฉนวน ประมาณ 100 ก็จะเพียงพอ จะสามารถปองกันการลัดวงจรลงดิน
ได โดยตอรีเลย (ซึ่งอาจเปนแบบทํางานทันทีแบบงาย ๆ เขาทางขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสดังในรูป
1.1

64

รูป 1.1 การปองกันการลัดวงจรจากถังลงดิน


1.3 การปองกันโดยการวัดแกสที่เกิดขึ้นในหมอแปลง (Gas Detection Protection)
ในกรณีที่หมอแปลงเปนแบบแชอยูในน้ํามัน การลัดวงจรทุกชนิดที่เกิดใตระดับน้ํามันจะทําใหเกิด
ความรอนสูงเฉพาะแหง (Local Heating) และจะทําใหน้ํามันแยกตัวออก เมื่อเกิดการอารค ถึงแมจะเล็กนอยจะทํา
ใหน้ํามันแยกตัวเปนแกส เชน ไฮโดนเจน , คารบอนโมโนออกไซด หรือ ไฮโดรคารบอนชนิดเบา ๆ ถาการลัด
วงจรที่เกิดขึ้นไมรุนแรงจะมีแกสคอย ๆ ออกมา (เชน ในกรณีที่จุดเชื่อมรอน Hot Joint) และแกสนี้ลอยตัวขึ้นขาง
บน และจะผานไปตามทอไปยังถังเก็บน้ํามัน (Oil Conservator) ถาการลัดวงจรที่เกิดขึ้นรุนแรงมาก เชน มีการ
อารอยางรุนแรง จะทําใหเคมีแกสขึ้นจํานวนมาก นอกจากนั้นจะมีไอของน้ํามัน (Oil Vapour) ดวย การเกิดนี้จะ

2.3.5 - 4
รุนแรงมากจนแกสและไอน้ําจะไมมีเวลาพอที่จะลอยขึ้นไป แตจะสรางแรงดันขึ้นมาสูงพอสมควร และดันน้ํา
มันผานทอไปยังถังเก็บน้ํามันเปนจํานวนมาก
1.3.1 รีเลยแบบบุคโฮลซ (Buchholz Relays)
รีเลยแบบบุคโอลซ เปนรีเลยที่สําคัญในการปองกันหมอแปลงที่มีถังเก็บน้ํามันอยูดวย (ถาไมมีถังน้ํามัน
จะใชไมได) รีเลยแบบนี้จะอาศัยหลักการที่ไดกลาวแลวขางตน ประกอบดวยลูกลอย 2 ชุด ซึ่งถวงน้ําหนักไวให
ยกอยูในระดับสูงสุด เมื่อรีเลยมีน้ํามันอยูเต็มที่ ลูกลอยจะตัดสวิทซปรอท (Mercury Switch)
ในกรณีที่หมอแปลงทํางานปกติ ลูกลอยจะอยูในตําแหนงสูงสุดเพราะมีน้ํามันอยูเต็มตัวรีเลย และส
วิทซปรอทจะเปดอยู ถาฟองแกสไหลผานขึ้นมาตามทอ แกสจะเขาไปแทนน้ํามันในสวนบนของรีเลย ทําใหลูก
ลอยตัวบนลดระดับต่ําลงและจะทําใหสวิทซปรอทปดวงจรที่จะใหสัญญาณเตือน ถาถังหมอแปลงรั่ว และระดับ
น้ํามันลดลง รีเลยก็จะใหสัญญาณเหมือนกัน ถาลูกลอยตัวบนลดระดับลงมา ดังนั้น ลูกลอยตัวบนนี้จะให
สัญญาณเตือนในกรณีที่มีความผิดปกติเกิดขึ้นในแบบที่ไมรุนแรง และไมจําเปนตองตัดวงจรทันทีทันใด เชน
ในกรณี
(ก) เกิดจุดรอนพิเศษขึ้นในแกนเหล็ก เนื่องจากการลัดวงจรระหวางแผนเหล็กที่ใชทําแกน
(ข) ฉนวนของน็อตยึดแกน (Core Bolts) เสื่อสภาพ หรือชํารุด
(ค) จุดเชื่อมตอไมดี หรือชํารุด
(ง) การลัดวงจรระหวางรอบขดลวด หรือลัดวงจรในเขตขดลวดแบบอื่นที่ไมรุนแรง และมีคากําลัง
ไฟฟาหลอเลี้ยง
(จ) ระดับน้ํามันต่ําลงเนื่องจากถังรั่ว
ในกรณีที่เกิดความผิดปกติอยางรุนแรง และมีแรงดันสูงเนื่องจากเกิดแกสและไอน้ํามาก แรงดันนี้จะทํา
ใหน้ํามันไหลผานทอ ซึ่งตอเขารีเลยยางรวดเร็ว น้ํามันจะดันลูกลอยตัวลาง และสวิทซปรอทจะปดคอนแทค ซึ่ง
จะไปทริพไกตัดวงจรแยกหมอแปลงออกจากระบบทันที ลูกลอยตัวลางนี้จะทริพ เมื่อ
(ข) เกิดการลัดวงจรอยางรุนแรงขึ้นในขดลวดตัวนํา ไมวาจะเปนการลัดวงจรลงดิน หรือลัดวงจร
ระหวางเฟส
(ค) ถาน้ํามันรั่วจนลดระดับลงมาต่ํามากจนอาจเกิดอันตรายได ลูกลอยตัวลางนี้ก็จะทํางานเหมือนกัน
จะเห็นไดวารีเลยแบบบุคโฮลซนี้ จะปองกันหมอแปลงไดเกือบจะสมบูรณ ไมวาความผิดปกติที่เกิดขึ้น
จะเปนแบบใด ซึ่งความผิดปกติบางแบบก็ยากที่จะเห็นไดดวยวิธีปองกันแบบอื่น รีเลยแบบนี้จึงเปนที่นิยมใชกัน
อยางกวางขวางในยุโรป และแคนาดา เปนทั้งการปองกันชั้นตน และแบบชวยเสริมการปองกันแบบอื่นดวย โดย
เฉพาะถาหมอแปลงมีขนาด 1 MVA ขึ้นไปเกือบจะเรียกไดวาเปนการปองกันแบบมาตราฐาน (สําหรับหมอแปลง
ขนาดเล็ก ต่ํากวา 1 MVA มักจะไมมีถังเก็บน้ํามัน จึงจะใชรีเลยบุคโฮลซไมได) เวลาในการทํางานของรีเลยนี้จะ
อยูในชวง 0.05-0.1 วินาทีการปองกันทางไฟฟาวิธีอื่นก็จะชวยได เพื่อลดเวลาทริพลงมาอีก หรือเพื่อปองกันไม
ใหรีเลยบุคโฮลซทริพขณะที่ตองบํารุงรักษาหมอแปลง เชน ทําความสะอาดน้ํามันโดยใชเครื่องเวี่ยง หรือเครื่อง

2.3.5 - 5
กรองซึ่งตองใชน้ํามันหมุนเวียน จําเปนจะตองปลดวงจรทริพของรีเลยแบบบุคโอลซออกเลือกไวแตสัญญาณ
อยางเดียว
การติดตั้งรีเลยแบบบุคโฮลซ จะอยูในลักษณะดังรูป 1.2

รูป 1.2 การปองกันหมอแปลงโดยใชรีเลยแบบบุคโฮลซ

การติดตั้งรีเลยจะตองคํานึงถึงการไหลของแกส และน้ํามันใหดี แกสจะตองสามารถไหลไปตามทอได


อยางดีและตองระวังไมใหมีความปนปวน (Turbulence) ในการไหลของน้ํามันโดยใหทอเอียงทํามุมประมาณ 5
องศาจากตัวหมอแปลงไปยังถังเก็บน้ํามัน และทอตองมีชวงยาวเปนแนวเสนตรง ดานใกลหมอแปลงไมนอยกวา
5 เทาของเสนผานศูนยกลางของทอ และทางดานตอกับถังน้ํามันตองไมนอยกวา 3 เทา ดังนั้นในรูป 3.7 การใส
ประเก็นตองระวังไมใหขอบของประเก็นล้ําเขาไปขัดขวางการไหลของแกส และน้ํามัน
รีเลยแบบบุคโฮลซ จะตั้งไวใหสงสัญญาณเตือน เมื่อมีปริมาณของแกสเขาไปในตัวรีเลยถึงปริมาณหนึ่ง
และจะตั้งไวใหทริพ เมื่อน้ํามันไหลเขารีเลยดวยความเร็วคาหนึ่ง คาที่ใชตั้งรีเลยโดยทั่วไปจะมีคาดังในตาราง
1.1

ขนาดของ เสนผาศูนย ปริมาณแกสสําหรับ ความเร็วต่ําสุดของน้ํามัน


หมอแปลง กลางของทอ สัญญาณเตือน ที่จะทําใหทริพ
ชวงตั้ง จุดตั้งปกติ ชวงตั้ง จุดตั้งปกติ
(MVA) (นิ้ว) (ซม.3) (ซม.3) (ซม./วินาที) (ซม./วินาที)
<1 1 100-120 110 70-130 90
1-10 2 185-215 200 75-140 100
>10 3 220-280 250 90-160 110
ตาราง 1.1 การปรับตั้งรีเลยบุคโฮลซ

2.3.5 - 6
สําหรับหมอแปลงขนาดใหญ ซึ่งมีครีบระบายความรอน (Radiator) และการระบายความรอนแบบมี
เครื่องชวยในการไหลอาจจะมีเซิจของแรงดันของน้ํามัน เมื่อสตารทปม ทําใหมีน้ํามันไหลในทอรีเลยจะไม
ทํางานในกาณีเชนนี้
ความเร็วของน้ํามันที่แสดงไวในตารางจะหมายถึงสภาพอุณหภูมิปกติ ความเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
จะมีผลตอความหนืด (Viscosity) ของน้ํามัน คือ เมื่อความรอนสูง ความหนืดจะลดลง ทําใหความไว (Ensitivity)
ของรีเลยลดลงดวย สาเหตุ เชน แกสสีขาว หรือสีเหลือง หมายถึง ฉนวนไหม สีเทา หรือดํา หมายถึง น้ํามันแยก
ตัวแก แกสเหลานี้จะไวไฟนอกจากมองดวยตาแลว ยังอาจเอาตัวอยางของแกสออกมาวิเคราะหอยางละเอียดเพื่อ
คนหาสาเหตุของความผิดปกติไดอีกดวย
1. 3.2 รีเลยแบบวัดความดันเปลี่ยนแปลงกระทันหัน (Sudden Pressure Relays)
สําหรับหมอแปลงที่ไมมีถังน้ํามันอยูตอนบน อาจจะใชรีเลยแบบนี้แทน ดูรูป 1.3

รูป 1.3 รีเลยแบบทํางานดวยความดันที่เปลี่ยนแปลงกระทันหัน

2.3.5 - 7
หลักการทํางานของรีเลยแบบนี้ เมื่อหมอแปลงทํางานตามปกติ ความดันทั้ง 2 ดานจะเทากันเพราะมี
ชองปรับความดันอยูดวย เมื่อเกิดความผิดปกติความดันทางดานหมอแปลงจะสูงกวา จะดันไดอะแฟรมไปปด
คอนแทคเพื่อทริพไกตัดวงจร
ในรีเลยรุนใหม จะไมใสไดอาแฟรมไวในน้ํามันของหมอแปลง แตจะใสไวน้ํามันซิลิโคน (Silicone Oil)
ซึ่งมีความหนืดเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมินอยมาก นอกจากนั้น ยังอาจทําใหรีเลยมีลักษณะสมบัติ ซึ่งมีเวลางาน
เปนสัดสวนผันลับตามคาความดันที่มี เพื่อหลีกเลี่ยงการทํางานผิดพลาด เนื่องจากเกิดแรงกระแทกบนตัวหมอ
แปลง หรือเกิดการลัดวงจรอยางรุนแรงของหมอแปลงที่ทําใหเกิดความดันสูง เนื่องจากกระแสคาสูงที่ไหลผาน
หมอแปลง
รีเลยแบบนี้มักนิยมใชกันสหรัฐอมริกาเทานั้น ในประเทศอื่นมักจะถือวารีเลยแบบบุคโฮลซทํางานไดดี
กวา
1.4 การปองกันกระแสเกินขนาด (Over current Protection)
การลัดวงจรที่เกิดขึ้นสวนใหญจะใหกระแส ดังนั้น การปองกันจึงอาจใชคาของกระแสเกินขนาดนี้เปน
เกณฑได การปองกันกระแสเกินนี้อาจจะใชฟวส (fuses) หรือ รีเลยกระแสเกินได
1.4.1 ฟวส
หมอแปลงจายกําลังไฟฟาขนาดเล็กมักจะปองกันโดยใชฟวสอยางเดียว ในบางกรณีจะไมมีไกตัดวงจร
(Circuit Breaker) ฟวสจึงเปนอุปกรณตัวเดียวที่จะแยกหมอแปลงออกจากระบบโดยอัตโนมัติ ฟวสเปนอุปกรณ
ตัดกระแสเกิน เชน ตอนสตารทมอเตอรไดโดยฟวสไมขาด และตองทนตอกระแสหลอเลี้ยงสนามแมเหล็กได
ดวย ฟวสแบบ h.r.c. จะทํางานไดอยางรวดเร็วเมื่อกระแสมีคาสูง แตจะทํางานชามากถากระแสมีคาต่ํากวา 3 เทา
ของกระแสที่กําหนด ดังนั้น ฟวส เองจึงจะปองกันหมอแปลงไดนอยมาก มีหนาที่เพียงแยกหมอแปลงที่เกิดการ
ลัดวงจรออกจากระบบเปนการปองการระบบเอง เมื่อการลัดวงจรไดลุกลามไปมากจนกระแสมีคาสูงมากแลว
เทานั้น ในตารางที่ 1.2 จะแสดงคาที่กําหนดของฟวส สําหรับหมอแปลงขนาด 11.kV

ขนาดของหมอแปลง
KVA กระแสโหลด กระแสที่กําหนด เวลาทํางานที่ 3 เทา
ของ พิกัด (วินาที)
25 1.31 4 0.17
50 2.62 6 0.4
100 5.25 10 1.1
200 10.5 15 10.0
500 262 30 100.0
ตาราง 1.2 ขนาดของกระแส
1.4.2 รีเลยกระแสเกิน (Over current Relays)

2.3.5 - 8
สําหรับหมอแปลงขนาดใหญขึ้น เชน 100 kVA หรือใหญกวาอาจควบคุมการตัดวงจรโดยใชไกตัดวงจร
(CB) การปองกันแบบนี้จะทําไดดีขึ้นกวาฟวสดวยเหตุผล 2 ประการ คือ จะทํางานไดเร็วหวาในชวงที่กระแสลัด
วงจรจะมีคาต่ําและยังสามารถใชปองกันการลัดวงจรลงดิน (Earth Fault Protection) ไดดวย รีเลยแบบกระแสเกิน
นี้เปนการปองกันที่มีความเชื่อถือไดพอสมควร และราคมไมสูงนัก ทั้งยังสามารถทําหนาที่ปองกันการจาย
กระแสเกินขนาดไดดวย
รีเลยกระแสเกินจะทํางานเมื่อมีกระแสผานถึงคาที่ตั้งไว คือ การทํางานจะขึ้นอยูกับคาของกระแสเพียง
อยางเดียวเขตของการปองกันจะเริ่มตั้งแตจุดที่ติดตั้งหมอแปลงกระแส (CT) สําหรับรีเลย เรื่อยไปจนถึงจุดที่ทํา
ใหกระแสลัดวงจรมีคาสูงถึงคาที่ตั้งไว ซึ่งก็ไมแนวาจะเปนจุดในวงจร เพราะจะขึ้นอยูกับความตานทาน หรืออิม
พิแดนซของแหลงจาย (Source in Dance) ลักษณะของการลัดวงจรเอง และอิมพิแดนซของการลัดวงจรดวย
ความสามารถในการแยกแยะจึงจะไมสูงนัก ดังนั้น จึงมักใชรีเลยชนิดที่มีการถวงเวลา และจะตองเลือกลักษณะ
การทํางานที่มีการถวงเวลาใหเหมาะสมกับการปองกันวงจรทางดานวงจรทุติยภูมิดวย
ตัวอยางการตอรีเลยกระแสเกินจะแสดงไวในรูป 1.4
Transformer
Current Winding
Transformer

3phase
Overcurrent
Relay

รูป 1.4 การปองกันหมอแปลงโดยใชรีเลยกระแสเกิน

รีเลยกระแสเกินแบบถวงเวลาผันกลับ จะชวยใหทําการปรับเทียบการทํางานรวมกับรีเลยที่ปองกันอยู
ถัดไปๆด แตในบางโอกาสจะใหการทํางานที่ชาเกินไป ถึงแมวาคาของกระแสสูงมากแลวก็ตาม จึงนิยมใชรีเลย
กระแสเกินแบบทํางานทันที (Instantaneous O/C Relay) รวมอยูดวย เพื่อใหทริพไดทันทีสําหรับคากระแสลัดวง
จรสูง ๆ ซึ่งไมตองการการถวงเวลาในการทํางาน
การปองกันการจายกระแสเกินขนาด อาจทําไดโดยใชรีเลยกระแสเกินเชนกัน หรืออาจจะใชรีเลยวัด
ความรอน (Thermal Relay) ก็ได
1.5 การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณ (Restricted Earth Fault Protection)
การลัดวงจรลงดินในหมอแปลงมีโอกาสเกิดขึ้นไดมาก ถาหมอแปลงตั้งอยูกับพื้นโดยตรง ซึ่งปกติจะ
ตอตัวถังลงดินดวย ในหอแปลงที่เปน U หรือ Y ที่ไมตองตอลงดินจะใชรีเลยกระแสเกินแบบวัดกระแสซี
เควนซศูนยปองกันการเกิดการลัดวงจรลงดินในขดลวดไดดีมาก เพราะปกติจะไมมีกระแสตกคาง (Residual)

2.3.5 - 9
ไหลเขารีเลยเลย รวมทั้งไมมีกระแสวงจรไหลไปผานภายนอกดวย จึงจะตั้งกระแสใหรีเลยทํางานไดต่ําและเร็ว
มากดวย โดยใชรีเลยที่มีอิมพิแดนซ ดังแสดงในรูป 1.5
Transformer
Current Winding
Transformer

Residual
Overcurrent Relay

รูป 1.5 การปองกันหมอแปลงเฉพาะการลัดวงจรลงดิน

อาจจะปองกันขดลวดตัวนําทั้งสองของหมอแปลงแยกกัน โดยใชปองกันเฉพาะการลัดวงจรลงดิน ทํา


ใหมีการปองกันที่ทํางานเร็วสําหรับหมอแปลงทั้งตัว โดยใชระบบที่คอนขางงาย
Transformer
Current Winding
Transformer

High Impedance Current


64
Relay Transformer

ZE

รูป 1.6 การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณ

การใชรีเลยการะแสเกิน และการลัดวงจรลงดินอยางงาย ๆ ดังอธิบายใน 1.5 จะปองกันหมอแปลงที่มี


ขดลวดปฐมภูมิตอเปน Y ไดไมดี โดยเฉพาะเมื่อจุดกลางตอลงดินโดยผาน อิมพิแดนซ ดังอธิบายในขอ
1.2การปองกันจะดีขึ้นมาก ถาใชแบบกระแสตางที่เรียกวา การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบใชกระแสผลตาง
หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณ ดังแสดงในรูป 3.11
กระแสเรชิดวล (Residual Current) จาก CT3 ตัวทางดานสายจะสมดุลยกับกระแสจาก CT ทางดานสาย
กลางรีเลยที่ใชเปนแบบอิมพิแดซสูง

2.3.5 - 10
ระบบนี้จะทํางานเฉพาะในกรณีที่การลัดวงจรเกิดขึ้นภายในจุดที่ตอหมอแปลงกระแส คือ การลัดวงจร
ที่เกิดในขดลวดที่ตอเปน Y ไวเทานั้น และจะไมทํางานเมื่อการลัดวงจรเกิดขึ้นภายนอกเขตนี้ ไมวาการลัดวงจร
นั้นจะเปนชนิดใด
ขอดีของการปองกันแบบนี้จะเนื่องจากสามารถใชรีเลยแบบทํางานทันที (Instantaneous) ซึ่งตั้งคาไวต่ํา
ไดนอกจากนั้นแลว ยังมีการวัดคากระแสลัดวงจรจริง ๆ ซึ่งทําการปองกันขดลวดทําไดเกือบตลอด ถึงแมวา
กระแสลัดวงจรจะลดลง เทื่อการลัดวงจรเกิดขึ้นใกลจุดกลาง ระบบนี้ก็จะยังมีประสิทธิภาพอยู
ระบบนี้จะใชไดกับหมอแปลงที่ตอแบบE (ลงดินโดยตรง) เนื่องจาก กระแสลัดวงจรจะสูงถึงแมการ
ลัดวงจรจะเกิดขึ้นที่รอบของขดลวดทาย ๆ (รูป 1.6) จึงจะปองกันขดลวดสําหรับการลัดวงจรลงดินไดตลอด ซึ่ง
เปนผลดีเมื่อเปรียบเทียบกับระบบ ซึ่งไมมีการวัดกระแสในสายกลาง
1.6 การปองกันแบบกระแสตาง ๆ(Differential Protection)
เนื่องจากหมอแปลงมีประสิทธิภาพภายในสูง มีคาสูญเสียในแกนเหล็ก และในทองแดงต่ํา จํานวน
แอมแปรรอบ (Ampere-Turns) ของทางดานปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ มีคาประมาณเทากัน จึงสามารถจะจัดระบบ
ปองกันแบบกระแสตาง (Differential Protection) สําหรับหมอแปลงทั้งตัวได ดังแสดงในรูป 1.7

3xCT
30000/5A

Generator
87 Transformer
Step Up Transformer
990 MVA GT Differential Relay
FOA Type
525 / 24kV
YNd1 : Vector

3xCT
30000/5A

รูป 1.7 การปองกันหมอแปลงแบบใชกระผลตาง


ถาเลือก CT ไดเหมาะสม ทางดานทุติยภูมิจะมีกระแส I1 = I2 และไมมีกระแสไหลผาน รีเลยแตถา I1
= I2 (p.u.) จะมีกระแสผลตาง I1 – I2 ไหลผานตัวรีเลยทํางาน หลักการนี้การปองกันหมอแปลงไดดี ถึงแมวาการ
ลัดวงจรที่เกิดขึ้นจะนอย เชน 0.5-10 % ของขดลวดเทานั้นก็ตาม หลักการทํางานจะคลายกับที่กลาวแลวในการ
ปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา จึงไมจําเปนตองอธิบายซ้ําอีก
(1) หมอแปลงแบบมีขดลวด 2 ขด (Two Windings Transformer)
การปองกันอาจทําได ดังแสดงไวในรูป 1.8 ทั้ง 3 เฟส

2.3.5 - 11
Transformer
Winding

87 87 87

รูป 1.8 การปองกันหมอแปลงที่มีขดลวด 2 ขด โดยใชรีเลยแบบเปอรเซ็นตผลตาง

(2) หมอแปลง 3 ขดลวดที่มีแหลงจายมาทางเดียว


ในกรณีการปองกันอาจทําไดดังแสดงในรูป 1.9 สําหรับเฟสเดียวของหมอแปลง

Transformer 87
GT

รูป 1.9 การปองกันหมอแปลง 3 ขด ที่มีแหลงจายมาทางเดียว


(3) หมอแปลง 3 ขดลวดที่มีแหลงจายมาทั้ง 3 ทาง
ในกรณีนี้อาจทําไดโดยตอวงจรปองกัน (แสดงไวเฟสเดียว) ดังในรูป 1.10

2.3.5 - 12
Transformer

ดานแหลงจาย
ดานแหลงจาย

B
B
B
O : ขดลวดทํางาน
B : ขดลวดถวง
87 O

รูป 1.10 การปองกันหมอแปลง 3 ขดลวด ที่มีแหลงจายมาทั้ง 3 ทาง

ขอที่ควรคํานึงเมื่อใช การปองกันแบบกระแสผลตาง กับหมอแปลง คือ


(ก) อัตราสวนการแปลง (Transformer Ratio)
ควรเลือกหมอแปลงกระแส (CT) ใหมีพิกัดของขดลวดปฐมภูมิใหพอเหมาะกับกระแสของหมอแปลง
ทางดานที่ตออยู กระแสทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิของหมอแปลงจะเปนอัตราสวนกลับแรงดันของหมอแปลง
เชน หมอแปลงขนาด 20 MVA 115 U/69YkV อาจเลือก CT ดังนี้
ดาน 115 kV ใช C.T. 150/5 ตอ Y
ดาน 69 kV ใช C.T. 250/5 ตอ U

(ข) การตอหมอแปลง
ถาหมอแปลงตอเปน Y/U กระแสผานหมอแปลงแบบ 3 เฟส สมดุล (Balanced 3 - φ) จะมีมุมเปลี่ยน
ไป 30° ดังนั้นจึงตองตอเปน U และจะตอ CT เปน Y ทางดาน Uของหมอแปลง
เมื่อ CT เปนU จะตองลดพิกัดทางดานทุติยภูมิลงมา 1/√3 ของพิกัด ที่ตอแบบ Y เพื่อใหกระแสออก
จาก U สมดุลยกับกระแสที่ออกจาก CT ที่ตอแบบ Y ได
(ค) หมอแปลงที่มีการแปลงแทป (Tap-Changing)
จะตองคํานึงถึงดวย เพราะถึงแมวาจะเลือก CT ใหสมดุลยแลว เมื่ออัตราการแปลงเฉลี่ยของหมอแปลง
เมื่อมีการเปลี่ยนแทป จะทําใหเกิดกระแสไมสมดุลยทันที เพราะอัตราสวนการแปลงจะเปลี่ยนไป ดังนั้น รีเลย
แบบกระแสผลตางจะตองมีการถวงดวย รีเลยจะไมทํางานถึงแมวาจะทีการเปลี่ยนอัตราสวนการแปรสูงสุดแลว
ที่ใชนิยมใหเปนรีเลยแบบเปอรเซ็นตผลตาง ดังที่แสดงในรูป 1.8 – 1.10
(ง) กระแสหลอเลี้ยงสนามแมเหล็กในระยะเริ่มเขา
กระแสหลอเลี้ยงสนามแมเหล็กเริ่มเขาจะทําใหเกิดกระแสไหลเขาทางขดลวดปฐมภูมิของหมอแปลง
ซึ่งจะไมมีกระแสแปลงออกทางดานทุติยภูมิเลย กระแสเริ่มเขาทั้งหมดจึงเขาในระบบปองกันทางเดียว ทําให

2.3.5 - 13
กระแสผลตาง และถามองผาน ๆ จะคลายกับเปนการลัดวงจรภายในหมอแปลงเอง การถวงแบบธรรมดาจะไม
ชวยเลยและถาเพิ่มคาปรับตั้งสูงขึ้นไปมากก็จะทําใหการปองกันไมดี
เนื่องจากปรากฏการณนี้เปนแบบชั่วคราว อาจแกปญหาโดยใชวิธีถวงเวลาการทํางาน ซึ่งก็ทําไดหลาย
วิธี อาจจะตอฟวสเชื่อม (Fuse Link หรือ Kick Fuse) ขนานเปนชั้น (Shunt) กับรีเลยแบบทํางานทั้งที เพื่อเบน
กระแสสวนใหญออกไปโดยฟวสไมขาด แตถาเกิดการลัดวงจรภายในหมอแปลง ฟวสจะขาดและรีเลยก็จะ
ทํางานได
อีกวิธีหนึ่ง คือ ใชรีเลยแบบเหนี่ยวนํา ที่จะใหการถวงเวลาทํางานที่เหมาะสมได วิธีใชถวงเวลานี้จะไม
เพียงพอที่จะทําใหระบบปองกันการทํางานที่ดี ถากระแสเริ่มเขามีคาสูง
Transformer

Through bias
Harmonic bias

Restraint coil

XL
XC

High set unit Operating Coil

รูป 1.11 การปองกันหมอแปลงแบบกระแสผลตางโดยใชฮารโมนิคเปนตัวตาน

ดังจะเห็นวา สวนประกอบของคลื่นกระแสเริ่มเขาที่มี ไดแก สวนประกอบที่เปนกระแสตรง ฮารโมนิค


ลําดับที่ 2 และ 3 เคยมีการนํากระแสตรงในคลื่นไปใชถวง แตเดี๋ยวนี้ไมนิยม เพราะใหการทํางานที่ไมแนนอน
เพราะอาจมีคาต่ําได ถาหลอเลี้ยงหมอแปลงเมื่อแรงดันมีคาสูง และตามปกติฮารโมนิค ลําดับที่ 3 จะไมผานเขาสู
รีเลยเพราะหมอแปลงเองตอเปน U หรือทางดานที่หมอแปลงตอเปน Y CT ก็จะตอเปนU ดังนั้น ฮารโมนิค
ลําดับที่ 2 จึงเปนสวนประกอบที่เหมาะที่จะนําไปใชในการถวงหรือตานกระแสเริ่มเขา เพราะนอกจากจะมีคาไม
นอยกวา 20 % แลวในกระแสลัดวงจรจะไมมีฮารโมนิคลําดับนี้ถึงแม CT ที่ใชงานจะเกิดอิ่มตัว ซึ่งก็เปนการอิ่ม
ตัวในสภาวะคงตัว จะไมมีฮารโมนิคลําดับเลขคูเลย ดังนั้น จึงอาจจะนําฮารโมนิค ลําดับที่ 2 นี้ไปหยุดยั้งการ
ทํางานของรีเลยในชั่วขณะหนึ่งหรือนําไปเพิ่มการถวง
วิธีที่นิยมใชในการที่ถวงไมใหรีเลยแบบกระแสผลตางทํางาน เมื่อมีกระแสหลอเลี้ยงสนามแมเหล็กใน
ระยะเริ่มเขาไปใชในวงจรกรอง (Filter) เอาฮารโมนิค ออกจากกระแสผลตาง (Differential Current) จากนั้นจะ
แปลงใหเปนกระแสตรงและใสเขาไปในวงจรถวงแบบเปอรเซ็นต (Percentage Restraint) ดังแสดงในรูป 1.11

2.3.5 - 14
การตานดวยฮารโมนิค (Harmonic Restraint) จะไดมาจากวงจรทูน (Tuned Circuit) XCXL ซึ่งจะยอมให
เฉพาะกระแสที่มีความถี่ฟนดาเมนทัล (Fundamental Frequency) เทานั้นไหลผานเขาไปในขดลวดทํางานรีเลย
สวนประกอบกระแสตรง และฮารโมนิคในกระแสจะถูกเบี่ยงเบนไปเขาวงจรตาน (Harmonic Restraining Coil)
มักจะปรับรีเลยไมใหทํางานเมื่อฮารโมนิคลําดับที่ 2 มีคาเกิน 15 % ของกระแสฟนดาเมนทัล คาพิคอัพต่ําสุดมีคา
15 % ของพิกัดของหมอแปลงกระแส และเวลาทํางานต่ําสุดประมาณ 2 รอบ (Cycle) เนื่องจากในกระแสลัดวงจร
อาจมีสวนประกอบคลื่นซึ่งเปนกระแสตรง และฮารโมนิคดวย โดยเฉพาะเมื่อหมอแปลงกระแสอิ่มตัว จึงมักใชรี
เลยกระแสเกินแบบทํางานทันทีติดไวในวงจรกระแสตางดวย แตจะตั้งคาทํางานไวใหสูงกวาคากระแสเริ่มเขา
หมอแปลงสูงสุด รีเลยจะชวยปองกันการลัดวงจรที่รุนแรงมากภายในหมอแปลงโดยใชเวลาทํางานนอยกวา 1
รอบ

2.3.5 - 15
RA Name Symbol
MAT 101 Diff “ Trip “ 87AT1 0076
OR Gate
RA
MAT 101 Primary O/C “ Trip “ 51AT1 0078 AND
RA Gate
MAT 101 Ground O/C “ Trip “ 51GAT1X 0079
Timer TD
RA
Gen XFMR 101 Diff “ Trip” 87GT1 0074
RA
Gen 101 Ground Fault “ Trip” 59G1 0086
RA
Gen 101 Diff “ Trip” 87G1 0075

RA ANN Turbine EHC Panel


Gen 101 Volt/Hertz “ Trip” 0084
ANN Substation
RA
Trip 6.9kV SWGR 101 Main Breaker
Gen 101 Over Excitation“ Trip” 0089
Trip 6.9kV SWGR 102 Main Breaker
Trip 230kV Gen Breaker 800322
MAT 101 Sudden Pressure “ Trip” RA
Trip “86G1 Trip 230kV Gen Breaker 800312
MAT 101 Buchholz Relay “ Trip” 0088
Auto - Transfer
MAT 101 Winding Temp “ Trip”
Int 6.9kV SWGR 102 Reserve Bkr. Auto- Transfer
Gen XFMR 101 Sudden Pressure “ Trip” RA Initial 230kV Breaker 800312 Failure
Gen XFMR 101 Buchholz Relay “ Trip” 0087
Initial 230kV Breaker 800322 Failure
Gen XFMR 101 Winding Temp “ Trip”
Gen 101 Excite Field Bkr. “Trip” RA
0082
“On Line or Carrying Aux.B
RA
Volt Balance OK. 60G1 0077
Gen 101 Loss of Field 40G1
230kV Breaker “ Failure “ 800312
RA
230kV Breaker “ Failure “ 800322 0085
230kV Gen Discon SW.800311 “Close”
Reverse Power Relay-1 Operate RA
TD 5s
Turbine EHC. Oil Press Low “Trip” 0081
Turbine Steam Flow Path Block
Gen XFMR 101 & MAT 101 Fire Protection Operate
TDE 10s

Reverse Power Relay 32G1-2 T2: 2.5s T1:30s


RA ANN Substation
Gen XFMR 101 Ground O/C “Trip” 51GGT1 0130
Trip 230kV Gen Breaker 80322
Turbine EHC. Oil Press Low “Trip” RA Trip 230kV Gen Breaker 80312
TD 0091
Trip “86GB1
Voltage Balance “OK” 60G1 Int. 230kV Gen & RAT Breaker 800322 Failure
RA
Gen 101 Negative Sequence >0.2 PU “Trip” 0092

Generator & Transformer System

ตัวอยาง Generator & Transformer Protection System

2.3.5 - 16
คําถามทายบทเรื่อง Transformer Protection
1. อุปกรณใดทําหนาที่ปองกันหมอแปลงกรณีมีแกสเกิดขึ้นในตัวหมอแปลง
2. Sudden Pressure Relay มีหลักการทํางานอยางไร
3. รีเลยวัดความรอน (Thermal Relay) สามารถใชปองกันหมอแปลงเหมือนกับรีเลยประเภทใด
4. การใชวิธีปองกันโดยการไกตัดวงจร (Circuit Breaker) มีขอดีกวาการใชฟวสอยางไร

เอกสารอางอิง
1. เอกสารการอบรมเรื่อง Relay Protection for Power Plant
เรียบเรียงโดย. : คุณสุรเดช หนุนนาค
วิศวกรระดับ 10, ฝายบํารุงรักษาไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

2.3.5 - 17
2.4 Station Commissioning

2.4 - 1
COMMISSIONING CONCEPT
1. บททั่วไป
งาน Commissioning โรงไฟฟา หมายถึง กระบวนการตรวจรับโรงไฟฟา ภายหลังงานกอ
สรางและติดตั้งที่มีความพรอมเพียงพอที่จะใหทําการทดสอบและตรวจรับได โดยที่โรงไฟฟาจะ
ประกอบดวยอุปกรณตางๆ มากมายและใชเวลาติดตั้งนานเปนป หรือหลายปขึ้นอยูกับประเภทของ
โรงไฟฟา งาน Commissioning จึงจําเปนตองใชบุคลากรที่มีความรู และความชํานาญเฉพาะดาน
ตางๆ กัน และการดําเนินงาน Commissioning จะมีการติดตอประสานงานกับหนวยงาน, บุคคล
ตางๆ รวมถึงชาวตางประเทศดวย การเรียนรูถึงการทํางานของระบบตางๆ, อุปกรณตางๆ ทั้งทาง
ดานเครื่องจักรกล, ไฟฟา อุปกรณเครื่องวัด, ระบบควบคุมและขั้นตอนในการนําอุปกรณเขาใชงาน
หรือออกจากการใชงาน ซึ่งจะทําใหสามารถใชงานโรงไฟฟาไดอยางถูกตองเหมาะสมและมีอายุ
ยาวนานครบหรือเกินกําหนดที่ออกแบบไว
จากภาระกิจดังกลาวขางตน การเตรียมการกอนเริ่มงาน Commissioning ใหพรอมทั้งดาน
บุคลากร ดานการ Training (เดินเครื่องและบํารุงรักษา), การจัดเตรียมอุปกรณอํานวยความสะดวก
ตางๆ จึงมีความสําคัญตอทีมงาน Commissioning ที่จะปฏิบัติงานตามภาระกิจใหไดผลดี ทั้งนี้การ
ทํางานในชวง Commissioning จะดําเนินการอยางตอเนื่องเปนเวลานานหลายเดือน และไมจํากัดเวลา
ในการปฏิบัติงานผูปฏิบัติงานจะตองเสียสละเวลาที่มีอยูโดยไมจํากัดวากลางวันหรือกลางคืน ทั้งนี้
เพื่อใหโรงไฟฟาสามารถทําการผลิตกระแสไฟฟาไดโดยเร็วภายในกรอบของแผนงาน

2. Commissioning Concept
ภาระกิจงาน Commissioning จะประกอบดวยการตรวจรับอุปกรณตางๆ โดยการทดสอบ
อุปกรณแตละอุปกรณ ทดสอบการทํางานของแตละระบบและทดสอบขีดความสามารถของโรง
ไฟฟาเพื่อใหเปนไปตามที่ออกแบบไวและตามขอกําหนดของสัญญา สิ่งที่ตองระมัดระวังอยางยิ่ง
ในการตรวจรับและทดสอบคือดานความปลอดภัย (Safety) ทั้งดานคนและเครื่องจักรอุปกรณ รวม
ทั้งผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และชุมชนรอบขาง ดังนั้นจะตองเตรียมพรอม และตรวจตาใหรอบ
ครอบ ในการทดสอบขีดความสามารถการทํางานจะตองระลึกเสมอวาหากทดสอบและใชงาน
อุปกรณตางๆ เกินขีดความสามารถที่กําหนดไว จะทําใหอายุการใชงานของอุปกรณหรือโรงไฟ
ฟาสั้นลงกวาที่กําหนด ซึ่งคิดเปนมูลคาการเสียโอกาสในการผลิตแลวมีมูลคามหาศาล ทั้งนี้เพราะ
คูสัญญา (Contractor) ยอมจะตองพยายามในทุก ๆ วิธี เพื่อใหเครื่องจักรหรืออุปกรณสามารถ
ทํางานไดตามที่ไดรับประกัน (Guarantee) ไว

2.4 - 2
การตรวจรับและทดสอบอุปกรณเพื่อนําเขาใชงานนั้น จะมีขอกําหนดและรายละเอียด
ตางๆ ตามที่ บริษัทผูผลิตกําหนดมาทีมงานตรวจรับจะตองตรวจสอบทําความเขาใจในขอกําหนด
และรายละเอียดตางๆ วาถูกตองเหมาะสมหรือไม เปนไปตามหนังสือคูมือกําหนดไว (Instruction
Manual), เปนไปตามขอกําหนดระบบควบคุม (Control Logic) หรือไม และตรวจสอบกับมาตร
ฐานอางอิงดวย ในกรณีมีขอขัดแยงเกิดขึ้น และสัญญามิไดระบุไว จะตองหาขอยุติโดยการตกลง
รวมกันในที่ประชุมทั้ง 2 ฝาย สวนที่สําคัญคือการตรวจสอบใหเปนไปตามขอกําหนดของสัญญา
การตรวจรับอุปกรณหนึ่ง ๆ จะตองประกอบดวยสิ่งตางๆ เชน
o อุปกรณนั้นๆ มีสวนประกอบครบถวน การติดตั้งถูกตองมีความปลอดภัยและสะดวกตอ
การเดินเครื่อง (Operate), สะดวกตอการบํารุงรักษา (Maintenance)
o แบบของอุปกรณนั้นๆ (Drawings) มีครบถวนถูกตองหากมีการแกไขจากเดิมจะตองแกไข
ในแบบใหถูกตองดวย
o หนังสือคูมือ (Instruction Manual) มีครบถวน มีเนื้อหาเพียงพอสําหรับการใชงาน
o เกณฑหรือขอกําหนดดานความสามารถและประสิทธิภาพ (Performance) รวมถึงขั้นตอน
การทดสอบและอุปกรณที่ใชงานทดสอบ
o รายการเครื่องมือพิเศษ, เครื่องมือที่ใชในการซอมบํารุง ที่จะตองจัดหามาใหตามสัญญา
o รายการอาหลั่ย (Spare Parts) ที่จะตองจัดหามาใหตามสัญญา
o ฯลฯ
ในการตรวจรับ จะตองมีการจัดทําแผนงาน (Schedule) ในการทดสอบและประชุมรวมกันกับ
ผูเกี่ยวของกอนดําเนินการในแตละหัวขอและขั้นตอนใหชัดเจน พรอมทั้งระบุวันที่, เวลาที่จะ
ดําเนินการ เพื่อใหผูเกี่ยวของในแตละดานไดเขาใจ สามารถดําเนินการตามเปาหมายที่กําหนดได
อยางปลอดภัย

3. Commissioning Organization
จากภาระกิจที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวางาน Commissioning มีลักษณะธรรมชาติที่ Dynamic
และมีกิจกรรมหลากหลายตลอดเวลา การจัด Organization ใหเหมาะสมจะตองมีความคลองตัวและ
ปฏิบัติการไดตอเนื่อง โดยเฉพาะในการจัดทีมงานปฏิบัติการเฉพาะกิจแตละดานใหสอดคลองกับภาระ
กิจสําหรับโรงไฟฟาที่จะดําเนินการตอไปในอนาคตไดจะเปนขอดีในการปฏิบัติหนาที่ตอไป ภาระกิจ
แตละทีมงานที่ตองรับผิดชอบควรมีความชัดเจน และสามารถดําเนินงานไดโดยสอดคลองกัน ตัวอยาง
Commissioning Organization ของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี ไดจัดไวดังนี้

2.4 - 3
GE/REOL SITE COMMISSIONING STAFF
RATCHABURI COMBINED CYCLE POWER PLANT
EGAT GE/REOL EGAT
COMMISSIONING COMMISSIONING CONSTRUCTION
CO-ORDINATOR MANAGER CO-ORDINATOR
GELEAD
COMMISSIONING
T/A
LEAD LEAD
ELECTRICAL/ MECHANICAL/
CONTROL & INST LEAD DCIS OPERATIONS
SUPERVISOR

ADMINISTRATOR FOR EACH TURBINE


SHIFT 1 SHIFT2 TURNOVER
PACKAGE
FORMAN FORMAN DEVELOPMENT MECHANICAL ELECTRICAL
ELECT. #1 ELECT. #1 SHIFT 1 SHIFT 2 COMMISSIONING COMMISSIONING
ELECT. #2 ELECT. #2 T/A T/A
ELECT. #3 MECHANICAL MECHANICAL
SHIFT 1 SHIFT 2 COMMISSIONING COMMISSIONING
ENGINEER/ ENGINEER/
C&I. #1 FORMAN
C&I. #1 SHIFT SHIFT
MECH. #1 ELECTRICAL # 1
C&I. #2 SUPERVISOR SUPERVISOR
SHIFT 1 SHIFT 2 MECH. #2 HELPER #1
MECH. #1
C&I. #1 C&I. #1
EGAT
C&I. #2
ADMINISTRATION MECH. #1 MECH. #1
SUPPORT MECH. #2 MECH. #2 START-UP
MECH. #3 COMMISSIONING
T/A
= GE/REOL COMMISSIONING

= CRAFT SUPPORT ELECTRICAL #1


EGAT HELPER #1
COMMISSIONING
= EGAT COMMISSIONING GROP
OPERATORS
= LINES OF SUPERVISION
C&I
GE/REOL SUPPORT
= LINES OF COMMUNICATION ON SITE TRAINING AS REQUIREO

2.4 - 4
COMMISSIONING ORGANIZATION
RATCHABURI COMBINED CYCLE POWER PLANT
EGAT GE/REOL
COMMISSIONING COMMISSIONING
CO-ORDINATOR MANAGER

ELECTRICAL EQUIPMENT CHEMICAL AND WATER


WORKING PARTY TREATMENT

MECHANICAL WORKING ACCEPTANCE TEST


PARTY WORKING PARTY

CONTROL AND INSTRUMENT CIVIL WORKING PARTY


WORKING PARTY

OPERATIONAL FUNCTION TRAINING WORKING PARTY


WORKING PARTY

SAFETY WORKING PARTY


NOTES:

= LINES OF SUPERVISON

= LINES OF COMMUNICATION

2.4 - 5
สําหรับหนาที่รับผิดชอบในแตละกลุมตาม ORGANIZATION มีดังนี้คือ
ตารางจําแนกหนาที่ความรับผิดชอบ (Job Description) ของคณะทํางาน Commissioning

รายชื่อคณะทํางาน หนาที่ความรับผิดชอบ หมายเหตุ


1. คณะประสานงาน 1. ประสานงานกับคณะทํางาน 1. ศึกษาสัญญา
Commissioning Commissioning ชุดตางๆ, ผูรับเหมา (Contract)
(Co-ordinator) (Contractor), โครงการกอสรางเพื่อ 2. ศึกษา
ใหงานเปนไปตามแผน Commissioning
2. รายงานสรุปความคืบหนา, Schedule
ปญหาเสนอ คณะกรรมการ 3. ตรวจสอบความ
Commissioning ชุดใหญ ครบถวนถูกตองของ
(Commissioning Committee) เพื่อ Start up package
ทราบและขอคําแนะนําในการตัดสิน 4. ศึกษา Test
ใจ แกปญหา Procedure
3. ตรวจรับ Plant ใหสามารถ 5. ศึกษา Instruction
ทํางานไดถูกตองปลอดภัยตาม Manual และ
Specification & Contract Specification
4. กําหนดการประชุมระหวาง
Commissioning คณะตางๆ เพื่อติด
ตามความกาวหนาและวิเคราะห
ปญหาที่เกิดขึ้น ทําบันทึกแจงโครง
การฯ เพื่อดําเนินการแกไข
5. รวบรวม Site Note, Deficiency
list แจงโครงการเพื่อแกไข
6. ติดตอประสานงานกับศูนยควบ
คุมไฟฟากําหนดการเดิน Plant เพื่อ
ทดสอบ
7. กําหนดขั้นตอน-วิธีการใช Tag
และ Pad-Lock
8. รวมประชุมกับโครงการ,
Contractor
9. อื่นๆ

2.4 - 6
2. คณะทํางานเฉพาะกิจงาน 1. รวมทดสอบและเก็บขอมูลของ 1. ศึกษาสัญญาขอ
Acceptance Test Equipments, Testing sub Loop & กําหนด Performance
Loop Test Criteria
2. ดําเนินการทํา Plant 2. ศึกษา
Performance Test Performance procedure
3. รายงานสรุปผลการทดสอบ
เสนอคณะประสานงานเปนระยะ
4. ออก Site Note, Deficiency list เสนอ
คณะประสานงานเปนระยะ
3. คณะทํางาน Commissioning 1. ตรวจรับอุปกรณดานเครื่องกลให 1. ศึกษาสัญญาใน
อุปกรณดานเครื่องกล ครบถวน มีสมรรถนะตรงตาม สวนอุปกรณเครื่องกล
Specification & Contract
รายชื่อคณะทํางาน หนาที่ความรับผิดชอบ หมายเหตุ
3. คณะทํางาน Commissioning 2. จัดทํา Check Sheet เพื่อใชในการตรวจ 2.ศึกษา Instruction
อุปกรณดานเครื่องกล รับอุปกรณ Manual
3. รวม Walk down Inspection ชวง Pre 3. ศึกษา Test Produce
Test ตางๆ
4. ตรวจรับงานดาน Spare part, Tool, 4. ศึกษา Specification
Instruction Manual, Drawing อุปกรณ
5. ออก Site Note, Deficiency list เสนอ 5. ศึกษา Acceptance
คณะ ทํางานผูประสานงานผูประสาน Criteria
งานเปนระยะ
6. รายงานความคืบหนาของปญหา, ผล
การทดสอบเสนอคณะทํางานเปนระยะ
7. อื่นๆ
4. คณะทํางาน Commissioning 1. เหมือนขอ 1-4 ของคณะทํางาน 1. เหมือนคณะทํางานที่ 3
อุปกรณไฟฟาและระบบควบ ดานเครื่องกลแตเปนอุปกรณดานไฟฟา
คุม และอุปกรณเครื่องมือวัด
2. ตรวจรับระบบปองกันอุปกรณไฟ
ฟาและระบบ Plant Protection System
3. ตรวจรับระบบ Plant control
4. ออก Site Note, Deficiency list

2.4 - 7
เสนอคณะทํางานผูประสานงานผู
ประสานงานเปนระยะ
5. รายงานความคืบหนาของปญหา,
ผลการทดสอบเสนอคณะทํางานเปน
ระยะ
5. คณะทํางาน Commissioning 1. ปฏิบัติการดาน Operation เริ่มตั้ง 1. ศึกษาสัญญาใน
Functional operation แต Walk down/ Pre-operation-check/ สวนของ Equipment,
Startup/ Operation Demonstration Test/ System plant ดาน
Shutdown Operation Function
2. ตรวจรับดาน Functional Testing 2. ศึกษา Instruction
ของ Equipment/System/Plant ใหตรง Manual
ตาม Specification & Contract 3. ศึกษา Test
3. ปฏิบัติการและตรวจรับงาน Procedure ตางๆ
Chemical Clean Hydro. Test, Safety 4. ศึกษาดาน
Valve Test, Steam Blow out, First Acceptance Criteria
Synch. and Load up to Max. Capacity ดาน Operation
Test 5. ศึกษาระบบ Work
4. ตรวจรับงานดาน Consumable Spare Permit and Safety
part ใน Tagging
สวนของเดินเครื่อง เชน Condenser tube 6. ตรวจสอบความ
cleaning Ball, H2 & CO2 Gas เปนตน ครบถวนถูกตองของ
5. ตรวจรับงานดาน Instruction manual, Start up Package
Drawing ตางๆ

รายชื่อคณะทํางาน หนาที่ความรับผิดชอบ หมายเหตุ


6. ออก Site Note, Deficiency list
เสนอคณะประสานงาน
7. รายงานความคืบหนา, ปญหางาน,
ผลการทดสอบเสนอคณะทํางานเปน
ระยะๆ
8. Safety Clearance & Tagging
6. คณะทํางานเฉพาะกิจ งาน 1. ตรวจรับงาน Pre-Cleaning, 1. ศึกษา Contract ใน

2.4 - 8
Chemical Cleaning และ Chemical cleaning สวนของงานที่รับผิดชอบ
Water Treatment 2. ตรวจรับงานในสวนของ Water 2. ศึกษา Instruction
Treatment, Water Analysis, Sanitary, Manual
Waste Treatment และอุปกรณ 3. ศึกษา Specification
Laboratory 4. ศึกษา Acceptance
3. ตรวจรับงานในสวนของ Process & Criteria
Performance ของ Water Treatment plant
4. ออก Site Note, Deficiency list
เสนอคณะประสานงาน
5. รายงานความคืบหนา, ปญหางาน,
ผลการทดสอบเสนอคณะทํางาน
ประสานเปนระยะๆ
6. อื่นๆ
7. คณะทํางาน Training 1. ดําเนินการดาน Training จัดเตรียม 1. ศึกษาสัญญาในสวน
Working Party อุปกรณเอกสารในการดําเนินงาน จัด ที่รับผิดชอบ
หลักสูตร และวิทยากร 2. ศึกษา Instruction
2. ตรวจรับงานดาน Simulator รวมกับ Manual
คณะทํางานที่ (3) (4) (5) 3. ศึกษา Specification
3. รายงานความคืบหนา, ปญหางาน, 4. ศึกษา Acceptance
ผลทดสอบ Criteria
8. คณะทํางาน Safety 1. ตรวจสอบสภาพความพรอมดานความ 1. ศึกษาสัญญาในสวน
Working Party ปลอดภัยในการดําเนินการ ที่รับผิดชอบ
Commissioning เพื่อแจงตอ Contractor 2. ศึกษา Acceptance
ใหดําเนินการแกไข หากมีขอบกพรอง Criteria
2. ตรวจรับและทดสอบอุปกรณดานความ 3. ศึกษา Specification
ปลอดภัย ประจําโรงไฟฟา ของ อุปกรณ
3. ออก Site Note, Deficiency List กรณี 4. เตรียมความพรอมดาน
สภาพแวดลอมการทํางานเกินกวาสัญญา อุปกรณความปลอดภัย
และ ขอกฎหมายกําหนด และแผนฉุกเฉิน
4. รวม Walk down Inspection ชวง Pre Test
5. รายงานความปลอดภัย ปญหาของงาน
เปนระยะ

2.4 - 9
BASIC POWER PLANT COMMISSIONING STEP
สําหรับขั้นตอนในการปฏิบัติงาน Commissioning นั้นประกอบดวยขั้นตอนในการเขาตรวจสอบชวง
งานติดตั้ง (Erection work) และขั้นตอนพื้นฐาน ซึ่งการเขาตรวจสอบในชวงงานติดตั้งนี้จะมีผลดีในการแกไข
ปญหาที่เกิดขึ้น เมื่อตองการเพิ่มเติมหรือแกไขการติดตั้งอุปกรณใหเหมาะสมตอการใชงานเพราะทีมงานที่รับ
ผิดชอบงานติดตั้งอุปกรณเครื่องมือตางๆ ยังอยูครบถวนสามารถดําเนินการไดโดยงายกวาที่จะแกไขเพิ่มเติม
เมี่อ ติดตั้งเสร็จแลว แตทั้งนี้จะตองไมทําใหงานกอสรางลาชาออกไป งานแกไขหรือเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับ
ความปลอดภัย (Safety) ตอผูปฏิบัติงานหรืออุปกรณจะตองแกไขกอนการทดสอบ
4.1 ขั้นตอนการตรวจสอบระหวางการติดตั้ง
ในการเขาตรวจสอบระหวางการติดตั้ง จะชวยใหงานติดตั้งมีความถูกตองเหมาะสมมากขึ้น
และหากจําเปนตองมีการแกไขก็สามารถดําเนินการไดทันที เพราะกําลังคนและเครื่องมือยังอยูพรอม
ความจําเปนที่ตองเขาตรวจสอบในชวงนี้เพราะในแงมุมของการใชงานโดย Operator หรือดานบํารุง
รักษาอาจมีความเห็นเพิ่มเติม ซึ่งหากปลอยไวดําเนินการภายหลังจะมีความไมพรอม บางครั้งอาจมีการ
ปรับปรุงเพิ่มเติมใหเหมาะสมและปลอดภัย (Safety) ตอการใชงาน
ขอสําคัญของการเขาตรวจสอบระหวางติดตั้งนั้น จะตองมีการประสานงานระหวางหนวยงาน
ที่เกี่ยวของใหชัดเจนและเปนขอตกลงรวมกันดวยความเขาใจอันดี ทั้งนี้เพราะแตละหนวยงานตางมี
ภาระกิจความรับผิดชอบที่แตกตางกัน สําหรับการตรวจสอบระหวางติดตั้งนั้นเปนภาระกิจของหนวย
งานดานกอสรางโดยตรงการที่ทีมงาน Commissioning ไดเขารวมตรวจสอบจะเปนการเรียนรูเครื่อง
จักรอุปกรณดวย ทําใหเกิดความคุนเคยตออุปกรณเกิดความคลองตัวในการ Operate และ Maintenance
ในอนาคต
4.2 ขั้นตอนพื้นฐานในงาน Commissioning
4.2.1 ERECTION COMPLETENESS CERTIFICATE (ECC)
เมื่องานประกอบติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จเพียงพอที่จะทํา PRELIMINARY TEST (WITHOUT
MAIN VOLTAGE AND FLUID) จะตองมีการ Walk down Inspection เพื่อตรวจสอบความเรียบรอย
และปลอดภัย รวมถึงตรวจสอบวิธีการที่จะทดสอบวาเหมาะสมกับสภาพความเปนจริงหรือไมถามีขอ
บกพรองใหแจงตอผูรับผิดชอบงานประกอบติดตั้ง เพื่อทาง Contractor จะไดดําเนินการแกไขรายการ
ที่เปน Major Exception Item จากนั้น จะออก ECC พรอมรายการที่จะแกไขภายหลังที่เปน Minor เพื่อ
เปนการยืนยันวา มีความพรอมที่จะทดสอบได
4.2.2 SAFETY CLEARANCE CERTIFICATE (SCC)
หลังจากอุปกรณหรือ System ผานการทํา Preliminary Test แลวทาง Contractor จะตองกําหนด
ระยะเวลาในการแกไข Exception Items และมีการ Walk down Inspection อีกครั้งหนึ่ง ถามีการแกไข
จนอุปกรณ หรือ System นั้นๆ พรอมที่จะทํา Function Test ไดทาง Contractor ก็จะออก SCC พรอม
รายการ Exception Item ที่จะแกไขตอไป (ถามี)

2.4 - 10
4.2.3 PROVISIONAL OPERATION CERTIFICATION (POC)
System ที่ผานการทํา Function Test แลว และมีความสมบูรณเพียงพอตอการนําเขาใชงานได
ทาง Contractor จะออก POC เพื่อแสดงวา อุปกรณหรือ System นั้นพรอมที่จะ Operate ได
ในการดําเนินงานตามขอ 4.2.1 ถึง 4.2.3 นั้น ควรจัดทําเปน Work Package เพื่อเปนหัวขอใน
การตรวจสอบถึงความพรอมดานตางๆ นอกเหนือจากตัวอุปกรณ เชน Dwg. ตางๆ; Instruction Manual
ทาง Contractor ควรสงมอบใหผูรับผิดชอบ พรอม POC. เพื่อจะไดขอมูลที่ตรงกับความเปนจริงเพียง
พอตอการใชงาน กรณีที่ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งทาง Contractor จะตองระบุ กําหนดเวลาที่จะสงมอบใหได
ดวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง As built DWG จะตองสงมอบใหภายในระยะเวลาที่สัญญากําหนด เชน 30 วัน
หลังจากการทํา Function Test เปนตน
4.2.4 CAPABILITY TEST
หลังจากการทํา Functional Test ของอุปกรณและระบบแลวเสร็จ ตัวโรงไฟฟาสามารถเดิน
เครื่องจายกระแสไฟฟาได ทาง Contractor จะแจงแผนการทํา Capability Test เพื่อเปนการทดสอบขีด
ความสามารถของโรงไฟฟาโดยเฉพาะ Operating Capability ตามที่กําหนดไวในสัญญา อาทิเชน
Starting Reliability ทั้ง Hot และ Cold Condition, Start up sequence time for normal and fast start,
load and pick up rate ; 100% load rejection over speed trip, stable operation at minimum load, Fuel
Transfer Test, 5 days Trial Run ที่ load ตางๆ กันอยางตอเนื่องเปนตน ทั้งนี้เพื่อจะไดทราบถึงสภาพ
อุปกรณและระบบควบคุมวาสามารถใชงานไดตาม Design และมี Reliability ตอการใชงาน
4.2.5 PERFORMANCE TEST & EMISSION TEST
ทาง Contractor จะสงรายละเอียดขั้นตอนวิธีการทํา Performance Test/Emission Test มาให
ตรวจสอบกอนที่จะทําการ Test ซึ่งรายละเอียดตางๆ ของอุปกรณที่ใช, ขั้นตอนการทดสอบ, การเก็บขอ
มูล, วิธีการคํานวณ, มาตรฐานที่ใชอางอิง ฯลฯ สิ่งตางๆ เหลานี้จะตกลงกันใหชัดเจน โดยมีสัญญาเปน
กรอบเพื่อภายหลังการ Test แลวจะไดไมเปนปญหาขอโตแยงตอกัน เพราะการทํา Performance Test
จะวัดประสิทธิภาพของโรงไฟฟาโดยที่มี Guarantee ในดานตางๆ เชน Output, Heat Rate ฯลฯ ตามแต
สัญญาจะระบุไว (Schedule of Guarantees)
อนึ่ง สําหรับ Gas Turbine นั้น จะมี Guarantee ดาน Emission ดวย เชน เสียง, NOx, SOx,
Unburn Carbon ฯลฯ ซึ่งการทดสอบดาน Emission นี้ควรทําพรอมกันกับการทํา Performance Test
เพราะวา Guarantee จะเทียบที่ Heat Rate เดียวกัน หากไมสะดวกตอการ Test ในคราวเดียวกันก็ควร
ระบุคา Heat Rate และคา Water Injection ใหชัดเจนแนนอนโดย Contractor จะตองสง Correction
Curve ของ Heat Rate กับ Water Injection Rate มาใหกอนการทํา Emission Test ดวย เพราะการควบ
คุม Emission ตามพิกัดที่ระบุไวในสัญญา อาจตองใช Water Injection Rate มากกวาชวงทํา
Performance Test ซึ่งการใช Spray Water มากกวานี้จะมีผลตอ Heat Rate ดวย

2.4 - 11
ในการทํา Performance Test ของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม จะแบงออกเปน 2 สวน คือ
Simple Cycle (เฉพาะ Gas Turbine) Performance Test และ Combined Cycle Performance Test ถา
หากการทํา Performance Test ชวง Simple Cycle ไมผานเกณฑกําหนดในสัญญาและมีการแกไขปรับ
ปรุงเพิ่มเติมจะตองพิจารณาผลกระทบตอตัว Gas Turbine และอุปกรณอื่นๆ รวมทั้งจะตองพิจารณาถึง
ผลกระทบตอ Combined Cycle ดวยโดยเฉพาะดาน Steam Temperature ทั้งตัว Heat Recovery Steam
Generator, Steam Turbine และอุปกรณอื่นๆ
4.3 ความปลอดภัยระหวางงาน COMMISSIONING (SAFETY)
หนาที่ของ Commissioning Staff คือ การนํา Plant เขาใชงานเปนครั้งแรกไมใชการเดินเครื่อง
ในเชิงพาณิชยตามปกติ ซึ่งนอกเหนือจากการตรวจรับใหถูกตองตามขอกําหนดในสัญญาแลวตอง
คํานึงถึงความปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน และอุปกรณเปนสําคัญเพราะมีความเสี่ยงสูงกวาปกติ ดังนั้น
ในชวงการทดสอบ, เดินเครื่องหรือการเขาแกไขปญหาของอุปกรณ จึงตองนําเอา ระบบ Tag, Pad
Lock และ Work Permit มาใชงานอยางเครงครัด รวมถึงการตรวจสอบสภาวะแวดลอมกอนเขาทํางาน
และระหวางทํางานดวย
4.4 เอกสารจาก Contractor สําหรับงาน Commissioning
ตามสัญญาเอกสารรายละเอียดตางๆ สําหรับงาน Commissioning เปนหนาที่ของ Contractor
ที่จะตองสงมาใหครบถวน อาทิเชน
o Contractor Commissioning Organization
o Plant Commissioning Schedule
o Commissioning Package for Individual System ซึ่งใน Package ควรจะมีเนื้อหาสําคัญๆ
มีรายละเอียดครบถวนเพียงพอที่จะใชงาน Commissioning อาทิเชน
- Description of Plant or System เกี่ยวกับขอมูลดาน Design, Function of Equipment
and/or System, Control Function สําหรับตัวอุปกรณ หรือระบบนั้นๆ รวมถึงความ
เกี่ยวของกับระบบอื่นๆ ดวยโดยระบุ Control Design In- Out Signal ใหชัดเจน
- Piping and Instrument Diagram ที่กําหนด Boundary ของ Package ไว
- Objective of Commissioning Activities เปนการกําหนดเปาหมาย การตรวจรับ/
ทดสอบทั้งดาน Operation, Control และ Performance Guarantee เพื่อจะไดทราบวา
เปนไปตาม Specification หรือไม
- Commissioning Net Work แสดงถึงกิจกรรม Commissioning เรียงตามลําดับและ
ประมาณการสําหรับเวลาที่ตองใชดวย
- Commissioning Detail step-by-step procedure เปนรายละเอียดของแตละกิจกรรม
(Activity) ที่กําหนดไวใน Commissioning Net Work

2.4 - 12
- Safety กําหนดขอจํากัด หรือการเตรียมการปองกันดาน Safety ทั้งอุปกรณและวิธีการ
จุดหรือตําแหนงที่จะตองตรวจสอบ, รวมถึง Work Permit, Tagging System ดวย
- Test Report/ Reference Standard อุปกรณ หรือ System ในสวนที่ไดมีการ Test,
Calibrate มาแลวกอนนี้ จะตองแนบรายละเอียดผลดังกลาวมาใน Package ดวย
- Valve line up List and Check Sheet
สําหรับเอกสารดังกลาวทาง Contractor จะตองสงลวงหนาตามที่ระบุไวในสัญญา กรณีที่
ไมไดระบุไวควรสงลวงหนาไมต่ํากวา 1 เดือน เพื่อจะไดศึกษาและตรวจสอบ กอนดําเนินการและจัด
เตรียมอุปกรณตางๆ ที่ตองใชใหพรอม เชน วิทยุสื่อสาร, อุปกรณเครื่องวัดตางๆ รวมถึงการแจงหนวย
งานอื่นๆ ภายในบริเวณโรงไฟฟาใหทราบลวงหนาดวย โดยเฉพาะกิจกรรม ที่กอใหเกิดเสียงดัง จะตอง
กําหนดเวลาที่ทดสอบใหเหมาะสมดวย เพื่อจะไดทําการประชาสัมพันธใหชุมชนที่อยูใกลเคียงบริเวณ
โรงไฟฟาทราบลวงหนากอนดําเนินการ
4.5 การจัดทํารายงานสรุปผลการตรวจรับและทดสอบ
จาก Commissioning Objective ในแตละอุปกรณ และ/หรือ ระบบจะตองสรุปผลในเนื้อหา
สวนที่รับผิดชอบ เพื่อทําการสรุปรายงานรวมดานการตรวจรับอุปกรณเครื่องกล, ไฟฟา, Instrument
และระบบควบคุม, Functional Operation, Performance เพื่อจะไดสรุปรายงานตอ Commissioning
Panel และเก็บไวใชงานเปน Reference ตอไป

2.4 - 13
Commissioning Work Step

Civil Work Complete Equipment on Base Alignment

- Loop Check, Dry Test

WALK
Preliminary Test ECC. - Flushing Electrical, Instrument
DOWN
No Load Test Issue Calibration Test
INSP.
- Hydro Test

Major Pending Item Correction SCC. Function Test


WALK
DOWN Issue
INSP.

Initial Operation POC. Blow Out Chemical Cleaning


Issue

Capability Test Performance Test Commercial Operation

Note : ECC. Erection Completeness Certificate


SCC. Safety Clearance Certificate
POC. Provisional Operation Certificate

2.4 - 14
จากตัวอยาง Work Step ที่แสดงมา สามารถสรุปเปนหัวของายๆ สําหรับอุปกรณในแตละระบบไดดังนี้
1) งานโยธาชวงการตอกเสาเข็ม, การทํา Foundation, (รวมถึง Anchor Bolt) & โครงสรางอาคาร
โรงไฟฟา
2) งานประกอบ, ติดตั้งอุปกรณ
3) งานตรวจสอบ, ทดสอบอุปกรณเครื่องมือวัด, อุปกรณเครื่องกลไฟฟาและระบบควบคุม
4) งาน Flushing ระบบ Piping และ Hydrostatic Test
5) งานทดสอบการเดินเครื่องอุปกรณขั้นตน (Preliminary Test)
6) งานทดสอบการเดินเครื่องเปน System รวมถึง Functional Test
7) งาน Chemical Cleaning, Blow Out
8) งาน Initial Operation และ Function Test, Heat Run Test
9) งาน Capability Test , Function Test
10) งาน Performance Test
การเขาตรวจสอบชวงระหวางติดตั้งนั้น ทางทีมงาน Commissioning เฉพาะกิจจะตองเตรียมการลวงหนา
โดยศึกษาจากขอกําหนดในสัญญา, Instruction Manual, Drawing ตางๆ ที่เกี่ยวของพรอมทั้งมาตรฐาน
(Standard) ที่ใชซึ่งการดําเนินงานดังกลาวหากใหไดผลดีควรเตรียมการลวงหนาและจัดทําเปนเอกสาร
แบบฟอรมตางๆ หรือเปน Commissioning Package เชน
o จัดทํา Check sheet กําหนดหัวขอที่จะตรวจสอบโดยหัวขอตางๆ จะตองระบุถึง Instruction
Manual, Drawing, รายการอุปกรณตางๆ ครบถวนหรือไม, รายการ Spare Part, Tool ตามที่กําหนดไวในสัญญา
และจําเปนตองมีไวสําหรับใชงานตอไป
o จัดทํา Instruction Sheet สําหรับงานตรวจสอบ, ความพรอมที่จะทดสอบหรือสําหรับงานบํารุง
รักษา
o จัดทําแบบฟอรมสําหรับเก็บขอมูลดาน Technical Data ของอุปกรณ และสวนประกอบ
o จัดทํา Program การบํารุงรักษาของอุปกรณนั้นๆ
กรณีมีรายการ Exceptional Items ซึ่งเปนความไมเรียบรอยของระบบหรืออุปกรณนั้น ๆ ควรจัดทําเปน
Site note เพื่อแจงตอผูรับผิดชอบทําการแกไขตอไปซึ่งในกรณีสัญญาเปน Turnkey ก็ควรแจงทางโครงการกอ
สราง เพื่อแจงทาง Contractor ดําเนินการแกไขตอไป

ในการออก Site note นั้น จะใชแบบฟอรมที่กําหนดโดยมีการลงชื่อโดย หัวหนาคณะทํางานและหัว


หนาคณะผูประสานงานสงตอหัวหนาหนวยฯ ของโครงการที่รับผิดชอบงานแตละดานโดยมีสําเนาใหทางผู
แทนผูประสานงานของโครงการ, บริษัทที่ปรึกษา กรณีเปนปญหาทางดาน Performance จะสรุปเสนอประธาน
Commissioning เพื่อแจงทางผูอํานวยการโครงการกอสรางฯ ดําเนินการตอไป

2.4 - 15
2.4 - 16
SEOUENCE OF BEGINNING AND ENDING OF WARRANTY PERIODS
(WARRANTY PERIOD CHART)

PAC.

Erection Commercial
Complete Operation
Synchronization

Performance Test Provisional


Acceptance
Final
Acceptance
Start up and Testing Trial Operation Warranty Period

Extended Warranty
For component Defect.
if required
Finish
Commercial Operation

2.4 - 17
ตัวอยาง
COMMISSIONING
Program
and
Commissioning Network

2.4 - 19
2.4 - 20
2.4 - 21
2.4 - 22
ตัวอยาง
Commissioning Schedules

2.4 - 23
2.4 - 24
2.4 - 25
2.4 - 26
คําถาม

1. การตรวจรับอุปกรณโรงไฟฟาที่สมบรูณ ควรจะประกอบไปดวยอะไรบาง?
2. จงใหความหมายของคําวา WALKDOWN INSPECTION?
3. จงใหความหมายของคําวา CAPABILITY TEST และ PERFORMANCE TEST?
4. จงอธิบายถึงระบบที่นํามาใชเพื่อสรางความปลอดภัย (SAFETY) ในงาน Commissioning ?
5. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากงาน Commissioning โรงไฟฟาฯ มีอะไรบาง และมีวิธี
การควบคุมปองกันอยางไร?

2.4 - 27
2.5 Plant Operation

2.5 - 1
งานเดินเครื่องโรงไฟฟา

สิ่งสําคัญของงานเดินเครื่องโรงไฟฟาในการผลิตพลังงานไฟฟา คือ การควบคุมความสมดุลของ


การใชพลังงาน (Energy Balance) ซึ่งเกี่ยวของกับระบบควบคุมยอยมากมายในวัฏจักร พนักงานเดินเครื่องรับรู
ขอมูล และควบคุมอุปกรณผานทางแผงควบคุม (Control Panel) หรือ Computerised Mean
รูปที่ 1 แสดงวัฏจักรการทํางานของกระบวนการในโรงไฟฟาพลังความรอน เชื้อเพลิงที่ปอนเขา
จะ ทําใหเกิดความรอนสงผาน Working Fluid (เชน น้ําบริสุทธิ์) จากวัฏจักร Ranking Cycle พลังงานความรอน
จะถูกแปรเปลี่ยนไปเปนพลังงานกลที่อุปกรณกังหันไอน้ํา (Turbine) และเปนพลังงานไฟฟาผาน Generator
พลังงานความรอนที่เหลือจากการเปลี่ยนเปนพลังงานกลจะถูกปลอยทิ้งผาน Condenser กระบวนการผลิตพลัง
งานไฟฟาเปนกระบวนการตอเนื่องที่ทุกๆ ภาระ (Load) ตองเกิดความสมดุลของพลังงานตลอดเวลา โดยการ
แปรเปลี่ยนของ Fluid Flow ที่ Load ตางๆ กัน

รูปที่ 1 Typical diagram of energy flow (Showing main controls)

กระบวนการทํางานที่สําคัญในการผลิตพลังงานไฟฟา เริ่มจากอากาศและเชื้อเพลิง (กาซธรรม


ชาติ, น้ํามัน, ถานหิน, ดินน้ํามัน, Biomass เปนตน) ปอนเขาสูหมอไอน้ํา (Boiler) เผาไหมทําใหไดไอน้ําที่ความ
ดันและอุณหภูมิตามตองการเพื่อหมุนกังหันไอน้ําและผลิตไฟฟา เมื่อกระบวนการผลิตอยูในสมดุลจากรูปที่ 2
Mass Flow ในสวนดังกลาวของรูปจะเกิดความพอดีที่ขณะหนึ่งๆ หาก Mass Flow ในสวนใดสวนหนึ่งเปลี่ยน
แปลงไป ก็จะทําให Control Parameter อื่น เปลี่ยนแปลงดวย

2.5 - 2
รูปที่ 2 Maintaining an energy balance by the control of mass flows

พนักงานเดินเครื่องสามารถรับรูการเปลี่ยนแปลงของสมดุลดังกลาวผานระบบควบคุมและหนา
จอแสดงผล

อุปกรณควบคุมอัตราการไหล
การที่จะรักษาความสมดุลในกระบวนการผลิตในโรงไฟฟาในรูปที่ 2 สามารถทําไดหลายทาง
คือ
1. Drive Motor ควบคุมโดย On-Off Switch
2. Pump, Fan หรืออุปกรณปอนเชื้อเพลิงอื่น เชน โมถานหิน, สายพานลําเลียงชีวมวลเขาหมอไอน้ํา
3. การออกแบบจะออกแบบระบบการควบคุมที่สามารถควบคุมอุปกรณใหทํางานแบบ Automatic
หรือ Manual หรือ Remote Control ของ Loop ตางๆ
4. เครื่องมือแสดงผลในกระบวนการ เชน Flow Meter, Pressure, Temperature ทั้ง Transmitter หรือ
gauge
5. จุดแสดงผล เชน หนาจอ CRT แผงควบคุมในหองควบคุม (Control Room) และระบบเก็บขอมูล
ตางๆ

2.5 - 3
ลักษณะของการควบคุมกระบวนการผลิตของโรงไฟฟาแบงไดหลายสภาวะ ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติ
การในแตละลักษณะก็แตกตางกันไป ตามปจจัยความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ลักษณะดังกลาวประกอบดวย

1. การเดินเครื่องในภาวะปกติ อุปกรณตางๆ ในกระบวนการจะทํางานอยางสอดคลองสัมพันธกันใน


ลักษณะสมดุล มีการปรับเปลี่ยน Flow ในกระบวนการใหพอเหมาะกับภาวะตางๆ ใหเปนไปตามที่
ผูผลิตออกแบบ
2. การเดินเครื่องในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation) การเดินเครื่องในลักษณะภาวะฉุกเฉิน
อาจแบงไดเปน 2 ระดับเหตุการณ คือ
2.1 นําอุปกรณเขาหรือออกจากการทํางานตามปกติ ทั้งนี้ในโรงไฟฟาสมัยใหมจะมีการเตรียม
การ และตรวจสอบ Parameter ตางๆ วาปกติทั้งกอนและหลังงานเปลี่ยนดังกลาว
2.2 หยุดอุปกรณทันทีกรณีที่พิจารณาแลววาหากไมนําออกจากการใชงานทันที อาจนํามาซึ่ง
ความเสียหายรายแรงตามมาได มักใชกับเหตุการณที่ Parameter ตางๆ เปลี่ยนไปจาก
Design อยางมาก อยางรวดเร็ว เปนตน

3. การเดินเครื่องโรงไฟฟาพลังจากการหยุดเครื่อง (Plant Start Up) เปนขั้นตอนที่มีความยุงยาก ซับ


ซอนขั้นตอนหนึ่ง โดยที่อุปกรณตางๆ จะตองถูกนําเขาใชงานตามลําดับกอนหลังอยางชัดเจน ตาม
ขั้นตอนการเดินเครื่อง (Procedure) ขั้นตอนลําดับในการเดินเครื่องโรงไฟฟาหลังจากการหยุด
เครื่อง Boiler, Turbine / Generator อธิบายไดดังนี้
3.1 Boiler
3.1.1 ตรวจสอบอุปกรณทั่วไปกอนการเดินเครื่อง อุปกรณจํานวนมากที่จะตองมีการตรวจ
สภาพความพรอมใชงาน กอนที่จะนําเขาใชงาน ทั้งนี้นอกจากสภาพอุปกรณภายนอกแลว (มอง
เห็นดวยตาสัมผัส) ยังตองมีการตรวจความพรอมในสวนของระบบควบคุม, ระบบปองกัน,
ระบบ Interlock มีการปดงานในระหวางหยุดเครื่องทุกอุปกรณแลว อุปกรณสําคัญในขั้นตอนนี้
ประกอบดวย
Boiler : Pressure Part มีการเติมน้ําเขาใน Wall Tabe ดวยน้ําที่มีคุณ
ภาพตามที่ระบุไวจนถึงระดับใชงาน
Fuel System
Control / Service Air
นําไฟเขาอุปกรณตางๆ เชน Pump, Valve, Damper, Sulenoid, Level
Switch เปนตน
Air Heater, Induced Draft Fan, Forced Draft Fan เปนตน
Boiler Circulating Water Pumps

2.5 - 4
Pressure Part : Drum Internal, Safety Valve
Vent & Drain Valve ตองอยูในตําแหนงที่ถูกตอง
Superheat De-Superheater System ทั้งใน Loop ของ Super Heater
และ Reheater
High Pressure / Low Pressure Bypass Valve
เครื่องมือควบคุม
ระบบเก็บตัวอยางคุณภาพน้ํา
ระบบตรวจจับกาซที่ปลอยออกจากโรงไฟฟา
ระบบอื่นๆ

3.1.2 Warm Up ระบบ เปนขั้นตอนในการควบคุมการเกิดความเครียด (Stress)


ในสวนตางๆ ของระบบ Boiler ซึ่งตองรับความรอนเพิ่มขึ้น เชน Wall Tube,
Drum, Header, Steam Pipe เปนตน โดยการควบคุมอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิที่
จุดตางๆ ผานการปอนเชื้อเพลิงเขาใน Boiler เพื่อไมใหอุณหภูมิ / ความดันเพิ่ม
เกินที่ผูผลิตออกแบบไว
ตัวอยาง ขีดจํากัดของการเพิ่มอุณหภูมิ และความดันในชวงการจาย Steam
เชน
Superheater Metal Temp Charge ไมเกิน 55°C / hr
Drum inner / Outer Metal Temp Diff. Temp 55°C max
Tube Metal Temp 500°C Max
3.2 การเดินเครื่อง Turbine-Generator
ขั้นตอนการเดินเครื่องของ T/G จะตองมีการเตรียมการคลายกับที่ไดกลาวแลวในสวน
ของ Boiler โดยมีการเดินอุปกรณสําคัญๆ เชน
Circulating Water System
Feedwater System Condensate System
Auxiliary Plant Equipment
Seal Oil System
Turbine Lubricating Oil, Control Oil, Turning Gear
Condenser Vacuum System
Cooler ตางๆ
3.2.1 Turbine Run Up Steam ที่ใชในการขับเคลื่อนกังหันไอน้ํา จะตองมีอุณหภูมิ
และความดันที่เหมาะสม รวมทั้งอัตราการเพิ่มของ Steam Temp ในชวง

2.5 - 5
Start Up Turbine จะตองควบคุมใหเปนไปตามที่บริษัทผูผลิตกําหนด เชน
อุณหภูมิเพิ่มดวยอัตราไมเกิน 220°C / ชั่วโมง, ความดันคงที่ เปนตน หาก
อุณหภูมิของ Turbine Rotor ยังไมไดตามที่กําหนด จะตองทําการ Heat Soak
ตอ กอนที่จะทํา Step ตอไป
ในชวงการเปลี่ยนแปลง Load หรือ Speed ของ Turbine จะตองทําการ
Confirm คา Parameter ตางๆ ใหอยูในคากําหนด เชน

- คา Differential Expansion


- คา Bearing & Shaft Vibration
ในการเพิ่ม Load จนถึงชวงจาย Load ปกติของ Turbine / Generator จะตอง
ตรวจสอบ Parameter ตางๆ ใหอยูในชวงปกติตลอดเวลา และดูแลอยางใกลชิด
นอกจากการดูแลตัว Main Turbine แลว จําเปนตองตรวจสอบและควบคุมคุณ
ภาพน้ํา ใหคาอยูในเกณฑตลอดเวลา เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาระยะยาวที่อาจเกิดกับ
Boiler หรือ สวนอื่นๆ ได

3.2.2 การหยุดเดินเครื่อง Turbine – Generator


ขั้นตอนการหยุดเดินเครื่อง Turbine Generator จะกลับกับในชวง Start Up
และ Loading โดยเริ่มตนตั้งแตการลด Load ไปจนถึง การปลดเครื่องออกจาก
ระบบเดิน Turning Gear หยุดอุปกรณที่ไมจําเปนตามลําดับ
4. งาน Routine สําหรับงานเดินเครื่องโรงไฟฟา
งานในสวนของการเดินเครื่องโรงไฟฟาในชวงปกติ นอกจากการขึ้น Load หรือลด Load ตาม
ที่ระบบตองการแลว พนักงานเดินเครื่อง หากเปรียบกับพนักงานขับรถก็จะตองรูสภาพของรถยนต
ที่ตนเองขับอยู เพราะเปนผูอยูใกลชิดกับเครื่องจักรตลอดเวลา ดังนั้นจึงตองดําเนินการในเรื่อง
สําคัญๆ ดังนี้
4.1 ตรวจสอบสภาพทั่วไปของอุปกรณ และแจงผูเกี่ยวของติดตามหรือแกไขกอนที่จะเกิดเปน
ปญหาใหญขึ้น โดยอาจมีการลงขอมูลในสมุดเก็บขอมูล (Log Book) การออก Trouble
Report การรับรูสภาพแวดลอมภายนอกที่อาจมีผลกระทบกับการเดินเครื่องโรงไฟฟา เชน
สภาพสายสงไฟฟา, สภาพ Fuel Gas, ตลอดจนสภาวะอากาศรอบขาง
4.2 การเปลี่ยนและสลับตัวเดินอุปกรณ เพื่อการทํางานระบบปองกัน (Preventive Maintanace)
4.3 ทดสอบ Function ของอุปกรณ ในระหวางการเดินเครื่องปกติ จะมีการทดสอบ Function
การทํางานของอุปกรณในระบบตามที่บริษัทผูกําหนด เพื่อใหมั่นใจวา Function เหลานั้นยัง
ทํางานไดตามที่ออกแบบไว

2.5 - 6
4.4 งานเพิ่มพูนความรูพนักงาน Shift Charge Engineer จะมีหนาที่ในการพัฒนาบุคลากร, หัว
หนามีหนาที่ถายทอดความรูใหแกผูปฏิบัติงาน หาจุดออนของแตละบุคคล พัฒนา / อบรมให
เพียงพอ มีการสรุปหาขอสรุปของขั้นตอนการทํางานใหถูกตองเปนมาตรฐาน

5. งาน Efficiency Control


นอกจากการตรวจตราดูแลอุปกรณตางๆใหทํางานไดเปนปกติแลว พนักงานเดิน
เครื่องยังตองสามารถดูแลติดตามเรื่องที่สะทอนถึงการทํา Plant Optimisation ไดดวย อัน
ประกอบดวย
5.1 สามารถจายพลังงานไฟฟาใหแกระบบไดตามที่ไดรับการรองขอ
5.2 ตรวจสอบสัญญาณเตือนผิดปกติ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบในโรงไฟฟา สามารถ
Take Action ตอความผิดปกติตางๆ ได อยางรวดเร็ว ถูกตอง.
5.3 ตรวจตราการใชน้ําในระบบได
5.4 ตรวจตราการทํางานของระบบควบคุมของแผงควบคุม
5.5 ตรวจตราระบบควบคุมหมอไอน้ํา
5.6 ตรวจตราการปลอยสาร และอากาศที่เหลือจากการเผาไหมสูภายนอก ใหอยูในคา
กําหนดของกฎหมาย
5.7 ตรวจตราคุณภาพของ Cooling Tower Basin ที่ปลอยผานระบบ Bleeding อยูใน
ขอกําหนดของกฎหมาย
5.8 มั่นใจวา Log Book ในทุกจุดทํางานมีขอมูลละเอียดเพียงพอ และสามารถนํามา
เปนขอมูลอางอิงไดตลอดเวลา
5.9 นอกจากนี้ยังตองดูแลการทํางานของอุปกรณตางๆ ใหเปนปกติตลอดเวลา
ตรวจสอบความผิดปกติที่ระบบ Bearing ตางๆ ของอุปกรณ
ตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเบื้องตน โดยดูจากสี ความหนืด เปนตน
ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ํามันที่จุดตางๆ
ตรวจสอบระดับน้ํามันของหมอแปลง
ตรวจสอบระบบดับเพลิง
ตรวจสอบความพรอมใชงานของระบบ Battery Backup
ตรวจสอบระบบ Lighting โดยเฉพาะระบบไฟแสงสวาง
ตรวจสอบ Steam หรือน้ํารั่วไหล ตลอดจนความสูญเสียอื่นๆ
เสนอแนะงานที่เกิดประโยชนตางๆรวมทั้งงานอนุรักษพลังงาน

2.5 - 7
บรรณานุกรม

1. Modern Power Station Practice


2nd Revised and Enlarged Edition Volume7 Operation and Efficiency
Published on Behalf of the Central Electricity Generating Board

2. Combustion Fossil Power


A Reference Book on Fuel Burning and steam Generation Editor. Joseph G. Singer, P.E. 1991

2.5 - 8
2.5.1 Gas Turbine Protection

2.5.1 - 1
Gas Turbine Protection
GE Gas Turbine รุน MS-9001 FA มีระบบปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจะถูกแบงเปน 2 สวน
หลักๆดังนี้
1. Automatic Shutdown ( L94AX )
2. Master Protective /Turbine Trip
สัญญาณ Automatic Shutdown ( L94AX ) ที่ทําการสั่งลด Load Gas Turbine จนกระทั่ง Fire
Shutdown
- Turb inlet air pressure - excessive press drop ( L63TFH) สัญญาณนี้จะใชในการตรวจการ Flow
ของ Inlet Air Flow ที่ Gas Turbine จะใชในการเผาไหมซึ่งอาจเปนสาเหตุของการทําใหเกิด Fuel Richและยัง
เปนตัวปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจาก Filter ตันถา Compressor Gas Turbine ยังคงดูดอยูอาจมีความเสีย
หาย Duct ไดโดยติดตั้งเปน Pressure Switch 3 ตัว หลัง Air Inlet Filter โดยจะใช 2 ใน 3 เปนตัวสั่ง Shutdown
- Gas Purge Fault Shutdown (L94DLN) สัญญาณนี้จะใชในการตรวจสอบชวงการเปลี่ยน Mode
เชื้อเพลิง จะตองทํางานถูกตอง เพื่อปองกันการเกิดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับ หัว Nozzle ที่ใน
ขณะที่ไมใชงานจะตองมี ลมPurge ตลอดเวลา
- Dry Low Nox System Fired Shutdown( L94DLN ) สัญญาณนี้จะประกอบไปดวย 3 สัญญาณ
เพื่อปองกันการเสียหายที่เกิดขึ้นจาก Back Flow ของ Hot Gas มีดังนี้
- WTR INJ PURGE BACK FLOW-FIRED SHUT DOWN ( L94WP )
- Atomizing Air Temperature > High ( L26AAH_ALM )
- Atom. Air Press. Very Low Fire Shutdown ( L94AAPRVL )
- Low Gas Press/Low Liquid Flow (L94FGL) สัญญาณนี้จะใชในการตรวจในกรณีที่ Fuel Gas
Press. Low จะมี Command สั่ง Change Fuel เปน Liquid และจะเริ่มการตรวจสอบถามีเงื่อนไขใด
มาดังนี้จะทําการ Auto Shutdown
- ขณะที่ Fuel Gas Pressure Low ไมมี Command สั่ง Selected Liquid
- Aux Stop Valve Position Problem ( L94FGL1 ) สัญญาณนี้จะใชในการตรวจความผิด
ปกติที่เกิดขึ้นกับ Stop Valve จะตอง Open สุดถา Valve เปดไมสุด หรือ ปดลงมา จะมี
Alarm “Aux Stop Valve Position Trouble”
- หลังจากมี Command Fuel Tranfer เปน Liquid ภายในเวลาเวลาที่กําหนด Liquid Fuel Flow
นอยกวาที่กําหนดจะมี Command Auto Shutdown
- Load Tunnel Temp High Shutdown ( L94LTH ) สัญญาณนี้จะใชในการตรวจการรุกไหมใน
บริเวณ Bearing 2 ( Exhaust Diffuser )โดยใช Temperature Swicth เปนตัวตรวจสอบจะตองนอย
กวาคาที่กําหนด

2.5.1 - 2
- Fire Detected in Any Zone ( L94FPX ) สัญญาณนี้จะตรวจจับอุณหภูมิใน Compartment จาก
ระบบตางๆดังนี้
- Fire prot release aux relay zone #1 จะตรวจจับบริเวณ Fuel gas Compartment , Turbine
Compartment
- Fire prot release aux relay zone #2 จะตรวจจับบริเวณ No.2 Bearing Tunnel
- Fire prot release aux relay zone #3 จะตรวจจับบริเวณ Lube Oil /Hydralic Compartment
- Fire prot release aux relay zone #4 จะตรวจจับบริเวณ Liquid Fuel /Atom Air Module
- Fire prot release aux relay zone #5 จะตรวจจับบริเวณ BAC Module
- Fuel Gas Temp > High High ( L26HHFTG ) สัญญาณนี้จะใชในการตรวจ Temperature ของ
Fuel Gasตองนอยกวาคาที่กําหนดถามากกวาจะมีคําสั่ง Shutdown และจะมี Alarm เตือนกอน

2.5.1 - 3
2.5.1 - 4
2.5.1 - 5
2.5.1 - 6
สัญญาณ Master Protective /Turbine Trip ( L4T )
มีหนาที่สั่งหยุดเครื่องเมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉินหรือความผิดปกติซึ่งอาจทําให Gas Turbine เสียหายได
จะประกอบไปดวยสัญญาณดังนี้
Protective Status Trip ( L4PST ) สัญญาณนี้จะ Interlock โดยในชวง Start-up ซึ่งจะตองไม Trip คาง
อยูโดยมีสัญญาณหลักดังนี้
- Low Lube oil Pressure Trip ( L63QT ) Lube Oil Pressure Disch. จะตองมากวาคาที่
กําหนด
- L45FTX ( Fire Indication Trip ) จะตองไมมีสัญญาณ Fire Trip คางหรือระบบ Fire Protection
พรอมใชงาน
- Generator Differantial Trip Lockout (L86TGT)
- Transfermer Difference Trip Lockout (L86T1A,2A)
- Exhaust Pressure High Trip (L63ETH) Exhaust Pressure จะติดตั้งที่บริเวณดานทางออก แตจะอยู
กอน Silencer เพื่อปองกัน Back Pressure ที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากมีอุปกรณเสียหายขีดขวางทางออก
หรือ Silencer เสียหาย
- High Vibration Level –Trip (L39Vtrip) ระบบ Protection Gas Turbine จะมีการวัดการสั่นสะเทือน
ของ Gas Turbine จะตองไมมากกวาที่กําหนด โดยจะมีจุดวัดตาม Bearing ตางๆ
- Startup Fuel Flow Excessive Trip ( L2SFT ) ระบบจะตรวจสอบในชวงแรกของการ Start up การ
เพิ่มของเชื้อเพลิงจะตองไมมากกวาที่กําหนดโดยถาเปนเชื้อเพลิง Gas จะตองไมเกิน 15% FSR และ
ถาเปนเชื้อเพลิง Liquid จะตองไมเกิน 11 % FSR เพื่อปองกันการเผาไหมที่ไมสมบูรณซึ่งอาจ
สาเหตุของการสะสมของเชื้อเพลิงที่มาไดเผาไหม
- Customer Trip( L4CT ) โดยมากจะมีที่ Control Room เพื่อให Operator เปนผูตัดสินใจในการ Trip
Unit ในกรณีฉุกเฉินเชนเกิดไฟไหมบริเวณขางเคียง หรือมีเหตุการณที่อาจเปนอันตรายได
- Control Speed Sgnal Loss ( L12HF) ซึ่งเปน สัญญาณ วัด Speed ของ Gas Turbine จะใชในการ
Control และ Portection Overspeed Trip ถาวัดไมไดหรือผิดเพี้ยนอาจทําใหเกิดความเสียในการ
ควบคุมเชื้อเพลิง
- ตรวจสอบสัญญาณ Control Valve เชื้อเพลิงหลัก Command และ Feedback จะตองไมตางกันเกิน
กวาคาที่กําหนด นานเกิน 10 วินาที

2.5.1 - 7
Pre-Ignition Trip ( L4PRET ) สัญญาณนี้จะใชในสวนตรวจสอบชวงกอนจุดเปลวไฟ อยูโดยมี
สัญญาณหลักดังนี้
- Auxiliary Check (L3ACS) จะทําการตรวจสอบ ความผิดปกติของ Control Valve กอนนําเขาใช
งานเชน
- ในกรณีที่เลือกเชื้อเพลิง Gas Logic จะทําการตรวจสอบ Feedback , Current Control Valve ที่
เกี่ยวของดังนี้ L3GRVFLT ( Gas Ratio Valve Position Servo Trouble ), L3GCVFLT (Gas Control
Valve Servo Trouble ), L3GCVSFLT (PM1 Gas Control Valve Servo Trouble), L3GCVQFLT (PM4
Gas Control Valve Servo Trouble), L3GPVFLT (GAS PREMIX/TRIM Valve Servo Trouble)
-ในกรณีที่เลือกเชื้อเพลิง Liquid Logic จะทําการตรวจสอบ Feedback , Current ที่เกี่ยวของดัง
นี้ FAL (Liq fuel bypass valve servo current) ,FQL1 (Flow divider mag pickup-speed)
- Emergency Lube Oil Pump Under Voltage ( L27QEL) โดยการ Self Test กอนการ Start
และตรวจสอบ Under Voltage
Starting Device Trip (L3SMT) สัญญาณนี้จะใชในชวงการ Start-up เพิ่ม Speed ตั้งแต Min. Speed
จนกระทั่ง 95 % Speed โดยมีสัญญาณที่นาสนใจดังนี้
- Static Starter bogged Down alarm (L60SSBOGTRIP) โดยในขณะที่ LCI ทํางานและ Static start
make torque command Speed จะตองไมลดลงนานเกิน 45 Sec.
- Starting Device Bogged Down (L60BOG) Speed จะตองไมลดต่ําลงมาเกินคาที่กําหนด
- Static Stater Shutdown (L94SSX ) ในขณะทําการ Start-up อยูในชวงใชงาน LCI มี Command
LCI Shutdown
- ในชวง Start EX2000 ผิดปกติ Generator File Volt นอยกวาคาที่กําหนด
Post Ignition Trip ( L4POST ) สัญญาณนี้จะใชในสวนตรวจสอบหลังจุดเปลวไฟ อยูโดยมีสัญญาณ
หลักดังนี้
- Loss Of Flame Trip (L28FDT ) จะมี Flame Detector เปนตัวจับเปลวไฟอยู 4 หัวและจะตองจับ
เปลวไฟใหไดมากกวาหรือเทากับ 2ใน 4 หัว
- High Exhaust Temp Spread Trip (L30SPT ) สัญญาณนี้นําเอา Exhaust Temp มาเปนตัวบงชี้ความ
ผิดปกติในการเผาไหมแตละ Combustor โดยมีเงื่อนไขการ Trip ไดหลายเงื่อนไขพอสรุปไดดังนี้
ทําการคํานวณหา TTXSPL (Combustion Monitor Allowable Spread )

2.5.1 - 8
จากสูตร TTXSPL = ( 0.145 TTXM – 0.08 x CTDA + 30 ) Deg F
TTXM = Exhaust Temp Median Corrected by Average
CTDA = Comp Discharge Temp
เมื่อไดคาขอ TTXSPL แลวขั้นตอนตอไปจะนําเอา Exhaust Tempแตละหัวมาจัดเรียงหาคาสูง
สุด อันดับ 1 และ ต่ําสุดอันดับ 1,2,3 โดยคาสูงสุดและต่ําสุดจะตองไมแตกตางกวาที่กําหนดยัง
มองถึงจะตองไมเปนหัวขางเคียงกัน
- Load Tunnel Temp High Trip (L30LTT ) สัญญาณนี้จะมีไวเพื่อปองกันความเสียหายในสวนของ
Bearing No.2 โดยจะนําเอาสัญญาณ Load Tunnel Inner Barrel Temp (TTIB ) จะตองมีอุณหภูมิ
นอยกวาที่กําหนด
- Exhaust Overtemp Trip (L86TXT) สัญญาณนี้จะมีไวเพื่อปองกันความเสียหายในสวนของ Hot
Gas Path โดยจะนําเอาสัญญาณ Exhaust Temp Average ( TTXM ) มาเปรียบเทียบจะตองมี
อุณหภูมินอยกวาที่กําหนด
- Exhaust TC Open Trip (L86TFB) สัญญาณนี้จะมีไวเพื่อปองกันความเสียหายเนื่องมาจาก ตัววัด
สัญญาณอุณหภูมิ Exhaust Temp ซึ่งจะใชในการ ควบคุมและ Protection ไมอยูในสภาวะพรอมใช
งาน โดยจะนําเอาสัญญาณ Exhaust Temp Average (TTXM) มาเปรียบเทียบจะตองมีอุณหภูมิมาก
กวาที่กําหนด
- Compressor Bleed Valve Position Ttouble Trip (L86CBT) จะสัญญาณชวงที Speed ต่ํากวา 95
% Rated Speed จะคําสั่งให Open Bleed Valve ทั้ง 4 ตัว เพื่อปองกันการอั้นของลมในสวนของ
Compressor ซึ่งจะเปนสาเหตุของ การเกิด Pulsation และ Vibration ตามมา
Post Ignition Trip Auxiliary (L4POSTX) จะประกอบไปดวยหลักๆอยู 4 สัญญาณดังนี้
- Electrical Overspeed Trip (L12H) คา Setpoint จะอยูที่ระบบ Control 112.5% Rated Speed (
100%Rated Speed=3000 RPM. )
- Lube Oil Header High Temp Trip (L26QT ) ถาอุณหภูมิของ Lube Oil มากกวาที่กําหนด
- หลังจากผานเวลาการจุดเปลวไฟระบบจะตรวจสอบ Lube Oil Supply ที่ใชในการควบคุม Trip
Valve ดังนี้คือ
1. Liq. Fuel Hydralic Trip Pressure Low
2. Gas Fuel Hydralic Trip Pressure Low
- L4DLNT ( Dry Low Nox System Trip )จะประกอบไปดวยหลักๆอยู 4 สัญญาณดังนี้
1.L3TFLT ( Loss Of Compressor Discharge Press. Bias ) คือ CPD อานคาไดนอย
กวาคาที่กําหนด
2.ในขณะ Turbine Speed นอยกวา 95 %Speed ระบบตรวจพบ Water Inject Purge
Back Flow-Fired Shutdow (L94WP)

2.5.1 - 9
3.ในขณะ Turbine Speed นอยกวา 95 %Speed ระบบตรวจพบ Atomizing Air
Temperature High มากกวา 2ใน3 ของตัววัด
L4IGVT ( Inlet Guide Vane Control Trouble Trip ) สัญญาณนี้จะแบงออกเปน 2 สัญญาณคือ
- IGV. Not Folloeing CSRGV Trip ( L86GVT ) ตรวจสอบสัญญาณ Control IGV. ในชวง Speed
ต่ํากวา 95 % Rated Speed Command และ Feedback จะตองไมตางกันเกินกวาคาทีกําหนด
- Turbine Compressor Sol Vlv Control Signal Aux (L4IGVTX)ในชวง Turbine Speed มากกวา 95
% Rate Speed IGV.จะตองเปดมากกวาคาที่กําหนด
External Trip ( L5E_TECA) จะสัญญาณที่สั่ง Trip จาก Balance Of Plant หรือ อุปกรณตอรวมเชน
HRSG. ( Heat Recovery Steam Generating ) โดยอาจนําเอาสัญญาณ Trip HRSG.สั่งปด Diverter Damper แต
Damper ไมปดสุด จะสั่ง Trip Gas Turbine เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับ HRSG.

2.5.1 - 10
2.5.1 - 11
2.5.1 - 12
2.5.1 - 13
2.5.1 - 14
2.5.1 - 15
2.5.1 - 16
2.5.1 - 17
2.5.1 - 18
2.5.1 - 19
2.5.1.1 Steam Turbine Protection

2.5.1.1 - 1
Steam Turbine Protection
ระบบ Steam Turbine Protection ของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม จะมีลักษณะคลายๆ กับโรงไฟ
ฟาพลังความรอนทั่วๆไป จุดประสงคหลักเพื่อทําหนาที่ Trip Steam Turbine โดยการปด Turbine Main Steam
Stop Valve ตัดการไหลของ Steam ที่เขาสู Turbine
โรงไฟฟาพลังความรอนรวม หรือ Combined Cycle Power Plant มีอุปกรณหลักที่สําคัญดังนี้
1. Gas Turbine Generator (เครื่องกําเนิดไฟฟากังหันกาซเทอรบายน )
2. Boiler and Balance Of Plant หรือ เรียกอีกอยางวา HRSG (Heat Recovery Steam Generation
(หมอไอน้ํา)
3. Steam Turbine (กังหันไอน้ํา)
ในการออกแบบโครงสรางและติดตั้งอุปกรณของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม สามารถแบงไดเปน 2 แบบ คือ
1. ระบบ Single Shaft Combined Cycle Power Plant
2. ระบบ Multi Shaft Combined Cycle Power Plant
Single Shaft Combined Cycle Power Plant
การออกแบบการติดตั้งของอุปกรณ จะเปน Shaft เดี่ยว หมายถึง Gas Turbine Generator และ
Steam Turbine Generator จะอยูใน Shaft เดียวกัน Generator จะใชรวมกัน (ดังรูป)

Steam
SHAFT
Combustion

Generator Boiler

Steam Turbine Generator Gas Turbine Exhaust

Single Shaft Combined Cycle Power Plant

Multi Shaft Combined Cycle Power Plant การออกแบบการติดตั้งของอุปกรณ จะมีหลาย


Shaft หมายถึง Gas turbine Generator และ Steam Turbine
Generator Shaft จะแยกกันอิสระ เชนออกแบบโดยใช Ratio 1 : 1 , 1 : 2 , หรือ 1 : 4

2.5.1.1 - 2
Ratio 1 : 1 หมายถึงโรงไฟฟา Combined Cycle ประกอบดวย 1 Gas Turbine , 1 HRSG หรือ Boiler และ
1 Stream Turbine
Ratio 2 : 1 หมายถึงโรงไฟฟา Combined Cycle ประกอบดวย 2 Gas Turbine , 2 HRSG หรือ Boiler และ
1 Stream Turbine
Ratio 4 : 1 หมายถึงโรงไฟฟา Combined Cycle ประกอบดวย 1 Gas Turbine , 1 HRSG หรือ Boiler และ
1 Stream Turbine
Steam

Gen Gen

1 Gas Turbine 1 Boiler / HRSG 1 Steam Turbine


รูปแสดงโครงสรางของโรงไฟฟา Combined Cycle Ratio 1 : 1

Steam

Gen

Generator
GAS Turbine - 1
Boiler / HRSG-1

Steam Turbine-1
Gen

Gas Turbine-2
Boiler / HRSG-2

รูปแสดงโครงสรางของโรงไฟฟา Combined Cycle Ratio 2 : 1

2.5.1.1 - 3
GAS Turbine - 1
Boiler / HRSG-1

Gas Turbine-2
Generator
Boiler / HRSG-2

Steam Turbine-1

Gas Turbine-3
Boiler / HRSG - 3

Gas Turbine-4
Boiler / HRSG -4

รูปแสดงโครงสรางของโรงไฟฟา Combined Cycle Ratio 4 : 1

2.5.1.1 - 4
เมื่อมองในภาพรวมแลวจะเห็นไดวา ระบบปองกันหรือ Protection ของ Steam Turbine จะมีสวนที่
ของกันอยู 3 สวน ไดแก 1.Gas Turbine , 2 Boiler หรือ HRSG และ 3. Steam Turbine

Gas Turbine Boiler / HRSG


Protection Protection

Steam Turbine
Protection Trip Trip Steam Turbine
Device

Generator &
Electrical Trip
Device

Block Diagram Function Steam Turbine Protection Combined Cycle Power Plant

สัญญาณ Gas Turbine Master Protection Trip


จะทําหนาที่สั่ง Shut Down หรือหยุดเครื่อง Gas Turbine เมื่อมีเหตุการณผิดปกติหรือเกิดเหตุฉุก
เฉิน เพื่อปองกันมิให Gas Turbine และอุปกรณสว นอื่นเกิดการเสียหาย และจะเอาคําสั่งนี้ไปสั่ง Trip หรือ หยุด
การทํางานของ Boiler และ Steam Turbine ในที่นี้หมายถึงวาถาโรงไฟฟา Combined Cycle ถูกออกแบบเปน
Single Shaft หรือเปนแบบ Multi Shaft ที่ Ratio 1 : 1 คือประกอบดวย 1 Gas turbine , 1 HRSG และ 1 Steam
Turbine ถามีคําสั่ง Trip GasTurbine คําสั่งนี้จะไปสั่งให Trip Steam Turbine ดวย แตถาโรงไฟฟา Combined
Cycle ถูกออกแบบเปนแบบ Multi Shaft ที่ Ratio 2 : 1 คือประกอบดวย 2 Gas turbine , 2 HRSG และ 1 Steam
Turbine เมื่อมีคําสั่ง Trip Gas Turbine ตัวใดตัวหนึ่ง คําสั่งนี้จะไมสั่ง Trip Steam แตจะสั่ง Trip HRSG (Heat
Recovery Steam Generate ) หรือ Boiler ตัวที่ตออยูกบั Gas Turbine ตัวนัน้ เทานั้น สวน Steam Turbine ยัง

2.5.1.1 - 5
สามารถจาย Load อยูได 50 % จาก Gas Turbine ตัวทีเ่ หลืออยู เชนโรงไฟฟา Combined Cycle ออกแบบเปน
ระบบ Multi Shaft Ratio 2 : 1 ประกอบดวย Gas Turbine 2 ตัว
คือ Gas Turbine -1A และ Gas Turbine -1B , Boiler 2 ตัว คือ Boiler -1A และ Boiler – 1B และ Steam Turbine
1 ตัว เมื่อมีคําสั่ง Trip Gas Turbine – 1A คําสั่งนี้จะไปสั่ง Trip Boiler – 1A ออกจากระบบ แต Steam Turbine
ยังสามารถจาย Load ได จาก Gas Turbine – 1B และ Boiler – 1B เปนตน
1. Function Command สั่ง Trip Gas Turbine หรือหยุดเครื่องโดยทัว่ ๆไปจะมี Command หลักๆ
ดังตอไปนี้
1.1. Emergency Push Button Trip เปนปุมกดสั่ง Trip หรือหยุดเครื่องฉุกเฉินกรณีมีเหตุการณเกิด
ขึ้นซึ่งจะใหเกิดการเสียหายตอ Gas Turbineหรืออุปกรณอื่นๆ
1.2. Over Speed Trip เปนสัญญาณสั่ง Trip Gas Turbine เมื่อความเร็วรอบของ Gas Turbine สูง
กวากําหนดซึ่งจะมี 2 สัญญาณ คือ Primary Over Speed Trip และ Back-Up Over Speed Trip ซึ่งตั้งคาไวอยูที่
110 % และ 115 % Speed ตามลําดับ
1.3. Lube Oil Pressure Low Trip Lube oil ทําหนาที่ 2 อยางคือ 1. ทําหนาที่หลอลื่นหนาสัมผัส
ระหวาง Shaft และ Bearing เพื่อลดการเสียดสี ทําให Shaft ลอยตัวจากหนาสัมผัสของ Bearing 2. ทําหนาที่เปน
ตัว Cooling หรือหลอเย็นใหกบั Bearing และ Shaft ถาเกิด Lube oil มี Pressure หรือความดันไมเพียงพอจะทํา
ใหเกิดความเสียหายตอ Bearing และ Turbine Shaft ได
1.4. Hydraulic Oil Pressure Low Trip Hydraulic Oil จะมีความดันสูงทําหนาที่ ปด-เปด IGV
(Inlet Guide Van) ของ Turbine Compressor เพื่อควบคุมอากาศเขาหองเผาไหมของ Gas Turbine และยังทําหนา
ที่ ปด – เปด Valve เชื้อเพลิงเพื่อเขาหองเผาไหม
1.5. Fire Protection Trip ทําหนาที่ตรวจจับสัญญาณการเกิดเพลิงไหมในสวนใดสวนหนึ่งของ
Gas Turbine โดยใช Smoke Sensor และ Heat Detector เปนตัวตรวจจับ
1.6. High Vibration Trip ทําหนาปองกัน Gas Turbine ไมใหเกิดการเสียหายจากการสัน่ สะเทือน
เพราะอาจทําให Moving Part กับ Stationary Part เสียดสีกัน
1.7. Exhaust Pressure High Trip ปองกันความดันยอนกลับที่ออกจาก Gas Turbine Exhaust ซึ่ง
จะทําให Gas Turbine เสียหายได
1.8. Fuel Flow Excessive Trip เพื่อปองกันไมใหเชื้อเพลิงมากกวาที่กําหนด ซึ่งจะทําใหเกิดการ
เผาไหมที่สมบูรณ และอาจจะทําใหเกิดการ Explosion ภายใน Gas Turbine Combustion ได
1.9. Control Speed Signal Loss เปนสัญญาณที่วดั Speed ของเครื่อง Gas Turbine ซึ่งสวนมาก
แลว Gas Turbine จะใช Speed เปนตัวควบคุมการเผาไหมและงานทํางานของอุปกรณหลายอยาง ถา Speed
Signal ทํางานไมเที่ยงตรง จะสงผลให Gas Turbine ทํางานผิดปกติและเสียหาย
1.10. Loss Of Flame Trip ทําหนาที่ตรวจจับภายในหองเผาไหมของ Gas Turbine

2.5.1.1 - 6
1.11.High Exhaust Temp Spread Trip ทําหนาที่ตรวจจับสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นในหองเผาไหม
ซึ่งจะทําใหสวนของในหองเผาไหมเสียหาย
1.12.Exhaust Over Temp High Trip ปองกันการเสียหายในสวนของ Combustion Part
1.13.Generator Differential Lock out Relay Trip
1.14.Transformer Differential Lock out Relay Trip
1.15.External Trip เปนสัญญาณที่มาสั่ง Gas Turbine ที่รวมใชงาน เชน Boiler ซึ่งจะเปนการ
ปองกันไมให Boiler หรือ HRSG (Heat Recovery Steam Generation )เสียหาย

2. Function Command สั่ง Trip Boiler หรือ HRSG (Heat Recovery Steam Generation ) หรือ
หยุดเครื่อง โดยทั่วๆไปจะมี Command หลักๆ ดังตอไปนี้
2.1. Emergency Push Button Trip เปนปุมกดสั่ง Trip หรือหยุดเครื่องฉุกเฉินกรณีมีเหตุการณเกิด
ขึ้นซึ่งจะใหเกิดการเสียหายตอ Boiler หรือ Steam Turbineหรืออุปกรณอื่นๆ
2.2. Gas Turbine Trip เมื่อ Gas Turbine Trip จากสัญญาณ Protection ที่กลาวมา จะสั่งให Boiler
Trip ดวย
2.3. High Pressure. (HP.) Drum Level Low Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน Tube
ของ Boiler ในสวนของ High Pressure Part
2.4. Intermediate Pressure.(IP.) Drum Level Low Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน
Tube ของ Boiler ในสวนของ Intermediate Pressure Part
2.5. Low Pressure.(LP.) Drum Level Low Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน Tube ของ
Boiler ในสวนของ Low Pressure Part
2.6. High Pressure. (HP.) Drum Level High Trip เพื่อปองการ Steam Carry Over ทําใหนา้ํ
ปะปนไปกับ Steam ไปกระทบ Steam Turbine Blade ทําให Turbine เสียหาย
2.7. Intermediate Pressure. (IP.) Drum Level High Tripเพื่อปองการ Steam Carry Over
2.8. Low Pressure. (LP.) Drum Level High Tripเพื่อปองการ Steam Carry Over
2.9. Condenser Hot Well Level High Trip เพื่อปองกันการ Condense ของ Steam และปองกัน
การเปน Vacuum ใน Condenser Hot Well
2.10. Condenser Hot Well Level Low Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน Boiler
2.11. Main Steam & Hot Reheat Temp High Trip ปองกัน Steam Turbine Blade ไมใหเสียจาก
การที่ Steam สูงเกินคาที่กําหนดไว
2.12. HRSG / Boiler Stack Temp High Trip ปองกัน Boiler Tube เกิดการ Over Heat เนื่องจาก
การถายเทความรอนภายใน Boiler ไมดีพอ

2.5.1.1 - 7
2.13. All Boiler Feed Pump Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน Boiler
2.14. All Condensate Pump Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน Boiler
2.15. All Circulating Water Pump Trip เพื่อปองกันการเกิด Overheat ภายใน Condenserและ
การเปน Vacuum ของ Condenser ซึ่งจะทําให Steam Turbine เสียหาย
2.16. All Boiler Circulating Pump Trip กรณีถา Boiler เปนแบบ Force Circulation เพื่อปองกัน
Boiler Tube เสียหาย เมื่อไมมีน้ําไหลเวียนระหวาง Boiler Drum กับ Down comer Header

3. Function Command สั่ง Trip Steam Turbine หรือหยุดเครื่อง โดยทั่วๆไปจะมี Command


หลักๆ ดังตอไปนี้
3.1. Emergency Push Button Trip เปนปุมกดสั่ง Trip หรือหยุดเครื่องฉุกเฉินกรณีมีเหตุการณเกิด
ขึ้นซึ่งจะใหเกิดการเสียหายตอ Steam Turbineหรืออุปกรณอื่นๆ ซึ่งจะถูกติดตั้งอยางนอย 2 ที่คือที่ Main
Control Room หรือหองควบคุมการเดินเครื่อง กับที่ Front Standard ที่หัว Stream Turbine ดาน High Pressure
Turbine
3.2. Boiler หรือ HRSG (Heat Recovery Steam Generation) Trip
3.3. Over Speed Trip เปนสัญญาณสั่ง Trip Steam Turbine เมื่อความเร็วรอบของ Steam Turbine
สูงกวากําหนดซึ่งจะมี 2 สัญญาณ คือ Primary Over Speed Trip และ Back-Up Over Speed Trip ซึ่งตั้งคาไวอยูที่
110 % และ 115 % Speed ตามลําดับ สาเหตุเมื่อ Steam Turbine หมุนดวยความเร็วที่สูงกวากําหนดมาก ๆ แรง
เหวีย่ งหนีศูนยบน Rotor จะเกิดขึน้ มากจนอาจทําใหเนื้อโลหะของ Turbine Blade ไมสามารถทนตอความเคนที่
เกิดขึ้นจนทําฉีกขาดเสียหายได จึงถือวา Over Speed Trip เปนอุปกรณที่สําคัญที่สุด
3.4. Lube oil Pressure Low Trip ทําหนาที่หลอลื่นหรือลด Friction ของหนาสัมผัสระหวาง
Bearing Surface กับ Rotor Shaft Surface และทําหนาทีเ่ ปน Cooling ใหกับ Bearing อีกดวย ฉะนั้นถาปริมาณ
น้ํามันหลอลื่น หรือ มีความดันไมเพียงพอ อาจทํา Bearing รอนหรือไหมได
3.5. Hydraulic Oil Pressure Low Trip ทําหนาที่เปนดันลูกสูบของ Main Steam Stop Valve /
Main Steam Control Valve / Reheat Stop Valve / Interceptor Valve / Low Press Stop& Control Valve เพื่อทํา
การเปด valve เพื่อควบคุมการทํางานของ Control Valve ตางๆ ถาความดันของ Hydraulic Oil ไมเพียงพอก็จะ
ไมสามารถควบคุม Turbine ได
3.6. Steam Turbine Vibration High Trip การเกิด Vibration คือเกิดการสั่นของ Turbine Shaft ที่
กระทํากับ Journal Bearing ในแนวรัศมี Journal Bearing จะทําหนาที่รองรับของ Shaft ทั้งหมด
เมื่อเกิด Vibration ขึ้น มีโอกาสที่จะทําให Turbine Blade สัมผัสกับ Turbine Stationary Part ในแนวรัศมีได
3.7. Steam Turbine Thrust Bearing Position Trip เกิดจากการรุน หรือเคลื่อนตัวของ Turbine
Rotor Shaft ในแนวแกน ซึ่งสามารถที่จะเคลื่อนตัวไปทั้งทางดาน Generator และ Turbine

2.5.1.1 - 8
เมื่อเกิดการรุนตัวของ Turbine Rotor Shaft มีโอกาสที่จะทําให Turbine Blade สัมผัสกับ Turbine Stationary
Part ในแนวแกนได
3.8. Steam Turbine Differential Expansion High Trip เมื่อ Steam Turbine ไดรับความรอน จะ
ทําใหมีการขยายตัวทั้ง Turbine Casing และ Turbine Rotor แตเนือ่ งวา Turbine Rotor มีมวลนอยกวา Turbine
Casing ทําให Rotor มีการขยายตัวไดกวา จึงทําให Clearance ระหวาง Rotor กับ Casing มีนอย จึงทําใหมี
โอกาสที่ Turbine Rotor จะเสียดสีกับ Turbine Casing ไดซึ่งจะทําใหเกิดการเสียหายมากกับ Steam Turbine
3.9. Steam Turbine Shell Expansion Trip เปนการวัดการขยายตัวของ Turbine Casing ซึ่งถา
Turbine ขยายใหญ จะมี Casing 2 ชั้น คือ Inner Casing กับ Outer Casing เมื่อ Casing ไดความรอน Inner
Casing จะมีการขยายตัวไดเร็วกวา Outer Casing จึงทําให Casing มีการบิดตัว หรือ Deform ซึ่งสามารถที่จะทํา
Turbine Casing มีโอกาส Crack ได
3.10. Steam Turbine Rotor Expansion การขยายตัวและหดตัวของ Turbine Rotor เมื่อ Turbine
ไดความรอนขณะชวง Cold Start-up ขณะที่ Turbine Rotor เย็นตัวอยู จะทําให Turbine Rotor เริ่มขยายตัวตาม
แนวแกน ซึ่งการขยายตัวดังกลาวทําใหระยะหางระหวาง Moving Part กับ Stationary Part นอยมาก จะทํามี
โอกาสที่ Turbine Rotor จะเสียดสีกับ Stationary Part ได เรียกวา Rotor Long มีคาเปน + สวน Rotor Short มี
คาเปน - จะเกิดขึ้นกรณี Hot Start-Up เมื่อ Turbine Rotor มีอุณหภูมิสูงอยู สวนอุณหภูมขิ อง Steam นัน้ เย็น
กวา Rotor ทําให Turbine Rotor มีการหดตัวลง เสมือนเปน Cool Turbine Rotor จึงทําใหเกิดโอกาสที่จะให
Rotor เสียดสีกับ Stationary Part
3.11. Condenser Vacuum Low Trip การที่ Condenser Vacuum ลดลง จะทําใหเกิด Back
Pressure มากขึ้น ซึ่งดาน Turbine Exhaust จะมีผลอยางมาก เพราะจะทําให Steam หรือ ไอน้ํามีความหนาแนน
เพิ่มขึ้น ทําใหเกิดการเสียดสี หรือ เกิด Friction ระหวาง Turbine Blade กับ Steam จะมากขึ้นดวย ทําให Turbine
Blade และ Exhaust Hood รอนจน Overheat ได
3.12. Lube Oil Level Low Trip เปนการปองกันไมใหเกิด Steam Turbine ขาน้ํามันหลอลื่น
ไปเลี้ยงที่ Turbine Bearing เมื่อไหรที่ไมมีน้ํามันหลอลื่นจะทําให Steam Turbine เสียหายมาก
3.13. Generator Lock out Relay Trip ( 86 G1) เปนการสั่ง Trip Steam Turbine ทางดานวงจร
ไฟฟา (Electrical Protection) ซึ่งจะเปนสวนของดาน Generator , Transformer , ระบบสายสง และ
External Fault ของระบบ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีสัญญาณหลักๆ ดังตอไปนี้
- 3.13.1 Main Aux.Transformer Lock out Relay Trip (87 AT)
- 3.13.2 Main Aux.Transformer Over Current Trip (51AT)
- 3.13.3 Main Aux.Transformer Ground Over Current Trip (51GAT)
- 3.13.4 Gen Transformer Differential Lock out Relay Trip (87 GT)
- 3.13.5 Gen Differential Lock out Relay Trip (87 G)

2.5.1.1 - 9
- 3.13.6 Gen Ground Fault Trip ( 59G)
- 3.13.7 Gen Volt / Hertz Trip
- 3.13.8 Gen Over Excitation Trip
- 3.13.9 Gen Loss Of Excitation
- 3.13.10 Gen Reverse Power
- 3.13.11 Main Aux.Transformer Trip
- Buchhole Relay Trip
- Sudden Pressure Trip
- Winding Temp High Trip
- 3.13.12 Gen Transformer Trip
- Buchhole Relay Trip
- Sudden Pressure Trip
- Winding Temp High Trip

2.5.1.1 - 10
2.5.1.1 - 11
Gas turbine

Boiler OR HRSG (Heat Recovery Steam Generation)

Steam Turbine

2.5.1.1 - 12
2.5.1.2 HEAT RECOVERY STEAM GENERATION (HRSG)

2.5.1.2 - 1
HEAT RECOVERY STEAM GENERATOR (HRSG)
เปนอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนระหวางไอเสียจากเครื่องกังหันกาซ กับน้ํา ภายใน Boiler ประกอบ
ดวยอุปกรณตาง ๆ เหลานี้

Boiler Pressure ประกอบดวยแผงทอตาง ๆ เชน Superheat ,Reheat ,Evaporator ,Economizer ,Pre-


heater ,Drum และ Safety Valve

รูปที่ 2 General Construction of Boiler (Bird’s Eye View)


2.5.1.2 - 2
Boiler Structure
โครงสรางของ Boiler ประกอบดวย ผนังเตา ,Expansion Joint ,Bellow Seal และ Drum ซึ่งทําหนาที่
แยกน้ํา และ Steam ออกจากกัน ดังรูปที่ 3

Steam drum separation (a) gravity , (b) mechanical primary (Baffler) and secondary (screen) , (c) centrifugal

รูปที่ 3 Drum
Boiler Protection
ระบบการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับ Boiler อันเนื่องมาจากการเกิด Overpressure หรือ เกิด
Overheat ในระบบ ซึ่งมีระบบหรืออุปกรณที่ใชในการปองกันหลัก ๆ ที่สําคัญดังนี้

ลิ้นนิรภัย (Relief Valve and Safety Valve)


เปนสวนสําคัญในวงจรของน้ําและ Steam ซึ่ง Safety Valve เหลานี้จะติดตั้งตามสวนตาง ๆ ของ Boiler
เชน Steam Drum , Superheat Outlet Header เปนตน
Relief Valve สวนมากใชกับของเหลว ซึ่งจะตั้งไวใหเปดเมื่อความดันในระบบสูงถึงขีดที่กําหนด ที่
ความดันดังกลาวแรงดันบน disc จะเริ่มชนะแรงกดของ Spring สภาวะนี้ disc จะเริ่มยกตัวขึ้น จาก Seat ปลอย
ของเหลวภายใตความดันนั้นออกทาง Valve Outlet ถาความดันในระบบยังเพิ่มขึ้นอีก disc จะยกตัวเปดเพิ่ม เมื่อ
ความดันลดลง Valve จะเริ่มปด disc จะกดตัวล’บน Seat เมื่อระบบกลับคืนสูสภาพปกติ

รูปที่4 Relief Valve

2.5.1.2 - 3
Safety Valve สวนมากใชกับกาซ หรือไอน้ํา การออกแบบคลายกับ Relief Valve โดย Valve Body
ควบคุมทิศทางของ gas หรือ steam ภายใตความดัน disc และ Seat ทําหนาที่ Seal ภายใตความดันปกติ ซึ่ง disc
ของ Valve นี้ มี lip ซึ่งไมสัมผัสกับแรงดันในระบบ ,Center portion ของ safety valve ‘s disc เทานั้นที่สัมผัส
กับความดันของระบบซึ่งเปนพื้นที่รับแรงดันโดยตรง เมื่อความดันในระบบสูงขึ้นถึงคาที่ตั้งไว disc จะเริ่มยกตัว
ขึ้น ลักษณะนี้ lip ของ disc ก็จะรับแรงดันจากความดันในระบบเดียวกันตามไปดวย
การเพิ่มแรงยกที่ disc เปนเหตุให valve เปดไปที่ตําแหนง 60% ทันที ปริมาตร gas จํานวนมากก็
สามารถผานออกไปไดอยางรวดเร็ว ถาความดันในระบบเพิ่มความเร็วของ gas ที่ผานออกไปเปนเหตุให disc ยก
สูงขึ้นไปอีก ทันทีที่ความดันสวนเกินระบายออกไป ความดันในระบบเริ่มลดลง ความตึงใน Spring เริ่มดัน disc
ปดกลับลงมา เมื่อความดันลดลงมาถึงจุดที่กําหนด Valve ก็ยังไมปดเพราะความดัน และความเร็วของ gas ที่พน
ออกยก lip ของ disc ไวไมใหปดลงมา Valve จะไมปดลงมาจนกระทั่งความดันของระบบต่ํากวาความดันที่ตั้ง
ไวให valve เปด หมายความวา disc จะไมกระแทกขึ้นลงหรือ รั่วอยูบน seat ความดันที่ใชเปด Safety Valve
เราเรียกวา Popping Pressure ความดันที่ Valve ตบปด เรียกวา Blowdown หรือ Blowback

*** Safety valve อาจสามารถนําไปใชแทน Relief valve ไดในระบบของเหลว แต Relief valve ไมสามารถ
นํามาใชแทน Safety valve ได เนื่องจาก Relief valve เปดชา และไมสามารถระบายไอน้ํา หรือ gas ที่มีความดัน
ออกคราวละมาก ๆ ได (ขอสังเกต : โดยทั่วไปไมใช Safety valve ในระบบของเหลวเพราะของเหลวปริมาณ
มาก ๆ ที่ระบายออกมาอาจทําความเสียหายกับทอได)

รูปที่5 Safety Valve

2.5.1.2 - 4
Bypass Control Valve
เปน Control Valve ทํางานโดยใชระบบ Hydraulic ทําหนาที่ ควบคุมความดันของระบบ ใหอยูที่คาใช
งาน (Operating Pressure) และทําหนาที่ปองกันการเกิด Overpressure ในระบบ โดยเมื่อเกิด ความดันในระบบ
เกินกวาคาที่กําหนด Bypass Control Valve จะเปดเพื่อลดความดันสวนเกินลงสู Condenser

การควบคุมระดับน้ํา (Water Level)


การควบคุมระดับน้ําภายใน Boiler เปนสิ่งสําคัญ การละเลยปลอยใหระดับน้ําอยูต่ํากวาระดับปลอดภัย
(Minimum Safe Limit) จะทําใหโลหะสวนที่เคยแชอยูในน้ําไดรับความรอนเกินขนาด (Over heating ) จน
ชํารุดเสียหาย และการปลอยใหระดับน้ําสูงมากเกินไปก็จะทําใหอาจมีน้ําปะปนออกไปกับ Steam ได
ระบบการควบคุมน้ําอัตโนมัติ และเครื่องสัญญาณเตือนเมื่อระดับน้ําอยูสูง หรือต่ํากวาปกติที่ติดตั้งหรือ
ใชงานอยูนั้นเปนเพียงเครื่องมือที่ชวยใหผูควบคุมทํางานสะดวกขึ้นเทานั้น ไมสมควรพึ่งหวังใหอุปกรณทํางาน
โดยไมเหลียวแล หรือไมมีการตรวจสอบดวยตาของตนเอง
อุปกรณเครื่องบอกระดับน้ํานิยมที่จะติดตั้งมากกวา 2 แบบ หรือ 2 ชนิดขึ้นไป เพื่อใหมีตัวเปรียบเทียบ
และตรวจสอบซึ่งกันและกัน ซึ่งถาคาที่อานไดจาก 2 เครื่องไมตรงกัน จะตองหาสาเหตุและแกไขทันที

สัญญาณที่ใชในการสั่ง TRIP BOILER เกิดขึ้นเมื่อ


-All Boiler Feed Pump Not Running
-All Circulating Water Pump Not Running
-All Condensate Pump Not Running
-Gas Turbine Trip
-Boiler Bypass Stack Temp. High-High (648 oC)
-Boiler Stack Temp. High-High (154 oC)
-Main Steam Temp. High (575 oC)
-Hot Reheat Steam Temp. High (575 oC)
-Drum Level Low-Low
-Drum Level High-High
-Condenser Hot well Level High-High (458 mm)
-Emergency Close

2.5.1.2 - 5
2.5.1.2 - 6
2.5.1.2 - 7
2.6 Plant Maintenance

2.6 - 1
คํานํา

เครื่องจักรไดเขามาเกี่ยวของกับชีวิตมนุษยตั้งแตมีการประดิษฐวงลอ และพัฒนาตอเนื่องโดยตลอด การ


บํารุงรักษาเครือ่ งจักรก็มีมาตัง้ แตมีเครื่องจักรเครื่องแรก และมีววิ ัฒนาการโดยลําดับ จากการซอมเมื่อเครื่องจักร
ชํารุดขัดของ มาเปนการบํารุงรักษาแบบปองกัน และทายที่สุดก็คือ การบํารุงรักษาตามสภาพ (CONDITION
BASED MAINTENANCE – CBM)
การซอมเมื่อเครื่องจักรชํารุดขัดของมักจะมีตนทุนสูงสืบเนื่องจากการชํารุดเสียหายตอเนื่องที่ติดตามมา กอ
ใหเกิดการสูญเสียเนื่องจากเวลาในการผลิตที่เสียไปโดยไมไดวางแผนลวงหนา การผลิตติดขัดชะงักงัน มีผล
กระทบตอความปลอดภัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน
การบํารุงแบบปองกันจึงมีการริเริ่มขึ้นเพื่อปองกันการชํารุดขัดของของเครื่องจักรโดยการเปลีย่ นชิ้นสวน
หรือยกเครื่องตามระยะเวลาที่กําหนด แตการทําเชนนีก้ อ็ าจกอใหเกิดการสูญเสียเวลา และคาใชจายสูงหากมีการกร
กระทําเกินกวาที่ควรจะเปน เชน การเปลี่ยนชิ้นสวนที่ยังไมหมดอายุไปพรอมกันกับชิ้นสวนทีห่ มดอายุแลว และ
หยุดเครื่องจักรเพื่อทําการบํารุงรักษาแบบปองกันที่ไมจําเปน
การตรวจสภาพเครื่องจักรซึ่งสามารถดําเนินการไดทั้งในขณะที่เครื่องจักรหยุดทํางานหรือในขณะเดิน
เครื่องจักรเปนกระบวนการทีจ่ ะทําใหเราทราบขอมูลที่เปนประโยชน ปญหาที่เกิดกับเครื่องจักรตลอดจนถึงสาเหตุ
ของปญหา ทําใหสามารถวางแผนเตรียมการและบํารุงรักษาเครื่องจักรกอนการชํารุดขัดของไดอยางมีประสิทธิผล
การตรวจสภาพเครื่องจักรทีท่ ันสมัยไมเพียงลดโอกาสที่จะเกิดความเสียหายรายแรง แตยังชวยในการสั่งซื้อ
อะไหลลวงหนาไดดี ลดปริมาณอะไหลคงคลังใหนอยลง วางแผนกําลังคน ทํางานซอมหลายงานในเวลาเดียวกัน
ในระหวางการหยุดซอมตามกําหนดการ ทําใหสามารถใชเครื่องจักรใหเกิดประโยชนสูงสุด ตามความสามารถของ
เครื่องจักร
จุดมุงหมายของเอกสารนีจ้ ะเนนไปที่การบริหารจัดการ แตก็มีสาระครอบคลุมสําหรับผูที่เริ่มเขามาทํางาน
ทางสายอาชีพนี้ และจะเปนประโยชนตอผูที่สนใจตอไป

2.6 - 2
ความสําคัญของการจัดการบํารุงรักษา

1.1. การพัฒนาเกี่ยวกับการบํารุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม

เปนที่แนชดั แลววาความตองการและความสําคัญของการบํารุงรักษาเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเครื่องจักรและอุปกรณ
ไดรับการพัฒนาใหสามารถทํางานไดละเอียดมากขึ้นและมีความสามารถมากขึ้น

โรงงานอุตสาหกรรมในอดีตนั้น เครื่องจักรและอุปกรณตางๆ มักไมยุงยาก คนงานในโรงงานตางๆ มี


จํานวนมากกวาในปจจุบัน การบํารุงรักษาเครื่องจักรในอดีตเปนไปอยางงายๆ และมีผลกระทบไมมากตอคุณภาพ
และการผลิต แตในปจจุบนั เครื่องจักรและอุปกรณตา งๆ มีความซับซอนมากขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงตอการ
ผลิตและคุณภาพของสินคา ความสําคัญของการบํารุงรักษาจึงเพิม่ สูงขึ้น การเพิม่ ขึ้นของปริมาณและคุณภาพของ
ผลผลิตเปนผลมาจากการบํารุงรักษาและการจัดการที่ดี ซึ่งทําใหประสิทธิภาพของเครื่องจักรเพิม่ สูงขึ้นและคาใช
จายในการผลิตลดลง

การจัดการบํารุงรักษาทีด่ ีจะตองเปนแบบปองกัน และงานประจําวันจะตองปฏิบัตอิ ยางตอเนื่องเพื่อใหเกิด


ความคลองตัวและพรอมที่จะเผชิญกับปญหาเรงดวน เปาหมายควรมุงเนนที่การหลีกเลีย่ งการหยุดของเครื่องจักร
โดยไมเปนไปตามแผน

ทุกครั้งที่เครื่องจักรหยุดทํางานโดยไมเปนไปตามแผน แสดงใหเห็นวากลยุทธการบํารุงรักษาไมตรงตาม
วัตถุประสงคของมัน หนาที่ของการบํารุงรักษาทีด่ ีก็เพื่อรักษาเครื่องจักรใหสามารถทํางานไดเปนอยางดี ไมใชรอ
จนเครื่องจักรเสียหายแลวจึงซอมแซมในภายหลัง

เพื่อใหไดผลผลิตและคุณภาพที่ถูกตอง จําเปนตองจัดหาเครื่องจักรและอะไหลทถี่ กู ตองและเหมาะสม การ


บํารุงรักษาไมไดเริ่มตนเมื่อมีการสงมอบและติดตั้งเครือ่ งจักร แตการบํารุงรักษาควรเริ่มตนในชวงแรกของโครง
การและชวงการจัดหาเครื่องจักร

มีเหตุผลมากมายที่แสดงวาทําไมการบํารุงรักษาจึงมีความสําคัญมากขึ้น ในประเทศที่กําลังพัฒนาอาจมี
เครื่องจักรเกาจํานวนมากถูกใชงานในโรงงานตางๆ ปญหาเรื่องอะไหลก็เกิดขึ้นเชนกัน บางครั้งไมสามารถหา
อะไหลได หรืออาจหาไดแตก็มีราคาแพงมาก

2.6 - 3
การสงมอบอะไหลอาจใชเวลายาวนาน ซึ่งเนื่องมาจากระยะทางไกลและกระบวนการจัดซื้อ ดวยเหตุนี้จึง
ทําใหจําเปนตองมีอะไหลในสโตรมากเกินความจําเปน สิ่งที่จําเปนอยางหนึ่งสําหรับการจัดการบํารุงรักษาใน
ประเทศที่กําลังพัฒนา คือการลดความตองการอะไหลและรักษาปริมาณอะไหลในสโตรใหมีนอยที่สุด เพื่อประหยัด
เงินตราตางประเทศ แตยังคงรักษาความสามารถในการผลิตไวสูง ดังนัน้ จึงตองใชกลยุทธการบํารุงรักษาที่พัฒนามา
แลวเปนอยางดี มิฉะนั้นปญหาตางจะทวีมากขึ้นอยางรวดเร็ว

ในประเทศอุตสาหกรรม เปนที่แนชดั แลววาการพัฒนาทางดานเทคนิคจําเปนตองเพิ่มจํานวนคนที่เกี่ยว


ของในการบํารุงรักษามากขึน้ เครื่องจักรยิ่งมีความยุงยากมากขึ้น จํานวนชิ้นสวนตางๆ ที่จะตองบํารุงรักษาก็ยิ่งมาก
ขึ้น ผูที่ทําหนาที่บํารุงรักษาจะตองผานการฝกอบรมจนมีความชํานาญและมีจํานวนเพิ่มขึ้น

สถิติในประเทศอุตสาหกรรมแสดงใหเห็นวาคนที่ทํางานเกี่ยวของกับการบํารุงรักษามักมีจํานวนเพิม่ ขึ้น
และคนที่ทํางานเกี่ยกับการรผลิตมักมีจํานวนลดลงเมื่อเครื่องจักรหรือปุปกรณตางๆ มีความซับซอนมากขึ้น

1.2 แนวทางที่ถูกตองเพื่อมุงสูการบํารุงรักษาที่ดี

โรงงานทุกแหงมีความพยายามในการปฏิบตั ิการบํารุงรักษาที่ดีที่สุดเทาที่จะเปนไปได แตอยางไรก็ตามมัน


ไมใชสิ่งที่งายเลย การบํารุงรักษาที่ถกู ตองจะตองกระทําตรงเวลาทีเ่ หมาะสมโดยชางผูชํานาญและอะไหลที่เหมาะ
สม เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหาย (Breakdown) และการซอมแซมเรงดวน (Urgent Repairs) ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญตอ
การสูญเสียอัตราผลผลิต (Productivity) และคุณภาพ (Quality) และเสียคาใชจายสูงขึ้น

แผนกบํารุงรักษาในโรงงานสามารถเปรียบเทียบไดกับหนวยดับเพลิง เมื่อเกิดไฟไหมขึ้น จะตองทําการดับ


ไฟอยางรวดเร็วที่สุดเพื่อหลีกเลีย่ งความเสียหายที่จะเกิดขึ้นตอไป อยางไรก็ตามการดับไฟไมใชงานหลักสําหรับ
หนวยดับเพลิง งานหลักของหนวยดับเพลิงก็คือหลีกเลี่ยงการเกิดไฟไหมโดยการปองกัน

หนาที่ของการบํารุงรักษาก็มปี รัชญาของการทํางานเชนเดียวกัน แทนที่จะซอมแซมเมื่อมีความเสียหายเกิด


ขึ้น การบํารุงรักษาที่ดีคือการมุงความสนใจไปที่การหลีกเลีย่ งการเกิดความเสียหายในเครื่องจักรซึ่งจะชวยลดความ
สูญเสียในการผลิต ลดคาใชจายเนื่องจากการหยุดของเครื่องจักรที่ไมเปนไปตามแผน

2.6 - 4
อยางไรก็ตาม แผนกบํารุงรักษาโดยทัว่ ไปมักจะทําหนาที่เสมือนเปนหนวยดับเพลิง งานหลักมักจะซอม
แซมเครื่องจักรที่เสียหาย แต :

การจัดการบํารุงรักษาสมัยใหมไมไดมุงเนนที่การซอมแซมเครื่องจักรอยางรวดเร็ว การจัดการบํารุงรักษา
สมัยใหมคือการรักษาใหเครือ่ งจักรสามารถทํางานไดอยางตอเนือ่ งดวยกําลังผลิตสูง (High Capacity) และใหผล
ผลิตคุณภาพสูงโดยเสียคาใชจายต่ําที่สุดเทาที่จะทําได

ขอคิดดังกลาวสามารถขยายความไดดังนี้ การรอจนกระทั่งเครื่องจักรเสียหายแลวจึงทําการซอมแซมอยาง
รวดเร็วที่สุด สิ่งนี้ไมใชการบํารุงรักษาทีด่ ี การรอจนกระทั่งเครื่องจักรเสียหายแลวจึงลงมือซอมแซมอยางรวดเร็ว
เปนการปฏิบตั งิ านที่ผิด การปฏิบตั ิงานทีถ่ ูกตองคือการปองกันไมใหเครื่องจักรเสียหายและการบํารุงรักษาตองเปน
ไปตามแผนที่เราเปนผูควบคุม

มีคําถามที่ดีอยูข อหนึ่งวา ทุกคนในโรงงานควบคุมการผลิตของโรงงานใหทํางานไดตามที่เราตองการหรือ


โรงงานเปนผูค วบคุมการทํางานของทุกคนในโรงงาน ถาไดมีการฝกฝนการบํารุงรักษาที่ดีแลวคนในโรงงานจะ
สามารถควบคุบสถานการณตางๆ ไดทั้งในการบํารุงรักษาและการหยุดเครื่องจักรตามแผนการหยุด ไมใชการหยุดที่
ปราศจากการควบคุมซึ่งหมายถึงทานเองถูกควบคุมโดยโรงงาน

1.3 หนาที่ของการบํารุงรักษา

ในชวงหลายปที่ผานมา พบวาการบํารุงรักษาดูเหมือนจะไมคอยถูกพิจารณาใหมบี ทบาทเกี่ยวของกับการ


ผลิต และมักจะถูกมองวาเปนปศาจรายที่จําเปนและเปนสวนหนึ่งที่ทําใหบริษัทตองมีรายจายเพิ่มขึ้น บอยครั้งที
เดียวที่กลยุทธการบํารุงรักษาในโรงงานคือการลดคาใชจายบํารุงรักษาลงใหมากที่สดุ เทาที่จะทําไดโดยไมเคยคิดถึง
ผลเสียที่จะตามมาในภายหลัง

อาจมีใครสักคนตั้งคําถามวา “หนาที่ของการบํารุงรักษาในโรงงานมีอะไรบาง? ซอมแซมเครื่องจักรที่เสีย


หายหรือบํารุงรักษาใหเครื่องจักรทํางานไดดีอยางตอเนื่อง?”

คงเปนที่ทราบกันอยูแ ลววาคําตอบคืออะไร แตอาจจะไมสําหรับทุกคน บางคนยังคงเชื่อวาวัตถุประสงค


ของการบํารุงรักษาคือซอมแซมเครื่องจักรหรืออุปกรณที่ชํารุดเสียหาย และชางที่เสื้อผาไมสกปรกและไมมีเหงื่อ

2.6 - 5
เปยกชุมเปนชางที่ไมไดทําหนาที่ของเขา แนวความคิดเชนนีจ้ ะทําใหเสียคาใชจายสูงขึ้นมากและสรางปญหามาก
มายใหแกแผนกบํารุงรักษาและแผนกผลิต

ในการจัดทําบํารุงรักษาสมัยใหม จะเปลี่ยนมุมมองใหมโดยไมเนนมากเกินไปที่งานซอมแซมเครื่องจักร
ทุกครั้งที่เครื่องจักรเสียหายจะแสดงใหเห็นกลยุทธการบํารุงรักษาใหประสบความสําเร็จ การจัดการบํารุงรักษาสมัย
ใหมมุงเนนที่วธิ ีการทําใหโรงงานสามารถดําเนินการผลิตไดอยางตอเนื่อง ตามแผนการผลิตของแผนกผลิต โรงงาน
ตองมีความพรอมเสมอสําหรับการผลิตและสินคาที่ผลิตตองมีคุณภาพสูงตามกําหนดตลอดเวลา

การบํารุงรักษาที่มีราคาถูกที่สุดคือเมื่อเครื่องจักรทั้งหมดกําลังทํางานไดตามปกติ

ที่จริงแลว วัตถุประสงคของการบํารุงรักษาซึ่งมีความสําคัญอันดับแรกคือสรางสมรรถนะความพรอมใชั
งานของเครื่องจักรใหัเหมาะกับความตองการในการผลิตของบริษัท ไมมีบริษัทใดทีป่ ระสบความสําเร็จในการผลิต
โดยเครื่องจักรหยุดทํางาน ฝายผลิตจายเงินซื้อสมรรถนะความพรอมใชงานความมีประสิทธิภาพ และอายุการใชงาน
ที่ยาวนานของเครื่องจักรจากฝายบํารุงรักษา

ผูจัดการฝายบํารุงรักษาและฝายผลิตตองรวมมือกัน และตกลงรวมกันเกี่ยวกับสมรรถนะความพรอมใชงาน
ของเครื่องจักรที่เหมาะสมในชวงเวลาทีก่ ําหนด เจาหนาที่ฝายผลิตมักจะทราบเปาหมายการผลิต มันจําเปนมากทีจ่ ะ
ตองมีสมรรถนะความพรอมใชงานของเครื่องจักรในระดับที่กําหนดเพื่อใหไดผลผลิตตามเปาหมาย ถาไมเชนนัน้ แล
วจะไมสามารถผลิตไดตามเปาหมายภายในชวงเวลาที่กําหนด

คาใชจายบํารุงรักษาตองนํามาพิจารณาดวยในวัตถุประสงคของการบํารุงรักษา สมรรถนะความพรอมใช
งานก็เปนคาใชจายเชนกัน แตถาสมรรถนะความพรอมใชงานต่ําจะทําใหเสียคาใชจายจํานวนมากในการผลิตและ
ไดผลผลิตคุณภาพต่ํา ในสภาวะการบํารุงรักษาที่ดีนนั้ หมายถึงเสียคาใชจายต่ําที่สดุ แตยงั คงสมรรถนะความพรอม
ใชงานไดตามที่ตองการ

วัตถุประสงคของการบํารุงรักษาจึงพอสรุปไดดังนี้
1. รักษาสมรรถนะความพรอมใชงาน (Availability Performance) ประสิทธิผลของ
เครื่องจักร (Equipment Effectiveness) และอายุการใชงานเทคนิค (Technical
Lifetime) ใหเปนไปตามแผน

2.6 - 6
2. คาใชจายต่ําที่สุดเทาที่จะทําได โดยตองคํานึงถึงความปลอดภัยเปนสําคัญดวย

คําถามที่มักมีคนถามอยูเ สมอคือ “จะวัดประสิทธิภาพของการบํารุงรักษาไดอยางไร?” คาใชจายต่ําที่สดุ


แสดงวาประสิทธิภาพดีที่สุด คําตอบนี้ถือวาไมถูกตอง เพราะตองพิจารณาผลผลิตดวยจึงจะไดการวัดประสิทธิภาพ
การบํารุงรักษาที่ถูกตอง สมรรถนะความพรอมใชงานของเครื่องจักรและคาใชจายบํารุงรักษามีความเกีย่ วพันธกัน
อยางมาก

อายุการใชงานของเครื่องจักรตองนํามาพิจารณาดวย เมื่อมีการพูดคุยเกีย่ วกับวัตถุประสงคของการบํารุง


รักษา การบํารุงรักษาที่เลวจะทําใหเครื่องจักรมีอายุการใชงานสั้นกวาปกติ โดยทัว่ ไปแลวเครื่องจักรจะมีชว งอายุ
การใชงานตามแผน และในชวงเวลาดังกลาวจะตองวางกลยุทธการบํารุงรักษาที่ดีใหแกเครื่องจักร

กลยุทธการบํารุงรักษาทีด่ ีจะตองพิจารณาเกี่ยวกับสมรรถนะความพรอมใชงานของเครื่องจักรเปนสําคัญ
และจะชวยประหยัดคาใชจายไดมากในระยะยาว

1.4. คาใชจายบํารุงรักษา (Maintenance Costs)

บริษัทหรือองคกรตางๆ มีความสนใจในการลดคาใชจา ยบํารุงรักษาเครื่องจักร สวนมากมีความเขาใจวา


การผลิตกอใหเกิดรายได และการบํารุงรักษากอใหเกิดรายจาย โดยหารูไมวาการไมเอาใจใสตอการบํารุงรักษานั้น
จะกอความสูญเสียอยางมหาศาลทั้งทางตรงและทางออม

1.4.1 การบํารุงรักษาโดยพิจารณาผลลัพธเปนสําคัญ
การควบคุมคาใชจายบํารุงรักษาตองกระทําอยางมีความรอบรูเกีย่ วกับการบํารุงรักษา บางครั้งอาจมี
ผลเสียเกิดขึ้นเมื่อบริษัทพยายามปรับหรือลดคาใชจายบํารุงรักษา ความประหยัดที่เกิดขึ้นจากการลดคาใชจายบํารุง
รักษาอาจทําใหคาใชจายในการผลิตเพิ่มขึ้น

บริษัทจํานวนมากดําเนินการโดยนําคาใชจายมาเปนตัวควบคุมการบํารุงรักษา สิ่งนี้หมายถึงเจา
หนาที่ดูแลการบํารุงรักษาโดยเฝามองเฉพาะคาใชจายเทานั้น และไมเขาใจถึงความสัมพันธระหวางการบํารุงรักษา
กับการผลิต การบํารุงรักษาที่ควบคุมดวยคาใชจายมักจะทําใหคาใชจายบํารุงรักษาในระยะยาวเพิ่มสูงขึ้น

2.6 - 7
เจาหนาที่ฝายบํารุงรักษาบางครั้งอาจบนวาเจาหนาที่ฝายการเงินไมเขาใจวาการบํารุงรักษาสามารถ
สรางกําไรได เจาหนาทีฝ่ ายบํารุงรักษาตองมีความสามารถในการคํานวณผลกําไรที่เกิดจากการบํารุงรักษาใหเห็น
ไดชัดเจนเมื่อมีกิจกรรมหรือแผนการลงทุนในโรงงาน

การจัดการบํารุงรักษาที่ควบคุมดวยคาใชจา ยถือวาลาสมัยแลวในปจจุบัน การนําคาใชจายมาควบ


คุมการบํารุงรักษาจะทําใหวศิ วกรและชางเทคนิคมีความยากลําบากในการวัดผลลัพธที่เกิดจากการลงทุนในการ
บํารุงรักษาในรูปของเศรษฐศาสตร การหาคาใชจายโดยตรงสําหรับการบํารุงรักษานั้นไมใชเรือ่ งยากแตการที่จะ
มองเห็นผลลัพธนั้นอาจจะยาก

ความสําคัญสูงสุดของวัตถุประสงคของการบํารุงรักษาคือ “รักษาสมรรถนะความพรอมใชงาน
ตามแผนใหดําเนินตอไปดวยคาใชจายต่ําทีส่ ุดเทาที่จะทําได” สิ่งนี้หมายถึงผลลัพธระยะยาวมีความสําคัญมากคาใช
จายบํารุงรักษาตองนํามเกีย่ วพันธกับผลลัพธทั้งหมดที่ไดรับจากการบํารุงรักษาในกิจกรรมการผลิตผูจัดการฝาย
บํารุงรักษาและฝายการเงินตองมีความสามารถในการมองเห็นผลลัพธรวมของกลยุทธการบํารุงรักษา
การตัดคาใชจา ยบํารุงรักษาบางสวนออกไป อาจมีผลเสียหายตอผลลัพธมากกวาคาใชจายที่ตดั
ออกไปก็ได ดังนั้นตองนําคาใชจาย (Cost) มาพิจารณาพรอมกับผลลัพธ (Result) และพิจารณาดูจดุ ที่เหมาะสม คือ
คาใชจายต่ําแตผลลัพธดีตามตองการ

การบํารุงรักษาและผลลัพธของมันสามารถเปรียบเทียบไดกับภูเขาน้ําแข็งซึ่งเราจะมองเห็นเฉพาะ
สวนยอดภูเขาที่อยูเหนือระดับน้ําแตสวนทีอ่ ยูใตน้ําซึ่งมีขนาดใหญมากเรามองไมเห็น สวนของภูเขาน้ําแข็งที่เรา
มองเห็นสามารถเปรียบเทียบไดกับคาใชจา ยบํารุงรักษาทางตรงและสวนที่มองไมเห็นเปรียบเสมือนคาใชจายตางๆ
ที่มีอิทธิพลมากจากการบํารุงรักษา ขอมูลเกีย่ วกับคาใชจายบํารุงรักษาทางตรงหาไดงายจากฝายการเงินของบริษัท
แตผลกระทบดานการเงินเนื่องจากการบํารุงรักษาอาจจะหาขอมูลไดยาก

2.6 - 8
ความเปนไปไดที่ซอนอยูเบื้องหลัง

Maintenance

Energy Capital
Losses Costs
Quality
Losses Work
Capacity Environment
Losses

Production
Losses Increased
Investments
Lost Market

ปจจัยที่เห็นไดชัดเจนวามีผลกระทบเนื่องจากการบํารุงรักษาคือ

การสูญเสียคุณภาพ (Quality Losses) คุณภาพของสินคาจะเลวลงเมื่อเครื่องจักรขาดการบํารุงรักษาทีด่ ี ถามี


การเปลีย่ นแปลงสถานะ การบํารุงรักษา จะตองคํานึงถึงผลกระทบทีม่ ีตอคุณภาพ และการสูญเสียคุณภาพสามารถ
เกิดขึ้นไดจากการปรับลดคาใชจายบํารุงรักษา
การสูญเสียพลังงาน ( Energy Losses ) การสิ้นเปลืองพลังงานที่มากขึ้นอาจเกิดจากการบํารุงรักษาทีไ่ ม
เหมาะสม โดยทั่วไปแลวถามีการบํารุงรักษาที่ดี เครื่องจักรจะใชพลังงานนอยลง

คาใชจายตนทุน (Capital Costs) เมื่อมีการบํารุงรักษาที่เลวจะทําใหเครื่องจักรเสียบอย เมื่อเครื่องจักรเสีย


บอยจะนําไปสูความเสียหายหนัก และตองสํารองอะไหลไวจํานวนมากขึ้นซึ่งจะตองเสียคาใชจายตนทุนเพิ่มขึ้น
ในประเทศสวีเดนไดมีการเก็บขอมูลพบวาคาใชจายตยทุนของอะไหลจะเพิ่มขึน้ 35 % ของมูลคาของอะไหลที่

2.6 - 9
สํารองไวในสโตร แตเมื่อมีการบํารุงรักษาที่ดี คาใชจายตนทุนสําหรับการสํารองอะไหลจะลดลงและมูลภัณฑกัน
ชน (Buffer Stock) ในสายการผลิตก็ลดลงดวยเชนกัน บริษทั จํานวนมากในปจจุบันไดใชระบบการผลิตแบบทัน
เวลาพอดี (Just in Time ยอวา JIT) บริษัทเหลานี้ตองมีสมรรถนะความพรอมใชงานคอนขางสูง ถาเครื่องจักรใดใน
สายการผลิตมีสมรรถนะความพรอมใชงานต่ํา จะทําใหตองมีมูลภัณฑกันชนเพิ่มขึ้น ซึ่งนําไปสูการเพิ่มคาใชจาย
ตนทุนใหอยูในระดับที่เหมาะสม

การสูญเสียผลผลิต (Production Losses) ถาการบํารุงรักษาดี การสูญเสียผลผลิตจะลดลง มีปจจัยทีม่ อง


ไมเห็นจํานวนมากที่กระทบตอผลผลิต กลยุทธการบํารุงรักษาที่ถูกตองจะชวยลดการสูญเสียผลผลิต

การสูญเสียกําลังผลิต (Capacity Losses) ในระยะยาว ถาเครื่องจักรขาดการบํารุงรักษาที่ดี จะทําใหกําลัง


ผลิตหรือความสามารถของเครื่องจักรลดลงเนื่องจากการสึกหรอและการเสื่อมสภาพกําลัง ผลิตลดลงยอมหมายถึง
ผลผลิตลดลงนั่นเอง

สภาวะแวดลอมการทํางาน (Work Environment) สภาวะแวดลอมการทํางานทีด่ ีมสี วนสรางบรรยากาศที่


ดีตอการทํางาน และทําใหเกิดความปลอดภัย การบํารุงรักษาที่ดีเปนปจจัยสําคัญทีท่ ําใหเกิดสภาวะแวดลอมทีด่ ีตอ
การทํางาน เนื่องจากพืน้ ฐานสําคัญประการหนึ่งของการบํารุงรักษาคือความสะอาดและการดูแลใหเปนระเบียบ
เรียบรอย ปจจัยของมนุษยจะมีผลกระทบตอผลผลิต

การสูญเสียตลาด (Lost Market) การบํารุงรักษาที่ไมดจี ะนําไปสูการหยุดการผลิตโดยไมไดวางแผนมา


กอน ทําใหสงสินคาใหแกลูกคาไมทันเวลา ลูกคาอาจมองหาผูผลิตรายอืน่ และทําใหสูญเสียตลาดของเราไปในที่
สุด

เงินลงทุนเพิ่มขึ้น (Increased Investments) เนื่องจากการบํารุงรักษาที่ไมดี จะทําใหเครื่องจักรเสื่อม


สภาพเร็วกวาปกติ การเปลีย่ นเครื่องจักรใหมจึงเร็วกวาที่คาดไว สิ่งนี้ทําใหเงินลงทุนเพิ่มขึ้นและมีผลกระทบตอผล
กําไร

2.6 - 10
1.4.2 คาใชจายบํารุงรักษาทางตรงและทางออม (Direct and Indirect Maintenance Costs)

คาใชจายบํารุงรักษาสามารถแยกออกเปนสองประเภท คือ
คาใชจายบํารุงรักษาทางตรง
เงินเดือนและคาจาง
คาวัสดุ
คาดําเนินงานธุรการ
คาใชจายสําหรับการฝกอบรม
คาอะไหล
คาแรงงานผูรับเหมา
คาดัดแปลง
คาใชจายบํารุงรักษาทางออม
การสูญเสียรายไดหรือการสูญเสียอื่นๆ ที่มีผลจากการหยุดการผลิตเนื่องจากการ
บํารุงรักษา

สําหรับการจัดการบํารุงรักษาที่ควบคุมดวยผลลัพธ จะตองวิเคราะหคาใชจายบํารุงรักษาทางตรงและ
เปรียบเทียบกับคาใชจายบํารุงรักษาทางออม เจาหนาที่ฝายบํารุงรักษาจะตองเรียนรูด านเศรษฐศาสตรและสามารถ
คํานวณผลกระทบดานเศรษฐศาสตรเนื่องจากการบํารุงรักษา

คาใชจายบํารุงรักษาทางตรงละทางออมมีความสัมพันธกนั ถาเปรียบเทียบคาใชจายบํารุงรักษาของรถยนต
คาใชจายบํารุงรักษาทางออมมีคานอยมากเมื่อรถยนตยังคงใชงานไดอยูโ ดยไมมีปญ
 หา คาใชจายบํารุงรักษาทางตรง
ก็มีคานอยเชนกัน รถยนตตองไดรับการบริการตามที่ผูผลิตกําหนด

ถารถยนตเสียโดยไมทราบเหตุผล ปญหาก็จะเกิดขึน้ ทันที กอนอื่นก็ตองลากรถยนตเขาศูนยบริการ รถ


ยนตไดรับการซอมแซม และตองจายเงินคาอะไหลและคาแรง เจาของรถยนตก็ตองจายคาแท็กซี่ไปทํางาน

ถารถยนตมีปญ หามาก คาใชจายบํารุงรักษาทางตรงและทางออมจะเพิ่มขึ้น ลักษณะดังกลาวสามารถนําไป


ใชเปรียบเทียบกับเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมได ถาคาใชจายบํารุงรักษาทางตรงยิ่งสูงจะทําใหคาใชจาย
บํารุงรักษาทางออมก็ยิ่งสูงตามไปดวย

2.6 - 11
1.5 การบํารุงรักษาแบบปองกันและแบบแกไข (Preventive and Corrective Maintenance)

เพื่อใหกลยุทธการบํารุงรักษาดําเนินไปไดดวยดี ทุกคนในบริษัทจําเปนตองเขาใจความหมายของการบํารุง
รักษาและพูดภาษาเดียวกันในการบํารุงรักษา

1.5.1 ความหมายของการบํารุงรักษา

การบํารุงรักษาประกอบดวยกิจกรรมตาง ๆ หลายอยาง เชน การบํารุงรักษาแบบปองกัน


(Preventive Maintenance) การบํารุงรักษาแบบแกไข (Corrective Maintenance) การตรวจวัดสภาพ (Condition
Monitoring) การบํารุงรักษาแบบปรับปรุง (Improvement Maintenance)

1.5.2 การบํารุงรักษาแบบแกไข (Corrective Maintenance)

การบํารุงรักษาแบบแกไขบางครั้งในสมัยกอนอาจกลาวไดวาเปนการบํารุงรักษาแบบฉุกเฉิน
(Emergency Maintenance) หรือการบํารุงรักษาเมื่อเสีย (Break Down Maintenance) อยางไรก็ตาม คําจํากัดความนี้
ไมถูกตองทีเดียวนัก เพราะการบํารุงรักษาแบบแกไข (Corrective Maintenance) สามารถทําเปนแผนการบํารุง
รักษาไดเชนกัน
1.5.3 การบํารุงรักษาแบบปองกัน (Preventive Maintenance)

การใหคําจํากัดความของการบํารุงรักษาแบบปองกันอาจมีความยุงยากขึ้นเล็กนอย บอยครั้งทีเดียว
ที่เราพบวา การบํารุงรักษาแบบปองกันเกี่ยวของกับการถอดชิ้นสวนของเครื่องจักรและเปลี่ยนชิน้ สวนใหม เมื่อ
ประกอบเครื่องจักรเขาที่เดิมและเริ่มทํางานใหมอีกครั้งหนึ่ง มักพบวามีปญหาเกิดขึ้นกับเครื่องจักร เพราะชางซอม
บํารุงไดใสปญหาใหมเขาไปในเครื่องจักร

ในการจัดการบํารุงรักษาสมัยใหม การบํารุงรักษาแบบปองกันไมไดเปนเพียงเฉพาะการถอดชิ้น
สวนของเครื่องจักรและเปลีย่ นชิ้นสวนใหมเทานั้น โรงงานอุตสาหกรรมในปจจุบนั จึงมี นโยบายดานการบํารุง
รักษาวา “อยาไปแตะตองเครื่องจักรที่กําลังทํางานดีอยูแลว” หมายถึงเครื่องจักรใดที่กําลังทํางานดีอยูแ ลว อยาไป
แตะตองเครื่องจักรนั้นเพราะเปนการเสี่ยงมากที่จะเกิดปญหาขัดของขึ้นในภายหลัง ในการจัดการบํารุงรักษาสมัย

2.6 - 12
ใหม จําเปนตองประยุกตวธิ กี ารตางๆ ที่มปี ระสิทธิภาพสูงรวมกับการบํารุงรักษาแบบปองกัน จึงจะใหผลลัพธสุด
ทายดีที่สุด

ขอสังเกต การบํารุงรักษาแบบปองกันเปนงานบํารุงรักษาที่มีการวางแผนไวลว งหนาตามโปรแกรม แตการบํารุง


รักษาแบบแกไขนั้นยากตอการคาดคะเนวาจะเกิดขึ้นเมือ่ ใด เพียงแตทราบวาจะเกิดขึ้นสักวันหนึ่งในอนาคต แตไม
ทราบเวลาแนนอน

1.5.4 การบํารุงรักษาแบบปรับปรุง (Improvement Maintenance)

เราใชคําวาการบํารุงรักษาแบบปรับปรุงเมือ่ มีการดัดแปลงหรือปรับปรุงเครื่องจักรใหมีสภาพดีขึ้น
กวาเดิม วัตถุประสงคของการบํารุงรักษาแบบปรับปรุงคือการขจัดปญหาของเครื่องจักรใหหมดไป กลาวคือทําให
ปญหานั้นไมเกิดขึ้นอีกเลย (Design Out) หรือยืดอายุของชิ้นสวนใหยาวนานที่สุด (Life Time Extension)

การบํารุงรักษา

การบํารุงรักษา การบํารุงรักษา การบํารุงรักษา


แบบแกไข แบบปองกัน แบบปรับปรุง

1.6 การบํารุงรักษาแบบปองกันทางตรงและทางออม (Direct and Indirect Preventive Maintenance)

การบํารุงรักษาแบบปองกันสามารถแยกออกไดเปนสองสวน คือการบํารุงรักษาแบบปองกันทางตรง
(Direct Preventive Maintenance) และการบํารุงรักษาแบบปองกันทางออม (Indirect Preventive Maintenance)

2.6 - 13
การบํารุงรักษาแบบปองกันทางตรงเปนการบํารุงรักษาเพื่อปองกันไมใหเครื่องจักรเกิดความเสียหายหรือ
ปญหาขัดของ เหตุผลทีใ่ ชคําวา “ทางตรง” ก็เพราะวามีผลกระทบทางตรงตอสภาพของเครื่องจักร ตัวอยางของการ
บํารุงรักษาแบบปองกันทางตรงไดแก การเปลี่ยนชิ้นสวนเครื่องจักรตามโปรแกรมทีก่ ําหนดไว การซอมใหญ การ
หลอลื่น การเปลี่ยนน้ํามันหลอลื่น และการทําความสะอาด ทั้งหมดนี้เปนไปตามแผนที่กําหนดไวลวงหนา
กิจกรรมที่กระทําตามการบํารุงรักษาแบบปองกันทางตรงมักถูกควบคุมโดยเวลาซึ่งอาจเปนเวลาตามปฏิทิน
จํานวนชั่วโมงของการทํางาน จํานวนระยะทางเปนกิโลเมตรของการขับขี่ และจํานวนชิ้นงานของผลผลิต เปนตน

การบํารุงรักษาลักษณะนี้มักเรียกวาการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา (Fixed Time Maintenance ซึ่งยอวา


FTM) เพราะวาการบํารุงรักษาทั้งหมดควบคุมโดยเวลาที่แนนอน

การบํารุงรักษาแบบปองกันทางออมเปนการบํารุงรักษาเพื่อคนหาจุดขัดของที่เพิ่มจะเริ่มเกิดขึ้นในเครื่อง
จักรกอนทีจ่ ะลุกลามไปจนเปนความเสีหายหรือกระทบตอการผลิต การบํารุงรักษาแบบปองกันทางออมสามารถทํา
ไดโดยการวัดหรือตรวจสอบสภาพของเครื่องจักร เพื่อใหทราบสภาพการทํางานของเครื่องจักรอยูเสมอ

การบํารุงรักษาแบบปองกันทางออมจะไมมีผลกระทบโดยตรงตอสภาพของเครื่องจักร และมักถูกเรียกวา
การตรวจวัดสภาพ (Condition Monitoring) หรือเรียกวาการบํารุงรักษาตามสภาพ (Condition Based Maintenance
ซึ่งยอวา CBM) การเปลี่ยนชิ้นสวนตาง ๆ ของเครื่องจักรจะขึน้ อยูก ับสภาพจริงของชิ้นสวนนัน้ ๆ อยางไรก็ตามการ
ตรวจวัดสภาพก็จะทําตามกําหนดเวลาเพื่อใหทราบสภาพของเครื่องจักรในขณะนั้นเปนระยะ ๆ

1.7. การตรวจวัดสภาพแบบใชความรูสึกและแบบใชอุปกรณ (Subjective and Objective Condition


Monitoring)

การตรวจวัดสภาพของเครื่องจักรสามารถทําไดสองวิธี คือ
• การตรวจวัดสภาพแบบใชความรูสึก (Subjective Condition Monitoring)
• การตรวจวัดสภาพแบบใชอุปกรณ (Objective Condition Monitoring)

การตรวจวัดสภาพแบบใชความรูสกึ ทําโดยการใชความรูสึกของผูต รวจสอบ เชน การฟงเสียง การสัมผัส


การมองดู การดมกลิ่น และการชิม ผลจากการตรวจสอบสามารถนํามาใชประเมินสภาพของเครื่องจักรได

2.6 - 14
การตรวจวัดสภาพแบบใชความรูสกึ ตองอาศัยชางทีม่ ีประสบการณสูง เพราะผลที่ไดมีความแตกตางกัน
มากจากความรูสึกของแตละคน ชางที่มีประสบการณสูงสามารถบอกสภาพไดแมนยํากวา

การตรวจวัดสภาพแบบใชอปุ กรณ ทําโดยการใชอุปกรณชว ยในการตรวจวัด การตรวจวัดสามารถทําได


หลายวิธีทั้งแบบขั้นสูงและแบบธรรมดา คาที่ตรวจวัดไดสามารถบอกสภาพของเครือ่ งจักรหรือชิน้ สวนตางๆ ของ
เครื่องจักรได และใหความแมนยําสูงกวาแบบใชความรูส ึก การตรวจวัดสภาพแบบใชอุปกรณสามารถแยกออกเปน
2 วิธี ไดแก
1. การตรวจวัดตามชวงเวลา (Off-line Condition Monitoring) หมายถึง ชางพรอมอุปกรณเดินไปรอบโรงงาน
และใชอุปกรณตรวจวัดสภาพของชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องจักรตามจุดที่กําหนด เชนตรวจวัดสภาพของแบ
ริ่งตามจุดตางๆ ขอมูลทีว่ ัดไดจะถูกบันทึกไวเพื่อการวิเคราะหในภายหลัง การตรวจวัดวิธีนี้ตองใชชางที่มี
ความรูความชํานาญในการใชอุปกรณวัดและสามารถ วิเคราะหขอมูลได

2. การตรวจวัดตอเนื่อง (On-Line Condition Monitoring) หมายถึงอุปกรณวดั ตอโดยตรงกับเครื่องจักร และ


คาที่ไดจากการวัดจะแสดงออกมาอยางตอเนื่อง ทําใหทราบสภาพของเครื่องจักรตลอดเวลา การตรวจวัดวิธี
นี้มักนิยมใชกบั เครื่องจักรหรือชิ้นสวนของเครื่องจักรทีเ่ กิดความเสียหายไดดวยเวลาสั้นๆ หลังจากตรวจพบ
วาเริ่มมีความผิดปกติ การตรวจวัดตอเนื่องใชชวงจํานวนนอยกวาการตรวจวัดตามชวงเวลาแตอยาลืมวาจะ
ตองบํารุงรักษาอุปกรณวัดดวยเชนกัน

1.8. การบํารุงรักษาแบบแกไขชนิดมีแผนและไมมีแผน (Planned and Unplanned Corrective Maintenance)

การบํารุงรักษาแบบแกไขคือ การบํารุงรักษาทั้งหมดทีก่ ระทําเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในเครื่องจักร การ


บํารุงรักษาแบบแกไขไมจําเปนตองเปนการบํารุงรักษาเมือ่ เสียหายหรือการบํารุงรักษาแบบฉุกเฉินเทานั้น บางครั้ง
อาจจะเกิดสิ่งบกพรองขึ้นในเครื่องจักรกอนที่จะรุกลามมากไปจนเสียหายหรือฉุกเฉิน

การบํารุงรักษาแบบแกไขสามารถแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ


• การบํารุงรักษาแบบแกไขชนิดไมมีแผน (Unplanned Corrective Maintenance)
• การบํารุงรักษาแบบแกไขชนิดมีแผน (Planned Corrective Maintenance)

2.6 - 15
การบํารุงรักษาแบบแกไขชนิดไมมแี ผน คือการบํารุงรักษาที่ไมสามารถวางแผนได เชน กรณีฉุกเฉินหรือมี
ความเสียหายเกิดขึ้นอยางไมคาดคิดมากอน ถาเวลาที่ทราบลวงหนานอยกวา 8 ชั่วโมง จะถือไดวาการบํารุงรักษา
แบบแกไขนั้นเปนชนิดไมมแี ผน เพราะเวลานอยเกินไปที่จะวางแผนไดอยางเหมาะสม คือไมสามารถวางแผนเกีย่ ว
กับกําลังแรงงาน เอกสารเทคนิค และอะไหลตางๆ ไดกอนที่จะเริ่มงานบํารุงรักษา
การบํารุงรักษาแบบแกไขชนิดไมมแี ผน จะทําใหเสียคาใชจายในการบํารุงรักษาสูงมาก และตองหยุด
เครื่องจักรอยางไมคาดคิด ซึ่งกระทบตอการผลิต เมือ่ เครื่องจักรเกิดความเสียหายขึ้นโดยไมคาดคิดจะเกิดการสูญ
เสียในการผลิตและคุณภาพของผลผลิต ซึ่งเปนคาใชจา ยบํารุงรักษาทางออม ในเวลาเดียวกันคาใชจายบํารุงรักษา
ทางตรงก็สูงมากเชนกัน ซึง่ เนื่องมาจากความเสียหายของเครื่องจักร ภาระงานของฝายบํารุงรักษาจะเพิ่มสูงขึน้ เมือ่
เครื่องจักรเกิดความเสียหายซึ่งจะนําไปสูคาใชจายที่สูงขึ้น ถาภายในโรงงานมีการบํารุงรักษาแบบแกไขไม
มีแผนเปนสวนใหญ แสดงวางานบํารุงรักษาทั้งหมดถูกควบคุม ดวยความเสียหายของเครื่องจักรแทนที่จะควบคุม
ดวยฝายผลิตและฝายบํารุงรักษา เครื่องจักรเปนผูกําหนดการบํารุงรักษาแทนเรา ซึ่งผิดหลักการบํารุงรักษาที่ดี

ดังนั้นจึงมักมีคําถามเพื่อใหฝายผลิตและฝายบํารุงรักษาเปนผูตอบ คือ “เราควบคุมการทํางานของเครือ่ ง


จักรหรือวาเครื่องจักรควบคุมการทํางานของเรา”

ถาตองการใหโรงงานมีประสิทธิภาพสูงในการผลิต จําเปนอยางยิ่งทีจ่ ะตองลดความเสียหายของเครื่องจักร


และจัดใหการบํารุงรักษาแบบแกไขเปนลักษณะมีแผน สิง่ จําเปนที่จะตองทราบคืองานบํารุงรักษาในอนาคตอันใกล
นี้จะตองทําอะไรบาง เพื่อที่จะจัดเตรียมกําลังคน อะไหลและเอกสารตางๆไวใหพรอม การหยุดของเครื่องจักร
สามารถวางแผนรวมกับฝายผลิตเพื่อใหชวงเวลาที่ฝายผลิตตองหยุดเครื่องจักรมาเปนประโยชนตอการบํารุงรักษา
สิ่งนี้จะชวยลดคาใชจายบํารุงรักษาทางออม และในเวลาเดียวกันก็ชวยลดคาใชจายบํารุงรักษาทางตรงดวย

1.9 การบริหารประสิทธิผลโดยรวม

1.9.1 สมรรถนะความพรอมใชงานคืออะไร?

สมรรถนะความพรอมใชงานเปนการวัดประสิทธิภาพเวลาและสามารถนิยามไดวาเปนการวัด
สมรรถนะของเครื่องจักรในเทอมของความสามารถทีจ่ ะทํางานโดยไมมีปญหาในสภาพการณทกี่ ําหนด ขึ้นกับสวน
หนึ่งของคุณลักษณะของระบบเทคโนโลยี และสวนหนึ่งของประสิทธิภาพของการดําเนินการและการบํารุงรักษา

2.6 - 16
สมรรถนะความพรอมใชงานสามารถแบงออกไดเปนสามอยางคือ
- สมรรถนะความเชื่อถือได
- สมรรถนะสนับสนุนการบํารุงรักษา
- สมรรถนะการบํารุงรักษาได

1.9.2 สมรรถนะความเชื่อถือได

สมรรถนะความเชื่อถือไดของเครื่องจักรสามารถวัดไดในคาของ Mean Time To Failure ซึ่งยอวา


MTTF สมรรถนะความเชื่อถือไดเปนเวลาเฉลีย่ ที่เครือ่ งจักรสามารถทํางานไดตามปกติระหวางจุดหยุดการทํางาน
สองจุดเนื่องมาจากการบํารุงรักษา เครื่องจักรที่มีสมรรถนะความเชื่อถือไดสูงหมายมีคา MTTF ที่ยาวนาน
สมรรถนะความเชื่อถือได ไดรับผลอยางมากในชวงเริม่ ตนของโครงการสําหรับการตัดสินใจซื้อ
เครื่องจักร แตสามารถไดรับผลเชนกันโดยสมรรถนะของการผลิตและการบํารุงรักษาในชวงการดําเนินการ

1.9.3 สมรรถนะสนับสนุนการบํารุงรักษา (Maintenance Support Performance)

สมรรถนะสนับสนุนการบํารุงรักษาสามารถวัดไดในคาของ Mean Waiting Time ซึ่งยอวา MWT


สมรรถนะสนับสนุนการบํารุงรักษาวัดไดจากคาเฉลีย่ ของเวลาในการรอคอยทรัพยากรสําหรับการบํารุงรักษาเมื่อ
เครื่องจักรหยุดทํางาน ถาสมรรถนะสนับสนุนการบํารุงรักษาสูงจะหมายถึง MWT ที่สั้น
การจัดองคกรและกลยุทธทงั้ การผลิตและการบํารุงรักษามีผลตอสมรรถนะสนับสนุนการบํารุง
รักษา

1.9.4 สมรรถนะการบํารุงรักษาได (Maintainability Performance)

สมรรถนะการบํารุงรักษาไดสามารรถวัดไดในคาของ Mean Time To Repair ซึ่งยอวา MTTR


สมรรถนะการบํารุงรักษาไดวัดจากคาเฉลี่ยของเวลาในการซอมแซมเครื่องจักรและไดรับอิทธิพล
อยางมากจากการออกแบบเครื่องจักร สมรรถนะการบํารุงรักษาไดมคี าสูงหมายถึงคา MTTR ที่สั้น คือใชเวลาสัน้
ในการซอมแซมเครื่องจักร

2.6 - 17
1.9.5 เวลาสูญเปลาเฉลี่ย (Mean Down Time)

เวลาสูญเปลาเฉลี่ย (Mean Down Time) ยอวา MDT เปนคารวมของ MWT และ MTTR ในทาง
ปฏิบัติแลวอาจเปนการยากที่จะแยกใหเห็นชัดเจนวาอะไรคือเวลารอคอย (MWT) และอะไรคือเวลาซอมแซม
(MTTR) ในกรณีนจี้ ึงใช MDT เปนตัวแทนของเวลาทั้งหมดตั้งแตเครื่องจักรเริ่มหยุดทํางานจนระทั่งเริ่มทํางานได
ใหมอีกครั้งหนึ่ง

สมรรถนะความพรอมใชงาน

สมรรถนะความเชื่อถือได เวลาสูญเปลา MDT


MTTF

สมรรถนะสนับสนุนการ สมรรถนะการบํารุงรักษา
บํารุงรักษา MWT ได MTTR

A = สมรรถนะความพรอมใชงาน (Availability performance)


Tup = เวลาที่ใชประโยชน (Time Up)
Tdm = เวลาสูญเปลา (Down Time due to maintenance)

Tup MTTF MTTF


A= = =
Tup + Tdm MTTF + MDT MTTF + MTTR + MWT

2.6 - 18
1.9.6 สมรรถนะผลผลิตและความพรอมใชงาน

ถาแผนบํารุงรักษาไดรับการจัดการในแนวทางที่ถูกตอง อัตราผลผลิตจะเพิ่มขึน้ ผลผลิตยอมขึ้น


อยูกับกําลังผลิตของเครื่องจักร เปนการยากที่จะใหไดผลผลิตเทากับกําลังผลิต ทั้งนี้เนื่องจากปจจัยหลายอยาง เชน
การสูญเสียเนือ่ งจากการบํารุงรักษา การสูญเสียคุณภาพ การสสูญเสียอัตราเร็วการผลิต ฯลฯ ซึ่งลวนแลวแตมีผล
กระทบตอผลผลิตและอัตราผลผลิต

การใหไดประโยชนจากเครือ่ งจักร 100% หมายถึงเครื่องจักรตองไมหยุดทํางานเลยเมื่อมีแผนการ


ผลิต นั่นหมายถึง สมรรถนะความพรอมใชงานตองเปน 100% ถาสมรรถนะความพรอมใชงานต่ํา ผลผลิตจะต่ําดวย

เนื่องจากการบํารุงรักษามีผลตอสมรรถนะความพรอมใชงานอยางมาก ดังนั้น จึงมีผลกระทบตอ


ผลผลิตดวย เมื่อมีการลงทุนในเรื่องการบํารุงรักษาจะตองมีการคํานวณจุดคุมทุนในการเพิ่มผลผลิตดวย อัตราผล
ผลิตที่เพิ่มขึ้นทําใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นดวย คุณภาพผลผลิตเพิ่มขึ้น คาใชจายตนทุนต่ําลง เปนตน

ถามีแผนการลงทุนในการบํารุงรักษา จะตอคํานวณหาการเพิ่มขึ้นของสมรรถนะความพรอมใช
งานดวยเมื่อสิน้ สุดโครงการ และอยางทีส่ องตองคํานวรสมรรถนะความพรอมใชงานมีผลมากนอยเพียงใดตออัตรา
การเพิ่มผลลผิตและปริมาณผลผลิต

ผลผลิต = สมรรถนะความพรอมใชงาน x กําลังผลิต


Production = Availability Performance x Capacity

ทุก ๆ เปอรเซนตที่เพิ่มขึ้นของสมรรถนะความพรอมใชงานนั้นสามารถที่จะทําไดโดยทําการบํารุง
รักษา ทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้นและมีกําไรมากขึ้น

การปรับปรุงสมรรถนะความพรอมใชงานเปนเรื่องสําคัญมากและการบริหารการบํารุงรักษาในโรงงานตอง
มุงไปที่สมรรถนะความพรอมใชงานวาจะเพิ่มคานี้ไดอยางไร
สมรรถนะความพรอมใชงานขึ้นกับองคประกอบหลายอยางดังแสดงในตารางขางลาง

2.6 - 19
ตารางที่ 1.9.1 องคประกอบตางๆ สําหรับสมรรถนะความพรอมใชงาน

สมรรถนะความเชื่อถือได สมรรถนะสนับสนุนการบํารุงรักษา สมรรถนะการบํารุงรักษาได


- คุณภาพเครื่องจักร - ทรัพยากรขางในและขางนอก - เครื่องมือพิเศษ
- คุณภาพอะไหล - ความพรอมของเอกสารเทคนิค - การออกแบบ
- คุณภาพการซอม - ความพรอมของอะไหล - การแยกเปนโมดูล
- คุณภาพการติดตั้ง - การวางแผน - คูมือ
- คุณภาพการบํารุงรักษาแบบ - ความชํานาญ - มาตรฐาน
ปองกัน - การจัดองคกร - คุณภาพอะไหล
- สภาพแวดลอม - ระบบและการทํางานประจําวัน - การดัดแปลง
- การเดินเครื่อง - กลยุทธ - การวิเคราะหหาขอเสีย
- อายุเครื่องจักร - ความเปนผูนํา
- การมีเครื่องเดินขนาน

ผลของสมรรถนะความพรอมใชงานจะเปลี่ยนไปตามธุรกิจ แตการเพิ่มจะปรับปรุงโรงงานใหดี
ขึ้นทั้งผลผลิต ความปลอดภัย และสภาพแวดลอม

1.9.7 คําถามที่มักพบบอยมาก คือ โรงงานที่ทําอยูควรมีสมรรถนะความพรอมใชงานเปนเทาใด

คําถามนี้ไมสามารถตอบไดงา ยเนื่องจากสมรรถนะความพรอมใชงานของแตละธุรกิจจะแตกตาง
กัน สมรรถนะความพรอมใชงาน ไดแสดงไวในตารางขางลางเปนชัว่ โมงโดยใช วันละ 24 ชั่วโมง ถาเวลาผลิตไม
ไดเปน 24 ชั่วโมงในแตละวัน ใหคูณดวยแฟคเตอรการใชงาน (Utilization Factor) เชน กรณีทใี่ ชเวลาทํางานวันละ
เพียง 16 ชั่วโมง แฟคเตอรการใชงานมีคา 16/24 = 0.66
กรณีที่ใชเวลาทํางานวันละเพียง 8 ชั่วโมง แฟคเตอรการใชงานมีคา 8/24 = 0.33
นําคาแฟคเตอรการใชงานที่ไดคูณคาในตารางที่ 3.2

2.6 - 20
ตารางที่ 1.9.2 ความสัมพันธความพรอมใชงานและความไมพรอมใชงานระหวาง % และเวลา
ความพรอมใช ความไมพรอม ความไมพรอมใชงานตอ (ชั่วโมง)
งาน % ใชงาน % ป เดือน วัน
0 100 8760 730 24
50 50 4380 365 12
80 20 1752 146 4.8
90 10 876 73 2.4
99 1 87.6 7.3 14.4 นาที
99.9 0.1 8.76 43 นาที 1.4 นาที
99.99 0.01 53 นาที 4.3 นาที 8.6 วินาที
99.999 0.001 5.3 นาที 26 วินาที 0.86 วินาที
99.9999 0.0001 32 วินาที 2.6 วินาที 0.086 วินาที

1.9.8 ความสําคัญทางดานเศรษฐศาสตรของการบํารุงรักษา

พื้นฐานในการจัดการการบํารุงรักษาคือ การคํานวณสมรรถนะความพรอมใชงาน การคํานวณทาง


ดานเศรษฐศาสตร การบํารุงรักษาทุกครัง้ ตองเริ่มดวยการคํานวณสมรรถนะความพรอมใชงานเพื่อการคํานวณและ
หรือปรับปรุงสมรรถนะความพรอมใชงานเนื่องจากแผนที่เปลี่ยนแปลงไป

2.6 - 21
สูตร
A = สมรรถนะความพรอมใชงาน
MTTF = เวลาเฉลี่ยจนเสีย – Mean Time To Failure
MWT = เวลารอเฉลี่ย – Mean Waiting Time
MTTR = เวลาซอมเฉลี่ย – Meat Time To Repair
MTTF
A = X 100 %
MTTF + MWT + MTTR
Or MTTF
A = X 100 %
MTTF + MDT

MDT = Mean Down Time = MWT + MTTR


Or
Tup X 100 %
A =
Tup + Tdown
Tup = Time Up for production
Tdm = Down Time due to maintenance
Tup hours/failure
MTTF =
(a + 1)
a = จํานวนครั้งที่เครื่องจักรหยุดเนื่องจากการบํารุงรักษา

ในทางปฏิบัตอิ าจจะยากทีจ่ ะเห็นความแตกตางระหวางเวลารอและเวลาซอมในกรณีที่ใชเวลาเสีย ไดแกเวลารอ +


เวลาซอม
MDT = Tdm / a hours/failure
Tup1 Tdm1 Tup2 Tdm2 Tup3 Tdm3 Tup4 Tdm4 Tup5

T = เวลาปฏิทิน (Calendar time)

Prod. Stop
Tup Tdm

2.6 - 22
Tup1 + Tup2 + Tup3 + Tup4 + Tup5
MTTF =
5
(Mean Time To Failure)
Tdm1 + Tdm2 + Tdm3 + Tdm4
MDT =
4
(Mean Down Time)
Tup = (T - Tdm ) , Tdm = (T - Tup )
การคํานวณ
สิ่งที่ตองทราบคือ
1. เวลาที่ใชงานเครื่องจักรสําหรับการผลิต (Tup)
2. เวลาที่เครื่องจักรหยุดทํางานเนื่องจากการบํารุงรักษา (Tdm)
3. จํานวนครั้งของการหยุดเครื่องจักร (a)
940
เชน Tup = 940 ชั่วโมง MTTF = 70 + 1 = 13.2
160
Tdm = 160 ชั่วโมง MDT =
70
= 2.3
a = 70 ชั่วโมง MTTR = 0.7

MWT = 1.6

Tup 940
A = Tup + Tdm 940 + 160 = 0.85
หรือ
MTTF MTTF 13.2
A = = = = 0.85
MTTF + MDT MTTF + MTTR + MWT 13.2 + 0.7 + 1.6

∴ A = 85%

2.6 - 23
การปรับปรุงเพื่อเพิ่มสมรรถนะความพรอมใชงาน
ปจจุบัน กิจกรรม ผลลัพธที่คาดไว
a = จํานวนครั้งที่ - ตรวจสอบสภาพ ดีมากที่สุด ดีนอยที่สุด
เครื่องจักรหยุด - ทํา FTM (Optimistic) (Less Optimistic)
= 70 ครั้ง -หลอลื่น a = 30 ครั้ง a = 50 ครั้ง
MTTR = 0.7 ช.ม. MTTR = 0.7 ช.ม. MTTR = 0.7 ช.ม.
MWT = 1.6 ช.ม. -PM ตามแผน MWT = 0.8 ช.ม. MWT = 1.2 ช.ม.
MDT = 2.3 ช.ม. - ใชระบบการวางแผนและการเตรียมงาน MDT = 1.5 ช.ม. MDT = 1.9 ช.ม.
(MTTR+MWT) - ปรับปรุงเอกสารเทคนิค
-ปรับปรุงระบบอะไหล
ผลลัพธที่ดีมากที่สุด (Optimistic)
Tdm = a xMDT = 30 x 1.5 = 45 ช.ม.
Tup = T-Tdm = 1100 – 45 = 1055 ช.ม.

1055
A= 1055+45
= 0.96 = 96%

Production เพิ่มขึ้น = 0.960.85- 0.85 = 12.9% + คาใชจายบํารุงรักษาที่ลดลง

ผลลัพธที่ดีนอยที่สุด (Less Optimistic)


Tdm = a xMDT = 50 x 1.9 = 95 ช.ม.
Tup = T-Tdm = 1100 – 95 = 1005 ช.ม.

1005
A= 1055+95
= 0.91 = 91%

Production เพิ่มขึ้น = 0.91 - 0.85 = 7.1% + คาใชจายบํารุงรักษาที่ลดลง


0.85

สรุป Production เพิ่มขึ้น 7.1 - 12.9%


ประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม (Overall Equipment Effectiveness)

2.6 - 24
ถึงแมวาสมรรถนะความพรอมใชงานของเครื่องจักรมีความสําคัญมากก็ตาม มันเปนเพียงสิ่งทีแ่ สดงใหเห็น
ถึงสัดสวนของเวลาที่เครื่องจักรทํางานเมือ่ เทียบกับเวลาทั้งหมด สมรรถนะความพรอมใชงานเพียงอยางเดียวอาจไม
เพียงพอที่จะบงชี้ถึงอัตราผลผลิตทั้งหมดของเครื่องจักร
การวัดประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม จะตองพิจารณาปจจัยอื่นๆ ดวย ไดแก อัตราเร็วของเครื่องจักรและ
คุณภาพของผลผลิต
เราลองมาพิจารณาเครื่องจักร ในอุดมคติซึ่งสามารถผลิตสินคาออกมาได 100% ในชวงเวลาที่กําหนด
แตในทางปฏิบัติแลวคงเปนไปไมไดที่เครื่องจักรจะทํางาน โดยไดผลผลิตออกมาครบสมบูรณ 100%

ปจจัยที่ขัดขวางไมใหไดผลผลิตตามเปาหมายไดแก
1. การหยุดของเครื่องจักร คงเปนการยากมากที่จะใหเครื่องจักรทํางานตลอดเวลาโดย ไมมีการหยุดเลย
2. การสูญเสียอัตราเร็วของเครือ่ งจักร เนือ่ งจากขอจํากัดบางอยาง จึงไมสามารถเดินเครื่องจักรมีกําลังผลิต
ตามพิกัดได
3. การสูญเสียคุณภาพของผลผลิต ผลผลิตบางชิ้นอาจตองถูกคัดออกเนื่องจากมีคุณภาพต่ํากวากําหนด
ตามปจจัยดังกลาวขางตน ประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวมสามารถคํานวณไดดังนี้
Overall Equipment Effectiveness, OEE = AxPxQ
เมื่อ A = สมรรถนะความพรอมใชงาน (Availability Performance) ของเครื่องจักร
P = สมรรถนะอัตราเร็วการผลิต (Production Speed Performance) ของเครื่องจักร
Q = สมรรถนะคุณภาพ (Quality Performance) ของผลผลิต

2.6 - 25
Total Available Time (100% Time)
A. Available Operative Time Stoppages
P. Net Operative Time Speed Losses
Q. Valuable Time Quality Losses

A = Availability Performance = Total available time – Stop time x 100%


Total available time

Total available time – Stop time


= Total available time x 100%

P = Production Speed Performance

Available operative time – Time of speed losses


= Available operative time
x 100%

Net operative time


= Available operative time
x 100%

Ideal cycle time x Processed amount


= Available operative time
x 100%

Valuable time
P = Quality Performance = Net operative time x 100%

Processed amount – Rejected amount


= Processed amount x 100%

OEE = A x P XQ

2.6 - 26
1.10. การวางแผนการบํารุงรักษา

วัตถุประสงคอยางหนึ่งของงานบํารุงรักษาคือจัดการใหการบํารุงรักษาดําเนินไปอยางมีแผนงานสิง่ นี้จะชวย
ใหสมรรถนะความพรอมใชงานของเครื่องจักรสูงขึ้น และลดคาใชจายบํารุงรักษาทางตรง ตลอดจนมีขอดีตางๆ อีก
หลายประการ ภาระงานของแผนกบํารุงรักษาจะลดลง และคุณภาพของงานจะสูงขึ้น

1.10.1 การใชการตรวจวัดสภาพ
ไมเคยมีใครประสบความสําเร็จในการวางแผนทํางานโดยที่ไมทราบเกีย่ วกับงานนัน้ มากอน สิ่งนี้
จึงมีความสําคัญมากเปนอันดับแรก คือ ตองทราบสภาพของเครื่องจักร โดยการตรวจวัดความผิดปกติที่กําลังกอตัว
ขึ้นซึ่งยังไมรุนแรงตอการทํางานของเครื่องจักร ทําใหสามารถวางแผนการทํางานไวลวงหนากอนที่จะเกิดความเสีย
หายขึ้น ดวยวิธีการตรวจวัดสภาพดังกลาว จึงทําใหงานบํารุงรักษาที่ไมมีแผนกลายเปนงานบํารุงรักษาที่มีแผน
การบํารุงรักษาที่มีแผนสามารถลดคาใชจายไดมากและลดการสูญเสียการผลิตไดมากเชนกัน
การบํารุงรักษาที่ถูกตองจะใหประโยชนหลายประการ ไดแก
ผลผลิตเพิ่มสูงขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ
คาใชจายบํารุงรักษาลดลง
เจาหนาที่ฝายบํารุงรักษามีความกระตือรือรนมากขึ้น
สภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานดีขึ้น
สามารถนํา JIT (Just in Time) มาใชไดกับการผลิต
ผูควบคุมการทํางานของเครื่องจักรมีความพึงพอใจสูงขึ้น

การวางแผนการบํารุงรักษาที่ถูกตองจะตองกระทํา
• ในเวลาที่เหมาะสม
• ดวยวิธีที่เหมาะสม
• โดยพนักงานที่เหมาะสม
• ดวยอะไหลที่เหมาะสม

การวางแผนใชชองวางการบํารุงรักษาจะเปนไปไดก็ตอเมื่อมีการตรวจพบปญหาขัดของที่เพิ่งจะเริ่มเกิดขึ้น
กับเครื่องจักรกอนที่จะลุกลามไปเปนความเสียหายมากจนตองหยุดเครื่องจักร เชน ตรวจพบวาแบริ่งของเครื่องจักร

2.6 - 27
เริ่มมีอณ
ุ หภูมทิ ํางานสูงกวาปกติหรือเริ่มมีอาการสั่นสะเทือนผิดปกติ ผูตรวจพบจะตองมีรายงานและเตรียมวางแผน
การบํารุงรักษาทันที ซึ่งอาจจะมีชองวางการบํารุงรักษาใหสามารถเปลี่ยนแบริ่งไดโดยไมกระทบตอการผลิต

ตลาดหรือลูกคาของบริษัทมีสวนสําคัญในการกําหนดผลผลิตของโรงงาน ฝายผลิตตองวางแผนการผลิต
ใหเปนไปตามความตองการของตลาดและสามารถสงมอบผลผลิตใหแกลูกคาไดทันเวลา ฝายผลิตมักมีการวางแผน
การผลิต และมักมีชวงเวลาที่ตองหยุดเครื่องจักรดวยเหตุผลทางเทคนิคของฝายผลิตเองชวงเวลาที่มีการหยุดนี้เรา
เรียกวาชองวางการบํารุงรักษา (Maintenance Windows)
ชองวางการบํารุงรักษาจะมากหรือนอยขึน้ อยูกับชนิดของอุตสาหกรรมและกิจกรรมของฝายผลิต เชน ชอง
วางที่เกิดจากการเปลี่ยนชนิดของเครื่องมือตางๆ ในการผลิต การเปลี่ยนกะของพนักงาน การเปลี่ยนวัตถุดิบ ฯลฯ

Production Planning

Production

Maintenance Planning

รูปขางบนแสดงใหเห็นถึงผลกระทบของการบํารุงรักษาแบบไมมีแผนที่มีตอการผลิต ฝายผลิตมีชวงเวลา
หยุดการผลิตตามเหตุผลทางเทคนิคของฝายผลิต แตฝายบํารุงรักษาไมมีโอกาสใชหรือไมมีการวางแผนใชชว งเวลา
เหลานั้นใหเกิดประโยชน เพราะการบํารุงรักษาเมื่อเครือ่ งจักรเสียหายแลวยอมไมมโี อกาสวางแผน รูปขางแสดงถึง
การใชชองวางการบํารุงรักษาอยางสมบูรณแบบซึ่งจะกระทบตอการผลิตนอยที่สุด และแสดงใหเห็นวาฝายผลิตและ
ฝายบํารุงรักษาทํางานรวมกันไดเปนอยางดี

2.6 - 28
อยางไรก็ตาม ถาเราวางแผนใหชวงเวลาการบํารุงรักษาไปตรงกับชองวางเวลาของการผลิตพอดีเราจะไมมี
การสูญเสียการผลิต เนื่องจากการบํารุงรักษาเลย ชองวางเวลาของการผลิตเปนชวงเวลาที่ไม
มีการผลิตของฝายผลิต เชน เวลาการเปลีย่ นเครื่องมือ การเปลี่ยนชนิดของผลผลิต และการเปลี่ยนกะ ทําใหฝายบํารุง
รักษาใชชองวางเหลานั้นใหเกิดประโยชน ทําใหการบํารุงรักษาเครื่องจักรไมกระทบตอการผลิต
สมมติวาการสูญเสียการผลิต (Production Loss) ของโรงงานเนื่องมาจากการหยุดของเครื่องจักร เทากับ
100,000 บาทตอชั่วโมง ดังนั้นการบํารุงรักษาแบบไมมแี ผนซึ่งใชเวลา 3 ชั่วโมงในการซอมแซม จะทําใหสูญเสีย
การผลิตทั้งหมด 300,000 บาท นอกจากนีถ้ าเราสามารถวางแผนใชชองวางเวลาของฝายผลิตซึ่งจําเปนตองหยุด
เครื่องจักรในกิจกรรมของฝายผลิตเองอยูแลว มาใชใหเกิดประโยชนตอการบํารุงรักษา ก็จะไมมีการสูญเสียการ
ผลิตซึ่งเนื่องมาจากการบํารุงรักษาเลย

CHANGE CHANGE SHIFT STOP


OF OF CHANGE FOR
TOOLS PRODUC CLEANING
T

PRODUCTION PLANNING

MARKET

2.6 - 29
การบํารุงรักษา

การบํารุงรักษา การบํารุงรักษา
แบบแกไข แบบปองกัน

การตรวจวัดสภาพ • การทําความ
แบบไมไดวางแผน แบบมีการวางแผน
ทางออม สะอาด
• การหลอลื่น
• การเปลี่ยนและ
ซอมตามแผน

• คาบํารุงรักษาแพง • ลดคาใชจายการบํารุงรักษา
• สมรรถนะความ • เพิ่มสมรรถนะความพรอม
พรอมใชงานต่ํา ใชงาน • ลดการแกไขนอย
ลง
• เพิ่มสมรรถนะ
ความพรอมใชงาน

การบํารุงรักษาแบบปองกันชวยลดจํานวนเครื่องจักรเสียหาย และการซอมแซมแบบฉุกเฉิน

1.10.2 การบํารุงรักษาแบบปองกันมีผลกระทบตอคาใชจายอยางไร
ในรูปตอไปนีแ้ สดงคาใชจายตางๆ ที่เกีย่ วของกับการบํารุงรักษาแบบปองกันซึ่งเปนการบํารุงรักษา
ตามกําหนดเวลา (FTM) เสนกราฟ (a1) เปนคาใชจายในการทํา PM ถาทํา PM มาก คาใชจายในการทํา PM จะเพิ่ม
ขึ้น เสนกราฟ (b1) เปนคาใชจายในการซอมแซมเครื่องจักร ถาทํา PM มาก คา

2.6 - 30
ใชจายในการซอมแซมเครื่องจักรจะลดลง เสนกราฟ (C1) เปนการสูญเสียการผลิตเนื่องจากตองหยุดเครื่องจักร ถา
ทํา PM มากเกินไปหรือนอยเกินไป เครื่องจักรจะตองหยุดทํางานบอยขึ้นซึ่งทําใหสูญเสียการผลิตมากขึ้น
เสนกราฟ (d1) เปนผลรวมทั้งหมดของเสนกราฟ (a1), (b1) และ (c1) บริเวณจุดต่ําสุดของเสน
กราฟ (d1) เปนตําแหนงที่เหมาะสมที่สุดตอการทํา PM ที่เสียคาใชจายนอยที่สุด
ในบางกรณีอาจมีขอยกเวน เชนการทํา PM กับเครื่องบิน จะมุงเนนความประหยัดอยางเดียวไมได
จะตองเนนที่ความปลอดภัยเปนสําคัญ

คาใชจาย
.d1 ผลรวม

.a1 คาใชจาย PM

.c1 ความสูญเสียเนื่อง
จากการหยุดเครื่อง

.b1 คาซอม

ชวงดีที่สุด คน-ชม. ของการทําการ


บํารุงรักษาแบบปองกัน

2.6 - 31
ถาเปรียบเทียบการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา (FTM) กับการบํารุงรักษาตามสภาพ (CBM) ซึ่งทั้ง
สองอยางเปนการบํารุงรักษาแบบปองกัน จะพบวาคาใชจายรวมทั้งหมดของ CBM จะนอยกวา FTM ซึ่งแสดงดวย
เสนเต็มและเสนประตามลําดับดังแสดงในรูปตอไปนี้

คาใชจาย
.d1 ผลรวม

.a1 คาใชจาย PM

.c1 ความสูญเสียเนื่อง
จากการหยุดเครื่อง

.b1 คาซอม

คน-ชม. ของการทําการ
ชวงดีที่สุด ชวงดีที่สุด บํารุงรักษาแบบปองกัน
PM with FTM PM with CBM
กราฟกรณีทํา PM แบบ FTM
กราฟกรณีทํา PM แบบ CBM

2.6 - 32
1.10.3 ชองวางการบํารุงรักษาและการใชประโยชน (Maintenance windows and their utilization)
การเปลีย่ นการบํารุงรักษาแบบแกไขชนิดไมมีแผนมาเปนชนิดมีแผน สามารถทําไดดว ยความรวมมือกัน
ระหวางฝายบํารุงรักษากับฝายผลิต

OPERATE TO BREAK DOWN

DOWN TIME

OTBD TIME UP WAITING REPAIR


TIME TIME

CONDITION BASED MAINTENANCE

DOWN TIME
CBM TIME UP
WITH REPAIR
TIME

PREPARE
AND PLAN
FIND FAILURE

USE MAINTENANCE WINDOW, TIME DOWN = 0

งานที่มีการวางแผนจะใชเวลาเพียงหนึ่งในสามของงานที่ไมมีแผน เชนในเวลา 3 ชั่วโมงในการซอมแซม


เครื่องจักรทีเ่ สียหายอยางฉุกเฉิน (ไมมแี ผน) แตจะใชเวลาเพียง 1 ชั่วโมงในการซอมแซมเครื่องจักรที่เสียหายแบบ
เดียวกันเมื่อมีการวางแผนไวลวงหนา

2.6 - 33
เมื่อเครื่องจักรตองหยุดทํางานเนื่องจากการบํารุงรักษา จะมีการสูญเสียการผลิต (Production loss) ถาการ
บํารุงรักษาเปนชนิดมีแผน จะสูญเสียการผลิตนอยกวาชนิดไมมแี ผน (เชนเมื่อมีแผนจะเสียเวลา 1 ชั่วโมง และไมมี
แผนเสียเวลา 3 ชั่วโมง)

1.11 กลยุทธการเลือกรูปแบบการบํารุงรักษาที่เหมาะสม

เมื่อเริ่มใชกลยุทธการบํารุงรักษา ขั้นตอนการบํารุงรักษามีหลายระดับใหเลือกจากระดับสูงถึงระดับต่ํา ใน
ทางปฏิบัติแลวอาจมีการผสมกันระหวางระดับตางๆ ซึ่งขึ้นอยูกับความหลากหลายของเครื่องจักรในโรงงานและ
ความสําคัญของเครื่องจักรที่จะกอใหเกิดความสูญเสียเมื่อเครื่องจักรตองหยุดทํางานโดยไมคาดคิดมากอน
1.11.1 ใชงานจนกระทั้งเสียหาย (Operate to break down ซึ่งยอวา OTBD)
ถาการบํารุงรักษาเปนแบบใชงานจนกระทั้งเสียหาย (OTBD) การบํารุงรักษาลักษณะนี้จะเปนแบบ
แกไขชนิดไมมีแผนและจะมีสมรรถนะความพรอมใชงานต่ําและคาใชจายบํารุงรักษาสูงและคาสูญเสียการผลิตจะ
สูงมากดวยการบํารุงรักษาจะเปนแบบไมมีแผนและมีประสิทธิภาพต่ํา งานบํารุงรักษาอยูภายใตการกดดันและเปน
อันตรายเนื่องจากผูปฏิบัติงานมักละเลยกฎความปลอดภัย
บางครั้งอาจมีความตั้งใจใช OTBD เนื่องจากเหตุผลบางประการทางเทคนิคหรือเพื่อความประหยัด
แตถาการบํารุงรักษาทั้งหมดใชวิธี OTBD เพียงอยางเดียว แสดงวากลยุทธการบํารุงรักษานั้นไมถูกตอง
1.11.2 การบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา (Fixed-time maintenanceซึ่งยอวา FTM )
การบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา (FTM ) จะเสียคาใชจายและคาสูญเสียการผลิตนอยกวา OTBD
การบํารุงรักษาตามกําหนดเวลาหมายถึงการบํารุงรักษาเครื่องจักรกระทําตามกําหนดเวลา ชิ้นสวนตางๆจะถูกเปลีย่ น
หรือปรับสภาพใหมตามอายุที่กําหนดไว
การบํารุงรักษาแบบปองกันที่ใช FTM เปนหลักมักจะไมใหผลตามที่คาดหวังไว เนื่องจากชิ้นสวน
แตละชิ้นมีอายุการใชงานของตัวเอง บางชิ้นอาจถูกเปลี่ยนบอยเกินไปซึ่งทําใหเสียคาใชจายโดยไมจําเปนบางชิ้นอาจ
เสียหายกอนกําหนดโดยไมคาดคิดซึ่งทําใหสูญเสียคาใชจายสูงมาก

1.11.3 การบํารุงรักษาตามสภาพ ( Condition-based maintenance ซึ่งยอวา CBM )


การบํารุงรักษาตามสภาพจะใหความพรอมใชงานสูงสุดและประหยัดคาใชจายและใหผลกําไรสูง
สุด การบํารุงรักษาแบบนี้สามารถพิจารณาเปนการบํารุงรักษาแบบทันเวลาพอดี (Just In Time maintenance ) การ
ตรวจวัดสภาพในขณะที่เครื่องจักรกําลังทํางานทําใหการบํารุงรักษาสามารถเปนไปตามแผนไดงายโดยวางแผนรวม

2.6 - 34
กับการผลิตเพื่อใชชองวางการบํารุงรักษาใหเกิดประโยชน การบํารุงรักษาตามสภาพใหการสูญเสียต่ํามากและให
สมรรถความพรอมใชงานของเครื่องจักรคอนคางสูง

1.11.4 การบํารุงรักษาแบบขจัดปญหาใหหมดไป (Design out maintenance ซึ่งยอวา DOM )


การบํารุงรักษาแบบนี้หมายถึงการกระทําที่ขจัดปญหาของการเกิดความเสียหายใหหมดไปโดยสิ้น
เชิง และปญหาที่ไมเกิดขึ้นอีกเลย เมื่อปญหาเหลานั้นถูกขจัดไปอยางสมบูรณ ความตองการของการบํารุงรักษาจะ
ลดลงและสมรรถนะความพรอมใชงานและประสิทธิภาพของเครื่องจักรจะเพิ่มสูงขึ้น

1.11.5 การยืดอายุใหยาวนานที่สุด (Lifetime extension ซึ่งยอวา LTE )


การยืดอายุชิ้นสวนของเครื่องจักรใหยาวนานที่สุดควรเปนความคิดของเจาหนาที่ฝายบํารุงรักษา
การปรับปรุงบางอยาง การเปลี่ยนชนิดของวัสดุ ฯลฯ อาจชวยใหอายุการใชงานของชิ้นสวนตางๆ ยาวนานกวาเดิม
ซึ่งเปนผลดีตอการบํารุงรักษาแบบปองกันและแบบแกไข ดังนั้นจึงควรฝกฝนการทํา LTE ดวยในระหวางการบํารุง
รักษา

1.11.6 การสํารอง (Redundancy ซึ่งยอวา RED


การสํารองหมายถึงการมีเครื่องจักรสํารองในระบบโดยตอขนานกับเครื่องจักรจริง และสามารถ
ทํางานทดแทนเครื่องจักรจริงที่เกิดปญหาไดทันที วิธีนี้มักมีราคาแพงเพราะตองมีเครื่องจักรสํารองเพิ่มขึ้นถาการ
หยุดเครื่องจักรกอความสูญเสียอยางมากก็ควรพิจารณาใชการสํารอง

1.12. กลยุทธสําหรับการเพิ่มความเชื่อถือได

กลยุทธการบํารุงรักษาที่ควรหลีกเลี่ยงคือการบํารุงรักษาเมื่อเสียหาย ทุกๆคนในองคกรควรเขาใจนโยบาย
ของบริษัท เจาหนาที่ฝายผลิตและฝายบํารุงรักษาตองสามารถวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นได เมื่อมีปญหาที่เกิดขึ้น มักมี
คําถามวา “ เราสามารถทําอะไรไดบางเพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเกิดปญหาขึ้นอีก” ซึ่งอาจเปนการปรับปรุงบางอยาง การ
ออกแบบใหม หรือการใชวิธีการบํารุงรักษาที่ดีกวาเดิม

2.6 - 35
1.12.1 สามารถขจัดปญหาใหหมดไปโดยสิ้นเชิงไดหรือไม ?
ถาไมสามารถขจัดปญหาใหหมดสิ้นไปโดยสิ้นเชิงได ขั้นตอไปก็พิจารณาเกี่ยวกับการยืดอายุชิ้น
สวนใหยาวนานที่สุด
1.12.2 สามารถยืดอายุชิ้นสวนใหยาวนานที่สุดไดหรือไม ?
ถาไมสามารถยืดอายุชิ้นสวนใหยาวนานที่สุดได ขั้นตอไปก็พยายามใชการตรวจสอบสถาพใน
ระหวางที่เครื่องจักรกําลังทํางานเพื่อตรวจจับปญหาขัดของที่จะกอตัวขึ้น และสามารถวางแผนการซอมไดตาม
กําหนด

1.12.3 สามารถตรวจสอบสภาพในระหวางที่เครื่องจักรกําลังทํางานไดหรือไม ?
บางครั้งการตรวจสอบสภาพไมสามารถทําไดในระหวางที่เครื่องจักรกําลังทํางาน แตสามารถตรวจ
สอบไดเมื่อเครื่องจักรหยุดทํางาน
1.12.4 สามารถตรวจสอบสภาพในขณะที่เครื่องจักรหยุดทํางานไดหรือไม ?
ถามันเปนไปไมไดเลยที่จะใชการตรวจสอบสภาพเพราะวาความเสียหายเกิดขึ้นในเวลาอันสั้นมาก
เมื่อเริ่มพบปญหา ในกรณีนี้จําเปนตองใชการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา ( FTM )
1.12.5 สามารถใชการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลาไดหรือไม ?
ถาชวงเวลาการเกิดความเสียหายนั้นไมสามารถทราบได คือความเสียหายเกิดขึ้นไมแนนอน บาง
ครั้งเร็ว บางครั้งชา ทานอาจตองพิจารณาใชการบํารุงรักษาเมื่อเสียหายและถาประหยัดเพียงพอก็อาจใชการสํารอง
1.12.6 สามารถใชการสํารองไดหรือไม ?
ถาไมสามารถใชการบํารุงรักษาทุกชนิดที่กลาวมาแลวทั้งหมดได ควรพิจารณาการสํารองเปนทาง
เลือกกอนการใชการบํารุงรักษาเมื่อเสียหาย แตตองพิจารณาเรื่องการคุมคาหรือไมที่จะลงทุนเครื่องจักรสํารอง
1.12.7 ใชงานจนกระทั้งเสียหาย (OTBD )
การบํารุงรักษาแบบนี้เปนแบบสุดทายที่จะเลือกใชเมื่อไมสามารถใชวิธีอื่น ๆ ไดเลย เชนความเสีย
หายเกิดขึ้นไมแนนอน และเกิดขึ้นอยางรวดเร็วโดยไมมีเวลาเตือนใหทราบลวงหนา แตตองคํานึงถึงคาใชจายดวย
เปนสําคัญ เชนชิ้นสวนอะไหลมีราคาถูกและไมกระทบตอการสูญเสียผลผลิตเมื่อชิ้นสวนเสียหาย

2.6 - 36
1.13.1. อายุการใชงานเฉพาะตัว
ชิ้นสวนตาง ๆ ไมวาเล็กหรือใหญมีอายุการใชงานเฉพาะตัวเอง อายุการใชงานเฉพาะตัวแตกตาง
กันไปตามแตละสวนซึ่งขึ้นอยูกับคุณภาพของชิ้นสวนนั้นและขึ้นกับปจจัยแวดลอมอื่น ๆ ดวย
ชิ้นสวนบางชิ้นเกิดปญหาขึ้นตามเวลาที่คาดไวและสามารถคาดคะเนได บางชิ้นสวนเกิดปญหาขึ้น
โดยไมคาดคิดมากอน ตัวอยางเชนแบริ่งแบบลูกกลิ้ง ความเสียหายของแบริ่งนี้ไมสามารถคาดคะเนไดวาจะเกิดขึ้น
เมือใด ซึ่งแตกตางจากการคาดคะเนอายุการใชงานของยางรถยนตซึ่งสามารถระบุไดคอนขางแนนอนกวา
ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นสามารถแยกออกเปนสองแบบคือ ความเสียหายแบบไมแนนอน
(Random failures - ไมสามารถคาดคะเนได ) และ ความเสียหายแบบปกติ (Regular failures- สามารถคาดคะเนได )

1.13.2. เวลาเตือนการเกิดความเสียหาย ( Failure developing time )


ความเสียหายบางอยางไมวาจะเปนแบบไมแนนอนหรือแบบปกติก็ตาม อาจมีเวลาเตือนการเกิด
ความเสียหายสั้นหรือยาวไมเทากัน ชิ้นสวนบางอยางมีความเสียหายเกิดขึ้นในเวลาสั้นมากโดยไมมีการเตือนให
ทราบลวงหนา ชิ้นสวนบางชิ้นใชเวลายาวนานตั้งแตพบวาเริ่มมีปญหาจนกระทั้งเสียหายในที่สุด
ถาเวลาเตือนการเกิดความเสียหายยาวนานจะทําใหการจัดการงายขึ้น ชิ้นสวนที่มีเวลาเตือนการเกิด
ความเสียหายยาวนานมักเหมาะกับการใชวิธีการตรวจวัดสภาพเพื่อตรวจจับความผิดปกติที่เริ่มกอตัวขึ้นกอนที่จะ
เสียหายในที่สุด ถาเวลาเตือนการเกิดความเสียหายสั้นมักนิยมใชการตรวจวัดตอเนื่อง ( on-line ) ถาเวลาเตือนการ
เกิดความเสียหายคอนขางยาวนานมักนิยมใชการตรวจวัดตามชวงเวลา ( off-line )

2.6 - 37
สภาพเครื่องจักร

จุดเสียหาย

สภาพการทํางานปกติ

ยังคงทํางานไดแตมี
อาการผิดปกติเตือน
ใหทราบ
เวลา

เวลาเตือนการเกิดความเสียหาย

มีเวลาเตือนการเกิดความเสียหาย (With Failure Developing Time)

สภาพเครื่องจักร

จุดเสียหาย

สภาพการทํางานปกติ

เวลา

ไมมีเวลาเตือนการเกิดความเสียหาย (Without Failure Developing Time)

2.6 - 38
1.13.3 ความเสียหายและการเกิดความเสียหาย

1.13.3.1 ความเสียหายแบบไมแนนอน-มีเวลาเตือนการเกิดความเสียหาย
ความเสียหายที่เริ่มเกิดขึ้นจนกระทั้งเสียหายมากในที่สุดจะมีเวลาชวงหนึ่งที่สามารถเตือนใหเรา
ทราบไดลวงหนา โดยการตรวจวัดสภาพ ถาเวลาเตือนการเกิดความเสียหายสั้นก็ควรใชการตรวจวัดตอเนื่อง ( on-
line )
1.13.3.2 ความเสียหายแบบไมแนนอน-ไมมีเวลาเตือนเกิดความเสียหาย
ความเสียหายลักษณะนี้ไมมีชวงเวลาเตือนใหทราบลวงหนาและไมสามารถปองกันได ดังนั้นตองมี
ทีมงานบํารุงรักษาที่มีความชํานาญประจําอยูเพื่อลดเวลาสูญเสีย อะไหลตองพรอมเสมอ อาจจําเปนตองมีการสํารอง
เครื่องจักรถาประหยัดเพียงพอ
1.13.3.3 ความเสียหายแบบปกติ-มีเวลาเตือนการเกิดความเสียหาย
ความเสียหายนี้เกิดขึ้นภายในชวงเวลาที่คาดคะเนได เนื่องจากมีการเตือนการเกิดความเสียหายเรา
มักใชวิธีตรวจวัดสภาพชวยเพื่อใหทราบเวลาที่แนนอน หรือใชการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลาก็ไดแตจะไมสามารถ
ทราบอายุการใชงานจริงได
1.13.3.4 ความเสียหายแบบปกติ-ไมมีเวลาเตือนการเกิดความเสียหาย
ความเสียหายลักษณะนี้สามารถปองกันไดดวยการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา (FTM ) เนื่องจาก
ไมมีเวลาเตือนการเกิดความเสียหาย จึงไมสามารถใชการตรวจวัดสภาพได นอกจากการใชการบํารุงรักษาตาม
กําหนดเวลาแลว อาจใชการบํารุงรักษาเมื่อเสียหายก็ไดแตไมคอยเหมาะสมนัก

2.6 - 39
เอกสารอางอิง

หนังสือ MMEC Maintenance Management Education Center เรื่องการจัดการบํารุงรักษามหาวิทยาเกษตรศาสตร


โดยอาจารย
- รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
- รศ.ธีรยุทธ สุวรรณประทีป
- ผศ.อวยชัย จีระชน
- อ.อนนต วงษเกษม
- รศ.ดร.อัศนีย กอตระกูล

2.6 - 40
2.7 Plant Performance

2.7 - 1
สมรรถนะของการผลิตไฟฟา (Plant Performance)

ในการดําเนินการผลิตพลังงานไฟฟาของโรงไฟฟาใดๆ หากไมคิดถึงเงินลงทุนแลว คาใชจายที่เกิด


ขึ้นสามารถแบงไดเปน 3 กลุม คือ
1. เชื้อเพลิง
2. วัสดุ, ชิ้นสวน และคาบริการ
3. คาจาง และเงินเดือนพนักงาน

d รูปที่ 1 จะเห็นวาสําหรับโรงไฟฟาขนาดกลาง คา


e
ใชจายในการดําเนินงาน ในสวนของเชื้อเพลิง จะเปน
อัตราสวน 70 – 80% ของคาใชจายทั้งหมดในขณะที่คา
c วัสดุ, ชิ้นสวน และบริการ กับคาจางเงินเดือน มีอัตราสวน
รูปที่ 1 คาดําเนินการ เพียงกลุมละประมาณ 10%

ดังนั้นคาใชจายในสวนของเชื้อเพลิง จึงเปนตนทุนหลักในการผลิตพลังงานไฟฟา ซึ่งเชื้อเพลิงที่ถูกใช


ไปนี้ ไมถึง 50% ที่ถูกเปลี่ยนไปเปนพลังงานไฟฟา โดยที่ความสูญเสียสวนมากจะเกิดขึ้นที่ Condenser Unit

Output
39 %

รูปที่ 2 แสดง Sankey Diagram


สําหรับโรงไฟฟาขนาด 500 MW ซึ่ง
จําแนกความสูญเสียพลังงานในสวน
ตางๆ ของกระบวนการผลิตไฟฟา

MECHANIC

รูปที่ 2 Sankey Diagram of heat flow


2.7 - 2
ในการศึกษาสมรรถนะของโรงไฟฟา ผูอานจําเปนตองทําความเขาใจกับพื้นฐานในกระบวนการผลิต
ไฟฟาที่สําคัญๆ โดยมิไดกลาวในรายละเอียดในที่นี้ ดังนี้
วัฏจักร Carnot
วัฎจักร Rankine Cycle
Thermodynamic ของ Power Plant
Boiler Combustion
หัวขอที่ใชในการวิเคราะหหา Performance ของโรงไฟฟา ประกอบดวย
Boiler Efficiency and Optimisation
Turbine Performance
Condenser Performance
Feed Water Heater Performance
Cooling Tower
ภาพรวมของการศึกษาสมรรถนะโรงไฟฟาจะกลาวถึงในสวนของ Boiler Efficiency และ Turbine
Efficiency ดังนี้
1. Boiler Efficiency สามารถคํานวณได 2 แบบ คือ

output
Boiler efficiency (η B) = * 100
input
1.1 Input -Output Method

1.2 Heat loss Method


input - loss
Boiler efficiency (η B) = * 100
input

เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ
เครื่องมือวัดสําคัญจะตองใช Test Instrument ที่กําหนดตามมาตรฐาน
Loss
Boiler efficiency (η B) = 100 - * 100
input
เครื่องมือวัดแรงดัน ของ Steam &Water จะตองใช Pressure gauge ที่มีคา accuracy ไม
มากกวา 0.25%หรือ Pressure transmitter ตองมีคา acc.ไมมากกวา 0.1% จุดติดตั้งเครื่องมือ
ทดสอบและวิธีการติดตั้งตองเปนไปตามมาตรฐาน เครื่องมือดังกลาวตองผานการ
Calibrate กอนการทดสอบ

2.7 - 3
เครื่องมือวัดอุณหภูมิใช Thermocouple ที่เปน Test class ที่ได Calibrate กอนการทดสอบ
เครื่องมือวิเคราะห Flue gas ใช Standard Orsat วิเคราะหโดยผูชํานาญการ
Sampling probe จํานวนเหมาะสมตามมาตรฐาน ซึ่งอาจวัดอุณหภูมิและ samplimg point
จุดเดียวกัน
การเก็บตัวอยางเชื้อเพลิง ระหวาง ทดสอบสงวิเคราะหหาคา Composition ดวย Lab ที่ได
รับการรับรอง
การทดสอบและการเก็บขอมูล
ระยะเวลาในการทดสอบ 4 ชม.
Steady state กอนการทดสอบ 1 ชม.
Test condition
• System isolation , soot blower, boiler blow down, Fan angle, Draft balancing ,
burner tilt , burner damper
• Equipment condition Running, cleaning
การเก็บขอมูล
• Pressure and temperature ทุก 15 นาที

Heat in fuel(Hf) (Chemical)


Heat in entering air(BA)
Heat in atomizing steam(Bz)
Sensible heat in fuel(Bf)
Circulating fan power(Bx)
Heat in moisture in air(BmA)
Heat in boiler circulating pump(Bx)
Heat in primary water
Heat in DE SH water
Heat in feedwater
Output
Heat in RH steam out
Heat in DE SH water
Heat in RH steam in
LUC Unburned carbon in refuse
LG Heat in dry flue gas
Lmf Moisture in fuel
LH Moisture from burning hydrogen
LmA Moisture in air
Lz Heat in atomizing steam
2.7 - 4 and convection
LB Radiation
รูปที่ 3

2.7 - 5
Turbine Cycle Performance
การทดสอบ Steam Turbine Generator Heat Rate Test ขณะ Normal Operation สามารถทําไดโดย
อางอิงมาตรฐาน B5752 โดยสูตรในการคํานวณ

Ms (H1 – hr) + MR/H(H3 – H2) +


Mis (hr – his) + MirH3 – hir)
¯ 3600
Pg

Heat Consumption =

where Ms = steam Flow to HP turbine stop


H1 = specific enthalpy of steam at HP turbine stop valves, kJ/kg
Hr = specific enthalpy of final feedwater, kJ/kg
MR/H = steam flow from HP exhaust to reheater, kg/s
H2 = specific enthalpy of steam at HP turbine exhaust, kJ/kg
H3 = specific enthalpy of steam at IP turbine stop valves, kJ/kg
his = specific enthalpy of spraywater to superheater, kJ/kg
Mir = spraywater flow to reheater, kg/s
hir = specific enthalpy of spraywater to reheater, kJ/kg
Pg = power at generator terminals, kWh

รูปที่ 4 แสดงจุดวัดเพื่อเก็บขอมูลในการทํา TB Cycle Performance Test จากนั้นสามารถคํานวณหา Overall


Plant Efficiency จาก

Boiler Efficiency ¯ Turbine Cycle Efficiency

2.7 - 6
รูปที่ 4

2.7 - 7
Performance Assessment
เปนการประเมินประสิทธิภาพของโรงไฟฟาเบื้องตน เพื่อใหใหทราบสภาพโรงทั่วไป Performance
Survey หรือหาปญหาเฉพาะจุด ซึ่งหากจําเปนก็จะมีการตรวจสอบตอในรายละเอียด และหาทางแกไขปรับปรุง
ตอไป

วัตถุประสงคในการดําเนินการ Performance Assessment


1. เพื่อประเมินสมรรถนะโรงไฟฟา และอุปกรณหลัก
2. เพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนการผลิต
3. เพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนบํารุงรักษา
4. เพื่อใชเปนขอมูลในการวิเคราะหและปรับปรุงสมรรถนะอุปกรณ

การดําเนินงาน Performance Assessment


1. ขอบเขตงาน Performance Assessment
งาน Performance Assessment จะมีขอบเขตครอบคลุมงานดานตางๆ ดังนี้
- ประเมินสมรรถนะของโรงไฟฟาและอุปกรณวามี Performance เปนอยางไร
- วิเคราะหสาเหตุที่ทําให Performance ของโรงไฟฟาและอุปกรณลดต่ําลง
- หามาตรการแกไข Performance ของโรงไฟฟาและอุปกรณที่ลดต่ําลงใหกลับขึ้นมาดีขึ้น ดังเดิม
- หามาตรการปรับปรุง Performance ของโรงไฟฟาและอุปกรณใหมี Performance สูงขึ้น กวาเดิม
- จัดทํามาตรฐานการเดินเครื่องและบํารุงรักษาโรงไฟฟาและอุปกรณเพื่อรักษา Performance ใหดีที่
สุด
2. กระบวนการดําเนินงาน Performance Assessment
Performance Assessment ของโรงไฟฟาและอุปกรณสามารถดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
2.1 สํารวจขอมูลอางอิงของโรงไฟฟาหรืออุปกรณ
2.2 ตรวจสอบความถูกตองของเครื่องมือวัด
2.3 ตรวจสอบสภาพโรงไฟฟา หรืออุปกรณที่เปนอยูในปจจุบัน
2.4 เปรียบเทียบ Performance ของโรงไฟฟาหรืออุปกรณ
2.5 วิเคราะหสาเหตุและวิธีแกไข
2.6 สรุปผล และเสนอแนะวิธีการแกไข Performance โรงไฟฟาหรืออุปกรณ
3. รายละเอียดการดําเนินงานประเมินสมรรถนะโรงไฟฟา
3.1 สํารวจขอมูลอางอิงของโรงไฟฟา

2.7 - 8
ในการประเมินสมรรถนะโรงไฟฟาจําเปนตองใชขอมูลตางๆ จํานวนมาก ซึ่งการ
สํารวจขอมูลตองกระทําอยางเปนระบบ ซึ่งมีขอมูลที่ตองสํารวจไดแก
- P&I Diagram
- Design Data
- Performance Data
จากขอมูลที่สํารวจไดจะถูกนํามาใชเปน Reference Heat Rate สําหรับเปรียบเทียงกับ
Actual Heat Rate ที่เปนอยูเพื่อวิเคราะหตอไป
3.2 ตรวจสอบความถูกตองของเครื่องมือวัด
Instrument ที่ตองตรวจสอบเพื่อใชใน Performance Assessment เพื่อใหแนใจวา
คา Performance ที่วัดไดถูกตองนาเชื่อถือ ซึ่ง Instrument ที่ตองตรวจสอบ มีดังนี้

Location Pressure Temperature Flow


Main Steam ± ± ±
First Stage ±
Cold Reheat ± ± ±
Hot Reheat ± ± ±
Crossover ± ±
Condenser ± ±
Feed Water Heater Extraction ± ±
Feed Water Heater Inlet ± ±
Feed Water Heater Outlet ± ±
Feed Water Shell Pressure ±
Feed Water Heater Drain Outlet ±
Final Feed Water ± ±
Condensate ± ±
Circulating Water Inlet / Outlet ±
Economize Gas Exit ±
Air Heater Inlet / Outlet (Gas and Air) ±
Amblent ±
Superheat Spray (±) (±) ±
Reheat Spray (±) (±) ±

2.7 - 9
Auxiliary Steam ± ± ±
Make Up Water ± ±
Fuel ± ±
GT. Exhaust ±
HRSG. Inlet / Outlet Gas ±

Include :
Exit Gas O2, CO2, CO Instrument
Electrical Generation Instrument
Auxiliary Electrical Power Consumption Instrument
Instruments in “Plant Audit” Section
3.3 ตรวจสอบสภาพโรงไฟฟา หรืออุปกรณอุปกรณที่เปนอยูปจจุบัน
เปนการประเมิน Performance โรงไฟฟาที่เปนอยูในปจจุบันวามี Performance เปนอยางไร
ซึ่งการประเมิน Performance โรงไฟฟาที่เปนอยูในปจจุบันสามารถกระทําได 3 วิธี คือ
- ประเมินคาที่อานไดจากการเดินเครื่องจริง
- ประเมินจาก Performance Test Report ครั้งลาสุด
- ประเมินโดยการทดสอบโดยตรง
การประเมิน Plant Heat Rate ที่เปนอยูในปจจุบัน จําเปนอยางยิ่งที่ Uncontrollable Parameter
ทั้งหมด เชน Ambient Condition, Fuel Properties ฯลฯ ตองถูก Correct ไปที่ Standard Condition
ซึ่งมักจะใช Design Condition เสียกอน
3.4 เปรียบเทียบ Performance ของโรงไฟฟาหรืออุปกรณ
เปนการเปรียบเทียบ Performance โรงไฟฟา หรืออุปกรณที่เปนอยูในปจจุบันกับ Reference
Data ที่ประเมินวา Plant Performance ที่เปนอยูในปจจุบันวาอยูในเกณฑนาพอใจหรือไม โดยมี
แนวทางปฏิบัติ ดังนี้
- เปรียบเทียบ Performance ของโรงไฟฟาที่ประเมินได (Actual Performance) กับ
Performance อางอิงของโรงไฟฟานั้นๆ (Reference Performance) โดยที่ Uncontrollable
Parameter ทั้งหมด เชน Ambisnt Condition, Fuel Properties ฯลฯ ตองถูก Correct ไปที่
Standard Condition เดียวกัน
- คํานวณหา Loss ตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งจากดานการเดินเครื่องและความเสี่ยมของอุปกรณที่
หาไดกอนหนาแลว
- ถาผลตางของ Performance โรงไฟฟาที่ประเมินได (Actual Performance) กับ
Performance อางอิงของโรงไฟฟานั้นๆ (Reference Performance) มีคาใกลเคียงกับ Loss

2.7 - 10
ที่คํานวณไดขางตน ก็จะสามารถสรุปไดวา Performance ของโรงไฟฟาที่ลดลงไปเกิด
ขึ้นจาก Loss เนื่องจากการเดินเครื่องและความเสื่อมของอุปกรณที่หาไดกอนหนาแลว
เทานั้น
ถาผลตางของ Performance โรงไฟฟาที่ประเมินได (Actual Performance) กับ
Performance อาอิงของโรงไฟฟานั้นๆ (Reference Performance) มีคาแตกตางจาก
Loss ที่คํานวณไดขางตนมาก ก็จะตองวิเคราะหรายละเอียดตอไป
3.5 การวิเคราะหสาเหตุและวิธีแกไข
การวิเคราะหสาเหตุที่ทําให Plant Performance แยลง เปนความยุงยากและตองใชความชํานาญ
ในการวิเคราะหเปนอยางมาก ซึ่งแนวทางการวิเคราะหจะใช Performance Tool ตางๆ ชวย ซึ่งได
แก
- Performance Test
- Equipment Performance Test
- Heater Balance Code Program
- Performance Tutorial
- Performance Parameter Diagnostic
- Heat Rate Logic Tree
3.6 สรุปผลและเสนอแนะวิธีการแกไข
การสรุปผล Performance Assessment และขอเสนอแนะวิธีแกไขนั้นจะตองประกอบดวย
- ขอสรุปผล Performance ของโรงไฟฟาที่เปนอยูปจจุบัน โดยเทียบกับ Performance ของ
โรงไฟฟาที่ควรจะเปน เชน ดีขึ้น หรือแยลง กี่เปอรเซนต
- ขอสรุปผล Performance ของอุปกรณหลักของโรงไฟฟา เชน Boiler, Turbine, Cooling
Tower etc. ที่เปนอยูปจจุบัน โดยเทียบกับ Performance อุปกรณนั้นที่ควรจะเปน เชน ดี
ขึ้น หรือ แยลง กี่เปอรเซนต
- สาเหตุที่ทําให Performance ของโรงไฟฟา หรืออุปกรณหลักเปลี่ยนแปลงไป
- ขอเสนอแนะวิธีการแกไขให Performance ของโรงไฟฟา หรืออุปกรณหลักกลับเปน
ปกติ
4. การรายงาน Performance Assessment
Performance Assessment Report สําหรับโรงไฟฟา จะประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้
1. ปกรายงาน มีรายละเอียด ดังนี้
ชื่อรายงาน, โรงไฟฟา
รายงานโดยหนวยงานใด
เสนอรายงานตอหนวยงานใด

2.7 - 11
ผูจัดทํา และผูมีสวนรวม
วันที่รายงาน
2. สารบัญ
3. บทนํา
กลาวถึงความเปนมาที่ตองดําเนินงานโดยหนวยงานใด เพื่อหนวยงานใด ระยะเวลาดําเนินการ
โรงไฟฟาใด ขนาดและคุณสมบัติของโรงไฟฟา
4. วัตถุประสงค

5. ขอมูลจําเพาะของโรงไฟฟา
Design Data หรือขอมูลการทดสอบตางๆ ที่จําเปนของโรงไฟฟา รวมถึงคาเปาหมายตางๆ
(Target) และ Thermal Kit ที่จําเปนของโรงไฟฟา
6. รายละเอียดการดําเนินการและผลการวิเคราะห
รายละเอียดในการดําเนินการ และผลการวิเคราะหควรแยกเปนสวนๆ ตามวิธีการประเมินที่ได
เขาดําเนินการตอโรงไฟฟา
7. สรุปผลและขอเสนอแนะ

2.7 - 12
ขอเขียนฉบับนี้นํามาจากเอกสารแปล Advance Operator Training หัวขอ Fundamental of Plant Efficiency ซึ่งมี
ประโยชนตอการทําความเขาใจในเรื่อง สมรรถนะโรงไฟฟาจึงไดนํารวมไวในเอกสารฉบับนี้ดวย

Fundamental of Plant Efficiency


วัตถุประสงค
วัตถุประสงคของบทเรียนนี้คือ เปนการปูพื้นฐานเรื่อง Plant Cycle และขบวนการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ที่เกิดขึ้นตลอด Cycle
เมื่อจบบทเรียน ผูเขารับการอบรมตองสามารถ
1. บอกบริเวณที่มีการรับ และบริเวณที่มีการคายพลังงานใน Plant Cycle ได
2. อธิบายความหมายของ Enthalpy ได
3. บอกความหมายของ Steam Quality และวิธีการหา Enthalpy ของ Exhaust Steam ได
4. อธิบายวิธีเปลี่ยนหนวยพลังงานกล เปนพลังงานไฟฟาได
5. อธิบายวิธีหา Turbine Cycle Efficiency ได
6. อธิบายผลตอ Turbine Cycle Efficiency เมื่อ เปลี่ยนแปลงได
7. อธิบายผลตอ Turbine Cycle Efficiency เมื่อ Condenser Back Pressure เปลี่ยนไปได
8. อธิบายวิธีหา Boiler Efficiency ได
9. อธิบายวิธีหา Overall Plant Efficiency ได
10. ระบุขอแตกตางระหวาง Gross และ Net Plant Heat Rate ได
11. บอก Factor ที่ใชหา Boiler Efficiency ได

2.7 - 13
Fundamental of Plant Efficiency
Segment A
พลังงานที่ใหแกโรงไฟฟาเปนรูปเชื้อเพลิง (Heat Energy) และออกมาในรูปของพลังงงานไฟฟา
(Electrical Energy) โดยที่พลังงานสวนใหญสูญเสียไปโดยเปลาประโยชน (Waste Heat)
ตัวอยางเชน ถาเราใหพลังงานแกโรงไฟฟาเทากับ 100 หนวย พลังงานประมาณ 15 หนวยจะสูญเสียไป
ที่ Boiler โดยสูญเสียไปในรูปของความรอนที่อกไปกับ Flue Gas ผาน Stack ออกสูบรรยากาศ (อุณหภูมิของ
Gas ประมาณ 300 F)
พลังงานอีกสวนหนึ่งจะสูญเสียไปหลังจากผาน Turbine Cycle โดย Steam ที่ออกจาก Turbine จะผาน
Condenser เพื่อถายเทความรอนแลวกลั่นตัวเปน Condensate Water ความรอนแฝงของ Steam (Latent Heat)
สวนนี้จะถูก Circulating Water ดึงออกไปอีกประมาณ 50 หนวย ดังนั้นจะเห็นวาความรอนทื่สูญเสียไปจะเทา
กับ 65 หนวย ซึ่งหมายความวา พลังงานที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟาเปน 35 หนวย หรือประสิทธิภาพของโรง
ไฟฟาเทากับ 35% นั่นเอง แตตองตระหนักวา คานี้เปนคาประมาณโดยทั่วไป ซึ่งโรงไฟฟาที่มีประสิทธิภาพถึง
35% ถือวาอยูในเกณฑดี สําหรับโรงไฟฟาปจจุบัน
สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมบางแหง Heat Loss ของ Steam สวนนี้สามารถนําไปใชใน Process อื่นได
ดังเชนโรงงานผลิตกระดาษจะใชความรอนจาก Steam จํานวนมากในกระบวนการผลิต ซึ่งโรงไฟฟาที่ใชความ
รอนของ Steam รวมอยูกับโรงงานอุตสาหกรรมในลักษณะนี้เรียกวา Cogeneration Unit
ตัวอยางนี้เปฯตัวอยางการนําความรอนจาก Steam ไปใชงานใน Process อยางหนึ่งเทานั้น สําหรับโรง
ไฟฟาสวนใหญ จะเลือกใชแบบ Condensing Turbine เนื่องจากการนํา Steam ไปใชงานใน Process อื่นของโรง
งานอุตสากรรมในบริเวณใกลเคียงมีไมมากพอ และการลงทุนสรางสวน Heat Recovery มีคาใชจายสูง
จากภาพ FIG.1A.1 แสดง Turbine Cycle อยางงาน ถาใช Steam Table หาคาความรอนของ Working
Fluid (Water หรือ Steam) ก็สามารถหาไดทุกจุดใน Cycle ภาพนี้ไมไดแสดงถึงอุปกรณ Feedwater Heater
Dearator และอุปกรณอื่นๆ ซึ่งอุปกรณเหลานี้จะเพิ่มนหัวขอตอไป แตในขณะนี้จะกลาวเฉพาะผลของ Steam
Temperature และ Pressure ตอประสิทธิภาพใน Cycle อยางงายนี้
Steam Enthalpy เปนอยางไร ถา Main Steam Pressure = 500 PSIA ที่อุณหภูมิ 850 F. จาก Steam Table
จะพบวา ไอน้ําขณะนั้นเปน Superheated เนื่องจากไอน้ําที่ความดัน 500 PSIA จะมีคา Saturation Temperature =
467.01 F. และ Steam Enthalpy ขณะนั้นจะมีคา 1439.7 BTU/LB.
ภาพ FIG.1A.2 แสดงการเปลี่ยนแปลงสภาวะของน้ํากลายเปนไอ เพราะปริมาณความรอนที่ตองการ
จากภาพน้ํามีสภาวะความดัน 500 PSIA ตองใชความรอน 450 BTU/LB ในการทําใหน้ําที่

2.7 - 14
อุณหภูมิ 32 F. เดือดที่อุณหภูมิ 467 F. (Saturation Temperature) และปริมาณความรอนที่ทําใหน้ําเดือดกลาย
เปนไอน้ําทั้งหมดพอดี มีคาเทากับ 755 BTU/LB โดยที่อุณหภูมิคงที่ (ชวงเปลี่ยนสภาวะ) ถาใหความรอนตอ
ไปอีก อุณหภูมิของไอน้ําก็จะสูงขึ้นตอไป ซึ่งในชวงนี้เรียกวา Superheated Steam
ไอน้ําในสวนที่ผาน Turbine จะเปลี่ยนพลังงานจากความรอนของไอน้ํา เปนพลังงานกลในการขับ
Turbine ใหหมุน ในการคํานวณปริมาณความรอนที่ใชขับ Turbine ตองทราบคาปริมาณความรอนของไอน้ําตอ
ปอนด ที่ออกจาก Turbine ซึ่งรายละเอียดจะกลาวไปหัวขอตอไป

2.7 - 15
Segment B
จากตัวอยางที่ผานมา ไอน้ําที่ออกจาก Turbine มีความดัน 1” HG abs (Back Pressure มีคา
ประมาณ 0.5 PSIA) ซึ่งวัดที่ Condenser จะเห็นวาคาที่วัดไดเปน Vacuum โดยใช Manometer วัดความดัน
(Back Pressure) ที่ Condenser เทียบกับ Barometer ซึ่งวัดคาความดันบรรยากาศขณะนั้น คาที่อานไดจะเปฯคาค
ยวามดันใน Condenser เชนคาความดันที่อานจาก Manometer เปน 29” HG (ปรอท) และอานจาก Barometer
เปน 30”HG หมายความวา Condenser Back Pressure จะมีคา 1”HG. หรือ 0.5 PSIA
ไอน้ําที่ออกจาก Turbine โดยทั่วไปจะอยูในสภาวะ Water / Steam Mixture ปริมาณ Steam ที่อยูใน
สวนผสมนี้เรียกวา Steam Quality และปริมาณน้ําที่มีอยูในสวนผสมนี้เรียกวา Moisture Content เชนถา Exhaust
Steam มี Quality 90% หมายถึง จะมีสวนผสมเปนน้ํา 10% ถากําหนดให X แทนดวย Steam Quality คา
Enthalpy ของ Exhaust Steam จะสามารถหาไดจากสูตร

Hsteam = hr + (X)hfg

เมื่อ hr = Enthalpy ของสวนที่เปนน้ํา (Sensible Heat)


hfg = Enthalpy เฉพาะในสวน Steam / Water Mixture (Latent Heat)
จาก Steam Table :
hr = 48.02 BTU/LB
hfg = 1048.6 BTU/LB
เพราะฉะนั้น
hsteam = 48.02 + (0.9) 1048.6 BTU/LB
= 48.02 + 943.74 BTU/LB
= 991.76 BTU/LB
ดังนั้นเราสามารถหาคาพลังงานที่ใชในการขับ Turbine ไดจกาผลตางระหวาง Enthalpy ของ Steam ที่
เขาและออกจาก Turbine ซึ่งมีคาเทากับ 1439.7 – 991.76 = 447.94 BTU/LB
ถา Mass Flow Rate ของไอน้ําเทากับ 100,000 LB/HR พลังงานที่ Turbine จะไดรับเทากับ 44.8 × 106
BUT/HR หรือ 13.126 MW (1 BTU = 0.000293 KW-HR.) คาที่ไดนี้ยังไมคิดถึง Mechanical และ Electrical
Loss ซึ่งโดยปกติมีคาต่ํา
ชวงที่ Steam ออกจาก Turbine ผานเขา Condenser นั้น เราตองการใหไอน้ํากลั่นตัวเปนน้ําทั้งหมด ดัง
นั้นจึงตองระบายความรอน (Latent Heat) ออกจากไอน้ําใหหมดโดยใช Circulating Water อุณหภูมิของน้ําที่
ออกจาก Turbine มีคา 80 F. (ตางประเทศ๗ ซึ่งเปน Saturation Temperature ที่ความดัน 1”HG. (0.5
PSIA) และมี Moisture Content 10%, คา Latent Heat ที่สภาวะนี้เทากับ 943.74 BTU/LB คาความรอนนี้จะถูก

2.7 - 16
ระบายโดย Circulating Water แลว Discharge สูแมน้ํา หรืออางเก็บน้ํา ความรอนจํานวนนี้เปน Loss ที่สูญเสีย
ไปจาก Cycle
น้ํา Condensate ที่กลั่นตัวถูกปมไปยัง Boiler โดย Feed Pump เพื่อเพิ่มความดัน (โดยอุณหภูมิ
เปลี่ยนแปลงนอยมาก) ซึ่งความดันที่ Pump Discharge ถึง 800 PSIA จากจุดนี้ไปจะเรียกวา Feedwater, จาก
Compressed Water Table, คา Enthalpy ของ Feedwater ที่เขา Boiler เทากับ 50.2 BTU/LB
เมื่อ Feedwater เขาสู Boiler จะรับความรอนเพิ่มขึ้นเทากับ 1389.5 BTU/LB (∆h) ซึ่งเปนผลตาง
ระหวาง enthalpy ของ Feedwater ที่เขา Boiler กับ Enthalpy ของ Steam ที่ออกจาก Boiler คาความรอนทั้ง
หมดที่ ใหกับ Feedwater จะเทากับ h × Feedwater Mass Flow
Turbine Cycle Efficiency สามารถหาไดจาก Useful Turbine Work หารดวย Heat Added to the Water
and steam ใน Boiler

Useful Work 447.94


Heat Added in Boiler
= = 0.3225 หรือ 32.35%
1389.5

ปริมาณความรอนสวนใหญ คือ = 67.75% จะถูกดึงออกจากวัฏจักรที่ Condenser ในหัวขอนี้ไดกลวถึง


เฉพาะการหาประสิทธิภาพของ Turbine Cycle โดยยังไมไดกลาวถึงประสิทธิภาพของ Boiler ในหัวขอตอไปนี้
จะกลาวถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพใหดีขึ้น

2.7 - 17
Segment C (Part I)
จากตัวอยางที่ 2 (FIG.1C.1) ถาเพิ่มอุณหภูมิ Main Steam เปลี่ยนจาก850 °F เปน 1000 °F พลังงาน
ความรอนของไอน้ําที่เขา Turbine มีคาเพิ่มขึ้นเปน 1519.6 BTU/LB ซึ่งสูงกวาที่อุณหภูมิ 850 °F
(1439.7BTU/LB)
ถาอุณหภูมิของไอน้ําทีออกจาก Turbine = 80°F คา Enthalpy = 991.76 BTU/LB เพราะฉะนั้นพลังงาน
ที่ Turbine ไดรับจะมีคาเทากับ
1519.6 – 991.73 = 527.84 BTU/LB
ถาสภาวะของ Feedwater เหมือนในหัวขอที่แลว ปริมาณความรอนทีเพิ่มกับ Fluid ใน Boiler จะเทากับ

1519.6 – 50.2 = 1469.4 BTU/LB

527.84
ดังนั้นประสิทธิภาพของ Turbine Cycle = = 35.9%
1469.4

จะเห็นไดวาประสิทธิภาพของ Turbine Cycle จะเพิ่มขึ้นจาก 32.9% เปน 35.9% เมื่ออุณหภูมิของ Main


Steam เพิ่มขึ้นจาก 850°F เปน 1,000°F
แตอยางไรก็ตาม คาอุณหภูมิของ Main Steam จะถูกกําจัดโดยปญหาของ Material ที่ใช โดยทั่วไปจะ
ทนกับอุณหภูมิของ Steam ไดไมเกิน 1,000°F
ตัวอยางตอไป (FIG 1C.2) แสดงถึงผลของการเพิ่ม Steam Pressure ถาเพิ่ม Steam Pressure เปน 2,000
PSIA อุณหภูมิ 1,000°F คาพลังงานความรอนของ Steam จะมีคา 1474.5 BTU/LB จะเห็นวามีคาต่ําลงแสดงวา
การเพิ่ม Steam Pressure ดูเหมือนวาจะไมมีผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพของ Turbine Cycle เลย
แตการที่ Steam Pressure มีคาสูงขึ้นจะมีผลให Degree Of Superheat ต่ําลง เมื่อ Steam ผาน Turbine
Steam จะเขาสูสภาวะ Saturated เร็วขึ้นและปริมาณ Quality ที่ออกจาก Turbine จะต่ําลง ถึงแมวา Steam ที่
เขา Turbine จะมีคา Enthalpy ลดลง แตอัตราของ Steam Expansion ผาน Turbine แตละ Stage จะสูงขึ้น ซึ่งมีผล
ทําใหคา Enthalpy เปลี่ยนไปอยางมาก ซึ่งเปนการถายเทพลังงานใหเทากับ Turbine มากขึ้น ผลคือประสิทธิภาพ
สูงขึ้น
เชนเดียวกัน ในทางปฏิบัติคา Main Steam Pressure ก็ถูกจํากัดเนื่องจากปริมาณ Steam ที่ออกจาก
Turbine จะมีน้ําปนอยูมากทําใหเกิด Rotor Drag คือ Rotor Blade หมุนภายในสภาวะการพุงชนของหยดน้ําเล็กๆ
ซึ่งเปนผลเสียหายตอ Turbine Blade จากการเกิด Erosion ดังนั้นในทางปฏิบัติที่ Low Pressure Turbine Blade
จะยอมใหมี Moisture Content ไดสูงสุด 12 ถึง 15% เทานั้น จะเห็นวา นี่เปนเหตุผลหนึ่งที่ Cycle ตองมีระบบ
Reheat Cycle หรือมี Reheater

2.7 - 18
จากภาพ FIG.1C.3 ถาคา Turbine Back Pressure มีสูงขึ้นถึง 4” HG abs. (2PSIA) และอุณหภูมิ
Saturation 126°F คา Exhaust Steam มี Quality 84% ดังนั้นคา Enthalpy ของ Exhaust Steam จะมีคาเทากับ

Hexhaust = hr + (quality) hrg


= 94 + (0.84) 1022.5
= 952 BTU/LB

คาที่ไดนี้ สูงกวาจากตัวอยางที่แลว (929 BTU/LB) แสดงวา พลังงานที่ใหกับ Turbine ลดลง นั้นคืน


พลังงานความรอนที่ใชหมุน Turbine เทากับ 521.6 BTU/LB ขณะที่พลังงานความรอนที่สะสมใน Feedwater
มากขึ้น
จาก Compressed Water Table คา Enthalpy ของ Feedwater = 99.3 BTU/LB ดังนั้นความรอนที่ใหใน
Boiler = 1474.5 – 99.3 = 1375 BTU/LB

521.6
เพราะฉะนั้น ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle = = 37.9%
1,375

จากหัวขอที่แลว ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle = 38.3% ดังนั้นจะเห็นวา ถา Back Pressure ใน


Condenser สูงขึ้นจาก 1”HG abs เปน 4”HG abs คาประสิทธิภาพของ Turbine Cycle Efficiency จะลดลง 0.4%
ปริมาตรจําเพาะ (Specific Volume) ของไอน้ํา จะมีคาสูงขึ้นเมื่อความดันลดลง เชน ไอน้ํา 1
ปอนด ที่ 1”HG abs มีคาเปน 3 เทาของไอน้ําที่ 3”HG abs ดังนั้นตอนออกแบบใหอุปกรณตางๆ เชน Low
Pressure Cylinder
Exhaust Hood, Low Pressure Blade มีขนาดใหญขึ้นเมื่อตองการความดันลดลงและในทางปฏิบัติ ถา
ตองการทําให Back Pressure ที่ Condenser ต่ําลง ก็ตอง เสียคาใชจายในกาติดตั้งอุปกรณสูงขึ้น
เราสามารถสรุปเปนกฎเกี่ยวกับเรื่องประสิทธิภาพของ Turbine Cycle ไดดังนี้
1. Heat Loss ที่ Condenser มีคาสูงมาก (ประมาณ 60%)
2. ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle สามารถทําใหสูงขึ้นดวยการเพิ่มอุณหภูมิของ Main Steam (แต
จํากัดที่ Material)
3. ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle เพิ่มขึ้นไดโดยเพิ่มความดันของ Main Steam (การออกแบบถูก
จํากัดโดยปริมาณ Quality ของ Exhaust Steam)
4. ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle เพิ่มขึ้นไดโดยการลด Turbine Back Pressure

2.7 - 19
Segment C (Part II)
ในหัวขอนี้ จะกลาวถึงประสิทธิภาพของ Boiler ซึ่งโดยทั่วไปประสิทธิภาพของ Boiler จะมีคาประมาณ
87%
ถา Boiler มีประสิทธิภาพ 85% หมายความวา ความรอนจากเชื้อเพลิงทุก 100 BTU ที่ใหแกน้ําและไอ
น้ํา 1 ปอนด ที่ผาน Boiler จะสามารถรับไดเพียง 85 BTU
จากตัวอยางในหัวขอที่กลาวมาแลว น้ําและไอน้ํา 1 ปอนด ที่ไดรับความรอนจากการเผาไหม เทากับ
1,389.5 BTU

1,389.5
ดังนั้น พลังงานความรอนที่ไดจากเชื้อเพลิงจะ = = 1,635 BTU/LB
0.85

ถา Boiler ผลิตไอน้ําได 10 5 ปอนด / ชั่วโมง ดังนั้นปริมาณความรอนของเชื้อเพลิงที่ Boiler ไดรับจะเทา


กับ 163.5 × 10 6 BTU/HR
เมื่อตองการหาคาอัตราการใชเชื้อเพลิง ก็จะสามารถหาได เชน Boiler ไดรับความรอนจากถานหินที่มี
Heating Value = 10 5 BTU/LB ดังนั้นอัตราของถานหินที่ใชในการเผาไหมจะเทากับจํานวน 16,350 LB/HR
(8.175 TON/HR) และถา Fuel Oil มี Heating Value 18,000 BTU/LB อัตราการใช Fuel Oil จะเทากับ 9,100
LBS/HR หรือ 1137.5 Gallon/HR (ถาให Fuel Oil 8 LB = 1 Gallon)
ในการหาคาประสิทธิภาพของ Boiler ตองทราบถึงคาตางๆ ดังนี้
A. ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช
B. คา Heating Value ของเชื้อเพลิง
C. ปริมาณน้ําที่เขา Boiler (ถาไมมี Leak ปริมาณ Flow เขาจะเทากับปริมาณ Steam ที่ Flow ออก)
D. คาความรอน (Enthalpy) ของ Feedwater ที่เขา Boiler
E. คา Enthalpy ของ Steam ที่ออกจาก Boiler

Heat Added to the fluid


ประสิทธิภาพของ Boiler =
Heat in Fuel Supply to the Boiler

Turbine Useful Work


Overall Plant Efficiency = Heat Input to the Boiler

จากตัวอยางในหัวขอที่ผานมา Useful Turbine Work = 448 BTU/LB

2.7 - 20
448
เพราะฉะนั้น Plant Efficiency = = 0.274 (27.4%)
1,635
ประสิทธิภาพของโรงไฟฟาเทากับผลคูณของประสิทธิภาพ Turbine Cycle กับประสิทธิภาพของ Boiler
หรือเทากับ 32.5% × 85% = 27.4%
การวัด Output ของโรงไฟฟา จะวัดหนวยเปน KW-HR เชน Generator รับ Load ทั้งหมด 10 MW
ใน 1 ชั่วโมงจะมีพลังงานออกมา 10 4 KW-HR ดังนั้น Turbine จะตองจายพลังงานแก Generator = 3,412
× 10 4 BTU (1 KW-HR = 3412 BTU) ทั้งนี้ ไมคิด Loss ที่ Turbine และ Generator
ถาถานหินจํานวน 12,000 ปอนด (Heating Value = 10 4 BTU/LB) ถูกเผาไหม พลังงานความรอนที่ให
แก Boiler = 126 × 10 6 BTU/HR

34.12 × 10 6
เพราะฉะนั้น ประสิทธิภาพของโรงไฟฟา = = 0.27 (27%)
126 × 10 6

ปกติถากลาวถึง Performance ของโรงไฟฟา มักจะพูดถึง Heat Rate ซึ่งเปนคาสวนกลับของประสิทธิ


ภาพ ดังนั้น Heat Rate จึงหมายถึงปริมาณความรอนที่ใหกับ Boiler เพื่อผลิตพลังงานไฟฟา 1KW-HR จากตัว
อยางขางตน คา Heatrate จะเทากับ 126 × 10 6 BTU/HR หารดวย 10 4 KW-HR เทากับ 12,600 BTU/KW-HR
Heat Rate แบงได 2 ชนิด คือ Net Plant Heat Rate และ Gross Plant Heat Rate
Net Plant Heat Rate หมายถึง ปริมาณความรอนของเชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟาได 1 KW-
HR เพื่อจายแก Transmission System ซึ่งปกติจะใชคานี้
Gross Plant Heat Rate หมายถึง ปริมาณความรอนของเชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟา 1 KW-
HR ที่ Generator Terminal

2.7 - 21
Segment D
จากหัวขอที่ผานมา ประสิทธิภาพของ Boiler = 85% บทนี้จะกลาวถึงวา Loss 15% ที่หายไปเกิดจาก
อะไร
Loss ที่เกิดใน Boiler มากที่สุดจะออกไปกับ Gas ที่ออก Stack สูบรรยากาศ สวน Loss อื่นๆ จะมีจาก
สาเหตุ
A. การสันดาปไมสมบูรณ
B. ความรอนที่ไปกับขี้เถา (ASH)
C. Boiler Blow Down
D. Soot Blowing
E. Heat Radiation
จากภาพ 1D.1 แสดง Turbine Generator ขนาด 70 MW Boiler ผลิตไอน้ําไดในอัตรา 550,000 LB/HR
ที่ 1,200 PSIA, 950°F อุณหภูมิของ Feedwater = 370°F
ในการผลิตกระแสไฟฟา 70 MW ตองใชเชื้อเพลิงในอัตรา 40,000 LB/HR โดย Fuel Oil มี Heating
Value 180,000 BTU/LB หรือมีการเผาไหมใหความรอนใน Boiler = 720 × 10 6 BTU/HR
ในการคํานวณหา Stack Loss จะตองรูปริมาณ Gas ที่ออกไปจาก Stack
ในการหาประสิทธิภาพของ Boiler จะทําไดโดยนําผลของการวิเคราะห Fuel Gas และ Fuel Oil มา
คํานวณ
จากตัวอยางที่ผานมา ถา Gas Flow = 600,000 LB/HR ที่ Full Load อุณหภูมิของ Gas ที่ออกจาก Stack
= 360°F อุณหภูมิบรรยากาศ = 60°F จะสามารถหาสูตรการคํานวณ Heat Loss ดังนี้

Heat Loss = Gas Quantity × Specific Heat × del.T


= 600,000 LB × 0.24 × (360 – 60)
= 43.2 × 10 6 BTU/HR

43.2 × 10 6
% Heat Loss (Stack Loss) = = 0.06 = 6%
720 × 10 6

ถา Boiler Tube สกปรก การถายเทความรอนก็จะไมดี มีผลให Gas ที่ออกจาก Stack (Exit Gas)
อุณหภูมิสูงขึ้นอาจถึง 500°F ถาเปนเชนนี้ Heat Loss จะเทากับ 600,000 × 0.24 × 440 =
63.36 × 10 BTU/HR หรือ 8.8%
6

จากตัวอยาง จะเห็นวาประสิทธิภาพของ Boiler ขึ้นอยูกับการรักษาอุณหภูมิ Exit Gas ใหอยูต่ํา แตปกติ


เชื้อเพลิงที่ใชงานจะมี Sulfer ผสมอยูประมาณ 3-4% ถา Flue Gas ที่ออกจาก Boiler มีอุณหภูมิต่ํากวา 350°F จะ

2.7 - 22
เกิดปญหา Corrosion ที่ Boiler Cold End เนื่องจากเกิดการ Form กรดซัลฟูริค (H2SO4) เพราะต่ําถึงจุด Dew
Point ดู FIG.1D.2
ปญหาอีกอยางหนึ่งของ Stack Loss คือความชื้นที่ผสมในถานหิน เชน ถาถานหินมีความชื้น 5% และ
ถูกเผาไหมในอัตรา 72,000 LB/HR จะมีน้ําผสมอยู = 3,600 LB/HR คาความรอนแฝงของการกลายเปนไอน้ํา =
1,000 BTU/LB ดังนั้น Loss ที่เกิดจากการกลายเปนไอและสูญเสียไปกับ Fuel Gas จะมีคาถึง
3.6 × 10 6 BTU/HR
ปญหาตอไปเกิดจากการเผาไหมของน้ํามันเชื้อเพลิง หรือกาซธรรมชาติ ซึ่งมีไฮโดรเจน (H) เปนองค
ประกอบในปริมาณที่มากกวาในถานหิน เมื่อเกิดการเผาไหมไฮโดรเจนจะสันดาปกับออกซิเจนกลายเปนหยด
น้ํา (Moisture) เมื่อถูกเผาไหมจะเปน Loss ซึ่งในกรณีของถานหินจะมีคานอยกวา ดังจะกลาวในตัวอยางถัด
ไป
ถาเกิดการเผาไหมของ Fuel Oil ที่มีสวนประกอบของไฮโดรเจน 10% โดยอัตราการปอนเชื้อเพลิง
(Fuel Oil) = 40,000 LB/HR เพราะฉะนั้นจะมีไฮโดรเจนอยู = 40,000 LB และผลจากการสันดาปจะเปนดังนี้

H2 + O2 - - - > Heat + H2O (Water Vapor)

ในทุก 1 ปอนดของ H2 จะไดน้ํา (H2O) 9 ปอนด ดังนั้นจะเกิด Water Vapor 36,000 LB/HR (4,000 × 9) ออกไป
กับ Flue Gas ผาน Stack ซึ่ง Heat Loss จากสาเหตุนี้จะมีคา 36,000,000 BTU/HR (คาความรอนแฝง = 1,000
BTU/LB) หรือเทากับ Boiler Efficiency Loss = 5%
สรุปไดวา เชื้อเพลิงที่มีไฮโดรเจนเปนสวนผลมมาก จะมีผลใหเกิด Vapor Loss สูงขึ้น แตกรณีการใช
กาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง (มีสวนผสมไฮโดรเจนสูงประมาณ 20-25%) กลับตองใช Exess Air จํานวนนอยกวา
ในการสันดาป และอุณหภูมิของ Flue Gas ที่ออกมาก็ยอมใหมีคาต่ําถึง 250°F (เพราะมีสวนประกอบของ
Sulfer ต่ํา) จากเหตุผลนี้จะเห็นวา การใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติในการ เผาไหมจะทําใหประสิทธิภาพของ
Boiler โดยรวมดีขึ้น
ในการวัดคาความรอนของเชื้อเพลิง (Carorific Value) สามารถวัดได 2 ลักษณะ คือ Higher Heating
Value และ Low Heating Value
คา Lower Heating Value จะแสดงคา Vapor Loss เนื่องจากสวนประกอบของไฮโดรเจนและความชื้นที่
มีในเชื้อเพลิง (วิเคราะหโดยไมอบแหง)
ถาคิดคาประสิทธิภาพของ Boiler จะตองรูใหแนนอนวาคา Heating Value ที่ใชคือคาไหน และถาใช
Lower Heating Value ในการคํานวณคาประสิทธิภาพของ Boiler จะใหคาสูงกวา

2.7 - 23
Segment E
ปริมาณ Excess Air ที่เขาไปสันดาปใน Boiler จะมีผลโดยตรงกับประสิทธิภาพของ Boiler เนื่องจาก
Loss จากหัวขอที่ผานมา แสดงสูตรการคํานวณหา Stack Loss ซึ่งปริมาณของ Exhaust Gas ที่ออกสู Stack จะมี
ผลโดยตรงกับ Stack Loss
ถาใช Excess Air ในการเผาไหมมากไป ปริมาณของ Exhaust Gas ก็จะเพิ่มตาม ซึ่งทําให Stack Loss
สูงขึ้นดวย ในทางตรงขามถาอากาศที่ใชในการเผาไหมไมเพียงพอ การสันดาปของเชื้อเพลิงก็จะไมสมบูรณ
ความรอนที่ไดจากเชื้อเพลิงก็ไมเต็มที่ และสูญเสียไปโดยเปลาประโยชน
ในการสันดาปเชื้อเพลิงจึงจําเปนตองใชเชื้อเพลิงสันดาปกับออกซิเจน ในอัตราสวนที่เหมาะสม เพื่อให
ไดการเผาไหมที่สมบูรณ
องคประกอบที่สําคัญของเชื้อเพลิง ที่เผาไหมได ไดแก
1. Carbon
2. Hydrogen
3. Sulfer
สวนองคประกอบอื่นมี ไนโตรเจน, ความชื้น, และขี้เถา ซึ่งไมเกิดการเผาไหม (ไมใหความรอน) และยัง
ดูดกลืนความรอนไดอีกดวย
เมื่อคารบอนสันดาปกับออกซิเจน จะเกิดคารบอนไดออกไซดและใหพลังงานความรอนออกมาดังนี้

C + O2 - - - > CO2 + Heat (14,600 BTU)

คารบอน 1 ปอนดเผาไหมกับออกซิเจน 2.66 ปอนดจะไดคารบอนไดออกไซด 3.66 ปอนด และใหพลัง


งานความรอน 14,600 BTU
ไฮโดรเจน 1 ปอนด เผาไหมกับออกซิเจน 8 ปอนด จะไดน้ําและความรอน 61,500 BTU

2H + O2 - - - > H2O + Heat (61,500 BTU)

ซัลเฟอร 1 ปอนดเผาไหมกับออกซิเจนไดพลังงานเพียง 4,000 BTU แตการเผาไหมของซัลเฟอรจะมีผล


ตอการเกิด Corrosion ดังไดกลาวมาแลวขางตน

ถาสามารถวิเคราะหองคประกอบของเชื้อเพลิงที่ใชในการเผาไหมได ก็จะสามารถหาคา
1. Heating Value ตอปอนดของเชื้อเพลิงนั้น
2. ปริมาณออกซิเจนที่ใชในการเผาไหมกับเชื้อเพลิงอยางสมบูรณ (ทาง Ideal)

2.7 - 24
ถาคารบอนสันดาปกับออกซิเจนในปริมาณที่ไมเพียงพอจะไดคารบอนมอนนอกไซด (CO) และพลัง
งานความรอน ดังสมการ

C (1 LB) + O2 (1.333 LB) - - - > CO (2.33 LB) + 4,400 BTU)

จะเห็นวาใหพลังงานความรอนที่ไดจะมีคาลดต่ําลงมาก ในทางปฏิบัติเปนไปไมไดที่ คารบอนในเชื้อ


เพลิงจะถูกสันดาปไดทั้งหมดใน Boiler ดังนั้นจึงตองยอยถานหินใหเล็กลงกอน (Pulverized Coal) หรือฉีดน้ํา
มันเชื้อเพลิงใหเปนฝอย (Atomized Fuel Oil) เพื่อออกซิเจนจะไดเขาไปสันดาปไดทั่วถึงและออกซิเจนจะตอง
จายเขาไปในปริมาณที่มากกวาคา Ideal ที่คิดไวดวย
โดยทั่วไป ออกซิเจนจะมีใน Combustion Air (อากาศประกอบดวยออกซิเจน 23% และไนโตรเจน
77% โดยน้ําหนัก)
ปริมาณออกซิเจนที่ถูกเผาไหมกับเชื้อเพลิงชนิดนั้นๆ จะสามารถหาได และปริมาณอากาศที่ใช จะถูก
ปอนเขา Boiler โดย Force Draft Fan
ไนโตรเจนที่เขาไปใน Boiler จะไมถูกเผาไหมแตจะถูกดูดกลืนความรอนออกไปจาก Stack ดวยบาง
สวน
ในการเดินเครื่อง ปริมาณออกซิเจนที่ใชในการเผาไหม (ปริมาณ Combustion Air) จะถูกควบคุมโดย
การวัดปริมาณออกซิเจนใน Flue Gas ปกติจะให Excess Oxygen สําหรับโรงไฟฟาถานหินประมาณ 3-4% และ
สําหรับโรงไฟฟาที่ใชน้ํามันเชื้อเพลิงประมาณ 2.5-3%
สําหรับการตรวจสอบประสิทธิภาพในการเผาไหม สามารถสังเกตุดูไดจากสีของเปลวไฟ ถาเปลว
มีสีสมหรือดําแสดงวามีคารบอนเปนจํานวนมากที่ยังไมสันดาป และสามารถสังเกตุจากสีควันที่ออกจาก Stack
ถามีสีดําก็จะเปนลักษณะเดียวกัน หรือใชวิธีวิเคราะหจากขี้เถา (ASH) ถามีคารบอนปนอยูมากแสดงวาเกิดการ
เผาไหมไมสมบูรณ
นอกจากนี้ยังสามารถตรวจสอบการเผาไหม โดยวิเคราะหสวนประกอบของ Flue Gas ซึ่ง
ประกอบดวย CO2, N2, SO2, SO3, O2 ถาตรวจไดวามี CO อยูดวยแสดงวาเกิดจากเผาไหมอยางไมสมบูรณ
สาเหตุสําคัญของการเผาไหมไดไมสมบูรณ คือ ปริมาณ Excess Air นอยเกินไป ซึ่งโดยทั่วไปพนักงาน
เดินเครื่องตองพยายามควบคุมให Excess Air มีคาต่ําที่สุดเทาที่จะทําได โดยรักษาปริมาณเชื้อเพลิงที่ไหมไม
หมด (Combustible ใหมีคาต่ํากวา 50 PPM.)

2.7 - 25
2.7 - 26
2.7 - 27
2.7 - 28
2.7 - 29
2.7 - 30
2.7 - 31
คําถามหัวขอ
งานเดินเครื่องโรงไฟฟา
สมรรถนะการผลิต
Segment A
จงตอบคําถามตอไปนี้
1. คาพลังงานที่สูญเสีย (Energy Loss) สูงสุด ในวัฏจักรโรงไฟฟาเกิดขึ้นที่ใด
2. คาพลังงานความรอนทั้งหมดที่อยูในสสาร เรียกวา
3. (ถูกหรือผิด) จาก Steam Table สภาวะของไอน้ําที่อุณหภูมิ 315°C มีความดัน 105 bar(a) เปนสภาวะ
Superheated Steam

Segment B
จงตอบคําถามตอไปนี้
ปริมาณความรอนที่ใชในการเปลี่ยนสภาวะของน้ํากลายเปนไอน้ํา เรียกวา
Percentage ของไอน้ําในสวนผสม Steam / Water เรียกวา
ไอน้ําที่เขาสู Turbine ที่อุณหภูมิ 482°C ความดัน 61.2 bar(a) และออกจาก Turbine ที่อุณหภูมิ 26.7°C ความดัน
1”HG abs. โดยมี 12% Moisture Content, คา Steam Flow Rate 90.7 ton/hr
จงหาคา Enthalpy ของ Steam ที่ออกจาก Turbine
[hsteam = hr + (x) hfg]
จงหาคา Useful Turbine Work
จงหาคาพลังงานไฟฟาที่ผลิตได

Segment C (Part I)
จงเติม (เพิ่มขึ้น, ลดลง) ในขอ 1-4
1. ถาความดันของ Main Steam เพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle จะ ............(เพิ่ม / ลด)
2. ถาอุณหภูมิของ Main Steam เพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle จะ............(เพิ่ม / ลด)

2.7 - 32
3. ถาเพิ่ม Turbine Back Pressure ประสิทธิภาพของ Turbine Cycle จะ ..............(เพิ่ม / ลด)
4. ถาความดันลดลง ปริมาตรจําเพาะ (Specific Volume) ของไอน้ําจะ ..............(เพิ่ม / ลด)
5. Quality หมายถึง Percentage ของ .........................…ในสวนผสม Steam / Water
6. ถา Exhaust Steam ที่ออกจาก Turbine มีอุณหภูมิ 38°C และ Quality = 95%
A. จงหา Enthalpy ของ Exhaust Steam
[hsteam = hr + (x) hfg]
B. จงหาปริมาณความรอนที่ถูกดึงออกเพื่อทําใหไอน้ํา Exhaust Steam 1 ปอนด กลั่นตัวเปนหยด
น้ําพอดี (Condensate)

Segment C (Part II)


จงตอบคําถามตอไปนี้
1. ถาอัตราการไหลของ Feedwater ที่เขา Boiler = 907.4 ton/hr มี Enthalpy = 99.3 BTU/LB, Main Steam
ที่ออกจาก Boiler มีความดัน 2,000 PSIA และมีอุณหภูมิ 1,000°F จงหาปริมาณความรอนของเชื้อ
เพลิง (BTU/LB) ที่ถายเทใหแก Boiler ถา Boiler มีประสิทธิภาพ เทากับ 85%
2. จากขอ 1 ถา Boiler จาย Steam เขา Turbine ซึ่งสภาวะของ Exhaust Steam จาก Turbine มีอุณหภูมิ
90°F และมี Quality 90% จงหา
A. พลังงานไฟฟาเปน KW-HR ที่ Turbine-Generator ผลิตไดเมื่อกําหนดใหรับ Continuous
Steady State Load (Steam Flow คงที่ตลอด)
B. Overall Plant Efficiency
C. Gross Plant Heat Bate

Segment D
จงตอบคําถามตอไปนี้
1. ถา Flue Gas ออกจาก Boiler ในอัตรา 700,000 LB/HR อุณหภูมิของ Flue Gas วัดได 340°F และมีคา
Specific Heat 0.24 อุณหภูมิบรรยากาศขณะนั้น = 70°F คาความรอนที่ถานใหกับ Boiler เทากับ
750 × 10 6 BTU/HR จงหา
A. ปริมาณความรอนที่ออกจาก Plant Stack

2.7 - 33
B. Loss ที่ Boiler คิดเปนเปอรเซนต
2. สวนประกอบของเชื้อเพลิง ที่มีผลตออุณหภูมิที่ออกจาก Boiler วาจะมีคาต่ําสุดไดเทาใด คือ
ปริมาณ..................ในเชื้อเพลิง
3. ทุกๆ 1 ปอนดของไฮโดรเจนในเชื้อเพลิงที่ถูกเผาไหม จะทําใหเกิดน้ําจํานวน..............ปอนด
4. กาซธรรมชาติ มีองคประกอบไฮโดรเจน............................(สูงกวา, ต่ํากวา) ถานหิน
5. คา (Lower, Higher) Heating Value คือ คาความรอนของเชื้อเพลิง ซึ่งหัก Vapor Loss ที่เกิดจากปริมาณ
ความชื้น และไฮโดรเจนในเชื้อเพลิงแลว

Segment E
จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงบอกองคประกอบของเชื้อเพลิง (Fossil Fuel) ที่สามารถเผาไหมใหพลังงานออกมาได 3 อยาง
A. …………………………………….
B. …………………………………….
C. …………………………………….
2. จงบอกองคประกอบของเชื้อเพลิง อื่นๆที่เหลือจาก ชอ 1
A. …………………………………….
B. …………………………………….
C. …………………………………….
3. (ถูกหรือผิด) ไนโตรเจนที่เขาไปในขบวนการเผาไหมใน Boiler จะไมมีผลกระทบตอการเผาไหม
4. ถาคารบอนเกิดการสันดาปอยางสมบูรณ จะไดพลังงานความรอนและ..............
5. ถาเกิดการสันดาปอยงไมสมบูรณจะเกิดกาซ...............
6. (ถูกหรือผิด) ปริมาณซัลเฟอรในเชื้อเพลิง จะมีผลตอคา Heating Value ของเชื้อเพลิงดวย
7. จงบอกวิธีการตรวจสอบการเกิดสันดาป อยางไมสมบูรณที่เกิดขึ้น Boiler Furnace

2.7 - 34
2.7.1 COMBINED CYCLE POWER PLANT PERFORMANCE

2.7.1 - 1
สมรรถนะของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม
(COMBINED CYCLE POWER PLANT PERFORMANCE)
บทนํา
กระบวนการผลิตในโรงไฟฟาสวนใหญเปนการเปลี่ยนรูปของพลังงาน แตละกระบวนการมีพลังงาน
สูญเสียเสมอ รูปที่ 1 แสดงตัวอยางพลังงานที่ไมสามารถนํามาใชงานได การลดหรือการนําพลังงานสูญเสียกลับ
ไปใชงานตอในสวนอื่น ทําใหประสิทธิภาพของระบบสูงขึ้น

รูปที่ 1 พลังงานสูญเสียจากกระบวนการผลิต

การพิจารณาสมรรถนะของโรงไฟฟามีหลายตัวแปรเชน HEAT RATE, EFFICIENCY และ OUTPUT


เปนตน HEAT RATE คํานวณไดจากสมการ

Heat Consumption
Heat Rate =
Energy Output

เมื่อ HEAT CONSUMPTION หมายถึงปริมาณความรอนที่ใชในชวงเวลาหนึ่ง : BTU


ENERGY OUTPUT หมายถึงพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดในชวงเวลาหนึ่ง : kWh

2.7.1 - 2
HEAT RATE มีหนวยเปน BTU/kWh การคิดคา HEAT RATE จะตองวัดพลังงานไฟฟาที่สามารถผลิต
ไดจาก GENERATOR ในชวงเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบกับปริมาณความรอนที่ใชในชวงเวลาดังกลาว ปริมาณ
ความรอนที่ใชหาไดจากปริมาณเชื้อเพลิงคูณดวยคาความรอนของเชื้อเพลิงนั้นๆ สวนพลังงานไฟฟาไดจาก
มิเตอรไฟฟาที่ผลิตได ในกระบวนการผลิตตองใชพลังงานไฟฟาสวนหนึ่ง สําหรับการทํางานของอุปกรณใน
โรงไฟฟ าเช น ระบบแสงสว าง, BOILER FEED PUMP และ CIRCULATING WATER PUMP เป น ต น ค า
GROSS OUTPUT ที่หักลบพลังงานที่ใชในสวนดังกลาวเรียกวา NET OUTPUT
EFFICIENCY เปนอัตราสวนของพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดตอปริมาณความรอนที่ใชไป มีหนวยเปน %
คํานวณไดจากสมการ

Energy Output
Efficiency =
Heat Consumption

คา EFFICIENCY ที่สูงขึ้นหมายถึงการเปลี่ยนรูปของพลังงานทําไดดีเพียงไร ในขณะที่ HEAT RATE


เปนการวัดวาพลังงานในเชื้อเพลิงถูกเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาไดดีเพียงใด การปรังปรุงสมรรถนะของอุปกรณ
ใหดีขึ้นหมายถึงทําอยางไรใหปริมาณความรอนที่ใชในการผลิตพลังงานไฟฟาแตละหนวยมีคาลดลง ในขณะ
เดียวกันก็ตองลดพลังงานสูญเสียในระบบเพื่อทําใหพลังงานที่ไดจากเชื้อเพลิงมีคาสูงขึ้น
ความสัมพันธระหวาง HEAT RATE และ EFFICIENCY หาไดจากสมการ

1
efficiency = × 100%
Heat Rate

3413
= × 100%
BTU
Heat Rate : ( )
kWh

860
= × 100%
kCal.
Heat Rate : ( )
kWh

( 1 kWh = 3413 BTU = 860 kCal. )


ถาพิจารณาประสิทธิภาพของโรงไฟฟาแตละประเภทเปรียบเทียบกันจะเห็นวาโรงไฟฟาพลังความรอน
รวมมีประสิทธิภาพคอนขางสูงกวาโรงไฟฟาประเภทอื่นๆ ดังรูปที่ 2

2.7.1 - 3
รูปที่ 2 ประสิทธิภาพของโรงไฟฟาแตละประเภท

โรงไฟฟาพลังความรอนรวมเปนการทํางานรวมกันระหวางเครื่องกังหันกาซและเครื่องกังหันไอน้ํา รูป
ที่ 3
แสดงขนาดกําลังการผลิตและเทคนิคการลดมลภาวะจากการเผาไหมที่ใชงาน เทคโนโลยี่ที่สูงขึ้นทําใหประสิทธิ
ภาพของโรงไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ดังรูปที่ 4
First Generation Second Generation Third Generation
Gas Turbine Small Size 50 – 90 MW 70 – 250 MW
Application Repowering & Heat Recovery Feedwater Heat Recovery Feedwater
Cogeneration From 1949 Heating CC From 1968 – Heating CC In The 1990s
– 1968 1999
Steam Cycle Non-Reheat Single Or Non-Reheat, Single , Two Reheat , Three Pressure
Two Pressure & Three Pressure
Emission None GT Water And Steam DLN Combustion With
Control Injection Plus SCR Natural Gas And Wtr /
Installed In The HRSG Steam Inj With Oil Fuel
Gas Path For NOX Plus SCR Installed In
Control HRSG
Fuel Distillate Oil / Natural Natural Gas / Distillate Oil Natural Gas / Distillate Oil
Gas / Low BTU Gas / Oil / Low BTU Gas
รูปที่ 3 วิวัฒนาการของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม

2.7.1 - 4
รูปที่ 4 COMBINED CYCLE SYSTEM EFFICIENCY TREND

ตัวอยางโรงไฟฟาพลังความรอนรวม STAG107H / 109H ซึ่งเปนแบบ SINGLE SHAFT หรือเพลาของ


GAS TURBINE และ STEAM TURBINE ตอเขาดวยกัน ดังรูปที่ 5 ประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอน
รวมประมาณ 50 – 60 % ขึ้นอยูกับลักษณะและประเภทของอุปกรณที่ใช ดังรูปที่ 6

รูปที่ 5 STAG 107H/109H CYCLE DIAGRAM

2.7.1 - 5
รูปที่ 6 50 Hz STAG PRODUCT LINE PERFORMANCE
เครื่องกังหันกาซ
เครื่องกังหันกาซมีสวนประกอบหลักคือ COMPRESSOR, COMBUSTOR และ TURBINE ดังรูปที่ 7
แผนภาพ T-S และแผนภาพ P-V ของเครื่องกังหันกาซดังรูปที่ 8

รูปที่ 7 เครื่องกังหันกาซ

รูปที่ 8 แผนภาพ T-S และ P-V ของเครื่องกังหันกาซ

2.7.1 - 6
อุณหภูมิในหองเผาไหมของเครื่องกังหันกาซสูงถึง ประมาณ 2500 องศาเซลเซียส แตอุณหภูมิที่นําไป
ใชงานไดจริงคืออุณ หภูมิห ลังจากผาน FIRST STAGE TURBINE NOZZLE บริษัท GENERAL ELECTRIC
เรียกอุณหภูมิที่จุดดังกลาววา FIRING TEMPERATURE ดังรูปที่ 9

รูปที่ 9 FIRING TEMPERATURE

การเพิ่ม FIRING TEMPERATURE ทําใหประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมสูงขึ้นดังรูปที่


10
จะเห็นไดวามีการเพิ่ม FIRING TEMPERATURE สูงขึ้น สงผลใหประสิทธิภาพสูงขึ้นตามไปดวย แตการเพิ่ม
FIRING TEMPERATURE มีขอจํากัดอยูที่วัสดุที่ใชงาน และไดมีการพัฒนาระบบระบายความรอนของชิ้นสวน
ในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงใหสามารถใชงานได

รูปที่ 10 การเพิ่มประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม

2.7.1 - 7
รูปที่ 11 COMPARISON OF AIR-COOLED vs STEAM-COOLED FIRST STAGE NOZZLE

รูปที่ 11 แสดงการระบายความรอนของ FIRST STAGE TURBINE NOZZLE เปรียบเทียบระหวางระบบเปด


และระบบปด ในระบบเปด ลมที่ใชระบายความรอนจะไหลออกมาผสมกับกาซรอนที่ออกจากหองเผาไหม ทํา
ใหอุณ หภูมิของกาซรอนกอนที่จะนํ าไปใชงานที่ TURBINE ลดลงมาก การระบายความรอนแบบปดทํ าให
อุณหภูมิของกาซรอนลดลงนอยกวา สงผลให FIRING TEMPERATURE สูงขึ้น โดยที่อุณหภูมิในหองเผาไหม
ยังคงเทาเดิม

รูปที่ 12 ความสัมพันธระหวาง PRESSURE RATIO และ EFFICIENCY

ตัวแปรที่มีผลกระทบตอสมรรถนะของเครื่องกังหันกาซมากที่สุดคือ PRESSURE RATIO และ


FIRINGTEMPERATURE การเพิ่ม PRESSURE RATIO ทําใหประสิทธิภาพของเครื่องกังหันกาซสูงขึ้น ดังรูป
ที่ 12
รูปที่ 13 แสดงความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพและ SPECIFIC OUTPUT เปรียบเทียบที่ FIRING
TEMPERATURE และ PRESSURE RATIO แตกตางกัน
กรณีเดินเครื่องแบบ SIMPLE CYCLE คา PRESSURE RATIO ยิ่งสูงขึ้น ทําใหการเพิ่ม FIRING

2.7.1 - 8
TEMPERATURE มีผลตอ OUPUT มากขึ้น แตทําใหประสิทธิภาพลดลงเนื่องจากตองเพิ่มปริมาณ COOLING
AIR เพื่อชวยยืดอายุของอุปกรณ
กรณีการเดินเครื่องแบบ COMBINED CYCLE คา PRESSURE RATIO ที่เพิ่มขึ้นมีผลทําให
SPECIFIC OUTPUT ลดลง การเพิ่ม FIRING TEMPERATURE มีผลใหประสิทธิภาพสูงขึ้น

รูปที่ 13 GAS TURBINE PERFORMANCE

ตัวแปรที่มีผลตอสมรรถนะของเครื่องกังหันกาซ
อุณหภูมิบรรยากาศลดต่ําลงมีผลทําให HEAT RATE ต่ําลงและ OUTPUT สูงขึ้น ถาอุณหภูมิ
บรรยากาศสูงขึ้น มีผลทําให HEAT RATE สูงขึ้นและ OUTPUT ต่ําลง ดังรูปที่ 14

รูปที่ 14 EFFECT OF AMBIENT TEMPERATURE

ความชื้นในบรรยากาศ จากรูปที่ 15 ความชื้นในบรรยากาศที่สูงขึ้น มีผลทําให HEAT RATE สูงขึ้น


และ OUTPUT ต่ําลง ถาความชื้นในบรรยากาศลดลง มีผลทําให HEAT RATE ต่ําลงและ OUTPUT สูงขึ้น

2.7.1 - 9
รูปที่ 15 HUMIDITY EFFECT CURVE
จากขอมูลเครื่องกังหันกาซรุน MS7001EA รูปที่ 16 ถาความดันตกครอมที่ทางเขาและที่ GT
EXHAUST สูงขึ้น ทําให HEAT RATE สูงขึ้น OUTPUT ลดลง และคา GT EXHAUST TEMPERATURE สูง
ขึ้น

รูปที่ 16 PRESSURE DROP EFFECT (MS7001EA)


ปริมาณ WATER หรือ STEAM INJECTION ที่มากขึ้น ทําให HEAT RATE สูงขึ้น เนื่องจาก FIRING
TEMPERATURE ลดลง ดังรูปที่ 17

รูปที่ 17 EFFECT OF STEAM INJECTION ON MS7001EA

2.7.1 - 10
รูปที่ 18 เปรียบเทียบวิธีการควบคุมออกไซดของไนโตรเจนระหวาง DLN (DRY LOW NOX) ,
WATER INJECTION และ STEAM INJECTION วามีผลตอสมรรถนะของโรงไฟฟาอยางไร จะเห็นวาปริมาณ
WATER หรือ STEAM INJECTION ที่สูงขึ้น มีผลให HEAT RATE และ OUTPUT สูงขึ้น และยิ่งใชปริมาณ
มากขึ้นจะยิ่งทําใหคา HEAT RATE และ OUTPUT สูงขึ้นตามไปดวย การใช WATER INJECTION มีผลทําให
HEAT RATE และ OUTPUT สูงกวาเมื่อเปรียบเทียบกับการใช STEAM INJECTION

รูปที่ 18 EFFECT OF NOX CONTROL ON COMBINED CYCLE PERFORMANCE

ปริมาณอากาศที่ถูกนําไปใชงานที่สวนอื่นๆ มากขึ้น มีผลทําให HEAT RATE สูงขึ้นและ OUTPUT ต่ํา


ลง ดังรูปที่ 19

รูปที่ 19 EFFECT OF AIR EXTRACTION ON OUTPUT AND HEAT RATE

2.7.1 - 11
เนื่องจากอุณหภูมิบรรยากาศมีผลกระทบตอสมรรถนะของเครื่องกังหันกาซคอนขางมาก จึงมีแนวคิด
ในการควบคุมอุณหภูมิอากาศกอนเขา COMPRESSOR โดยใชวิธี EVAPORATIVE COOLING ดังรูปที่ 20
ระบบนี้
จะใหผลดี กรณีที่ความชื้นในบรรยากาศต่ําจะลดอุณหภูมิไดมาก ถาความชื้นในบรรยากาศสูงขึ้นจะลดอุณหภูมิ
ไดนอยลง นอกจากนี้ยังมีการนําระบบ CHILLING มาประยุกตใชเพื่อลดขอจํากัดจากสภาพความชื้นในอากาศ
อยางไรก็ตามควรพิจารณาความเหมาะสมในการติดตั้งระบบดังกลาวเนื่องจากเงินลงทุนคอนขางสูง

รูปที่ 20 EFFECT OF EVAPORATIVE COOLING ON OUTPUT AND HEAT RATE

จากรูปที่ 21 จะเห็นวาในการลดอุณหภูมิของอากาศโดยวิธี EVAPORATIVE COOLING ทําให


OUTPUT มากขึ้น 5.2 % โดยที่ HEAT RATE ยังเทาเดิม สวนการนําระบบ CHILLING จะมีผลให OUPUT
มากขึ้นถึง 10 % แต HEAT RATE เพิ่มขึ้น 1.6 % เนื่องจากตองใชพลังงานในระบบ CHILLING เพิ่มขึ้น

รูปที่ 21 STAG SYSTEM POWER ENHANCEMENT OPTION

2.7.1 - 12
HRSG (HEAT RECOVERY STEAM GENERATOR)
HRSG ทําหนาที่แลกเปลี่ยนพลังงานระหวางไอเสียที่ออกจากเครื่องกังหันกาซกับน้ําและ STEAM ใน
ร ะ บ บ ช ว ง เริ่ ม ต น HRSG เป น แ บ บ SINGLE PRESSURE NON REHEAT HEAT RECOVERY
FEEDWATER HEATING ดังแสดงในรูปที่ 22

รูปที่ 22 SINGLE PRESSURE NON REHEAT HRSG DIAGRAM


รูปที่ 23 แสดงผลตางของอุณหภูมิของไอเสียและไอน้ําในระบบคือสวนที่ทิ้งไปที่ปลองไอเสีย การลด
ผลตางของอุณหภูมิจะทําใหประสิทธิภาพของ HRSG สูงขึ้น

รูปที่ 23 TYPICAL EXHAUST GAS TEMPERATURE PROFILE - ONE PRESSURE SYSTEM

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณจึงพัฒนาเปนแบบ THREE PRESSURE REHEAT HRSG SYSTEM


ทําใหผลตางของอุณหภูมิระหวางน้ําและไอเสียลดลง ดังรูปที่ 24

2.7.1 - 13
รูปที่ 24 TYPICAL TEMPERATURE PROFILE FOR THREE PRESSURE SYSTEM

รูปที่ 25 แสดงสมรรถนะของโรงไฟฟาแตละประเภท สําหรับ STAG207EA คา OUTPUT และประ


สิทธิภาพของ THREE PRESSURE REHEAT HRSG SYSTEM สูงกวาแบบ NON REHEAT ถึง 0.7 %

รูปที่ 25 PERFORMANCE VARIATION WITH STEAM CYCLE

การลดอุณหภูมิของปลองไอเสียทําใหประสิทธิภาพของ HRSG สูงขึ้น แตมีขอจํากัดจากปริมาณซัล


เฟอรในเชื้อเพลิง เนื่องจากตองควบคุมอุณหภูมิใหสูงกวา ACID DEW POINT TEMPERATURE กรณีใชเชื้อ
เพลิงตางกันเชนน้ํามันดีเซล,น้ํามันเตา, เชื้อเพลิงกาซ มีผลทําใหคาอุณหภูมิที่ปลองไอเสียตางกันซึ่งมีผลตอ
OUTPUT และ HEAT RATE ดังรูปที่ 26

2.7.1 - 14
รูปที่ 26 STAG COMBINED CYCLE PERFORMANCE VARIATION WITH FUEL CHARACTERISTICS

ระบบกังหันไอน้ํา
เครื่องกังหันไอน้ํามีสวนประกอบหลักไดแก BOILER, STEAM TURBINE, CONDENSER และ
FEED PUMP วัฎจักรการทํางานของเครื่องกังหันไอน้ําดังแสดงในรูปที่ 27

รูปที่ 27 RANKINE CYCLE

ตัวแปรที่มีผลตอสมรรถนะของเครื่องกังหันไอน้ําไดแก
MAIN STEAM TEMPERATURE : อุณหภูมิของ STEAM บงบอกถึง ENTHALPY ที่อุณหภูมิต่ําจะ
เกิดการลดของประสิทธิภาพของ TURBINE CYCLE และ OUTPUT แตการเพิ่มอุณหภูมิของ STEAM มีขอ
จํากัดดานวัสดุของกังหัน
MAIN STEAM PRESSURE : ความดันของ STEAM ที่เขา TURBINE ชุดแรกเปนตัวบอกถึงพลังงาน
สะสมในไอน้ํา การเพิ่ม THROTTLE PRESSURE เปนการเพิ่มประสิทธิภาพของ TURBINE CYCLE และ
OUTPUT ดังรูปที่ 28 แมวาการเพิ่มแรงดันทําให ENTHALPY ลดลง แตชดเชยโดย USEABLE ENERGY ที่อยู
ในรูปของความดัน
REHEAT STEAM TEMPERATURE : ถาอุณหภูมิ REHEAT STEAM ที่เขา TURBINE มีคาต่ํา จะทํา
ใหประสิทธิภาพของ TURBINE CYCLE และ OUTPUT ลดลง เนื่องจากคาความรอนที่สะสมใน STEAM นอย
ลง พลังงานที่จะถายเทใหกับ TURBINE จึงนอยลงตาม กรณีที่ REHEAT STEAM มีอุณหภูมิต่ํา DEGREE

2.7.1 - 15
SUPERHEAT ลดลง ผลก็คือ STEAM จะกลั่นตัวไดงายขึ้นใน LP TURBINE ความชื้นสะสมใน LP TURBINE
STAGE ทายๆ จะสูงจนเกิดการกัดกรอนมากขึ้น

รูปที่ 28 THROTTLE PRESSURE CORRECTION FOR SINGLE REHEAT UNITS

MAIN STEAM /REHEAT STEAM DESUPERHEAT FLOW : EXHAUST TEMPERATURE ของ


เครื่องกังหันกาซรุนใหมมีคาสูงขึ้น แตขอจํากัดของอุณหภูมิของ MAIN STEAM และ REHEAT STEAM
TEMP จึงตองมีการควบคุมอุณหภูมิของ STEAM ใหอยูในคาที่กําหนด ผลกระทบเนื่องจาก DESUPERHEAT
FLOW ดังรูปที่ 29

2.7.1 - 16
รูปที่ 29 CORRECTION FOR MAIN STEAM AND REHEAT STEAM DESUPERHEATING FLOW
CONDENSOR PRESSURE : PRESSURE ใน CONDENSOR แสดงถึงความสามารถในการถายเทพ
ลังงานใน STEAM ใหกับ LP TURBINE ยิ่ง PRESSURE ต่ําการถายเทยิ่งดีขึ้น นั้นหมายถึงสงเสริมประสิทธิ
ภาพใน TURBINE CYCLE เพราะงานที่เกิดขึ้นโดย LP TURBINE เปนสัดสวนกับ PRESSURE ที่ลดลง ถา
PRESSURE ยังคงสูงงานที่จะไปจาก STEAM ก็นอยตามไปดวยดังรูปที่ 30 CONDENSOR PRESSURE หรือ
เรียกอีกอยางหนึ่งวา TURBINE BACKPRESSURE นี้จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชนอุณหภูมิและ
อัตราการไหลของ CIRCULATING WATER การรั่วของอากาศเขาสูภายใน CONDENSOR รวมถึงการทํางาน
ของ EXHAUSTER

รูปที่ 30 STEAM TURBINE OUTPUT vs EXHAUST PRESSURE

2.7.1 - 17
CONDENSATE SUB-COOLING : การที่น้ํา CONDENSATE มีอุณหภูมิต่ํากวาจุด SATURATION
ใน CONDENSATE ที่เปนเชนนี้เพราะมีปญหากับ STEAM FLOW อาจเนื่องมาจากการรั่วของ CONDENSOR
หรือ BAFFLE ดาน STEAM ไมเหมาะสม ยิ่งอุณหภูมิน้ํา CONDENSATE ต่ํา การสูญเสียประสิทธิภาพและ
HEAT RATE ยิ่งมากขึ้น
FEEDWATER HEATING : การอุนน้ําเพื่อเพิ่มอุณหภูมิใหกับ FEEDWATER นอกจากเพิ่มประสิทธิ
ภาพให TURBINE CYCLE ยังเพิ่มประสิทธิภาพ BOILER ดวย ขบวนการเพิ่มอุณหภูมิของ FEEDWATER ใช
STEAM ที่แยกมาจาก TURBINE ถือเปนวิธีนําเอาความรอนแฝง (ที่ตองคายทิ้งให CIRCULATING WATER
ขณะกลั่นตัวเปนน้ําใน CONDENSOR มาประมาณ 970 BTU/ปอนด มาใชประโยชน ชวยใหสามารถลดการใช
เชื้อเพลิงลงไดระบบ FEEDWATER HEATING ของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม สวนมากจะไมมี HEATER
เนื่องจากใช CONDENSATE PREHEATER ซึ่งเปนแผงทอแผงสุดทายซึ่งอยูใน HRSG สําหรับเพิ่มอุณหภูมิ
ของน้ําและกรณีที่อุณหภูมิไมเพียงพอจะมีการนํา STEAM จากระบบอื่นเพื่อชวยเพิ่มอุณหภูมิที่ DEAERATOR
ใหสูงขึ้น
FEEDPUMP EFFICIENCY โรงไฟฟาที่ใชความดันไอน้ําสูงๆ จะใชกําลังขับ BOILER FEED PUMP
ที่สูงตามไปดวย ถาประสิทธิภาพของ PUMP ลดลงทําให OVERALL UNIT EFFICIENCY ลดลงซึ่งมีหลาย
สาเหตุไดแก IMPELLER สึกหรอ, เกิดการเสียดสีที่ SHAFT, การปรับระยะตางๆ ไมเหมาะสม เปนตน

เอกสารอางอิง
1. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตร ”MAINTENANCE AWARENESS TRAINING HEAT RATE
IMPROVEMENT” ฝายฝกอบรม, การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย.
2. C.JONES AND J.A. JACOBS III “ECONOMICS AND TECHNICAL CONSIDERATIONS FOR
COMBINED - CYCLE PERFORMANCE - ENHANCEMENT OPTIONS” GER-4200, 2000.
3. D.L. CHASE “COMBINED - CYCLE DEVELOPMENT EVOLUTION AND FUTURE” GER-4206,
2001.
4. D.L. CHASE AND P.T. KEHOE “GE COMBINED - CYCLE PRODUCT LINE AND
PERFORMANCE” GER-3574G, 2000.
5. F.J. BROOKS “GE GAS TURBINE PERFORMANCE CHARACTERISTICS” GER-3567H, 2000.
6. P. ALBERT “STEAM TURBINE THERMAL EVALUATION AND ASSESSMENT” GER-4190, 2000.
7. R.W. SMITH, P. POLUKORT, C.E. MASLAK, C.M. JONES, B.D. GARDINER “ADVANCED
TECHNOLOGY COMBINED CYCLES” GER-3936A, 2001.

2.7.1 - 18
คําถามทายบท สมรรถนะของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม (COMBINED CYCLE POWER
PLANT PERFORMANCE)

จงกาเครื่องหมายถูก ( / ) หนาขอที่ถูกและกาเครื่องหมายผิด ( × ) หนาขอที่ผิด

………. 1 โรงไฟฟาที่มีคา HEAT RATE สูงกวา จะใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาตอหนวย มากกวา


โรงไฟฟาที่มีคา HEAT RATE ต่ํากวา
……… 2 การเพิ่ม FIRING TEMPERATURE ทําใหประสิทธิภาพของเครื่องกังหันกาซสูงขึ้น
……… 3 การเพิ่ม PRESSURE RATIO ทําใหประสิทธิภาพของเครื่องกังหันกาซสูงขึ้น
……… 4 อุณหภูมิบรรยากาศที่สูงขึ้น มีผลทําให OUTPUT และ HEAT RATE ของเครื่องกังหันกาซลด
ลง
……… 5 ความชื้นในบรรยากาศที่สูงขึ้น มีผลทําให OUTPUT และ HEAT RATE ของเครื่องกังหันกาซ
ลดลง
……… 6 ปริมาณ STEAM INJECTION มีผลทําให OUTPUT และ HEAT RATE ของเครื่องกังหันกาซ
ลดลง
……… 7 HRSG STACK TEMPERATURE ที่เพิ่มขึ้น ทําใหประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอน
รวมสูงขึ้น
……… 8 THROTTLE PRESSURE ที่เพิ่มขึ้น ทําใหประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมสูง
ขึ้น
……… 9 MAIN STEAM TEMPERATURE ที่เพิ่มขึ้น ทําใหประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอน
รวมสูงขึ้น
……… 10 CONDENSOR PRESSURE ที่เพิ่มขึ้น ทําใหประสิทธิภาพของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมสูง
ขึ้น

2.7.1 - 19
2.8 Project Management
2.8.1 Project Management

2.8.1 - 1
การควบคุมความสูญเสียในโรงไฟฟา

ในสภาพทั่วไปความสูญเสียที่เกิดขึ้นที่เห็นไดทันทีนั้นมีเพียง 10% ของความสูญเสียทั้งหมด แตมักจะ


เขาใจเอาวามีเพียงเทานั้น เสมือนภูเขาน้ําแข็งที่จะพบสวนเหนือน้ําเพียง 10% เทานั้น สวนอีก 90% เปนสวนสูญ
เสียถาผูบริหารละเลยไปจะพบความสูญเสียอยางมหาศาล
คําถามวาจะควบคุมความเสี่ยงที่จะสูญเสียนั้นไดอยางไร ? ควบคุมตรงไหน โรงไฟฟาเหมือนบานทั้ง
หลังสิ่งแรกจะตองดูจากเสาเข็ม พื้น เสาบาน หลังคาบาน และการเฝาระวังบานทั้งหลัง

การวางพื้นฐาน
ถาขาดพื้นฐานเสาเข็มของบานที่มั่นคง การรูหรือมีขอมูลจากการวิเคราะหวามีโอกาสจะเกิด
พื้นที่มั่นคงบนเสาเข็ม/คอคานดิน ความสูญเสียสามารถบงชี้ถึงความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
ไดทั้งระบบ
การจัดการภายในบานทุก ๆ หอง การควบคุมขบวนการภายในของโรงไฟฟา ทั้งดาน
หองนอน หองรับแขก หองครัว หองน้ํา ใหบาน การปฏิบัติการ
อยูไดอยางมีความสุขและยั่งยืน - OPERATION ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
- ดานฐานะดานการเงิน
- การปฏิบัติตามมาตรฐานตาง ๆ
การประเมินสถานภาพและการเขาพักอาศัยภายใน การประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นภายในการ
บานตลอดจนสุขอนามัย ประกอบธุรกิจ

การเฝาระวังดูแล
ทางเลือกในการดูแลบานพัก ทางเลือกการบริหารความสูญเสีย
- การทําประกันภัย 1) การจัดการเขาไปควบคุมดูแลกอนจะสูญเสีย
- การบํารุงรักษาประจํา/ตรวจสอบ (Treat)
- การซอมแซม 2) การยับยั้งมิใหเกิดความสูญเสีย (TERMINATE)
3) การยอมรับความเสี่ยงบางสวนที่จะเกิดขึ้นแต
ไมทําใหธุรกิจเสียหาย (TOLERATE)
4) การทําประกันภัยที่อาจจะเกิดขึ้น (TRANSFER)

2.8.1 - 2
การมีปฏิสัมพันธภายในบาน
- การพูดคุยพบปะกัน ดูแลกันและกันภายใน การมีขอมูลการใหขอมูลสื่อสารกันภายในใหเขาใจกัน
ครอบครัวอยางเอื้ออาทร เขาใจ หวงใยกัน ทั่วทั้งองคกรในเปาหมายและภาระกิจที่มีอยู โดยมีเปา
หมายเพื่อ INFORMATION & COMMUNICATION
สวนสําคัญ ที่ลืมไมได การพัฒนาระบบและการปรับการจัดการ การเฝาระวังดู
หลังคาบานและบานเลขที่ มีเลขที่ ที่อยูชัดเจน แลอยางตอเนื่องจากปจจัยสําคัญที่เปลี่ยนแปลงไปเชน
แมพื้นของบานจะดีอยางไรก็ตามถาบานนั้น คน เครื่องมือเครื่องจักร วัสดุ/เชื้อเพลิงที่ใชประกอบการ
หลังคารั่วก็อยูไมเปนสุข ผลิตและสิ่งแวดลอม รวมทั้งกฎหมายหรือนโยบายของ
รัฐที่เปลี่ยนไป การชี้ประเด็นสําคัญถึงวัตถุประสงคของ
การประกอบการโดยมีตัวเฝามองและติดตาม
(Improvement and alignment Objective/Monitor
Program)

การเปนมิตร
ในบานทั้งหลังจําเปนตองมีการมองดูบาน มองตัว การตรวจประเมินระบบตาง ๆ ที่วางไวและการพัฒนา
เราที่อยูในหมูบานทําประโยชนใหคนในบานและ ใหมใหสอดคลองเขากันได
สังคมอยูรวมเปนสุขกับบานอื่น ๆ

2.8.1 - 3
2.8.1 - 4
ทั้งโรงไฟฟา ปจจัยหลักที่เปลี่ยนแปลงไดมากแตเห็นยากบางครั้งเหมือนสวนใตกอนน้ําแข็ง
คือทรัพยากรบุคคล ทําอยางไร ? กับทรัพยากรที่มีคาเหลานี้จะรักษาและดูแลใหอยูอยางมีความสุข มี
ความรับผิดชอบ มีวินัย มีความคิดริเริ่ม ตองอาศัยกลยุทธนานัปการ กลยุทธหนึ่งที่จะนําเสนอ ความเปน Boss
ของผูนําในองคกร
Bright Organizing Strategic System
Boss ตองไมทําตัวเปน Loss
Low Organizing Strategic System
การใหความสําคัญของความเสี่ยง (RISK) และ Loss ที่จะเกิดขึ้นประมาณ 85% เกิดจากการจัดการของ
ระดับ Boss
แตถา Boss ขาดเปาหมาย GOAL ของตัวเอง คือ
การคนหาความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น (Identify Loss Exposure)
การประเมินสถานการณความเสี่ยงที่จะสูญเสีย Evaluate Risk
การพัฒนา/ควบคุมแผน เพื่อขจัด , รองรับ ความเสี่ยงการสูญเสียนั้น ๆ
การเขาไปปฏิบัติการตามแผนที่วางไวอยางรอบคอบและการทบทวนแผน
การควบคุมแผนที่ดีโดยมีตัวชี้วัดถึงความสําเร็จ คือ
ลด/ขจัด Loss ที่จะเกิดจาก Loss of People
Loss of Property
Loss of Process
Loss of Environment
มีเปาหมายแลวจะเขาไปควบคุมดูแลไดอยางไร ? จําเปนจะตองเจาะลึกไปที่รากหญา (Ground Root)
อยางจริงจัง

2.8.1 - 5
2.8.2 Safety / Loss

2.8.2-1
Loss Control Management in power Plant
โครงการธุรกิจเดินเครื่องและบํารุงรักษาประจําโรงไฟฟา จะนํามาตรฐานการดําเนินงานเพื่อควบ
คุมความสูญเสีย ซึ่งเนนที่ระบบการจัดการของ Loss Control Management มาพัฒนาปรับใช ซึ่งระบบนี้
จะทําใหสามารถวิเคราะหความเสี่ยงในการปฏิบัติงานอยางมีหลักเกณฑและสามารถชี้ชัดขอบเขตของศักยภาพ
แหงความสูญเสีย ตลอดจนผูบริหารสามารถที่จะปรับระบบการบริหารการดําเนินงานใหเหมาะสมกับสภาพพื้น
ที่ไดอยางตอเนื่องตลอดเวลา
ตามสัญญาปฏิบัติการเดินเครื่องและบํารุงรักษา (OMA) กับโรงไฟฟา ในฐานะ (Owner) เปนหนวย
งานที่ตองดําเนินงานในฐานะผูใหบริการ (Operator) สิ่งจําเปนที่จะตองทําคือ สรางวัฒนธรรมในการปรับ
ปรุงกิจกรรมในการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง โดยอาศัยการมีสวนรวมของผูปฏิบัติงานทุกระดับในการปรับ
ปรุงกระบวนการ
เพื่อสนองวิสัยทัศน “เปนผูใหบริการชั้นนําภายใตความพึงพอใจของลูกคา ดานเดินเครื่อง บํารุง
รักษา และบริหารโรงไฟฟาภายในประเทศ มุงเนนคุณภาพของงานในระดับสากล ทั้งดานความปลอดภัย
และการรักษาสิ่งแวดลอม เพื่อสรางความเชื่อถือและความมั่นใจแกผูรับบริการ
ดังนั้นผูบริหารระดับผูนําจึงใหความสนใจ เรื่องการปองกันและควบคุมความสูญเสีย ซึ่งจะยัง
ประโยชนใหกับธุรกิจสามารถดํารงคอยูชั้นแนวหนาในการใหบริการและสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา
ประทับใจตลอดไป
การบริหารงานปองกันและควบคุมความสูญเสียอันจะสงผลใหเกิดการขจัดความสูณเสียดานบุคคลากร
ทรัพยสิน และขบวนการผลิตออกไป โดยหลักการกําหนดวิธีการปองกันคนหาที่มูลเหตุของความสูญเสียแลว
จัดขบวนการที่ปองกันเปนระบบ เพื่อลดความเสี่ยงของความสูญเสียที่เกิดขึ้น แตถามีความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น
ไดก็ประเมินสถานการณความพรอมที่จะขจัดใหพนออกไป โดยมีผลกระทบตอกิจการนอยที่สุด
ระบบปองกันและควบคุมความสูญเสีย จําเปนตอง “พัฒนาแผนรองรับ” ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดและคน
พบ แลวชี้ชัดถึงความเสี่ยงภัยที่จะเผชิญ ประเมินความเสี่ยงภัยที่จะมีโอกาสเกิดขึ้นได โดยอาศัยหลักการหลีก
เลี่ยงหรือขจัดออก การควบคุมใหอยูในกรอบมาตรฐาน ถาผลการประเมินความเสี่ยงจําเปนจะตองสิ้นเปลือง
คาใชจายมาก ไมคุมกับธุรกิจที่จะลงทุน ตอไปอาจจะโอนความเสี่ยงไปประกันภัย หรืออาจจะยอมรับความ
เสี่ยงนั้น ถาสามารถยอมรับได
ระบบการปองกันและควบคุมความสูญเสียมีองคประกอบที่เปนมาตรฐาน ที่สามารถนํามาปฏิบัติได
ประมาณ 20 องคประกอบ ซึ่งประกอบดวยระบบปองกันถึง 80% สวนที่เหลือจะเปนการแกไขในสิ่งที่เกิดขึ้น

2.8.2-2
ขั้นตอนการบริหารการปองกัน ควบคุมความสูญเสีย
1. การปองกันกอนที่จะเกิดความสูญเสีย
2. การดําเนินการแกไขและควบคุมขณะเกิดเหตุการณสูญเสีย
3. การแกไขภายหลังที่เกิดความสูญเสียขึ้นแลว
การปองกันควบคุมความสูญเสียที่เกิดขึ้น สามารถดําเนินการไดโดยอํานาจของการบริหารงานมากถึง
85% ดังนั้นความสําเร็จรุงเรืองของกิจการ หรือธุรกิจจึงตกอยูในมือของ ผูบริหารในการปองกันความสูญเสียมิ
ใหเกิดขึ้น
แหลงที่เปนตนตอทําใหเกิดความสูญเสียขึ้นกับ คน ทรัพยสิน ขบวนการผลิตนั้นก็คือ คน เครื่องจักร
อุปกรณ วัสดุที่ใชประกอบการ และสภาพแวดลอมนั้น ๆ จึงจําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารตอง “จับประเด็น” ใหได
วาอะไรคือสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดความสูญเสียแลวตั้ง “มาตรฐาน” “ควบคุม” “ตรวจวัด” “ประเมินผล” ใหเปน
ไปตามมาตรฐานถาไมตรงมาตรฐาน ก็สั่ง “การแกไขปรับปรุง” ใหตรงประเด็น
หัวใจสําคัญของการบริหารอาจจะตองมีจุดเสริมเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะแขงขันกับธุรกิจอื่นได คือการแขง
ขันกันที่ตนทุน และการรูคุณภาพที่เหมาะสมกับความตองการของลูกคาในราคาที่พึงพอใจของลูกคา
ดังนั้นความเสี่ยงของธุรกิจ จึงตั้งอยูบนฐานของการคนหาประเด็นของความสูญเสียในธุรกิจนั้น แลว
พิจารณาวาจะตองลงทุนเพิ่มเพื่อขจัดความเสี่ยงนั้น ๆ ออกไป เชน การกําจัดความเสี่ยงนั้นออกไปใหหมดเลย
หรือโดยการยอมรับความเสี่ยงไวระดับหนึ่งหรือโดยการประกันภัย หรือใชหลักการปองกันควบคุมความเสี่ยง
นั้นๆ ก็ขึ้นอยูกับเงินที่เปนปจจัยที่จะใสเขาไป ซึ่งจะกระทบถึงตนทุนทั้งนั้น
การพิจารณาความจริงที่เกิดขึ้นในภารกิจควรจะมีหลักพื้นฐานทางความคิด ดังนี้
ความบกพรองในระบบการจัดการเปนสาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุ และความสูญเสียมิใช
เกิด จากความสะเพราของผูปฏิบัติงาน
นอกเหนือจากอุบัติเหตุ และความสูญเสียแลว ยังมีผลตอสุขภาพ และการผลิตอีกดวย
พฤติกรรมที่ไมพึงประสงค / ความบกพรองของระบบการจัดการสามารถแกไข และทําใหถูก
ตองไดอยางเปนระบบ
การออกแบบและระบบการประเมินผลที่ดีจะคนหา หรือบงบอกอุบัติเหตุ / ความสูญเสียได
ยิ่งมีความเสี่ยงภัยมากเพียงใด องคกรยิ่งจะตองมีการจัดการเปนระบบมากขึ้น
(THE MORE ADVANCED TECHNOLOGY THE MORE SAFETY DEVELOPMENT)
การควบคุมอุบัติเหตุควรผสมผสานกับการจัดการดานอื่น ๆ ไมควรแบงแยกโดยลําพัง
การควบคุมอุบัติเหตุและความสูญเสียควรจะผสมผสานกับกิจกรรมดานการจัดการอื่น ๆ ไม
ควรที่จะแบงแยกโดยลําพัง
การประเมินผลเชิงปริมาณของการจัดการดีกวาใชสถิติอุบัติเหตุแตเพียงอยางเดียว
การควบคุมอุบัติเหตุเปนหนทางหลักในการลดคาใชจาย

2.8.2-3
1. ลักษณะตัวอยางธุรกิจผลิตไฟฟาที่ใชน้ํามันเตาและแกส ซึ่งมีความเสี่ยงสูง
โรงไฟฟา ประกอบดวย โรงไฟฟาพลังความรอน และ โรงไฟฟาพลังความรอนรวม
โดยมีกระบวนการทํางานจากการแปรรูปของพลังงานเชื้อเพลิง (ซึ่งมีแกสธรรมชาติเปนเชื้อ
เพลิงหลัก น้ํามันเตาและน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิงสํารอง) เปนพลังงานความรอน ในรูปของไอน้ําความดันสูง
เปลี่ยนเปนพลังงานกลโดยเครื่องกังหันไอน้ําเปนเครื่องตันกําลังหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนพลังงานไฟฟาในที่
สุด

OPERATION RISK OF PLANT


นัยสําคัญที่ผูบริหารควรจะใหความสําคัญอยางยิ่งในการวางแผนปฏิบัติการและขณะปฏิบัติการ คือ การ
วางแผนการจัดการตนเหตุของความสูญเสีย ซึ่งจําแนกออกเปนจากบุคคล (PEOPLE) จากตัวเครื่องจักรเอง
(Equipment) จากวัตถุดิบ , วัสดุที่ใช (Material) และสภาพแวดลอมขณะนั้น (ENVIRONMENT)
จะตองวางแผนอยางไรจึงจะสกัดกั้นความเสี่ยงที่จะเผชิญในเบื้องตน และในขณะปฏิบัติการอาจมีการ
เปลี่ยนแปลง Resources (People , Equipment , Material) และสิ่งแวดลอม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย
สังคมเปลี่ยนไป การขจัดความเสี่ยงความสูญเสียจึงเปนภารกิจที่สําคัญมากในการบริหารของโรงไฟฟาอยางยิ่ง

EXAMPLE RISK

Risk When Change


Sources of Loss Risk
Sources of Loss
People - inadequate - Change People
knowledge/standard - Change Position
Equipment - inadequate Engineering Design - New Design Machines
- Lack of Prevention Maintenance - Replace Equipment
- Protection Change
Material - inadequate knowledge and - New Supply Material
nature Harzard - Lack of Material
- inadequate standard control - Over/under Stock
Environment - Season - Climate/Season Change
- Political/Law - Change of Political
- Community - Community Climate

2.8.2-4
จากตัวอยางประเด็นความเสี่ยง ถาควบคุม กําจัดไมไดก็จะประสบกับความสูญเสียได ตัวอยางเชน
การบาดเจ็บ การตายของบุคลากร การเสียหายเกิดอัคคีภัยของทรัพยสิน การเกิดการชะงักงันหยุดขบวนการ
ผลิต และกอใหเกิดการทําลายสิ่งแวดลอม
ประเด็นดังกลาวสามารถปองกันควบคุมใหเกิดนอยลงได ถาผูบริหารของกิจการนั้นเขาใจวา ความเสี่ยง
เปนปจจัยหลักที่จะตองจัดการเปนประเด็นแรก ๆ ที่ใหความสําคัญเปนพิเศษ รวมทั้งทีมงานทั้งหมดตองมีความ
รูความเขาใจและสนใจ ถาเริ่มไดดังนี้ก็จะเกิดความมั่นคงและแขงขันไดทั้งตนทุนและไดชื่อเสียง (BRAND)
ตลอดไป
2. ระบบการบริหารงานความสูญเสีย
เปนพัฒนาการ รูปแบบการบริหารงานควบคุมความสูญเสียอยางเปนระบบ ที่มี
การกําหนด
เปาหมายอยางชัดเจน มีมาตรฐาน และระบบประเมินวัดผลที่เชื่อถือไดยอมรับเปนสากล
คุณลักษณะ 4 ประการ
1. แนวคิดการบริหารงาน (Management Concept)
2. ระบบขอมูล (Management Information System)
3. มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard)
4. ระบบการประเมินวัดผล (Measurement and Evaluation System)
2.1 แนวคิดการบริหาร (Management Concept) นําแนวคิดและปรัชญาการบริหารงานความ
ปลอดภัยสมัยใหมมาใชโดย
เนนในเรื่องของระบบการบริหารงาน โดยเฉพาะบทบาทของผูบริหารระดับสูง ซึ่งเปนหัว
ใจสําคัญของระบบนี้
ใชระบบการบริหารงานในการควบคุมอุบัติเหตุและความสูญเสียเปนหลัก (อุบัติเหตุ และ
ความสูญเสียที่เกิดขึ้นโดยสวนใหญ สามารถควบคุมไดโดยการจัดการ)
เนนกลยุทธการปองกัน (Input activities) โดยดําเนินกิจกรรมที่สงผลใหมีการปองกันและ
ควบคุมที่ดีอยางเพียงพอ มากกวาที่จะมุงเนนที่การแกไข (Output activities) โดยมองสถิติอุบัติเหตุแตเพียงอยาง
เดียว
คนหาและจัดลําดับความวิกฤตของปญหา ความรุนแรงวาจะตองดําเนินการในเรื่องใด
กอน
จัดความสัมพันธของการจัดการดานตาง ๆ เพื่อสงผลใหมีการปองกัน และควบคุมอุบัติ
เหตุ และความสูญเสียอยางมีประสิทธิภาพ
การควบคุมความสูญเสีย (Loss Control) เปนสวนหนึ่งของการจัดการรวม (Total
Management) แตก็เปนสวนที่สําคัญ

2.8.2-5
2.2 ระบบขอมูล (Management Information System) จําเปนอยางยิ่งตอการบริหารงานและผู
บริหารที่จะใชขอมูลในการวางแผนงาน กําหนดนโยบาย และการตัดสินใจ ขอมูลที่เก็บจะตองเปนขอมูลที่
สําคัญและจําเปนตอการบริหารงานและการปฏิบัติงานมีระบบการจัดเก็บที่ดี สามารถคนหาไดงาย ปองกันการ
สูญหาย และมีขอมูลที่เพียงพอตอการวิเคราะห และการตัดสินใจ ตลอดจนการดําเนินงานดานตาง ๆ ได
2.3 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) ระบบการบริหารความสูญเสียให
ความสําคัญตอมาตรฐานการปฏิบัติงาน กิจกรรมหรืองานที่ปฏิบัติ จะตองมีขั้นตอนการปฏิบัติ กําหนดมาตรฐาน
และควบคุมใหเปนไปตามมาตรฐานมีการพัฒนาระบบมาตรฐานใหสูงขึ้นจนเขาสูระดับสากล และควบคูไปกับ
การพัฒนามาตรฐานสากลที่เปลี่ยนไป
2.4 ระบบการประเมินวัดผล (Measurement and Evaluation System) ระบบนี้มุงเนน
มาตรฐานที่สามารถวัดได ใชเปนดัชนีชี้วัดได ตรวจสอบและประเมินผลไดวากิจกรรม หรือโปรแกรมที่ปฏิบัติ
ไดผลตามมาตรฐานหรือต่ํากวามาตรฐานและจะปฏิบัติใหไดมาตรฐานอยางไร โดยผูประเมินวัดผลที่เชี่ยวชาญ
ภายนอกองคกรและรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได การประเมินผลจะคิดเปนคะแนนเปอรเซ็นต และแปลผลเปน
สูงสุด 10 ระดับ

2. การบริหารเพื่อควบคุมความสูญเสีย ในธุรกิจเดินเครื่องและบํารุงรักษาโรงไฟฟา
ประเด็นแรกในการดําเนินการ คงมุงไปที่ทีมงานผูบริหาร ไดพัฒนาแผนงานดวยความรู ความ
สามารถและประสบการณในการวิเคราะหสภาพปญหาและประเมินความเสี่ยงอยางมืออาชีพแสดงบทบาทและ
ภาวะผูนํา สรางความเขาใจในแนวคิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานกับผูปฏิบัติงาน
โดยเนนในเรื่องการรวมคิดรวมทํามากกวา เพราะความรูสึกที่ถูกบังคับใหทําจะไมยั่งยืน มันตองเกิดจาก
กระบวนการขั้นตน คืออยากจะคิด อยากจะทํากอน แตในทางปฏิบัติจริง ๆ กวาจะถึงขั้นอยากจะ
คิด อยากจะทํา ก็ตองเริ่มจากวิธีการกึ่งบังคับ โดยใชเปาหมายกึ่งบังคับใหทุกคนไดไปคิด หลังจากนั้นก็ใช
วิธีไปคุย ไปทําการตรวจเยี่ยมใหมากขึ้น เพราะทุกระบบเมื่อเริ่มดําเนินการคนจะเกร็งกันมาก เครียดกับเปา
หมายในการดําเนินกิจกรรม ถาทําไมไดคงแยแนอะไรทํานองนั้น ดังนั้นการที่ผูบริหารลงไปเยี่ยมก็พยายามทํา
ใหเปนเรื่องเบา ๆ คอยสงเสริมใหกําลังใจ ทําใหทุกคนเขาใจไดวาเปาหมายทุกเปาหมายเปนกุศโลบายให
พนักงานทุก ๆ คนไดไปคิด ยิ่งคิดมาก ๆ ยิ่งดี เราจะไดรูวาไดประโยชนอะไรบาง ยกตัวอยางเชน เมื่อกอนเขาตัก
อาหารใหหมูกิน ตอไปคิดรถเข็นเพื่อตักอาหาร ทําใหเวลาในการตักอาหารลดลง อาหารก็สดใหมมากขึ้น หมู
กินไดมากขึ้น ออกลูกมากขึ้น ผลประโยชนมันตอเนื่องกัน คิดอยางเปนระบบ และตองยอมรับวา เปาหมาย
เปนสวนหนึ่งของการสื่อความ ใหเราทุกคนมีจุดหมายตรงกัน

2.8.2-6
3. การปฏิบัติและการประยุกต
การบริหารงานเพื่อควบคุมความสูญเสีย หลักการคือ การกระจายอํานาจ ตามบทบาทหนาที่
ถือเปนสวนสําคัญในการบริหารจัดการโดยมุงเนน เพื่อใหบรรลุเปาหมายการทํางานในแตละระดับ ตั้งแต
กระบวนการรับวัตถุดิบไปจนถึงกระบวนการผลิตกระแสไฟฟา ไดควบคุมผานระบบประกันคุณภาพ ISO
9001:2000 และในแตละขั้นตอนการผลิตสามารถควบคุมความสูญเสีย โดยมีมาตรการทํางาน หากเกิดผลที่
เบี่ยงเบนก็มีแนวทางการแกไข ซึ่งการควบคุมในแตละขั้นตอนทําใหสามารถระบุปญหาที่เกิดขึ้นไดทันที
ภายใตระบบการบริหารจัดการเพื่อควบคุมความสูญเสีย มีกิจกรรมตาง ๆ มากมายในแตละ
ระดับ โดยอาศัยกิจกรรมยอยตางๆ เขามากํากับดูแล เชน มีระบบการตรวจสอบทั่วไป การตรวจสอบตาม
วาระ การตรวจสอบเชิงปองกัน เพื่อปองกันขอผิดพลาดและยังมีระบบควบคุมกระบวนการผลิต Distributed
Control System (DCS) ที่มีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองอยางรวดเร็ว เพื่อใหมั่นใจไดวาเราสามารถ
เดินเครื่องและบํารุงรักษาอยางมีคุณภาพ นอกจากนี้ ระบบควบคุม (DCS) ยังมีคุณสมบัติอื่น อาทิ มี
สัญญาณเตือนหลายระดับ ตามความสําคัญมีระบบแสดงผลยอนหลังในรูปกราฟ เสียงเตือนอัตโนมัติ คําแนะ
นําในการแกปญหาและระบบปองกันขอผิดพลาด (Interlock) ระบบตาง ๆ เหลานี้ทํางานรวมกันกับบุคลากร
เพื่อใหมั่นใจไดวากระบวนการผลิตทํางานบรรลุเปาหมาย ไดอยางมี ประสิทธิภาพ
สําหรับประสิทธิภาพในการทํางาน พนักงานเนนระบบการติดตามงาน โดยระดับแผนกแบง
ยอยเปนทีมยอย โดยเนนการกํากับ Critical Process จากกระบวนการ Task Analysis ทําใหมั่นใจวา
สามารถควบคุมความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นทั้งคน, ทรัพยสินและขบวนการผลิตได และหากเกิดปญหาก็สามารถ
แกไขไดอยางมีคุณภาพ ประสิทธิภาพสามารถดูไดจากความสามารถในความพรอมจายกระแสไฟฟา, ขอรอง
เรียนของลูกคา, แนวทางการปองกันปญหาที่เกิดซ้ํา
นอกจากนี้ ทีมงานปฏิบัติการควรนําเอาระบบ Balance Score Card เขามาใชเปนตัว
ประเมินผลการดําเนินกิจกรรม ผลการดําเนินกิจกรรมของกลุมกิจกรรมยอย จะทําการทบทวนในระดับแผนก และ
ทําการทบทวนทางเทคนิคในการประชุมองคกรการเรียนรู และทบทวนการบริหารจัดการในการประชุมระดับผู
บริหารประจําทุกเดือน

ผูบริหาร เนนการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารเพื่อควบคุมความสูญเสียโดย
เพิ่มการมอบหมายและการกระจายอํานาจใหแกหัวหนางาน ใชหลักการประเมินความเสี่ยงทบ
ทวนปญหาในการปฏิบัติงานทุกครั้ง เพื่อควบคุมและปองกันกอนลงมือปฏิบัติงาน
ใหพนักงานทุกระดับมีสวนรวมในการทบทวนกิจกรรมกลุม โดยเนนการทํากิจกรรมยอยเพื่อแก
ไขปญหาหนางาน เชน กิจกรรม Suggestion, กิจกรรม QCC, กิจกรรม 5 ส. เปนตน
วิเคราะหงานโดยใชหลัก Task Analysis โดยใหผูปฏิบัติงานระดับปฏิบัติการมีสวนรวมในการ
กําหนดมาตรฐานการทํางานและนําเขาสูการใชงาน ทบทวนและปรับปรุงอยางตอเนื่อง

2.8.2-7
กําหนดใหมี Specific Audit เพื่อติดตามจุดที่เกิดปญหาใหไดรับการควบคุมดูแลอยางตอ
เนื่อง
การใชขอมูลจริงในการวิเคราะหหาสาเหตุที่แทจริงและแนวโนมของปญหาและกําหนดแนวทาง
แกไขและควบคุมความสูญเสียรวมกัน การบริหารงานเพื่อควบคุมความสูญเสียมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง
ใหพนักงานทุกคนเขาใจถึงการจัดทํามาตรฐาน การตระหนักถึงความสําคัญในการจัดทํามาตรฐานในทุกขั้น
ตอน ตั้งแตการจัดเตรียม, การลงมือปฏิบัติ, จนถึงการใหบริการ ตลอดจนการดําเนินการกับสภาวะฉุกเฉินและ
มาตรฐานปฏิบัติการตองไดรับการปฏิบัติตาม เพื่อใหคุณภาพการควบคุมความสูญเสียเปนที่ยอมรับ ให
ความรูกับพนักงานใหสามารถใชมาตรฐานอยางถูกตองแมนยํา สังเกตการทํางานเพื่อตรวจสอบสภาวะ
การใชมาตรฐาน เพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง

5. แนวทางการปฏิบัติในการปองกันแกไขและควบคุมความสูญเสีย
พิจารณาใน 3 สวน คือกิจกรรมปองกันกอนเกิดเหตุ กิจกรรมขณะเกิดเหตุและกิจกรรมแกไข
หลังเกิดเหตุ
1. กิจกรรมปองกันกอนเกิดเหตุ ประกอบดวย การวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย, การ
ประเมินความเสี่ยง, การตรวจสอบความปลอดภัยและ Specific Audit, การสังเกตการทํางาน, การประชุมกลุม
, กิจกรรม QCC, กิจกรรมขอเสนอแนะ, กิจกรรม 5 ส., การฝกอบรมผูบริหาร/ พนักงาน, การตรวจทางสุข
ศาสตรอุตสาหกรรม, การสงเสริมสุขภาพการทํางาน, การปฐมนิเทศงาน,
การออกกฎความปลอดภัย, การประเมินผลกิจกรรม, การควบคุมวิศวกรรม, การจัดซื้อจัดจาง, การประชุมกลุม/
หนวยงาน การสงเสริมกิจกรรมเพื่อสรางแรงจูงใจ, การปองกันอุบัติเหตุ เปนตน
2. กิจกรรมขณะเกิดเหตุ ประกอบดวย
อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล, การปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บ, การระงับและตอบ
สนองภาวะฉุกเฉิน เปนตน
3. กิจกรรมหลังเกิดเหตุ ประกอบดวย
การสอบสวนอุบัติเหตุ, การวิเคราะหอุบัติเหตุ เปนตน
ในทุกปไดจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อควบคุมความสูญเสียโดยพิจารณาใน
เรื่องของการบริหารจัดการ ลงสูวิธีการทํางานในแตละกระบวนการ โดยประเมินทุกระดับของผูทํางาน เพื่อ
ใหมั่นใจไดวาจะไมเกิดความสูญเสียและมีความเสี่ยงนอยในการดําเนินงานของงาน รวมทั้งทรัพยสินและ
กระบวนการผลิตไดอยางตอเนื่องเปนไปตามเปาหมายที่คาดหวัง

2.8.2-8
ทําอยางไร ? จึงจะรูความจริงของ Risk/Loss ก็ตองลงไปดูที่หนางานเยี่ยมเยียนรับฟงมากกวาสั่งการ
กลับมา ทบทวนปญหาอุปสรรค/ความเสี่ยงแลวกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติ ซึ่งพอสรุปได ดังนี้
1. การเขาไปวิเคราะหงานจากขอมูลที่เกิดความสูญเสียหรือมีความเสี่ยงทั้ง Operating/Financial และ
การปฏิบัติการตามขอกําหนดตาง ๆ (Identify Work)
2. การกําหนดมาตรฐาน มาตรการ ควบคุมเหตุ หรือการจัดการในงานหรือลักษณะงานที่จะเสี่ยง/สูญ
เสียขึ้นอีก (Standard Set)
3. การเขาไปตรวจสอบตรวจวัดการกระทําตามมาตรฐานที่เกิดขึ้น ซึ่งขอนี้จําเปนอยางยิ่ง มักจะพบ
ปญหาวามีกฎกติกา มาตรฐานแตไมปฏิบัติตาม พอเกิดเรื่องขึ้นแลวไมทบทวน เรื่องที่เกิดขึ้นก็จะเปนความเสี่ยง
ที่รายแรงและจะเกิดซ้ําไดอีก (Measurement)
4. กระบวนการหลังจากตรวจสอบ คือ การประเมินวัดผลของผลการควบคุมการจัดการ แลวมีผล
ลัพธเปนอยางไร แลวกลับมาทวนซ้ําเพื่อพัฒนามาตรฐานและการปฏิบัติตามมาตรฐาน (Evaluating)
5. ธรรมชาติของมนุษยการใหกําลังใจยกยองชมเชยตอกัน ถามีขอควรปรับปรุงก็ชี้แนะปรับปรุงใหดียิ่ง
ขึ้น (Commendation & Correction)
ทั้งหมดนี้เปนเครื่องมือของผูบริหารที่สําคัญอยางยิ่ง นอกเหนือจากหนาที่ประจําปกติ คือ การวางแผน
งานประจํา การจัดองคกรรองรับภารกิจ การสั่งการ การกํากับดูแล และการควบคุมในเนื้องาน

2.8.2-9
2.8.3 Finance

2.8.3 - 1
การบริหารการเงิน (Financial Management)

1. แหลงเงินทุน
1.1 กําหนดจํานวนเงินที่เหมาะสม
1.2 การจัดสรรเงินทุน
1.3 การจัดหาเงินทุน
2. งบประมาณ
2.1 ความสําคัญตอการบริหารจัดการ
2.2 วัตถุประสงคทางการงบประมาณ
2.3 ประโยชนของการงบประมาณ
2.4 โครงสรางและการจัดทํางบประมาณ
3. การบัญชี
3.1 วัตถุประสงคของการทําบัญชี
3.2 ประโยชนของการทําบัญชี
3.3 ขอสมมุติขั้นมูลฐานของการบัญชี
4. รายงานการบัญชี
4.1 งบการเงิน
4.2 การเสนอรายงาน
5. การวิเคราะหผลการดําเนินงาน
5.1 ประโยชนจากการวิเคราะหงบการเงิน
5.2 ขอพึงระวังในการอานงบการเงิน
5.3 ขอจํากัดในการวิเคราะหงบการเงิน
5.4 รูปแบบและขั้นตอนในการวิเคราะหงบการเงิน

2.8.3 - 2
การบริหารการเงิน (Financial management) :
การบริหารการเงินของโรงไฟฟาประกอบดวย
1. แหลงเงินทุน คือ การจัดหาเงินทุนมาใชในการดําเนินงาน
2. การวางแผนการใชเงิน คือ การตั้งงบประมาณประจําป
3. การเก็บรวบรวมขอมูลในการดําเนินงาน คือ การจัดทําบัญชี
4. การรายงานผลการดําเนินงาน คือ การรายงานเปนรูปงบการเงิน และรายงานเพื่อการบริหารเปนการ
ควบคุมติดตามการดําเนินงาน
5. การวิเคราะหผลการดําเนินงาน คือ การวิเคราะหงบการเงินเพื่อใหทราบสถานะของกิจการวา จุดใดเปน
จุดออน และจุดใดเปนจุดแข็ง เพื่อประโยชนในการวางแผนการบริหารใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

1. แหลงเงินทุน
การบริหารเงินทุน พิจารณาจากปจจัยตาง ๆ ดังนี้
1.1 กําหนดจํานวนเงินที่เหมาะสมสําหรับใชในธุรกิจ
- จากการวางแผนและควบคุมการใชเงินทุน การคาดคะเนการเคลื่อนไหวของเงินสด (Cash
Flow) เพื่อดูวามีสาเหตุอะไรบางที่จะเปนผลกระทบกระเทือนตอฐานะการเงินของกิจการ
มีสภาพคลอง (Liquidity) เพียงพอที่จะสามารถชําระหนี้เมื่อครบกําหนด
1.2 การจัดหาเงินทุน
แหลงที่มาของเงินทุนธุรกิจ เชน การกูยืม , การออกขายหุน หรือตราสารทางการเงินอื่น ๆ
โดยจะตองพิจารณาถึงความยากงายในการจัดหา ,ระยะเวลาครบกําหนด และภาระผูกพัน เพื่อใหไดสวนผสม
ทางการเงินที่ดีที่สุด
1.3 การจัดสรรเงินทุน
ธุรกิจเงินลงทุนจะไปลงทุนใหสอดคลองกับเปาหมายของการเงินธุรกิจ การใชเงินลงทุนแบง
ได 2 ประเภท ดังนี้
1. การลงทุนในสินทรัพยหมุนเวียน ซึ่งไดแก เงินสด หลักทรัพยลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้จากการ
บริหาร สินทรัพย เหลานี้ ใหมีประสิทธิภาพ กอใหเกิดผลกําไรตอธุรกิจและสามารถรักษาสภาพคลอง
2. การลงทุนในสินทรัพยถาวร เปนการลงทุนในโครงการตางๆ ที่คาดวาจะใหผลตอบแทนใน
อนาคต และความเสี่ยง (Risk) ในทางธุรกิจ

2.8.3 - 3
2. งบประมาณ
การงบประมาณ หมายถึง ระบบการวางแผนที่เปนตัวเลขเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจขององคการธุรกิจใด
ธุรกิจหนึ่ง ที่จะเกิดขึ้นภายในระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่งในอนาคต การงบประมาณนี้จะครอบคลุมไปถึงการ
จัดทํางบประมาณและการควบคุมโดยงบประมาณดวย

2.1 ความสําคัญตอการบริหารจัดการ
งบประมาณนับเปนสวนหนึ่งของการวางแผนที่ดีขององคการธุรกิจ ในอันที่จะนํานโยบายใน
การดําเนินงานที่กําหนดไวในแผนพื้นฐาน แผนโครงการ และแผนระยะยาวไปสูการปฏิบัติ โดยจัดทําเปนแผน
ระยะสั้นหรืองบประมาณประจําปขึ้น
นอกจากนี้ งบประมาณยังเปนสวนหนึ่งของการควบคุมการดําเนินงานขององคการธุรกิจ กลาว
คือ การควบคุมโดยงบประมาณ จะชวยติดตามและประเมินผลการปฏิบัติการของทุกหนวยขององคการใหมี
ประสิทธิภาพเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวในงบประมาณ อันจะนําไปสูเปาหมายขององคการที่วางไว ดัง
นั้นการงบประมาณจึงมีความสําคัญยิ่งตอการบริหารจัดการธุรกิจ
2.2 วัตถุประสงคของการงบประมาณที่สําคัญดังนี้
1. ชวยในการวางแผน
2. ชวยในการประสานงานและกอใหเกิดความรวมมือ
3. ชวยในการแบงสรรทรัพยากร
4. ชวยในการควบคุมการดําเนินงาน
5. ชวยในการประเมินผลการปฏิบัติงานและกอใหเกิดแรงจูงใจในการทํางาน
2.3 ประโยชนของการงบประมาณ
1. ชวยทําใหองคการธุรกิจจะตองจัดใหมีโครงสรางองคการที่ดี
2. ชวยทําใหเปาหมายของบุคคล เปาหมายขององคการผสมผสานเปนอันหนึ่งอัน
เดียวกัน
3. ชวยทําใหฝายบริหารตองการวางแผนการใชทรัพยากรตาง ๆ รวมทั้งเงินทุน
อยางมีประสิทธิภาพ
2.4 โครงสรางและการจัดทํางบประมาณ
ระบบงบประมาณเปนสวนหนึ่งของระบบ การวางแผนรวมขององคกรธุรกิจ ซึ่งประกอบดวย
แผนงานตาง ๆ หลายชนิดที่มีความตอเนื่อง และสนับสนุนซึ่งกันและกัน แบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คืองบ
ประมาณดําเนินการ และงบประมาณการเงิน

2.8.3 - 4
- งบประมาณดําเนินการ เปนงบประมาณที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานขององคกรซึ่งไดแก งบ
ประมาณเกี่ยวกับรายไดและคาใชจาย ซึ่งแสดงผลการดําเนินงาน หรือกําไรขาดทุนขององคการในชวงระยะ
เวลาหนึ่ง ประกอบดวยงบประมาณยอยดังนี้ งบประมาณขาย, งบประมาณคาใชจายในการผลิต, งบประมาณคา
ใชจายดานบุคคลและสวัสดิการ, งบประมาณวัสดุสิ้นเปลือง ฯลฯ
- งบประมาณการเงิน แสดงถึงการวางแผนทางการเงินขององคกรในชวงระยะเวลาใด เวลาหนึ่ง
ประกอบดวย งบประมาณฐานะการเงิน ประกอบดวยงบประมาณยอย เชน งบประมาณกระแสเงินสด และ
กระแสทุนทําการ, การลงทุนประจําป ฯลฯ
- การจัดทํางบประมาณ ผูบริหารจําเปนตองสรางพื้นฐานและเตรียมความพรอมขององคการธุรกิจให
เพียงพอ รวมทั้งจัดขั้นตอนในการจัดทํางบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ
- ขั้นตอนในการจัดทํางบประมาณ มีดังนี้
- การประเมินสภาวะแวดลอมขององคกรธุรกิจ
- การกําหนดวัตถุประสงคขององคกรธุรกิจ
- การกําหนดเปาหมายขององคกรธุรกิจ
- การกําหนดนโยบายในการดําเนินงาน
- การกําหนดสมมุติฐานในการวางแผนเพื่อจัดทําเปนแนวทางในการทํางบประมาณ
- การติดตามผลการปฏิบัติงาน เมื่อมีรายการเกิดขึ้นจริงในชวงระยะเวลาของงวด
งบประมาณนั้น ก็จะนําตัวเลขจริงกับตัวเลขโดยประมาณมาเปรียบเทียบกันเพื่อหาขอบกพรองในการดําเนินงาน

2.8.3 - 5
3. การบัญชี
การบัญชี คือ การจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับการเงินหรือสิ่งของที่กําหนดมูลคาเปนเงินไวเปน
หลักฐาน โดยจัดแยกไวเปนประเภทตาง ๆ เพื่อใหเพียงพองายอันเปนประโยชนตอการดําเนินงานนั้น ๆ

การบัญชีแบงเปน 3 ประเภท คือ การบัญชีการเงิน และ การบัญชีบริหาร การบัญชีภาษีอากร


บัญชีการเงิน หมายถึง การเสนอขอมูลทางบัญชีที่แสดงผลการดําเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการ
เพื่อรายงานตอผูถือหุนและบุคคลภายนอก
บัญชีบริหาร หมายถึง การเสนอขอมูลทางบัญชีที่ผูบริหารใชในการตัดสินใจ และกําหนดนโยบายเพื่อ
ดําเนินกิจการ
บัญชีภาษีอากร หมายถึง การเสนอขอมูลทางบัญชีโดยยึดหลักรายไดและคาใชจายตามประมวล
รัษฎากร เพื่อประโยชนในการยื่นแบบเสียภาษีเงินไดประจําป
บัญชีการเงินและบัญชีบริหาร แตกตางกันที่การใชขอมูลทางบัญชี บัญชีบริหารเนนการวางแผนและ
การควบคุม โดยจะเกี่ยวของกับการรวบรวมขอมูล การจัดประเภท และการตีความขอมูลเพื่อจะชวยฝาย
บริหารสามารถบริหารงานใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร

3.1 วัตถุประสงคของการทําบัญชี
1. เพื่อบันทึกหลักฐานตาง ๆ ของธุรกิจนั้น ๆ ใหเปนระเบียบเพื่อจะไดดูหรือตรวจสอบไดงายขึ้น
2. เพื่อจะไดทราบผลของการดําเนินงานวามีกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานเปนจํานวนเทาใด
3. เพื่อทราบฐานะการเงินของกิจการวามีสินทรัพย หนี้สิน และเงินทุนเปนจํานวนเทาใด
4. เพื่อใหถูกตองตามพระราชบัญญัติการบัญชีตามที่กําหนดไวแตละกิจการ

3.2 ประโยชนของการทําบัญชี
1. เปนหลักฐานประกอบการดําเนินกิจการ เพื่อแสดงใหทราบวาผลของการดําเนินงานที่แลว ๆ มีขอบก
พรองและผิดพลาดอะไรบางหรือมีผลดีหรือผลเสียอยางไรบางซึ่งการทําบัญชีนี้ชวยเปนหลักฐานใน
การอางอิงไดอยางดี
2. เปนหลักฐานในการตรวจสอบตัวเงินสดกับยอดบัญชีวาถูกตองหรือพลาดอยางไร
3. เปนสถิติชวยในการบริหาร การควบคุม การจัดทํางบประมาณ
4. เปนหลักฐานในการบริหารงาน เพื่อปองกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นอีก
5. ชวยในการคํานวณผลของการดําเนินงานวามีกําไรหรือขาดทุนอยางไร
6. ชวยใหทราบฐานะการเงินของกิจการวามีสินทรัพย หนี้สิน และเงินทุนในขณะใดขณะหนึ่งเปนจํานวน
เทาใด

2.8.3 - 6
3.3 ขอสมมติขั้นมูลฐานของการบัญชี
ขอสมมติขั้นมูลฐานของการบัญชี เปนหลักเกณฑที่สําคัญในการจัดทํางบการเงิน ซึ่งผูใชงบ
การเงินจะตองทราบเกี่ยวกับขอสมมติฐานเหลานี้เพื่อจะไดทําใหเขาใจวาทําไมนักบัญชีจึงเสนอขอมูลใน
ลักษณะเชนนั้น ขอสมมติฐานของการบัญชีโดยทั่วไปไดแก
1. หลักการใชหนวยเงินตราในการบัญชี (Money measurement)
ขอมูลทางบัญชีจะใหความหมายไดชัดเจนถาแสดงเปนตัวเลขและเนื่องจากหนวยเงินตราไดใชเปน
สื่อในการแลกเปลี่ยนและเปนหนวยวัดราคานักบัญชีจึงใชหนวยเงินตราในการวัดผลการดําเนินงาน และแสดง
ฐานะการเงินของธุรกิจ
2. หลักความเปนหนวยของกิจการ (Business entity)
หนวยงานในที่นี้ไดแกหนวยธุรกิจ ซึ่งอาจเปน บริษัทจํากัด หางหุนสวน หรือบุคคลคนเดียวขอมูล
ทางการบัญชีเปนขอมูลเกี่ยวกับหนวยงานหนึ่ง ๆ ซึ่งแยกตางหากจากเจาของกิจการอื่น
เมื่อถือวาธุรกิจเปนหนวยงานแยกจากเจาของกิจการ การบันทึกรายการคาที่เกิดขึ้นจะบันทึกเฉพาะรายการที่
เกี่ยวกับธุรกิจเทานั้น ซึ่งทําใหธุรกิจสามารถแสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินแยกตางหากจากเจาของ
กิจการ
3. หลักการใชหลักฐานอันเที่ยงธรรม (Verifiable Objective Evidences)
เนื่องจากงบการเงินทําขึ้นเพื่อประโยชนของบุคคลหลายฝายซึ่งอยูในสถานะตาง ๆ กัน ดังนั้นเพื่อ
ใหบุคคลที่เกี่ยวของเขาใจงบการเงินของกิจการไดถูกตองใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด การจดบันทึกราย
การทางบัญชี และการจัดทํางบการเงินของธุรกิจจึงตองจัดทําขึ้นโดยอาศัยหลักฐานและขอเท็จจริงอันเที่ยงธรร
รมที่บุคคลตาง ๆ ยอมรับ และเชื่อถือได
4. หลักรอบระยะเวลา (Periodicity)
การบัญชีการเงินใหขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการสําหรับระยะเวลาหรือรอบบัญชีที่ระบุ
ไวสวนผูใชงบการเงินทําการประเมินผล และตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการตามวาระและเวลาตาง ๆ กัน ตลอดอายุ
ของกิจการ ดังนั้นจึงไดมีการแบงการทํางานของกิจการออกเปนรอบเวลาสั้น ๆ เพื่อจัดทําขอมูลไวเพื่อ
ประโยชนในการตัดสินใจ รอบระยะเวลาดังกลาวมักจะกําหนดไวเทากันเพื่อประโยชนในการตัดสินใจ
โดยปกติกําไรขาดทุนจะทําขึ้นสําหรับงวดระยะเวลาหนึ่งป ซึ่งหนึ่งปนี้อาจมิไดหมายถึงปปฏิทิน
(1 ม.ค. – 31 ธ.ค.) รอบปในที่นี้เปนรอบปการเงิน ซึ่งกิจการแตละแหงจะกําหนดขึ้นเองตามความเหมาะสม
ของกิจการ
5. หลักความดํารงอยูของกิจการ (Going concern)
กิจการที่จัดตั้งขึ้นมายอมมีวัตถุประสงคที่จะดํารงอยูโดยไมมีกําหนด กลาวคือ หากไมมีเหตุชี้เปน
อยางอื่นแลว กิจการที่ตั้งขึ้นมายอมจะดําเนินงานตอเนื่องกันไปอยางนอยก็นานพอที่จะดําเนินงานตามแผนและ

2.8.3 - 7
ขอผูกผันที่ไดทําไวจนสําเร็จ นักบัญชีจึงมีขอมูลฐานวากิจการไมตั้งใจที่จะเลิกดําเนินงาน ดังนั้นจึงไมมีความจํา
เปนที่จะตองตีราคาสินทรัพยตามราคาที่จะขายได จะบันทึกราคาสินทรัพยของกิจการตามราคาทุนที่ซื้อมา
6. หลักราคาทุน (Cost)
ตามหลักราคาทุนการบันทึกสินทรัพย และหนี้สินของธุรกิจถือตามราคาทุนเดิมเพราะวาราคาทุน
เปนราคาที่เหมาะสมกวาราคาอื่นๆ ซึ่งเปนราคาที่แนนอนและสามารถคํานวณไดอยางตรงไปตรงมาไมขึ้นอยูกับ
ความเห็นชอบของแตละคนซึ่งอาจแตกตางกันได
7. หลักการเกิดขึ้นของรายได (Realization)
หลักการเกิดขึ้นของรายไดเปนหลักเกี่ยวกับการบันทึกรายไดจากการขายสินคา หรือใหบริการแกลูก
คาวา ควรจะถือวารายไดเกิดขึ้นเมื่อใด และในจํานวนเงินเทาใด
โดยทั่วไปนักบัญชีจะลงบันทึกวารายไดไดเกิดขึ้นแลว เมื่อมีเงื่อนไข 2 อยาง ตอไปนี้ คือ
(1) กระบวนการกอใหเกิดรายไดไดสําเร็จแลวหรือถือไดวาสําเร็จแลว และ
(2) การแลกเปลี่ยนไดเกิดขึ้นแลว กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ รายไดเกิดขึ้นในงวด ซึ่งไดมีการสงมองสิน
คาหรือใหบริการแกลูกคาแลว สําหรับจํานวนเงินที่บันทึกเปนรายไดนั้นก็คือจํานวนที่ไดรับหรือคาดวาจะไดรับ
8. หลักการจับคูคาใชจายกับรายได (Matching)
หลักการจับคูคาใชจายกับรายไดเปนแนวทางเพื่อใชตัดสินวา รายการใดควรจะถือเปนคาใชจายใน
งวดบัญชีนั้นๆ วิธีการคือ จะมีการบันทึกรายไดตามหลักการเกิดขึ้นของรายไดกอน ตอจากนั้นจึงนําเอาคาใชจาย
ไปจับคูกับรายไดที่เกิดขึ้นนั้น
9. หลักเงินคาง (Accrual)
การคํานวณกําไรและขาดทุนของธุรกิจสําหรับงวดหนึ่งๆ นักบัญชีตองคํานึงถึงรายไดและคาใชจาย
ทั้งหมดที่เปนของงวดนั้น และแยกสวนที่ไมเปนของงวดนั้นออก ซึ่งตามหลักการบัญชีเงินคางถือวารายไดเกิด
ขึ้นเมื่อเขาเกณฑ 2 ประการ คือ หลักการเกิดขึ้นของรายได กับหลักการจับคูคาใชจายที่เกิดขึ้นสําหรับงวดแมจะ
ยังไมมีการรับเงินและจายเงินไปจริงก็ตาม
10. หลักความสม่ําเสมอ (Consistency)
การบันทึกบัญชีของกิจการ จําเปนตองยึดหลักความสม่ําเสมอ หมายความวาเมื่อกิจการไดเลือกใช
การปฏิบัติบัญชีวิธีใดแลวตองใชวิธีการนั้นโดยตลอด ทั้งนี้ก็เพราะวาการใชงบการเงินสําหรับชวยในการตัดสิน
ใจ ควรจะใชงบการเงินสําหรับระยะเวลาหลายๆ ชวงติดตอกัน เพราะจะมีความหมายและมีประโยชนมากกวา
อีกประการหนึ่งในการเปรียบเทียบงบการเงินสําหรับระยะเวลาที่แตกตางกัน ยอมจะเกิดผลและมีประโยชนตอ
เมื่องบการเงินนั้นไดจัดทําขึ้นโดยอาศัยมาตรฐานการบัญชีเดียวกัน
การเลือกใชการปฏิบัติบัญชีอาจมีการเปลี่ยนแปลงได แตควรตองระบุไวในรายงานหรือขอสังเกต
ประกอบงบการเงินดวย
11. หลักการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ (Disclosure)

2.8.3 - 8
ในการเปดเผยขอมูลการเงิน นักบัญชีจะตัดสินโดยถือหลักวา ถาไมเปดเผยขอมูลนั้นแลวจะเปนเหต
ใหผูใชงบการเงินหลงผิดหรือไมซึ่งหลักเกณฑที่สําคัญที่นํามาใชในการพิจารณาก็คือ “เมื่อสงสัยใหเปดเผย”
การเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอหมายความรวมถึง รูปแบบการจัดรายการและขอมูลในงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน คําศัพทที่ใช การแยกประเภทรายการ เกณฑที่ใชในการคํานวณ ฯลฯ ทั้งหมดนี้
เนนถึงลักษณะและชนิดของการเปดเผยตางๆ ที่จําเปนที่ทําใหงบการเงินใหขอมูลอยางเพียงพอ
12. หลักความระมัดระวัง (Conservatism)
หลักความระมัดระวัง หมายถึงวาในกรณีที่อาจเลือกวิธีปฏิบัติทางการบัญชีไดมากกวาหนึ่งวิธี นัก
บัญชีควรเลือกวิธีที่จะแสดงสินทรัพย และกําไรในเชิงที่ต่ํากวาไวกอน หลักโดยยอคือ “ไมคาดการณวาจะได
กําไรแตจะรับรูการขาดทุนไวอยางเต็มที่ ในกรณีที่สงสัยใหตัดเปนคาใชจายทันที”
13. หลักการมีนัยสําคัญ (Materiality)
งบการเงินควรเปดเผยขอมูลที่มีนัยสําคัญพอที่จะกระทบตอการตัดสินใจทั้งนี้เพื่อใหผูใชงบการเงิน
เขาใจโดยถูกตองถึงผลการดําเนินงานฐานะการเงินและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ
เหตุการณที่มีนัยสําคัญ หมายถึง เหตุการณซึ่งถาหากผูที่เกี่ยวของไมไดรับทราบแลวอาจทําใหตัดสิน
ใจผิดไปจากกรณีที่ไดรับทราบ

2.8.3 - 9
4. รายงานการบัญชี
4.1 งบการเงิน
งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่งๆ เปนรายงานที่จัดทําขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากการบันทึก
รายการทางดานการบัญชี เพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ ซึ่งจะไดเสนอขอมูลตอ
บุคคลภายนอกไดนําไปใชในการตัดสินใจและสําหรับฝายบริหารใชในการกําหนดวัตถุประสงค การวางแผน
และควบคุมการดําเนินงาน
งบการเงินที่สําคัญมีดังนี้
1. งบดุล (Balance Sheet)
2. งบกําไรขาดทุน (Income Statement)
3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน (Statement of Changes in chair holder’s equity)
4. งบกระแสเงินสด (Statement of cark flow)

4.1.1 งบดุล (Balance Sheet)


งบดุลเปนรายงานทางการเงินที่แสดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งจะแสดงให
เห็นวามีสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของกิจการอยูเทาใด และเมื่อระยะเวลาเปลี่ยนไปงบดุลก็จะเปลี่ยนไป
ตามผลการดําเนินงานในรอบระยะเวลานั้น
การจัดประเภทรายงานในงบดุล
รายการในงบดุลจะจัดประเภทรายการที่มีลักษณะคลายๆ กัน การเก็บไวในพวกเดียวกันประเภทราย
การในงบดุล ดังนี้
สินทรัพย
- สินทรัพยหมุนเวียน
- เงินลงทุน
- สินทรัพยถาวร (และ อาคารและอุปกรณ)
- สินทรัพยไมมีตัวตน
หนี้สินและจํานวนของผูถือหนี้
- หนี้สินหมุนเวียน
- หนี้สินระยะยาว
- ลักษณะของผูถือหนี้

2.8.3 - 10
4.1.2 งบกําไรขาดทุน
เปนงบที่แสดงถึงผลการดําเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผานมาวามีผลการดําเนินงาน
เปนอยางไร กําไรหรือขาดทุนมากนอยแคไหน
งบกําไรขาดทุนประกอบดวยรายการที่บงบอกถึงรายไดและคาใชจายตนทุนตาง ๆ หักกลบลบกัน
4.1.3 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน
เปนงบที่แสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของผูถือหุนในระหวางรอบระยะเวลาบัญชี
4.1.4 งบกระแสเงินสด
เปนงบที่แสดงใหเห็นถึงการไหลเวียนของเงินสดในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ๆ วามีที่มาที่ไปเปนอยาง
ไร รายการอะไรที่ทําใหเงินสดเพิ่มขึ้น และรายการอะไรที่ทําใหเงินสดลดลง

4.2 การเสนอรายงาน
รายงานทางบัญชีเพื่อเสนอแกบุคคลตางๆ ดังนี้
1. รายงานเสนอตอฝายบริหาร
ในรูปของงบการเงิน ซึ่งจะจัดทําขึ้นทุกๆ สิ้นเดือนหรือทุกไตรมาส จะแสดงรายงานผลการดําเนิน
งานของแผนกตางๆ เพื่อใหฝายบริหารใชในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของแตละแผนกโดยมีขอมูล
เปรียบเทียบสําหรับงวดนี้และงวดกอนดวย
2. รายงานที่เสนอตอบุคคลภายนอก
บุคคลภายนอกประกอบดวย ผูถือหุน เจาหนี้และผูที่จะลงทุนในภายหนาหรือบุคคลอื่นที่จะใช
ประโยชนจากงบการเงินของบริษัท งบการเงินที่จะเสนอตอบุคคลภายนอกจะตองจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการ
บัญชีฉบับที่ 35 เรื่อง การนําเสนองบการเงิน ซึ่งกําหนดไววางบการเงินที่สมบูรณตองประกอบดวย
1. งบดุล
2. งบกําไรขาดทุน
3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ
4. งบกระแสเงินสด
5. นโยบายการบัญชีและหมายเหตุประกอบการเงิน
3. รายงานที่เสนอตอทางราชการ
แบบหรือรายงานที่จะตองยื่นตอสวนราชการเกี่ยวกับการบัญชีและภาษีอากรมีดังตอไปนี้
1. ภ.ง.ด. 1 คือ แบบยื่นรายการภาษีเงินได หัหก ณ ที่จาย ตามมาตรา 59 แหงประมวลรัษฎากรซึ่งจะ
ตองยื่นตอรมสรรพากรหรือที่วาการเขตทองที่ภายใน 7 วัน หลังจากวันสิ้นเดือนที่จายเงินไดประเภทที่ตองหัก
ภาษี ณ ที่จาย
ขอมูลที่ใชในการจัดทํารายงานประเภทนี้จะรวบรวมไดจากสมุดเงินเดือนและสมุดเงินคาจางรายวัน
ของแตละเดือนที่มีการจายเงินไดใหแกบุคคลธรรมดา หรือ คณะบุคคล
2.8.3 - 11
2. ภ.ง.ด. 1 ก คือ แบบยื่นรายการตามมาตรา 58 ซึ่งจะตองยื่นกรมสรรพากรภายใน 2 เดือนหลังจาก
สิ้นปปฏิทิน ภายในเดือนกุมภาพันธของทุกๆ ป แบบยื่นรายการดังกลาวจะแสดงขอมูลสรุปทั้งปเกี่ยวกับเงินได
และภาษีหัก ณ ที่จาย
ขอมูลที่ใชในการจัดทํารายงานประเภทนี้รวบรวมไดจากบัญชีเงินไดพนักงานทั้ง 2 ประเภท คือ
พนักงานคาจางรายวัน และพนักงานเงินเดือนประจํา ซึ่งไดบันทึกรายการเกี่ยวกับเงินได และภาษีหัก ณ ที่จาย
ไวทั้งป
3. ภ.พ. 30 หรือ ภ.พ. 31 คือแบบแสดงรายการภาษีมูลคาเพิ่ม หรือ ภ.ธ. 40 คือ แบบแสดงรายการ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ทั้งนี้อยูกับประเภทของรายไดที่ตองเสียภาษี) ซึ่งจะตองยื่นตอกรมสรรพากรหรือที่วาการเขต
ทองที่ภายใน 15 วัน หลังจากวันสิ้นเดือนเปนประจําทุกๆ รอบเดือนภาษีโดยไมคํานึงวาจะมีรายรับที่ตองเสีย
ภาษีในเดือนนั้นหรือไม แบบแสดงรายการดังกลาวจะแสดงถึงรายไดแตละประเภทที่ตองเสียภาษีและภาษีที่
ตองจายในแตละเดือน
ขอมูลที่ตองใชในการจัดทํารายงานประเภทนี้จะรวบรวมจากรายงานภาษีซื้อและรายงานภาษีขาย
สําหรับภาษีมูลคาเพิ่ม ซึ่งจัดทําจากสมุดเงินสดรับ สมุดเงินสดจาย และสมุดรายวันขาย หรือสมุดรายวันราย
ได และรวบรวมจากสมุดรายงานประจําเดือนซึ่งแสดงรายรับที่ตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะและที่ไมตองเสียภาษี
ธุรกิจเฉพาะ
4. ภ.ง.ด. 50 คือ แบบยื่นรายการภาษีเงินไดบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามมาตรา 68 และ 69 ซึ่ง
จะตองยื่นตอกรมสรรพากร หรือที่วาเขตทองที่ภายใน 150 วัน หลังจากสิ้นงวดบัญชีพรอมกับงบการเงินของ
บริษัท 1 ฉบับ ซึ่งผูสอบบัญชีไดตรวจสอบแลว
ขอมูลที่ใชในการจัดทํารายงานนี้จะรวบรวมไดจากงบการเงินประจําป ซึ่งแสดงกําไรสุทธิประจําปและ
ภาษีเงินได ทะเบียนสินทรัพยถาวร ซึ่งแสดงรายละเอียดคาเสื่อมราคา และทะเบียนผูถือหุน
5. ภ.ง.ด. 51 คือ แบบยื่นรายการภาษีเงินไดของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามมาตรา 67 ทวิ ซึ่ง
จะตองยื่นตอกรมสรรพากรหรือที่วาการเขตทองที่ภายใน 2 เดือน นับตั้งแตวันครบ 6 เดือนแรกของงวดบัญชี
เนื่องจากแบบยื่นรายการดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อการเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล สําหรับครึ่งรอบระยะเวลา
บัญชี ดังนั้นขอมูลที่จะใชในการกรอก ภ.ง.ด. 51 จึงไดมาจากการทําประมาณการรายไดคาใชจายและกําไรสุทธิ
สําหรับระยะเวลาครึ่งปหลัง และนํามารวมกับขอมูลที่เกิดขึ้นจริงในครึ่งปแรกแลวหารดวยสองเพื่อใหได
จํานวนกําไรสุทธิที่ตองเสียภาษี เวนแตเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยและสถาบันการเงินตาม
กฎหมายวาดวยสถาบันการเงิน จะคํานวณภาษีเงินไดตามแบบ ภ.ง.ด. 51 จากกําไรสุทธิที่เกิดขึ้นจริงในรอบ
ระยะเวลา 6 เดือนแรกของงวดบัญชีพรอมแนบงบการเงิน 6 เดือนทีมีผูสอบบัญชีรับรองดวย
แบบฟอรมตามขอ 1-5 เปนแบบฟอรมของทางราชการซึ่งจะขอไดจากสวนราชการตามที่กลาวขางตน
หรือ ณ สํานักงานสรรพากรทองที่ทั่วไป

2.8.3 - 12
6. งบการเงินที่ผานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีรับอนุญาตและที่ประชุมใหญผูถือหุนอนุมัติแลวจะ
ตองยื่นตอกรมทะเบียนการคาภายใน 5 เดือน หลังจากวันสิ้นงวดบัญชี ตัวอยางงบการเงินดังกลาวใชแบบเดียว
กับรายงานที่ตองเสนอตอบุคคลภายนอกตามที่กลาวมาขางตน

2.8.3 - 13
ตัวอยางงบการเงิน
บริษัท POWER PLANT
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 และ 2545
งบดุล

สินทรัพย
2546 (บาท) 2545 (บาท)
สินทรัพยหมุนเวียน
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 639,956,833.73 32.44% 621,023,555.48 34.29%
เงินลงทุนชั่วคราว
เงินฝากประจํา 3,511,300.00 0.18% 3,511,300.00 0.19%
บัตรเงินฝาก 84,323,060.78 4.66%
รวมเงินลงทุนชั่วคราว 3,511,300.00 0.18% 87,834,360.78 4.85%
ลูกหนี้การคา-สุทธิ 192,895,935.78 9.78% 187,531,064.72 10.35%
สินคาคงเหลือ 167,807,317.48 8.51% 156,852,461.59 8.66%
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
เงินลวงหนาคาสินคา 22,573,558.33 1.14% 17,748,008.06 0.98%
อื่น ๆ - สุทธิ 24,117,533.20 1.22% 21,322,406.06 1.18%
รวมสินทรัพยหมุนเวียนอื่น 46,691,091.53 2.37% 39,070,414.12 2.16%
รวมสินทรัพยหมุนเวียน 1,050,862,478.52 53.27% 1,092,311,856.69 60.31%
สินทรัพยไมหมุนเวียน
เงินลงทุนระยะยาวอื่น
เงินฝากประจํา 160,000,000.00 8.11% -
เงินลงทุนทั่วไป 30,000,000.00 1.52% 30,000,000.00 1.66%
ที่ดินที่ยังไมไดใชดําเนินงาน - สุทธิ 71,200,000.00 3.61% 71,200,000.00 3.93%
รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น 261,200,000.00 13.24% 101,200,000.00 5.59%
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ 644,631,430.88 32.68% 597,802,119.58 33.01%
สินทรัพยไมมีตัวตน 15,878,041.99 0.80% 19,580,293.79 1.08%
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 130,327.27 0.01% 301,720.30 0.02%
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 921,839,800.14 46.73% 718,884,133.67 39.69%
รวมสินทรัพย 1,972,702,278.66 100.00% 1,811,195,990.36 100.00%
2.8.3 - 14
ตัวอยางงบการเงิน
บริษัท POWER PLANT
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 และ 2545
งบกําไรขาดทุน

2546 (บาท) 2545 (บาท)


รายได
รายไดจากการขาย 1,673,766,812.60 98.91% 1,587,856,629.43 99.02%
รายไดอื่น
ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ 10,540,334.89 0.62% 10,441,412.66 0.65%
อื่น ๆ 7,964,442.74 0.47% 5,194,515.11 0.32%
รวมรายไดอื่น 18,504,777.63 1.09% 15,635,927.77 0.98%
รวมรายได 1,692,271,590.23 100.00% 1,603,492,557.20 100.00%
คาใชจาย
ตนทุนขาย 945,950,515.17 55.90% 888,211,566.20 55.39%
คาใชจายการขายและบริหาร 320,876,162.98 18.96% 318,782,750.20 19.88%
คาใชจายอื่น 2,690,458.09 0.16% 9,078,760.49 0.57%
รวมคาใชจาย 1,269,517,136.24 75.02% 1,216,073,076.89 75.84%
กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได 422,754,453.99 24.98% 387,419,480.31 24.16%
ดอกเบี้ยจาย 63,168.09 0.00% 352,718.22 0.02%
ภาษีเงินได 112,418,972.98 6.64% 118,552,974.71 7.39%
กําไรสุทธิ 310,272,312.92 18.33% 268,513,787.38 16.75%
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน 8.62 7.46
จํานวนหุนถัวเฉลี่ย 36,000,000 36,000,000

2.8.3 - 15
ตัวอยางงบการเงิน
บริษัท POWER PLANT
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 และ 2545
งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ของผูถือหุน

ทุนเรือนหุน
ที่ออกชําระแลว สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม รวม

ยอดคงเหลือตนป 1 มกราคม 2545 360,000,000.00 615,600,000.00 565,252,261.07 1,540,852,261.07


กําไรสุทธิ 268,513,787.38 268,513,787.38
เงินปนผลจาย (162,000,000.00) (162,000,000.00)

ยอดคงเหลือปลายป 31 ธันวาคม 2545 360,000,000.00 615,600,000.00 671,766,048.45 1,647,366,048.45


กําไรสุทธิ 310,272,312.92 310,272,312.92
เงินปนผลจาย (162,000,000.00) (162,000,000.00)

ยอดคงเหลือปลายป 31 ธันวาคม 2546 360,000,000.00 615,600,000.00 820,038,361.37 1,795,638,361.37

2.8.3 - 16
ตัวอยางงบการเงิน
บริษัท POWER PLANT
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 และ 2545
งบกระแสเงินสด
2546 (บาท) 2545 (บาท)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน
กําไรสุทธิ 310,272,312.92 268,513,787.38
ปรับกระทบกําไรสุทธิเปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน
คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี 83,714,020.22 68,058,968.49
หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 2,506,431.37 253,119.26
ขาดทุนจากการลดมูลคาสินคาคงเหลือ 2,063,398.84 1,887,315.66
กําไรจากการจําหนายสินทรัพย (534,146.69) (21,682.30)
ขาดทุนจากการเลิกใชสินทรัพย 3,224,604.78 9,078,760.49
กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง (6,592.97) -
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน
ลูกหนี้การคาเพิ่มขึ้น (7,872,161.39) (22,045,201.90)
สินคาคงเหลือ (เพิ่มขึ้น)ลดลง (13,018,254.73) 1,062,063.28
สินทรัพยหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น (7,991,404.80) (10,107,757.99)
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นลดลง (เพิ่มขึ้น) 171,393.03 (6,047,758.47)
เจาหนี้การคาเพิ่มขึ้น (ลดลง) 13,490,693.92 (9,910,231.84)
หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 2,128,790.22 27,638,361.00

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน 388,149,084.72 328,359,743.06


กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกันเพิ่มขึ้น - (853,500.00)
เงินฝากประจําธนาคารเพิ่มขึ้น (160,000,000.00) -
เงินสดรับจากการขายสินทรัพย 1,296,325.66 212,033.64
เงินสดรับจากการไถถอนเงินลงทุนชั่วคราว 84,323,060.78 -
ซื้ออุปกรณเพิ่มขึ้น (130,457,136.08) (139,729,492.14)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน (204,837,749.64) (140,370,958.50)


กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
จายชําระหนี้สัญญาเชาการเงิน (2,378,056.83) (3,311,070.63)
จายเงินปนผล (162,000,000.00) (162,000,000.00)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (164,378,056.83) (165,311,070.63)


เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น 18,933,278.25 22,677,713.93
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสุทธิตนป 621,023,555.48 598,345,841.55
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นป 639,956,833.73 621,023,555.48

ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม
เงินสดจายระหวางป
ดอกเบี้ยจาย 80,896.37 377,532.19
ภาษีเงินได 117,682,894.29 107,756,214.20

2.8.3 - 17
5. การวิเคราะหผลการดําเนินงาน
การวิเคราะหงบการเงินซึ่งจะสามารถประเมินผลออกมาไดถูกตองเพียงใด ขึ้นอยูกับการแปลความ
หมายหรือตีความผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห การที่จะแปลความหมายออกมาไดวาเปนอยางไร จึงจําเปนตอง
นําเอาผลลัพธดังกลาวไปเปรียบเทียบกับอัตราสวนมาตรฐาน หากผลลัพธของอัตราสวนของกิจการมีคาเทากับ
หรือสูงกวาอัตราสวนมาตรฐานก็แสดงวากิจการนั้นประสบผลสําเร็จในการดําเนินงาน ซึ่งควรที่จะตองหาจุด
แข็งหรือสาเหตุที่ดีดังกลาวเพื่อนําไปปรับปรุงใหดียิ่งขึ้น แตถาหากผลลัพธของอัตราสวนของกิจการที่ไดมีคาต่ํา
กวาอัตราสวนมาตรฐานแลว ก็แสดงวากิจการนั้นประสบความลมเหลวในการดําเนินงาน ซึ่งจะตองหาจุดออน
หรือขอบกพรองเพื่อนําไปปรับปรุงแกไขตอไป
อัตราสวนมาตรฐานของอุตสาหกรรมใดคือคาเฉลี่ยของอัตราสวนของอุตสาหกรรมนั้นๆ ซึ่งโดยมาก
มักจะถือเอามาจากกิจการที่มีขนาดใหญ หรือเปนกิจการชั้นนําในอุตสาหกรรมนั้นเปนเกณฑในการจัดทําหาคา
เฉลี่ย
ในการเปรียบเทียบกับอัตราสวนมาตรฐานนั้น จะตองพิจารณาดูวา อัตราสวนมาตรฐานที่นํามาเปรียบ
เทียบนั้นเปนอัตราสวนมาตรฐานที่ไดมาจากอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ขนาดใกลเคียงกันหรือไม หากเปน
อัตราสวนมาตรฐานที่ไดมาจากอุตสาหกรรมตางประเภทกัน หรือตางขนาดกัน ผลที่ไดจากการเปรียบเทียบ
อัตราสวนก็จะใหขอเท็จจริงที่บิดเบือนไปและยังมีปญหาบางประการที่อาจเกิดขึ้นได ซึ่งผูทําการวิเคราะหควร
จะใชวิจารณญาณประกอบดวย
5.1 ประโยชนจากการวิเคราะหงบการเงิน
ผลจากการวิเคราะหจะชวยชี้บอกใหทราบวา ณ จุดไหนที่ธุรกิจมีปญหา จากนั้นนักวิเคราะหตอง
พิจารณาตอไปวาปญหาที่เกิดขึ้นขณะนี้คืออะไร แลวจึงหาทางแกปญหานั้น และในการวิเคราะหนักวิเคราะห
ตองเลือกใชอัตราสวนตางๆ ใหตรงกับปญหาที่ตองการทราบดังนี้
1. เจาหนี้ระยะสั้น บุคคลกลุมนี้สนใจวาธุรกิจสามารถชําระหนี้ใหเขาไดทันเวลาหรือไมในระยะสั้น
จํานวนสินทรัพยหมุนเวียนเปนตัวแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการจายชําระหนี้ระยะสั้น บุคคลเหลานี้สน
ใจในสภาพคลองของธุรกิจ ฉะนั้นเขาจะวิเคราะหเฉพาะดานอัตราสวนสภาพคลองเทานั้น
2. ผูใหกูระยะยาว บุคคลกลุมนี้สนใจวาธุกิจมีเงินจายดอกเบี้ยใหเขาทุกงวดและจายคืนเงินตนไดตาม
กําหนดหรือไม ในการจายดอกเบี้ยธุรกิจตองมีสภาพคลองเพียงพอและตองมีความสามารถทํากําไรไดในระยะ
ยาวสําหรับการจายคืนเงินตน ฉะนั้นอัตราสวนที่เขาเลือกวิเคราะห คือ อัตราสวนสภาพคลองและอัตราสวนดาน
ความสามารถทํากําไร
3. ผูถือหุน ในฐานะเจาของธุรกิจเปนผูกําหนดนโยบายธุรกิจ
4. ผูบริหาร ซึ่งเปนบุคคลภายในธุรกิจ เขาจะสามารถวางแนวทางการบริหารไดถูกตองจําเปนตอง
ทราบลักษณะทางการเงินของตนดวยวามีจุดเดนหรือจุดออนดานไหน เพื่อจะไดใชจุดเดนที่มีอยูใหเปน

2.8.3 - 18
ประโยชนและแกไขจุดออนที่มีอยู อันจะทําใหการวางแผนการบริหารของเขามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เขาสามารถ
เลือกใชอัตราสวนในการวิเคราะหดานตางๆ หรือทั้งหมดแลวแตเรื่องที่ทําการวิเคราะหหรือพิจารณา
5.2 ขอพึงระวังในการอานงบการเงิน
การอานงบการเงินใหเกิดประโยชน นอกเหนือจากการพิจารณาตัวเลขในงบการเงินและการวิเคราะห
อัตราสวนทางการเงินแลว ผูอานควรใหความสําคัญกับขอมูลอื่นๆ ดวย เชน รายงานผูสอบบัญชีและหมายเหตุ
ประกอบงบการเงิน เปนตน นอกจากนี้ นโยบายการบัญชีซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีที่
บริษัทแตละแหงเลือกใชก็เปนสิ่งที่ผูอานไมควรมองขาม เนื่องจากภายใตสถานการณและปจจัยแวดลอมเดียว
กัน บริษัทที่มีนโยบายการบัญชีตางกันอาจทําใหงบการเงินที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของ
บริษัทมีความแตกตางกันได ซึ่งตามมาตรฐานการบัญชีไทยไดกําหนดใหทุกบริษัทจะตองเปดเผยนโยบายการ
บัญชีไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินทุกครั้ง เพื่อความโปรงใส ชัดเจนและยุติธรรมแกผูอานงบการเงิน
5.3 ขอจํากัดในการวิเคราะหงบการเงิน
1. ขอจํากัดของงบการเงิน งบการเงินของแตละกิจการอาจมีวิธีการจัดทําขึ้นมาดวยวิธีการทางบัญชีที่
แตกตางกันไป
2. ไมมีมาตรฐานในการวัดแนนอนตายตัว เนื่องจากธุรกิจมีหลายประเภทและมีขนาดตางกัน ตลอดจน
มีวิธีและนโยบายการดําเนินงานที่แตกตางกันไป จึงไมสามารถกําหนดมาตรฐานในการวัดออกมาแนนอน
3. เครื่องมือที่นํามาใชวิเคราะหโดยพิจารณากิจการมีลักษณะหยุดนิ่งอยูกับที่ (Static-nature) คือ
วิเคราะห ณ จุดหนึ่งของเวลาซึ่งในความเปนจริงแลว ธุรกิจจะดําเนินไปอยางมีลักษณะเคลื่อนไหวอยูตลอด
เวลา (Dynamic nature) ดังนั้นผลการวิเคราะหอาจไมไดบงบอกถึงลักษณะที่เปนการเคลื่อนไหวหรือเรื่องราว
ความเปนไปตามความเปนจริง ตามกาลเวลาแตบงบอกถึงผล ณ เวลาหรือชวงของเวลาขณะใดขณะหนึ่งเทานั้น
4. การจัดหาขอมูล การวิเคราะหบางครั้งไมสามารถจัดหาขอมูลได ตองอาศัยขอมูลที่ผูอื่นจัดทําไว
เชนจากหนวยงานของรัฐหรือวารสารทางธุรกิจตางๆ ซึ่งการจัดทําขอมูลขึ้นมาอาจไมตรงตามจุดมุงหมายที่
ตองการหรือมีความไมเที่ยงตรงแอบแฝงอยู
5. ขอมูลที่มีความลําเอียงไมเที่ยงตรงทั้งนี้เพราะงบการเงิน มักจะมีการแตงใหตัวเลขสวยงามตอนปด
งบ เชน รายการเงินสดอาจมียอดคงเหลือสูงโดยการกูยืมเงินระยะสั้นจากธนาคารมา สินคาคงคลังที่มีปริมาณสูง
อาจมีการนําออกขายลดราคาตอนสิ้นป เพื่อระบายใหปริมาณสินคาคงคลังลดลง
6. คาของเงิน งบดุลและงบกําไรขาดทุนที่จัดทําขึ้นตางวาระกัน ถึงแมตัวเงินที่ปรากฏในรายการนั้นจะ
เทากันก็ตาม อํานาจซื้อหรือคาของเงินยอมจะตองตางกัน
7. ดุลพินิจของผูวิเคราะห ผูวิเคราะหอาจมีดุลพินิจตอผลการวิเคราะหแตกตางกันไปทั้งในเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ การแปลความหมายที่ไดจากการวิเคราะหจะถูกตองหรือมีความหมายเพียงใด ขึ้นอยูกับคุณภาพ
ทางดานดุลพินิจของผูวิเคราะหดวย

2.8.3 - 19
5.4 รูปแบบและขั้นตอนการวิเคราะหงบการเงิน
เนื่องจากงบการเงินเปนขั้นตอนสุดทายของขบวนการทางการบัญชีซึ่งฝายจัดการใชเปนสื่อสําคัญใน
การนําเสนอขอมูลทางการเงินแกบุคคลภายนอกผูสนใจ ซึ่งตัวเลขรายการตางๆ ในงบการเงินโดยตัวของมันเอง
แลวมีความหมายนอยมากเพราะผูใชงบการเงินไมอาจทราบไดวาแตละรายการที่ปรากฎนั้น แสดงแนวโนมดี
ขึ้นหรือเลวลงเพียงใด จนกวาจะไดมีการวิเคราะห ซึ่งการวิเคราะหนั้นอาจกระทําไดดังนี้
1. การวิเคราะหตามแนวนอน (Horizontal analysis)
2. การวิเคราะหตามแนวตั้ง (Vertical analysis)
3. การวิเคราะหดวยอัตราสวน (Ratio analysis)
ลักษณะของการวิเคราะหที่ดีนั้นหลังจากนักวิเคราะหทําการวิเคราะหทางการเงินตามวิธีตางๆ แลว ควร
ใหคําแนะนําแกฝายบริหารของธุรกิจเกี่ยวกับการวางแผนธุรกิจในอนาคต ปญหาที่พบในการวิเคราะหและทาง
แกที่เปนไปไดเพื่อใหผูบริหารของธุรกิจรับทราบและนําไปใชเปนแนวทางในการตัดสินใจ

กระบวนการวิเคราะหดวยอัตราสวน
ขั้นที่ 1 คํานวณอัตราสวนของกิจการ
จากงบการเงินของกิจการนํามาคํานวณอัตราสวนของกิจการในดานตางๆ ที่ตองการวิเคราะห
ขั้นที่ 2 กําหนดมาตรฐานในการวิเคราะห
เพื่อใหทราบฐานะของกิจการวาเปนอยางไร โดยการเปรียบเทียบกับตัวที่กําหนดเปนมาตรฐาน
ซึ่งอาจใช
1. อัตราถัวเฉลี่ยของอุตสาหกรรมนั้น (Industry average ratio) ในงวดเวลาเดียวกัน
2. อัตราสวนของกิจการอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ในงวดเวลาเดียวกัน
3. อัตราสวนของกิจการเอง ในงวดเวลาที่แตกตางกัน
ขั้นที่ 3 วิเคราะหฐานะของกิจการ
นําเอาผลการคํานวณอัตราสวนของกิจการที่คํานวณไดในขั้นที่ 1 เปรียบเทียบกับมาตรฐาน
ตามขอ 2 จะพบวากิจการที่กําลังวิเคราะหนั้นเมื่อเปรียบเทียบแลวมีฐานะดี (Good) พอใช (Satisfactory) หรือ
ตกต่ํา (Poor)
แนวทางในการวิเคราะหงบการเงินโดยใชอัตราสวนมี 2 แนวทางใหญๆ คือ
1. การวิเคราะหแนวโนม (Tread or series analysis) เปนการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของอัตราสวนที่
เปลี่ยนไปตามกาลเวลา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงทิศทางและภาพพจนของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจ
การในชวงเวลาที่ผานมา

2.8.3 - 20
2. การวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ (Comparative or cross sectional analysis) เปนการวิเคราะหของกิจ
การ ณ จุดหนึ่งของเวลาโดยเปรียบเทียบกับอัตราสวนของกิจการอื่นหรืออัตราสวนมาตรฐานที่กําหนดขึ้นในอุต
สาหกรรมประเภทเดียวกัน
อัตราสวนทางการเงินแบงออกเปน 4 กลุมใหญ ๆ คือ
1. อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity ratios)
2. อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability ratios)
3. อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency ratios)
4. อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial policy ratios)

2.8.3 - 21
ตารางแสดงผลการวิเคราะหงบการเงิน
ผลการวิเคราะห
อัตราสวน อัตราสวนบริษัท อัตราสวนบริษัท อัตราสวนบริษัท
สูงกวามาตรฐาน เทากับมาตรฐาน ต่าํ กวามาตรฐาน
ดานสภาพคลอง
อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพยหมุนเวียน ดี พอใช ตกต่ํา
หนี้สินหมุนเวียน
อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว = สินทรัพยหมุนเวียนเร็ว ดี พอใช ตกต่ํา
หนี้สินหมุนเวียน
อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด = กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน ดี พอใช ตกต่ํา
หนี้สินหมุนเวียนถัวเฉลี่ย
อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา = ยอดขายสุทธิ ดี พอใช ตกต่ํา
ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย = 365xลูกหนี้เฉลี่ย (วัน) ตกต่ํา พอใช ดี
ยอดขาย
อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ = ตนทุนสินคาขาย (ครั้ง) ดี พอใช ตกต่ํา
สินคาคงเหลือเฉลี่ย
ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย = 365xสินคาคงเหลือเฉลี่ย (วัน) ตกต่ํา พอใช ดี
ตนทุนขาย
อัตราหมุนเวียนเจาหนี้ = ยอดขายสุทธิ (ครั้ง) ตกต่ํา พอใช ดี
เจาหนี้เฉลี่ย
ระยะเวลาชําระหนี้ = 365xเจาหนี้เฉลี่ย (วัน) ตกต่ํา พอใช ดี
ยอดขายสุทธิ
Cash Cycle = ระยะเก็บหนี้เฉลี่ย+ระยะเวลาขาย
สินคาเฉลี่ย – ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) ดี พอใช ตกต่ํา
ดานความสามารถในการหากําไร
อัตรากําไรขั้นตน = กําไรขั้นตนx100
ยอดขาย ดี พอใช ตกต่ํา
อัตรากําไรสุทธิ = กําไรสุทธิx100
สินทรัพยทั้งหมด ดี พอใช ตกต่ํา
อัตราผลตอบแทนผูถือหุน = กําไรสุทธิx100
สวนของผูถือหุนทั้งหมด ดี พอใช ตกต่ํา
ดานประสิทธิภาพในการดําเนินงาน
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย = กําไรสุทธิx100 (%) ดี พอใช ตกต่ํา
สินทรัพยทั้งหมด

2.8.3 - 22
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร = กําไรสุทธิx100 (%) ดี พอใช ตกต่ํา
สินทรัพยถาวร
อัตราหมุนเวียนสินทรัพยทั้งหมด = ยอดขายสุทธิ (เทา) ดี พอใช ตกต่ํา
สินทรัพยทั้งหมด
อัตราการจายเงินปนผล = เงินปนผลตอหุน
กําไรตอหุน ดี พอใช ตกต่ํา
กําไรตอหุน = กําไรสุทธิ
จํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนาย ดี พอใช ตกต่ํา
ดานนโยบายทางการเงิน
อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน = หนี้สินทั้งหมด ตกต่ํา พอใช ตกต่ํา
สวนของผูถือหุน
อัตราสวนแหงนี้ = หนี้สินรวม ตกต่ํา พอใช ตกต่ํา
สินทรัพยรวม
อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย = กําไรสวนดอกเบี้ยของกิจการ ดี พอใช ตกต่ํา
ดอกเบี้ยจาย

2.8.3 - 23
บรรณานุกรม:

1. การบัญชีเบื้องตน : พันตํารวจโทหญิงศิริวรรณ สุริยะฉาย


2. ระบบบัญชี : วิไล วีระปรีย / จงจิตร หลีกภัย
3. หลักการบัญชี 1 : อํานาจ รัตนสุวรรณ
4. การบัญชีการเงิน 1 : อ.สวัสดิ์ พุมภักดี / อ.วันชัย ประเสริฐศรี
5. การบัญชีบริหาร : รศ.สุมาลี ศรีบุญเรือน / รศ.วิสาข หงษศิริรัตน รศ.ยุพิน เจริญสันดร
6. การบัญชีตนทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสาขาวิชา
วิทยาการจัดการ

คําถาม :

1. การบริหารการเงิน หมายถึงอะไร
2. งบประมาณแบงเปนกี่ประเภทอะไรบาง
3. งบประมาณมีความสําคัญตอการบริหารจัดการธุรกิจอยางไร
4. ประโยชนของงบประมาณมีอะไรบาง
5. วัตถุประสงคของการทําบัญชีมีอยางไร
6. การทําบัญชีมีประโยชนอยางไร
7. ขอสมมติฐานทางการบัญชีมีอะไรบาง
8. การรายงานทางการเงินมีอะไรบาง
9. งบกระแสเงินสดคืออะไร
10. อัตราสวนทางการบัญชีมีกี่ประเภท และกลุมบุคคลที่ใหความสนใจในอัตราสวนแตละประเภท
มีใครบาง

2.8.3 - 24
2.8.4 Human Resource

2.8.4 - 1
หลักเกณฑการจัดระดับพนักงานเดินเครื่อง (Operator Ranking)
เพื่อเปนการพัฒนาพนักงานเดินเครื่องใหรอบรูงานในทุกๆ ดานอยางตอเนื่อง และ เตรียมความ
พรอมสรางบุคลากรดานการเดินเครื่อง ใหมีศักยภาพและมีความรูความสามารถในการเดินเครื่องผลิตกระแส
ไฟฟาอยางเปนระบบและไดมาตรฐาน การจัดระดับจะตองพิจารณาในหลาย ๆ ดาน เชน ความรู ประสบการณ
การประเมินผลของคณะกรรมการกลาง ซึ่งพนักงานเดินเครื่องจะมีความกาวหนาในหนาที่การงานสัมพันธกัน
จาก Local ขึ้นทําหนาที่ Board และ Shift Charge ตามลําดับ โดยดูไดจากรูปแบบความสัมพันธของการจัด
การทรัพยากรดานเครื่อง ตามเอกสารแนบ 1 มีรายละเอียดการจัดระดับพนักงานเดินเครื่อง ดังนี้
ขอ 1. การจัดกลุมพนักงานเดินเครื่อง ใหจัดกลุมดังนี้
1.1 กลุมที่ 1 พนักงานประจําจุด (Auxiliary Plant Operator) แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1.1.1 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา (Local Plant Operator)
1.1.2 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด (Flue Gas
Desulfurization Plant Operator)
1.1.3 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา (Water Treatment Plant Operator)
1.2 กลุมที่ 2 พนักงานควบคุม แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1.2.1 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา (Board Operator)
1.2.2 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด
1.2.3 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา
1.3 กลุมที่ 3 หัวหนางาน ไดแก Shift Charge, Assistant Shift Charge , Shift Supervisor
ขอ 2 ใหจัดระดับพนักงานเดินเครื่อง แตละกลุม ดังนี้
(1) ระดับ 1
(2) ระดับ 2
(3) ระดับ 3
(4) ระดับ 4
หมายเหตุ ระดับ 1 หมายถึง ระดับสูงสุดของแตละกลุม
ขอ 3 ขอกําหนดทั่วไป
3.1 การจัดระดับตาง ๆ ในครั้งแรกจะจัดระดับดังนี้
3.1.1 หัวหนาหนวยตั้งคณะทํางานพิจารณารายชื่อที่ผานการพิจารณาจากหัวหนาหมวด และ
เสนอคณะกรรมการกลาง ใหความเห็นชอบ หรือ ผูปฏิบัติงานสมัครสอบเขาแตละระดับตามความ
ประสงคของตนเอง

2.8.4 - 2
3.2 พนักงานเดินเครื่อง ที่ผานการจัดระดับแลว ตองมีการทบทวนเพื่อธํารงรักษา และพัฒนาอยางตอ
เนื่อง ทุก 3 ปโดยพิจารณาจาก
3.2.1 ผลการปฏิบัติงาน
3.2.2 ผลการสัมภาษณจากคณะกรรมการกลาง
3.3 พนักงานเดินเครื่องระดับตาง ๆ จะไดรับใบรับรอง (Certificate) จากผูบังคับบัญชาสูงสุดของ
หนวยงาน
3.4 คะแนนการสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง กําหนดระดับคะแนน ดังนี้
เกรด A = 100-86 คะแนน
เกรด B = 85-71 คะแนน
เกรด C = 70-56 คะแนน
เกรด D = 55-50 คะแนน
เกรด F นอยกวา 50 คะแนน

ขอ 4 หนาที่ของคณะกรรมการกลาง
4.1 กําหนดหัวขอที่จะตองสอบแตละหลักสูตรที่จําเปน
4.2 จัดทําขอทดสอบขอเขียนของพนักงานเดินเครื่องแตละระดับ โดยใหผูปฏิบัติงานระดับ 6 ขึ้นไป
ของแตละโรงไฟฟามีสวนรวมในการออกขอสอบดวย
4.3 จัดใหมีการสอบขอเขียนและสัมภาษณ ทุก 6 เดือน และสรุปผลการสอบ
4.4 พิจารณานําเสนอใบรับรอง (Certificate) ตอผูบังคับบัญชาระดับสูงสุดของหนวยงาน
ขอ 5 หลักเกณฑการจัดระดับสําหรับกลุมที่ 1 พนักงานประจําจุด
5.1 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา แยกตามระดับ ดังนี้
5.1.1 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 4
5.1.1.1 ผานการฝกอบรมหลักสูตร General Introduction , Power Plant Orientation
และPlant Safety
5.1.1.2 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา C
5.1.1.3 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถพนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 4

2.8.4 - 3
5.1.2 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 3
5.1.2.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 4 มาแลว
5.1.2.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Generation Transmission ตามเอกสาร
แนบ 2 และ Power Principle ตามเอกสารแนบ 3
5.1.2.3 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 4
มาแลว ไมนอยกวา 6 เดือน
5.1.2.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรดไมต่ํากวา C
5.1.2.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถพนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 3

5.1.3 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 2


5.1.3.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 3 มาแลว
5.1.3.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Plant System Description ตามเอกสาร
แนบ 4.1 (ดานโรง ไฟฟาพลังความรอนรวม) ตามเอกสารแนบ 4.2 (ดาน
โรงไฟฟาพลังความรอน) และ Power Plant Attendant ตามเอกสารแนบ 5
5.1.3.3 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 3 มา
แลว ไมนอยกวา 6 เดือน
5.1.3.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรดไมต่ํากวา C\
5.1.3.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ พนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 2

5.1.4 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 1


5.1.4.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 2 หรือไดรับ
ใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรได
ออกไซด ระดับ 1 หรือไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุม
โรงผลิตน้ําระดับ 1 มาแลว
5.1.4.2 ไดรับการฝกปฏิบัติใน Simulator และตองผานการฝกอบรมใน
Simulator ในหลักสูตร Beginning Level ตามเอกสารแนบ 6.1 (ดานโรง

2.8.4 - 4
ไฟฟาพลังความรอนรวม) ตามเอกสารแนบ 6.2 (ดานโรงไฟฟาพลังความ
รอน) และผลรวมการฝกอบรมตองไดเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา C
5.1.4.3 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 2 มา
แลว ไมนอยกวา 6 เดือน หรือ ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานควบคุม
ประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 1 มาแลว
ไมนอยกวา 1 ป หรือตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานควบคุมประจําหอง
ควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 1 มาแลวไมนอยกวา 1 ป
5.1.4.4 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม, กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
5.1.4.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
5.1.4.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ พนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 1

5.2 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด แยกตามระดับดังนี้


5.2.1 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 4
5.2.1.1 ผานการฝกอบรมหลักสูตร General Introduction , Power Plant Orientation
และ Plant Safety
5.2.1.2 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา C
5.2.1.3 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ พนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 4

5.2.2 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 3


5.2.2.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด
ระดับ 4 มาแลว
5.2.2.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Flue Gas Desulfurization Description และ
Power Generation Transmission ตามเอกสารแนบ 2
5.2.2.3 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุด เดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรได
ออกไซด ระดับ 4 มาแลวไมนอยกวา 6 เดือน

2.8.4 - 5
5.2.2.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา C
5.2.2.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ พนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 3

5.2.3 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 2


5.2.3.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด
ระดับ 3 มาแลว
5.2.3.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Principle ตามเอกสารแนบ 3 และ
Power Attendant
5.2.3.3 ไดรับการฝกอบรมใน Simulator ตองผานการอบรมในหลักสูตร RBTP.
Simulator Operation Interface System (OIS.) และ ผลรวมการฝกอบรม
ตองไดเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา C
5.2.3.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุด เดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอร
ไดออกไซด ระดับ 3 มาแลว ไมนอยกวา 6 เดือน
5.2.3.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา C
5.2.3.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ พนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 2

5.2.4 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 1


5.2.4.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด
ระดับ 2 มาแลว
5.2.4.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Plant System Description ตามเอกสาร
แนบ 4.2
5.2.4.3 ไดรับการฝกปฏิบัติใน Simulator ตองผานการฝกอบรมใน Simulator ใน
หลักสูตร Beginning Level ตามเอกสาร แนบ 6.2 และผลรวมการฝกอบรม
ตองไดเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา C
5.2.4.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุด เดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรได
ออกไซด ระดับ 2 มาแลว ไมนอยกวา 6 เดือน

2.8.4 - 6
5.2.4.5 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
5.2.4.6 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
5.2.4.7 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่องผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถพนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 1

5.3 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา แยกตามระดับ ดังนี้


5.3.1 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 4
5.3.1.1 ผานการฝกอบรมหลักสูตร General Introduction , Power Plant Orientation
และ Plant Safety
5.3.1.2 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา C
5.3.1.3 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรอง ความรูความสามารถ
พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 4

5.3.2 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 3


5.3.2.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ําระดับ 4 มาแลว
5.3.2.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Water Treatment Description และ Power
Generation Transmission
5.3.2.3 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 4
มาแลว ไมนอยกวา 6 เดือน
5.3.2.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา C
5.3.2.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่องผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ
พนักงาน ประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 3

5.3.3 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 2


5.3.3.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 3 มาแลว

2.8.4 - 7
5.3.3.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Principle ตามเอกสารแนบ 3 และ
Power Attendant
5.3.3.3 ไดรับการฝกอบรมใน Simulator ตองผานการอบรมในหลักสูตร RBTP.
Simulator Operation Interface System (OIS.) และ ผลรวมการฝกอบรม
ตองไดเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา C
5.3.3.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 2
มาแลว ไมนอยกวา 6 เดือน
5.3.3.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
5.3.3.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่องผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ พนักงาน
ประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 2

5.3.4 พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 1


5.3.4.1 ไดรับใบรับรองพนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 2 มาแลว
5.3.4.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Plant System Description ตามเอกสาร
แนบ 4.2
5.3.4.3 ไดรับการฝกปฏิบัติใน Simulator ตองผานการฝกอบรมใน Simulator ใน
หลักสูตร Beginning Level ตามเอกสาร แนบ 6.2 และผลรวมการฝกอบรม
ตองไดเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา C
5.3.4.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 2
มาแลว ไมนอยกวา 6 เดือน
5.3.4.5 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
5.3.4.6 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
5.3.4.7 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานประจําจุด
เมื่อพนักงานเดินเครื่องผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองความรูความสามารถ
พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา ระดับ 1

2.8.4 - 8
ขอ 6 หลักเกณฑการจัดระดับสําหรับกลุมที่ 2 พนักงานควบคุม แยกตามระดับดังนี้
6.1 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา
6.1.1 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 4
6.1.1.1 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟา ระดับ 1 มา
แลว ไมนอยกวา 1 ป
6.1.1.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Plant Execution
6.1.1.3 ควรผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่น ๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลักเปน
อยางดี เชน
1. Modern Safety Management (MSM.)
2. ISO 14001
3. ISO 9001:2000
4. หลักสูตรพัฒนาคุณภาพ และหลักสูตรอื่น ๆ ที่จําเปน
6.1.1.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด และ
พนักงานเดินเครื่องโรงผลิตน้ํา หนาที่ละไมนอย กวา 6 เดือน (เฉพาะโรงไฟฟา
พลังความรอน)
6.1.1.5 ผูที่ทําหนาที่ควบคุมหมอไอน้ําตองไดรับการขึ้นทะเบียน เปนผูควบคุมหมอไอ
น้ํา
6.1.1.6 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
6.1.1.7 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงาน ควบคุมประจําหอง
ควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 4

6.1.2 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 3


6.1.2.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 4 มา
แลว
6.1.2.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Advanced Operator Training (AOT)
6.1.2.3 ผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่น ๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลัก เชน
1. Operation And Maintenance Agreement (OMA.)
2. Power Purchased Agreement (PPA.)
6.1.2.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ
4 มาแลว ไมนอย กวา 2 ป

2.8.4 - 9
6.1.2.5 ผูที่ทําหนาที่ควบคุมหมอไอน้ําตองไดรับการขึ้นทะเบียน เปนผูควบคุมหมอ
ไอน้ํา
6.1.2.6 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรดไมต่ํากวา B
6.1.2.7 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 3

6.1.3 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 2


6.1.3.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 3 มา
แลว
6.1.3.2 ไดรับการฝกปฏิบัติใน Simulator และตองผานการฝกอบรมใน Simulatorใน
หลักสูตร Intermediate And Advanced Level และผลรวมการฝกอบรม
ตองไดเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา B
6.1.3.3 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ
3 มาแลว ไมนอยกวา 2 ป
6.1.3.4 ผูที่ทําหนาที่ควบคุมหมอไอน้ําตองไดรับการขึ้นทะเบียน เปนผูควบคุมหมอ
ไอน้ํา
6.1.3.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด A
6.1.3.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 2

6.1.4 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 1


6.1.4.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 2 มา
แลว
6.1.4.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ
2 มาแลว ไมนอย กวา 2 ป
6.1.4.3 ผูที่ทําหนาที่ควบคุมหมอไอน้ําตองไดรับการขึ้นทะเบียน เปนผูควบคุมหมอ
ไอน้ํา
6.1.4.4 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ

2.8.4 - 10
6.1.4.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด A
6.1.4.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 1

6.2 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด
6.2.1 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 4
6.2.1.1 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานประจําจุดเดินเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรได
ออกไซด ระดับ 1 มาแลวไมนอยกวา 1 ป
6.2.1.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Plant Execution
6.2.1.3 ควรผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่น ๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลักเปน
อยางดี เชน
1. Modern Safety Management (MSM.)
2. ISO 14001
3. ISO 9001:2000
4. หลักสูตรพัฒนาคุณภาพ และหลักสูตรอื่น ๆ ที่จําเปน
6.2.1.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
6.2.1.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงาน ควบคุมประจําหอง
ควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 4

6.2.2 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 3


6.2.2.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอร
ไดออกไซด ระดับ 4 มาแลว
6.2.2.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตรAdvanced Operator Training (AOT)
6.2.2.3 ผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่น ๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลัก เชน
1. Operation And Maintenance Agreement (OMA.)
2. Power Purchased Agreement (PPA.)
6.2.2.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซ
ซัลเฟอรไดออกไซดระดับ 4 มาแลวไมนอยกวา 1 ป

2.8.4 - 11
6.2.2.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
6.2.2.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 3

6.2.3 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 2


6.2.3.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอร
ไดออกไซดระดับ3 มาแลว
6.2.3.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัด
กาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 3 มาแลว ไมนอยกวา 1 ป
6.2.3.3 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด B
6.2.3.4 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 2

6.2.4 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 1


6.2.4.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอร
ไดออกไซดระดับ 2 มาแลว
6.2.4.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมเครื่องกําจัดกาซ
ซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 2 มาแลวไมนอยกวา 1 ป
6.2.4.3 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
6.2.4.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด A
6.2.4.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ระดับ 1

2.8.4 - 12
6.3 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา
6.3.1 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 4
6.3.1.1 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงผลิตน้ําระดับ 1 มา
แลวไมนอยกวา 1 ป
6.3.1.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Power Plant Execution
6.3.1.3 ควรผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่นๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลักเปน
อยางดี เชน
1. Modern Safety Management (MSM.)
2. ISO 14001
3. ISO 9001:2000
4. หลักสูตรพัฒนาคุณภาพ และหลักสูตรอื่น ๆ ที่จําเปน
6.3.1.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
6.3.1.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 4

6.3.2 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 3


6.3.2.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 4 มา
แลว
6.3.2.2 ผานการฝกอบรมหลักสูตรAdvanced Operator Training (AOT)
6.3.2.3 ผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่น ๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลัก เชน
1. Operation And Maintenance Agreement (OMA.)
2. Power Purchased Agreement (PPA.)
6.3.2.4 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงาน ควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา
ระดับ 4 มาแลวไมนอย กวา 1 ป
6.3.2.5 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผล
การทดสอบไดเกรด ไมต่ํากวา B
6.3.2.6 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 3

2.8.4 - 13
6.3.3 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 2
6.3.3.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 3 มา
แลว
6.3.3.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา
ระดับ 3 มาแลว ไมนอย กวา 1 ป
6.3.3.3 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด A
6.3.3.4 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 2

6.3.4 พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 1


6.3.4.1 ไดรับใบรับรองพนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 2 มาแลว
6.3.4.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงผลิตน้ําระดับ 2 มา
แลว ไมนอยกวา 1 ป
6.3.4.3 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
6.3.4.4 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการ
ทดสอบไดเกรด A
6.3.4.5 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับพนักงานควบคุม
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองพนักงานควบคุม ประจําหอง
ควบคุมโรงผลิตน้ํา ระดับ 1

ขอ 7 หลักเกณฑการจัดระดับสําหรับกลุมที่ 3 หัวหนางาน แยกตามระดับดังนี้


7.1 หัวหนางานระดับ 4
7.1.1 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ พนักงานควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ระดับ 1 มา
แลวไมนอยกวา 2 ป
7.1.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานควบคุมดาน Turbine & Boiler มาเปนอยางดี โดย
ผานความเห็นชอบ จากผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
7.1.3 สําหรับวิศวกรที่ยังไมเคยผานงานดานเดินเครื่องมากอน ตองไดรับการฝกปฏิบัติงาน
ในหนาที่ พนักงานประจําจุดเดินเครื่องโรงไฟฟาไมนอยกวา 3 เดือน และ พนักงาน
ควบคุมประจําหองควบคุมโรงไฟฟา ไมนอยกวา 3 เดือน โดย ผานความเห็นชอบ
จากผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไป

2.8.4 - 14
7.1.4 ผานการฝกอบรมหลักสูตร Advanced Operator Training (AOT.) และ หลักสูตร
Power Plant Execution
7.1.5 ควรผานการฝกอบรมในหลักสูตรอื่น ๆ ที่นํามาสนับสนุนในหนาที่หลักเปนอยางดี
เชน
1 Modern Safety Management (MSM.)
2 ISO 14001
3 ISO 9001:2000
4 หลักสูตรพัฒนาคุณภาพ และหลักสูตรอื่น ๆ ที่จําเปน
7.1.6 ไดรับการฝกปฏิบัติใน Simulator และ ตองผานการฝกอบรมใน Simulatorในหลัก
สูตร Intermediate And Advanced Level และ ผลรวมการฝกอบรมตองไดเกรดเฉลี่ย
ไมต่ํากวา B
7.1.7 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
7.1.8 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการทดสอบ
ไดเกรดไมต่ํากวา B
7.1.9 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับหัวหนางาน
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 4

7.2 หัวหนางาน ระดับ 3


7.2.1 ไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 4 มาแลว
7.2.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่หัวหนางานเดินเครื่องระดับ 4 มาแลวไมนอยกวา 2 ป
7.2.3 ตองผานการเปนวิทยากรหรือผูสอนงานไมนอยกวา 30 ชั่วโมง โดยเปนหลักสูตร
วิชาการโรงไฟฟา ไมนอยกวา 20 ชั่วโมง
7.2.4 มีผลงานดาน Technical Paper ไมนอยกวา 2 เรื่อง
7.2.5 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
7.2.6 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณจากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการทดสอบ
ไดเกรดไมต่ํากวา B
7.2.7 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับหัวหนางาน
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลวจะไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 3

2.8.4 - 15
7.3 หัวหนางาน ระดับ 2
7.3.1 ไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่องระดับ 3 มาแลว
7.3.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่ หัวหนางานเดินเครื่องระดับ 3 มาแลว ไมนอยกวา 2 ป
7.3.3 ตองผานการเปนวิทยากรหรือผูสอนงาน ไมนอยกวา 30 ชั่วโมง โดยเปนหลักสูตร
วิชาการโรงไฟฟา ไมนอยกวา 20 ชั่วโมง
7.3.4 มีผลงานดาน Technical Paper ไมนอยกวา 2 เรื่อง
7.3.5 มีชั่วโมงการเดินเครื่องในแตละกะจะตองไม Trip เปนเวลาไมนอยกวา 2,190 ชั่ว
โมง หรือ 1 ป หรือถา Trip จะตองมีแนวทางการแกไข
7.3.6 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
7.3.7 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลาง โดยมีผลการทดสอบ
ไดเกรด A
7.3.8 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับหัวหนางาน
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 2

7.4 หัวหนางาน ระดับ 1


7.4.1 ไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 2 มาแลว
7.4.2 ตองปฏิบัติงานในหนาที่หัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 2 มาแลวไมนอยกวา 2 ป
7.4.3 ตองผานการเปนวิทยากรหรือผูสอนงาน ไมนอยกวา 30 ชั่วโมง โดยเปนหลักสูตร
วิชาการโรงไฟฟา ไมนอยกวา 20 ชั่วโมง
7.4.4 มีผลงานดาน Technical Paper ไมนอยกวา 2 เรื่อง
7.4.5 มีผลงานหรือมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสวนรวม , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
7.4.6 ผานการทดสอบขอเขียนและสัมภาษณ จากคณะกรรมการกลางโดยมีผลการทดสอบ
ไดเกรด A
7.4.7 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง สําหรับหัวหนางาน
เมื่อพนักงานเดินเครื่อง ผานหลักเกณฑดังกลาวแลว จะไดรับใบรับรองหัวหนางานเดินเครื่อง ระดับ 1

2.8.4 - 16
สวนพนักงานบํารุงรักษามีแผนการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง ใหเปนมืออาชีพอยูแลวสวนหนึ่ง โดยมี
แผนการฝก
อบรม On The Job Training และ Class Room มีหลักสูตรดังนี้
1. Boiler Protection
2. Electro-Hydraulic Governor
3. Protection Relay
4. Excitation Control System / EX. 2000
5. Gas Turbine Operation & Maintenance
6. Vibration & Balancing
7. Programmable Logic Controller
8. Process Control
9. Pressure Calibration
10. Electrical Calibration

2.8.4 - 17
รูปแบบความสัมพันธของการจัดทรัพยากรดานเดินเครื่อง

วัตถุประสงค : เพื่อใหมีมาตราฐาน และแสดงความกาวหนาในการจัดการบุคลากรภายใน

First Gear = Group 1 เปนกลุมงาน Shift Charge , Assistant and Supervisor

Second Gear = Group 2 เปนกลุมงาน Board Operator 1 2


4 3

2 1

3 4

1 2

4 3

Third Gear = Group 3 เปนกลุมงาน Auxiliary Plant Operato

Same Colour Mean Opportunity ที่จะขับตัวเองเลื่อนไปอยูใน Gear ที่สูงขึ้น

2.8.4 - 18
เอกสารแนบ 2

Power Generation & Transmission


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
1 การบริหารงานความปลอดภัยสมัยใหม
2 การอนุรักษพลังงาน
3 การจัดการสิ่งแวดลอมกับการผลิตไฟฟา
4 พลังงานความรอนใตพิภพ
5 Hydro Power Plant
6 พลังงานแสงอาทิตย
7 การวางแผนการขยายแหลงผลิตกําลังไฟฟา
8 Basic Power Plant & Thermal Power Plant
9 Gas Turbine & Combined Cycle Power Plant
10 Technical Visit
11 Substation
12 Transmission
13 การควบคุมมลพิษทางอากาศ

2.8.4 - 19
เอกสารแนบ 3

หลักสูตร POWER PRINCIPLE


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
1 Personnel Safety
2 Fire Safety
3 Hazardous Substance
4 Safety In Electrical Maintenance
5 Respiratory Protection
6 Plant Science
7 Plant Cycle
8 Plant System
9 Plant Auxiliary
10 Boiler
11 Turbine
12 Basic Power Plant Operation
13 Fuel & Combustion
14 Plant Instrumentation
15 Instrumentation & Control
16 Basic Electricity
17 Power Generation
18 Plant Protection
19 Electrical System & Equipment
20 Gas Turbine & Diesel
21 Basic Water Chemistry
22 Water Treatment Equipment
23 Environmental Protection

2.8.4 - 20
เอกสารแนบ 4.1

หลักสูตร GAS TURBINE SYSTEM DESCRIPTION


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
1 Gas Turbine Principle
2 Gas Turbine Component Description
3 Lubrication Oil System
4 Hydraulic Oil System
5 Trip Oil System
6 Lift Oil System
7 Water Injection System
8 Water Wash System
9 Seal Oil System
10 Air Inlet & Exhaust System
11 Turning Gear System
12 Atomizing Air System
13 Fuel Oil System
14 Fuel Gas System
15 Purge Air System
16 Cooling Water System
17 Cooling & Sealing Air System
18 Fire Protection
19 Gas Turbine Maintenance
20 Generator Fundamental
21 Generator Component
22 Generator Operation
23 Gererator Protection
24 Switchyard Equipment & Substation
25 Power Distribution System
26 Generator Transformer
27 EX.2000
28 Static Start System

2.8.4 - 21
เอกสารแนบ 4.1

หลักสูตร GAS TURBINE SYSTEM DESCRIPTION (ตอ)


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
29 Programmable Logic Control
30 Gas System ( H2 & CO2 )
31 Mark V. Overview & Software Usage
32 Mark V Hardware Configuration
33 Gas Turbine Control
34 Ventilation & Lighting
35 Gas Turbine Protectiion
36 Water & Waste Water Treatment Plant
37 Close Circuit TV. & Radio
38 Telephone & Intercom
39 Generator Maintenance
40 Air Condition

2.8.4 - 22
เอกสารแนบ 4.1
หลักสูตร COMBINED CYCLE SYSTEM DESCRIPTION
มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
1 Combined Cycle Power Plant Technology
2 HRSG
3 HRSG Operation
4 Boiler Feed System
5 Generator Gas System
6 Lube Oil System
7 Stop Valve & Control Valve
8 Gland Seal Exhaust System
9 Cooling Water System
10 CCCW System & Tube Cleaning
11 Condensate System
12 Condenser System
13 Steam Bypass Valve
14 Steam Turbine Operation
15 Chemical Cleaning
16 Power Distribution System
17 Grounding & Lighting Protection
18 Steam Turbine Component
19 Generator Construction & Operation
20 Seal Oil System
21 Protective Relay
22 Fire Protection
23 Cathodic Protection

2.8.4 - 23
เอกสารแนบ 4.2

หลักสูตร THERMAL PLANT SYSTEM DESCRIPTION


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
1 Introduction One Through Boiler
2 Fuel Oil & Fuel Gas System
3 Combustion Air & Fuel Gas System
4 Boiler Feed Water System
5 Information System
6 Boiler Vant & Drain
7 Soot Blower System
8 Burner Management System
9 Auxiliary Boiler
10 Boiler Operation
11 Steam Turbine Component
12 Lube Oil System
13 Service & Control Air System
14 CW Cooling System
15 CCCW System
16 Make Up & Condensate System
17 Condenser Polishing System
18 HP / IP / LP Stop & Control Valve
19 Turbine Supervisory
20 Condenser Vacuum System
21 Turbine Governer Control ( EHC )
22 Condenser Tube Cleaning System
23 HP / IP / LP Bypass Valve
24 Power Distribution System
25 Grounding & Lighting Protection
26 Generator Construction & Monitoring
27 Generator Gas Supply & Cooling Water System
28 Generator Operation

2.8.4 - 24
เอกสารแนบ 4.2
หลักสูตร THERMAL PLANT SYSTEM DESCRIPTION (ตอ)
มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
29 Excitation System
30 Generator Transformer
31 Emergency Diesel Generator
32 Protective Relay
33 Plant Fire Protection
34 Cathodic Protection
35 Power Distribution System for WT
36 Raw Water & Water Treatment System
37 FGD System
38 CEM
39 Power Distribution System For FGD
40 DCIS & Sequential Control
41 Station Air System & Control Air System
42 Generator Seal Oil System
43 Battery
44 Main Turbine
45 Automatic Plant Control

2.8.4 - 25
เอกสารแนบ 5

หลักสูตร POWER PLANT ATTENDENT


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
1 In - Plant Safety Rule
2 Work Order System
3 Power Plant Diagram
4 Plant System Operation ( Gas Turbine )
5 Plant Equipment Operation ( Steam Turbine )
6 Plant Equipment Operation ( HRSG )
7 General Plant Arrangement
8 Plant Equipment Operation ( Instrument & Control )
9 Plant Equipment Operation ( Electrical Equipment )
10 Report Writing
11 Emergency Procedure
12 Work Permit & System Isolation
13 Plant System
14 Plant Protection
15 Plant Science
16 Plant Cycle
17 Maintenance Concept

2.8.4 - 26
เอกสารแนบ 6.1

Combined Cycle Power Plant Simulator


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
หลักสูตร RBCC. Simulator Beginning Level
1. RBCC. Simulator Operator Interface Station
2. RBCC. Simulator Electrical Mimic Panel
3. RBCC. Simulator Gas Turbine Operation
4. RBCC. Simulator HRSG. Operation

หลักสูตร RBCC. Simulator Intermediate & Advanced Level


1. RBCC. Simulator APS. Cold Start Up
2. RBCC. Simulator Manual Cold Start Up
3. RBCC. Simulator Manual Shut Down
4. RBCC. Simulator Case Study
5. RBCC. Simulator Malfunction Case Study

2.8.4 - 27
เอกสารแนบ 6.2

Thermal Power Plant Simulator


มีรายละเอียดของหลักสูตร ดังนี้
หลักสูตร RBTP. Simulator Beginning Level
1. RBTP. Simulator Operator Interface Station
2. RBTP. Simulator Electrical Mimic Panel
3. RBTP. Simulator Boiler System & Operation
4. RBTP. Simulator Turbine System & Operation

หลักสูตร RBTP. Simulator Intermediate & Advanced Level


1. RBTP. Simulator APS.Semi Auto Cold Start Up
2. RBTP. Simulator Manual Cold Start Up
3. RBTP. Simulator Manual Shut Down
5. RBTP. Simulator Hot Start Up
6. RBTP. Simulator Case Study
7. RBTP. Simulator Malfanction Case Study
8. RBTP. Simulator Fast Cut Back & Plant Run Back

2.8.4 - 28
คําถามประจําบท

1. องคกรหรือหนวยงานของทานใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรอยางไร
2. ทานไดรับการเรียนรูและฝกปฏิบัติตรงกับภารกิจที่ทานดําเนินการหรือไมและมีความตองการ
ที่จะพัฒนาตนเองในเรื่องการเรียนรูดานใด
3. Ratio ของอัตรากําลังกับขนาดของโรงไฟฟาควรเปนเทาไร ?
4. กรณีอัตรากําลังนอย มีวิธีใดในการจัดการ

2.8.4 - 29
บรรณานุกรม

Power Station Engineering & Economy by Bemhardt G.A. Skrotzki and William a.Vopat
Applied Thermodynamics by P.L. Ballaney
A Course in Electrical Power by Soni, Gupta & Bhatnagar
A Text Book of Electrical Technology by B.L. Theraja
Steam its generation and use 40 th Edition by Babcock & Wilcox , aMcDermott Company, ABB Asea Brown
Boveri
Combustion Fossil Power by Joseph G. Singer, PE Forth Edition
Modern Power Station Practice Third Edition, Incorporating Modern Power System Practice British
Electricity International, London
Hand Book For Thermal & Nuclear Power Engineer, Thermal & Nuclear Power Engineering Society
Practical Coss Control Leadership/The property Damage Accident by Frank E. Bird, Jr. George L. Germain
Ratchaburi Thermal Power Plant Instruction Manual by Mistubishi Heavy Industries, LTD.
Ratchaburi Combined Cycle Power Plant Gasturbine Manual by General Electric Company

You might also like